The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนอัตรากำลัง 3 ปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 - 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thayang.c, 2021-05-11 03:58:04

แผนอัตรากำลัง 3 ปี ประจำปีงบประมาณ 2564-2566

แผนอัตรากำลัง 3 ปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564 - 2566

คํานํา

การจัดทําแผนอัตรากําลัง ๓ ป ประจําปงบประมาณ พ.ศ.๒๕64 – ๒๕๖6 ของเทศบาล
ตําบลทายาง มีวัตถุประสงคเพื่อใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นใชเปนเครื่องมือในการวางแผนการใชอัตรา
กําลังคน พัฒนากําลังคน ในองคกรปกครองสวนทองถ่ินใหสามารถดําเนินการตามภารกิจขององคกรปกครอง
สวนทองถ่ิน ไดสําเร็จตามวัตถุประสงคและเปนไปอยางมปี ระสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล

คณะกรรมการจัดทําแผนอัตรากําลังของเทศบาลตําบลทายาง ซ่ึงมีนายกเทศมนตรีเปน
ประธาน ไดวิเคราะหภารกิจ อํานาจหนาท่ีความรับผิดชอบ พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 และที่
แกไขเพ่ิมเติม พระราชบัญญัติกําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น
พ.ศ.2542 ตลอดจนกฎหมายอ่ืน รวมทั้งสอดคลองกับแผนพัฒนาตางๆ จึงไดจัดทําแผนอัตรากําลัง 3 ป
(ประจําปง บประมาณ 2564-2566) รายละเอยี ดตามท่ีปรากฏในเลมน้ี โดยหวังวาสามารถตอบสนองความ
ตองการของประชาชนในทองถนิ่ สกู ารพฒั นาทกุ ๆ ดานใหยั่งยนื ตอไป

เทศบาลตําบลทายาง
กรกฎาคม 2563

สารบัญ หนา
1
เรอ่ื ง 2
๑. หลกั การและเหตุผล…………………………………………………………………………………………… 3
๒. วตั ถุประสงค…………………………………………………………………………………………………….. 4
๓. ขอบเขตและแนวทางในการจดั ทาํ แผนอตั รากาํ ลงั ๓ ป……………………………………….. 5
๔. สภาพปญหา ความตอ งการของประชาชนในเขตพืน้ ท่ีองคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ ....... 15
๕. ภารกจิ อํานาจหนาท่ขี ององคกรปกครองสว นทองถน่ิ ……………………………………………. 19
๖. ภารกิจหลกั และภารกจิ รอง ที่องคกรปกครองสว นทองถนิ่ จะดําเนินการ……………….…. 24
๗. สรปุ ปญหาและแนวทางในการกาํ หนดโครงสรางสวนราชการและกรอบอัตรากําลัง…… 30
๘. โครงสรางการกาํ หนดสว นราชการ………………………………………………………………………. 35
๙. ภาระคา ใชจายเก่ยี วกบั เงินเดอื นและประโยชนตอบแทนอื่น……………………………………. 42
๑๐. แผนภมู ิโครงสรา งการแบง สว นราชการตามแผนอตั รากําลัง ๓ ป. .............................. 48
๑๑. บญั ชแี สดงจดั คนลงสูตําแหนงและการกําหนดเลขทีต่ ําแหนงในสว นราชการ............... 54
12. แนวทางการพฒั นาขาราชการหรอื พนักงานสวนทองถิ่น………………………………………..
๑3. ประกาศคุณธรรม จรยิ ธรรมของขาราชการหรือพนักงานสว นทองถน่ิ และลูกจา ง………
14. ภาคผนวก

- สําเนาคําส่ังแตง ตั้งคณะกรรมการจัดทาํ แผนอัตรากําลงั 3 ป
- สาํ เนารายงานการประชุมคณะกรรมการจดั ทาํ แผนอัตรากําลงั 3 ป
- สําเนาประกาศโครงสรา งสว นราชการและการแบงสว นราชการภายในของเทศบาล

ประกาศเทศบาลตําบลทา ยาง
เร่ือง แผนอัตรากําลัง ๓ ป ประจําปงบประมาณ พ.ศ.๒๕64 – ๒๕๖6

------------------------------------------
ดวยแผนอัตรากําลัง 3 ป (ปงบประมาณ พ.ศ. 2551-2563) ของเทศบาลตําบลทายาง
ครบกําหนดใชบังคับในวันท่ี 30 กันยายน 2563 และเทศบาลตําบลทายาง อําเภอทุงใหญ จังหวัด
นครศรีธรรมราช จะตองดําเนินการจัดทําแผนอัตรากําลัง 3 ป (ปงบประมาณ พ.ศ. 2564-2566) ใหแลว
เสร็จกอนแผนอตั รากาํ ลัง 3 ป ฉบบั เดมิ จะครบกําหนด
อาศัยอํานาจตามมาตรา ๑๕ ประกอบ มาตรา 23 วรรคเจ็ด แหงพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารงานบุคคลสวนทองถ่ิน พ.ศ.๒๕๔๒ และมติคณะกรรมการพนักงานเทศบาลจังหวัดนครศรีธรรมราช
ในการประชมุ ครง้ั ที่ 8/2563 เมอ่ื วันท่ี 24 สิงหาคม 2563 จึงกําหนดตําแหนงและระดับตําแหนงในแผน
อัตรากําลงั ๓ ป ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕64 – ๒๕๖6 ดงั น้ี
ขอ ๑ ประกาศฉบับน้ีเรียกวา ประกาศเทศบาลตําบลทายาง เร่ือง แผนอัตรากําลัง ๓ ป
ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕64 – ๒๕66
ขอ ๒ ประกาศฉบบั นี้ มผี ลใชบังคบั ตั้งแตว ันที่ ๑ ตุลาคม 2563
ขอ ๓ ใหยกเลิกการกําหนดตําแหนงและระดับตําแหนงในแผนอัตรากําลัง ๓ ป ประจําป
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕61 – ๒๕๖3 และท่ีแกไขเพ่ิมเติม โดยใหเปนไปตามการกําหนดตําแหนงและระดับ
ตาํ แหนงฉบบั นีแ้ ทน
ประกาศ ณ วนั ท่ี 31 สิงหาคม พ.ศ.๒๕63

(นายชยั ธศิ กั ดิ์ อําลอย)
นายกเทศมนตรตี าํ บลทา ยาง

1

แผนอตั รากาํ ลัง 3 ป
ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564-2566
เทศบาลตาํ บลทายาง อาํ เภอทุงใหญ จงั หวัดนครศรธี รรมราช
---------------------------------------------

1. หลกั การและเหตผุ ล

แผนอตั รากําลงั 3 ป เปนเคร่ืองมือสําคัญในการตรวจสอบการใชตําแหนงของเทศบาลตําบล
ทายาง ใหเปนไปอยางคุมคา มีประสิทธิภาพ ตลอดจนเปนการควบคุมภาระคาใชจายดานการบริหารงาน
บุคคลไมใหเกินรอยละ 40 ของงบประมาณรายจายประจําปตามมาตรา 35 แหงพระราชการบัญญัติ
ระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น พ.ศ.2542 ประกอบกับแผนอัตรากําลัง 3 ป (ประจําปงบประมาณ
2551 – 2563) ของเทศบาลตําบลทายางที่ใชอยูในปจจุบันจะครบกําหนดในปงบประมาณ 2563 (ส้ินสุด
วันท่ี 30 กันยายน 2563) ซึ่งเทศบาลตําบลทายางจะจัดทําแผนอัตรากําลัง 3 ป(ประจําปงบประมาณ
2564 - 2566) ใหส ัมพนั ธแ ละสอดคลอ งกับแผนอัตรากําลงั ฉบบั เดิม และในการจดั ทําแผนอัตรากําลัง 3 ป
จะตองอาศัยระเบยี บ กฎหมายท่เี กี่ยวของดงั นี้

๑.1 ประกาศคณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถ่ิน (ก.กลาง)
เร่ือง มาตรฐานท่ัวไปเก่ียวกับอัตราตําแหนง กําหนดใหคณะกรรมการขาราชการหรือพนักงานสวนทองถ่ิน
(ก.จังหวัด) กําหนดตําแหนงขาราชการหรือพนักงานสวนทองถ่ินวา จะมีตําแหนงใดระดับใด อยูในสวน
ราชการใด จํานวนเทาใดใหคํานึงถึงภาระหนาที่ความรับผิดชอบ ลักษณะงานท่ีตองปฏิบัติ ความยาก ปริมาณ
และคุณภาพของงาน ตลอดจนท้ังภาระคาใชจายขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน (อบจ., เทศบาล, เทศบาล
และเมืองพัทยา) โดยใหองคกรปกครองสวนทองถ่ิน (อบจ., เทศบาล, เทศบาล และเมืองพัทยา)จัดทําแผน
อัตรากําลังของขาราชการหรือพนักงานสวนทองถ่ินเพ่ือใชในการกําหนดตําแหนงโดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น (ก.จังหวัด) ทั้งนี้ ใหเปนไปตามหลักเกณฑ และวิธีการท่ี
คณะกรรมการกลางขา ราชการหรือพนักงานสว นทองถ่ิน (ก.กลาง) กาํ หนด

๑.2 คณะกรรมการกลางขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น (ก.จ. ก.ท. หรือ ก.เทศบาล)
ไดมีมติเห็นชอบประกาศการกําหนดตําแหนงขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น โดยกําหนดแนวทางให
องคกรปกครองสวนทองถ่ิน (อบจ.,เทศบาล, เทศบาลและเมืองพัทยา) จัดทําแผนอัตรากําลังขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่น เพ่ือเปนกรอบในการกําหนดตําแหนงและการใชตําแหนงขาราชการหรือพนักงานสวน
ทอ งถิน่ โดยเสนอใหคณะกรรมการขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น (ก.จังหวัด) พิจารณาใหความเห็นชอบ
โดยกําหนดใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อบจ., เทศบาล,เทศบาลและเมืองพัทยา) แตงต้ังคณะกรรมการ
จดั ทาํ แผนอัตรากาํ ลัง เพ่ือวเิ คราะหอํานาจหนาทีแ่ ละภารกิจขององคกรปกครองสวนทองถิ่น (อบจ., เทศบาล
เทศบาลและเมืองพัทยา) วิเคราะหความตองการกําลังคน วิเคราะหการวางแผนการใชกําลังคน จัดทํากรอบ

2

อตั รากําลัง และกําหนดหลักเกณฑและเง่ือนไขในการกําหนดตําแหนงขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นตาม
แผนอตั รากาํ ลัง 3 ป

1.3 จากหลักการและเหตุผลดังกลาวเทศบาลตําบลทายาง อําเภอทุงใหญ จังหวัด
นครศรีธรรมราช จงึ ไดจัดทาํ แผนอัตรากาํ ลงั 3 ป (ปงบประมาณ พ.ศ.2564 - 2566) ขึน้

2. วตั ถปุ ระสงค

2.1 เพื่อใหเทศบาลตําบลทายาง มีโครงสรางการแบงงานและระบบงานท่ีเหมาะสม
ไมซ าํ้ ซอ น

๒.๒ เพ่ือใหเทศบาลตําบลทายาง มีการกําหนดตําแหนง การจัดอัตรากําลัง โครงสรางให
เหมาะสมกับอาํ นาจหนาทขี่ องเทศบาลตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.๒๔๙๖ พระราชบัญญัติกําหนดแผน
และข้ันตอนการกระจายอํานาจแกองคกรปกครองสวนทองถน่ิ พ.ศ.๒๕๔๒ และกฎหมายอื่นทีเ่ กี่ยวของ

๒.๓ เพื่อใหคณะกรรมการขาราชการหรือพนักงานสวนทองถ่ิน (ก.จังหวัด) สามารถตรวจสอบ
การกําหนดตาํ แหนงและการใชต าํ แหนง ขาราชการหรอื พนักงานสวนทองถิน่ วา ถูกตองเหมาะสมหรือไม

๒.๔ เพื่อเปนแนวทางในการดําเนินการวางแผนการใชอัตรากําลังการพัฒนาบุคลากรของ
เทศบาลตําบลทา ยาง

๒.๕ เพ่ือใหเทศบาลตําบลทายางสามารถวางแผนอัตรากําลัง ในการบรรจุแตงตั้งขาราชการ
เพ่ือใหการบริหารงานของเทศบาลตําบลทายาง เกิดประโยชนตอประชาชนเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจตามอํานาจ
หนาท่ีมีประสิทธิภาพมีความคุมคาสามารถลดข้ันตอนการปฏิบัติงานมีการลดภารกิจและยุบเลิกหนวยงานที่ไม
จําเปน การปฏิบตั ภิ ารกจิ สามารถตอบสนองความตอ งการของประชาชนไดเปนอยางดี

๒.๖ เพื่อใหอ งคก รปกครองสว นทองถ่ิน สามารถควบคุมภาระคาใชจายดานการบริหารงานบุคคล
ใหเ ปน ไปตามท่กี ฎหมายกาํ หนด

3

3. กรอบแนวคดิ ในการจัดทําแผนอัตรากาํ ลงั 3 ป

คณะกรรมการจัดทําแผนอัตรากําลังของเทศบาลตําบลทายาง ซ่ึงประกอบดวย
นายกเทศมนตรี เปนประธาน หัวหนาสวนราชการทุกสวนราชการ เปนกรรมการ และมีขาราชการหรือ
พนักงานสวนทองถ่ิน 2 คน เปนผูชวยเลขานุการ ดําเนินการจัดทําแผนอัตรากําลัง 3 ป โดยมีขอบเขต
เนือ้ หาครอบคลุมในเรอ่ื งตา งๆ ดงั ตอไปน้ี

๓.๑ วิเคราะหภ ารกิจอํานาจหนาทีค่ วามรับผิดชอบของเทศบาลตําบลทา ยาง ตามพระราชบัญญตั ิ
เทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ และพระราชบัญญัติกําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวน
ทองถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ตลอดจนกฎหมายอื่นใหสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาอําเภอ แผนพัฒนาตําบล นโยบายของรัฐบาล มติคณะรัฐมนตรี นโยบาย
ผูบริหาร รวมถึงสภาพปญหาของเทศบาลตําบลทายาง เพ่ือใหการดําเนินการของเทศบาลตําบลทายางบรรลุ
ตามพนั ธกิจท่ีตั้งไวจําเปนตองจัดสรรอัตรากําลัง ตามหนวยงานตางๆ ใหเหมาะสมกับเปาหมายการดําเนินการ
โดยมมุ มองนีเ้ ปน การพิจารณาวา งานในปจ จุบันที่ดําเนินการอยนู น้ั ครบถว นและตรงตามภารกิจหรือไม อยางไร
หากงานท่ีทําอยูในปจจุบันไมตรงกับภารกิจในอนาคตก็ตองมีการวางแผนกรอบอัตรากําลังใหปรับเปล่ียนไป
ตามทิศทางในอนาคต รวมถึงหากงานในปจจุบันบางสวนไมตองดําเนินการแลว อาจทําใหการจัดสรรกําลังคน
ของบางสวนราชการเปลี่ยนแปลงไป ท้ังน้ี เพ่ือใหเกิดการเตรียมความพรอมในเรื่องกําลังคนใหรองรับ
สถานการณในอนาคต

3.2 การกาํ หนดโครงสรา งการแบง สว นราชการภายในและการจัดระบบงาน เพ่ือรองรับ
ภารกิจตามอํานาจหนาท่ีความรับผิดชอบ ใหสามารถแกปญหาของจังหวัดนครศรีธรรมราชไดอยางมี
ประสิทธิภาพ

3.3 การวิเคราะหตนทุนคาใชจายของกําลังคน : Supply pressure เปนการนําประเด็น
คาใชจายบุคลากรเขามารวมในการพิจารณา เพื่อการจัดการทรัพยากรบุคคลท่ีมีอยูอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด
กําหนดตําแหนงในสายงานตางๆ จํานวนตําแหนง และระดับตําแหนง ใหเหมาะสมกับภาระหนาท่ีความ
รับผิดชอบ ปรมิ าณงาน และคณุ ภาพของงาน รวมทัง้ สรางความกาวหนาในสายอาชพี ของกลุมงานตางๆ

3.3.1 การจัดระดับชั้นงานที่เหมาะสม ในการพิจารณาถึงตนทุนตอการกําหนด
ระดบั ชั้นงานในแตละประเภท เพอื่ ใหการกาํ หนดตําแหนงและการปรับระดบั ชั้นงานเปนไปอยางประหยัดและมี
ประสทิ ธิภาพสงู สุด

3.3.2 การจดั สรรประเภทของพนักงานสวนทอ งถน่ิ ขา ราชการครู และพนักงานจาง
โดยหลักการแลว การจัดประเภทลักษณะงานผิดจะมีผลกระทบตอประสิทธิภาพ และตนทุนในการทํางานของ
องคก ร ดังนน้ั ในการกําหนดอัตรากําลังขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่นในแตละสวนราชการจะตองมีการ
พิจารณาวาตําแหนงที่กําหนดในปจจุบันมีความเหมาะสมหรือไมหรือควรเปล่ียนลักษณะการกําหนดตําแหนง
เพ่ือใหการทํางานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพมากข้ึน โดยภาระคาใชจายดานการบริหารงานบุคคลตองไมเกิน

4

รอยละสี่สบิ ของงบประมาณรายจายตามมาตรา 35 แหง พระราชบญั ญัติระเบยี บบรหิ ารงานบุคคลสวนทองถ่ิน
พ.ศ.2542

