The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ผศ.อนุสรณ์ นางทะราช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by social study, 2021-10-18 09:33:27

การสอนสังคมศึกษา

ผศ.อนุสรณ์ นางทะราช

เอกสารประกอบการสอน

วชิ า ๒๐๓ ๔๑๗

การสอนสงั คมศกึ ษา

TEACHING SOCIALS STUDIES

อนสุ รณ์ นางทะราช

สาขาวชิ าสงั คมศึกษา มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

วิทยาเขตขอนแกน่
๒๕๖๓

เอกสารประกอบการสอน

วิชา ๒๐๓ ๔๑๗

การสอนสงั คมศึกษา

TEACHING SOCIALS STUDIES

อนุสรณ์ นางทะราช

น.ธ.เอก,ป.ธ.๔,ค.บ.,ศษ.ม.(หลักสตู รและการสอน)
สาขาวิชาสังคมศึกษา มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั

วิทยาเขตขอนแก่น
๒๕๖๓



คำนำ

เอกสารประกอบการสอนฉบับน้ี เกดิ จากการศึกษาคน้ คว้าเพ่อื ตอ้ งการอานวยความสะดวก ใน
การศกึ ษาเล่าเรียน ในรายวชิ า ๒๐๓ ๔๑๗ การสอนสังคมศึกษา ๓(๒-๒-๕) ของนิสิตชั้นปีที่ ๔ สาขาวิชา
สังคมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น จะด้วยวตั ถุประสงค์ ในทาง
การเรียนร้ทู ่ัวไปหรือดว้ ยวตั ถุประสงคเ์ พื่อความรอบรู้ในการเขา้ ใจ กระบวนการเรยี นการสอนในองค์ความรู้
วชิ าก็ตาม การทนี่ สิ ิตจะมีความรูค้ วามเข้าใจไดด้ ีย่ิงน้ันขนึ้ อย่กู บั ตัวนิสติ หรือผูส้ นใจ ที่จะศกึ ษาหรืออ่าน
เป็นหลัก ท้ังจากการอ่านหนงั สือเล่มน้ีแลว้ ยังจะต้องอ่านศึกษาค้นคว้าจากหนงั สือตาราเล่มอื่น ๆ ดงั นนั้
เพ่ือให้ได้ความรอบรู้ท่ีดตี อ้ งอ่านใหม้ ากถงึ จะเปน็ ผูร้ ู้และเข้าใจอย่างแทจ้ ริงได้

เอกสารเล่มน้ี มีเน้ือหาในเชิงความรูเ้ บ้ืองตน้ เปน็ การปพู ้ืนฐานไปสู่การศึกษาเร่ืองการจัด การสอน
สงั คมศึกษา ในการทาหน้าทคี่ รผู ูส้ อนและขณะเดยี วกันในฐานะทนี่ ิสติ กาลังจะออกไปทาหนา้ ท่ี ตามท่ีได้
ศกึ ษาเล่าเรยี นมา ซง่ึ มหี น้าที่หลักคือ

- ภาระหน้าท่ีต้องไปจัดการเรียนรู้ในเรื่องตา่ ง ๆ แกน่ ักเรยี น
- ในฐานะผทู้ ี่มคี วามรู้เรอ่ื งหลักการการสอนสังคมศึกษาอยา่ งดี และ
- ดาเนินการสอนให้เปน็ ไปตามหลักวิชาการมีหลักฐานในทางวิชาการเป็นรปู ธรรม
ดว้ ยหวังว่านิสิตและผ้ทู ีส่ นใจคงจะไดร้ บั อะไรบ้างตามสมควร ดว้ ยว่าระยะเวลาท่มี ีจากัด และใน
ขณะเดียวกันกจิ กรรมหลาย ๆ อยา่ งทจ่ี ะทาให้เกิดการเรียนรู้ผ้ศู ึกษาจะตอ้ งทาให้มาก
ผู้รวบรวมหวังวา่ นิสิตคงใชค้ วามพยามยามใหม้ ากในการศึกษาเล่าเรียน สาหรบั เอกสารหนังสือ
เล่มนี้ ยังมีอะไรอกี มากท่ีจะต้องแก้ไขและเพม่ิ เติมถือโอกาสแก้ตัว และขอโทษมาน้ีด้วยและตอ้ งขอขอบ
พระคุณ ทา่ นผู้รู้ทเ่ี ป็นเจ้าของเอกสารวิชาการฉบบั จรงิ ต่าง ๆ มา ณ ท่นี ้ดี ้วย ผู้รวบรวมสัญญาว่าจะพยายาม
แก้ไข และปรบั ปรุงให้ดใี นโอกาสต่อไปและขอบคุณลว่ งหน้ามา ณ โอกาสนสี้ าหรบั คาแนะนา

อนุสรณ์ นามทะราช
ตลุ าคม ๒๕๖๓



สารบัญ

เรอื่ ง หนา้

คานา................................................................................................................................................................ ก
สารบัญ........................................................................................................................................................... ข
รายละเอยี ดประจาวิชา........................................................................................................................... จ
บทที่ ๑ ความรู้และพัฒนาการเก่ยี วกบั วิชาสังคมศกึ ษา

