The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by surin.inspection, 2019-07-07 12:01:13

ตรวจราชการ1_62

ตรวจราชการ1_62

ห น้ า | ๔๘

สรุปผลการดาเนนิ การ

๑. สภาพผลการดาเนนิ การในพ้ืนทต่ี ามประเด็นการตรวจ ตดิ ตาม เป็นอยา่ งไร
** สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 33 ไมไ่ ด้เขา้ รว่ มโครงการ Partnership School

- ชุมชนเขา้ มามสี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษา เรียนรรู้ ่วมกันช่วยกนั คดิ ชว่ ยกนั ทา ในการ

แกไ้ ขปัญหาและพฒั นาสถานศึกษาให้บรรลถุ งึ เป้าหมายรว่ มกนั ซ่งึ ได้หารอื ร่วมกับผู้บรหิ ารและคณะครู ผู้ปกครอง
ผูเ้ รยี น คณะกรรการสถานศึกษาและผนู้ าชุมชนแล้ว (โสตฯ)

๒. วิธีการ/ปัจจัยที่สามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อย่างไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กิจกรรมรองรับเพ่ือแก้ปัญหา)

- โครงการโรงเรียนร่วมพัฒนา (partner ship School Project) เป็นแนวคิดการสร้าง
นวัตกรรมการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาภายใต้บทบาทความรว่ มมือระหว่างกระทรวงศกึ ษาธิการ และบริษัท

มูลนิธิ องค์กร หรือสถาบันท่ีสนับสนุนทรัพยากรและมีส่วนร่วมในการบริหารให้กับสถานศึกษา ซึ่งเป็นส่วน
ขยายของโรงเรียนประชารัฐ โดยมุ่งเน้นการยกระดับคุณภาพการศึกษาด้านต่าง ๆ ซึ่งสอดคล้องกับผล
การศึกษาและข้อเสนอแนะของมูลนิธิสถาบันวิจัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทยในเป้าหมายการพัฒนา 4

ยทุ ธศาสตร์ ได้แก่ 1) การพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียน 2) การพฒั นาครู 3) การพัฒนาคณุ ภาพสถานศึกษา และ
4) การพฒั นาคณุ ภาพการบริหารจัดการ

- สถานศึกษาสนับสนนุ ดา้ นงานวชิ าการในการจัดการเรียนการสอน สอ่ื การเรียนรู้ การวดั
และประเมนิ ผลสอดคล้องกับความตอ้ งการและศักยภาพของผู้เรียน กระตนุ้ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนร้ดู ้วยการจัด
กิจกรรมโครงการตา่ งๆ ให้แกผ่ ้เู รียน ไดร้ ับประสบการณจ์ ริงและได้ลงมือปฏิบัตจิ ริง

- สถานศึกษากาหนดโครงสร้างการบรหิ ารงานชัดเจน มกี ารบริหารแบบมีสว่ นร่วม เป็นท่ี
ยอมรับของสงั คม มีระบบบริหารจดั การที่ดที าให้การบริหารองค์กรมปี ระสิทธิภาพ

- สถานศึกษามีการพัฒนาบุคลากรในด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง สามารถปฏิบัติงานตามที่
ได้รับมอบหมายสาเร็จ บุคลากรมีความคิดสร้างสรรค์และทุ่มเทเสียสละเพ่ืองานในหน้าท่ีความรับผดิ ชอบ นา
ความรแู้ ละความสามารถมาใช้ในการจดั การเรียนการสอน

- งบประมาณเพียงพอในการดาเนินงาน เน่ืองจากได้รับการจัดสรรจากภาครัฐและ
หนว่ ยงานอ่ืนมสี ว่ นรว่ มในการสนบั สนุน

- สถานศึกษามีอาคารสถานที่เพยี งพอและเหมาะสม พรอ้ มต่อการเรียนรแู้ ละการทางาน มี
การจดั บรรยากาศและสง่ิ แวดล้อมเออ้ื ต่อการเรียนรขู้ องผเู้ รียน

- สถานศึกษาสนับสนุนการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทา ผู้เรียนได้เรียนรู้

กระบวนการทางานด้านอาชีพ ได้ลงมอื ปฏิบตั ิจรงิ เจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจรติ สามารถสรา้ งรายไดใ้ ห้กบั ตนเอง
และครอบครัว

- สถานศึกษามีสื่อภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เหมาะสมและเอื้อต่อการเรียนรู้ เป็นแหล่งเรียนรู้
ของชมุ ชน ได้รับความรว่ มมอื ในการจัดการศึกษาและการมีส่วนร่วมในชมุ ชนเปน็ อยา่ งดี

๓. ปัญหา/อุปสรรคทีแ่ ก้ไขไมไ่ ด้ในระดบั พื้นท่ี และข้อเสนอแนะระดับพนื้ ที่

ปัญหา/อุปสรรคท่แี กไ้ ขไม่ได้ในระดับพืน้ ท่ี ขอ้ เสนอแนะระดบั พน้ื ที่

--
--

4. ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพอื่ เป็นขอ้ สงั่ การของผู้บรหิ ารระดับสงู (ถา้ มี)

ห น้ า | ๔๙

4.1.4) การสร้างการมีส่วนร่วมของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ชุมชน สถาบัน/องค์กรต่างๆ ในสังคม

เพ่ือสนบั สนุนการจดั การศึกษา
ตวั ชี้วัด : ร้อยละของหน่วยงาน องคก์ รภาครัฐ/เอกชน ได้เขา้ มามีสว่ นร่วมจดั การศึกษาแบบประชารฐั

ผลการดาเนินการ

จานวนหนว่ ยงาน องคก์ รภาครัฐ/เอกชน รอ้ ยละ
สังกัด จานวนโรงเรียนท้ังหมด (แห่ง) ท่ีมีส่วนร่วมจัดการศกึ ษาแบบประชารัฐ (แหง่ )

สพป. 531 482 90.77
สพม. - --
สช. - --
สอศ. ๘ ๘ ๑๐๐
สกอ. - --
กศน. ๑๗ ๑๗ ๑๐๐
โสตฯ 1 1 100
รวม 557
508 91.20

สรุปผลการดาเนนิ การ

๑. สภาพผลการดาเนนิ การในพืน้ ที่ตามประเด็นการตรวจ ติดตาม เป็นอย่างไร
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 ดาเนินงานแบบมีส่วนร่วมจาก

ความรว่ มมือของผมู้ ีส่วนเกี่ยวข้องกบั การจัดการศึกษา โดยพ่อแม่ ผู้ปกครอง ชมุ ชน สถาบัน/องค์กรต่างๆ ใน
สงั คมร่วมสนับสนนุ การจัดการศกึ ษา

- การดาเนินการพัฒนาโรงเรียนประชารัฐแบ่งเป็น 2 ด้าน คือ ด้านวิชาการและงบประมาณ

โดยการจดั สรรงบประมาณ/บุคลากร และองค์ความรู้ เพอ่ื พัฒนาวชิ าการลงไปในเครือข่ายทางการศึกษา
รวมทั้งงบประมาณด้านการปรับปรุงซ่อมแซม อาคารเรียน อาคารประกอบ ครุภัณฑ์ทางการศึกษา เพื่อเพิ่มโอกาส

และลดความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงการศึกษา
- โรงเรียนประชารัฐ ของ สพป.สร.3 จานวน 20 โรงเรียน ยังคงดาเนินการตามแผนปฏิบัติ

การของโรงเรยี นทวี่ างเอาไว้ ไมค่ ่อยไดม้ กี ารสารวจ หรือประเมิน หรือไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื มากนัก

- มีหน่วยงาน องค์กรภาครัฐ/เอกชน ท่ีมีส่วนร่วมจัดการศึกษาแบบประชารัฐ การสร้างการมี
ส่วนร่วมของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ชุมชน สถาบัน/องค์กรต่างๆ ในสังคมเพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษา ได้แก่ การเข้า

ร่วมโครงการ Partnership School การทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับสถานการศึกษาและสถานประกอบการ
เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ มหาวิทยาลัยราชมงคลวิทยาเขตอีสานใต้ วิทยาลยั สารพัดช่างสุรินทร์ วิทยาลัย
อาชีวศึกษาสุรินทร์ วิทยาลัยการอาชีพศีขรภูมิ โรงแรมทองธารินทร์ ห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี สินค้า O-Top

จงั หวัดสุรนิ ทร์
- สถานศึกษาร่วมกับสถานประกอบการ องค์กรภาครัฐและเอกชนในการจัดการศึกษา

เพ่ือพัฒนาผู้เรยี นดา้ นวชิ าชีพให้มีสมรรถนะสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน
- สถานศึกษาได้จัดทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับหน่ายงานภาคีเครือข่ายในการจัด

กจิ กรรมของสถานศึกษา โดยสถานศึกษามีเป้าหมายในการเพิม่ เครือข่ายความร่วมมือทุกปี

ห น้ า | ๕๐

๒. วิธีการ/ปัจจัยท่ีสามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อย่างไรบา้ ง (แผนงานโครงการ/กิจกรรมรองรบั เพ่อื แก้ปัญหา)

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 ดาเนินงานอย่างเป็นระบบ
โดยการมีส่วนร่วมจากทกุ ฝ่าย ทั้งในองค์กร และผู้สนับสนุนทุกฝ่าย กาหนดเป็นแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
มีการกาหนดวิสัยทัศน์ และพันธกิจ เป้าประสงค์ที่ชัดเจน ดาเนินโครงการ/กิจกรรม ดังปรากฏในแผนปฏิบัติ
การประจาปี ทเี่ กิดจากการปฏบิ ตั ิงานของทกุ กลมุ่ งาน ทุกฝ่าย และชมุ ชน สถาบัน/องค์กรอ่ืน เขา้ มามสี ่วนร่วม
มีกระบวนการ ข้นั ตอน การดาเนนิ งาน และการสรปุ รายงานผลอย่างเปน็ ระบบ ใช้กระบวนการ PDCA ได้แก่

2.1 PLAN การวางแผนงาน
2.2 DO การดาเนนิ การ เป็นการทางานตามแผนงานทไ่ี ด้วางไว้
2.3 CHECK การตดิ ตาม ตรวจสอบ การทางานที่ได้ทาไปแล้ว ว่าเปน็ ไปตามทเ่ี ราตอ้ งการ
หรือไม่ หรือตามมาตรฐานที่เราได้กาหนดไว้ โดยใช้เครื่องมือช่วยในการตรวจสอบอย่างหลากหลาย และ
กระบวนการนิเทศ ตดิ ตาม ฯ ระดับเขตพนื้ ที่การศึกษา ระดบั เครือข่ายฯ ระดบั โรงเรยี น หรอื ระดับห้องเรยี น
2.4 ACTION การปรบั ปรุงพัฒนา หากมขี ้อบกพร่องที่เกดิ ขึน้ จากการตรวจสอบ CHECK
ก็จะหาวิธีการและขั้นตอนในการแก้ไขทันที หรือตามระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ โดยทาการค้นหาสาเหตุท่ีเกิดข้ึน
และใช้วิธีการแกไ้ ขที่ดีท่ีสดุ ในการทาการแก้ไข เพ่ือไม่ใหป้ ญั หาท่ีเกิดขน้ึ ไมเ่ กิดขึน้ ซา้ อีก
ร่วมวิธีการ/ปัจจัยท่ีสามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อยา่ งไรบา้ ง(แผนงานโครงการ/กิจกรรมรองรบั เพ่ือแกป้ ญั หา
- การส่งเสริมสนับสนุนด้านงบประมาณโรงเรียนประชารัฐ ให้ตรงตามความจาเป็น/
ตอ้ งการและขาดแคลน แตท่ ง้ั นี้รัฐบาลควรการวางกรอบแนวทาง และเป้าหมายท่ชี ัดเจนในการพัฒนาโรงเรียน
ประชารัฐ จะทาให้โรงเรยี นประชารัฐมีความย่ังยืนพงึ่ พาตนเองได้ ตามแนวทางทีร่ ฐั บาลได้ประกาศไว้
- จัดประชุมทาความเข้าใจถึงแนวทางการปฏิบัติการของโรงเรียนประชารัฐในแต่ละปี
กาหนดเป้าหมายให้ชดั เจน ร่วมกาหนด วางแผน และแนวทางการดาเนินการร่วมกนั
- จัดสรรงบประมาณการช่วยเหลอื โรงเรียนประชารัฐ
- นาเสนอแผนปฏิบัติการต่อผปู้ ระสานงาน หรอื Partner ship หรือความต้องการเร่งด้วน
ในแต่ละปกี ารศกึ ษา เพอื่ วางแผนการดาเนนิ กิจกรรมของแต่ละปอี ย่างมีเป้าหมายและชัดเจน
- ประเมินผล นิเทศ ตดิ ตาม การดาเนนิ การของโรงเรยี นประชารัฐ
- เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน ตลอดจนประสานงานกับองค์กร
ทั้งภาครฐั และเอกชนเพ่ือให้สถานศึกษาเป็นแหลง่ วทิ ยาการของชุมชน เพื่อใหส้ ถานศึกษาเป็นแหลง่ วิทยาการ
ของชุมชน และมีส่วนในการพัฒนาชุมชนและท้องถนิ่
- ให้บริการด้านวิชาการทสี่ ามารถเช่อื มโยงหรอื แลกเปลย่ี นข้อมลู ข่าวสารกับแหล่งวิชาการ
ในทอี่ ื่นๆ
- จัดกิจกรรมรว่ มกับชุมชนเพอื่ ส่งเสริมวัฒนธรรมการสรา้ งความสมั พันธอ์ ันดกี ับศษิ ยเ์ ก่า
การประชมุ ผู้ปกครองนักเรยี น การปฏิบตั งิ านร่วมกับชุมชน การรว่ มกิจกรรมกับสถาบนั การศกึ ษาอ่นื เปน็
ตน้
- มโี ครงการ และดาเนินโครงการตามเป้าหมายที่กาหนดไว้
- สถานศึกษาได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายเป็นอย่างดีในการจัดกิจกรรมของ
สถานศกึ ษา