3.4 การวิเคราะหกระบวนการและเวลาท่ีใชในการปฏิบัติงาน เปนการนําขอมูลเวลาที่ใชใน
การปฏิบัติงานตามกระบวนการจริง (Work process) ในอดีต เพ่ือวิเคราะหปริมาณงานตอบุคคลจริงโดย
สมมติฐานท่ีวา งานใดที่ตองมีกระบวนการและเวลาที่ใชมากกวาโดยเปรียบเทียบยอมตองใชอัตรากําลังคน
มากกวา อยางไรก็ดีในภาคราชการสวนทองถิ่นนั้นงานบางลักษณะ เชน งานกําหนดนโยบาย งานมาตรฐาน
งานเทคนคิ ดานชาง หรืองานบริการบางประเภทไมส ามารถกาํ หนดเวลามาตรฐานได ดังนั้น การคํานวณเวลาท่ี
ใชในกรณีของภาคราชการสวนทองถ่ินนั้นจึงทําไดเพียงเปนขอมูลเปรียบเทียบ (Relative lnfc mation)
มากกวาจะเปนขอมลู ทีใ่ ชใ นการกําหนดคํานวณอัตรากําลังตอหนวยงานจริงเหมือนในภาคเอกชน นอกจากน้ัน
กอ นจะคํานวณเวลาท่ีใชในการปฏิบัติงานแตละสวนราชการจะตองพิจารณาปริมาณงาน ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
วามีสอดคลองกับภารกิจของหนวยงานหรือไม เพราะในบางคร้ังอาจเปนไปไดวางานที่ปฏิบัติอยูในปจจุบันมี
ลกั ษณะเปน งานโครงการพิเศษ หรอื งานของหนวยงานอื่น กม็ ีความจําเปนตอ งมาใชป ระกอบการพิจารณาดว ย

3.5 การวิเคราะหผลงานท่ีผานมาเพื่อประกอบการกําหนดกรอบอัตรากําลังเปนการนํา
ผลลัพธท่ีพึงประสงคของแตละสวนราชการและพันธกิจขององคกรมายึดโยงกับจํานวนกรอบอัตรากําลังที่ตอง
ใชสําหรับการสรางผลลัพธท่ีพึงประสงคใหไดเปาหมายโดยสมมติฐานที่วาหากผลงานที่ผานมาเปรียบเทียบกับ
ผลงานในปจจุบันและในอนาคตมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ อาจตองมีการพิจารณาแนวทางในการ
กําหนด/เกล่ียอัตรากําลังใหมเพื่อใหเกิดการทํางานที่มีประสิทธิภาพและสนับสนุนการทํางานตามภารกิจของ
สว นราชการและองคกรอยางสงู สุด

3.6 การวเิ คราะหขอมลู จากความเห็นแบบ 360 องศา เปนการสอบถามความคิดเห็นจาก
ผูมีสวนไดสวนเสียหรือนําประเด็นตางๆ อยางเร่ืองการบริหารงาน งบประมาณ คน มาพิจารณาอยางนอยใน
3 ประเดน็ ดังนี้

3.6.1 เร่ืองพ้ืนที่และการจัดโครงสรางองคกร เน่ืองจากการจัดโครงสรางองคกรและ
การแบงงานในพ้ืนท่ีนั้นจะมีผลตอการกําหนดกรอบอัตรากําลังเปนอยางมากเชนหากกําหนดโครงสรางท่ีมาก
เกินไปจะทําใหเกิดตําแหนงงานขึ้นตามมาอีกไมวาจะเปนงานหัวหนาฝาย งานธุรการ สารบรรณและบริหาร
ทั่วไปในสวนราชการนั้น ซ่ึงอาจมีความจําเปนตองทบทวนวาการกําหนดโครงสรางในปจจุบันของแตละสวน
ราชการนน้ั มคี วามเหมาะสมมากนอ ยเพียงใด

3.6.2 เรื่องการเกษียณอายุราชการ เน่ืองจากหลายๆ สวนราชการในปจจุบันมี
ขา ราชการสูงอายจุ ํานวนมาก ดังน้นั อาจตองมีการพิจารณาถึงการเตรียมการเร่ืองกรอบอัตรากําลังท่ีจะรองรับ
การเกษียณอายุของขาราชการ ทั้งน้ี ไมวาจะเปนการถายทอดองคความรู การปรับตําแหนงท่ีเหมาะสมขึ้น
ทดแทนตาํ แหนงที่จะเกษียณอายไุ ป เปนตน

3.6.3 ความคิดเห็นของผูมีสวนไดสวนเสีย เปนการสอบถามจากเจาหนาท่ีภายในสวน
ราชการและผูท่ีมสี ว นเกย่ี วของกบั การสวนราชการน้ันๆ ผานการสงแบบสอบถามหรือการสัมภาษณซ่ึงมุมมอง
ตา งๆ อาจทําใหก ารกาํ หนดกรอบอตั รากําลังเปน ไปอยา งมปี ระสิทธิภาพมากขน้ึ

5

3.7 การพิจารณาเปรียบเทียบการกรอบอัตรากําลังขององคกรอ่ืนๆ กระบวนการน้ีเปน
กระบวนการนําขอมูลของอัตรากําลังในหนวยงานที่มีลักษณะงานใกลเคียงกัน เชน การเปรียบเทียบจํานวน
กรอบอัตรากําลังของงานการเจาหนาที่ใน เทศบาล ก. และงานการเจาหนาท่ีใน เทศบาล ข. ซ่ึงมีหนาท่ี
รับผิดชอบคลายกัน โดยสมมติฐานท่ีวาแนวโนมของการใชอัตรากําลังของแตละองคกรในลักษณะงานและ
ปริมาณงานแบบเดียวกนั นาจะมีจํานวนและการกําหนดตําแหนง คลา ยคลงึ กันได

3.8 เทศบาลตาํ บลทา ยาง มแี ผนการพัฒนาบุคลากรเพ่อื ใหพ นักงานในองคกรทุกคนไดรับการ
พัฒนาความรคู วามสามารถในสายงานอยางนอยปล ะ 1 ครง้ั

การวิเคราะหขอมูลเพื่อกําหนดกรอบอัตรากําลังไมมุงเนนในการเพิ่ม เกลี่ยหรือลดจํานวน
กรอบอัตรากําลังเปนสําคัญ แตมีจุดมุงหมายเพื่อใหสวนราชการมีแนวทางในการพิจารรากําหนดกรอบ
อัตรากําลังเปนระบบมากขึ้น นอกจากน้ันยังมีจุดมุงเนนใหสวนราชการพิจารณาการกําหนดตําแหนง
ที่เหมาะสม (Right Jobs) มากกวาการเพ่ิม/ลดจํานวนตําแหนง ตัวอยาง เชน การวิเคราะหตนทุนคาใช
จายแลว พบวาการกําหนดกรอบตําแหนงในประเภททั่วไปอาจมีความเหมาะสมนอยกวาการกําหนดตําแหนง
ประเภทวิชาการในบางลกั ษณะงาน ท้งั ๆ ท่ใี ชต นทุนไมแตกตางกันมาก รวมถึงในการพิจารณาที่กระบวนการ
ทํางานก็พบวาเปนลักษณะงานในเชิงการวิเคราะหในสายอาชีพมากวางานในเชิงปฏิบัติงาน และสวนราชการ
อ่ืนก็กําหนดกรอบอัตรากําลังในลักษณะงานน้ีเปนตําแหนงประเภทวิชาการโดยไมไดเพิ่มจํานวนตําแหนงของ
สวนราชการเลย โดยสรุปอาจกลาวไดวา กรอบแนวคิดการวิเคราะหอัตรากําลัง (Effective Man Power
Planning Framework) นี้จะเปนแนวทางใหสวนราชการสามารถมีขอมูลเชิงวิเคราะหอยางเพียงพอในการที่
จะอธิบายเหตุผลเชิงวิชาการสําหรับการวางแผนกรอบอัตรากําลังท่ีเหมาะสมตามภารกิจงานของแตละสวน
ราชการ นอกจากนน้ั การรวบรวมขอ มลู โดยวธิ ีการดงั กลา วจะทาํ ใหสว นราชการ สามารถนําขอมูลเหลาน้ีไปใช
ประโยชนใ นเรื่องอนื่ ๆ เชน

- การใชขอมลู ที่หลากหลายจะทาํ ใหเ กิดการยอมรับไดม ากกวาโดยเปรยี บเทยี บหากจะตองมี
การเกลีย่ อัตรากาํ ลงั ระหวา งหนวยงาน

- การจัดทํากระบวนการจริง (Work process) จะทําใหไดเวลามาตรฐานที่จะสามารถ
นาํ ไปใชวัดประสิทธิภาพในการทํางานของบุคคลไดอยางถูกตองรวมถึงในระยะยาวสวนราชการสามารถนํา
ผลการจัดทํากระบวนการและเวลามาตรฐานนี่ไปวิเคราะหเพ่ือการปรับปรุงกระบวนการ (Process Re-
engineer) อนั จํานําไปสกู ารใชอตั รากําลังท่ีเหมาะสมและมปี ระสิทธิภาพมากขึน้

- การเก็บขอ มูลผลงาน จะทาํ ใหส ามารถพยากรณแนวโนมของภาระงาน ซ่ึงจะเปนประโยชน
ในอนาคตตอสว นราชการในการเตรียมปรบั ยทุ ธศาสตรใ นการทาํ งาน เพ่ือรองรับภารกจิ ทีจ่ ะเพิ่ม/ลดลง

6

4. สภาพปญ หาของพื้นท่ีและความตองการของประชาชน

เทศบาลตําบลทายาง เดิมเปนสุขาภิบาลทายาง ไดรับการยกฐานะตามพระราชบัญญัติ
เปล่ียนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเปนเทศบาล พ.ศ. 2542 เม่ือวันท่ี 25 พฤษภาคม 2542 ตั้งอยูใน
อําเภอทุงใหญ ระยะหางจากจังหวัดนครศรีธรรมราช 105 กิโลเมตร การสัญจรไปมาสะดวก และเปน
เสนทางผานไปยังจังหวัดกระบ่ี และสุราษฎรธานี ลักษณะเปนเมืองเล็กๆ ประชากรมีความเปนอยูที่
เรยี บงายสวนใหญประกอบอาชีพทางการเกษตรและคาขาย พ้ืนที่สวนใหญเปนท่ีราบลุมเหมาะสําหรับการทํา
การเกษตร

สภาพปญ หา/ความตอ งการของทองถนิ่
4.1 ดา นโครงสรางพน้ื ฐาน
สภาพปญ หา
- ปญหาฝนุ ละอองถนนสายหลักชาง (สวนทย่ี ังไมไดขยายผวิ จราจร)
- มปี ญหานํา้ ทว มขังบรเิ วณถนนสายหลกั และถนนซอย ในหลายพ้ืนท่ี
- ถนนเปน หลมุ – บอ บรเิ วณสายหนาอําเภอทุงใหญ
- การจราจรติดขดั บริเวณตลาดเยน็
- ปญหาถนนชํารุดทาํ ใหการเดินทางไมสะดวกซอยมหาชยั อุทิศไมมีนํา้ ประปา
ใชไ มมไี ฟสอ งทาง
- ปญ หาถนนชํารดุ ทาํ ใหการเดนิ ทางไปมาไมส ะดวก
ความตองการ/แนวทางแกไ ข
- กอ สรางถนนลาดยางสายประปา ๒ (หัว – ทา ย)
- ปรบั ปรงุ ไหลทางหินคลกุ ถนนสายทุงใหญ – หลักชาง
- กอสรางทอระบายนา้ํ ถนนสายทุง ใหญ – หลกั ชา ง (ฝง ซาย)
- กอ สรา งอาคารตลาดเย็น
- กอสรา งครู ะบายนา้ํ คสล.ถนนประปา 1
- ขยายเขตไฟฟาบานชองตลอดจากบา นนางจินดา - บานนางปราณี
4.2 ดา นเศรษฐกจิ
สภาพปญ หา
- ประชาชนมรี ายไดไ มเพยี งพอ ขาดการรวมกลุมในการประกอบอาชีพ ขาดความรู
ความชาํ นาญและเทคโนโลยใี นการประกอบอาชีพ ทาํ ใหไดผลผลติ ไมเตม็ ท่ีและไมม ี
ประสิทธภิ าพเทา ที่ควร
- มีการรวมกลุม ของชมุ ชนแตยังไมม ีความเขมแข็งเพียงพอ
- ถนนเปน หลมุ – บอ บริเวณสายหนา อาํ เภอทุงใหญ
- ขาดเงินลงทนุ และแหลงเงินทนุ มนี อ ยเมือ่ เทยี บกบั ความตอ งการของประชาชน

7

ความตองการ/แนวทางแกไ ข
- สง เสริมการเกษตรตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง จดั อบรมใหค วามรู และ

หาผูเช่ียวชาญมาใหค ําแนะนําเพ่ือเพิ่มพูนความรูที่หลากหลายใหป ระชาชนในพื้นท่ี
- ตองอาศัยความเชื่อมโยงและการบูรณาการระหวางกลุม/องคกร/ชุมชนและภาค
สวนตางๆ
- สงเสรมิ พฒั นาศกั ยภาพของชมุ ชนในการสรางมูลคา เพมิ่ ใหผลิตภัณฑ ซ่ึงจะสงผลให
มกี ารสรางรายไดล ดรายจายในครวั เรอื น
4.3 ดา นสาธารณสขุ
สภาพปญ หา
-ปญ หามลพิษ และกล่ินเหมน็ จากขยะ
- ปญ หาขยะในตลาดสด
- ปญ หานํา้ เสยี จากตลาดไหลบนถนน สงกล่ินเหมน็
ความตองการ/แนวทางแกไ ข
- ควรเปล่ียนการเกบ็ ขยะเปนเวลาสองทมุ เพราะถาเกบ็ ในชว งกลางวนั ขยะจะ

สงกล่ิน
- จัดใหม ีการแยกถังขยะแหง ขยะเปย ก
- กอสรา งถนนสายขา งสถานทที่ ้ิงขยะ (ยายจากเสน เดิม เปล่ยี นเสนทางใหม
นางผอน ศรสี วสั ดิ์ อุทศิ ให)

4.4 ดา นสังคม – การศกึ ษา
สภาพปญ หา
- การดูแลในเรือ่ งสุขภาพอนามยั ของประชาชนยังไมท ว่ั ถงึ เนือ่ งจากเทศบาลขาด
เครือ่ งมือและบุคลากรทางการแพทย
- ประชาชนสว นใหญตอ งการใหมศี นู ยพฒั นาเด็กเล็กของเทศบาลและโรงเรียนของ
เทศบาลเพ่อื ความสะดวกในการนําบตุ รหลานมาฝากเรียน เพื่อจะไดประกอบ
อาชีพ
- ปญ หาเร่ืองความปลอดภัยในชวี ิตและทรัพยสนิ
- ปญ หายาเสพตดิ

ความตอ งการ/แนวทางแกไ ข
- ติดต้งั กลอ งวงจรปด บรเิ วณจุดเสยี่ ง
- ปรับปรุงอาคารศนู ยการเรยี นรเู ปน ทีท่ ําการชมุ ชน
- ติดต้งั ไฟเตือนบรเิ วณทางรวม ทางแยกดงั นี้ แยกวิทยานุเคราะห แยกนาทอ ม
แยกถนนสิทธนิ รา แยกถนนชลประทาน แยกสดุ เขตหนองขน้ี าค

8

4.5 ดา นการพัฒนาการเมอื ง การบรหิ าร ภายใตร ะบบธรรมาภบิ าล
สภาพปญ หา
- ปญหาความตองการและความจําเปนของประชาชนมีจํานวนมากซ่ึงจะตองใช

งบประมาณในการพฒั นาสูงแตง บประมาณทไี่ ดร ับมจี าํ นวนจาํ กัด
- ขาดอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใชในการปฏิบัติงาน เน่ืองมาจากเทศบาลตําบล

ทายางมีปริมาณงานดา นตา งๆ เพิ่มมากขึ้น
- สถานทปี่ ฏิบตั ิงาน สภาพแวดลอมและภูมิทัศนบริเวณเทศบาลยังไมมีความพรอม

ในการปฏิบัติงานในงานบางดาน
- ประชาชน ผูนําชุมชน ควรไดรับการสงเสริมองคความรู บทบาทหนาท่ี และ

พฒั นาการมสี ว นรวมแบบบูรณาการกับหนว ยงานภาครัฐมากย่ิงขน้ึ
ความตองการ/แนวทางแกไข
- เทศบาลจะตองบูรณาการความรวมมือกับสวนราชการอ่ืนๆ ในการพัฒนาตําบล

และสงเสรมิ ใหประชาชนยึดหลักการพัฒนาแบบยงั่ ยนื
- จดั หา/ซอ มแซมอุปกรณฯ ใหอยูใ นสภาพทีเ่ หมาะสมตอ การใชง าน
- ปรับปรุง ซอมแซม ตกแตงสถานท่ีใหมีสภาพแวดลอมที่เหมาะสมตอการใหบริการ

ประชาชนและการปฏิบัติงาน
- ประชาชน ผูนําชุมชน ควรไดรับการสง เสริมองคความรู บทบาทหนาที่ และ

พัฒนาการมสี วนรวมแบบบูรณาการกับหนวยงานภาครฐั มากยง่ิ ข้นึ
4.6 ดา นการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอม
สภาพปญ หา
- ขาดความตระหนักถึงคุณคาของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมของประชาชน เชน

สตั วน ํ้าใกลส ญู พนั ธ ในชว งฤดแู ลงขาดนํา้ อุปโภคบรโิ ภค ในชว งฤดูฝนนํา้ ทว มขัง ปาไมถ ูกทําลาย
- ดานมลภาวะจากการประกอบอาชีพของประชาชน เน่ืองจากประชาชนบางสวนยังขาด

ความเขาใจและตองการความสะดวกสบายในการดํารงชวี ิต เหน็ แกป ระโยชนส วนตน
ความตองการ/แนวทางแกไ ข
- สรางความตระหนกั และสงเสรมิ การมสี ว นรว มอนุรักษท รัพยากรธรรมชาติ
- สง เสรมิ และสรางความเขาใจใหป ระชาชนตระหนักถึงประโยชนส วนรวมและอนุรักษ