๑.๑ ความนา.............................................................................................................................. ๒
๑.๒ ความหมายของวิชาสงั คมศกึ ษา.............................................................................. ๔
๑.๓ การสอนสงั คมศึกษา..................................................................................................... ๖
๑.๔ จุดมงุ่ หมายของการสอนวชิ าสงั คมศึกษา........................................................... ๗
๑.๕ ความสาคัญของวชิ าสังคมศึกษา............................................................................. ๑๐
๑.๖ ประโยชนข์ องวิชาสงั คมศกึ ษา.................................................................................. ๑๒
๑.๗ สรุปทา้ ยบท....................................................................................................................... ๑๔
คาถามท้ายบท.............................................................................................................................. ๑๖
เอกสารอา้ งอิงประจาบท.........................................................................................................
บทท่ี ๒ การพัฒนาหลกั สตู รกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๑๘
๒.๑ ความนา............................................................................................................................... ๑๘
๒.๒ หลกั สตู รและเอกสารหลกั สตู รสังคมศึกษา.........................................................
๒.๓ พนื้ ฐานแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรกล่มุ สังคมศึกษา ศาสนาและ ๑๙
๒๑
วัฒนธรรม ......................................................................................................................... ๒๒
๒.๔ สาระการเรียนรู้ในสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ................................
๒.๕ ความสาคัญสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม.................................... ๒๒
๒.๖ หลักการหลกั สูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและ ๒๓
๒๓
วัฒนธรรม ......................................................................................................................... ๒๖
๒.๗ จุดหมายหลักสูตรกลุม่ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ........... ๒๗
๒.๘ สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์.................. ๒๘
๒.๙ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้................................................................................. ๒๙
๒.๑๐ กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียนในหลักสูตร...................................................................... ๓๑
๒.๑๑ สรปุ ทา้ ยบท...................................................................................................................
คาถามท้ายบท.............................................................................................................................. ๓๓
เอกสารอา้ งองิ ประจาบท......................................................................................................... ๓๓
บทที่ ๓ การวเิ คราะหห์ ลกั สูตรเพ่อื จดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา
๓.๑ ความนา...............................................................................................................................
๓.๒ ความหมายของการวเิ คราะห์หลักสตู ร.................................................................



๓.๓ วตั ถุประสงคข์ องการศึกษา........................................................................................ ๓๓
๓.๔ ความสาคัญของการวิเคราะห์หลักสูตร................................................................ ๓๕
๓.๕ หลักการวเิ คราะห์หลกั สูตร......................................................................................... ๓๖
๓.๖ ลาดับข้ันของการวิเคราะห์หลักสูตร....................................................................... ๓๗
๓.๗ การสร้างตารางวเิ คราะหห์ ลักสูตร.......................................................................... ๓๘
๓.๘ ประโยชน์ของตารางวเิ คราะหห์ ลักสตู ร................................................................ ๓๙
๓.๙ รูปแบบของการวิเคราะหห์ ลกั สตู รสังคมศึกษา................................................. ๓๙
๓.๑๐ การวเิ คราะห์มาตรฐานหลักสตู ร ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้...................... ๔๑
๓.๑๑ การวิเคราะหห์ ลักสตู รรายวชิ า............................................................................. ๔๒
๓.๑๒ วธิ ีการสรา้ งตารางวิเคราะหห์ ลกั สตู รรายวชิ า................................................ ๔๒
๓.๑๓ ตัวอยา่ งตารางวิเคราะหห์ ลกั สตู ร........................................................................ ๔๓
๓.๑๔ การจัดประสบการณก์ ารเรียนรวู้ ิชาสงั คมศึกษา........................................... ๔๔
๓.๑๕ สรปุ ทา้ ยบท.................................................................................................................... ๔๗
คาถามท้ายบท.............................................................................................................................. ๔๘
เอกสารอ้างอิงประจาบท......................................................................................................... ๕๐
บทท่ี ๔ การพัฒนาและการเขยี นแผนการจดั การเรียนรวู้ ิชาสงั คมศึกษา
๔.๑ ความนา.............................................................................................................................. ๕๒
๔.๒ ความหมายการเตรียมสอนสังคมศึกษา................................................................ ๕๒
๔.๓ โครงการสอนวชิ าสงั คมศึกษา................................................................................... ๕๓
๔.๔ การทาแผนการจัดการเรยี นรูแ้ ละบนั ทึกการสอน........................................... ๕๕
๔.๕ ขนั้ ตอนการเตรียมแผนการจัดการเรยี นรู้............................................................ ๕๘
๔.๖ ลกั ษณะของแผนการสอนท่ดี ี ๖๒
๔.๗ ตัวอยา่ งแบบแผนการจัดการเรียนรู้....................................................................... ๖๓
๔.๘ ค่มู อื ครู/แบบเรยี น/หนังสอื อา่ นประกอบ............................................................ ๖๘
สรุปท้ายบท................................................................................................................................. ๗๓
คาถามท้ายบท.............................................................................................................................. ๗๕
เอกสารอ้างองิ ประจาบท......................................................................................................... ๗๗
บทท่ี ๕ การจดั กจิ กรรมการเรียนรูแ้ ละการสาธิตการสอน
๕.๑ ความนา............................................................................................................................... ๗๙
๕.๒ การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้วชิ าสงั คมศกึ ษา............................................... ๗๙
๕.๓ การจดั การเรียนรูส้ งั คมศึกษา.................................................................................... ๘๐
๕.๔ การสอนสงั คมศึกษาแนวใหม่.................................................................................... ๘๑
๘๒
๕.๔.๑ การจดั การเรียนรู้แบบโมเดลซิปปา (CIPPA Model)..................
๕.๔.๒ การจัดการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ๘๔

(Inquiry Process)....................................................................................... ๘๖
๕.๕ สภาพและปญั หาการจัดการเรยี นการสอนกลุ่มสาระการเรยี นร้สู งั คม

ศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม...................................................................................................