ห น้ า | ๕๑

๓. ปัญหา/อปุ สรรคท่แี ก้ไขไม่ไดใ้ นระดับพน้ื ท่ี และขอ้ เสนอแนะระดบั พืน้ ท่ี

ปัญหา/อุปสรรคทแ่ี ก้ไขไม่ไดใ้ นระดบั พ้นื ท่ี ข้อเสนอแนะระดับพืน้ ที่

การระดมทรพั ยากรในระดับพื้นที่เป็นไปด้วย รฐั บาลควรมีแนวทางที่ชัดเจนในการพัฒนาโรงเรียนประชา
ความยากลาบาก เน่ืองจากชุมชนในเขตพื้นที่ รัฐ

บรกิ ารมีฐานะปานกลางถึงยากจน

สถานประกอบการ องค์กรภาครัฐและ -

ภ า ค เอ ก ช น ที่ ไ ด้ ม า ต ร ฐ า น ต า ม ป ร ะ ก า ศ

กระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรฐานการ
จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีท่ีสานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษากาหนด มีไม่

เพียงพอต่อจานวนผฝู้ ึกงาน/ฝึกประสบการณ์

วิชาชพี ในแต่ละสาขางาน

- - การรวมกลุ่มของบุคลากร เพ่ือดาเนินการ หรือจัด
กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพ อาทิ กลุ่มเครือข่ายบริหาร

สถานศึกษาแบบบูรณาการ 16 แห่ง กลุ่มโรงเรียนประชา
รัฐ โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนคุณภาพประจาตาบล กลุ่ม

สาระการเรียนรู้ต่าง ๆ กลุ่ม Line ต่าง ๆ ล้วนเกิดจากการ

รวมกลุ่มเพ่ือดาเนินกิจกรรม ท่ีส่งเสริม สนับสนุนการจัด
การศกึ ษา

- - การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพ่ือรับฟังข้อคิดเห็น

ข้อเสนอแนะ จากผู้มีส่วนเก่ียวข้องกับการจัดการศึกษา

ทุกฝ่าย และนาข้อเสนอแนะมาพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ให้มปี ระสิทธิภาพยิ่งขึ้นไป

- - การระดมทรัพ ยาก ร การจัดผ้าป่าเพ่ื อการศึก ษา

การศึกษาดูงาน กิจกรรมทัศนศึกษาหรือแหล่งเรียนรู้ เป็น

กิจกรรม ท่ีบุคลากรมีส่วนร่วมอย่างหลากหลาย

เห็นควรรวบรวมผลการจัดกิจกรรม/โครงการ และสรุป
รายงานผลนาเสนอในภาพรวม เพื่อการพัฒนาให้ดีและมี
ประสทิ ธภิ าพยง่ิ ขึ้นไป

4. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพือ่ เปน็ ขอ้ ส่ังการของผบู้ ริหารระดบั สงู (ถา้ ม)ี
- ความชัดเจนในนโยบายเป็นเร่ืองทีส่ าคัญ ทต่ี ้องทาแบบต่อเนือ่ งและย่ังยืน ไม่ใช่เปล่ียน
การบริหารแล้วนโยบายเปล่ียนตามไปด้วย ทาใหผ้ ปู้ ฏบิ ัติงานระดบั พืน้ ท่ีเกิดความรู้สึกวา่ เป็นนโยบายการเมอื ง
ทางด้านการศกึ ษา

ห น้ า | ๕๒

สถานศึกษาสรา้ งการมสี ว่ นร่วมกับสถานประกอบการ ทง้ั ภาครัฐ/เอกชน
เพื่อสนับสนนุ การจดั การศกึ ษา

สถานศึกษาสร้างการมีสว่ นร่วมกับสถานประกอบการ ทั้งภาครัฐ/เอกชน
เพื่อสนับสนุนการจดั การศกึ ษา

ห น้ า | ๕๓

4.1.5) การจัดตั้งศูนย์ประสานงานการผลติ และพฒั นากาลังคนอาชีวศกึ ษาในภูมภิ าค
ตัวช้ีวัด : ร้อยละของผู้สาเร็จการศึกษาในแต่ระดับการศึกษาเพียงพอกับความต้องการ

ของตลาดแรงงาน

ผลการดาเนินการ

ศนู ยป์ ระสานงานการผลติ และ จานวนผสู้ าเรจ็ การศึกษา ปี จานวนความตอ้ งการของตลาดแรงงานตอ่ ผู้สาเรจ็ การศกึ ษา

พฒั นากาลงั คนอาชวี ศกึ ษาระดับ การศึกษา 2561 (คน) ในแตร่ ะดบั การศกึ ษา (คน)

กลุ่มจงั หวัด ปวช. ปวส. ป.ตรี หลักสตู ร ปวช. คดิ เปน็ ปวส. คดิ เปน็ ป.ตรี คดิ เปน็ หลกั สูตร คดิ เปน็

ระยะสน้ั รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ ระยะสั้น รอ้ ยละ

วิทยาลัยเทคนิคนครราชสีมา -- - - - - - - - - - -

รวม ---- -- -- -- - -

สรุปผลการดาเนินการ

๑. สภาพผลการดาเนนิ การในพน้ื ที่ตามประเด็นการตรวจ ติดตาม เป็นอยา่ งไร
๒. วิธีการ/ปัจจัยท่ีสามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อย่างไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กจิ กรรมรองรับเพือ่ แก้ปัญหา)
๓. ปญั หา/อปุ สรรคทแี่ ก้ไขไมไ่ ดใ้ นระดับพน้ื ที่ และข้อเสนอแนะระดบั พ้ืนท่ี

ปัญหา/อปุ สรรคท่ีแกไ้ ขไม่ไดใ้ นระดับพืน้ ท่ี ขอ้ เสนอแนะระดับพนื้ ที่

--
--

4. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพ่ือเปน็ ข้อส่ังการของผู้บริหารระดับสูง (ถา้ มี)

5. นโยบาย : การบริหารงานบุคคลของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ :
5.1 การพฒั นาครูท้งั ระบบ เพื่อการจดั การเรยี นรแู้ นวใหม่

5.1.1) การพฒั นาคร/ู ครูพเี่ ลีย้ ง/ครูปฐมวัยทไี่ ม่จบวิชาเอกปฐมวัย
ตัวช้ีวัด : ร้อยละของครู/ครูพ่ีเลี้ยง/ครปู ฐมวัยท่ีไม่จบวิชาเอกปฐมวัยได้รับการพัฒนาเพ่ือนาผล
มาใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน
ผลการดาเนนิ การ

