The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมไฟล์แผนปฏิบัติการปี2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 174ed00079, 2022-09-13 10:36:05

แผนปฏิบัติการปี 2565

รวมไฟล์แผนปฏิบัติการปี2565

ส่วนที่ 1

ข้อมลู พื้นฐานของ กศน.ตำบลหลักสอง

ความเปน็ มา

เดิมทีกศน.ตำบลหลักสอง ตั้งอยู่ ณ หมู่ที่ 2 วัดหลักสองราษฎร์บำรุง โดยความอนุเคราะห์ของ
เจ้าอาวาสวัดหลักสองราษฎร์บำรุง โดยใช้ศาลาที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้านบริเวณหน้าวัดหลักสอง
แต่เนื่องจากสถานที่คับแคบและมีจำนวนนักศึกษาเพิ่มมากขึ้น ทำให้ไม่เหมาะกับการจัดกระบวนการเรียน
การสอนตอ่ มาเมื่อปี 2549 นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลหลกั สอง นายสมเจต รอดกรงุ และสารวตั รกำนัน
วิเชียร อารยะสมสกุล สารวัตรกำนันบุญส่ง เดชเพ็ชร ได้อนุเคราะห์ให้ใช้สถานที่ศูนย์ถ่ายทอด
เทคโนโลยีการเกษตร หมู่ 7 เปน็ สถานท่ใี ช้ประกอบการเรยี นการสอนจนถงึ ปจั จบุ ัน

ดังนั้นกศน.ตำบลจัดเป็นศูนย์กลางการจัดการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชน
ในชุมชน และเป็นสถานทีเ่ สริมสร้างโอกาสในการเรียนรู้การถ่ายทอด และแลกเปลีย่ นประสบการณ์ วิทยาการ
ตลอดจนภูมิปัญญาของชุมชน ในการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน โดยเน้น
กระบวนการเรียนรู้ในวิถีชีวิตให้ทันกับความเปลี่ยนแปลงของสังคมในยุคโลกาภิวัตน์และก่อให้เกิดสังคม
การเรยี นรู้การเสริมสร้างประชาธิปไตยและม่งุ การพฒั นาแบบพึ่งพาตนเอง

ทต่ี ง้ั

สถานที่ต้ัง : กศน.ตำบลหลักสอง (ศูนย์ถา่ ยทอดเทคโนโยลที างการเกษตร)
ทอี่ ยู่ : หมู่ 7 ตำบลหลกั สอง อำเภอบ้านแพว้ จังหวัดสมุทรสาคร รหสั ไปรษณีย์ 74120
โทรศัพท์ : 034 -483025, 063-5874258
Website: : www.laksong.nfebanphaeo.net/
E-mail : surintorn @nfebanphaeo.net
สังกัด : สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

แผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลักสอง ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา 1

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลักสอง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษา 2

บทบาทหนา้ ท่ีภารกิจ กศน.ตำบล

หลักการทำงาน กศน.ตำบล ยึดชุมชนเป็นฐานในการทำงานและการเรียนรู้ โดยใช้ต้นทุนของชุมชน
เช่น อาคาร สถานที่ แหล่งวิทยาการ ภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมประเพณี มีการประสานเครือข่ายในชุมชน
ร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนในชุมชน/สังคม เข้ามามีส่วนร่วมเป็น
ภาคีเครือข่ายในการดำเนินการจัดกิจกรรม กศน.ตำบล ทั้งในฐานะผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ มีส่วนร่วมเป็น
เจ้าของ ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ปัญหา บูรณาการกระบวนการเรียนรู้ และจัดประสบการณ์การเรียนรู้
ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้เรียนและชุมมชน มีคณะกรรมการ กศน.ตำบล ที่เป็นคนในชุมชนให้การส่งเสริม
สนบั สนนุ ตดิ ตามดูแลและร่วมประเมินผลการดำเนนิ งาน กศน.ตำบล

1. การบรหิ ารจดั การ มีแนวทางในการดำเนนิ งาน ดังนี้
1.1 ด้านอาคารสถานที ปรับปรุงอาคารสถานที่ทั้งภายในและภายนอกให้มีความพร้อมในการ

ให้บริการให้มีความสะอาด ร่มร่ืน สวยงาม ปลอดภัย เหมาะสมและมีบรรยากาศเอื้อต่อการส่งเสริมการจัด
กิจกรรมการเรยี นรู้

1.2 ด้านวัสดุ ครุภัณฑ์ จัดหา วัสดุ และครุภัณฑ์ พื้นฐานเพื่อการเรียนรู้ที่ทันสมัย เพียงพอกับ
ความต้องการ เช่น คอมพิวเตอร์สำหรับบริการสืบค้นข้อมูล โปรเจคเตอร์เครื่องเล่นดีวีดี อุปกรณ์รับสัญญาณ
ดาวเทียม วทิ ยุ ฯลฯ และดแู ล บำรงุ รกั ษาวสั ดุ และครุภณั ฑ์ ให้อยู่ในสภาพท่พี ร้อมใชง้ าน

1.3 จดั หาส่อื การเรียนรูป้ ระเภทตา่ ง ๆ ทัง้ สอ่ื เอกสารสิ่งพิมพ์ และ ส่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์
1.4 ดา้ นบคุ ลากร
2. หัวหน้า กศน.ตำบล ดำเนินการส่งเสริมสนับสนุน และประสานการทำงานกับ ครูศรช. ชุมชน
และภาคเี ครอื ขา่ ย ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ปี ระจำ ในพนื้ ท่ี กศน.ตำบล ที่รบั ผดิ ชอบได้รับการอบรมพัฒนาอย่างเป็นระบบ
และต่อเนอ่ื งตามแผนท่ี อำเภอหรือจงั หวัด กำหนด
3. ครู กศน. จัดกิจกรรม กศน. ในหมู่บ้าน/ชุมชน ท่ีรับผิดชอบ ประสานการทำงานร่วมกับหัวหน้า
กศน.ตำบล ชุมชนและภาคีเครือข่าย
4. คณะกรรมการ กศน.ตำบล ดำเนินการสรรหา คณะกรรมการ กศน.ตำบล ตามหลักเกณฑ์
ที่สำนักงาน กศน.กำหนด สร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่คณะกรรมการ กศน. ตำบล เกี่ยวกับการดำเนินงาน
กศน.ตำบล เสริมสร้างแรงจูงใจและความพร้อมในการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม กศน.ตำบล
ทำหนา้ ท่เี ป็นเลขานุการ ในการจดั ประชมุ คณะกรรมการ กศน.ตำบล
5. อาสาสมัคร กศน.ตำบล ดำเนินการสรรหาและ เสริมสร้างแรงจงู ใจ ในการเขา้ มามีสว่ นรว่ มในการ
จัดกจิ กรรม กศน. ตำบล

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลักสอง ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษา 3

7. อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน ดำเนินการขยายผลการสร้างเครือข่ายอาสาสมัครในเขตพืน้ ท่ชี ุมชน

ของตนเองเพ่ือดำเนนิ การจดั กจิ กรรมกระบวนการส่งเสรมิ การอ่าน

6. ภาคีเครือข่าย แสวงหา รวบรวมและจัดทำทำเนียบภาคีเครอื ข่ายในระดบั ตำบล สร้างความเขา้ ใจ

ใหแ้ กภ่ าคีเครือขา่ ยเก่ยี วกับการดำเนนิ งาน กศน.ตำบล เสริมสรา้ งแรงจงู ใจและความพร้อมในการเข้ามามีส่วน

ร่วมในการจัดกิจกรรม กศน.ตำบล

กจิ กรรมหลกั ของ กศน. ตำบล

กศน.ตำบล มีบทบาทภารกิจที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลและบริบทของพื้นที่ ตลอดจนรองรับ
การเปน็ ประชาคมอาเซยี น ภายใตก้ ารขับเคล่อื นการดำเนนิ งาน 4 ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ ได้แก่

1) ศูนย์เรียนรูเ้ ศรษฐกิจพอเพยี งและทฤษฎีใหม่ เป็นศูนย์กลางการส่งเสริมจัดกระบวนการการเรยี นรู้
และหนว่ ยประสานงานแหลง่ เรยี นรู้หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงภายในชุมชนดำเนินงานรว่ มกับ
กองอำนวยการรักษาความม่นั คงภายในราชอาจกั ร (กอ.รมน.)

2) ศูนย์ส่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตำบล (ศส.ปชต.) ส่งเสริมการเรียนรู้และความเข้าใจที่ถูกต้อง
เกี่ยวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข โดยเฉพาะสิทธิ
และหนา้ ท่ใี นระบอบประชาธปิ ไตยบูรณาการความร่วมมือกบั คณะกรรมการการเลอื กต้ัง (กกต.)

3) ศูนย์ดิจิทัลชุมชน เป็นแหล่งรวบรวบข้อมูลด้านการจัดการฐานข้อมูลที่จำเป็นสำหรับ กศน.
และชุมชนเพ่อื ใหม้ คี วามร้แู ละรบั รทู้ ่เี ท่าทนั ปรับตวั ให้สอดคล้องกับการเปลย่ี นแปลงของสังคมโลกยุคดิจิทัล

4) ศูนย์การศึกษาตลอดชีวิตชุมชน ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาในระบบการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้มีคุณภาพที่สอดคล้องกับนโยบายทางการศึกษา โดยยึดชุมชน
เปน็ ฐานในการดำเนินงาน โดย กศน.ตำบล มีบทบาทเปน็ ผู้ประสานงานและอำนวยความสะดวก

คณะกรรมการ กศน.ตำบล

รูปถา่ ย ชื่อ – สกลุ บทบาท
นายสมเจต รอดกรุง ประธานกรรมการสถานศึกษา

นายจิโรจน์ ทองเตม็ กรรมการ

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลักสอง ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษา 4

นายหัสดี ขวัญไตรรงค์ กรรมการ

นางสุดาทิพย์ มีแสงเงิน กรรมการ

นางสาวฐติ าพร เพ็ชรนลิ กรรมการ

รปู ถ่าย ชอื่ – สกลุ บทบาท
นายเอกชัย เฮ้งเจริญสขุ กรรมการ

นายกนกศักดิ์ สรอ้ ยสุวรรณ์ กรรมการ

นายกติ ติชยั สร้อยสวุ รรณ์ กรรมการ

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลักสอง ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษา 5

นายสุรสิทธิ์ อุดมเวทย์ กรรมการ
นางสาวนรรตั น์ ชยั วชิ ติ กรรมการ

นายวโิ รจน์ พึ่งไพร กรรมการ

รปู ถ่าย ชือ่ – สกลุ บทบาท
นายเสนาะ ชน่ื ใจฉำ่ กรรมการ

นายมงคล เปรมเล็ก กรรมการ

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลักสอง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษา 6

นายอนนั ต์ เพมิ่ พูน กรรมการ

อาสาสมคั รสง่ เสรมิ การอ่าน บทบาท
อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน
รปู ถา่ ย ชื่อ – สกลุ
นางสาวปฐมพร อนิ บางยาง

นางสาวชวัลลักษณ์ ทับไกร อาสาสมคั รส่งเสรมิ การอ่าน

นางสาวสุวิมล มว่ งรุง้ อาสาสมคั รสง่ เสริมการอ่าน

แผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา 7

อาสาสมคั ร กศน. ช่อื – สกลุ บทบาท
นางสาวนริศรา สู่พิทักษ์ อาสาสมัคร กศน.
รูปถ่าย

นางสาวกญั ญา วงษบ์ ุญจิต อาสาสมคั ร กศน.

นางสาวจันทมิ า แสงอนิ ทร์ อาสาสมคั ร กศน.

บุคลากรใน กศน.ตำบล

1. นางสาวสรุ ินธร นาคค้มุ

ช่อื –สกลุ : นางสาวสุรินธร นาคคุม้
วฒุ ิการศกึ ษา : ปรญิ ญาตรี ครศุ าสตรบ์ ณั ฑติ สาขาวชิ าธุรกจิ ศึกษา

: ปรญิ ญาโท ศกึ ษาศาสตรม์ หาบัณฑติ
สาขาการบริหารการศกึ ษา
ตำแหนง่ : ครู กศน.ตำบล

แผนปฏิบตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา 8

องคก์ รนกั ศึกษา ช่ือ – สกลุ บทบาท
ประธาน
รปู ถา่ ย

นางสาวฤทยั วรรณ แจ่มเจด็ ร้วิ

นายประเสรฐิ สุขศรวี จิ ิตร รองประธาน

นายณฐั กูล รอดจนิ ดา กรรมการ

นางสาวนัยเรศ สนุ ทรชื่น กรรมการ

นายมงคล ทองดสี ุกใส กรรมการ

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลักสอง ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา 9

รูปถ่าย ชอ่ื – สกลุ บทบาท
นายทักษด์ นัย จันทรว์ งศ์ กรรมการ

นายณัฐพงษ์ สุขเกษม ประชาสมั พันธ์

นางสาวคณิตา มองทะเล เหรัญญกิ

นางสาวฉัตรชนก นาถตะบุตร กรรมการและเลขานุการ

แผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา 10

ทำเนียบครู กศน.ตำบล

ลำดับที่ ช่ือ – สกลุ ตำแหนง่ ระยะเวลาที่ดำรงตำแหนง่
ครู กศน.ตำบล 2545-ปจั จบุ ัน
1 นางสาวสุรินธร นาคค้มุ

รางวัลเกยี รตบิ ัตรทไ่ี ด้รบั และผลงานดเี ดน่ ของ กศน.ตำบล

ลำดับที่ รางวัล หน่วยงาน
1
2 ส่งเสริม สนบั สนุน นกั ศกึ ษาเขา้ รว่ มประกวดโครงงานจิตอาสา กศน.จังหวัดสมทุ รสาคร
3
ไดร้ บั รางวัลอนั ดับที่ 3
4
5 ส่งเสรมิ นกั ศึกษาเขา้ รว่ มการประกวดรอ้ งเพลงพระราชนิพนธ์ กศน.จงั หวดั สมุทรสาคร
6
7 ไดร้ บั รางวัลอันดับที่ 3
8
ครผู มู้ ีจำนวนนักศึกษาเข้าสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน กศน.จังหวดั สมุทรสาคร

ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ระดับ มธั ยมศกึ ษาตอน

ปลาย และระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน

รอ้ ยละ 85

ครู กศน.ตำบลดเี ดน่ กศน.จังหวัดสมทุ รสาคร

ครู กศน.ตำบลดีเดน่ อันดับท่ี 3 กลมุ่ ศนู ย์สมุทรคีรี กลุ่มศูนย์สมทุ รคีรี

ครผู ูส้ อนดีเดน่ ศึกษาธิการจังหวดั /จงั หวดั

สมุทรสาคร

รางวัลคนดีศรสี าคร สภาวฒั นธรรมจังหวัด

สมุทรสาคร

กศน.ตำบล 5 ดี พรเี ม่ยี ม

- ระดับอำเภอ สนง.กศน.จงั หวัดสมุทรสาคร

- จงั หวัด (อนั ดบั ที่ 1) กลุ่มศูนยส์ มุทรคีรี

- กลุ่มศนู ย์สมุทรคีรี (อนั ดับท่ี 3)