๕.๖ วธิ ีการสอนแบบสาธิต (Demonstration Method)..................................... ๘๗
๕.๗ สรปุ ท้ายบท....................................................................................................................... ๙๐
คาถามทา้ ยบท.............................................................................................................................. ๙๒
เอกสารอา้ งอิงประจาบท........................................................................................................
บทท่ี ๖ การจัดกิจกรรมเสริมหลกั สตู รและกิจกรรมพัฒนาผเู้ รียนท่สี อดคลอ้ ง ๙๖
๙๖
กับสาระการเรยี นรู้ ๑๐๐
๖.๑ ความนา............................................................................................................................. ๑๐๐
๖.๒ ความสาคัญของกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นท่ีสอดคลอ้ งกับสาระการเรยี นรู้ ๑๐๑
๖.๓ ความหมายของการจัดกจิ กรรม............................................................................... ๑๐๑
๖.๔ เป้าหมายการจัดกิจกรรม............................................................................................ ๑๐๓
๖.๕ หลักการจดั กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตรพัฒนาผ้เู รียน............................................. ๑๐๗
๖.๖ แนวทางการจัดกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน.................................................................. ๑๐๗
๖.๗ บทบาทของบุคลากรที่เก่ยี วข้อง.............................................................................. ๑๐๘
๖.๘ ขน้ั ตอนการดาเนินการจัดกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน............................................. ๑๑๐
๖.๙ การประเมินผลกจิ กรรม............................................................................................... ๑๑๒
๖.๑๐ ความสาคญั ของสถานศกึ ษาตอ่ กจิ กรรมการพัฒนาผเู้ รยี น.................... ๑๑๓
๖.๑๑ การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนใหส้ อดคล้องกบั หลักสตู ร................. ๑๑๕
๖.๑๒ สรุปท้ายบท....................................................................................................................
คาถามทา้ ยบท.............................................................................................................................. ๑๑๘
เอกสารอ้างอิงประจาบท......................................................................................................... ๑๑๘
บทท่ี ๗ การพัฒนาสื่อการสอนวชิ าสังคมศกึ ษา ๑๒๐
๗.๑ ความนา............................................................................................................................... ๑๒๕
๗.๒ ความสาคญั ของสือ่ การสอนสังคมศึกษา.............................................................. ๑๒๗
๗.๓ โสตทศั นศกึ ษาสาหรบั การสอนสังคมศึกษา....................................................... ๑๒๘
๗.๔ สอ่ื สงิ่ พมิ พส์ าหรับสอนสงั คมศกึ ษา......................................................................... ๑๒๙
๗.๕ สอ่ื บุคคลในจัดการเรยี นการสอน............................................................................ ๑๓๐
๗.๖ สอ่ื ประสบการณ์สงั คมศกึ ษา..................................................................................... ๑๓๑
๗.๗ สื่อการสอนสังคมศึกษาทัว่ ไป.................................................................................... ๑๓๓
๗.๘ ส่ือการสอนสงั คมศึกษาพ้นื บ้าน................................................................................ ๑๓๕
๗.๙ สรุปทา้ ยบท.......................................................................................................................
คาถามทา้ ยบท.............................................................................................................................. ๑๓๗
เอกสารอา้ งอิงประจาบท......................................................................................................... ๑๓๗
บทท่ี ๘ การวัดผลประเมินการเรยี นวิชาสังคมศึกษา ๑๔๐
๘.๑ ความนา............................................................................................................................... ๑๔๐
๘.๒ การวดั ผลและประเมินผลการเรยี นการสอนวิชาสังคมศึกษา.....................
๘.๓ หลกั การวดั ผลวชิ าสงั คมศกึ ษา.................................................................................
๘.๔ วธิ ีการวดั วิชาสงั คมศึกษา............................................................................................