หน่วยงาน จานวนครู/ครูพี่ จานวนครู/ครูพี่ จานวนครู/ครูพี่ จานวนครู/ครูพเี่ ล้ียง/ครปู ฐมวยั
เลีย้ ง/ครปู ฐมวยั เล้ยี ง/ครูปฐมวัยที่จบ เลี้ยง/ครปู ฐมวยั ท่ีไม่ ที่ไมจ่ บวิชาเอกปฐมวัยได้รับการพัฒนา
สพป. ที่ทาการสอนระดบั จบวิชาเอกปฐมวัย เพื่อนาผลมาใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน
สศศ. ปฐมวัยทั้งหมด (คน) วิชาเอกปฐมวยั
สกอ. (คน) (คน) คน คิดเป็นร้อยละ
สช. 1321
อปท. 544 777 473 35.81
อน่ื ๆ 3
รวม 1 2 2 100
-
- - --
-
- - --
-
- - --
-
- - --
1324
545 779 475 35.88

ห น้ า | ๕๔

สรุปผลการดาเนนิ การ

๑. สภาพผลการดาเนินการในพน้ื ทต่ี ามประเดน็ การตรวจ ตดิ ตาม เป็นอยา่ งไร
- ครูปฐมวัยท่ีไม่จบวชิ าเอกปฐมวัยได้รับการพัฒนาเพ่ือนาผลมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน
และสอนค่กู นั กบั ครูท่ีจบเอกปฐมวัยโดยตรง

- บุคลากรที่ทาการสอนระดับปฐมวัย แต่ไม่จบวิชาเอกปฐมวัย ได้รับการพัฒนาโดยผ่าน
กระบวนการอบรมให้ความรู้ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ผ่านโครงการพัฒนาครูปฐมวัย และการจัดตั้งชมรม

ครูปฐมวัย สพป.สุรินทร์ เขต 2 เพ่ือแลกเปล่ียนองค์ความรู้ และสะท้อนการสอนร่วมกัน ปัจจุบันบุคลากรร้อยละ
100 มีความรู้และนาผลมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้เปน็ อย่างดี

- อบรมและพฒั นาครปู ฐมวยั อย่างต่อเนอื่ งตลอดปีการศึกษา

- เผยแพรน่ วัตกรรมทางการศึกษาปฐมวยั ให้ครูอย่างต่อเนอ่ื ง

๒. วิธีการ/ปัจจัยท่ีสามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อยา่ งไรบา้ ง (แผนงานโครงการ/กจิ กรรมรองรับเพ่อื แกป้ ญั หา)

- โรงเรียนมีจานวนครู/ครูพี่เล้ียง/ครูปฐมวัยท่ีทาการสอนระดับปฐมวัย และจบวิชาเอก

ปฐมวัยท่ีมีความรู้ ความสามารถในการจดั กิจกรรมให้สอดคล้องกบั พัฒนาการของเด็กปฐมวัย
- ครูท่ีจบไม่ตรงเอกปฐมวัยสามารถสร้างสมประสบการณ์สอนและสารถจัดกิจกรรมได้

อย่างเหมาะสม
- กระบวนการจัดทาสารสนเทศโดยการสารวจ/รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อจัดทา

แผนพฒั นาครูปฐมวยั การกาหนดโครงการกิจกรรมรว่ มกนั และการแลกเปลี่ยนเรียนร้ผู ่านชมรมครูปฐมวัย

- ใหค้ วามรแู้ ละเทคนคิ การสอนพร้อมทั้งนวัตกรรมทางการศกึ ษาปฐมวยั ผ่านโครงการและ
เพิ่มช่องทางแลกเปลี่ยนความรผู้ ่าน Line กลุ่มครปู ฐมวยั

๓. ปัญหา/อุปสรรคทแี่ กไ้ ขไมไ่ ดใ้ นระดับพ้ืนที่ และขอ้ เสนอแนะระดบั พืน้ ที่

ปญั หา/อปุ สรรคทแี่ กไ้ ขไม่ไดใ้ นระดับพ้นื ที่ ขอ้ เสนอแนะระดับพน้ื ที่

- การให้ความสาคัญกับการศึกษาปฐมวัยเป็นเร่ืองท่ีต้อง

ดาเนินการอย่างต่อเน่ืองและชัดเจน การวางรูปแบบและ

แน วทางก ารพั ฒ น าการศึกษ าใน เขตพ้ื น ที่ ควรให้
ความสาคัญกับการศึกษาระดับปฐมวัย เท่าๆกับการศึกษา
ขั้นพนื้ ฐาน

๑. แผนปฏิบัติการของโรงเรียนประชารัฐใน 1.จัดทาแผนปฏิบัติการโครงการโรงเรียนประชารัฐ

แต่ละปียงั ไม่ชัดเจน ประจาปี ๒๕๖๒

2.ไม่ได้ประชุมวางแผนปฏิบัติการของกลุ่ม 2.จดั ประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ
โรงเรียนประชารัฐ

๓.แผนการนิเทศติดตามการปฏิบัติงาน จัดทาแผนนิเทศ งบการนเิ ทศติดตามโครงการโรงเรยี นประ

โรงเรียนประชารัฐยังไม่ชดั เจน รฐั

4. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพอ่ื เป็นขอ้ ส่งั การของผบู้ รหิ ารระดบั สงู (ถ้ามี)
- จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อวางแผนกาหนดกิจกรรมประจาปี และรับฟังปัญหา แนว
ทางการแกไ้ ขของโรงเรียนประชารัฐ

ห น้ า | ๕๕

- จัดสรรงบประมาณใหส้ นับสนนุ การดาเนนิ กิจกรรมของโรงเรียนประชารัฐอย่างตอ่ เนอื่ ง
- กาหนดแผนการนิเทศ ติดตามและจัดสรรงบประมาณสนับสนุนการนิเทศ ติดตาม
โครงการโรงเรยี นประชารฐั

5.1.2) การพฒั นาครูรปู แบบใหม่ และ PLC
ตวั ชี้วดั ท่ี 1 : ร้อยละของครูทผี่ ่านการพัฒนาตามกระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (PLC)
และนาผลการพัฒนามาปรับการเรียนการสอน

ผลการดาเนินการ

จานวนครทู ่ีผา่ นการพัฒนาตามกระบวนการ จานวนครทู ีผ่ า่ นการพัฒนา และนาผลการ คดิ เปน็
รอ้ ยละ
สงั กัด สร้างชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) (คน) พฒั นามาใช้ในการเรยี นการสอน (คน)

สพป. 7,353 7,353 100
สพม. 2,859 2,859 100
สอศ. ๒๕๒ ๒๕๒ 100
กศน. -
- -
โสตฯ 56
56 100
รวม 10,520
10,520 100

ตัวช้ีวัดท่ี 2 : ร้อยละของครูท่ีผ่านการพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูแบบครบวงจรนาผล
การพฒั นามาใชใ้ นการเรียนการสอน

ผลการดาเนินการ

จานวนครทู ่ผี า่ นการพัฒนาโครงการพัฒนาครู จานวนครทู ่ีผ่านการพัฒนา นาผลการ คดิ เปน็
ร้อยละ
สังกัด รูปแบบครบวงจร (คน) พัฒนามาใชใ้ นการเรียนการสอน (คน)