9 เป็นครผู ู้ส่งเสริมศิษย์ให้มผี ลคะแนนสอบการศึกษาระดบั ชาติ กศน.อำเภอบ้านแพว้
พ.ศ.2562 N-NET ดี ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2561

10 เปน็ ครผู ู้สง่ เสรมิ ศษิ ย์ใหม้ ผี ลคะแนนสอบการศึกษาระดับชาติ กศน.อำเภอบา้ นแพว้
พ.ศ.2562 N-NET ดี ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2561

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา 11

รางวัลเกียรติบัตรที่ได้รับและผลงานดเี ดน่ ของ กศน.ตำบล (ต่อ)

ลำดับท่ี รางวัล หนว่ ยงาน
11 ชนะเลศิ การประกวดโครงงาน กศน.อำเภอบ้านแพว้
12 ชนะเลศิ การประกวดพานไหว้ครู กศน.อำเภอบา้ นแพ้ว
13 เป็นครผู ู้สง่ เสรมิ ให้นกั ศกึ ษามีผลการเรียนดเี ดน่ ระดับ กศน.อำเภอบา้ นแพ้ว
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
14 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2562 กศน.อำเภอบา้ นแพว้
เป็นครูผ้สู ่งเสริมให้นกั ศึกษาเขา้ สอบมากกว่าร้อยละ 80
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2562

แผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา 12

แหล่งเรียนรู้ในชุมชน และทุนด้านงบประมาณที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์เพื่อการจัด

การศึกษา

ประเภทบคุ คล ประเภทสถานที่และองค์กร ประเภททรัพยากรธรรมชาติ ประเภทกจิ กรรมทางสงั คม

วัฒนธรรมและตน้ ทุนงบประมาณ

1. แหล่งเรียนรู้ประเภทบุคคล ไดแ้ ก่

ลำดับท่ี ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ความรคู้ วามสามารถ ท่อี ยู่
1 นางสดุ าทพิ ย์ มีแสงเงนิ แปรรูปว่านหางจระเข้น้ำวา่ น 70/3 หมู่ท่ี 1
หางจระเข้ ตำบลหลกั สอง
2 นายสาธติ สอาดเงิน 20/3 หมู่ท่ี 5
ผลิตภัณฑ์กะลามะพร้าว, ตำบลหลักสอง
3 นายขวัญชยั เกตุแก้ว การเลีย้ งแพะ 24/1 หมู่ที่ 1
ตำบลหลกั สอง
เกษตรกร การปลกู กล้วยไม้ หมู่ที่ 1 ตำบลหลกั สอง

4 นายมะลิ มาลีพันธ์ ผลิตภัณฑ์กระถางกล้วยไม้ หมู่ท่ี 3 ตำบลหลกั สอง
หมทู่ ่ี 5 ตำบลหลักสอง
จากเปลอื กมะพร้าว, หมู่ที่ 5 ตำบลหลักสอง

การทำบา้ นเรอื นไทย หมูท่ ่ี 4 ตำบลหลกั สอง

5 นายสมัคร ลมิ้ ไพบูลย์ เรือดดู เลน

6 นายสงัด พลอยขาว การทำป๋ยุ หมักชีวภาพ

7 นายเสนาะ ชนื่ ใจฉำ่ การทำปยุ๋ หมกั ชวี ภาพ/
เกษตรผสมผสาน,การจดั ดอกไม,้

แกะสลัก,เขยี นปา้ ยโฟม

8 นางนรรัตน์ ชยั วิชิต ศิลปประดษิ ฐ,์ การทำพรมเชด็ เท้า

จากห่วงผ้ายดื ,การทำเปลจากหว่ ง

ผ้ายืด การทำผา้ มัดย้อมและ

การแปรรูปอาหาร

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา 13

2. แหลง่ เรยี นรู้ประเภทสถานที่/ชมุ ชน/กลุ่มทางเศรษฐกิจ/สังคม ได้แก่

ลำดับท่ี ช่อื /แหลง่ เรยี นรู้ ประเภทแหลง่ เรียนรู้ ทต่ี ้งั
การทำนำ้ วา่ นหางจระเข้ หมู่ที่ 1 ตำบลหลกั สอง
1 กลุ่มพฒั นาสตรตี ำบลหลักสอง การบริหารจดั การธรุ กิจ
ชมุ ชน หมู่ที่ 2 ตำบลหลักสอง
2 วัดหลกั สองราษฎร์บำรุง คุณธรรม จรยิ ธรรม /
ศลิ ปวัฒนธรรม หมูท่ ่ี 2 ตำบลหลกั สอง
3 โรงเรียนหลักสองราษฎร์บำรงุ การศึกษา หมู่ที่ 2 ตำบลหลักสอง
4 โรงเรยี นหลกั สองส่งเสริมวิทยา การศกึ ษา หมทู่ ่ี 2 ตำบลหลักสอง
5 โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบลหลกั สอง สขุ ภาพอนามยั หมทู่ ่ี 5 ตำบลหลักสอง
6 วัดกระโจมทอง คุณธรรม จรยิ ธรรม /
ศิลปวัฒนธรรม หมู่ที่ 5 ตำบลหลักสอง
7 โรงเรยี นวดั กระโจมทอง การสร้างบา้ นดนิ หมู่ท่ี 5 ตำบลหลักสอง
8 ศูนยเ์ รยี นรเู้ ศรษฐกิจพอเพยี ง การศกึ ษา
การทำกะลา,การเล้ียง หมู่ที่ 7 ตำบลหลักสอง
9 ศนู ยเ์ รยี นร้เู ศรษฐกจิ พอเพยี ง แพะ
เรอื่ งการปลูกหม่อน การปลูกหม่อน

3. แหล่งสนับสนุน ทุน/งบประมาณ ประเภทองค์กร ไดแ้ ก่

ภาคีเครือข่าย การสนับสนนุ ท่ีอยู่/ท่ตี ้ัง
องค์การบรหิ ารส่วนตำบล - อาคารสถานที่ หมทู่ ี่ 5 ตำบลหลกั สอง
หลักสอง - ค่านำ้ อำเภอบ้านแพว้ จงั หวดั
- ค่าไฟ สมทุ รสาคร

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลักสอง ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา 14

สว่ นท่ี 2

ข้อมลู พ้ืนฐานเพื่อการวางแผน

สภาพท่ัวไปตำบลหลกั สอง

ประวัตคิ วามเปน็ มา
ตำบลหลักสองเป็นตำบลที่ตั้งอยู่ในเขตการปกครองของอำเภอบ้านแพ้วมีพื้นที่ทั้งหมด

14,605 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 9,128 ไร่ ประกอบไปด้วย 7 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ 1 บา้ นคลองเจ็ดร้วิ เกา่
หมู่ 2 บ้านหลกั สอง หมู่ 3 บ้านปากคลองเขื่อนขันธ์ หมู่ 4 บ้านคลองเขอ่ื นขนั ธ์ หมู่ 5 บา้ นกระโจมทอง หมู่
6 บา้ นพัฒนา หมู่ 7 บา้ นรางชา้ งสี

อาณาเขตตำบล
ทิศเหนือ ตดิ ตอ่ กบั ต.เจด็ ริว้ อ.บ้านแพ้ว จ.สมุทรสาคร
ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกบั ต.สวนส้ม, หลักสอง อ.บ้านแพว้ จ.สมทุ รสาคร
ทิศตะวนั ออก ติดต่อกบั ต.สวนสม้ อ.บ้านแพว้ จ.สมุทรสาคร
ทิศตะวนั ตก ติดต่อกบั ต.บา้ นแพว้ อ.บา้ นแพว้ จ.สมทุ รสาคร

ลกั ษณะทางภูมศิ าสตร์
ตำบลหลักสอง มีสภาพทางกายภาพเปน็ ที่ราบล่มุ มีคลองดำเนินสะดวกไหลผ่านถือเปน็ แหลง่ นำ้ สาย
หลัก และยังมีคลองที่แยกจากคลองดำเนินสะดวก ได้แก่ คลองเขื่อนขันธ์ คลองมณีวงศ์ คลองเจ็ดร้ิว
คลองหลวง และยังมีคลองสวนที่แยกจากคลองต่าง ๆ อีกเป็นจำนวนมาก เหมาะแก่การประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา 15

ขอ้ มูลด้านประชากร

ประชากรตามสถิติการทะเบียนราษฎร์อำเภอบ้านแพ้ว วันท่ี 6 มกราคม 2563 มีประชากร
ทั้งสิ้น 4,596 คน แยกเป็นชาย 2,252 คน หญิง 2,344 คน จำนวนครัวเรือน 1,145 ครัวเรือน โดยมี
รายละเอยี ดดงั นี้

จำนวนประชากรจำแนกตามเพศและเขตพื้นท่ีตำบลหลักสอง

หม่ทู ี่ ชอ่ื หมบู่ ้าน จำนวน จำนวนประชากร(คน) จำนวนครวั เรอื นในพน้ื ท่ี
ครัวเรอื น ชาย หญงิ รวม เขต อบต. เขตเทศบาล

1 บา้ นคลองเจ็ดร้ิวเก่า 150 277 282 559 150 -
202 -
2 บ้านหลักสอง 202 331 346 677 83 -
73 -
3 บา้ นปากคลองเขื่อนขันธ์ 83 139 165 304 281 -
161 -
4 บา้ นคลองเขือ่ นขนั ธ์ 73 153 172 325 195 -
1,145 -
5 บ้านกระโจมทอง 281 552 567 1,119

6 บา้ นพฒั นา(เข่ือนขันธ)์ 161 315 333 648

7 บา้ นรางช้างสี 195 484 481 965

รวม 1,145 2,251 2,346 4,597

ตำบลหลักสองมีครัวเรือนอาศัยอยู่ จำนวน 1,145 ครัวเรือน อยู่ในเขตพื้นที่การปกครององค์การ
บริหารส่วนตำบลหลักสองทั้งหมดมีประชากรทั้งสิ้น 4,597 คน แยกเป็นประชากรชาย จำนวน 2,251 คน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 48.97 และประชากรหญงิ จำนวน 2,346 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 51.03

แผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลักสอง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษา 16

จำนวนประชากรจำแนกตามชว่ งอายุ

ชว่ งอายุ (ปี) ชาย หญิง จำนวน (คน) รอ้ ยละของประชากรทง้ั หมด
(คน)
0-5 134 116 250 5.43
6 - 14 254 203 457 9.95
15 - 39 775 765 1,540 33.50
40 - 59 694 727 1,421 30.91
60 - 69 196 289 485 10.56
70 - 79 142 146 288 6.26
80 - 89 44 79 123 2.68
90 ปีขึ้นไป 12 21 33 0.71
2,251 2,346 4,597 100
รวม

จากตารางจำนวนประชากรจำแนกตามช่วงอายุ มีประชากรรวมทั้งหมด 4,597 คน พบว่าประชากร
ส่วนใหญ่ เป็นผู้หญงิ จำนวน 1,540 คน มชี ่วงอายุระหวา่ ง 15 - 39 ปี จำนวน 765 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 33.50
รองลงมามีชว่ งอายรุ ะหว่าง 40-59 ปี จำนวน 1,421 คน คิดเป็นร้อยละ 30.91 และสุดท้ายมชี ่วงอายุ 90 ปี
ข้ึนไป จำนวน 33 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0.71

จำนวนผพู้ กิ ารจำแนกตามประเภทความพิการ

ประเภทผูพ้ ิการ จำนวนผู้พกิ าร (คน) รวม คิดเป็นรอ้ ยละ
ชาย หญิง 2
18 1.27
ทางออทสิ ติก 2- 8 11.46
5 5.10
ทางสตปิ ญั ญา 11 7 22 3.18
36 14.01
ทางจติ ใจหรอื พฤติกรรม 53 66 22.93
158 42.04
ทางการมองเห็น 5- 100.00

ทางการเรยี นรู้ 18 4

ทางสมอง 19 17

ทางการเคลอ่ื นไหวทางร่างกาย 44 22

รวม 104 53

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลักสอง ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา 17

กลุ่มผู้พิการ เป็นกลุ่มผู้ด้อยโอกาสในการที่จะเข้ารับบริการทางการศึกษาหรือเข้าร่วมกิจกรรม
การเรียนรดู้ ้อยกว่าคนปกติทว่ั ไปอนั เน่ืองมาจากข้อจำกัดทางด้านร่างกาย จติ ใจ สติปญั ญาหรือความสามารถ
ในการเรียนรู้ จากตารางข้อมูลจำนวนคนพิการในพื้นที่ตำบลหลักสอง จำแนกประเภทความพิการ ออกเป็น
7 ประเภท พบว่ามีจำนวนผู้พิการจำนวน 157 คน ส่วนใหญ่เป็นผู้มีความพิการทางด้านการเคลื่อนไหว
ทางร่างกาย จำนวน 66 คน เป็นชาย 44 คน หญิง 22 คน คิดเป็นร้อยละ 42.04 รองลงมาเป็นผู้มี
ความพิการทางสมอง จำนวน 36 คน เป็นชาย 19 คน หญิง 17 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 22.93 และสดุ ท้ายเป็นผู้
มีความพกิ ารทางด้านการเรียนรู้ จำนวน 22 คน เป็นชาย 18 คน หญิง 4 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 14.01

ขอ้ มลู ดา้ นสาธารณสุข

เขตตำบลหลกั สอง มีสถานพยาบาล จำนวน 2 แห่ง ไม่ได้สงั กดั องค์การบรหิ ารส่วนตำบล คือ

- โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำบลหลักสอง หมู่ 2
- โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพบา้ นรางชา้ งสี หมู่ 7

ข้อมูลด้านสงั คม

ประชากรสว่ นใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ วฒั นธรรมทส่ี ืบทอดกันมาคือการเข้าวดั ทำบุญ