ทรพั ยากรธรรมชาติมากย่งิ ข้ึน

9

5. ภารกิจ อาํ นาจหนา ที่ขององคกรปกครองสวนทองถน่ิ
คณะกรรมการจัดทําแผนอัตรากําลัง 3 ป ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564-2566 ของเทศบาล

ตําบลทายางไดพิจารณาถึงภารกิจ อํานาจหนาที่ของเทศบาลตามกฎหมายจัดต้ังและกฎหมายอื่นท่ีเกี่ยวของ
ดงั ตอ ไปนี้

1. อํานาจหนา ทต่ี ามพระราชบัญญตั เิ ทศบาล พ.ศ.2496 และที่แกไขเพม่ิ เติมถึง
(ฉบับท่ี 14) พ.ศ.2562 ซ่งึ ไดกําหนดอาํ นาจหนาท่ขี องเทศบาลตําบลดังน้ี

มาตรา 50 ภายใตบังคับแหงกฎหมายเทศบาลตําบลมีหนาท่ีตองทําในเขตเทศบาล
ดังตอ ไปนี้

1. รักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน
2. ใหม ีและบาํ รงุ ทางบกและทางนาํ้
3. รกั ษาความสะอาดของถนน หรือทางเดนิ และที่สาธารณะ รวมทั้งการกาํ จดั มลู ฝอย

และส่ิงปฏกิ ลู
4. ปอ งกันและระงบั โรคติดตอ
5. ใหม ีเคร่ืองใชในการดบั เพลงิ
6. ใหราษฎรไดรับการศกึ ษาอบรม
7. สง เสรมิ การพัฒนาสตรี เดก็ เยาวชน ผูสูงอายุ และผูบริการ
8. บาํ รุงศลิ ปะ จารีตประเพณี ภมู ิปญญาทองถิน่ และวฒั นธรรมอันดีของทอ งถ่นิ
9. หนาทอี่ นื่ ตามท่ีกฎหมายบญั ญัติใหเปนหนาทข่ี องเทศบาล
มาตรา 51 ภายใตบังคับแหงกฎหมาย เทศบาลตําบลอาจจัดทํากิจการใดๆ ในเขต
เทศบาล ดงั ตอ ไปน้ี
1. ใหม ีน้ําสะอาดหรอื การประปา
2. ใหมีโรงฆา สัตว
3. ใหมีตลาด ทาเทียบเรอื และทาขา ม
4. ใหม สี สุ านและฌาปนสถาน
5. บํารงุ และสง เสรมิ การทาํ มาหากินของราษฎร
6. ใหม ีและบาํ รงุ สถานท่ีทําการพิทกั ษรกั ษาคนเจบ็ ไข
7. ใหมแี ละบาํ รงุ การไฟฟาหรอื แสงสวา งโดยวิธีอน่ื
8. ใหมีและบํารงุ ทางระบายน้าํ
9. เทศพาณิชย

10
2. อํานาจหนาท่ีตามพระราชบัญญัติกําหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอํานาจใหแก
องคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2542 หมวด 2 การกําหนดอํานาจและหนาท่ีในการจัดระบบการบริการ
สาธารณะ

มาตรา 16 ใหเทศบาลมีอํานาจและหนาท่ี ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อ
ประโยชนข องประชาชนในทอ งถ่นิ ดวยตนเองดงั น้ี

1. การจัดทําแผนพฒั นาทอ งถิน่ ของตนเอง
2. การจัดใหม แี ละบํารุงรักษาทางบก ทางนา้ํ และทางระบายนํา้
3. การจดั ใหมีและควบคมุ ตลาด ทาเทียบเรอื ทาขา ม และทีจ่ อดรถ
4. การสาธารณูปโภคและการกอ สรางอืน่ ๆ
5. การสาธารณปู การ
6. การสงเสรมิ การฝก และการประกอบอาชพี
7. การพาณิชย และการสง เสรมิ การลงทุน
8. การสง เสริมการทองเทีย่ ว
9. การจัดการศกึ ษา
10. การสงั คมสงเคราะห และการพฒั นาคุณภาพชวี ิตเดก็ สตรี คนชรา และ

ผูดอ ยโอกาส
11. การบาํ รงุ รักษาศลิ ปะจารตี ประเพณี ภูมิปญญาทอ งถน่ิ และวัฒนธรรมอันดีของทองถ่นิ
12. การปรับปรุงแหลงชมุ ชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับท่อี ยูอาศัย
13. การจัดใหมแี ละบํารงุ รักษาสถานทพี่ ักผอนหยอนใจ
14. การสง เสริมการกีฬา
15. การสง เสรมิ ประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของประชาชน
16. สงเสรมิ การมีสวนรว มของราษฎรในการพฒั นาทอ งถ่นิ
17. การรกั ษาความสะอาดและความเปนระเบียบเรยี บรอ ยของบา นเมือง
18. การกาํ จัดมลู ฝอย สิ่งปฏิกลู และนํา้ เสีย
19. การสาธารณสุข การอนามัยครอบครวั และการรักษาพยาบาล
20. การจดั ใหมีและควบคมุ สสุ านและฌาปนสถาน
21. การควบคมุ การเลย้ี งสัตว
22. การจดั ใหม แี ละควบคุมการฆาสัตว
23. การรักษาความปลอดภยั ความเปนระเบียบเรียบรอย และการอนามัยโรงมหรสพ

และสาธารณสถานอน่ื ๆ
24. การจดั การ การบํารงุ รักษา และการใชป ระโยชนจ ากปา ไม ท่ดี นิ

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ ม
25. การผังเมือง
26. การขนสง และการวิศวกรรมจราจร
27. การดแู ลรกั ษาท่ีสาธารณะ
28. การควบคมุ อาคาร

11

29. การปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั
30. การรกั ษาความสงบเรยี บรอ ย การสงเสรมิ และสนับสนนุ การปอ งกนั และรักษา

ความปลอดภัยในชวี ติ และทรพั ยสนิ
31. กจิ การอน่ื ใดท่เี ปน ผลประโยชนข องประชาชนในทองถนิ่ ตามท่คี ณะกรรมการ

ประกาศกําหนด
ในการน้ี คณะกรรมการจัดทําแผนอัตรากําลัง 3 ป (ปงบประมาณ 2561-2563)
ของเทศบาลตําบลทายาง ไดวิเคราะหภารกิจอํานาจหนาที่ตามบทบัญญัติกฎหมายจากพระราชบัญญัติ
เทศบาลพ.ศ.2496 และที่แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 12) พ.ศ.2546 และพระราชบัญญัติกําหนดแผนและ
ขั้นตอน การกระจายอํานาจใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2542 และวิเคราะหถึงจุดแข็ง จุดออน
โอกาส และภัยคุกคามในการดําเนินการตามภารกิจ SWOT โดยวิเคราะหภารกิจและอํานาจหนาท่ีออกเปน
7 ดา น ไดด งั นี้
5.1 ดา นโครงสรา งพื้นฐานมภี ารกิจทเ่ี กย่ี วของดงั น้ี

(๑) การจดั ใหมแี ละบาํ รงุ รักษาทางบกทางน้ํา และทางระบายนํ้า (มาตรา ๑๖ (๒)
มาตรา ๕๐ (๒)

(๒) การสาธารณูปโภคและการกอสรา งอ่ืนๆ (มาตรา ๑๖ (๔)
(๓) การสาธารณปู การ (มาตรา ๑๖ (๕)
(๔) การควบคมุ อาคาร (มาตรา ๑๖ (๒๘)
(๕) การผังเมือง (มาตรา ๑๖ (๒๕))
(๖) ใหม ีน้าํ สะอาดหรือการประปา (มาตรา ๕๑ (๑)
(๗) ใหม แี ละบาํ รุงการไฟฟาหรือแสงสวา งโดยวิธีอ่นื (มาตรา ๕๑ (๗)
(๘) การขนสงและการวิศวกรรมจราจร (มาตรา ๑๖ (๒๖)
(๙) การจดั ใหมีและควบคุมตลาด ทา เทียบเรือ ทาขา ม และทจี่ อดรถ (มาตรา ๑๖(๓)

(มาตรา ๕๑ (๓)
5.2 ดา นสงเสริมคุณภาพชวี ิตมีภารกจิ ทีเ่ ก่ยี วของ ดงั นี้

(๑) การจัดการศกึ ษา (มาตรา ๑๖ (๙) (มาตรา ๕๐ (๖)
(๒) การสง เสริมกีฬา (มาตรา ๑๖ (๑๔))
(๓) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล (มาตรา ๑๖ (๑๙)

(มาตรา ๕๐ (๔))
(๔) การสังคมสงเคราะห และการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตเดก็ สตรี คนชรา และ

ผดู อ ยโอกาส (มาตรา๑๖)
(๕) การจัดใหมแี ละควบคุมสุสานและฆาตปนสถาน (มาตรา๑๖(๒๐) (มาตรา๕๑ (๔)
(๖) ใหม ีและบํารุงสถานท่ีทําการพทิ ักษร กั ษาคนเจ็บไข (มาตรา ๕๑ (๖)
(๗) การควบคมุ การเล้ยี งสตั ว (มาตรา ๑๖ (๒๑)
(๘) การจัดใหม ีและควบคุมการฆา สตั ว (มาตรา ๑๖ (๒๒)

12

5.3 ดา นการจดั ระเบียบชุมชน สงั คม และการรักษาความสงบเรยี บรอ ยมภี ารกจิ ท่เี กีย่ วของ
ดังน้ี

(๑) การกั ษาความสงบเรยี บรอยของประชาชน (มาตรา ๕๐ (๑)
(๒) การรักษาความปลอดภัย ความเปน ระเบียบเรียบรอย และการอนามัย

โรงมหรสพและสาธารณสถานอนื่ ๆ (มาตรา ๑๖ (๒๓))
(๓) การปรับปรุงแหลงชุมชนแออัด และการจดั การเกีย่ วกับที่อยูอ าศยั

(มาตรา๑๖ (๑๒))
(๔) การรักษาความสะอาด และความเปน ระเบียบเรียบรอยของบานเมอื ง

(มาตรา ๑๖ (๑๗)
(๕) การรักษาความสงบเรยี บรอย การสง เสรมิ และสนับสนนุ การปอ งกนั และ

รักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสนิ (มาตรา ๑๖ (๓๐)
(๖) การปองกันและบรรเทาสาธารณภยั (มาตรา ๑๖ (๒๙)
5.4 ดา นการวางแผน การสงเสรมิ การลงทุน พาณิชกรรม และการทองเที่ยว มีภารกจิ ที่
เกยี่ วขอ ง ดังนี้
(๑) บาํ รงุ และสงเสรมิ การทํามาหากจิ ของราษฎร มาตรา ๕๑ (๕)
(๒) การสง เสริม การฝก และการประกอบอาชีพ มาตรา ๑๖ (๖)
(๓) การพาณิชย และการสง เสริมการลงทนุ มาตรา ๑๖ (๗) มาตรา ๕๑ (๙)
(๔) การสงเสรมิ การทองเที่ยว มาตรา ๑๖ (๘)
(๕) การจัดทาํ แผนพัฒนาทองถิ่นของตนเอง มาตรา ๑๖ (๑)
5.5 ดานการบริหารจัดการและการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอม มภี ารกจิ
ทเ่ี ก่ยี วของ ดังนี้
(๑) การจดั การ การบาํ รุงรกั ษาและการใชประโยชนจ ากปา ไม ท่ีดิน

ทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ ม มาตรา ๑๖ (๑๔)
(๒) การจัดใหมีและบํารุงรักษาสถานทพี่ ักผอนหยอนใจ มาตรา ๑๖ (๑๓)
(๓) การดแู ลท่ีสาธารณะ มาตรา ๑๖ (๒๗)
(๔) การกาํ จดั ขยะมูลฝอย สิง่ ปฏกิ ูลและนํ้าเสีย มาตรา ๑๖ (๑๘) มาตรา ๕๐ (๓)
5.6 ดา นการศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภมู ปิ ญ ญาทอ งถ่นิ มีภารกิจท่ี
เก่ยี วขอ ง ดังน้ี
(๑) บาํ รงุ รกั ษาศลิ ปะจารีตประเพณี ภูมปิ ญ ญาทองถ่นิ และวฒั นะธรรมอนั ดีของ

ทอ งถนิ่ มาตรา ๑๖ (๑๑) มาตรา ๕๐ (๘)
5.7 ดา นการบรหิ ารจดั การและสนับสนนุ การปฏิบตั ิภารกิจของสว นราชการและองคกร
ปกครองสวนทอ งถน่ิ มีภารกิจทเ่ี ก่ยี วของ ดงั น้ี

(๑) ใหมเี คร่ืองใชใ นการดบั เพลงิ มาตรา ๕๐ (๕)
(๒) การสงเสรมิ ประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธเิ สรีภาพของประชาชน

(มาตรา ๑๖ (๑๕))
(๓) การสง เสริมการมีสว นรวมของราษฎรในการพฒั นาทองถ่นิ มาตรา ๑๖ (๑๖)

13

หมายเหตุ : มาตรา 50,51 หมายถึง พระราชบัญญตั ิเทศบาลพ.ศ.2496 และทแ่ี กไขเพ่มิ เติมถงึ
(ฉบบั ท่ี 12) พ.ศ.2546 มาตรา 16 หมายถงึ พระราชบญั ญตั ิกําหนดแผนและขน้ั ตอน
กระจายอาํ นาจใหแกองคกรปกครองสว นทองถ่ิน พ.ศ.2542

การวเิ คราะหภ ารกิจและอํานาจหนาท่ีของเทศบาลตําบลทายาง ดว ยเทคนิค SWOT analysis
จดุ แข็ง (Strength –S)
๑. ผูบริหารมคี วามรู ความเขาใจในเรื่องการเมืองการปกครองของทองถ่ินเปนอยางดี
๒. มีการจัดโครงสรางภายในที่เหมาะสมสอดคลองกับภารกิจ มีการมอบหมายหนาที่
รบั ผดิ ชอบ และมกี ารบริหารจัดการโดยยดึ หลักธรรมาภบิ าล
๓. บคุ ลากรมีความรคู วามสามารถในการปฏบิ ตั ิหนาที่ โดยไดร ับการฝก อบรมอยางตอ เนื่อง
4. มีทรัพยากรธรรมชาติ ทางทรัพยากรปาไมและแหลงน้ําธรรมชาติเหมาะสําหรับแหลง
ทองเท่ยี วเชิงอนรุ กั ษ
จุดออน (Weak – W)
๑. กฎระเบียบขอบังคับตางๆ มีการปรับปรุงแกไขตลอดเวลา ขาดความชัดเจนในการ
ดําเนนิ งาน
๒. มีพื้นทีร่ ับผิดชอบหลายหมบู าน (11 หมบู าน) ทําใหงบประมาณในการพัฒนา ดานตาง ๆ ยัง
ไมเพยี งพอตอความตองการของประชาชน
๓. สถานท่ีทําการมีความคับแคบ เคร่ืองมือเครื่องใชและวัสดุอุปกรณไมเพียงพอตอการ
ปฏบิ ัติงาน
โอกาส (Opportunity – O)
๑. นโยบายรัฐบาล/จังหวัด สนับสนุนการพัฒนาดานเกษตร เพ่ือสนองยุทธศาสตรพัฒนา
เกษตรสูสากลสอดคลอ งกับศักยภาพองคก รปกครองสวนทอ งถ่นิ
๒. เทศบาลตําบลทายาง ใหความสําคัญในการพัฒนา และสนับสนุน ดานการศึกษา ใหมี
ความสอดคลองกับความตองการของทองถ่ิน ใหมีคุณภาพเทาเทียมกันและทั่วถึง ตาม
พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง ชาติ

14
ขอจาํ กัด / ภัยคกุ คาม (Threat – T)

๑. เทศบาลตําบลทายาง มีขอจํากัดเร่ืองงบประมาณในการพัฒนา โดยการพัฒนา
ดานโครงสรางพื้นฐานนั้นจําเปนตองใชงบประมาณจํานวนมาก ดังนั้นทําใหกระทบตอ
การพฒั นาดา นอ่นื ๆ

๒. กฎหมาย ระเบยี บ ขอ บงั คับ ขาดความยดื หยุน ไมเหมาะสมสอดคลอ งกบั ภารกจิ
3. ระบบการบริหารจัดการ ความพรอมดานบุคลากร สถานที่ทํางาน เครื่องมือเคร่ืองใชใน

การพัฒนา
5.1 ดา นโครงสรางพน้ื ฐาน มภี ารกจิ ทเี่ กี่ยวของ ดังน้ี

(1) การจัดใหมีและบํารงุ รักษาทางบกทางนํ้า และทางระบายนํ้า
(2) การสาธารณปู โภคและการกอสรา งอนื่ ๆ
(3) การสาธารณปู การ
(4) การควบคุมอาคาร ผลักดนั ใหม ีการใชกฎหมายควบคมุ อาคาร
5.2 ดา นการสงเสรมิ คณุ ภาพชวี ิต มีภารกิจที่เก่ียวขอ ง ดงั นี้
(1) การจดั การศกึ ษา จัดตั้งโรงเรยี นหรอื ศูนยพัฒนาเดก็ เล็ก เพ่อื พฒั นาคุณภาพการศึกษา