สพป. 6,474 6,474 100

สพม. 2,674 2,674 93.53

สอศ. ๖๙ ๖๙ 100

โสตฯ 13 13 100

รวม 9,230 9,230 100

สรปุ ผลการดาเนนิ การ

๑. สภาพผลการดาเนนิ การในพ้ืนที่ตามประเด็นการตรวจ ติดตาม เป็นอย่างไร

- ผลการดาเนินงานการพัฒนาครูตามโครงการพัฒนาครูแบบครบวงจรของสานกั งานเขตพื้นท่ี

การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ยังพบปัญหาอย่บู ้างในเร่ืองการบริหารจัดการ การอานวยความสะดวกแก่ครู
ท่ีประสงค์เข้ารับการพัฒนาตามหลักสูตรเน้ือหา แต่ผลทางด้านความพึงพอใจของครูในการได้รับความรู้จากการ

พัฒนาครรู ูปแบบครบวงจร ถอื ว่าอย่ใู นระดบั เป็นทนี่ า่ พอใจ และสามารถนาความรู้มาปรับใช้ในวิชาชีพ
- สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 ได้ดาเนินการประชาสัมพันธ์หลาย

ช่องทางทุกคนช่วยกนั ติดตามข่าวสารและใช้วธิ ีร่วมด้วยชว่ ยกนั ช่วยกันบอกกล่าวข่าวความเคลื่อนไหวในกลุ่ม ทาให้

สามารถดาเนินการตามปฏิทนิ การปฏิบตั ิงานได้ทนั ตามกาหนดเวลา
- สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ ดาเนนิ การดงั นี้

เชงิ ปรมิ าณ
1. โรงเรียนในสังกดั ทั้งหมด จานวน 85 โรง

ห น้ า | ๕๖

2. โรงเรียนท่ีมีครูเข้าร่วมโครงการพัฒนาครรู ูปแบบครบวงจรและเข้าร่วมการพัฒนาตาม
กระบวนการ PLCจานวน 85 โรง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100

3. ครูในสงั กดั ท้ังหมด จานวน 2,859 คน
4. ครูที่ได้รบั การพัฒนาตามกระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (PLC) และการนาผล
การพฒั นาปรับปรุงการเรียนการสอน จานวน 2,859 คน
5. ครูทเ่ี ข้ารับการพัฒนา ตามโครงการพัฒนาครูรปู แบบครบวงจร จานวน 2,674 คน
คิดเปน็ รอ้ ยละ 93.53
6. ครทู ่ลี งทะเบียนเลือกหลกั สูตรอบรม จานวน 3,763 ท่ีนง่ั
หมายเหตุ การคานวณร้อยละของครูตามโครงการฯ ใหค้ ิดจากฐานจานวนครูในสงั กัดทงั้ หมด ดงั น้ี

(ครูท่ไี ด้รบั การพัฒนาตามโครงการx100)
ครูในสงั กดั ทั้งหมด

เชงิ คุณภาพ
ผลสาเรจ็ ของการดาเนนิ งาน

สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 มีนโยบายส่งเสริม สนับสนุนให้ครูและ
บุคลากรทางการศึกษา ข้าราชการครูสังกัด สพม.33 สมัครอบรมโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร
ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2561 จานวน 3,763 ท่ีนั่ง
จานวน 2,674 คน จานวนข้าราชการครูสายผู้สอนท้ังหมด (ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561)
จานวน 2,859 คน คดิ เปน็ รอ้ ย 93.53 หลกั สตู รที่ครูเลอื กลงทะเบยี น จานวน 281 หลักสูตร

สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ ได้ดาเนินงานพัฒนาครูตามกระบวนการ
PLC โดยเน้นให้ครูมีความรู้ความเข้าใจด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้
ด้วยการใช้รูปแบบ/ข้ันตอน Lesson Study และมีการนิเทศภายในระดับโรงเรียน ระดับสหวิทยาเขตและ
ระดับเขตพื้นที่การศกึ ษาส่งผลให้ครูท่ีมีความชานาญในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่
สอดคล้องตามตัวช้ีวัดที่กาหนดไว้ในหลักสูตรครูที่มีผลงาน ดีเด่นจะได้รับการเสนอช่ือเพ่ือรับรางวัล Smart
teacher เพือ่ ประกาศเกียรตคิ ณุ และเป็นแบบอย่างทีด่ ใี หค้ รอู นื่ ได้

แผนพัฒนาตนเองรายบุคคล (ID PLAN) โดยมีเป้าหมายการยกระดับคุณภาพการศึกษาให้ดี
ขึ้น และมีศกั ยภาพในการจดั การเรียนร้เู พอื่ พัฒนานักเรียนไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพนาเอาความร้ทู ี่ได้รับจากการ
พัฒนา ไปพฒั นางานในหนา้ ที่ สง่ ผลต่อการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นตามเจตนารมณ์ของพระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษา
แหง่ ชาตไิ ด้อยา่ งสมบูรณ์

- สถานศึกษาได้พัฒนาครูผู้สอนอย่างต่อเนื่อง โดยครูผู้สอนจะต้องผ่านการอบรมไม่น้อยกว่า ๒๐
โมงต่อปี

- ครมู กี ารจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ทเี่ น้นทักษะและกระบวนการคิด วิเคราะห์ การแกป้ ญั หา
ใหก้ บั ผ้เู รยี น

- ครูท่ีผ่านการพัฒนาตามกระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) นาผลการพัฒนามาปรับ
การเรียนการสอน ดังนี้ ครูมีการรวมกลุ่มกันตามกลุ่มสาระฯ เพ่ือค้นหาปัญหาที่พบในการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอน แล้วร่วมกันหาแนวทางในการแก้ปัญหา ออกแบบกิจกรรมการแก้ปัญหาร่วมกันออกแบบให้นักเรียนไดท้ างาน
ร่วมกัน ได้แลกเปล่ียนเรียนรู้ โดยการนาปัญหา สถานการณ์จาลองหรือเหตุการณ์ที่เกิดในชุมชนมาร่วมวางแผน
แกป้ ญั หากิจกรรมเพื่อแสวงหาคาตอบที่สมเหตุสมผล

ห น้ า | ๕๗

๒. วิธีการ/ปัจจัยที่สามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อย่างไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กิจกรรมรองรับเพอื่ แกป้ ัญหา)

- การจัดเก็บข้อมูล สารวจข้อมูลความพึงพอใจ และการวางแผนการพัฒนาครูรูปแบบ
ต่างๆ ไม่วา่ จะเปน็ แบบครบวงจร หรือการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ PLC ใหส้ อดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย และ
การนาไปใช้ จะเกิดประโยชนส์ งู สุดในงานการพัฒนาบคุ ลากรทางการศึกษา

- การติดต่อประสานงานกันในระบบอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ระบบไลน์ ระบบทางเว็ปไซต์
ทางโทรศัพท์ ทาง My office