๘.๕ การออกขอ้ สอบ............................................................................................................... ๑๔๒
๘.๕.๑ ลกั ษณะของแบบทดสอบท่ีดี.................................................................... ๑๔๒
๘.๕.๒ หลักในการสร้างคาถามแบบเลอื กตอบ............................................... ๑๔๓
๘.๕.๓ ข้อสอบควรวัดตามพฤตกิ รรม.................................................................. ๑๔๔
๑๔๘
๘.๖ การประเมนิ ผลการเรยี นวิชาสงั คมศึกษา............................................................ ๑๔๙
๘.๖.๑ เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นวชิ า...................................................... ๑๔๙
๘.๖.๒ เกณฑค์ ุณภาพการประเมิน....................................................................... ๑๕๑
๑๕๒
๘.๗ สรุปท้ายบท....................................................................................................................... ๑๕๔
คาถามท้ายบท..............................................................................................................................
เอกสารอา้ งอิงประจาบท......................................................................................................... ๑๕๗
บทท่ี ๙ บทบาทครูสอนวชิ าสงั คมศึกษา ๑๕๗
๙.๑ ความนา............................................................................................................................... ๑๕๘
๙.๒ บทบาทหนา้ ทค่ี รูสอนสงั คมศึกษา........................................................................... ๑๖๐
๙.๓ ลักษณะของครวู ิชาสงั คมศกึ ษา................................................................................ ๑๖๑
๙.๔ ลกั ษณะของครูดจี ากผลวิจัย...................................................................................... ๑๖๓
๙.๕ ลกั ษณะของครูท่ีดใี นทรรศนะของนักวชิ าการ........................................................ ๑๖๔
๙.๖ หน้าที่และภารกิจของครูสังคมศกึ ษา............................................................................. ๑๖๖
๙.๗ บทบาท หน้าทคี่ รทู ี่ดขี องนกั วชิ าการในทางพระพุทธศาสนา....................... ๑๖๗
๙.๘ บทบาท หน้าท่ี ความรับผดิ ชอบของครู....................................................................... ๑๖๗
๙.๙ เกณฑม์ าตรฐานวชิ าชีพครูสอนสงั คมศกึ ษา............................................................... ๑๖๙
๑๖๙
๙.๙.๑ มาตรฐานทางวิชาชพี ครู....................................................................................... ๑๗๑
๙.๙.๒ ครคู ุณภาพ...................................................................................................................... ๑๗๓
๙.๙.๓ มาตรฐานระดบั คุณภาพครู....................................................................... ๑๗๔
๙.๙.๔ มาตรฐานวิชาชพี ครูสังคมศึกษา................................................................... ๑๗๖
๙.๑๐ สรปุ ทา้ ยบท................................................................................................................................... ๑๗๗
คาถามทา้ ยบท..............................................................................................................................................
เอกสารอ้างองิ ประจาบท......................................................................................................................
บรรณานกุ รม.................................................................................................................................................................

แผนบริหารรายละเอยี ดรายวิชา มคอ.๓

วิชาการสอนสังคมศกึ ษา

Teaching Socials Studies

ชื่อสถาบันอดุ มศึกษา มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น
วทิ ยาเขต/คณะ/ภาควชิ า มจร.วทิ ยาเขตขอนแก่น/คณะครุศาสตร/์ สาขาวิชาสงั คมศึกษา

หมวดที่ ๑ ข้อมลู ทัว่ ไป

๑. รหัสและช่ือรายวชิ า

๒๐๓ ๔๑๗ การสอนสงั คมศึกษา (Teaching Social Studies)

๒. จานวนหน่วยกติ

๓(๒-๒-๕)

๓. หลกั สตู รและประเภทของรายวิชา

๓.๑ หลกั สูตร พุทธศาสตรบัณฑติ (ครศุ าสตร์ ๕ ปี) สาขาวชิ าสังคมศึกษา

๓.๒ เปน็ วชิ าเฉพาะสาขา รายวิชาบังคับ

๔. อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผสู้ อน

อาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลกั สตู ร - ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อนุสรณ์ นามทะราช

- อาจารย์สิทธพิ ล เวียงธรรม

- อาจารย์บญุ สง่ นาแสวง

- อาจารยว์ ริ ัตน์ ทองภู

- อาจารย์พันทิวา ทับภูมี

อาจารย์รับผิดชองรายวชิ า ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์อนสุ รณ์ นามทะราช

อาจารย์ผูส้ อน ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยอ์ นุสรณ์ นามทะราช

น.ธ.เอก.ป.ธ.๔,ค.บ.,ศษ.ม.(หลกั สตู รละการสอน)

โทร.๐๙๓๓๕๗๙๔๓๑,๐๔๓-๔๕๒๕๖๔

Email. [email protected]

๕. ภาคการศกึ ษา/ช้นั ปีทเ่ี รยี น

ภาคการศกึ ษาท่ี ๑/๒๕๖๓/ชน้ั ปีที่ ๔

๖. รายวชิ าท่ีตอ้ งเรียนมาก่อน(Pre-requisite)

ไมม่ ี

๗. รายวิชาทต่ี ้องเรยี นพรอ้ มกัน(Co- requisite)

ไมม่ ี

๘. สถานทีจ่ ัดการเรียนการสอน

สาขาวชิ าสงั คมศกึ ษา มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่

๙. วนั ท่ีจัดทาหรอื ปรับปรงุ รายละเอียดของรายวิชาครัง้ ล่าสุด

๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๓



หมวดท่ี ๒ จดุ ประสงค์และวัตถุประสงค์

๑. จดุ มุ่งหมายของรายวิชา
๑.๑ เพื่อให้นิสติ ผเู้ รียนรู้ถงึ ความสาคัญและมีความสนใจในวชิ าสงั คมศึกษา
๑.๒ เพ่ือให้นิสิตผเู้ รียนเขา้ ใจการจดั กจิ กรรมการศกึ ษาการเรยี นการสอนสงั คมศึกษา
๑.๓ เพื่อให้นิสิตผู้เรียนร้แู ละเขา้ ใจวิธีการจัดการเรียนการสอนวิชาสงั คมศึกษา
๑.๔ เพอ่ื ให้นิสิตผู้เรียนมที ศั นคติทด่ี ตี ่อวชิ าสงั คมศึกษาและการดารงชีวิตในสงั คม

๒. วัตถุประสงคใ์ นการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
๒.๑ นิสิตสามารถอธบิ ายบทบาทและหน้าทข่ี องวิชาสงั คมท่มี ตี ่อสงั คมไทย
๒.๒ นิสติ รูจ้ กั เลอื กเนอื้ หาหลักสูตรท่เี หมาะกบั วิชาสังคมศึกษาได้
๒.๓ นสิ ิตผู้เรยี นสามารถเลอื กสอื่ การสอนตรงตามหลกั สตู รและการพฒั นาการสอนได้
๒.๔ ผ้เู รยี นสามารถบรู ณาการณ์องค์ความร้นู าสสู่ อนวิชาสังคมได้อยา่ งถูกต้อง