ข้อมูลดา้ นเศรษฐกจิ

อาชพี ของประชาชนในตำบล
หม่ทู ี่ 1 มสี ภาพพ้นื ทเี่ ปน็ ท่รี าบลุ่ม ส่วนมากจะประกอบอาชีพ เพาะปลูกทำสวน ฝรงั่ มะม่วง มะนาว
แก้วมงั กร มะพร้าว ทำสวนผสมผสาน บวบหอม , ถั่ว , พริก และอื่น ๆ วา่ นหางจระเข้ กล้วยไม้
หมู่ที่ 2 สภาพพื้นที่ของตำบลหลักสอง มีสภาพพื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การเพาะปลูก แต่มี
ประชากรเพยี งบางสว่ นทีป่ ระกอบอาชีพเพาะปลูก สว่ นมากจะประกอบอาชีพรบั จา้ งทำงานตามสวน และก็มี
บางส่วนออกไปรบั จ้างทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมในท้องถน่ิ อ่ืน
หม่ทู ่ี 3 สภาพพ้นื ทข่ี องบา้ นปากคลองเข่ือนขนั ธ์ มีสภาพพน้ื ทีเ่ ปน็ ทร่ี าบลุ่ม เหมาะแก่การเพาะปลูก
ประชากรส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพทางการเกษตร มีทั้งการปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ สำหรับการปลูกพืช
พืชที่ปลูกส่วนใหญ่จะเป็นพวกไม้ยืนต้น เช่น มะพร้าว มะนาว มะม่วง เป็นต้น ส่วนการเลี้ยงสัตว์ ก็จะ
เปน็ พวกเล้ยี งสัตวน์ ้ำ เช่น เลยี้ งปลา เลยี้ งก้งุ และกม็ ปี ระชากรบางส่วนประกอบอาชีพคา้ ขาย ซ่ึงส่วนใหญ่
จะอยู่บริเวณด้านที่ติดคลองดำเนินสะดวก และก็มีบางส่วนรับจ้างทำงานตามสวนและออกไปรับจ้างทำงาน
ในท้องถนิ่ อืน่

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษา 18

หมูท่ ่ี 4 สภาพพ้ืนท่ขี องบ้านคลองเข่ือนขันธ์ มสี ภาพพ้ืนทเ่ี ปน็ ที่ราบลมุ่ เหมาะแกก่ ารประกอบอาชีพ
ทางการเกษตร มีทั้งการปลูกพืช และการเลี้ยงสัตว์ พืชที่ปลูกก็จะมีทัง้ พืชยืนตน้ และพืชล้มลุก พืชยืนตน้
เช่น มะม่วง มะนาว แก้วมังกร พืชล้มลุก เช่น มะเขือ กล้วย เป็นต้น ส่วนการเลี้ยงสัตว์ มีทั้งการเลี้ยง
ปลา เลี้ยงกุ้ง เป็นต้น และก็จะมีประชากรบางส่วนมีอาชีพรับจ้าง มีทั้งรับจ้างทำงานตามสวน และออกไป
รับจา้ งทำงานในโรงงานอตุ สาหกรรมในทอ้ งถนิ่ อนื่

หมู่ที่ 5 สภาพพื้นที่ของบ้านกระโจมทอง มีสภาพพื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การเพาะปลูก
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตร มีทั้งการปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ การปลูกพืชมีทั้งการปลูก
พชื ยืนตน้ พชื ล้มลกุ การเลยี้ งสตั วม์ ีท้งั การเลยี้ งปลา การเล้ยี งกุง้ การเลีย้ งโค เป็นต้น

หมทู่ ่ี 6 สภาพพน้ื ท่ีของบ้านพัฒนา มสี ภาพพื้นท่ีเป็นทรี่ าบลุม่ เหมาะแกก่ ารเพาะปลกู ประชากรสว่ น
ใหญ่จะประกอบอาชีพทางการเกษตร มีทั้งการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ การปลูกพืช มีทั้งการปลูกพืชยืนต้น
และพืชล้มลกุ พืชยนื ตน้ ทีส่ ำคญั เช่น มะม่วง มะนาว ฝร่ัง เปน็ ตน้ พชื ล้มลกุ เชน่ กระเจย๊ี บ ถั่ว เปน็ ต้น
การเลี้ยงสัตว์ เช่น เลี้ยงกุ้ง เลี้ยงปลา เป็นต้น และก็จะมีประชากรบางส่วนมีอาชีพรับจ้าง มีทั้งรั บจ้าง
ทำงานตามสวน และออกไปรบั จา้ งทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมในท้องถนิ่ อื่น

หมู่ที่ 7 สภาพพื้นที่ของบ้านรางช้างสี มีสภาพพื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การประกอบอาชีพ
ทางการเกษตร มีทั้งการปลูกพืช และการเลี้ยงสัตว์ พืชที่ปลูกก็จะมีทัง้ พืชยืนตน้ และพืชล้มลุก พืชยืนตน้
เช่น มะม่วง แก้วมังกร พืชล้มลุก เช่น ถั่ว แตง มะเขือ เป็นต้น ส่วนการเลี้ยงสัตว์ มีทั้งสัตว์น้ำ เช่น
ปลาสลิด สัตว์บก เช่นการเลี้ยงไก่ เป็นต้น และก็จะมีประชากรบางส่วนมอี าชีพรับจ้าง มีทั้งรับจ้างทำงาน
ตามสวนและออกไปรับจ้างทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมในท้องถิ่นอนื่

ขอ้ มลู ด้านการศึกษา จำนวนนักเรียน 164 คน
จำนวนนักเรยี น 174 คน
ตำบลหลกั สอง มสี ถานศกึ ษารวมท้งั หมด 5 ดังนี้ จำนวนนกั เรยี น 157 คน
1) โรงเรยี นหลกั สองราษฎรบ์ ำรุง จำนวนนักเรยี น 41 คน
2) โรงเรยี นวดั กระโจมทอง จำนวนนักเรียน 48 คน
3) โรงเรียนหลักสองสง่ เสรมิ วิทยา
4) ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กสาครคุณาธาร
5) กศน.ตำบล

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา 19

ส่วนที่ 3

ทศิ ทางการดำเนินงาน

นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนนิ งานสำนักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (รา่ ง) นโยบายและจุดเนน้ การ

ดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน.

ยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) ไดกำหนดแผนแมบทประเด็นการพัฒนาศักยภาพคน
ตลอดชวง ชีวิตโดยมีแผนยอยที่เกี่ยวของกับการใชการศึกษาเปนเครื่องมือในการขับเคลื่อนไดแก แผนยอย
ประเด็นการพัฒนาการ เรียนรู และแผนยอยประเด็นการพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชวงชีวิต ที่มุงเนนการสราง
สภาพแวดลอมที่เอื้อตอการพัฒนา และเสริมสรางศักยภาพมนุษยการพัฒนาเด็กตั้งแตชวงการตั้งครรภจนถึง
ปฐมวัย การพัฒนาชวงวยั เรียน/วัยรุน การพฒั นาและยกระดบั ศักยภาพวัยแรงาน รวมถึงการสงเสริมศักยภาพ
วัยผูสูงอายุ ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู ที่ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 และพหุปญญา
ของมนษุ ยทีห่ ลากหลาย ประกอบกับแผนการปฏิรปู ประเทศดานการศกึ ษา นโยบายรัฐบาลท้ังในสวนนโยบาย
หลักดานการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู และการพัฒนาศักยภาพ คนตลอดชวงชีวิต และนโยบายเรงดวนเรื่อง
การเตรียมคนไทยสูศตวรรษที่ 21 ตลอดจนแผนพัฒนาประเทศอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ อาทิ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแหงชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2568) นโยบายและแผนระดับชาติ วาดวยความมั่นคงแหงชาติ
(พ.ศ. 2562 - 2568) โดยคาดหวังวาการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต ประชาชนจะไดรับการพัฒนา
การเรียนรูใหเปนคนดี คนเกงมีคุณภาพ และมีความพรอมรวมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสูความมั่นคง
มั่งคั่ง และยั่งยืน และกระทรวงศึกษาธิการ ไดกำหนดนโยบายและจุดเนน ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565
ขึ้น เพื่อเปน เข็มมุงของหนวยงานภายใตกระทรวงศกึ ษาธิการ ขับเคลื่อนการดำเนินงานใหบรรลตุ ามวัตถุประ
สงคของแผนตาง ๆ ดังกลาว สำนักงาน กศน. เปนหนวยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษนอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย ตระหนัก ถึงความสำคัญของการพัฒนาคนตลอดชวงชีวิต ไดมุงมั่นขับเคลื่อนภารกิจ
หลักตามแผนพัฒนาประเทศ และนโยบาย และจุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการ ที่คำนึงถึงหลักการบริหาร
จัดการทั้งในเรื่องหลักธรรมาภิบาล หลักการกระจาย อำนาจ การใชประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร การมุงเนนผลสัมฤทธิ์ และปฏิบัติการดานขอมูล ขาวสารการสรางบรรยากาศในการทำงานและ
การเรียนรู ตลอดจนการใชทรัพยากรดานการจัดการศึกษาอยางมีคุณภาพ โดยเนนการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย ใน 4ประเด็น
ใหญประกอบดวย การจัดการเรียนรูคุณภาพ การสรางสมรรถนะ และทักษะคุณภาพ องคกร สถานศึกษา และ
แหลงเรียนรูคุณภาพ และการบริหารจัดการคุณภาพ อันจะนำไปสูการสรางโอกาสและลดความเหล่ือมล้ำ ทาง
การศึกษา การยกระดับคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการสำหรับทุกกลุมเปาหมาย และสรางความ
พึงพอใจใหกับผูรับริการ โดยไดกำหนดนโยบาย และจุดเนนการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำป
งบประมาณ พ.ศ.2565 ดงั น้ี

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลักสอง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษา 20

หลักการ กศน. เพ่ือประชาชน “กาวใหม : กาวแหงคุณภาพ”
นโยบายและจุดเนนการดำเนินงาน สำนกั งาน กศน. ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565
1. ดานการจัดการเรียนรูคุณภาพ
1.1 นอมนำพระบรมราโชบายสูการปฏิบัติรวมทั้งสงเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานโครงการ
อนั เน่ืองมาจากพระราชดำริทุกโครงการ และโครงการอันเก่ยี วเนื่องจากราชวงศ
1.2 ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรูที่สนองตอบยุทธศาสตรชาติและนโยบายของรัฐมนตรีว าการ
และรฐั มนตรีชวยวาการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
1.3 สงเสริมการจดั การศึกษาเพอ่ื เสริมสรางความม่ันคง การสรางความเขาใจที่ถกู ตอง ในการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตย การเรียนรูที่ปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรม สรางวนิ ยั จิตสาธารณะ อุดมการณ ความยึดม่ัน
ในสถาบันหลักของชาติ การเรียนรูประวัติศาสตรของชาติและทองถิ่น และหนาที่ความเปนพลเมืองที่เขมแข็ง
รวมถึงการมีจติ อาสา ผานกจิ กรรมตางๆ
1.4 ปรับปรุงหลักสูตรทุกระดับทุกประเภท ทั้งหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐานและหลักสูตรการศึกษาตอเนื่อง ใหสอดรับกับการพัฒนาคน ทิศทางการพัฒนาประเทศ สอดคลอง
กับบริบท ที่เปลี่ยนแปลง ความตองการและความหลากหลายของผูเรียน/ผูรับบริการ รวมถึงปรับลดความ
หลากหลาย และความซ้ำซอนของหลักสูตร เชน หลักสูตรการศึกษาสำหรับกลุมเปาหมายบนพื้นที่สูง พื้นที่
พิเศษและพ้นื ท่ีชายแดน รวมทงั้ กลุมชาติพนั ธุ
1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเนนการใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือใหผูเรียน
สามารถเขาถงึ การประเมนิ ผลการเรียนรูไดตามความตองการ เพ่อื การสรางโอกาสในการเรยี นรู ใหความสำคัญ
กับ การเทยี บระดับการศึกษา และการเทยี บโอนความรูและประสบการณ พฒั นาระบบการประเมนิ สมรรถนะ
ผูเรียน ใหตอบโจทยการประเมินในระดับประเทศและระดับสากล เช น การประเมินสมรรถภาพผูใหญ
ตลอดจนกระจายอำนาจ ไปยังพื้นที่ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู
1.6 สงเสริมการใชเทคโนโลยีในการจัดหลักสูตรการเรียนรูในระบบออนไลนดวยตนเองครบวงจร ตั้ง
แตการลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ทั้งการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การศึกษา ตอเนอื่ ง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพอ่ื เปนการสรางและขยายโอกาสในการเรยี นรูใหกับกลุมเปา
หมายทสี่ ามารถเรียนรู ไดสะดวก และตอบโจทยความตองการของผูเรียน
1.7 พฒั นา Digital Learning Platform แพลตฟอรมการเรยี นรูของสำนักงาน กศน. ตลอดจน พัฒนา
สื่อการเรียนรูทั้งในรูปแบบออนไลนและออฟไลน และใหมีคลังสื่อการเรียนรูที่เปนสื่อที่ถูกตองตามกฎหมาย
งายตอการสบื คนและนำไปใชในการจดั การเรียนรู
1.8 เรงดำเนินการเรือ่ ง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทียบโอนหนวยกิต เพ่ือ
การสรางโอกาสในการศกึ ษา
1.9 พฒั นาระบบนเิ ทศการศึกษา การกำกับ ตดิ ตาม ท้งั ในระบบ On-Site และ Online รวมท้งั สงเส
ริมการวจิ ัยเพอื่ เปนฐานในการพัฒนาการดำเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษา 21