ใหแ กเด็กและเยาวชน
(2) การสง เสริมกีฬา
(3) การสาธารณสุข การอนามยั ครอบครวั การรักษาพยาบาล และการอนามัยสง่ิ แวดลอ ม
(4) ใหราษฎรไดร ับการศึกษาอบรม
5.3 ดา นการจัดระเบยี บชุมชน สังคม และการรกั ษาความสงบเรียบรอ ย มีภารกิจท่ีเกี่ยวของ ดงั น้ี
(1) การรักษาความสงบเรยี บรอยของประชาชน
(2) ใหม เี ครื่องใชใ นการดับเพลงิ
(3) สงเสริมการปองกัน ปราบปราม การแกไขปญหายาเสพติด
5.4 ดานการวางแผน การสง เสริมการลงทนุ พาณิชกรรรมและการทองเท่ยี ว มีภารกจิ ทเ่ี กย่ี วของ
ดงั น้ี
(1) บาํ รงุ และสงเสริมการทํามาหากินของราษฎร
(2) ใหมตี ลาด ทา เทียบเรือและทาขาม
(3) การขนสงและการวศิ วกรรมจราจร
5.5 ดา นการบริหารจัดการและการอนรุ ักษท รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม มีภารกจิ ที่เกย่ี วของ
ดังน้ี
(1) การจดั การ การบํารงุ รักษาและการใชประโยชนจ ากปาไม ท่ีดนิ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม
(2) ใหม ีและบํารุงทางระบายนํา้
(3) รกั ษาความสะอาดของถนนหรอื ทางเดนิ และท่สี าธารณะรวมท้งั การกําจัดขยะมลู ฝอยและส่ิงปฏกิ ลู
5.6 ดานการศาสนา ศิลปวัฒนธรรม จารีตประเพณี และภมู ิปญญาทอ งถนิ่ มภี ารกจิ ท่ีเกี่ยวขอ ง ดังนี้
(1) บาํ รุงรักษาศิลปะ จารตี ประเพณี ภูมิปญ ญาทอ งถิ่นและวฒั นธรรมอันดีของทองถิ่น

สง เสรมิ การพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผสู ูงอายุและผพู กิ าร

15

5.7 ดานการบริหารจัดการและการสนับสนนุ การปฏิบตั ภิ ารกจิ ของสวนราชการและองคก ร
ปกครองสวนทอ งถิ่น มีภารกิจท่ีเก่ียวของ ดงั น้ี

(1) ใหมีและบาํ รุงสถานที่ทาํ การพิทักษรักษาคนเจ็บไข
(2) เทศพาณิชย
6. ภารกจิ หลัก และภารกิจรอง ท่ีองคกรปกครองสวนทองถนิ่ จะดาํ เนินการ
จากอํานาจหนาท่ีตามท่ีไดกลาวมาตามขอ 5 คณะกรรมการจัดทําแผนอัตรากําลัง 3 ป
(ปงบประมาณ 256-256) ของเทศบาลตาํ บลทายางไดวิเคราะหภารกิจอํานาจหนาท่ีออกเปน ๗ ดานตามที่
กฎหมายกําหนดใหอํานาจเทศบาลดังกลาวสามารถจะแกไขปญหาของเทศบาลตําบลทายาง ไดโดยการจัดทํา
แผนพฒั นากาํ หนดแนวทางและวิธกี ารในการดาํ เนินงานแตล ะดานใหเ ปน ไปตามความตองการของประชาชนใน
เขตพื้นท่ีใหสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติแผนพัฒนาอําเภอแผนพัฒนาจังหวัดนโยบาย
รฐั บาลและนโยบายของผบู ริหารเทศบาลตาํ บลทา ยาง
นโยบายคณะรกั ษาความสงบแหงชาติ (คสช.) ในการบรหิ ารราชการ ไดแก
1. ยึดระเบียบ คําสั่ง ขอบังคับ กฎหมาย
2. ดานเศรษฐกจิ และการใชจ ายงบประมาณ
3. ดานความมน่ั คง
4. ดา นการตางประเทศ
5. ดานสงั คมจิตวทิ ยา
6. ดา นกฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรม
7. ดานการศกึ ษา
8. ดา นการพฒั นาระบบราชการ
9. ดา นการพฒั นาอาชพี และรายได
10. ดานการวจิ ัยและพัฒนา
11. ดา นการเตรยี มการสกู ารเปนประชาคมอาเซยี น ป 2558
12. ดานความปรองดองสมานฉนั ท
13. ดา นการปฏิรปู
14. ดา นการเลอื กตงั้
ยุทธศาสตรก ารพัฒนากรมสงเสริมการปกครองทองถิน่ ไดแก
ยุทธศาสตรท่ี 1 : ยกระดับขดี ความสามารถของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นใหมีสมรรถนะสูง
ยทุ ธศาสตรท ่ี 2 : เพิม่ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การขององคก รปกครองสว นทองถิ่นให
ตอบสนองความตองการของประชาชน
ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 : เพม่ิ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารงานบุคคลและกิจการสภาขององคกรปกครองสวน
ทองถนิ่ ตามหลักธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตรท ่ี 4 : เพ่ิมประสิทธภิ าพการบรหิ ารงานการเงินและการคลงั ขององคกรปกครองสว น
ทอ งถ่ินใหม ีอิสระและพ่ึงพาตนเองได

16
ยุทธศาสตรท่ี 5 : เพิ่มประสิทธิภาพการใหบ ริการสาธารณะขององคกรปกครองสวนทอ งถ่ินใน
การพฒั นาประเทศ
ยุทธศาสตรการพัฒนากลมุ จังหวัดภาคใตฝง อา วไทยไดแ ก
ยุทธศาสตรท ี่ 1 การผลติ แปรรูปและการบริหารจดั การพืชเศรษฐกจิ ยางพาราและปาลม นา้ํ มันที่มี
คุณภาพแบบครบวงจร
ยุทธศาสตรที่ 2 การทองเท่ียวนานาชาตทิ ี่ย่ังยนื
ยุทธศาสตรที่ 3 พัฒนาการเกษตรทีม่ ีศกั ยภาพในพนื้ ท่ีใหม ีความเขมแข็ง (ขา ว,ไมผล,ปศสุ ตั ว
ประมง)
ยทุ ธศาสตรท ี่ 4 การพฒั นาสเู มืองสีเขยี วชมุ ชนเขมแข็งมนั่ คงมัง่ ค่งั อยา งยงั่ ยืน
ยุทธศาสตรที่ 5 การพัฒนาโครงสรางพ้นื ฐานทางการคมนาคมและการโลจิสตกิ ส
ยุทธศาสตรก ารพัฒนาจงั หวดั (Strategic Issue)ไดก ําหนดยุทธศาสตร 5 ยุทธศาสตรดังน้ี

1. การบริหารจัดการการเกษตรแบบครบวงจร เปนเกษตรสุขภาพ เกษตรคุณภาพ
และนาํ นวัตกรรมเกษตรมาใชเ พอื่ สรา งมลู คา เพ่ิมผลผลิตและสรางรายได

2. การพฒั นาการทอ งเที่ยวเชิงอนุรักษและวัฒนธรรมระดับมาตรฐานสากล ท่ีสามารถ
สรางอาชีพและรายไดใ นพ้ืนทเี่ พิ่มขนึ้

3. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ นํ้า สิ่งแวดลอมและพลังงานมีประสิทธิภาพ เพิ่ม
พืน้ ที่สเี ขียวและการใชพลงั งานสะอาด

4. ศูนยกลางการกระจายสินคาและโลจิสติกสชั้นนําของภูมิภาค ไดมาตรฐาน ลด
ตนทนุ เพิม่ ประสิทธิภาพการคมนาคมและการขนสง

5. การพัฒนาสังคม การเรยี นรแู ละภมู ปิ ญญา เพอื่ การอยดู ีมีสุข
ยุทธศาสตรก ารพัฒนาและแนวทางการพัฒนาเทศบาลตาํ บลทายาง ประกอบดว ย
5 ยุทธศาสตร 26 แนวทางการพัฒนา รายละเอยี ด ดังนี้
1. ยุทธศาสตรการพฒั นาดา นโครงสรา งพ้ืนฐาน

แนวทางการพัฒนา
1.1 กอ สรา ง ปรับปรงุ บํารงุ รกั ษา ถนน สะพาน ระบบระบายนาํ้ และทางเทา
1.2 จัดใหม ไี ฟฟาและแสงสวา งในท่ีสาธารณะ ถนน ตรอก ซอย อยางทวั่ ถึง
1.3 จัดใหม นี ้าํ ที่สะอาดสาํ หรบั อปุ โภค และบริโภคทกุ ครวั เรอื น
1.4 พฒั นาระบบการจราจร
2. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานคุณภาพชวี ติ และสังคม
แนวทางการพฒั นา
2.1 พฒั นาเทศบาลตําบลทา ยาง ใหเปนตาํ บลทีน่ า อยู
2.2 สง เสริมการกีฬาและนนั ทนาการแกป ระชาชน
2.3 สง เสรมิ บทบาทของหมบู า น/ชุมชนในการพฒั นาดา นสาธารณสขุ
2.4 สงเสริมสนบั สนุนปองกันและแกไขปญหายาเสพตดิ
2.5 สงเสรมิ สนบั สนนุ ชวยเหลอื ผดู อยโอกาสทางสงั คม
2.6 การรักษาความปลอดภัยในชวี ิตและทรพั ยส นิ

17

3. ยุทธศาสตรก ารพฒั นาดา นเศรษฐกจิ และการทองเท่ยี ว
แนวทางการพฒั นา
3.1 ปรบั ปรงุ และพฒั นาสถานทที่ องเท่ยี ว
3.2 สง เสรมิ และพฒั นากลุมอาชพี และการรวมกลมุ เพ่ือการพัฒนาดานตา ง ๆ

4. ยุทธศาสตรการพัฒนาดานการเมือง การบริหาร ภายใตหลักธรรมาภิบาลและสราง
เครือขา ยประชาธปิ ไตย

แนวทางการพัฒนา
4.1 ปรับปรุงสถานทีป่ ฏบิ ตั ิงานใหพรอ มตอการปฏิบัติภารกจิ ของบุคลากร
4.2 ปรับปรุงและพฒั นาประสทิ ธภิ าพของการปฏิบัตงิ าน
4.3 พัฒนาบุคลากรของเทศบาลตําบลทายาง ทั้งทางดานการ ปฏิบัติงาน
ดา นคุณธรรม และจรยิ ธรรม
4.4 สง เสริมการมสี วนรวมของประชาชน
4.5 พฒั นาระบบการบริการประชาชน
4.6 สงเสรมิ ระบบการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
4.7 สง เสริมพฒั นาเครือขา ยดานประชาธปิ ไตยของผูน าํ องคกร
4.8 ฝกอบรมใหค วามรดู านประชาธิปไตยของชมุ ชน
5. ยุทธศาสตรการพฒั นาดานการศึกษา ศาสนาและศลิ ปวฒั นธรรม
แนวทางการพัฒนา
5.1 สงเสริมสนบั สนนุ การศึกษาทกุ ระดบั ทั้งในระบบและนอกระบบโรงเรียน
5.2 สง เสรมิ สนบั สนุนการอนุรกั ษศิลปวฒั นธรรมประเพณที อ งถิ่น
5.3 สง เสรมิ สนบั สนนุ บาํ รงุ รักษา บรู ณะ ศาสนสถาน
5.4 สง เสริมสนับสนุนประกอบพิธกี รรมทางศาสนา
6. ยทุ ธศาสตรการพฒั นาดา นทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ ม
แนวทางการพัฒนา
6.1 ปรับปรุงภมู ทิ ศั นภายในเทศบาลตําบลทายางใหเปน ตาํ บลนา อยู
6.2ดูแล รักษาความสะอาดและความเปน ระเบียบเรียบรอย ภายในเขตเทศบาล
นโยบายการพฒั นาของผูบริหารเทศบาลตําบลทา ยาง
1. นโยบายดานโครงสรางพ้ืนฐาน จะกอสราง ปรับปรุง บํารุงรักษา ถนนหนทาง ระบบ
ประปา ตองสะอาดและทั่วถึง ขยายการใหบริการและบํารุงรักษาไฟฟาสาธารณะใหทั่วถึงเพื่อใหมีความ
ปลอดภัยตอชวี ิตและทรัพยสิน ของประชาชน
2. นโยบายดานส่ิงแวดลอม โดยจะดําเนินการปรับปรุงภูมิทัศนใหสวยงาม จัดการขยะเพื่อ
ลดปญ หาขยะทกี่ ําลงั เพม่ิ ขึน้ อยา งตอ เน่ือง เชน สง เสริมการนํากลับมาใชใ หม (Recycle) การจัดต้ังธนาคารขยะ
รณรงคใ หป ระชาชนเห็นความสําคัญในการใชพลังงานอยางประหยัดและคุมคาการใชพลังงานทดแทนและเพ่ิม
พนื้ ทสี่ เี ขยี ว เพื่อลดภาวะโลกรอ น
3. นโยบายดานเศรษฐกิจ จะสงเสริมการดําเนินชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ตาม
แนวพระราชดํารขิ องพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัว และสงเสริมอาชีพเพ่ือใหประชาชนมีรายไดเสริมจากอาชีพ
ปกติ รวมท้งั สงเสรมิ การพฒั นาผลติ ภณั ฑเพอื่ ทจ่ี ะสามารถแขง็ ขนั ไดในตลาด

18

4. นโยบายดานการศึกษา ศิลปะ วัฒนธรรม จะดําเนินการดานศูนยพัฒนาเด็กเล็ก อายุ
3-4 ป ใหมีคุณภาพ เพื่อลดภาระ เปนท่ีไววางใจของผูปกครองและขยายช้ันอนุบาล รองรับเด็กเล็กท่ีจบจาก
ศูนยพัฒนาเด็กเล็กของเทศบาล เพ่ือลดภาระของผูปกครองในการหาท่ีเรียนตอยอดช้ันเรียนในระดับอนุบาล
รวมทั้งจะสง เสริมใหมีการอนุรกั ษ ศิลปะ วฒั นธรรมและภมู ิปญ ญาของทอ งถนิ่ ใหคงอยูสืบไป

5. นโยบายดานสงเสริมคุณภาพชีวิต โดยการดูแล สงเคราะหผูมีรายไดนอย ใหการ
สงเคราะหเด็ก สตรี ผูสูงอายุ คนพิการ ผูดอยโอกาสทางสังคม ผูปวยโรคภูมิคุมกันบกพรอง สงเสริมสุขภาพ
อนามยั ของประชาชน และสงเสริมกจิ กรรมอาสาเพื่อสังคม (อสม.) จะสนับสนุนใหเยาวชนและประชาชนทุกวัย
ออกกําลังกาย เพ่ิมพ้ืนที่ ในการเลนกีฬา จัดสรางอาคารอเนกประสงคและจัดทําเปนศูนยกีฬา ท่ีไดมาตรฐาน
สามารถรองรบั การแขงขนั ในระดับตา งๆ ได

6. นโยบายดา นการเมือง การบริหาร จะบริหารงานโดยเนนหลักประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
โปรงใส สามารถตรวจสอบได ใชจายงบประมาณอยางคุมคา เพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานของบุคลากรใน
หนวยงาน ใหสามารถตอบสนองตอความตองการของประชาชนไดอยางถูกตอง จะจัดระบบการปองกันและ
บรรเทาสาธารณภัยใหไดมาตรฐานและมีอุปกรณอยางเพียงพอ จัดต้ังศูนยอาสาสมัครปองกันฝายพลเรือน
(อปพร.อส.ตร.) เพ่ือรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน รวมทั้งประสานงานกับหนวยงานอื่นในการ
ปองกนั และแกไ ขปญ หายาเสพตดิ อยางยัง่ ยนื

7. นโยบายดานการมีสวนรวมของประชาชน จะดําเนินการสงเสริมใหเกิดกระบวนการ
เรียนรูในชุมชน สงเสริมใหประชาชนในชุมชนมีสวนรวมในการจัดทําแผนชุมชน แผนพัฒนาเทศบาล จะเปด
โอกาสใหประชาชนแสดงความคิดเห็นและหาทางออกรวมกันในการแกไขปญหา รวมกันรับผิดชอบดําเนินการ
ในชุมชน เพ่ือตอบสนองความตองการของชุมชนตนเองโดยเทศบาลเปนผูใหการสนับสนุน รวมท้ังสงเสริม
กจิ กรรมชมุ ชนสมั พันธทกุ ประเภท

จากการวเิ คราะหแลว พิจารณาเหน็ วา ภารกจิ หลกั และภารกิจรองที่จะตองดาํ เนินการ ไดแ ก
ภารกิจหลกั

1) การปรับปรงุ โครงสรางพนื้ ฐาน
2) การพัฒนาสิ่งแวดลอ มและทรพั ยากรธรรมชาติ
3) การพัฒนาและปรับปรงุ แหลง ทอ งเท่ียว
4) การใหบริการดานสาธารณสขุ
5) การรกั ษาความสะอาด และความเปน ระเบียบเรยี บรอยของบานเมือง
6) การพฒั นาทางดา นการศึกษา
7) การปองกันและบรรเทาสาธารณภัย
8) การสงเสริมการกฬี า กิจกรรมนนั ทนาการ
ภารกจิ รอง
1) การฟนฟูวัฒนธรรมและสง เสริมประเพณีทองถิ่น
2) การสงเสริม การฝก และการประกอบอาชีพของประชาชน
3) การจดั ใหมแี ละบํารุงรักษาสถานทพ่ี ักผอนหยอนใจ
4) การรักษาความสงบเรียบรอยของประชาชน
6) การสงเสรมิ การเกษตร