- การประสานงานร่วมมือกันของกลุ่มท่ีเก่ียวข้องในสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 3 เชน่ กลุ่มอานวยการดาเนินการลงรบั หนงั สือแจ้งไปยังกล่มุ บรหิ ารงานบุคคลอยา่ ง
รวดเร็ว กลุ่มบริหารงานการเงินและสินทรัพย์ ดาเนินการให้ครูยืมเงินเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการ อบรมและ
บรกิ ารขอ้ มูลการใช้จา่ ยเงนิ กลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คลขอเงินงบประมาณสาหรับเปน็ คา่ ใชจ้ ่ายในการอบรม เป็นตน้

- จัดทาแผนการดาเนินงาน และประสานความร่วมมือกบั ทกุ ฝ่ายเพ่อื ให้เป็นไปตามปฏิทิน
ที่กาหนดไว้

- สานักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมท่ีสง่ เสริมการดาเนินงานตาม

ตัวช้ีวัด ปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ดังนี้ ๑) คาสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินการโครงการพัฒนาครูรูปแบบ

ครบวงจร ประจาปีงบประมาณพ.ศ.2561 ท่ี 157/2561 ส่ัง ณ วันที่ 23 เมษายน 2561 ๒) คาสัง่ แต่งต้ัง
คณะกรรมการติดตาม ตรวจเย่ียมโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ที่

246/2561 ส่ัง ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2561 ๓) หนังสือ สพม.33 ท่ี ศธ 04263/1704 ลงวันที่ 17
เมษายน 2561 เรือ่ ง โครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจรของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ๔) หนังสอื สพม.33 ท่ี ศธ 04263/2333 ลงวนั ท่ี 28 พฤษภาคม 2561
เรอ่ื ง การดาเนินงานตามโครงการพัฒนาครูรปู แบบครบวงจร ของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2561 ๕) หนังสือ สพม.33 ท่ี ศธ 04263/2470 ลงวันที่ 7 มิถุนายน 2561
เรื่องปฏทิ นิ การปฏิบัติงานโครงการพัฒนาครรู ูปแบบครบวงจร ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ประจาปี

งบประมาณ พ.ศ.2561 (รอบท่ี2) ๖) หนังสือ สพม.33 ท่ี ศธ 04263/2494 ลงวันท่ี 8 มิถุนายน 2561

เรื่อง ขอรับการจัดสรรงบประมาณ (งบแลกเป้า) ดาเนินโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ.2561 ๗) ประสานข้อมูลกับกลุ่มบริหารงานการเงินและสินทรัพย์เพ่ือเตรียมการเบิกจ่าย

งบประมาณให้กบั ครทู ีเ่ ข้ารับการพัฒนา
กระบวนการดาเนินงาน

การดาเนิน งาน ของสพ ม.3 3 เพ่ือส่งเสริม สนับสนุน ให้บรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด
กระตุ้น สนบั สนนุ ให้ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ได้รับรู้ถงึ ความสาคัญจาเป็น และเข้าใจขั้นตอนการดาเนิน
โครงการพัฒนาครูฯ สมัครเข้ารับการพัฒนาโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจร ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ.2561 ตามปฏิทินที่กาหนด ดงั นี้

1. สง่ หนังสือราชการแจ้งปฏิทินกิจกรรมการดาเนินโครงการพัฒนาครูฯ ให้ครูในสงั กัดทราบ
และสมัครเขา้ รับการพฒั นา

๒. ประชมุ ชีแ้ จงในวาระต่างๆ เช่น
ประชุมผู้บริหารโรงเรียนสงั กดั สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33 ประชุมประธานสหวทิ ยาเขต
ประชุมผอ./รองผอ.เขต ผอ.กลุ่ม/หน่วย/ศูนย์

ห น้ า | ๕๘

๓. ประชาสมั พันธ์การพฒั นาโครงการพฒั นาครรู ูปแบบครบวงจรฯ ผา่ นเวบ็ ไซต์ของสานกั งาน

เขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา เว็บไซต์กลมุ่ พัฒนาครฯู เว็บไซต์กลุม่ บริหารงานบุคคล หอ้ ง LINE ราชการ เปน็ ต้น
4. ช้ีแจงในวาระต่างๆ เช่น การประชุมประธานสหวิทยาเขต การประชุมประจาเดือน

ผู้บริหารสถานศึกษา การประชุมผอ./รองผอ.เขต ผอ.กลุ่ม/หนว่ ย, ศูนย์ เพอ่ื ชแี้ จงทาความความเข้าใจ กระตุ้น

และกาชับใหค้ รแู ละบุคลากรทางการศึกษา เหน็ ประโยชน์ /คณุ คา่ และความสาคญั ของการอบรมพัฒนา
- สถานศึกษาสารวจความต้องการในการพัฒนาตนเองของครผู ู้สอนแล้วกาหนดกิจกรรม

โครงการในแผนการปฏบิ ตั งิ าน
- กระตนุ้ การจัดกิจกรรมผา่ นการพฒั นาตามกระบวนการสรา้ งชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ (PLC)

และนาผลการพัฒนามาปรบั การเรียนการสอนกับครทู ุกคน

- ครูท่ีผ่านการพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูแบบครบวงจรนาผล การพัฒนามาใช้ในการ
เรยี นการสอน ลงมอื ปฏบิ ตั ิจรงิ และนามาประยุกต์ใชก้ บั การทางานของตนเอง

๓. ปัญหา/อุปสรรคท่แี ก้ไขไม่ไดใ้ นระดับพื้นท่ี และข้อเสนอแนะระดับพ้นื ที่

ปัญหา/อปุ สรรคท่แี ก้ไขไมไ่ ดใ้ นระดบั พ้ืนท่ี ข้อเสนอแนะระดับพ้นื ท่ี

- การยกเลกิ หลักสตู รการพัฒนาจากหนว่ ย - ควรกาหนดให้ เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาดาเนินการควบคมุ และ
พัฒนา สารวจความตอ้ งการเข้ารับพฒั นาของครูในสงั กดั และ

- การเปล่ียนแปลงสถานที่อบรมแบบกะทันหัน กาหนดหลกั สตู รพฒั นาให้กบั ข้าราชการครูเพอื่ ให้ตรงกบั

ของหนว่ ยพัฒนา ความตอ้ งการเข้ารบั การพัฒนาและเปน็ การประหยดั

- หลกั สตูการพัฒนาท่ตี รงกับความตอ้ งการ งบประมาณคา่ ใชจ้ ่ายด้านการเดนิ ทางและคา่ ทพี่ กั

ของครูบางหลักสูตรอย่นู อกเขตภูมภิ าค
- หลักสูตรการพฒั นาไมไ่ ม่เพยี งพอกับจานวน

ของครทู ่ีเข้ารบั การพัฒนา

1. ระบบการลงทะเบียนไม่สมบูรณ์ -

2. ระยะเวลาในการลงทะเบยี นนอ้ ย
3. ลงทะเบยี นหลักสตู รทีค่ รูสนใจไมท่ ันหรือ

สถานที่อบรมอยู่ไกลและค่าใช้จ่ายสงู
4. ไมม่ หี ลกั สตู รท่เี ก่ยี วข้องกับผูพ้ กิ ารโดยตรง