2. ดานการสรางสมรรถนะและทักษะคณุ ภาพ
2.1 สงเสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวิต ท่เี นนการพฒั นาทกั ษะท่จี ำเปนสำหรับแตละชวงวัย และการ
จดั การศกึ ษาและการเรียนรูทีเ่ หมาะสมกับแตละกลุมเปาหมายและบรบิ ทพื้นที่
2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะสั้นที่เนน New skill Up skill และ Re skill ที่สอดคลองกับบริบท
พื้นที่ ความตองการและความหลากหลายของกลุ มเปาหมายเชน ผูพิการผูสูงอายุความตองการของ
ตลาดแรงงาน และกลุม อาชพี ใหมทีร่ องรบั DisruptiveTechnology
2.3 ประสานการทำงานรวมกับศูนยใหคำปรึกษาการจัดตั้งธุรกิจ(ศูนย Start-up) ของอาชีวศึกษา
จัดอบรมหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นฐานสมรรถนะ ในทักษะอนาคต (Future Skills) ใหกับแรงงานที่กลับ
ภูมิลำเนาในชวง สถานการณCOVID - 19
2.4 ยกระดับผลิตภัณฑ สินคา บริการจากโครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน ที่เนน “สงเสริมความรู
สรางอาชีพ เพิ่มรายได และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ใหมีคุณภาพมาตรฐาน เปนที่ยอมรับของตลาดตอยอด
ภูมิปญญา ทองถิ่น เพื่อสรางมูลคาเพิ่ม พัฒนาสูวิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพิ่มชองทางประชาสัมพันธ
และชองทางการจำหนาย
2.5 สงเสริมการจัดการศึกษาของผูสูงอายุเพื่อใหเปน Active Ageing WorkforceและมีLife skill
ในการดำรงชวี ิตที่เหมาะกับชวงวัย
2.6 สงเสริมการจัดการเรียนรูเพื่อเตรียมความพรอม/การปฏิบัติตัวสำหรับสตรีตั้งครรภ และจัด
กิจกรรมการเรียนรูสำหรบั แมและเดก็ ใหเหมาะสมกับบรบิ ทของชมุ ชนและชวงวัย
2.7 สงเสริมการจัดการศึกษาที่พัฒนาทักษะที่จำเป นสำหรับกลุมเปาหมายพิเศษ เชน ผูพิการ
ออทสิ ติก เด็กเรรอน และผูดอยโอกาสอนื่ ๆ
2.8 สงเสรมิ การพัฒนาทักษะดจิ ิทลั และทักษะดานภาษา ใหกบั บุคลากรและผูเรยี น กศน. เพ่ือรองรับ
การพัฒนาประเทศรวมทั้งจัดทำกรอบสมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency)สำหรับครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษา
2.9 สงเสริมใหความรูดานการเงินและการออม (Financial Literacy)การวางแผนและสรางวินัย
ทางการเงนิ ใหกับบคุ ลากรและผูเรียน กศน.
2.10สงเสรมิ การสรางนวตั กรรมของผูเรยี น กศน.
2.11สราง อาสาสมัคร กศน. เพอื่ เปนเครอื ขายในการสงเสรมิ สนบั สนนุ การจดั การศกึ ษาตลอดชีวิต
2.12 สงเสริมการสรางและพัฒนานวัตกรรมของบุคลากร กศน. รวมทั้งรวบรวมและเผยแพร เพื่อให
หนวยงาน / สถานศกึ ษา นำไปใชในการพัฒนากระบวนการเรียนรูรวมกนั
3. ดานองคกร สถานศกึ ษา และแหลงเรยี นรูคณุ ภาพ
3.1 ทบทวนบทบาทหนาที่ของหนวยงาน สถานศึกษา เชน สถาบัน กศน.ภาค สถาบนั การศึกษา และ
พัฒนาตอเนื่องสิรินธร สถานศึกษาขึ้นตรง ศูนย ฝกและพัฒนาราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อเพิ่ม
ประสทิ ธภิ าพ ในการขบั เคลอ่ื นการจัดการศกึ ษาตลอดชีวิตในพนื้ ที่

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา 22

3.2 ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตำบล และศนู ยการเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แมฟาหลวง” (ศศช.) ใหมี
ความพรอมเพือ่ เปนพนื้ ท่กี ารเรียนรูตลอดชวี ิตท่สี ำคญั ของชมุ ชน

3.3 ปรับรูปแบบกิจกรรมในหองสมุดประชาชน ที่เนน Library Delivery เพ่ือเพิ่มอัตราการอาน และ
การรหู นังสือของประชาชน

3.4 ใหบริการวิทยาศาสตรเชิงรุกScience @homeโดยใชเทคโนโลยีเปนเคร่ืองมือนำวิทยาศาสตร
สูชวี ิตประจำวนั ในทกุ ครอบครัว

3.5 ส งเสริมและสนับสนุนการสร างพื้นที่การเรียนรู ในรูปแบบ Public Learning Space/
Co- learning Spaceเพ่ือการสรางนิเวศการเรียนรูใหเกดิ ขน้ึ สงั คม

3.6 สงเสรมิ และสนับสนุนการดำเนนิ งานของกลุม กศน.จงั หวัดใหมีประสทิ ธภิ าพ
4. ดานการบริหารจัดการคณุ ภาพ
4.1 ขับเคลื่อนกฎหมายวาดวยการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต ตลอดจนทบทวนภารกิจบทบาท
โครงสรางของหนวยงานเพอื่ รองรบั การเปล่ียนแปลงตามกฎหมาย
4.2 ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง และขอบังคับตาง ๆ ใหมีความทันสมัย เอื้อตอการบริหาร
จัดการ และการจดั การเรยี นรู เชน การปรับหลักเกณฑคาใชจายในการจัดหลกั สตู รการศกึ ษาตอเนอ่ื ง
4.3 ปรบั ปรุงแผนอัตรากำลัง รวมท้งั กำหนดแนวทางทช่ี ัดเจนในการนำคนเขาสูตำแหนง การยายโอน
และการเล่อื นระดบั
4.4 สงเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตำแหนงใหตรงกับ สาย
งาน และทักษะที่จำเปนในการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู
4.5 เสริมสรางขวัญและกำลังใจใหกับขาราชการและบุคลากรทุกประเภทในรูปแบบตาง ๆ เชน
ประกาศ เกียรตคิ ุณ การมอบโล /วฒุ บิ ัตร
4.6 ปรับปรุงระบบการจัดสรรทรัพยากรเพื่อการศึกษาใหมีความครอบคลุม เหมาะสม เชน การปรับ
คาใชจายในการจดั การศกึ ษาของผูพิการ เด็กปฐมวัย
4.7 ปรับปรุงระบบฐานขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาเพื่อการบริหารจัดการอยางเปนระบบ เชน
ขอมูล การรายงานผลการดำเนินงาน ขอมูลเด็กตกหลนจากการศึกษาในระบบและเด็กออกกลางคัน เด็กเรร
อน ผูพกิ าร
4.8 สงเสริมการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศเปนเครอื่ งมอื ในการบรหิ ารจัดการอยางเตม็ รปู แบบ
4.9 สงเสริมพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสูระบบราชการ 4.0และการประเมินคุณภาพ
และความโปรงใสการดำเนนิ งานของภาครัฐ (ITA)
4.10สงเสริมการมีสวนรวมของภาคีเครือขายทุกภาคสวน เพื่อสรางความพรอมในการจัดการศึกษา
นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย และการสงเสริมการเรยี นรูตลอดชีวติ สำหรบั ประชาชน

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษา 23

ตวั ชี้วัด

ตวั ชี้วัดเชิงปริมาณ

รายละเอยี ดตัวช้ีวดั คา่ เป้าหมาย
1.ตวั ชี้วัดเชิงปรมิ าณ
1.1.ร้อยละของผู้เรียนที่ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายการศึกษานอกระบบระดับ ร้อยละ 80
การศึกษาขั้นพื้นฐานตามสิทธิ์ที่กำหนดไว้ (เทียบกับเป้าหมายตามพรบ.งบประมาณ
รายจา่ ยประจำปี) 756,675 คน
1.2.จำนวนผู้ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้/ได้รับบริการกิจกรรมการศึกษา
ตอ่ เน่อื ง ท่ีสอดคล้องกับสภาพ ปัญหา และความตอ้ งการ 9,800,000 คน
1.3.จำนวนผู้รับบรกิ าร/เข้าร่วมกจิ กรรกมการศึกษาตามอธั ยาศยั ไมน่ อ้ ยกวา่
1.4.จำนวนบนั ทึกขอ้ ตกลงความรว่ มมือ (MOU) ร่วมกบั ภาคเี ครอื ข่าย 3,000 ฉบบั
1,787 แหง่
1.5.จำนวนแหล่งเรียนรู้ในระดับตำบลที่มีความพร้อมในการให้บริการ/การจัดกิจกรรม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 424,500 คน
1.6.จำนวนประชาชนทีเ่ ขา้ รับการพฒั นาทักษะอาชีพเพื่อสรา้ งรายได้และการมีงานทำ 100 คน
1.7.จำนวนครูกศน.ตำบล ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการจัดการเรียนการสอน
ภาษาองั กฤษเพ่ือการสอ่ื สาร 22,272 คน
1.8.จำนวนประชาชนทไ่ี ด้รบั การฝกึ อบรมภาษาตา่ งประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ 6,800 คน
1.9.จำนวนผ้ผู า่ นการอบรมหลกั สูตรการดแู ลผ้สุ ูงอายุ 185,600 คน
1.10.จำนวนประชาชนทผ่ี ่านการอบรมจากศนู ย์ดจิ ทิ ลั ชุมชน ไม่นอ้ ยกว่า 30 วชิ า
1.11.จำนวนสื่อการเรียนออนไลน์ หลักสูตรการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่องาน
อาชีพ 2,807 คน
1.12.จำนวนบุคลากรสังกัดสำนักงานกศน. ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพและ
ความกา้ วหนา้ ตามสายงานอาชพี 10,000 คน
1.13.จำนวนบคุ ลากรสงั กัดสำนักงาน กศน.ที่เข้ารับการอบรมด้านการปกป้องและเชิดชู
สถาบันหลักของชาติ ด้านความปรองดองสมานฉันท์ ด้านการมีจิตสาธารณะและด้าน 8,000 บทความ
ทกั ษะในการปฐมพยาบาลเบ้อื งต้น
1.14.จำนวนบทความเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตในระดับตำบล ในหัวข้อต่างๆ อาทิ 77 แห่ง
อาชพี ชุมชน วฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ ภูมิปัญญา
1.15..จำนวนศูนย์การเรียนรตู้ น้ แบบ (CO-learning-Space)

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลักสอง ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษา 24

ตวั ชวี้ ดั เชิงคณุ ภาพ ค่าเป้าหมาย
ร้อยละ 75
2.ตวั ช้ีวัดเชิงคุณภาพ รอ้ ยละ 80
2.1.ร้อยละของนักศึกษาที่คาดว่าจะจบในทุกระดับ ที่สำเร็จการศึกษาในแต่ละ รอ้ ยละ 80
ภาคเรียน รอ้ ยละ 80
2.2. ร้อยละของผู้จบหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่องที่สามารถนำความรู้ รอ้ ยละ 80
ความเขา้ ใจไปใช้พัฒนาตนเองไดต้ ามจุดม่งุ หมายของหลักสตู ร/กจิ กรรม รอ้ ยละ 80
2.3.ร้อยละของผู้ผ่านการพัฒนาทักษะอาชีพ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการ รอ้ ยละ 80
ประกอบอาชพี หรอื พฒั นาตนเองได้
2.4.ร้อยละของผู้เรียนในเขตพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ได้รับการพัฒนา
ศักยภาพ หรอื ทักษะดา้ นอาชีพ สามารถมงี านทำหรอื นำไปประกอบอาชีพได้
2.5.รอ้ ยละของประชาชนท่ีไดร้ ับบริการ/เข้ารว่ มกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย
มคี วามรู้ความเข้าใจ/เจคคติ/ทกั ษะ ตามจดุ มงุ่ หมายของกิจกรรมท่กี ำหนด
2.6.ร้อยละของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย มีโอกาสมาเข้าร่วมกิจกรรม
การศึกษาตลอดชีวิต
2.7.รอ้ ยละของบุคคลากรที่รบั การพัฒนา ทีม่ ีการพัฒนาตนเองในด้านพฤติกรรม
บุคลิกภาพ ทัศนคติ ค่านิยมที่พึงประสงค์ ภาวะผู้นำ และมีจรรยาบรรณวิชาชีพ
ท่เี หมาะสมยิง่ ข้นึ

แผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา 25

จดุ เนนการดำเนินงานประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2565

1. นอมนำพระบรมราโชบายดานการศึกษาสูการปฏบิ ตั ิ
1.1 สืบสานศาสตรพระราชา โดยการสรางและพัฒนาศูนยสาธิตและเรียนรู “โคก หนองนา

โมเดล” เพื่อเปนแนวทางในการจัดการบริหารทรัพยากรรูปแบบตาง ๆ ทั้งดิน น้ำ ลม แดด รวมถึงพืชพันธุ
ตาง ๆ และสงเสริม การใชพลงั งานทดแทนอยางมีประสทิ ธิภาพ

1.2 จดั ใหมี “หนึง่ ชมุ ชน หนึ่งนวัตกรรม การพัฒนาชมุ ชน” เพือ่ ความกินดี อยูดี มงี านทำ
1.3 การสรางกลุมจิตอาสาพัฒนาชุมชน รวมทั้งปลูกฝงผูเรียนใหมีหลักคิดที่ถูกตองดาน
คุณธรรม จริยธรรม มีทัศนคติที่ดีตอบานเมือง และเปนผูมีความพอเพียง ระเบียบวินัย สุจริต จิตอาสา
ผานกจิ กรรมการพฒั นา ผูเรียนโดยการใชกระบวนการลกู เสือและยุวกาชาด
2. สงสริมการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรูตลอดชวี ิตสำหรับประชาชนท่ีเหมาะสมกับทกุ ชวงวยั
2.1 สงเสริมการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และ
การสราง นวัตกรรมและผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ มีความหลากหลาย ทันสมัย และตอบสนองความตองการ
ของประชาชน ผูรบั บริการ และสามารถออกใบรบั รองความรูความสามารถเพ่ือนำไปใชในการพัฒนาอาชีพได
2.2 สงเสรมิ และยกระดับทกั ษะภาษาองั กฤษใหกบั ประชาชน (English for All)
2.3 สงเสรมิ การเรยี นการสอนท่เี หมาะสมสำหรับผูทเ่ี ขาสูสังคมสงู วัย อาทิ การฝกอบรมอาชีพ
ที่เหมาะสมรองรับสังคมสูงวัย หลักสูตรการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสงเสริมสมรรถนะผูสูงวัย และหลักสูตร
การดูแลผูสงู วัย โดยเนนการมีสวนรวมกับภาคีเครอื ขายทุกภาคสวนในการเตรยี มความพรอมเขาสูสังคมสงู วัย
3. พัฒนาหลักสูตร สื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา แหลงเรียนรู และรูปแบบการจัด
การศึกษาและการเรียนรู ในทุกระดับ ทุกประเภท เพื่อประโยชนตอการจัดการศึกษาที่เหมาะสม กับ
ทุกกลุมเปาหมาย มีความทันสมัย สอดคลองและพรอมรองรับกับบริบทสภาวะสังคมปจจุบัน ความตองการ
ของผูเรยี น และสภาวะการเรยี นรูในสถานการณตาง ๆ ท่จี ะเกดิ ข้นึ ในอนาคต
3.1 พ ั ฒ น า ร ะ บ บ ก า ร เ ร ี ย น รู ONIE Digital Learning Platform ท ี ่ ร อ ง ร ั บ DEEP
ของกระทรวงศึกษาธิการ และชองทางเรียนรูรูปแบบอน่ื ๆ ทง้ั Online On-site และ On-air
3.2 พัฒนาแหลงเรียนรูประเภทตาง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science
Center/ Digital Library ศูนยการเรยี นรูทกุ ชวงวยั และศูนยการเรยี นรูตนแบบ กศน. (Co-Learning Space)
เพอื่ ใหสามารถ “เรยี นรูไดอยางทว่ั ถงึ ทกุ ท่ี ทุกเวลา”
3.3 พัฒนาระบบรับสมัครนักศึกษาและสมัครฝกอบรมแบบออนไลน มีระบบการเทียบโอน
ความรู ระบบสะสมหนวยการเรียนรู (Credit Bank System) และพัฒนา/ขยายการใหบริการระบบทดสอบ
อิเล็กทรอนิกส (E-exam)

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลักสอง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา 26

4. บูรณาการความรวมมอื ในการสงเสริม สนบั สนนุ และจดั การศกึ ษาและการเรียนรูใหกบั ประชา
ชนอยางมีคณุ ภาพ

4.1 รวมมือกับภาคีเครือขายทงั้ ภาครฐั เอกชน ประชาสงั คม และองคกรปกครองสวนทองถิ่น
รวมทัง้ สงเสริมและสนบั สนุนการมสี วนรวมของชุมชน อาทิ การสงเสรมิ การฝกอาชพี ที เปนอัตลักษณ
และบรบิ ทของชมุ ชน สงเสรมิ การตลาดและขยายชองทางการจำหนายเพ่ือยกระดบั ผลติ ภัณฑ/สินคา กศน.