หมวดที่ ๓ ลกั ษณะและการดาเนนิ การ

๑. คาอธิบายรายวิชา

ความสาคญั ของวชิ าสังคมศึกษา พัฒนาการของวชิ าสังคมศกึ ษา การพัฒนาหลกั สตู รกลุม่

สาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม การวิเคราะห์หลักสตู รเพื่อจดั ประสบการณ์การเรียนรสู้ ังคม

ศกึ ษา การพฒั นาส่ือการสอนสังคมศึกษา การวัดผลและการประเมนิ ผลการเรียนการสอน การจัดกจิ กรรม

เสริมหลกั สูตร การพัฒนาและการเขยี นแผนการจัดการเรียนรสู้ งั คมศึกษา การสาธติ การสอน การ

ประเมินผลการสอน การจดั กิจกรรมการเรยี นรูแ้ ละการจดั กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี นทส่ี อดคล้องกบั สาระการ

เรียนรู้

๒. จานวนชั่วโมงทใ่ี ช้ตอ่ ภาคการศึกษา

บรรยาย สอนเสรมิ การฝกึ ปฏบิ ัติ/งาน การศกึ ษาดว้ ย
ภาคสนาม/การฝกึ งาน ตนเอง

บรรยาย ๓๐ ชว่ั โมง/ภาคการ ไมม่ ี -การศกึ ษาค้นควา้ ใน ศึกษาด้วยตนเอง ๖

ศึกษา (๓ ชว่ั โมง×๑๖ สปั ดาห์) ห้องเรยี น ๑๖ ชวั่ โมง ชั่วโมง/สัปดาห์

- มกี ารศึกษาดงู านและร่วม

กจิ กรรมต่าง ๆ

๓. จานวนชวั่ โมงต่อสปั ดาห์ทอ่ี าจารย์ใหค้ าปรึกษาและแนะนาทางวชิ าการแกน่ ิสติ เป็นรายบคุ คล

- อาจารยป์ ระจารายวิชา ประกาศเวลาให้คาปรึกษาและแนะนาวชิ าการแก่นิสติ ผ่านตารางการให้

คาปรกึ ษา หรอื เวบ็ ไซด์สาขาวิชา

- อาจารย์จดั เวลาให้คาปรึกษาเปน็ รายบุคคลหรือรายกลมุ่ ตามความต้องการ ๑ ชวั่ โมงต่อสปั ดาห์

(เฉพาะรายบุคคลทตี่ ้องการ)



หมวดที่ ๔ การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนสิ ิต

๑. การพฒั นาคณุ ลักษณะพิเศษของนิสติ

คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธ์หรือกิจกรรมของนิสิต

ด้านบคุ ลกิ ภาพ การฝึกปฏบิ ตั กิ ารแสดงออกถึงภาวะความเปน็ ครูทัง้ การปฏิบัติเปน็ แบบ อย่าง การ

แต่งกาย การมีมนุษยสัมพันธ์ทด่ี ี และการวางตัวทีเ่ หมาะสม พฤติกรรมรว่ มในการ

ทางาน

ด้านภาวะผนู้ า และ ๑ กาหนดให้มีรายวิชาซง่ึ นสิ ติ ต้องทางานเป็นกลมุ่ .และมีการกาหนด หวั หนา้ กล่มุ

ความรบั ผดิ ชอบ ในการทารายงานตลอดจน กาหนดให้ทกุ คนมสี ว่ นร่วมใน การนาเสนอรายงาน

ตลอดจนมีวนิ ยั ใน เพื่อเปน็ การฝกึ ให้นิสติ ได้สรา้ งภาวะผูน้ าและการ เปน็ สมาชิกกลุ่มทีด่ ี

ตนเอง ๒ มกี ิจกรรมนสิ ติ ทมี่ อบหมายให้นสิ ติ หมุนเวยี นกันเป็นหวั หน้าในการ .

ดาเนนิ กิจกรรม เพอื่ ฝึกใหน้ สิ ติ มีความรับผดิ ชอบ

๓ มีกติกาทจ่ี ะสรา้ งวนิ ัยในตนเอง .เชน่ การเข้าเรยี นตรงเวลาเขา้ เรียน

อย่างสม่าเสมอการมีสว่ นร่วมในช้นั เรียน เสรมิ ความกล้าในการแสดง

ความคดิ เหน็

จรยิ ธรรม และจรรยา มีการให้ความรแู้ กน่ สิ ิตเก่ยี วกับวิชาชพี ครู จรรยาบรรณวิชาชพี ความเป็นครูตาม

บรรณวิชาชพี หลักพระพุทธศาสนา และกฎหมายทเ่ี กยี่ วข้องกับความเป็นครู

๒. การกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานการเรียนรจู้ ากหลกั สูตรสู่รายวิชา(Curriculum mapping)

๑.คณุ ธรรม ๒.ความรู้ ๓.ทกั ษะทาง ๔.ทกั ษะความ ๕.ทกั ษะการ ๖.ทักษะการ

จรยิ ธรรม ปญั ญา สมั พันธ์ วเิ คราะห์ตวั เลข เรยี นรู้

ระหวา่ งบุคคล การส่ือสารและ

และความรบั การใช้เทคโนโล

ผิดชอบ ยีสารสนเทศ

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒๓ ๔ ๕ ๖ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔

                          

๒.๑ คณุ ธรรม จริยธรรม

๒.๑.๑ คุณธรรม จรยิ ธรรม ๒.๑.๒ กลยุทธ์วธิ ีการสอน ๒.๑.๓ กลยุทธ์วธิ กี ารประเมิน

คณุ ธรรม จรยิ ธรรมทต่ี อ้ งการพัฒนา ๑) ใชก้ ารสอนแบบบรรยาย ๑) ประเมนิ ผลจาก

ความรับผิดชอบหลัก ด้วยการสือ่ สารสองทาง เปิด พฤติกรรมทแี่ สดงออกในช้นั

พฒั นาให้ผเู้ รียนมีความรับผิดชอบ โอกาสใหน้ สิ ติ มีการตัง้ คาถาม เรยี นและในโอกาสทสี่ าขาวิชา

มีวินยั มจี รรยาบรรณในวิชาชีพ นาหลกั และตอบคาถามหรือแสดงความ หรือ มหาวทิ ยาลัยจัดกิจกรรม

ทางธรรมไปประยกุ ต์ ใช้อย่างถูกต้อง คิดเห็นทเี่ กี่ยวข้องกับคุณธรรม ตา่ ง ๆ ท่ีเกย่ี วข้องกับ

เหมาะสมโดยมีคณุ ธรรม จริยธรรมตาม จริยธรรมในชัน้ เรียนลกั ษณะ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม การสมั มา

คุณสมบัติของหลักสูตร ดังน้ี การสอดแทรก ในเนื้อหา คารวะต่อผู้อาวุโสหรือ

๑) ตระหนักในหลักคาสอนทาง ๒) ยกตัวอยา่ งกรณีศึกษา คณาจารย์

พระพุทธศาสนา คุณธรรมจริยธรรม บุคคลที่ขาดความรบั ผิดชอบ ตอ่ ๒) การตรวจสอบการมี

เสยี สละ ซ่ือสัตย์ สุจริต หน้าทีแ่ ละการประพฤติที่ผดิ วินัยต่อการเรียน การตรงต่อ

๒) มีวินัย ตรงตอ่ เวลา และมีความ จรรยาบรรณในวชิ าชีพ เวลาในชน้ั เรยี นและการส่ง

รบั ผิดชอบต่อตนเองและสงั คม ๓) อาจารยป์ ฏบิ ตั ิตัวเป็น งานมอบหมาย



๕) เคารพกฎหมายระเบียบและ ตวั อยา่ งท่ีดีทางคุณธรรม ๓) ประเมนิ รับฟังความ

ขอ้ บังคบั ตา่ ง ๆ ขององค์กรและสังคม ศลี ธรรม จรยิ ธรรม คดิ เห็นของผอู้ ืน่ โดยนิสติ อนื่ ๆ

๖) ปฏบิ ตั ติ ามจรรยาบรรณทาง ในรายวิชา

วชิ าการและวิชาชีพ ๔) การใช้ระบบนิสติ

ความรับผดิ ชอบรอง ประเมนิ ตนเอง เพือ่ พัฒนา

๓) มีภาวะความเป็นผนู้ าและผูต้ าม และรู้ตนเอง

สามารถทางานเป็นทมี และสามารถแก้ไข

ข้อขัดแยง้ ท่เี กิดขนึ้

๔) เคารพสิทธ์แิ ละรับฟงั ความ

คดิ เหน็ ของผู้อ่ืน รวมท้งั เคารพในคุณคา่

และศักดศิ์ รขี องความเป็นมนุษย์

๒.๒. ความรู้

๒.๒.๑ ความรทู้ ่ตี ้องการไดร้ บั ๒.๒.๒ กลยุทธ์วธิ กี ารสอน ๒.๒.๓ กลยทุ ธ์วิธีการ

ประเมิน

ความรบั ผดิ ชอบหลกั ๑) บรรยาย/อภิปราย/การ ๑) มกี ารทาแบบฝกึ หดั

๑) มีองค์ความรู้ในสาขาวิชาชีพ ทางานกล่มุ การนาเสนอ ทา้ ยชั่วโมง การสอบยอ่ ย

ครูอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ รายงาน การวเิ คราะห์บทบาท สอบระหว่างภาค และสอบ

สามารถวิเคราะห์ปญั หา ของการมอบหมายงานใหค้ น้ ปลายภาค

ความรบั ผิดชอบรอง ควา้ แบบโครงงานการเรียนรู้ ๒) การตรวจผลงาน

๒) ตระหนักร้หู ลกั การและทฤษฏี แบบบรู ณาการ เน้นผ้เู รียน รายบุคคลจากงานท่ี

ในองค์ความรูท้ ่ีเกย่ี วข้องกับวิชาชีพครู เปน็ สาคัญ(ศูนย์กลาง) มอบหมายคุณภาพและผล

และความก้าวหนา้ ของวิชาชพี ครู ๒) มกี ารศกึ ษาเอกสารถงึ ของชิ้นงาน

๓) มีความรูค้ วามเขา้ ใจในกระบวน แนววธิ ีการสอนสังคมศึกษาใน ๓) การเข้าชั้นเรยี น

การวจิ ยั และใชเ้ ป็นเครื่องมือในการ ระดับมัธยมศึกษาทกุ ระดบั ช้ัน สงั เกตการทางานเปน็ กลุ่ม