19

7. สรุปปญ หาและแนวทางในการกําหนดโครงสรา งสว นราชการและกรอบอตั รากําลัง

เทศบาลตําบลทายาง อําเภอทุงใหญ จังหวัดนครศรีธรรมราช เดิมเปนสุขาภิบาลทายาง ไดรับ
การยกฐานะตามพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเปนเทศบาล พ.ศ. 2542 เมื่อวันที่
25 พฤษภาคม 2542 ตั้งอยูในอําเภอทุงใหญ ระยะหางจากจังหวัดนครศรีธรรมราช 105 กิโลเมตร
การสัญจรไปมาสะดวก และเปนเสนทางผานไปยังจังหวัดกระบี่ และสุราษฎรธานี ลักษณะเปนเมืองเล็ก ๆ
ประชากรมีความเปนอยูที่เรียบงายสวนใหญประกอบอาชีพทางการเกษตรและคาขาย พื้นที่สวนใหญเปนท่ี
ราบลุมเหมาะสําหรับการทําการเกษตรเทศบาลตําบลทายางกําหนดโครงสรางการแบงสวนราชการออกเปน
6 สวน 1 หนวย ไดแก สํานักปลัดเทศบาล กองคลัง กองชาง กองการศึกษา กองสวัสดิการสังคม
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอม และหนวยตรวจสอบภายใน ซ่ึงตามแผนอัตรากําลังเดิมกําหนดกรอบ
อัตรากําลังไวจํานวนท้ังส้ิน 83 อัตรา และจากการวิเคราะหการดําเนินงานตามอํานาจหนาท่ีและภารกิจที่ได
กําหนดตามยุทธศาสตรการพัฒนาและกฎหมายท่ีเก่ียวของในการกําหนดตําแหนงพนักงานเทศบาล
ลูกจางประจํา และพนักงานจางในตําแหนงใด จํานวนเทาใด จึงจะทําใหการปฏิบัติงานตามภารกิจท่ีมีอยูใน
อํานาจหนาท่ีและความรับผิดชอบนั้นๆ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยมีการเก็บรวบรวม
ขอมลู ดานตา งๆ (เอกสารหมายเลข 1)

จากการเก็บรวบรวมสถิติปริมาณงานท่ีเกิดข้ึนของแตละสวนราชการ พบวา ปริมาณงานของ
สํานักปลัดเทศบาลมีจํานวนมากกวาสวนราชการตางๆ จึงทําใหปริมาณความตองการอัตรากําลังภายใน
ระยะเวลา 3 ป ขา งหนามีจํานวนเพิ่มขึ้น เชน งานในฝา ยอาํ นวยการ งานปองกันและบรรเทาสาธารณภัยฯลฯ
สําหรับกองชาง ปริมาณงานเพิ่มมากข้ึนอันเนื่องมาจากการบริหารงานดานโครงสรางพื้นฐาน มีการพัฒนา
กอสราง ปรับปรุง ซอมแซมถนน คูระบายนํ้า ฯลฯ หากวิเคราะหอัตรากําลังคนตอภารกิจงานพบวา ยังขาด
อัตรากําลังทางดานงานชางกองคลัง หากวิเคราะหอัตรากําลังคนตอภารกิจงาน พบวา ยังขาดอัตรากําลัง
ทางดานงานแผนท่ีภาษีและทะเบยี นทรพั ยสนิ ฯลฯ

7.1 การเปรยี บเทียบอตั รากาํ ลงั ของตนเองกับองคก รปกครองสวนทองถ่ินอื่นที่อยูในกลุมและ
ขนาดเดยี วกัน (Benchmarking)

เทศบาลตําบลทายาง ไดดําเนินการเปรียบเทียบอัตรากําลัง (Benchmarking) กับเทศบาลอ่ืน
ซึ่งอยูในพื้นท่ีใกลเคียง หรือในเขตจังหวัดเดียวกันซึ่งท่ีเปนเทศบาลสามัญ ประกอบดวยเทศบาลตําบลฉวาง
เทศบาลตําบลกะปาง เทศบาลตําบลนาบอน ผลจากการเปรียบเทียบอัตรากําลังคนตามกรอบอัตรากําลัง
ปรากฏดังนี้

อปท. สว น งบประมาณ พนกั งาน พนักงานครู ลูกจา ง พนกั งานจาง รวม
ทต.กะปาง ราชการ รายจา ย เทศบาล เทศบาล ประจํา (คน) (คน)
ทต.นาบอน (สวน) (คน) (คน) (คน) 72
ทต.ฉวาง ประจาํ ป 2563 47
ทต.ทายาง 3 74,132,000 29 4 1 38 36
5 38,300,000 18 4 3 22 83
5 34,490,000 19 - 6 11
6 56,999,580 32 1 6 44

20

จากผลการเปรียบเทียบอัตรากําลัง (Benchmarking) จะเห็นวาการกําหนดอัตรากําลังของ
เทศบาลตําบลทายาง ยังตองปรับปรุงใหเหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ีและภารกิจงานและปริมาณงานท่ีเพ่ิมขึ้น
ดังนั้น เทศบาลตําบลทายางจึงมีความตองการใชบุคลากรที่มีความชํานาญ หรือเช่ียวชาญเฉพาะดานในการ
ปฏิบัติงานในอนาคตเทศบาลตําบลทายางอาจจะตองมีการปรับปรุงอัตรากําลัง เพื่อรองรับภารกิจถายโอนหรือ
ภารกจิ และปริมาณงานที่เพิ่มขึ้นของงานบางกอง หรืออาจจะแบงสวนราชการอยางชัดเจนทั้งน้ี จะตองวิเคราะห
ปริมาณงานและความตองการกําลังคนควบคูกับภาระคาใชจายดานการบริหารงานบุคลากรใหเปนไปตามท่ี
กฎหมายกําหนด

7.2 วิเคราะหอ ตั รากาํ ลงั ภายในเทศบาลตาํ บลทา ยาง
การวิเคราะหสภาวะแวดลอม (SWOT Analysis) เปนเครื่องมือในการประเมินสถานการณ

สําหรับองคกร ซึ่งชวยผูบริหารกําหนด จุดแข็ง และ จุดออน ขององคกร จากสภาพแวดลอมภายใน โอกาส
และอุปสรรคจากสภาพแวดลอมภายนอก ตลอดจนผลกระทบจากปจจัยตางๆ ตอการทํางานขององคกร การ
วเิ คราะห SWOT Analysis เปน เคร่ืองมอื ในการวเิ คราะหสถานการณ เพ่ือใหผบู รหิ ารรูจุดแข็งจุดออน โอกาส
และอุปสรรคขององคกรซ่ึงจะชวยใหทราบวาองคกรไดเดินทางมาถูกทิศและไมหลงทาง นอกจากน้ียังบอกได
วาองคกรมีแรงขับเคล่ือนไปยังเปาหมายไดดีหรือไม ม่ันใจไดอยางไรวาระบบการทํางานในองคกรยังมี
ประสิทธิภาพอยู มีจุดออนท่ีจะตองปรับปรุงอยางไร ซ่ึงการวิเคราะหสภาวะแวดลอม SWOT Analysis มี
ปจจัยท่ีควรนํามาพิจารณา 2 สว น ดงั น้ี

1. ปจ จยั ภายใน (Internal Environment Analysis) ไดแก
1.1 S มาจาก Strengths
หมายถึง จุดเดนหรือจุดแข็ง ซ่ึงเปนผลมาจากปจจัยภายใน เปนขอดีท่ี เกิดจาก

สภาพแวดลอมภายในองคกร เชน จุดแข็งดานสวนประสม จุดแข็งดานการเงิน จุดแข็งดานการผลิต จุดแข็ง
ดา นทรัพยากรบุคคล องคก รจะตอ งใชป ระโยชนจากจดุ แขง็ ในการกาํ หนดกลยุทธ

1.2 W มาจาก Weaknesses
หมายถึง จุดดอยหรือจุดออน ซึ่งเปนผลมาจากปจจัยภายใน เปน ปญหาหรือ

ขอบกพรอ งทเ่ี กดิ จากสภาพแวดลอมภายในตา งๆ ขององคก ร ซง่ึ องคกรจะตองหาวิธีในการแกป ญหานน้ั
2. ปจ จัยภายนอก (External Environment Analysis) ไดแก
2.1 O มาจาก Opportunities
หมายถึง โอกาส เปนผลจากการที่สภาพแวดลอม ภายนอกขององคกรเอ้ือ

ประโยชนหรือสงเสริมการ ดําเนินงานขององคกร โอกาสแตกตางจากจุดแข็งตรงท่ีโอกาสน้ัน เปนผลมาจาก
สภาพแวดลอมภายนอก แตจุดแข็งนั้นเปนผลมาจากสภาพแวดลอมภายใน ผูบริหารท่ีดีจะตองเสาะ แสวงหา
โอกาสอยเู สมอ และใชป ระโยชนจ ากโอกาสน้นั

2.2 T มาจาก Threats
หมายถึง อุปสรรค เปนขอจํากัดที่เกิดจากสภาพแวดลอม ภายนอก ซ่ึงการ

บริหารจําเปนตอ งปรับกลยุทธใหส อดคลองและพยายามขจดั อุปสรรค ตา งๆ ทเ่ี กิดขึ้นใหไดจ รงิ

21

จุดแขง็ (Strength)

1. มีการแบง โครงสรา งสวนราชการของเทศบาลชัดเจน ครอบคลุมอาํ นาจหนา ที่ตามภารกิจ และ
สามารถเปลยี่ นแปลงปรับปรงุ ไดต ามภารกจิ ทไ่ี ดร ับเพ่ิมขึน้ หรอื ถายโอนในอนาคต

2. มีการแบงงานหรือการมอบอาํ นาจการบริหารงานตามลําดับชัน้
3. มกี ารทาํ งานเปน ทีม มีความรกั ความสามัคคี
4. มจี ติ บริการมีความตง้ั ใจและอุทศิ ตนในการทาํ งาน
5. มีการรับฟง ความคิดเห็นซ่ึงกันและกนั
6. สามารถจดั กรอบอตั รากําลังไดเองตามภารกจิ และงบประมาณ
7. มรี ายไดจ ากการจัดเก็บรายไดเ ปนของตนเอง ทาํ ใหคลอ งตวั ในการบรหิ ารงาน
8. มีเครื่องมือเครื่องใชใ นการปฏิบตั ิงานอยา งเพยี งพอและเหมาะสม
9. สภาพแวดลอมในการทํางานเหมาะสม
10. ผูบรหิ ารใหการสนบั สนุนการพัฒนาท้งั ดา นวชิ าการและดานพฒั นาบคุ ลากร
11. บคุ ลากรในสงั กัดสว นใหญเ ปน คนในพนื้ ท่ี
12. มคี วามพรอมรับการเปลี่ยนแปลง
13. บุคลากรในสงั กัดเปนผูมีประสบการณ มีความรคู วามเช่ียวชาญในงานทหี่ ลากหลาย บาง
ภารกจิ งานสามารถทํางานแทนกันได
14. มีการสงเสรมิ ความกา วหนาในสายอาชพี
15. แตละตําแหนง งานจะมีเครือขายการทํางานกวางขวาง

จดุ ออน (Weak)
1. บุคลากรท่ีมีความชํานาญเชีย่ วชาญเฉพาะดานไมเ พยี งพอตอ การปฏิบัติราชการบางภารกิจ
ซึง่ ทําใหบางภารกจิ ไมสามารถทํางานแทนกันได
2. การปฏบิ ัตงิ านภายในสว นราชการและระหวา งสว นราชการภายในยังขาดความเชื่อมโยง
เก้อื หนุนซง่ึ กันและกนั
3. ขาดการสรางวฒั นธรรมองคก ร และพฒั นาแนวคิดรวมถึงคณุ ธรรมและจริยธรรม เพอ่ื ใหเกดิ
สงิ่ จูงใจและขวัญกาํ ลังใจ ท่จี ะทาํ ใหข าราชการและเจาหนา ทท่ี มุ เทกาํ ลงั กายและความคิดในการปฏิบตั ิงาน
4. มีระเบยี บ/กฎหมายใหมๆ เพ่ิมขึน้ มาจาํ นวนมากทําใหทําใหก ารปฏบิ ตั ิของบุคลากรสะดดุ
6. บคุ ลากรบางตําแหนง งานยงั ขาดความเขาใจถึงภารกจิ และอํานาจหนาที่ของตนเอง
7. งบประมาณคอนขางนอยทําใหการตอบสนองตอความตอ งการของประชาชนในแตละดานยัง
ครอบคลุมไมไดเ พยี งพอ เชน ดา นโครงสรางพ้ืนฐาน ดา นการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต ดานการศกึ ษา ดา นการ
สง เสรมิ การมงี านทาํ

22

โอกาส (Opportunity)
1. กฎหมายกระจายอาํ นาจฯ เอือ้ ตอการบริหารงานของเทศบาล
2. นโยบายรัฐบาลเออื้ ตอ การพฒั นาและการแขง ขัน
3. กระทรวงมหาดไทย และกรมสง เสรมิ การปกครองทองถิ่นสนบั สนนุ การพัฒนาพนักงาน
เทศบาลดา นความกาวหนาทางเทคโนโลยสี ารสนเทศ
4. กรมสง เสริมการปกครองทองถิ่นสง เสรมิ สนับสนนุ การพัฒนาบุคลากรอยา งสม่ําเสมอ
5. ความกา วหนา ดา นเทคโนโลยที าํ ใหมีความสะดวกคลองตวั และมีประสิทธิภาพในการทํางาน
มากข้ึน
6. เทศบาลไดรบั ความรว มมอื จากหนว ยงานภายนอกเปน อยางดี
7. เทศบาลจัดใหมรี ะบบสารสนเทศและเทคโนโลยที ่เี อื้ออํานวยตอการปฏบิ ัติงาน
8. ผูบรหิ ารใหความสาํ คัญตอ งานบุคคล เชน การสงเสริมการพฒั นาบุคลากรดานการศึกษา การ
ฝก อบรมเพิม่ พูนองคค วามรู
9. ผูบริหารใหอ ิสระในการแสดงความคดิ เห็น และเปดโอกาสใหบคุ ลากรแสดงความสามารถได
อยางเตม็ ท่ี
10. เทศบาลมเี ครือขายการส่ือสารที่สะดวกตอการตดิ ตอเชื่อมโยงกับทุกภาคสว นทาํ ใหก ารติดตอ
ประสานงาน การบริหารงาน การปฏบิ ตั ิงานเปน ไปอยา งรวดเรว็

ขอ จํากดั (Threat)
1. อาํ นาจหนาหนาท่ตี ามแผนกระจายอาํ นาจฯ บางภารกจิ ยังไมม ีความชดั เจน
2. การใหค วามอสิ ระเทศบาลจากสวนกลางยังไมเต็มท่ี ยงั ตองอยูภายใตการกํากบั ควบคุมดแู ล
จาก สวนภมู ภิ าค
3. การจดั สรรงบประมาณจากรฐั ยังไมเ พยี งพอกับภารกจิ ท่ีถา ยโอนใหก ับทองถิน่
4. ระเบยี บกฎหมายไมเอื้อตอ การปฏิบตั งิ าน
5. ขอกําจดั ดานงบประมาณ
6. เทคโนโลยมี ีการเปล่ยี นแปลงไป
จากการวิเคราะห SWOT ภายในองคกร พบวา เทศบาลตําบลทา ยางมจี ุดแขง็ คือ
ดานองคก ร เทศบาลมกี ารแบงโครงสรางมีการแบงงานกันทําอยางชัดเจน มีการมอบหมายงาน
มีการทํางานเปนทีม องคกรมเี ครือขายการทํางานทีก่ วา งขวาง ดานงบประมาณ มีการจัดเก็บรายไดเปนของ
ตนเอง ทําใหคลองตัวในการบริหารงาน และมีเงินอุดหนุนจากรัฐบาลในบางภารกิจงาน ดานผูบริหาร
มีความพรอมรับการเปลี่ยนแปลงมีความมุงมันต้ังใจและอุทิศตนในการทํางานมีการสงเสริมความกาวหนาใน
สายอาชีพใหการสนับสนุนการพัฒนาท้ังดานวิชาการและดานพัฒนาบุคลากร มีการสงเสริมดานการศึกษา
ดา นตวั บุคลากรในสังกดั บคุ ลากรในสังกัดมีความรักความสามัคคีมีจิตบริการมีความตั้งใจและอุทิศตนในการ
ทํางานรับฟงความคิดเห็นซึ่งกันและกัน และบุคลากรสวนใหญเปนคนในพ้ืนท่ีเขตเทศบาล จึงทําใหการ
ปฏบิ ตั ิงานการบรหิ ารงานตรงตามความตองการของประชาชน แตล ะสายงานมีเครอื ขา ยการทาํ งานกวางขวาง

23

จุดออน (Weak) เทศบาลตําบลทายางยังมีจุดออนภายในองคกร คือ ขาดแคลนบุคลากร
มีบคุ ลากรไมเ พียงพอในการปฏบิ ตั ิงาน ขาดการสรางวัฒนธรรมองคกร และพัฒนาแนวคิดรวมถึงคุณธรรมและ
จริยธรรม เพอ่ื ใหเ กิดสิ่งจงู ใจและขวัญกําลังใจ ที่จะทําใหขาราชการและเจาหนาที่ทุมเทกําลังกายและความคิด
ในการปฏิบัติงานมีระเบียบ/กฎหมายใหมๆ จํานวนมากทําใหทําใหการปฏิบัติของบุคลากรไมทันตอเหตุการณ
บุคลากรบางทานยังขาดความเขาใจถึงภารกิจและอํานาจหนาที่ของตนเองงบประมาณคอนขางนอย ทําให
ตอบสนองตอความตอ งการของประชาชนยงั ครอบคลมุ ไมไดเพียงพอ

โอกาส (Opportunity) ผูบริหารใหความสําคัญในการพัฒนาบุคลากรใหความสําคัญตองาน
บุคคลเปนอยางดีใหโอกาสในการพัฒนาบุคลากรดานการศึกษา การฝกอบรม การสงเสริมเพิ่มพูนองคความรู
มีการจัดระบบสารสนเทศและเทคโนโลยที ีเ่ อื้อตอการปฏบิ ตั ิงานมีอิสระในการแสดงความคดิ เห็น

ขอจํากัด (Threat) อํานาจหนาหนา ทตี่ ามแผนกระจายอํานาจฯ บางภารกจิ ยงั ไมมคี วามชดั เจน
การใหความอิสระของเทศบาลจากสวนกลางยังไมเต็มที่ยังตองอยูภายใตการกํากับ ควบคุมดูแลจาก สวน
ภูมิภาคการจัดสรรงบประมาณจากรัฐยังไมเพียงพอกับภารกิจท่ีถายโอนใหกับทองถิ่นระเบียบกฎหมายยังไม
เอื้อตอการปฏบิ ัติงานเทศบาลยงั มขี อ กําจัดดานงบประมาณมีเทคโนโลยีใหมๆ เปลี่ยนแปลงอยเู สมอ