4.2 บรู ณาการความรวมมือกับหนวยงานตาง ๆ ในสังกัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ท้ังในสวน
กลางและภมู ภิ าค

5. พฒั นาศกั ยภาพและประสิทธิภาพในการทำงานของบคุ ลากร กศน.
5.1 พัฒนาศักยภาพและทักษะความสามารถดานเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy &

Digital Skills) ใหกบั บคุ ลากรทุกประเภททุกระดับ รองรบั ความเปนรฐั บาลดิจิทลั อยางมปี ระสิทธิภาพ รวมทั้ง
พัฒนาครูใหมีทักษะ ความรู และความชำนาญในการใชภาษาอังกฤษ การผลิตสื่อการเรียนรูและการจัดการ
เรยี นการสอนเพ่ือฝกทักษะ การคิดวเิ คราะหอยางเปนระบบและมเี หตผุ ล เปนข้ันตอน

5.2 จัดกิจกรรมเสรมิ สรางความสัมพันธของบุคลากร กศน.และกจิ กรรมเพิ่มประสทิ ธภิ าพ ใน
การทำงานรวมกันในรูปแบบตาง ๆ อาทิ การแขงขันกีฬา การอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการพฒั นาประสิทธภิ าพ ในการ
ทำงาน

6. ปรับปรุงและพัฒนาโครงสรางและระบบบริหารจัดการองค กร ปจจัยพื้นฐานในการจัด
การศึกษา และการประชาสมั พันธสรางการรบั รูตอสาธารณะชน

6.1 เรงผลักดันรางพระราชบัญญัติสงเสริมการเรียนรู พ.ศ. .... ใหสำเร็จ และปรับโครงสราง
การบริหารและอัตรากำลังให สอดคลองกับบริบทการเปลี่ยนแปลง เรงการสรรหา บรรจุ แตงตั้งที่มี
ประสิทธภิ าพ

6.2 นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในการบริหารจัดการ พัฒนาระบบการทำงาน
และขอมูล สารสนเทศดานการศึกษาที่ทันสมัย รวดเร็ว และสามารถใชงานทันที โดยจัดตั้งศูนยขอมูลกลาง
กศน. เพ่อื จดั ทำ ขอมูล กศน. ท้งั ระบบ (ONE ONIE)

6.3 พัฒนา ปรับปรุง ซอมแซม ฟนฟูอาคารสถานที่ และสภาพแวดลอมโดยรอบของหนวย
งาน สถานศกึ ษา และแหลงเรยี นรูทุกแหง ใหสะอาด ปลอดภัย พรอมใหบรกิ าร

6.4 ประชาสัมพันธ/สรางการรับรูใหกับประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับการบริการทางวิชาการ/
กิจกรรม ดานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสรางชองทางการแลกเปลี่ยนเรียนรูดาน
วิชาการ ของหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัด อาทิ ขาวประชาสัมพันธ ผานสื่อรูปแบบตาง ๆ การจัด
นทิ รรศการ/มหกรรม วชิ าการ กศน

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษา 27

การจัดการศึกษาและการเรียนรูในสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID – 19) ของสำนกั งาน กศน.

จากสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) เมื่อเดือนธันวาคม 2562
สงผลกระทบตอระบบการจัดการเรียนการสอนของไทยในทุกระดับชั้น ซึ่งรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ
ไดออกประกาศและมีมาตรการเฝาระวังเพื่อปองกันการแพรกระจายของเชื้อไวรัสดังกลาว อาทิ กำหนดใหมี
การเวนระยะหางทางสังคม (Social Distancing) หามการใชอาคารสถานที่ของโรงเรยี นและสถาบันการศึกษา
ทุกประเภท เพื่อจัดการเรียนการสอน การสอบ ฝ กอบรม หรือการทำกิจกรรมใด ๆ ที่มีผูเขารวมเปน
จำนวนมาก การปดสถานศึกษาดวยเหตุพิเศษ การกำหนดใหใชวิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม
อาทิ การจัดการเรียนรู แบบออนไลน การจัดการเรียนรูผานระบบการออกอากาศทางโทรทัศน วิทยุ
และโซเซยี ลมีเดยี ตาง ๆ รวมถึง การสือ่ สารแบบทางไกลหรือดวยวธิ ีอิเล็กทรอนิกส

ในสวนของสำนักงาน กศน. ไดมีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดำเนินงาน
ในภารกิจ ตอเนื่องตาง ๆ ในสถานการณการใชชีวิตประจำวัน และการจัดการเรียนรูเพื่อรองรับการชีวิต
แบบปกติวิถีใหม (New Normal) ซึ่งกิจกรรมการเรียนรู ตาง ๆ ไดใหความสำคัญกับการดำเนินงาน
ตามมาตรการการปองกัน การแพรระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) อาทิ การจัดกิจกรรม
การเรียนรูทุกประเภท หากมีความจำเปนตองมาพบกลุม หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศึกษาตองมีมาตรการ
ปองกันที่เขมงวด มีเจล แอลกอฮอล์ลางมือ ผูรับบริการตองใสหนากากอนามัยหรือหนากากผา ตองมีการ
เวนระยะหางระหวางบุคคล เนนการใชสือ่ ดจิ ิทัลและเทคโนโลยีออนไลนในการจดั การเรยี นการสอน

ภารกิจตอเนอ่ื ง

1. ดานการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู
1.1การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบตั้งแต ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานโดย

ดำเนินการ ใหผูเรียนไดรับการสนับสนุนคาจัดซื้อหนังสือเรียน คาจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน และคา
จัดการเรียน การสอนอยางทว่ั ถงึ และเพียงพอเพ่ือเพิ่มโอกาสในการเขาถึงบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพโดย
ไมเสียคาใชจาย

2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานใหกับกลุมเปาหมายผูดอย พลาด และ
ขาดโอกาสทางการศกึ ษา ผานการเรยี นแบบเรยี นรูดวยตนเอง การพบกลุม การเรยี นแบบชั้นเรียน และการจัด
การศึกษาทางไกล

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา 28

3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ทั้งดานหลักสูตรรูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวัตกรรม ระบบการวัดและ
ประเมินผล การเรียน และระบบการใหบริการนกั ศึกษาในรูปแบบอน่ื ๆ

4) จดั ใหมกี ารประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทยี บโอนความรูและประสบการณ
ทีม่ คี วามโปรงใส ยุติธรรม ตรวจสอบได มมี าตรฐานตามที่กำหนด และสามารถตอบสนองความตองการ ของก
ลุมเปาหมายไดอยางมีประสทิ ธิภาพ

5) จัดใหมีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนที่มีคุณภาพที่ผูเรียนตองเรียนรูและเขารวมปฏิบัติ
กิจกรรม เพื่อเปนสวนหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสรางความสามัคคี กิจกรรมเกี่ยวกับการป
องกัน และแกไขปญหายาเสพตดิ การแขงขันกฬี า การบำเพญ็ สาธารณประโยชนอยางตอเนื่อง การสงเสริมการ
ปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุว
กาชาด กิจกรรม จิตอาสา และการจัดตั้งชมรม/ชุมนุม พรอมทั้งเปดโอกาสใหผูเรียนนำกิจกรรมการบำเพ็ญ
ประโยชนอื่น ๆ นอกหลักสตู รมาใชเพมิ่ ชั่วโมงกิจกรรมใหผูเรยี นจบตามหลักสตู รได

1.2.การสงเสริมการรูหนงั สอื
1) พัฒนาระบบฐานขอมูลผูไมรูหนังสือ ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัยและเปนระบบ
เดยี วกนั ทงั้ สวนกลางและสวนภมู ภิ าค
2) พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร สื่อ แบบเรียนเครื่องมือวัดผลและเครื่องมือการดำเนินงาน
การ สงเสริมการรูหนังสือท่ีสอดคลองกับสภาพและบริบทของแตละกลุมเปาหมาย
3) พัฒนาครู กศน.และภาคีเครือขายที่รวมจัดการศึกษา ใหมีความรู ความสามารถ และ
ทักษะการ จัดกระบวนการเรียนรูใหกับผูไมรูหนังสืออยางมีประสิทธิภาพ และอาจจัดใหมีอาสาสมัครสงเสริม
การรหู นังสอื ใน พน้ื ที่ที่มีความตองการจำเปนเปนพิเศษ
4) สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาจัดกิจกรรมสงเสริมการรูหนังสือ การคงสภาพการรู
หนังสือ การพัฒนาทักษะการรูหนังสือใหกับประชาชนเพื่อเปนเครื่องมือในการศึกษาและเรียนรูอยางตอเนือ่ ง
ตลอดชีวิต ของประชาชน
1.3 การศกึ ษาตอเนือ่ ง
1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำอยางยั่งยืน โดยใหความสำคัญกับการจัดการศึกษา
อาชีพ เพื่อการมีงานทำในกลุมอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทาง
หรือการบริการ รวมถึงการเนนอาชีพชางพื้นฐาน ที่สอดคลองกับศักยภาพของผูเรียน ความตองการและ
ศักยภาพของแตละพื้นท่ี มีคุณภาพไดมาตรฐานเปนทีย่ อมรับ สอดรับกับความตองการของตลาดแรงงาน และ
การพฒั นาประเทศ ตลอดจน สรางความเขมแข็งใหกับศูนยฝกอาชีพชุมชน โดยจัดใหมีการสงเสริมการรวมกลุ

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลักสอง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษา 29

มวิสาหกิจชุมชน การพัฒนา หนึ่งตำบลหนึ่งอาชีพเดน การประกวดสินคาดีพรีเมี่ยม การสรางแบรนดของ
กศน. รวมถึงการสงเสริมและจัดหาชองทางการจำหนายสินคาและผลิตภัณฑ และใหมีการกำกับ ติดตาม และ
รายงานผลการจดั การศึกษาอาชพี เพ่ือการมงี านทำอยางเปนระบบและตอเนื่อง

2) จัดการศกึ ษาเพือ่ พัฒนาทักษะชวี ติ ใหกบั ทกุ กลุมเปาหมาย โดยเฉพาะคนพกิ าร ผูสูงอายุ ท่ี
สอดคลองกับความตองการจำเปนของแตละบุคคล และมุงเนนใหทุกกลุมเปาหมายมีทักษะการดำรงชีวิต
ตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองไดมคี วามรูความสามารถในการบรหิ ารจัดการชีวิตของตนเองให
อยูในสังคม ไดอยางมีความสุขสามารถเผชิญสถานการณ ตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันไดอยางมี
ประสิทธภิ าพ และเตรยี มพรอมสำหรับการปรับตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของขาวสารขอมลู และเทคโนโลยี
สมัยใหมในอนาคต โดยจัดกิจกรรมที่มีเนื้อหาสำคัญตาง ๆ เชน การอบรมจิตอาสา การใหความรูเพื่อการปอง
การการแพรระบาด ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) การอบรมพัฒนาสุขภาพกายและสุขภาพจิต
การอบรมคุณธรรม และจริยธรรม การปองกันภัยยาเสพติดเพศศึกษา การปลูกฝงและการสรางคานิยมที่พึง
ประสงคความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพยสิน ผานการอบรมเรียนรูในรูปแบบตาง ๆ อาทิ คายพัฒนาทักษะ
ชีวิต การจดั ต้งั ชมรม/ชมุ นุม การอบรมสงเสริมความสามารถพิเศษตางๆ เปนตน

3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใชหลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู
แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝกอบรมการประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูการจัดกิจกรรม
จติ อาสา การสรางชมุ ชนนักปฏิบตั ิ และรูปแบบอืน่ ๆ ท่เี หมาะสมกบั กลุมเปาหมาย และบริบทของชมุ ชน แตละ
พื้นท่ี เคารพความคดิ ของผูอื่น ยอมรบั ความแตกตางและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ รวมทัง้ สังคม
พหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการใหบุคคลรวมกลุมเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน สรางกระบวนการจิต
สาธารณะ การสรางจิตสำนึกความเปนประชาธิปไตยการเคารพในสิทธิและเสรีภาพ และรับผิดชอบตอหนาท่ี
ความเปนพลเมือง ที่ดีภายใตการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข การสงเสริม
คุณธรรม จริยธรรม การเปนจิตอาสา การบำเพ็ญประโยชนในชุมชนการ บริหารจัดการน้ำ การรับมือกับสา
ธารณภัยการอนุรักษพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การชวยเหลือซึ่งกันและกันในการพัฒนา
สังคมและชมุ ชนอยางยงั่ ยนื

4) การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผานกระบวนการเรียนรู
ตลอดชีวิต ในรูปแบบตางๆ ใหกับประชาชน เพื่อเสริมสรางภูมคิ ุมกัน สามารถยืนหยัดอยูไดอยางมั่นคง และมี
การบริหารจดั การ ความเส่ียงอยางเหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศสูความสมดลุ และยง่ั ยนื

1.4 การศกึ ษาตามอธั ยาศัย
1) พัฒนาแหลงการเรียนรูที่มีบรรยากาศและสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการอานและพัฒนา
ศกั ยภาพ การเรยี นรูใหเกิดข้ึนในสงั คมไทย ใหเกิดขึ้นอยางกวางขวางและท่ัวถงึ เชน การพฒั นา กศน. ตำบล ห