แสวงหา วิทยาการใหม่ๆทางด้านการเรียน ๓) มกี ารเขา้ กลมุ่ เพื่อการ และรายบคุ คล การมสี ่วนรว่ ม

การสอนเพ่ือแก้ปญั หาและการตอ่ ยอดองค์ ศึกษาคน้ ควา้ และแลกเปลย่ี น ในงานทมี่ อบหมาย

ความรู้ เรยี นซ่ึงกนั และกัน

๔) มีความรแู้ ละความเขา้ ใจเกยี่ วกบั

หลักการและทฤษฎีทส่ี าคัญในเน้อื หา

สาขาวชิ าสังคมศึกษา

๕) มคี วามรคู้ วามเข้าใจในศาสตร์

ด้านการศึกษาเปน็ พื้นฐานของชวี ิตท่ี

ครอบคลุมทง้ั วิทยาศาสตร์ มนุษยศาสตร์

สงั คมศาสตร์ กฎหมายและการปกครองใน

ระบอบประชาธิปไตย

๖) สามารถบูรณาการความรู้ใน

สาขาวิชาสังคมศึกษาและวิชาชีพครูกับ

ความรูใ้ นศาสตร์อน่ื ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง



๒.๓. ทกั ษะทางปัญญา

๒.๓.๑ ทักษะทางปญั ญาท่ีต้องการ ๒.๓.๒ กลยุทธ์วิธีการสอน ๒.๓.๓ กลยทุ ธ์วิธีการ

พัฒนา ประเมิน

ความรับผดิ ชอบหลกั ๑) การมอบหมายใหน้ ิสติ ๑) มีการทาแบบฝึกหัด ท้าย

๓) สามารถวิเคราะห์และใชว้ ิจาร ศกึ ษาการเอกสารทางสังคมศึกษาช่ัวโมง การสอบยอ่ ยสอบระหวา่ ง

ญาณในการตดั สนิ เก่ยี วกับการจัดการ โดยให้ไปคน้ คว้าด้วยตนเอง ภาคและสอบปลายภาค

เรียนการสอนและการพัฒนาผูเ้ รยี นและ ๒) การอภิปรายกลุม่ และ ๒) การตรวจผลงานรายบุคคล

สรา้ งสรรค์องค์ความรู้หรือนวัตกรรมไป เสนองานเป็นกลุ่มทเี่ ปน็ รูปเล่ม จากงานท่ีมอบหมายคุณภาพและ

ใช้ในการพัฒนาตนเอง การจัดการเรียน ๓) การวเิ คราะห์กรณีศึกษา ผลของชิ้นงาน

การสอนและผูเ้ รียนอย่างมีประสิทธภิ าพ ใหห้ าตัวอย่างที่ประสบความ ๓) การเขา้ ชนั้ เรยี นสงั เกตการ

ความรบั ผิดชอบรอง สาเร็จจากการศึกษา ทางานเปน็ กลุ่มและรายบุคคล

๑) มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับ ๔) มกี ารศกึ ษานอกสถานท่ี การมสี ่วนรว่ มในงานท่ี

หลักการและกระบวนการคิดอยา่ งมี ท่ีเก่ยี วกบั วิชา เช่น สถานท่ีและ ๔) การตอบคาถามจาก

วิจารณญาณ แหล่งเรียนรทู้ ม่ี ีอยู่ทั่วไปโดยนา ปญั หาและการแสดงความ

๒) สามารถสบื ค้น ตีความ และ มาใหศ้ ึกษาและจดั เวลาให้ได้ไป คดิ เหน็ วิเคราะห์ปัญหาและ

ประเมินสารสนเทศเพ่ือใช้ในการแก้ไข ศึกษาเพ่มิ เติม การศกึ ษา

ปัญหาได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ ๕) เชิญวิทยากรผทู้ รง คณุ

๔) สามารถประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ วุฒิ บรรยายเสรมิ ความรแู้ ละ

ทางดา้ นสังคมศึกษา จัดกจิ กรรมการ ทักษะ

เรยี นการสอนสังคมศึกษาและวชิ าชพี ครู ๖) ฝึกการนาเสนองานท้ัง

ไดอ้ ย่างเหมาะสม ทเ่ี ป็นรูปเลม่ และการเสนอ

ด้วยปากเปล่า

๒.๔. ทักษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คลและความรับผิดชอบ

๒.๔.๑ ทกั ษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง ๒.๔.๒ กลยุทธ์วิธีการสอน ๒.๔.๓ กลยทุ ธ์วธิ กี ารประเมิน

บุคคล และความรับผิดชอบทตี่ ้องการ

พัฒนา

ความรับผดิ ชอบหลัก ๑) จัดกจิ กรรมกลุ่มในการ ๑) มกี ารทาแบบฝกึ หดั ท้าย

๑) พัฒนาทักษะในการสรา้ ง วิเคราะห์ปญั หาการสอนและ ชั่วโมง การสอบย่อยสอบระหว่าง

สมั พันธ ภาพระหวา่ งผู้เรยี นกับผู้มีสว่ น หาวิธีการสอนในกล่มุ แล้ว ภาค และสอบปลายภาค

เก่ียวข้องอยา่ งเป็นกัลยาณมติ ร นาเสนอ ๒) การตรวจผลงาน

๒) มีความเปน็ ผู้นาและผตู้ ิดตาม ๒) มอบหมายงานเป็น รายบุคคลจากงานที่

ในการทางานเปน็ ทีมรวมท้งั มีส่วนชว่ ย รายกลมุ่ และรายบุคคล ศึกษา มอบหมายคุณภาพและผล