5. การพัฒนาตามกระบวนการสร้างชุมชน

แห่งการเรียนรู้ (PLC) ยงั ขาดการรายงานผล
การดาเนนิ การ

4. ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายเพ่อื เป็นข้อสั่งการของผูบ้ ริหารระดบั สงู (ถา้ มี)

ห น้ า | ๕๙

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกระบวนการ PLC (Professional Learning Community)
ให้กับครทู ุกวิทยาลยั ในสังกดั

วางแผนดาเนินโครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารกระบวนการ PLC (Professional Learning Community)
5.1.3) การฝึกงานในสถานประกอบการของครูสายอาชีพ

ตัวชี้วัด : ร้อยละของครูสายวิชาชีพท่ีได้รับการฝึกงานในสถานประกอบการ และตรงตาม
สาขาวิชาทีส่ อนทีส่ อน

ผลการดาเนนิ การ

จานวนครูสายวชิ าชพี ทไ่ี ด้รบั การฝึกงานในสถาน จานวนครูสายวชิ าชีพที่ได้รับการฝึกงานในสถานประกอบการตรง

ประกอบการ (คน) ตามสาขาวชิ าทีส่ อน (คน)

สงั กัด ขา้ ราชการ ครูอตั รา พนักงาน รวม ขา้ ราชการ ครอู ตั รา พนกั งาน รวม รอ้ ยละ
ครู จา้ ง ราชการ ครู จ้าง ราชการ

สอศ. ๑๐ ๘ ๖ ๒๔ ๑๐ ๘ ๖ ๒๔ 100

สรุปผลการดาเนินการ
๑. สภาพผลการดาเนนิ การในพน้ื ทีต่ ามประเด็นการตรวจ ติดตาม เป็นอยา่ งไร
- ครูสายวิชาชีพได้รับองค์ความรู้ ทักษะวิชาชีพและประสบการณ์จากการปฏิบัติจริงใน

สถานประกอบการ สามารถบูรณาการและประยุกต์ใช้ในการจดั การเรียนการสอนได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

๒. วิธีการ/ปัจจัยท่ีสามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อยา่ งไรบา้ ง (แผนงานโครงการ/กจิ กรรมรองรบั เพอื่ แก้ปัญหา)

- สถานศึกษาในสังกัดได้จัดทาแผนงาน โครงการและดาเนินการตามแผนงบประมาณ

ประจาปี
- สถานศึกษาไดก้ ากับตดิ ตาม นิเทศครูฝึกในสถานประกอบการทกุ ปีการศกึ ษา

ห น้ า | ๖๐

- สถานศึกษาได้ประเมินผลการปฏิบัติงานของครูฝึกในสถานประกอบการ และให้
ข้อเสนอแนะในการพัฒนาปรบั ปรุง

๓. ปัญหา/อปุ สรรคทแ่ี กไ้ ขไมไ่ ดใ้ นระดบั พืน้ ท่ี และขอ้ เสนอแนะระดับพ้นื ท่ี

ปัญหา/อปุ สรรคที่แกไ้ ขไมไ่ ด้ในระดบั พ้ืนที่ ขอ้ เสนอแนะระดบั พนื้ ที่

งบประมาณที่ใช้ในการดาเนินงานการนิเทศ ควรจดั สรรงบประมาณเพมิ่ เติมเพื่อสนับสนนุ การดาเนินงาน
ติดตามครูฝึกในสถานประกอบการภายใน
จงั หวดั หรือเขตพืน้ ทไี่ มเ่ พยี งพอ

--

4. ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายเพ่ือเปน็ ข้อสัง่ การของผบู้ ริหารระดบั สงู (ถา้ ม)ี

สถานศกึ ษาในสงั กัด มีการออกตดิ ตามและนิเทศนกั ศึกษาฝึกงานในสถานประกอบการ

สถานศกึ ษาในสงั กดั มกี ารออกติดตามและนเิ ทศนักศกึ ษาฝกึ งานในสถานประกอบการ

ห น้ า | ๖๑

6. นโยบาย : การขับเคลอ่ื นการบูรณาการด้านการศกึ ษาระดบั ภมู ิภาค
ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ :

6.1 การขับเคลอื่ นคุณภาพการศกึ ษาที่สอดคลอ้ งกบั ทิศทางการพัฒนาจงั หวดั กลุ่มจังหวัดและภาค
6.1.1) การขบั เคลอื่ นคุณภาพการศึกษาทสี่ อดคล้องกบั ทศิ ทางการพัฒนาจงั หวดั กลมุ่ จงั หวดั และภาค
ตวั ชีว้ ัด : สานกั งานศึกษาธกิ ารภาคและสานักงานศกึ ษาธิการจังหวัด สามารถขับเคลอื่ นคณุ ภาพ

การศึกษาท่ีสอดคล้องกบั ทศิ ทางการพัฒนาจงั หวัดกลุ่มจงั หวดั และภาคส่กู ารปฏบิ ัติได้
ผลการดาเนนิ การ

ประเดน็ การขับเคล่อื นคุณภาพการศกึ ษาที่สอดคล้อง มากทส่ี ดุ ระดบั การปฏบิ ัติ น้อยทีส่ ดุ
กบั ทศิ ทางการพัฒนาจงั หวดั กลุ่มจังหวัดและภาค
มาก ปานกลาง นอ้ ย
1. มกี ระบวนการขบั เคล่ือนคุณภาพการศกึ ษาท่ี 
สอดคลอ้ งกับทศิ ทางการพฒั นาจงั หวดั กลุ่มจังหวดั
2. มกี ารบูรณาการการทางานเพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพ 
การศึกษาที่สอดคล้องกบั ทศิ ทางการพฒั นาจังหวัด
กลมุ่ จงั หวัดและภาค 
3. มกี ารบูรณาการทง้ั ภายในและภายนอกกระทรวง 
ศึกษาธิการ
4. มกี ารนาแผนงานโครงการไปสู่การปฏบิ ัติ

รวม ๑๖

สรปุ ผลการดาเนนิ การ
๑. สภาพผลการดาเนนิ การในพ้ืนที่ตามประเดน็ การตรวจ ติดตาม เปน็ อย่างไร
๒. วิธีการ/ปัจจัยที่สามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

อย่างไรบา้ ง (แผนงานโครงการ/กิจกรรมรองรับเพ่อื แกป้ ญั หา)
๓. ปญั หา/อปุ สรรคทแี่ ก้ไขไม่ไดใ้ นระดับพืน้ ที่ และขอ้ เสนอแนะระดับพื้นที่

ปญั หา/อุปสรรคที่แก้ไขไม่ไดใ้ นระดบั พ้ืนท่ี ข้อเสนอแนะระดับพ้ืนท่ี

- -
- -

4. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อเปน็ ข้อสั่งการของผ้บู รหิ ารระดับสูง (ถา้ ม)ี