เทศบาลตําบลทายาง ยังมีความตองการอัตรากําลังที่เช่ียวชาญทางสายอาชีพเฉพาะดาน
บางภารกิจยังขาดแคลนบุคลากรในการปฏิบัติงาน และตองพัฒนาคนในองคกรใหมีความรูเพิ่มเติมยิ่งข้ึนให
ครอบคลุมทุกภารกิจงาน และจะตองจัดหาและพัฒนาเรื่องอุปกรณและเทคโนโลยีเครื่องจักรสําหรับภารกิจ
ใหญๆ เชน รถดับเพลิง รถบรรทุกนาํ้ ฯลฯ

24

8. โครงสรา งการกาํ หนดสว นราชการ

จากสภาพปญหาของเทศบาลตําบลทายางดังกลาว เทศบาลตําบลทายางมีภารกิจ อํานาจ
หนาท่ีที่จะตองดําเนินการแกไขปญหาดังกลาวภายใตอํานาจหนาท่ีที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติเทศบาล
พ.ศ.๒๔๙๖ และที่แกไขเพิ่มเติมถึงปจจุบัน และตามพระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจาย
อาํ นาจใหแกองคก รปกครองสว นทองถิน่ พ.ศ.๒๕๔๒ โดยมีการกาํ หนดโครงสรา งสวนราชการ ดังน้ี

๘.๑ โครงสรางสว นราชการเทศบาลตาํ บลทายาง

โครงสรา งตามแผนอตั รากาํ ลัง (เดมิ ) โครงสรา งตามแผนอัตรากําลังใหม หมายเหตุ
๑. หนวยตรวจสอบภายใน ๑. หนวยตรวจสอบภายใน
2. สาํ นกั ปลัดเทศบาล 2. สํานักปลัดเทศบาล

2.1 ฝายอาํ นวยการ 2.1 ฝายอํานวยการ
- งานวิเคราะหนโยบายและแผน - งานวเิ คราะหนโยบายและแผน
- งานนติ กิ าร - งานนิตกิ าร
- งานการเจาหนา ที่ - งานการเจาหนาที่
- งานทะเบยี นราษฎร - งานทะเบียนราษฎร
- งานปอ งกันและบรรเทาสาธารณภัย - งานปอ งกันและบรรเทาสาธารณภัย
- งานธรุ การ - งานธรุ การ

3. กองคลงั 3. กองคลัง
3.1 ฝา ยบริหารงานคลงั 3.1 ฝายบริหารงานคลัง
- งานการเงนิ และบัญชี - งานการเงินและบัญชี
- งานจัดเก็บและพัฒนารายได - งานจดั เกบ็ และพฒั นารายได
- งานพสั ดุ และทรัพยสิน - งานพัสดุ และทรัพยสิน
- งานแผนทภี่ าษีและทะเบยี นทรพั ยสนิ - งานแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพยส นิ
- งานธุรการ - งานธรุ การ

4. กองชาง 4. กองชา ง
- งานสาธารณูปโภค - งานสาธารณปู โภค
- งานไฟฟาสาธารณะ - งานไฟฟาสาธารณะ
- งานธรุ การ - งานธุรการ

5. กองสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม 5. กองสาธารณสขุ และสิ่งแวดลอ ม
5.1 ฝายบริหารงานสาธารณสขุ 5.1 ฝา ยบริหารงานสาธารณสุข

- งานสุขาภิบาลอนามัยและส่ิงแวดลอ ม - งานสุขาภิบาลอนามยั และส่ิงแวดลอ ม
- งานขยะมูลฝอย - งานขยะมลู ฝอย
- งานธรุ การ - งานธรุ การ

25

โครงสรา งตามแผนอัตรากาํ ลัง (เดิม) โครงสรา งตามแผนอตั รากาํ ลังใหม หมายเหตุ
6. กองการศึกษา 6. กองการศกึ ษา

6.1 ฝายบริหารการศึกษา 6.1 ฝา ยบรหิ ารการศึกษา
- งานบรหิ ารการศกึ ษา - งานบรหิ ารการศึกษา
- งานโรงเรียน - งานโรงเรยี น
- งานธรุ การ - งานธุรการ

7. กองสวัสดกิ ารสงั คม 7. กองสวสั ดิการสังคม
- งานสวัสดิการสงั คม - งานสวสั ดิการสังคม
- งานพัฒนาชุมชน - งานพัฒนาชุมชน
- งานธรุ การ - งานธรุ การ

๘.๒ การวิเคราะหก ารกาํ หนดตาํ แหนง

เทศบาลตาํ บลทา ยางไดวเิ คราะหการกําหนดตําแหนงจากภารกิจท่ีจะดําเนินการในแตละสวน
ราชการในระยะเวลา 3 ปขางหนา ซ่ึงเปนการสะทอนใหเห็นวาปริมาณงานในแตละสวนราชการมีเทาใด
เพื่อนาํ มาวเิ คราะหวาจะใชต าํ แหนง ประเภทใด สายงานใด จาํ นวนเทา ใด ในสวนราชการนั้น จึงจะเหมาะสมกับ
ภารกิจ ปริมาณงาน เพอ่ื ใหคุมคา ตอการใชจ ายงบประมาณของเทศบาลตําบลทายางและเพ่ือใหการบริหารงาน
ของเทศบาลตําบลทายางเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล โดยนําผลการวิเคราะหตําแหนงมาบันทึก
ขอมลู ลงในกรอบอัตรากําลัง 3 ป ดงั น้ี

26

กรอบอัตรากําลัง 3 ป ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564- 2566
เทศบาลตาํ บลทายาง อาํ เภอทงุ ใหญ จังหวัดนครศรธี รรมราช

ลําดับ สวนราชการ กรอบ อัตราตาํ แหนงที่คาดวา เพ่ิม/ลด หมายเหตุ
ท่ี อตั รา จะตอ งใชใ นชวงระยะเวลา
กาํ ลงั 3 ปข างหนา

เดมิ 2564 2565 2566 2564 2565 2566

1 นกั บรหิ ารงานทองถิ่น ระดับกลาง 11 1 1 - - -
ปลดั เทศบาล 11 1 1 - - -

2 นักบรหิ ารงานทอ งถิน่ ระดับตน 11 1 1 - - -
รองปลัดเทศบาล 11 1 1 - - -
11 1 1 - - -
สํานกั ปลัดเทศบาล (01)
3 นักบรหิ ารงานท่ัวไป ระดบั ตน
(หวั หนา สํานกั ปลัดเทศบาล)

4 นกั บริหารงานทัว่ ไป ระดบั ตน
(หวั หนาฝายอํานวยการ)

5 นักทรพั ยากรบุคคล (ปก./ชก.)

6 นกั วเิ คราะหนโยบายและแผน (ปก./ชก.) 1 1 1 1 - - -

7 นติ ิกร (ปก./ชก.) 11 1 1 - - -

8 นกั จัดการงานทะเบียนและบตั ร (ปก./ชก.) 1 1 1 1 - - -

9 เจา พนกั งานธรุ การ (ปง./ชง.) 22 2 2 - - -

10 เจา พนกั งานทะเบียน (ปง./ชง.) 1 - 1 1 - - - วางเดิม

11 นักปอ งกันและบรรเทาสาธารณภยั (ปก./ชก.) 1 1 1 1 - - -

ลกู จางประจํา (กลมุ งานสนบั สนนุ )

12 พนกั งานขับรถยนต 11 1 1 - - -

13 พนกั งานขับเคร่อื งจักรกลขนาดเบา 11 1 1 - - -

14 พนักงานขับรถยนต 11 1 1 - - -

พนักงานจา งตามภารกิจ (ประเภทผูมคี ณุ วุฒ)ิ

15 ผูชว ยนิตกิ ร 11 1 1 - - -

16 ผชู วยนกั จัดการงานท่วั ไป 11 1 1 - - -

17 ผชู ว ยเจา พนกั งานธุรการ 11 1 1 - - -

พนกั งานจางตามภารกจิ (ประเภทผูมีทักษะ)

18 พนกั งานขับรถยนต 11 1 1 - - -

19 พนักงานดบั เพลิง 33 3 3 - - -

27

กรอบอัตรากาํ ลัง 3 ป ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564-2566
เทศบาลตาํ บลทายาง อาํ เภอทุง ใหญ จังหวดั นครศรธี รรมราช

ลําดับ สวนราชการ กรอบ อตั ราตําแหนง ท่คี าดวา เพ่ิม/ลด หมายเหตุ
ท่ี อตั รา จะตองใชในชว งระยะเวลา
กาํ ลัง 3 ปข างหนา
พนกั งานจา งทว่ั ไป
20 ภารโรง เดมิ 2564 2565 2566 2564 2565 2566
21 พนกั งานดับเพลงิ
11 1 1 - - -
กองคลัง(04) 22 2 2 - - -
22 นักบรหิ ารงานการคลัง ระดับตน
11 1 1 - - -
(ผอู าํ นวยการกองคลัง)
23 นักบริหารงานการคลงั ระดับตน 11 1 1 - - -

(หวั หนา ฝายบริหารงานการคลัง) 11 1 1 - - -
24 นกั วชิ าการเงนิ และบัญชี (ปก./ชก.) 11 1 1 - - -
25 นกั วชิ าการจัดเก็บรายได (ปก./ชก.) 11 1 1 - - -
26 เจา พนักงานพัสดุ (ปง./ชง.) 1 1 1 1 - - - วา งเดิม
27 เจาพนักงานจัดเก็บรายได (ปง./ชง.)
11 1 1 - - -
ลูกจางประจาํ (กลุมสนบั สนนุ )
28 เจาพนกั งานธรุ การ 11 1 1 - - 1
11 1 1 - - -
พนกั งานจา งตามภารกิจ (ผูมคี ณุ วฒุ )ิ 11 1 1 - - -
29 ผูช ว ยนกั วชิ าการเงินและบญั ชี
30 ผูชวยเจาพนกั งานพัสดุ 11 1 1 - - -
31 ลูกมือชา งแผนที่ภาษีและทะเบยี นทรัพยส นิ
11 1 1 - -
กองชา ง(05) 22 2 2 - - -
32 นกั บรหิ ารงานชาง ระดับกลาง
11 1 - - - -
(ผอู ํานวยการกองชา ง)
33 เจา พนักงานธุรการ (ปง./ชง.) 11 1 1 - - -
34 นายชา งโยธา (ปง./ชง.) 11 1 1 - - -
11 1 1 - - -
ลูกจา งประจํา (กลมุ สนับสนนุ )
35 นายชา งไฟฟา

พนกั งานจา งตามภารกจิ (ประเภทผมู ีคณุ วุฒิ)
36 ผูชวยนักผังเมอื ง
37 ผชู วยเจาพนักงานธุรการ
38 พนกั งานขับเคร่ืองจกั รกลขนาดเบา

28

กรอบอัตรากําลัง 3 ป ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 2566
เทศบาลตําบลทายาง อาํ เภอทุง ใหญ จังหวดั นครศรีธรรมราช

ลาํ ดับ สว นราชการ กรอบ อัตราตาํ แหนง ทค่ี าดวา เพ่มิ /ลด หมายเหตุ
ท่ี อัตรา จะตองใชใ นชวงระยะเวลา
กําลัง 3 ปขางหนา
กองสาธารณสขุ และส่งิ แวดลอ ม (06)
เดิม 2564 2565 2566 2564 2565 2566
39 นักบริหารงานสาธารณสุขและส่ิงแวดลอม
ระดับตน 11 1 1 - - -
(ผอู าํ นวยการกองสาธารณสขุ และส่ิงแวดลอม)
1 1 1 1 - - - วางเดิม
40 นักบริหารงานสาธารณสขุ และสิ่งแวดลอม
ระดบั ตน 11 1 1 - - -
(หวั หนา ฝายบริหารงานสาธารณสขุ และ 11 1 1 - - -
สิง่ แวดลอ ม)
11 1 1 - - -
41 นกั วชิ าการสุขาภิบาล (ปก./ชก.)
42 เจา พนักงานธุรการ (ปง./ชง.) 11 1 1 - - -

ลกู จา งประจํา (กลุม สนับสนนุ ) 11 1 1 - - -
43 พนักงานขับเครอื่ งจกั รกลขนาดเบา
66 6 6 - - -
พนักงานจางตามภารกิจ (ประเภทผูมีคุณวฒุ ิ) 88 8 8 - - -
44 ผูชว ยเจาพนักงานธุรการ
1 1 1 1 - - - วา งเดิม
พนกั งานจางตามภารกจิ (ประเภทผมู ีมที ักษะ) 11 1 1 - - -
45 พนกั งานขับเคร่อื งจักรกลขนาดเบา 11 1 1 - - -
1 1 1 1 - - - วางเดมิ
พนกั งานจา งทว่ั ไป
46 คนงาน
47 คนงานประจํารถขยะ

กองการศกึ ษา(08)
48 นักบริหารงานการศกึ ษา ระดับตน

(ผอู ํานวยการกองการศกึ ษา)
49 นกั บริหารงานการศกึ ษา ระดับตน

(หวั หนาฝายบรหิ ารงานการศกึ ษา)
50 นกั วิชาการศกึ ษา (ปก./ชก.)
51 เจา พนักงานธุรการ (ปง./ชง.)

29

กรอบอตั รากําลัง 3 ป ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564-2566
เทศบาลตาํ บลทา ยาง อาํ เภอทุงใหญ จังหวัดนครศรีธรรมราช

ลาํ ดับ สวนราชการ กรอบ อตั ราตําแหนงท่คี าดวา เพมิ่ /ลด หมายเหตุ
ท่ี อัตรา จะตองใชใ นชว งระยะเวลา
กําลัง 3 ปข า งหนา

เดิม 2564 2565 2566 2564 2565 2566

พนกั งานจา งตามภารกิจ(ประเภทผมู คี ุณวุฒ)ิ

52 ผูชวยนกั วชิ าการศึกษา 11 1 1 - - -

53 ผูชว ยเจาพนกั งานธุรการ 11 1 1 - - -

ศนู ยพ ฒั นาเดก็ เลก็ ทต.ทา ยาง

54 ครผู ดู แู ลเด็ก 1 1 1 1 - - - เงินอุดหนุน

พนกั งานจา งตามภารกิจ (ประเภทผูมที ักษะ)

55 ผดู แู ลเดก็ (ทกั ษะ) 4 4 4 4 - - - เงนิ อุดหนนุ

พนกั งานจา งท่ัวไป

56 ผดู ูแลเด็ก (ท่ัวไป) 3 3 3 3 - - - งบทอ งถ่นิ

กองสวัสดกิ ารสงั คม (11)

57 นกั บรหิ ารงานสวัสดกิ ารสงั คม ระดับตน 1 1 1 1 - - -
(ผอู ํานวยการกองสวสั ดิการสงั คม)
58 นกั พฒั นาชุมชน (ปก./ชก.) 11 1 1 - - -

พนกั งานจา งตามภารกิจ (ประเภทผูมีคณุ วฒุ ิ)

59 ผูชว ยนกั พัฒนาชมุ ชน 11 1 1 - - -

60 ผชู วยเจา พนกั งานพัฒนาชุมชน 11 1 1 - - -

61 ผูชว ยเจาพนกั งานธรุ การ 11 1 1 - - -

รวม 83 83 83 83 - -

หมายเหตุ การจดั แผนอัตรากาํ ลังรอบนี้ ตามหนังสอื สั่งการกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นใหมีการกําหนด
ตําแหนงเพิ่มใหมได และสามารถยุบตําแหนงได กรณีที่ภาระคาใชจายขององคกรปกครองสวนทองถ่ินเกิน

รอยละ 40 โดยองคกรปกครองสวนทองถ่ินตองแสดงภารกิจและปริมาณงาน เหตุผลความจําเปนในการขอ

ยุบตาํ แหนง เสนอขอความเห็นชอบตอคณะกรรมการพนักงานเทศบาลจังหวัดดวย

11. บัญชีแสดงจัดคนลงสูต่ ําแหนง่ และการกาํ หนดเลขที่ตําแหนง่ ในส่วนราชการ

กรอบอตั รากาํ ลังเดมิ กร

ที่ ชื่อ - สกุล คณุ วุฒิการศึกษา เลขที่ตาํ แหนง่ ตาํ แหนง่ ระดับ เลขทีต่ าํ แหนง่

พนักงานเทศบาล รป.ม.(รัฐประศาสนศาสตร์) 21-2-00-1101-001 ปลัดเทศบาล กลาง 21-2-00-1101-001
1 จ.อ.เวชยันต์ หนูรักษา 21-2-00-1101-002 (นักบรหิ ารงานท้องถิ่น) ตน้ 21-2-00-1101-002
รองปลัดเทศบาล
2 จ.อ.เกษม ชเู มือง รป.ม.(รฐั ประศาสนศาสตร์) 21-2-01-2101-001 (นกั บรหิ ารงานทอ้ งถ่ิน) 21-2-01-2101-001

สาํ นกั ปลัดเทศบาล (01) รป.ม.(รัฐประศาสนศาสตร)์ 21-2-01-2101-002 หัวหน้าสาํ นักปลัดเทศบาล ต้น 21-2-01-2101-002
พนักงานเทศบาล (นักบริหารงานทว่ั ไป)
3 พ.จ.อ.สนุ ทร ชินวงศ์ 21-2-01-3102-001 21-2-01-3102-001
21-2-01-3103-001 21-2-01-3103-001
ฝา่ ยอาํ นวยการ 21-2-01-3104-001 21-2-01-3104-001
21-2-01-4102-001 21-2-01-4102-001
4 นางยพุ เรศ เพชรด้วง นบ.(นิตศิ าสตร์) 21-2-01-3105-001 หัวหน้าฝา่ ยอาํ นวยการ ตน้ 21-2-01-3105-001
(นักบริหารงานท่วั ไป)
(บริหารรฐั กิจ) - -

งานการเจา้ หนา้ ที่

5 นางสาวศศนิ ชุ สขุ บาล รปม. (รฐั ประศาสนศาตร์) นักทรัพยากรบุคคล ชก.