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษา 30

องสมุด ประชาชนทุกแหงใหมีการบริการที่ทันสมัย สงเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสงเสรมิ การอาน การสร
างเครอื ขาย สงเสริมการอาน จัดหนวยบรกิ ารหองสมุดเคล่ือนท่ี หองสมดุ ชาวตลาด พรอมหนังสือและอุปกรณ
เพื่อจัดกิจกรรม สงเสริมการอานและการเรียนรูทีห่ ลากหลายใหบริการกับประชาชนในพ้ืนที่ตางๆ อยางทั่วถงึ
สม่ำเสมอ รวมทั้ง เสริมสรางความพรอมในดานบุคลากร สื่ออุปกรณเพื่อสนับสนุนการอาน และการจัด
กจิ กรรมเพ่ือสงเสรมิ การอาน อยางหลากหลายรปู แบบ

2) จดั สรางและพฒั นาศูนยวิทยาศาสตรเพอ่ื การศึกษา ใหเปนแหลงเรยี นรูวิทยาศาสตรตลอด
ชีวิต ของประชาชน เปนแหลงสรางนวัตกรรมฐานวิทยาศาสตรและเปนแหลงทองเที่ยวเชิงศิลปะวิทยาการ
ประจำทองถิ่น โดยจัดทำและพัฒนานิทรรศการสื่อและกิจกรรมการศกึ ษาที่เนนการเสริมสรางความรูและสรา
งแรงบันดาลใจ ดานวิทยาศาสตรสอดแทรกวิธีการคิดเชิงวิเคราะห การคิดเชิงสรางสรรค และปลูกฝงเจตคติ
ทางวิทยาศาสตร ผานการกระบวนการเรียนรูที่บูรณาการความรูดานวิทยาศาสตร ควบคูกับเทคโนโลยี
วิศวกรรมศาสตรและคณิตศาสตร รวมทั้งสอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชุมชน
และประเทศ รวมทงั้ ระดับภมู ภิ าค และระดับโลกเพ่ือใหประชาชนมีความรูและสามารถนำความรูและทักษะไป
ประยุกตใชในการดำเนินชีวิต การพัฒนา อาชีพ การรักษาส่ิงแวดลอม การบรรเทาและปองกันภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติ รวมทั้งมีความสามารถในการปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป นไปอยา
งรวดเร็วและรนุ แรง (Disruptive Changes) ไดอยาง มปี ระสิทธิภาพ

3) ประสานความรวมมือหนวยงาน องคกร หรือภาคสวนตางๆ ที่มีแหลงเรียนรูอื่น ๆ เพื่อส
งเสริม การจัดการศึกษาตามอธั ยาศัยใหมรี ูปแบบท่หี ลากหลาย และตอบสนองความตองการของประชาชน เช
น พพิ ธิ ภัณฑ ศนู ยเรยี นรู แหลงโบราณคดี วัด ศาสนาสถาน หองสมดุ รวมถึงภูมิปญญาทองถิน่ เปนตน

2. ดานหลักสูตร สื่อรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู การวัดและประเมินผลงาน
บริการ ทางวิชาการ และการประกนั คณุ ภาพการศึกษา

2.1 สงเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูและกิจกรรมเพือ่ สงเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรฐาน
สมรรถนะ และ หลกั สูตรทองถนิ่ ที่สอดคลองกบั สภาพบรบิ ทของพนื้ ทแี่ ละความตองการของกลุมเปาหมายและ
ชุมชน

2.2 สงเสรมิ การพฒั นาส่ือแบบเรียน สอื่ อิเล็กทรอนกิ สและส่ืออื่น ๆ ท่ีเอือ้ ตอการเรียนรูของผู
เรยี น กลมุ เปาหมายท่ัวไปและกลุมเปาหมายพิเศษ เพ่ือใหผูเรียนสามารถเรียนรูไดทุกที ทกุ เวลา

2.3 พัฒนารปู แบบการจดั การศกึ ษาทางไกลใหมีความทนั สมยั หลากหลายชองทางการเรยี นรู
ดวยระบบหองเรียนและการควบคุมการสอบรูปแบบออนไลน

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลักสอง ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา 31

2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพ่ือเทยี บระดบั การศกึ ษา และการเทียบโอนความรูและประสบ
การณ เพื่อใหมีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต องการของกลุมเปาหมายไดอยางมี
ประสิทธภิ าพ รวมทัง้ มีการประชาสมั พนั ธใหสาธารณชนไดรับรูและสามารถเขาถึงระบบการประเมินได

2.5 พัฒนาระบบการวดั และประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสตู ร โดยเฉพาะหลักสูตร
ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานใหไดมาตรฐานโดยการนำแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส
(e-Exam) มาใชอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ

2.6 สงเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการ
เรยี นรู การ วดั และประเมินผล และเผยแพรรปู แบบการจัด สงเสรมิ และสนบั สนนุ การจัดการศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษา ตามอัธยาศยั รวมท้ังใหมีการนำไปสูการปฏิบัติอยางกวางขวางและมีการพัฒนาใหเหมาะสมกับ
บรบิ ทอยางตอเนือ่ ง

2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหไดมาตรฐาน มีการพัฒนาระบบการ
ประกนั คณุ ภาพภายในทสี่ อดคลองกบั บริบทและภารกิจของ กศน. มากข้นึ เพอ่ื พรอมรับการประเมินคุณภาพ
ภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสำคัญของระบบการประกันคุณภาพ
และสามารถ ดำเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาไดอยางตอเนื่องโดยใชการประเมนิ ภายในดวย
ตนเอง และจัดใหมี ระบบสถานศึกษาพี่เลี้ยงเขาไปสนับสนุนอยางใกลชดิ สำหรับสถานศึกษาที่ยังไมไดเขารับ
การประเมินคุณภาพ ภายนอก ใหพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาใหไดคุณภาพตามมาตรฐานท่ีกำหนด

3. ดานเทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษา

3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศนเพื่อการศึกษาเพื่อใหเชื่อมโยงและ
ตอบสนอง ตอการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพื่อกระจาย
โอกาสทางการศึกษา สำหรับกลุมเปาหมายตางๆ ใหมีทางเลือกในการเรียนรูที่หลากหลายและมีคุณภาพ
สามารถพัฒนาตนเองใหรูเทาทัน สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เชน รายการพัฒนาอาชีพเพ่ือ
การมีงานทำ รายการติวเขมเตมิ เต็มความรู รายการ รายการทำกนิ ก็ได ทำขายกด็ ี ฯลฯ เผยแพรทางสถานีวิทยุ
ศกึ ษา สถานวี ิทยุโทรทศั นเพื่อการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ (ETV) และทางอินเทอรเน็ต

3.2 พฒั นาการเผยแพรการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยโดยผานระบบ
เทคโนโลยีดิจิทัล และชองทางออนไลนตาง ๆ เชน Youtube Facebook หรือ Application อื่น ๆ เพื่อสงเส
ริม ใหครู กศน. นำเทคโนโลยีดิจิทลั มาใชในการสรางกระบวนการเรียนรูดวยตนเอง (Do It Yourself : DIY)

3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศนเพื่อการศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
และการออกอากาศใหกลุมเปาหมายสามารถใชเปนชองทางการเรยี นรูที่มีคุณภาพไดอยางตอเนื่องตลอดชีวิต

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลักสอง ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา 32

โดยขยายเครือขายการรับฟงใหสามารถรับฟงไดทุกที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศและเพิ่มชองทาง
ใหสามารถรบั ชมรายการโทรทัศนไดท้ังระบบ Ku -Band C -Band Digital TV และทางอินเทอรเนต็ พรอมท่ี
จะ รองรับการพัฒนาเปนสถานวี ิทยโุ ทรทัศนเพ่อื การศึกษาสาธารณะ (Free ETV)

3.4 พัฒนาระบบการใหบริการสอื่ เทคโนโลยเี พ่ือการศึกษาเพื่อใหไดหลายชองทางทงั้ ทาง อิน
เทอรเน็ต และรูปแบบอื่น ๆอาทิApplication บนโทรศัพทเคลื่อนที่ และ Tablet รวมทั้งสื่อ Offline ใน
รูปแบบ ตางๆเพื่อใหกลุมเปาหมายสามารถเลือกใชบริการเพื่อเขาถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูได
ตามความตองการ

3.5 สำรวจ วจิ ยั ติดตามประเมินผลดานการใชส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาอยางตอเน่ืองเพื่อ
นำผล มาใชในการพัฒนางานใหมีความถูกตอง ทันสมัยและสามารถสงเสริมการศึกษาและการเรียนรูตลอด
ชีวติ ของประชาชนไดอยางแทจรงิ

4. ดานโครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดำริ หรอื โครงการอันเกี่ยวเนอ่ื งจากราชวงศ

4.1 สงเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริหรือโครงการ
อันเกีย่ วเนอื่ งจากราชวงศ

4.2 จัดทำฐานขอมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน.ที่สนองงานโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดำรหิ รือโครงการอนั เกี่ยวเน่ืองจากราชวงศเพ่ือนำไปใชในการวางแผน การตดิ ตามประเมนิ ผลและการ
พัฒนางานไดอยางมีประสิทธภิ าพ

4.3 สงเสริมการสรางเครือขายการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดำริ เพ่ือใหเกดิ ความเขมแขง็ ในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

4.4 พัฒนาศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟาหลวง”เพื่อใหมีความพรอมในการจัด
การศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยตามบทบาทหนาท่ีทกี่ ำหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ

4.5 จัดและสงเสริมการเรียนรูตลอดชวี ติ ใหสอดคลองกับวิถชี ีวติ ของประชาชนบนพ้นื ที่สูง ถ่ิน
ทุรกันดารและพื้นทีช่ ายขอบ

5. ดานการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษและพื้นที่บริเวณ
ชายแดน

5.1 พฒั นาการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยในจังหวดั ชายแดนภาคใต
1) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมสงเสริมการศึกษาและการเรียนรูที่ตอบสนองปญหา
และความตองการของกลุมเปาหมายรวมท้ังอตั ลักษณและความเปนพหุวัฒนธรรมของพืน้ ที่

แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา 33

2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอยางเขมขนและตอเนื่อง
เพือ่ ให ผูเรียนสามารถนำความรูทไ่ี ดรบั ไปใชประโยชนไดจรงิ

3) ใหหนวยงานและสถานศึกษาจัดใหมีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแกบุคลากรและ
นักศกึ ษา กศน.ตลอดจนผูมาใชบรกิ ารอยางทว่ั ถงึ

5.2 พัฒนาการจัดการศึกษาแบบบูรณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ
1) ประสานความรวมมือกบั หนวยงานทีเ่ กี่ยวของในการจัดทำแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร
และบริบทของแตละจังหวัดในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ
2) จัดทำหลักสูตรการศึกษาตามบรบิ ทของพื้นที่ โดยเนนสาขาท่ีเปนความตองการของตลาด
ใหเกดิ การพฒั นาอาชพี ไดตรงตามความตองการของพ้ืนท่ี
5.3 จัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของศูนย ฝกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณ
ชายแดน(ศฝช.)
1) พัฒนาศูนยฝกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อใหเปนศูนยฝกและสาธิต
การประกอบอาชีพดานเกษตรกรรม และศูนยการเรยี นรูตนแบบการจดั กิจกรรมตามแนวพระราชดำริปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพยี ง สำหรบั ประชาชนตามแนวชายแดนดวยวธิ กี ารเรยี นรูท่หี ลากหลาย
2) มุงจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใชวิธกี ารหลากหลายใชรูปแบบเชิงรุกเพื่อการเขาถงึ
กลุมเปาหมาย เชน การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความรวมมือกับเครือขาย การจัดอบรมแกนนำดาน
อาชพี ท่ีเนนเรอ่ื งเกษตรธรรมชาติทส่ี อดคลองกับบริบทของชุมชนชายแดน ใหแกประชาชนตามแนวชายแดน

6. ดานบุคลากรระบบการบริหารจัดการ และการมีสวนรวมของทกุ ภาคสวน

6.1 การพฒั นาบคุ ลากร
1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทใหมีสมรรถนะสูงข้ึนอยางตอเนื่อง ท้ังกอนและระหวาง
การดำรงตำแหนงเพือ่ ใหมเี จตคติทีด่ ีในการปฏิบัติงานใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตำแหนง ใหตรงกับ
สายงาน ความชำนาญ และความตองการของบุคลากรสามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดำเนินงาน
ของหนวยงานและ สถานศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพรวมทั้งสงเสริมใหขาราชการในสังกัดพัฒนาตนเองเพ่ือ
เลอื่ นตำแหนง หรอื เล่ือนวทิ ยฐานะโดยเนนการประเมนิ วทิ ยฐานะเชิงประจกั ษ
2) พัฒนาศึกษานิเทศก กศน. ใหมีสมรรถนะที่จำเปนครบถวน มีความเปนมืออาชีพ สามารถ
ปฏิบัติการนิเทศไดอยางมีศักยภาพ เพื่อรวมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยในสถานศึกษา

แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา 34

3) พัฒนาหัวหนา กศน.ตำบล/แขวงใหมีสมรรถนะสูงขึ้น เพื่อการบริหารจัดการ กศน.ตำบล/
แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนการเปนนักจัดการความรูและผู
อำนวย ความสะดวกในการเรยี นรูเพอื่ ใหผูเรยี นเกดิ การเรียนรูทมี่ ีประสิทธิภาพอยางแทจริง

4) พัฒนาครู กศน. และบคุ ลากรที่เก่ยี วของกับการจดั การศึกษาใหสามารถจดั รูปแบบการเรียน
รู ไดอยางมีคุณภาพโดยสงเสริมใหมีความรูความสามารถในการจัดทำแผนการสอน การจดั กระบวนการเรียนรู
การวัด และประเมินผล และการวิจัยเบอื้ งตน

5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู ใหมีความรู
ความสามารถและมีความเปนมืออาชพี ในการจดั บรกิ ารสงเสริมการเรยี นรูตลอดชวี ติ ของประชาชน

6) สงเสริมใหคณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีสวนรวมในการ
บรหิ ารการดำเนินงานตามบทบาทภารกิจของ กศน.อยางมปี ระสทิ ธภิ าพ

7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ใหสามารถทำหนาที่สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยไดอยางมีประสิทธิภาพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสรางความสัมพันธระหวาง
บุคลากรรวมทั้งภาคีเครือขายทั้งใน และตางประเทศในทุกระดับ โดยจัดใหมีกิจกรรมเพื่อเสริมสราง
สมั พนั ธภาพและเพิม่ ประสิทธิภาพในการทำงาน รวมกันในรปู แบบทหี่ ลากหลายอยางตอเน่ืองอาทิ การแขงขัน
กีฬา การอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารพัฒนาประสทิ ธิภาพ ในการทำงาน