6.1.2) ความเชื่อมโยงการจดั หลกั สตู รการศึกษาทกุ ระดบั เพ่อื ตอบสนองการพฒั นาเชงิ พนื้ ท่ี
ตวั ชวี้ ัด : สานกั งานศึกษาธิการภาคและสานกั งานศกึ ษาธิการจังหวัด มกี ารจัดทาแผนการพฒั นา

การศึกษาท่ีเช่ือมโยงการจัดหลักสูตรการศึกษาเพ่ือตอบสนองการพัฒนาเชิงพื้นที่ (Area - Based
Education Management)

ห น้ า | ๖๒

ผลการดาเนนิ การ

ประเดน็ การเชือ่ มโยงการจัดหลักสตู รการศึกษาเพอ่ื มากที่สดุ ระดับการปฏิบัติ น้อยทีส่ ดุ
ตอบสนองการพฒั นาเชิงพ้นื ท่ี (Area - Based มาก ปานกลาง นอ้ ย
Education Management) 

1. มกี ารจดั ทาแผนพัฒนาการศกึ ษาที่เช่ือมโยงการจัด 
หลักสตู รการศกึ ษาตามบริบทเชิงพ้นื ที่

2. มกี ารขบั เคลื่อนตามแผนพฒั นาการศึกษาท่ีเชอื่ มโยง
การจดั หลกั สูตรการศกึ ษาตามบรบิ ทเชงิ พนื้ ท่ี

รวม

สรปุ ผลการดาเนนิ การ
๑. สภาพผลการดาเนนิ การในพื้นท่ีตามประเด็นการตรวจ ติดตาม เปน็ อย่างไร

๒. วิธีการ/ปัจจัยที่สามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อย่างไรบา้ ง (แผนงานโครงการ/กจิ กรรมรองรบั เพอ่ื แกป้ ญั หา)

๓. ปญั หา/อุปสรรคท่แี ก้ไขไมไ่ ด้ในระดบั พนื้ ท่ี และขอ้ เสนอแนะระดบั พื้นท่ี

ปัญหา/อปุ สรรคทแี่ กไ้ ขไมไ่ ด้ในระดบั พื้นที่ ข้อเสนอแนะระดบั พนื้ ท่ี

- -
- -

4. ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายเพ่ือเปน็ ขอ้ ส่งั การของผู้บริหารระดับสงู (ถ้ามี)

6.1.3) การจัดการและบูรณาการข้อมูลสานสนเทศทางการศกึ ษาเพ่ือการวางแผนการศึกษาเชิงพ้ืนท่ี
และตดิ ตามประเมนิ ผล

ตวั ช้วี ัด : สานกั งานศึกษาธิการภาคและสานกั งานศึกษาธิการจังหวัด สามารถจัดการและบูรณา
การขอ้ มูลสารสนเทศทางการศึกษาเพ่ือการวางแผนการศกึ ษาเชงิ พน้ื ท่ี

ผลการดาเนนิ การ

ประเดน็ การจัดการและบูรณาการข้อมูลสารสนเทศ มากท่ีสุด ระดบั การปฏบิ ัติ น้อยท่ีสุด
ทางการศึกษาเพื่อการวางแผนการศกึ ษาเชงิ พน้ื ท่ี
มาก ปานกลาง นอ้ ย
1. มกี ารจดั เกบ็ รวบรวมและตรวจสอบข้อมลู 

2. มกี ารประมวลผลข้อมูลและจดั ทาสาระสนเทศและ 
เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ดา้ นการศกึ ษาของจงั หวัด 

3. การจัดระบบฐานข้อมลู สารสนเทศ ๑๖
และเทคโนโลยดี จิ ิทัลที่สะดวกตอ่ การนาไปใช้

4. การบูรณาการข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา
ในการวางแผนการศึกษา

รวม

สรุปผลการดาเนินการ
๑. สภาพผลการดาเนินการในพนื้ ทตี่ ามประเดน็ การตรวจ ติดตาม เป็นอยา่ งไร

๒. วิธีการ/ปัจจัยท่ีสามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อยา่ งไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กจิ กรรมรองรบั เพ่ือแก้ปัญหา)

ห น้ า | ๖๓

๓. ปัญหา/อุปสรรคทแ่ี กไ้ ขไมไ่ ดใ้ นระดับพน้ื ที่ และข้อเสนอแนะระดับพืน้ ที่

ปญั หา/อุปสรรคท่แี ก้ไขไมไ่ ด้ในระดบั พน้ื ท่ี ข้อเสนอแนะระดับพน้ื ที่

- -
- -

4. ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพอื่ เปน็ ขอ้ สั่งการของผบู้ รหิ ารระดับสงู (ถ้ามี)

ห น้ า | ๖๔

คณะทางาน

อานวยการ ศึกษาธกิ ารจงั หวัดสรุ ินทร์
นางวิมลมาลย์ รินไธสง รองศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดสรุ ินทร์
นายกิตตภิ ัทท์ ไกรเพชร

บรรณาธกิ าร ผ้อู านวยการกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผล
นางวนั ดี สขุ ชีพ ศกึ ษานเิ ทศก์ / หวั หนา้ งานสนบั สนุนการตรวจราชการ
นายพนสั พรมด้าว ศึกษานเิ ทศก์
นายองอาจ ดีประดวง ศึกษานิเทศก์
นายสุภกั ด์ิ สภุ าลักษณ์ ศึกษานเิ ทศก์
นายชดั เจน ณรตั นคณาสริ ิ ศกึ ษานิเทศก์
นายวัชรพงษ์ วันดี

ผ้รู บั ผดิ ชอบโครงการ และเขียนรายงาน

นายวชั รพงษ์ วันดี ศกึ ษานิเทศก์

ท่ีปรึกษา ศึกษานิเทศก์ นางวนั ดี สขุ ชีพ ศึกษานเิ ทศก์
นายสมโพธิ์ มิฆเนตร ศกึ ษานเิ ทศก์
นายนิวัติ ทมโคตร ศกึ ษานิเทศก์ นางชนัดดา เศลาอนนั ต์ ศกึ ษานิเทศก์
นายกระแส มฆิ ะเนตร ศกึ ษานิเทศก์
นายเกยี รติศกั ด์ิ สอาดย่งิ ศกึ ษานเิ ทศก์ นายพษิ ณุ ชินชนะ ศึกษานเิ ทศก์
นางสาววราภรณ์ บุญเจียม ศกึ ษานิเทศก์
นายมนตรี ดอกแก้ว ศึกษานเิ ทศก์ นางวลิ าวลั ย์ จุดโต ศกึ ษานเิ ทศก์
นายชดั เจน ณรัตน์คณาสิริ ศึกษานิเทศก์
นายทองคา อาไพ นางธญั ลักษณ์ จนั ทร์ศรี ศึกษานเิ ทศก์

นางศริ ิเพ็ญ จันพุทซา ศกึ ษานิเทศก์

นางสาวเมธาวี ติณานนั ท์ ศึกษานเิ ทศก์

นายสมหมาย แกว้ กนั หา ศึกษานเิ ทศก์

ห น้ า | ๖๕

ภาคผนวก


Click to View FlipBook Version