งานวิเคราะหน์ โยบายและแผน

6 นายณรงค์ชัย ใยทอง ศศ.บ.(รฐั ศาสตร์) นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน ชก.

งานทะเบยี นราษฎร

7 นายประจกั ษ์ ศรสี ขุ ใส ศศ.บ.(รัฐศาสตร์การปกครอง) นกั จดั การงานทะเบยี นและบัตร ชก.

8 วา่ ง - เจ้าพนกั งานทะเบียน ปง./ชง.

งานนิติการ

9 นายศิริพงศ์ รตั นบุรี นบ.(นิติศาสตร)์ นติ กิ ร ปก.

พนักงานจ้างตามภารกจิ (ประเภทผูม้ คี ุณวุฒ)ิ

10 นายชํานาญ ศรสี ุขใส นิตศิ าสตร์บณั ฑติ ผช.นิติกร -

งานธรุ การ

11 นางศริ ินภา ยอดธรรมรตั น์ บช.(การสอบบัญชี) 21-2-01-4101-001 เจ้าพนักงานธรุ การ ปง. 21-2-01-4101-001
21-2-01-4101-002 เจา้ พนักงานธรุ การ ปง. 21-2-01-4101-002
12 นางสาวชนากาญจน์ คงแกว้ ศศ.บ.(การจัดการทรพั ยากรมนุษย์)
-
ลูกจ้างประจํา (กลมุ่ งานสนบั สนนุ )
-
13 นายสุนทร ดาํ รงค์ มศ.3 - พนกั งานขบั รถยนต์ -

พนักงานจ้างตามภารกิจ (ประเภทผูม้ คี ุณวฒุ )ิ

14 นางสาวนันทน์ ภัส เครอื จันทร์ คบ.ครศุ าสตรบ์ ัณฑิต - ผช.เจ้าหนา้ ทีบ่ ริหารงานท่วั ไป -

รอบอตั รากําลังใหม่ เงินเดือน หมายเหตุ เงินเดอื น เงนิ ประจํา เงินเพมิ่
ตําแหนง่ อ่ืนๆ/เงนิ
ตําแหนง่ เงนิ เงนิ เพม่ิ คา่ ตอบแทน
ระดบั เงนิ เดอื น ประจาํ อน่ื ๆ/เงนิ
1 ปลดั เทศบาล
(นกั บริหารงานท้องถิ่น) ตําแหน่ง ค่าตอบแทน

2 รองปลัดเทศบาล กลาง 453,960 84,000 84,000 621,960 37,830 7,000 7,000
(นักบรหิ ารงานท้องถิ่น)
ตน้ 468,960 42,000 - 510,960 39,080 3,500 -

1 หัวหนา้ สาํ นักปลดั เทศบาล ต้น 409,320 42,000 - 451,320 34,110 3,500 -
(นกั บริหารงานทั่วไป)
-
2 หัวหน้าฝ่ายอาํ นวยการ ต้น 356,160 18,000 374,160 29,680 1,500 -
(นักบริหารงานทว่ั ไป) -
-
1 นกั ทรพั ยากรบคุ คล ชก. 349,320 - - 349,320 29,110 - -
-
1 นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผน ชก. 311,640 - - 311,640 25,970 - -
-
1 นกั จัดการงานทะเบยี นและบัตร ชก. 299,640 - 299,640 24,970 - -
- 297,900 24,825 - -
1 เจ้าพนักงานทะเบียน ปง./ชง. 297,900
207,480 17,290 - -
1 นิติกร ปก./ชก. 207,480 - - -
229,200 19,100 - -
ผช.นิติกร - 229,200 -

1 เจ้าพนกั งานธุรการ ปง./ชง. 155,640 - - 155,640 12,970 - -
2 เจา้ พนักงานธุรการ ปง./ชง. 152,760 - - 152,760 12,730
- -
พนักงานขับรถยนต์ - 214,560 - - 214,560 17,880 - -
- -
ผช.นักจดั การงานทว่ั ไป - 217,200 217,200 18,100

กรอบอัตรากําลงั เดมิ กร

ท่ี ช่อื - สกลุ คณุ วุฒิการศกึ ษา เลขท่ีตําแหน่ง ตําแหน่ง ระดบั เลขทตี่ ําแหน่ง

15 นายสุริยัน อําลอย ศศ.บ.(รฐั ศาสตร์) - ผช.เจา้ พนกั งานธุรการ - -
-
พนกั งานจ้างตามภารกิจ (ประเภทผู้มีทกั ษะ) - พนกั งานขบั รถยนต์ - -
ปก.
16 นายเลอศกั ดิ์ เครอื จนั ทร์ ปวส.(ชา่ งกอ่ สรา้ ง) - ภารโรง - -
-
พนักงานจ้างท่ัวไป 21-2-01-3810-001 นักปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย - 21-2-01-3810-001

17 นายวชั รากรณ์ สุวรรณ ม.3 - พนักงานขบั เครอ่ื งจักรกลขนาดเบา - -
- - -
งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พนักงานขับรถยนต์ ต้น
- -
18 นายสทุ ธพิ งศ์ ชมุ่ ชนื่ สกลุ สุข วท.บ.(เทคโนโลยีอิเลก็ ทรอนิกส์) - พนักงานดับเพลงิ -
- พนกั งานดบั เพลงิ -
ลูกจ้างประจาํ (กลุ่มงานสนับสนนุ ) พนักงานดบั เพลิง
- -
19 นายเชวงรตั น์ ไกรนรา ปวช.ชา่ งยนต์ - พนกั งานดบั เพลิง -
พนกั งานดับเพลงิ
20 นายชัยยทุ ธ ไวยพนั ธ์ คบ.(อตุ สาหกรรมศลิ ป์) 21-2-04-2102-001 21-2-04-2102-001
ผอู้ าํ นวยการกองคลัง
พนักงานจา้ งตามภารกิจ (ประเภทผ้มู ีทักษะ) (นกั บริหารงานการคลัง)

21 นายประเทือง ไกรนรา ม.3

22 นายพฒั นพงษ์ สงั ข์ช่วย ม.6

23 นายเอกชยั เพชรดว้ ง ม.3

พนกั งานจ้างท่วั ไป

24 นายไตรรัตน์ ธราพร วท.บ.(วทิ ยาศาตรบ์ ัณฑิต)

25 นายจกั รกฤษ ชว่ ยคมุ้ ม.3

กองคลัง (04)

26 นางสาวปวีณา พัฒนะจาํ รูญ ศศ.บ.

(การบรหิ ารธรุ กจิ )

ฝ่ายบริหารงานคลงั

27 นางสจุ ินตนา ชุมทอง บธ.ม.(การบญั ช)ี 21-2-04-2102-002 หวั หน้าฝ่ายบริหารงานคลัง ตน้ 21-2-04-2102-002

(นักบรหิ ารงานการคลัง)

งานการเงินและบัญชี

28 นางสาวพรี ดา บวั เผยี น บธ.บ. (การเงินและการธนาคาร) 21-2-04-3201-001 นักวิชาการเงินและบญั ชี ชก. 21-2-04-3201-001

พนักงานจ้างตามภารกจิ (ประเภทผูม้ คี ุณวฒุ ิ)

29 นางสาวกมลเนตร พรหมรกั ษ์ บช.บ (การบญั ช)ี - ผช.นักวิชาการเงินและบัญชี - -

งานจดั เกบ็ และพัฒนารายได้

30 นางจรัสศรี รกั บํารุง บธ.บ. (การบัญช)ี 21-2-04-3203-001 นักวชิ าการจดั เกบ็ รายได้ ปก. 21-2-04-3203-001

31 วา่ ง - 21-2-04-4204-001 เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ ปง./ชง. 21-2-04-4204-001

งานแผนท่ภี าษแี ละทะเบยี นทรัพยส์ ิน

พนักงานจา้ งตามภารกจิ (ประเภทผู้มีคุณวฒุ )ิ

32 นายวรี ะพล พรหมแสง ปวส.ก่อสร้าง - ลกู มือชา่ งแผนท่ภี าษฯี - -

งานพัสดแุ ละทรพั ยส์ ิน

รอบอัตรากําลงั ใหม่ เงินเดอื น เงินเพ่ิม
ตาํ แหนง่ อ่ืนๆ/เงนิ
เงนิ เงนิ เพิ่ม หมายเหตุ เงนิ เดือน เงนิ ประจาํ ค่าตอบแทน
ผช.เจา้ พนกั งานธรุ การ ตาํ แหนง่
ระดบั เงินเดือน ประจาํ อน่ื ๆ/เงิน

ตําแหน่ง คา่ ตอบแทน

- 124,440 - - 124,440 10,370 - -

พนักงานขับรถยนต์ - 130,080 - - 130,080 10,840 - -
108,000 9,000 - -
ภารโรง - 108,000 - - 245,280 20,440 - -
- -

1 นกั ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ปก. 245,280 - -

พนกั งานขบั เครอ่ื งจักรกลขนาดเบา - 280,080 - - 280,080 23,340
252,120 - - 252,120 21,010
พนักงานขับรถยนต์ - - -

พนักงานดบั เพลิง - 180,840 - - 180,840 15,070 - -
พนกั งานดับเพลิง 136,800 - - 136,800 11,400
พนักงานดบั เพลงิ 138,120 - - 138,120 11,510 - -
- -
พนักงานดบั เพลงิ - 108,000 - - 108,000 9,000 - -
พนกั งานดับเพลิง - 108,000 - - 108,000 9,000

1 ผ้อู าํ นวยการกองคลงั ตน้ 396,000 42,000 - 438,000 33,000 3,500 -
(นักบริหารงานการคลัง)

2 หัวหน้าฝา่ ยบริหารงานคลัง ต้น 376,080 18,000 - 394,080 31,340 1,500 -
(นกั บรหิ ารงานการคลัง) - -
- 299,640 24,970 -
1 นกั วชิ าการเงินและบญั ชี ชก. 299,640 - - 204,600 17,050 -
- 266,040 22,170 - -
ผช.นักวิชาการเงินและบญั ชี - 204,600 - - 297,900 24,825 -
-
1 นักวิชาการจัดเกบ็ รายได้ ปก./ชก. 266,040 - -
1 เจา้ พนกั งานจดั เก็บรายได้ ปง./ชง. 297,900 -

ลกู มือช่างแผนที่ภาษฯี - 176,520 - - 176,520 14,710 - -

กรอบอตั รากําลังเดมิ กร

ที่ ชือ่ - สกุล คุณวุฒกิ ารศึกษา เลขทต่ี าํ แหนง่ ตําแหนง่ ระดับ เลขท่ตี ําแหนง่

33 นางกฤตกิ า เลศิ ตระกลู บธ.บ. (การเงนิ และการธนาคาร) 21-2-04-4203-001 เจ้าพนกั งานพสั ดุ ปง./ชง. 21-2-04-4203-001
- ผช.เจา้ พนักงานพัสดุ -
พนกั งานจา้ งตามภารกจิ (ประเภทผูม้ คี ณุ วุฒิ) -
- -
34 นายชยธร อาํ ลอย ปวส.บรหิ ารธุรกจิ 21-2-05-2103-001 21-2-05-2103-001

งานธรุ การ 21-2-05-4101-004 21-2-05-4101-004
- -
ลูกจ้างประจาํ
21-2-05-4701-001 21-2-05-4701-001
35 นายสรรชยั อาวุธเพชร ปวช.ไฟฟา้ 21-2-05-4701-002 เจา้ พนกั งานธุรการ - 21-2-05-4701-002
กลาง
กองช่าง (05) - ผูอ้ ํานวการกองชา่ ง -
(นกั บริหารงานช่าง) ปง./ชง.
36 นายกีรติ ทองแปน้ วท.บ. - -
- เจา้ พนักงานธุรการ - -
(เทคโนโลยอี ุตสาหกรรมก่อสร้าง)
21-2-06-2104-001 ผช.เจ้าพนกั งานธรุ การ 21-2-06-2104-001
งานธุรการ
21-2-06-2104-002 21-2-06-2104-002
37 นางสาวอมั พร กล่นิ พงศ์ บธ.บ.การจดั การทว่ั ไป
21-2-06-3606-001 21-2-06-3606-001
พนกั งานจา้ งตามภารกจิ (ประเภทผมู้ คี ุณวุฒ)ิ

38 นางกติ ิยา ไชยศรี ศศ.บ.

ศลิ ปศาสตร์บณั ฑติ (รฐั ศาสตร์)

งานสาธารณูปโภค

39 นายสุรเชษฐ์ เพชรอาวธุ คอ.บ.วิศวกรรมโยธา นายช่างโยธา ปง.
นายชา่ งโยธา ชง.
40 นายภวู นตั นัย ประพฤตติ รง ปวช.(ชา่ งกอ่ สรา้ ง)
ผช.นกั ผังเมือง -
พนกั งานจา้ งตามภารกิจ (ประเภทผมู้ คี ณุ วุฒิ)

41 นายโกมล เพชรราช วศ.บ.

(วิศวกรรมโยธา)

งานไฟฟา้ ถนน

ลกู จ้างประจาํ (กลุ่มงานสนับสนุน)

42 นายอภชิ ติ เตม็ เปี่ยม ปวช.(ไฟฟา้ กาํ ลัง) นายช่างไฟฟ้า -

พนกั งานจ้างตามภารกจิ (ประเภทผู้มีทักษะ)

43 นายอํานวย ทองศรีนุช ป.4 พนักงานขับเครอื่ งจักรกลขนาดเบา -

กองสาธารณสุขและสงิ่ แวดลอ้ ม (06)

พนักงานเทศบาล

44 นายจักราวุธ แคล้วอาวุธ รป.ม.(รัฐประศาสนศาสตร)์ ผอู้ ํานวยการกองสาธารณสขุ ฯ ต้น
(นกั บรหิ ารงานสาธารณสขุ ฯ)

ฝา่ ยบริหารงานสาธารณสุข - หวั หนา้ ฝ่ายบริหารงานสาธารณสุข ต้น
45 ว่าง (นกั บรหิ ารงานสาธารณสุขฯ)

งานสุขาภิบาลอนามยั สิง่ แวดลอ้ ม นักวชิ าการสุขาภบิ าล ปก.
46 นางสาวสุดารัตน์ ทองจติ ร วท.บ.(อนามัยสิ่งแวดล้อม)

รอบอตั รากําลงั ใหม่ เงินเดือน เงินเพ่ิม
ตาํ แหน่ง อื่นๆ/เงิน
เงิน เงนิ เพ่ิม หมายเหตุ เงนิ เดอื น เงนิ ประจํา ค่าตอบแทน
1 เจ้าพนักงานพสั ดุ ตาํ แหนง่
ผช.เจา้ พนกั งานพสั ดุ ระดบั เงนิ เดือน ประจาํ อ่ืนๆ/เงนิ

เจา้ พนกั งานธรุ การ ตาํ แหน่ง คา่ ตอบแทน
1 ผู้อาํ นวการกองช่าง
ปง./ชง. 189,600 - - 189,600 15,800
(นักบรหิ ารงานช่าง) 184,320 15,360
4 เจา้ พนักงานธุรการ - -

ผช.เจา้ พนกั งานธุรการ - 184,320 - -

--

- 236,640 - - 236,640 19,720 - -
กลาง 429,120 67,200 67,200
--

563,520 35,760 5,600 5,600

--

ปง./ชง. 203,040 - - 203,040 16,920 - -
- 149,760 - -
149,760 12,480 - -

1 นายชา่ งโยธา ปง. 138,120 - - 138,120 11,510 - -
2 นายช่างโยธา ชง. 212,280 - - 212,280 17,690

ผช.นักผงั เมือง - 219,360 - - 219,360 18,280

นายชา่ งไฟฟ้า - 218,280 - - 218,280 18,190
179,280 - - 179,280 14,940
พนักงานขับเคร่ืองจกั รกลขนาดเบา - 431,400 32,450
407,400 32,450
1 ผู้อํานวยการกองสาธารณสุขฯ ต้น 389,400 42,000 - 249,240 20,770 - -
(นกั บรหิ ารงานสาธารณสขุ ฯ) -
- 3,500 -
2 หัวหนา้ ฝา่ ยบริหารงานสาธารณสุข ตน้ 389,400 18,000 - -
(นกั บริหารงานสาธารณสขุ ฯ) - -
-
1,500 -
-

1 นกั วิชาการสุขาภบิ าล ปก. 249,240 -

กรอบอัตรากาํ ลงั เดิม กร

ท่ี ชอื่ - สกุล คุณวฒุ กิ ารศึกษา เลขท่ตี าํ แหน่ง ตาํ แหน่ง ระดับ เลขทตี่ ําแหน่ง

ลูกจ้างประจํา

47 นายสุรชัย ไกรนรา มศ.3 - พนกั งงานขับเครอื่ งจกั รกลขนาดเบา - -

พนักงานจา้ งท่วั ไป - -
- -
48 นางกมลชนก สุวรรณฤทธิ์ ป.6 - คนงาน - -
- คนงาน - -
49 นางสาวพิมพิดา แกว้ เรือง ป.ตรี - คนงาน - -
คนงาน -
50 นายวิชัย กอบดวง ป.6 - คนงาน - -