6.2 การพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐานและอัตรากำลงั
1) จัดทำแผนการพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานและดำเนนิ การปรับปรุงสถานท่ีและวสั ดอุ ุปกรณใหมี
ความพรอมในการจัดการศึกษาและการเรียนรู
2) สรรหา บรรจุ แตงตั้ง และบริหารอัตรากำลังที่มีอยูทั้งในสวนที่เปนขาราชการ พนักงาน
ราชการ และลกู จาง ใหเปนไปตามโครงสรางการบรหิ ารและกรอบอัตรากำลัง รวมทัง้ รองรบั กับบทบาทภารกิจ
ตามท่ีกำหนดไว ใหเกดิ ประสทิ ธิภาพสงู สดุ ในการปฏิบตั งิ าน
3) แสวงหาความรวมมือจากภาคีเครือขายทุกภาคสวนในการระดมทรัพยากรเพื่อนำมาใช ใน
การปรับปรุงโครงสรางพ้ืนฐานใหมีความพรอมสำหรบั ดำเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตาม
อัธยาศัย และการสงเสริมการเรียนรูสำหรบั ประชาชน
6.3 การพฒั นาระบบบริหารจดั การ
1) พัฒนาระบบฐานขอมูลใหมคี วามครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และเช่ือมโยงกนั ทว่ั ประเทศ อย
างเปนระบบเพื่อใหหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนำไปใชเปนเครื่องมือสำคัญในการบริหาร การ
วางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมทั้งจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาต าม
อธั ยาศัย อยางมปี ระสิทธภิ าพ

แผนปฏบิ ัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลักสอง ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา 35

2) เพ่มิ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกำกบั ควบคมุ และเร
งรดั การเบกิ จายงบประมาณใหเปนตามเปาหมายท่กี ำหนดไว

3) พัฒนาระบบฐานขอมูลรวมของนักศึกษา กศน. ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัย และ
เชื่อมโยงกันทั่วประเทศ สามารถสืบคนและสอบทานไดทันความตองการเพื่อประโยชนในการจัดการศึกษาให
กับ ผูเรยี นและการบรหิ ารจดั การอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ

4) สงเสริมใหมีการจัดการความรูในหนวยงานและสถานศึกษาทุกระดบั รวมทั้งการศึกษาวิจยั
เพื่อสามารถนำมาใชในการพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานที่สอดคลองกับความตองการของประชาชน
และชมุ ชนพรอมท้งั พัฒนาขีดความสามารถเชงิ การแขงขันของหนวยงานและสถานศึกษา

5) สรางความรวมมือของภาคีเครือขายทุกภาคสวน ทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมทั้งใน
ประเทศ และตางประเทศ รวมทั้งสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของชมุ ชนเพื่อสรางความเขาใจ และให
เกดิ ความรวมมอื ในการสงเสรมิ สนบั สนนุ และจัดการศึกษาและการเรียนรูใหกับประชาชนอยางมคี ุณภาพ

6) สงเสริมการใชระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส (e -office) ในการบริหารจัดการ เชน ระบบ
การ ลา ระบบสารบรรณอเิ ล็กทรอนกิ ส ระบบการขอใชรถราชการ ระบบการขอใชหองประชมุ เปนตน

7) พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการใหทันสมัย มีความโปรงใส ปลอดการทุจริต
และประพฤติมชิ อบ บรหิ ารจัดการบนขอมูลและหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ มุงผลสัมฤทธ์มิ ีความโปรงใส

6.4การกำกับ นิเทศตดิ ตามประเมิน และรายงานผล
1) สรางกลไกการกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดำเนินงานการศึกษา
นอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหเชื่อมโยงกับหนวยงาน สถานศกึ ษา และภาคเี ครอื ขายทั้งระบบ
2) ใหหนวยงานและสถานศึกษาที่เกี่ยวของทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกำกับ ติดตาม
และ รายงานผลการนำนโยบายสูการปฏิบัติ ใหสามารถตอบสนองการดำเนินงานตามนโยบายในแตละเรื่อง
ไดอยางมี ประสิทธภิ าพ
3) สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสื่ออื่น ๆ ที่เหมาะสม เพื่อการ
กำกบั นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลอยางมีประสทิ ธภิ าพ
4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ
ประจำป ของหนวยงาน สถานศึกษา เพื่อการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคำรับรองการปฏิบตั ิราชการประจำป
ของสำนักงาน กศน.ใหดำเนินไปอยางมีประสทิ ธิภาพ เปนไปตามเกณฑ วธิ กี าร และระยะเวลาทกี่ ำหนด
5) ใหมีการเช่ือมโยงระบบการนิเทศในทุกระดบั ทั้งหนวยงานภายในและภายนอกองคกร ต้ัง
แต สวนกลาง ภูมิภาค กลุมจังหวัด จังหวัด อำเภอ/เขต และตำบล/แขวง เพื่อความเปนเอกภาพในการใชข
อมลู และการพัฒนางานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา 36

การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis)
สถานศึกษาได้จัดประชุมบุคลากรเพื่อระดมความคิด ร่วมกันประเมินสถานการณ์ของสถานศึกษา
โดยในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกำหนดจุดแข็งและจุดอ่อน
จากสภาพแวดลอ้ มภายในสถานศึกษา รวมทง้ั โอกาสและอปุ สรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอกสถานศึกษา อัน
เป็นปัจจัยต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อนำผลไปใช้ในการกำหนดทิศทางการดำเนินงานของ
สถานศึกษา ซง่ึ ไดผ้ ลการประเมินสถานการณ์ของสถานศกึ ษา ดงั นี้
สภาพแวดล้อมภายใน
จดุ แข็ง
ด้านบุคลากร
1. ครมู ใี บประกอบวิชาชพี สร้างความเชื่อมนั่ ใหก้ ับผเู้ รยี น มีกระบวนการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย
2. ครมู ีความสามัคคี ทำใหง้ านประสบความสำเรจ็
3. ครมู ีความสามารถดา้ นเทคโนโลยี ช่วยในการจัดการเรียนการสอนใหม้ ีประสิทธภิ าพมากยงิ่ ขึน้

มสี ือ่ ที่หลากหลาย
4. ครูมมี นุษยสมั พนั ธ์ท่ดี ี มีการประสานงานกับภาคเี ครือขา่ ย ผรู้ ับบริการ
5. มคี รู กศน.ตำบล ครบทกุ ตำบล ทำให้มีความพร้อมในการให้บรกิ ารแก่นักศึกษาและประชาชนท่วั ไป
6. มคี ณะกรรมการ กศน.ตำบล และองค์กรนกั ศกึ ษาในทุกตำบล
7. บคุ ลากรไดร้ บั การพฒั นาอยา่ งต่อเนื่อง
8. ครูมคี วามม่งุ มนั่ ตัง้ ใจ ในการปฏิบัตหิ น้าที่ จึงทำใหจ้ ดั การศึกษาไดท้ ุกรูปแบบ

(งานการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ,งานการศึกษาต่อเนอื่ ง และงานการศึกษาตามอธั ยาศยั )
ดา้ นอาคาร สถานท่ี สอ่ื วสั ดุอปุ กรณ์

1. กศน.อำเภอบา้ นแพ้ว เปน็ เอกเทศ เพ่ือรองรับการใหบ้ ริการ และการตดิ ต่อประสานงาน
2. มี กศน.ตำบลครบทั้ง 12 ตำบล เพ่อื จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ และให้บรกิ ารในด้านต่าง ๆ
3. มสี ือ่ /วสั ดุอุปกรณใ์ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรแู้ ละให้บริการในดา้ นต่าง ๆ
4. มสี ญั ญาณอนิ เทอร์เน็ต เพ่ือให้บริการสื่อสารแกน่ ักศึกษาและประชาชน
ด้านงบประมาณ
1. กศน.ตำบล ไดร้ บั การจดั สรรงบประมาณอยา่ งเทา่ เทียมและทัว่ ถงึ ในทกุ ตำบล
2. สามารถใช้งบประมาณอยา่ งค้มุ ค่า และมปี ระสิทธภิ าพ
ด้านโครงสร้างองคก์ ร
โครงสร้างบริหารจัดการท่ีชัดเจน สามารถกระจายงานไดอ้ ย่างรวดเร็ว ทำให้การทำงานเป็นระบบ
และมปี ระสิทธิภาพ
ด้านหลกั สตู ร
หลักสตู รการศกึ ษาต่อเน่ือง มีความหลากหลาย ตรงต่อความต้องการของประชาชน
จดุ ออ่ น

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา 37

ดา้ นบุคลากร
1. ครูจบการศึกษาไมต่ รงตามสาขาวชิ าท่สี อน จึงส่งผลใหไ้ มส่ ามารถจัดกจิ กรรมการเรยี นรูใ้ นบาง
เนอื้ หาของรายวชิ าหลกั ได้แก่ วิชาวิทยาศาสตร์ , วชิ าภาษาไทย , วิชาภาษาอังกฤษ และวชิ า
คณติ ศาสตร์

สภาพแวดล้อมภายนอก
โอกาส

1. ภาคีเครอื ข่ายให้ความร่วมมือ มสี ว่ นร่วมสนับสนนุ และอำนวยความสะดวก ในการจดั กิจกรรมเป็น
อย่างดี

2. ประชาชนสามารถเลือกเรยี นรู้กิจกรรม/หลกั สูตรได้ตามความตอ้ งการ เน่ืองจากมีหลกั สตู รและ
กิจกรรมที่หลากหลาย

3. พนื้ ท/่ี ชมุ ชน มีภูมิปัญญาท้องถ่ิน/ปราชญช์ าวบ้าน ทีเ่ อ้ือต่อการจัดกิจกรรมและสามารถถา่ ยทอด
องคค์ วามรู้

4. กศน.อำเภอบา้ นแพว้ เป็นทย่ี อมรับของประชาชนและหน่วยงานอน่ื ๆ
5. มแี หล่งเรียนรูใ้ นชมุ ชนท่ีเอ้ือตอ่ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้
อปุ สรรค
1. การจัดสรรงบประมาณจากต้นสงั กัดลา่ ชา้ ส่งผลตอ่ การดำเนินงานตามแผนปฏิบัตงิ าน
2. ขอ้ จำกดั ของพื้นทม่ี คี วามแตกต่าง สง่ ผลต่อการเดนิ ทางเข้าร่วมกจิ กรรม
3. นโยบายเรง่ ดว่ น ส่งผลต่อการดำเนนิ งานตามแผน
4. ประชาชนให้ความสำคัญกับอาชีพหลัก มากกว่าการศึกษา
5. มีสื่อเทคโนโลยที ี่สนองความต้องการของประชาชนไดอ้ ย่างรวดเร็ว
6. บางพื้นท่กี ารเดนิ ทางไมส่ ะดวก ไม่สามารถเขา้ ถงึ ทำใหก้ ารดำเนินงานไมเ่ ปน็ ไปตามที่

สำนกั งาน กศน.กำหนด เชน่ การสำรวจขอ้ มลู
7. บางพ้นื ทม่ี ีความเส่ยี งในการดำเนินงาน เชน่ ทางเปลี่ยว , ยาเสพตดิ , สุนัข

จากผลการประเมินสถานการณข์ องสถานศึกษา โดยการวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มและศักยภาพ
(SWOT Analysis) ของสถานศึกษาดังกล่าวข้างต้น สถานศึกษาสามารถนำมากำหนดทิศทางการดำเนินงาน
ของสถานศึกษา ได้แก่ ปรัชญา วิสัยทัศน์ อัตลักษณ์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดความสำเร็จ และกลยุทธ์
ดงั นี้

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา 38

ทิศทางการดำเนนิ งานของสถานศึกษา กศน.ตำบลหลกั สอง
ปรชั ญาสถานศึกษา
ปรัชญา “คิดเป็น” มีแนวคิดภายใต้ความเชื่อว่า “คนเราสามารถพัฒนาการคิด การตัดสินใจ” ให้มี

ประสิทธิภาพสูงขึ้นได้ ด้วยการฝึกทักษะ การใช้ข้อมูลที่หลากหลาย ทั้งด้านตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อมและ
วิชาการมาวิเคราะห์ เชื่อมโยง สัมพันธ์ สร้างสรรค์ เป็นแนวทาง วิธีการ สำหรับตนเอง แล้วประเมินตีค่า
ตดั สนิ ใจเพื่อตนเอง และชุมชน สังคม ซ่ึงเปน็ ลกั ษณะของคน “คิดเป็น”

วสิ ยั ทัศน์
สถานศกึ ษาจดั การศึกษาและเรยี นรตู้ ลอดชีวติ อยา่ งมีคณุ ภาพ สร้างการพัฒนาอยา่ งยั่งยืนบนพ้นื ฐาน
ความพอเพียง ใหผ้ เู้ รยี นมีทักษะในการเรยี นรู้ และการดาเนนิ ชวี ติ ในศตวรรษท่ี 21
อัตลกั ษณ์ เอกลกั ษณ์
อตั ลักษณ์ สถานศึกษา ยิ้มทกั ทาย ไหว้เป็นมิตร มีจิตอาสา
เอกลักษณ์ สถานศกึ ษา สถานศกึ ษาพอเพยี ง เคียงคูภ่ าคเี ครือข่าย
พนั ธกิจ
สร้างคนดี มีอาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ เพื่อสร้างจิตสำนึกความเป็น
พลเมอื งดี มอี าชพี มคี ุณธรรม จริยธรรม
1.จัดและส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
2.พัฒนาบุคลากรให้สามารถจัดการศึกษาที่มีคุณภาพอยา่ งเท่าเทียมและท่ัวถึง
3.พฒั นาระบบบริหารจัดการเพือ่ การจดั การศกึ ษาที่มีคุณภาพ
4.ส่งเสรมิ และสนับสนุนการมสี ว่ นรว่ มของภาคีเครือข่ายและชุมชนในการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศยั

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลักสอง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษา 39

เปา้ ประสงคแ์ ละตัวชว้ี ัดความสำเรจ็ ตวั ช้ีวดั ความสำเรจ็
เปา้ ประสงค์

1.ประชาชนซึ่งเป็นผพู้ ลาด ผู้ขาด และผู้ด้อยโอกาส 1.ร้อยละ 80 ของประชาชนซึ่งเป็นผู้พลาด ผู้ขาด

ทางการศกึ ษา รวมทงั้ ประชาชนทั่วไป ไมไ่ ดร้ ับ และ ผู้ด้อย โอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชน

โอกาสทางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน การศึกษาตอ่ เนอื่ ง ทั่วไป ไม่ได้รับโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

และการศึกษาตามอธั ยาศัย ที่มอี ยา่ งเท่าเทียมและ การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย ที่มี

ท่วั ถงึ อย่างเทา่ เทียมและท่วั ถงึ

2.ชุมชนและภาคเี ครอื ข่ายทุกภาคส่วน ร่วม 2.ร้อยละ 80 ของชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาค

สนับสนนุ การดำเนินงานทางการศกึ ษานอกระบบ ส่วน ร่วมสนับสนุนการดำเนินงานทางการศึกษา

และการศกึ ษาตามอัธยาศัย นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

3. ประชาชนซึ่งเป็นผู้พลาดผู้ขาด และผู้ด้อยโอกาส 3. ร้อยละ 70 ของประชาชนซึ่งเป็นผู้พลาด ผู้ขาด

ทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนทั่วไป เรียนรู้ด้วย และผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชน

เทคโนโลยที างการศกึ ษา เทคโนโลยีดจิ ิทลั ท่วั ไป เรยี นรู้ด้วยเทคโนโลยที างการศึกษาเทคโนโลยี

ดิจทิ ลั

4. สถานศึกษามีหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั 4.สถานศกึ ษามกี ารพฒั นาหลักสตู ร จำนวน 8

การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน และหลักสตู รการจัดการศกึ ษา หลกั สูตร

ต่อเน่ืองท่ไี ด้รับการพฒั นา

5.สถานศกึ ษามีสือ่ และนวัตกรรมท่สี อดคล้องกับการ 5. สถานศกึ ษามีสือ่ และนวัตกรรมการจดั กจิ กรรม

จดั กิจกรรมการเรียนรู้ การเรยี นรู้จำนวน 35 ชิ้น

6.สถานศึกษามกี ารวดั และประเมนิ ผล ทีส่ อดคล้อง 6. สถานศกึ ษามีการวัดและประเมินผลที่สอดคล้อง

กับหลักสตู รและจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ กับหลกั สูตรและการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

จำนวน 9 วชิ า

กลยทุ ธ์
กลยทุ ธท์ ี่ 1 : เพื่อนช่วยเพ่ือน เครอื ข่ายนำทาง
กลยุทธท์ ี่ 2 : ยืดหยุ่นเรียนรู้ เขา้ สู่โอกาส
กลยทุ ธท์ ี่ 3 : สร้างหอ้ งสื่อ จูงมอื เข้าเรียน

แผนปฏิบตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลักสอง ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา 40

กลยุทธ์ในการทำงาน 5 กลยทุ ธ์

กลยทุ ธ์ที่ 1 ลุยถึงท่ี ถึงกลมุ่ เปา้ หมาย
1. ออกพื้นท่ีรับสมัครนักศกึ ษาถึงหนา้ บ้านในทุกระดบั ชัน้ และผู้ทส่ี นใจการศึกษาดา้ นอาชีพ
2. สำรวจความตอ้ งการเรยี นรู้ดา้ นอาชพี โดยสอบถามตามหมู่บา้ น โดยได้รับข้อมูลจากผูน้ ำชมุ ชน/
ประชาชน และจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ตอ่ เนอื่ งใหก้ บั กลมุ่ เปา้ หมายตามท่ีต้องการ
3. จดั ทำแผนการปฏบิ ตั ิงาน และปฏบิ ัติตามแผนท่กี ำหนดไว้ในแต่ละเดือน
4. การประชาสัมพันธใ์ นพนื้ ที่และให้เครือข่ายช่วยประชาสมั พันธ์
5. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ท่หี ลากหลายในชุมชน
6. การประสานงานกบั กลุ่มเป้าหมายโดยการประสานดว้ ยตัวเองถึงบ้านกลุ่มเป้าหมาย
7. ให้ความสำคัญกบั ทุกคนโดยไม่เลือกปฏิบตั ิในการให้บริการและการจัดกจิ กรรม
8. จดั กจิ กรรมในพน้ื ทเ่ี พื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้เรยี นรูแ้ ละสะดวกมากข้ึน

กลยุทธ์ท่ี 2 มีเป้าหมายชัดเจน
1. มีแผนการปฏิบตั ิงานประจำปี
2. ใหบ้ ริการกับทกุ กล่มุ เป้าหมาย
3. ปฏิบตั งิ านตามวงจรคุณภาพ PDCA

กลยุทธ์ท่ี 3 เน้นกจิ กรรมหลากหลาย
1. ใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาในชุมชนมาจัดกิจกรรมการเรียนรใู้ หก้ บั ผเู้ รยี นและผทู้ ่สี นใจทั่วไป
2. สง่ เสรมิ การเรียนรูใ้ หก้ ับชุมชนในทุกกิจกรรม
3. สำรวจความต้องการของผู้เรยี นทจ่ี ะพัฒนาตนเองในเร่อื งใดเรือ่ งหน่งึ และจดั กิจกรรมตามความ
ตอ้ งการ

กลยุทธท์ ี่ 4 ผนึกกำลังภาคเี ครือข่าย
1. ทำงานรว่ มกับเครือข่ายระดับหมู่บา้ น/ตำบล/อำเภอ
2. ทำงานร่วมกับคณะกรรมการสถานศกึ ษา กศน.ตำบล
3. รกั ษาภาคีเครอื ข่ายเดมิ และเพิม่ เตมิ ขยายเครือข่ายให้มากข้นึ
4. ประสานเครือข่ายใหเ้ ข้ารว่ มกิจกรรม กศน.ท่จี ดั ขน้ึ เพ่ือให้เครอื ขา่ ยเหน็ ความสำคญั

แผนปฏิบัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลักสอง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษา 41

กลยทุ ธ์ท่ี 5 บรกิ ารทุกระดับประทบั ใจ
1. ให้การบรกิ ารกับกลมุ่ เป้าหมายโดยไม่เลือกปฏบิ ัติ
2. บริการรวดเร็วทันใจต่อผู้มารับบรกิ าร
3. สร้างรอยยิ้มที่ประทับใจกับผู้มารับบริการ
4. ให้ความเป็นกันเอง มีมิตรไมตรีท่ีดกี บั ผู้มารบั บริการ
5. ใหบ้ รกิ ารด้วยความพอใจ/เต็มใจ /มใี จบริการต่อบุคคลท่ีมาตดิ ตอ่ งาน กศน.

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา 42

ส่วนท่ี 4

รายละเอียดแผนงาน/โครงการ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านแพ้ว ดำเนินการวางแผนการ
ใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ 2564 ตามแนวทางการจัดสรรงบประมาณของ สำนักงานส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัยจังหวัดสมุทรสาคร เพื่อวางแผนในการบริหารจัดการให้เป็นไปตามพันธกิจ และโครงการ
ตามผลผลติ ของศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอบา้ นแพ้ว

เพื่อให้การดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อำเภอบ้านแพ้วเกิดความสอดคล้องและเชื่อมโยงกัน แนวทางการดำเนินงานและบริบทที่เกี่ยวข้องได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านแพ้ว จึงได้วางแผนสู่การปฏบิ ตั ิ
และการติดตามประเมินผล เพอ่ื กำกับ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน / โครงการ ใหเ้ ป็นไป
ตามเปา้ หมายทก่ี ำหนดไว้

ขัน้ เตรียมการ
- นำเสนอแผนต่อผบู้ รหิ ารเพื่อให้ความเห็นชอบ อนุมัตแิ ผน
- แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนนิ งานจัดทำแผนปฏิบัติการ การนิเทศ ติดตามผล เพื่อให้ การดำเนินงาน
เปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
- วเิ คราะหโ์ ครงการเพ่ือใหเ้ ป็นไปตามผลของการ SWOT ตลอดจนการกำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และ
ประเมินผลแผนปฏิบัติการ กระบวนการนำแผนสู่การปฏิบตั ิ ประเมินผลผลิต ผลลัพธ์ และผลประโยชน์ที่เกิด
กับประชาชนว่าเป็นไปตามเป้าหมายเพียงใด รวมทั้งแผนบริหารงานด้านการติดตามประเมินผล สู่สาธารณะ
ชนอยา่ งตอ่ เนื่อง

กจิ กรรมศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอบา้ นแพว้ ดำเนนิ การ คือ
1. จัดการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

1.1 ระดบั ประถมศึกษา
1.2 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
1.3 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
1.4 เทียบระดับการศึกษา
2. จัดการศึกษาตอ่ เน่อื ง
2.1 ส่งเสริมการร้หู นงั สอื
2.2 โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน
2.3 การศึกษาเพือ่ พัฒนาทักษะชีวิต

แผนปฏิบัติการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษา 43

2.4 การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน
2.5 การจัดกระบวนการเรียนร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
3. การจดั โครงการตามนโนบายเร่งดว่ นเพื่อขบั เคลื่อนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ
3.1 โครงการสร้างเครือขา่ ยดิจทิ ลั ชุมชนระดับตำบล
3.2 โครงการจัดการศึกษาภาษาตา่ งประเทศเพ่ือการประกอบอาชีพ
4. โครงการจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั
4.1 โครงการส่งเสรมิ การอ่าน
4.2 โครงการส่งเสรมิ การอ่าน กศน.ตำบล
4.3 โครงการโครงการพฒั นาแหลง่ เรียนรู้ในระดับตาบล
4.4 โครงการส่งเสรมิ การอ่านและการเรยี นรู้ห้องสมุดออนไลน์
รายละเอียดแผนงาน/โครงการ กศน.ตำบลหลักสอง ประกอบด้วย
1. บัญชแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
2. ตารางวเิ คราะห์ความสอดคล้องของแผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
3. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
4. โครงการตามแผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา 44

4.1 บญั ชีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผ
กศน.ตำบลหลกั สอง อำเภอบ

ลำดับ ชือ่ งาน/โครงการ/กิจกรรม

1 การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
โครงการจดั การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พ.ศ. 2551

2 การศกึ ษาต่อเนือ่ ง
โครงการจัดการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาทักษะชวี ิต

-โครงการอบรมพฒั นาทักษะชีวติ หลักสตู รการใช้ชีวิตใหป้ ลอดภยั ห่างไกลจาก
โควิด (Covid 2019)
-โครงการอบรมพฒั นาทักษะชวี ติ หลกั สตู รการใช้ชวี ิตให้ปลอดภยั ห่างไกลจากโค
วิด (Covid 2019)
3 โครงการจดั การศกึ ษาเพื่อพฒั นาสังคมและชมุ ชน
-โครงการเสริมสร้างคุณภาพชวี ติ ที่เปน็ มิตรกับสงิ่ แวดล้อม
(การทำ EM Ball บำบดั นำ้ เสยี )
-โครงการเสรมิ สรา้ งคุณภาพชวี ติ ทีเ่ ป็นมติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม
(การทำ EM Ball บำบัดนำ้ เสยี )
4 โครงการจัดการเรียนรู้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
-โครงการการจักการศกึ ษาเพื่อเรียนรหู้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งหลกั สตู ร
เกษตรธรรมชาตปิ ลูกพชื ผักสมนุ ไพร สู้ภยั โควิดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
โครงการเกษตรธรรมชาติสศู่ าสตรพ์ ระราชาเพอ่ื การพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน
หลักสูตรการเพาะตน้ ออ่ นออรแ์ กนิค

แผนปฏบิ ตั กิ ารประ

ผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

บ้านแพ้ว จงั หวัดสมุทรสาคร

เปา้ หมาย พ้ืนทด่ี ำเนินการ งบประมาณ ห้วงระยะเวลา หมายเหตุ
(คน/แห่ง) หมทู่ ี่ ช่อื บา้ น (บาท) ดำเนินงาน

88 7 รางช้างสี - 1 พย.64-31 มี.ค.65

4 3 บา้ นรางชา้ งสี 345 บาท ธันวาคม 2564
4 4 บา้ นรางชา้ งสี 345 บาท มิถนุ ายน 2565

4 1 บ้านรางชา้ งสี 800 บาท ธันวาคม 2564
4 2 บา้ นรางชา้ งสี 800 บาท มถิ นุ ายน 2565

2 4 บา้ นรางชา้ งสี 800 บาท ธนั วาคม 2564
2 5 บา้ นรางชา้ งสี 800 บาท มิถุนายน 2565

ะจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา 45

4.1 บัญชแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามแผ
กศน.ตำบลหลกั สอง อำเภอบ

ลำดับ ชือ่ งาน/โครงการ/กิจกรรม เป้าห
(คน/

3 การศึกษาตามอัธยาศยั

โครงการส่งเสรมิ การอ่าน

-กิจกรรมบ้านหนังสอื ชุมชน 1

-กจิ กรรมหน่วยบรกิ ารเคลื่อนท่ี 1

-กิจกรรมอาสาสมัครสง่ เสริมการอ่าน 1

4 โครงการ/กจิ กรรมสำคญั ตามแผนงาน (พ.ร.บ.งบประมาณรายจา่ ยประจำปี)

โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน -กลมุ่ สนใจ (ไม่เกิน 30 ชม.) (ไตรมาส1-2) 1

-หลกั สูตรการทำสบสู่ มนุ ไพรจากฟา้ ทะลายโจร

-หลักสูตร DIY งานไมส้ น

แผนปฏิบัตกิ ารประ

ผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
บา้ นแพว้ จังหวดั สมุทรสาคร

หมาย พืน้ ที่ดำเนินการ งบประมาณ หว้ งระยะเวลา หมายเหตุ
/แหง่ ) หมู่ท่ี ช่อื บ้าน (บาท) ดำเนนิ งาน

100 1,2,7 1ตค.64-30 กย.65
100 1-7 1ตค.64-30 กย.65
100 1,2,7 1ตค.64-30 กย.65

15
7 รางชา้ งสี 1,800 ธันวาคม 2564
7 รางชา้ งสี 2,400 ธันวาคม 2564

ะจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลหลกั สอง ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา 46

4.1 บัญชีแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผ

กศน.ตำบลหลกั สอง อำเภอบ

ลำดับ ช่อื งาน/โครงการ/กิจกรรม เป้าห
จำนว

โครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน -กลุ่มสนใจ (ไม่เกนิ 30 ชม.) (ไตรมาส 3-4) 1

-หลกั สตู รการทาขนมลูกชุบ

-หลกั สูตรหลักสตู รการทาขนมกะหรป่ี ับ๊

-ช้ันเรียนวชิ าชพี (31 ชม.ข้ึนไป)

- หลกั สูตรชา่ งกอ่ สรา้ ง (ก่ออฐิ ฉาบปูน) 55 ชวั่ โมง

- หลักสูตรชา่ งพ้นื งาน งานไฟฟา้ 1
5 โครงการดิจทิ ัลชุมชน

-หลกั สูตรการเขา้ ใจดิจทิ ลั Digital Literacy Urriculum

6 โครงการพฒั นา กศน.ตำบล 5 ดี พรีเมย่ี ม พลัส ประจำปงี บประมาณ 2565

แผนปฏบิ ัติการประ


Click to View FlipBook Version