51 นายนัฐชัย ไกรนรา ทลบ. 21-2-06-4101-003 21-2-06-4101-003

52 นายจุมพล คชสทิ ธิ์ ป.4 - -

พนักงานจ้างทว่ั ไป - -

53 นางสาวอุษณยี ์ ชยั ยัง ปวช.(บญั ชี) - คนงาน - -
- -
งานธุรการ - -
- -
54 นางสาวนชุ รนิ ทร์ ชนิ ราช ศศบ. - เจา้ พนักงานธรุ การ ชง. -
-
(ศิลปศาสตร์บณั ฑิต) - -
- -
พนกั งานจา้ งตามภารกจิ (ประเภทผู้มีคุณวฒุ )ิ
21-2-08-2107-001 21-2-08-2107-001
55 นางสาวมนนั ยา เพชรด้วง บช.บ (การบญั ชี) ผช.เจ้าพนักงานธรุ การ -
21-2-08-2107-002 21-2-08-2107-002
งานกําจัดขยะมลู ฝอย
21-2-08-3803-001 21-2-08-3803-001
พนักงานจา้ งตามภารกิจ (ประเภทผ้มู ที ักษะ)

56 นายพงศ์ศักดิ์ หนนู ิล ม.3 พนกั งานขบั เครอ่ื งจกั รกลขนาดเบา -

พนกั งานจ้างทว่ั ไป

57 นายทวี บาํ รงุ ศรี ป.4 คนงานประจํารถขยะ -
คนงานประจํารถขยะ -
58 นายฉตั รชยั บญุ ช่วย ม.3 คนงานประจํารถขยะ -
คนงานประจาํ รถขยะ -
59 นายศราวุฒิ เขอ่ื นสาม ม.3 คนงานประจํารถขยะ -
คนงานประจาํ รถขยะ -
60 นายสวุ รรณนอ้ ย ไกรนรา ป.6 คนงานประจํารถขยะ -
คนงานประจาํ รถขยะ -
61 นายบรรชา เลิศไกร ม.3

62 นายสรรเพชญ แก้วชะฎา ป.ตรี

63 นายศุภชัย ปานสวุ รรณ ป.6

64 นายโกวทิ ย์ ทองสา ป.6

กองการศกึ ษา (08)

65 ว่าง - ผ้อู ํานวยการกองการศึกษา ตน้
(นกั บรหิ ารงานการศึกษา)

ฝ่ายบริหารการศึกษา ศษ.ม.(บริหารการศกึ ษา) หวั หนา้ ฝา่ ยบรหิ ารการศึกษา ต้น
66 นางสาวอัจจิมา มวยดี (นกั บรหิ ารงานการศกึ ษา)

งานบริหารการศกึ ษา ศศ.บ. (ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ ) นกั วิชาการศกึ ษา ปก.
67 นางสาวอภญิ ญา ศรีโรจน์

รอบอัตรากาํ ลงั ใหม่ เงนิ เดอื น หมายเหตุ เงินเดือน เงินประจาํ เงินเพมิ่
ตําแหน่ง ตาํ แหน่ง อ่นื ๆ/เงิน
เงนิ เงินเพมิ่ คา่ ตอบแทน
ระดับ เงนิ เดอื น ประจํา อ่นื ๆ/เงิน

ตาํ แหน่ง ค่าตอบแทน

พนกั งงานขบั เครือ่ งจักรกลขนาดเบา - 232,920 - - 232,920 19,410

คนงาน - 108,000 - - 108,000 9,000 - -
108,000 9,000 - -
คนงาน - 108,000 - - 108,000 9,000 - -
108,000 9,000 - -
คนงาน - 108,000 - - 108,000 9,000 - -
- -
คนงาน - 108,000 - - 108,000 9,000
- -
คนงาน - 108,000 - - 249,360 20,780 - -
- -
คนงาน - 108,000 - - 134,760 11,230 - -
- -
3 เจา้ พนักงานธุรการ ชง. 249,360 - - 168,480 14,040 - -

ผช.เจ้าพนกั งานธุรการ - 134,760 - - 108,000 9,000 - -
108,000 9,000
พนกั งานขับเครื่องจักรกลขนาดเบา - 168,480 - - 108,000 9,000 - -
108,000 9,000 3,500 -
คนงานประจาํ รถขยะ - 108,000 - - 108,000 9,000
คนงานประจาํ รถขยะ - 108,000 - - 108,000 9,000
คนงาน - 108,000 - - 108,000 9,000
คนงานประจํารถขยะ - 108,000 - - 108,000 9,000
คนงานประจํารถขยะ - 108,000 - -
คนงานประจาํ รถขยะ - 108,000 - - 435,600 32,800
คนงานประจํารถขยะ - 108,000 - -
คนงานประจาํ รถขยะ - 108,000 - -

1 ผูอ้ าํ นวยการกองการศึกษา ตน้ 393,600 42,000 -
(นกั บรหิ ารงานการศกึ ษา)
-
2 หัวหนา้ ฝ่ายบรหิ ารการศกึ ษา ต้น 362,640 18,000 380,640 30,220 1,500 -
(นักบริหารงานการศึกษา) - 207,480 17,290 - -

1 นกั วชิ าการศกึ ษา ปก. 207,480 - - -

กรอบอตั รากําลงั เดิม กร

ที่ ช่ือ - สกุล คุณวฒุ กิ ารศกึ ษา เลขทีต่ าํ แหนง่ ตําแหน่ง ระดบั เลขท่ตี ําแหน่ง

พนกั งานจ้างตามภารกิจ (ประเภทผู้มคี ุณวฒุ )ิ

68 นางสาววาทนิ ี เพชรชว่ ย วท.บ (วิทยาศาสตร์บณั ฑติ ) - ผช.นักวิชาการศกึ ษา - -

งานธุรการ 21-2-08-4101-005 21-2-08-4101-005

69 ว่าง - - เจา้ พนกั งานธรุ การ ปง./ชง. -

พนักงานจา้ งตามภารกิจ (ประเภทผมู้ คี ณุ วฒุ ิ) 21-2-08-22281-63 21-2-08-22281-63

70 นางสาวจริ าพรรณ คชสทิ ธ์ิ คบ.(ครศุ าสตร์บณั ฑิต) - ผช.เจา้ พนกั งานธรุ การ - -
- -
ศพด.เทศบาลตําบลทา่ ยาง - -
- -
71 วา่ ง - ครผู ู้ดูแลเดก็ -
- -
พนักงานจ้างตามภารกจิ (ประเภทผมู้ ที กั ษะ) - -
- -
72 นางสาวกานต์ศิณี เครือจนั ทร์ คบ. (ครุศาสตร์บณั ฑิต) ผดู้ ูแลเด็ก(ทกั ษะ) -
21-2-11-2105-001 ผดู้ แู ลเดก็ (ทักษะ) - 21-2-11-2105-001
73 นางสําราญ รสมาลี ศศ.บ.(วฒั นธรรมศกึ ษา) ผดู้ แู ลเด็ก(ทักษะ) -
21-2-11-3801-001 ผ้ดู แู ลเด็ก(ทักษะ) - 21-2-11-3801-001
74 นางรชั นก ทับไทร ศศ.บ.(สอ่ื สารมวลชน)
- -
75 นางสาวศิวพร เชอื้ พทุ ธ คบ.(ครุศาสตรบ์ ณั ฑิต) - -

พนกั งานจ้างทว่ั ไป

76 นางสาวอัจจมิ าพร ธรฤทธ์ิ ม.6 ผ้ดู ูแลเดก็ (ทวั่ ไป) -
ผดู้ ูแลเดก็ (ท่ัวไป) -
77 นางสาวดวงใจ ไกรนรา วท.บ.(เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์) ผูด้ ูแลเดก็ (ทั่วไป) -

78 นางสาวลัดดาวรรณ ศรสี ขุ ใส ศศ.บ. (การพฒั นาชมุ ชน)

กองสวสั ดิการสงั คม (11)

79 นางสุนนั ต์ แก้วฤทธิ์ ศศ.ม. ผูอ้ าํ นวยการกองสวสั ดกิ ารสังคม ตน้
(นกั บริหารงานสวสั ดกิ ารสงั คม)
(การบรหิ ารและการพัฒนาสงั คม)

งานพฒั นาชุมชน

80 นางสาวสุปราณี ขวญั ปาน ร.ม. นักพฒั นาชมุ ชน ชก.

พนกั งานจ้างตามภารกจิ (ประเภทผ้มู คี ณุ วฒุ )ิ

81 นางสาวนพรัตน์ มงคลหลา้ ศศ.บ.(ศลิ ปศาสตร์บัณฑิต) ผช.นักพัฒนาชมุ ชน -
ผช.เจา้ หน้าท่พี ฒั นาชมุ ชน -
82 นางสาวชญั ญานชุ วัฒนสงค์ ศศ.บ.(ศลิ ปศาสตรบ์ ัณฑติ )

งานธรุ การ วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา้ ) - ผช.เจ้าพนักงานธรุ การ - -
83 นายอดศิ ร เดชรักษา

หมายเหตุ ช่องเงนิ เดือน หมายถึง เงินเดือน เงนิ ประจําตาํ แหนง่ เงินค่าตอบแทนที่จา่ ยนอกเหนือจากเงนิ เดอื น และเงินเพิม่ อ่ืนๆ ทจี่ ่ายควบกับเงนิ เด
ทมี่ ีอยู่ปจั จุบนั ประกอบดว้ ย
1. เงนิ เดือน

รอบอัตรากําลงั ใหม่ เงินเดือน หมายเหตุ เงินเดือน เงนิ ประจํา เงินเพิม่
ตาํ แหน่ง ตาํ แหนง่ อืน่ ๆ/เงนิ
เงนิ เงนิ เพ่ิม ค่าตอบแทน
ระดบั เงินเดอื น ประจํา อื่นๆ/เงนิ

ตาํ แหน่ง คา่ ตอบแทน

ผช.นกั วิชาการศกึ ษา - 207,600 - - 207,600 17,300 - -
- -
5 เจา้ พนกั งานธรุ การ ปง./ชง. 297,900 - - 297,900 24,825
- -
ผช.เจา้ พนักงานธุรการ - 155,640 - - 155,640 12,970 - -
- -
3 ครผู ดู้ ูแลเดก็ - 342,360 - - 342,360 28,530
- -
ผดู้ ูแลเด็ก(ทักษะ) - 125,880 - - 125,880 10,490 - -
ผูด้ แู ลเด็ก(ทกั ษะ) - 117,960 - - 117,960 9,830 - -
ผู้ดูแลเด็ก(ทกั ษะ) - 112,800 - - 112,800 9,400 - -
ผ้ดู ูแลเด็ก(ทกั ษะ) - 121,560 - - 121,560 10,130
- -
ผ้ดู แู ลเดก็ (ท่วั ไป) - 108,000 - - 108,000 9000 - -
ผดู้ แู ลเด็ก (ทั่วไป) - 108,000 - - 108,000 9000 - -
ผู้ดแู ลเด็ก (ทว่ั ไป) - 108,000 - - 108,000 9000 - -
3,500 -
1 ผอู้ ํานวยการกองสวสั ดกิ ารสงั คม ตน้ 442,320 42,000 - 484,320 36,860 - -
(นักบราหรงานสวัสดกิ ารสงั คม)
- - -
1 นกั พฒั นาชมุ ชน ชก. 396,000 - 396,000 33,000 - -
- - -
ผช.นักพฒั นาชุมชน - 203,640 - - 203,640 16,970
- 131,520 10,960
ผช.เจา้ หนา้ ทีพ่ ฒั นาชุมชน - 131,520

ผช.เจ้าพนกั งานธุรการ - 145,320 - - 145,320 12,110 - -

--

ดือนที่จ่ายจริงตามระดบั ตาํ แหน่งและขั้นเงินเดอื นของอตั รากําลงั

กรอบอัตรากําลงั เดมิ กร

ที่ ชือ่ - สกุล คุณวฒุ กิ ารศึกษา เลขทต่ี ําแหน่ง ตาํ แหน่ง ระดบั เลขท่ีตําแหนง่

2. เงินประจําตําแหนง่ ของประเภทบริหารท้องถนิ่ ประเภทอํานวยการทอ้ งถนิ่ และประเภทวิชาการระดบั ชํานาญการขึน้ ไป ตามประกาศ ก
วิธกี ารจ่ายเงนิ เดือนและประโยชน์ตอบแทนอ่ืน ฉบับลงวันที่ 7 มนี าคม 2559

3. เงินคา่ ตอบแทนที่จ่ายนอกเหนอื จากเงนิ เดือน
4. เงนิ เพ่มิ อื่นๆ ทจ่ี า่ ยควบกับเงินเดอื น เชน่ เงนิ เพม่ิ คา่ วิชา (พ.ค.ว.), เงนิ เพ่มิ พเิ ศษสาํ หรบั การสรู้ บ (พ.ส.ร.), เงินเพม่ิ พเิ ศษค่าภาษามาลาย

เงินวิทยฐานะ, เงนิ เพ่มิ สําหรบั ตําแหนง่ ทมี่ ีเหตุพิเศษของครูการศึกษาพิเศษ (พ.ค.ศ.) ฯลฯ ทัง้ น้ี ไมร่ วมถึงเงนิ เพิ่มคา่ ครองชพี ชัว่ คราว

รอบอัตรากําลงั ใหม่ เงนิ เดือน เงินเพมิ่
อื่นๆ/เงิน
เงิน เงินเพ่ิม หมายเหตุ เงนิ เดือน เงินประจํา ค่าตอบแทน
ตาํ แหน่ง
ตําแหน่ง ระดบั เงนิ เดอื น ประจํา อ่นื ๆ/เงนิ

ตําแหนง่ คา่ ตอบแทน

ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. เรอื่ งมาตรฐานทั่วไปเก่ยี วกับอตั ราเงนิ เดอื นและ

ยู (พ.ภ.ม.), เงินเพิ่มสําหรบั ตาํ แหน่งทีม่ เี หตุพิเศษตําแหน่งนิติกร (พ.ต.ก.),

๑0. แผนภูมิโครงสรา้ งการแบ่งสว่ นราชการตามแผนอัตรากาํ ลงั ๓ ปี

โครงสรา้ งของเทศ
ปลดั เท

(นกั บรหิ ารงานเท

รองปลดั

(นักบริหารงานเท

สาํ นักปลัดเทศบาล กองคลัง กองชา่ ง
หวั หน้าสํานักปลัดเทศบาล ผอู้ าํ นวยการกองคลัง ผูอ้ ํานวยการกองช่าง

(นักบริหารงานทั่วไป ระดับต้น) (นักบรหิ ารงานคลัง ระดบั ต้น) (นักบรหิ ารงานช่าง ระดบั กลาง)

- ฝา่ ยอํานวยการ - ฝา่ ยบรหิ ารงานคลัง - ฝ่ายแบบแผนและกอ่ สร้าง

 

ศบาลตําบลทา่ ยาง หน่วยตรวจสอบภายใน
ทศบาล

ทศบาล ระดบั กลาง)

ดเทศบาล

ทศบาล ระดบั ตน้ )

กองสาธารณสขุ และส่ิงแวดล้อม กองการศกึ ษา กองสวัสดิการสังคม
ผู้อํานวยการกองสาธารณสุขฯ ผูอ้ ํานวยการกองการศกึ ษา ผู้อาํ นวยการกองสวัสดกิ าร
สังคม(นกั บริหารงานสวัสดิการ
(นกั บรหิ ารงานสาธารณสุขฯ ระดับตน้ ) (นักบรหิ ารการศกึ ษา ระดับต้น)
สังคม ระดับตน้ )
- ฝ่ายบรหิ ารงานสาธารณสุข - ฝ่ายบริหารการศึกษา
- ฝา่ ยสวัสดกิ ารและพัฒนา
ชุมชน

โครงสรา้ งสาํ นัก

หวั หนา้ สํานกั ป
(นักบรหิ ารงานทวั่ ไป

หัวหน้าฝ่ายอ
(นักบรหิ ารงานทั่ว

งานวิเคราะหน์ โยบายและแผน งานทะเบียน
- นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผน (ปก./ชก.) (1) - นักจัดการงานทะเบยี นและบัตร (ป
- เจา้ พนักงานทะเบียน (ปง./ชง.) (ว
งานนิติการ
- นติ ิกร (ปก./ชก.) (1) งานป้องกันและบรร
- ผช.นติ กิ ร (ภารกิจ) (1) - นักป้องกนั และบรรเทาสาธารณภ
- พนกั งานขบั เครือ่ งจักรกลขนาดเบ
งานการเจา้ หน้าที่ - พนักงานขบั รถยนต์ (ลูกจา้ งประจํา
- นกั ทรัพยากรบุคคล (ปก./ชก.) (1) - พนกั งานดับเพลงิ (ภารกิจ) (3)
- พนักงานดับเพลงิ (ทัว่ ไป) (2)
-

ประเภท อาํ นวยการทอ้ งถิ่น วชิ าการ

ระดบั กลาง ตน้ ชํานาญการ ปฏิบตั ิการ ชํานาญงา

จาํ นวน -- 2 3 2 -

กปลดั เทศบาล งานธรุ การ
- เจา้ พนกั งานธรุ การ (ปง./ชง.) (2)
ปลดั เทศบาล - พนกั งานขบั รถยนต์ (ลกู จา้ งประจํา) (1)
ป ระดับต้น) (ว่าง) - ผู้ชว่ ยนักจดั การงานท่วั ไป (ภารกจิ ) (1)
- ผู้ชว่ ยเจา้ พนักงานธุรการ (ภารกิจ) (1)
อํานวยการ - พนกั งานขบั รถยนต์ (ภารกิจ) (1)
วไป ระดบั ต้น) - ภารโรง (ทว่ั ไป 1)

นราษฎร
ปก./ชก.) (1)
ว่าง)
รเทาสาธารณภยั
ภัย (ปก./ชก.) (1)
บา (ลกู จ้างประจาํ ) (1)
า) (1)

ท่วั ไป ลูกจ้างประจํา พนักงานจ้าง รวม

าน ปฏิบตั ิงาน ท่ัวไป ภารกิจ 23

23 37


Click to View FlipBook Version