และเอื้อต่อการแก้ปัญหาในกลุม่ ไดอ้ ย่าง ค้นควา้ ในรูปแบบโครงงาน ของช้นิ งาน

สรา้ งสรรค์ (Project work) ๓) การเขา้ ชั้นเรยี น สงั เกตการ

๔) รับผิดชอบในการเรียนอยา่ ง ๓) การนาเสนองานด้วย ทางานเป็นกลุ่มและรายบุคคล

ตอ่ เน่อื งรวมทง้ั พฒั นาตนเองและ การพดู อธิบายและอภปิ ราย การมสี ว่ นรว่ มในงานที่

วิชาชีพครู พรอ้ มทงั้ รูปเล่มรายงาน ๔) การตอบคาถามจาก

ปญั หาและการแสดงความ



ความรับผิดชอบรอง คิดเหน็ วิเคราะห์ปัญหาและ

๓) มีความคดิ รเิ รม่ิ สร้างสรรคใ์ น การศกึ ษา

การวเิ คราะห์ปัญหาได้อย่างเหมาะสม

บนพื้นฐานของตนเองและของกลมุ่

๒.๕ ทักษะการวเิ คราะห์เชิงตัวเลข การส่อื สารและการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

๒.๕.๑ ทกั ษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตวั เลขและ ๒.๕.๒ กลยุทธ์วิธีการสอน ๒.๕.๓ กลยทุ ธ์วธิ กี าร

การ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศทต่ี อ้ งการ ประเมนิ

พฒั นา

การใช้ข้อมูลสารสนเทศในการ ๑) การสอนทฤษฎี ๑) มีการทาแบบฝกึ หัด

สอนโดยใช้คอมพิวเตอร์/อินเตอร์เน็ตใน - ดว้ ยวิธบี รรยาย เนือ้ หา ทา้ ยชว่ั โมง การสอบย่อย

การสืบคน้ ข้อมลู และจัดการข้อมลู อย่าง สาระประกอบส่ือการสอน สอบระหว่างภาค และสอบ

เป็นระบบและการถ่ายทอดสารสนเทศได้ PowerPoint ปลายภาค

อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ - การสมั มนากลมุ่ ย่อย โดย ๒) การตรวจผลงาน

ความรบั ผิดชอบหลัก การใหห้ นั หนา้ เข้าหากันปรึกษา รายบุคคลจากงานท่ี

๑) มที กั ษะในการส่ือสารทง้ั การพูด และลงความเหน็ ในตอบ มอบหมายคณุ ภาพและผล

การฟงั การอา่ น การแปล และการเขียน - การเสนอรายงานทั้งราย ของช้นิ งาน

โดยการทารายงานและนาเสนอในชนั้ กลุ่มและรายบุคคล ๓) การเขา้ ชนั้ เรียน

เรียน - การเชญิ วทิ ยากร สงั เกตการทางานเป็นกลมุ่

๓) มีทักษะในการนาเสนอข้อมูล ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิบรรยายเสริม และรายบคุ คล การมสี ว่ นร่วม

โดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยี ๒) การสอนภาคปฏิบตั ิ ในงานท่ี

ทเี่ หมาะสม - ให้นิสติ ได้ลงมือจัดทา ๔) การตอบคาถามจาก

ความรับผิดชอบรอง เอกสารจากการค้นควา้ และ ปัญหาและการแสดงความ

๒) มีทกั ษะในการสบื ค้นข้อมลู เขา้ ห้องสมุด คิดเหน็ วเิ คราะห์ปัญหาและ

โดยใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ - นิสิตไดท้ าสือ่ การเรียน การศกึ ษา

๔) สามารถเลือกใช้ข้อมลู การสอนเสนอวิธใี ชส้ ือ่

เทคโนโลยีสารสนเทศ ในสาระการสอน ประกอบการเรยี นการสอน

สงั คมศึกษาอย่างเหมาะสมกบั ผูเ้ รยี น - ไดเ้ ปรยี บเทยี บการศึกษา

ค้นคว้าในสถานการศึกษาต่างๆ

- การศึกษาเอกสารจากการ

คน้ ควา้ และแลกเปล่ยี นข้อมลู

- นิสติ ได้สมั พนั ธ์กบั สภาพ

จริงของการสอนสังคมศึกษา

ในระดบั มธั ยมศึกษา

๒.๖ ทกั ษะการจัดการเรียนรู้

๒.๖.๑ ทักษะการจดั การเรียนรู้ ๒.๖.๒ กลยทุ ธ์วธิ กี ารสอน ๒.๖.๓ กลยทุ ธ์วธิ กี าร

ประเมนิ

ในทักษะการจัดการเรียนรู้ นี้ ๑) ใชว้ ธิ ีการบรรยายเชงิ ๑) ตรวจผลงานจาก

เปน็ ทกั ษะทางด้านความสามารถการ วชิ าการกับนสิ ิต โดยใชส้ ื่อการ การศึกษาคน้ ควา้ ท้งั ท่ีเปน็ งาน



เรียนรขู้ องผู้เรยี นเกย่ี วกับความเข้าใจ สอนทมี่ ีคอมพวิ เตอร์ คือ รายกล่มุ และงานรายบุคคล ท่ี

เกีย่ วกับหลักสูตร การจัดทาหลกั สตู ร โปรแกรม PowerPoint นาสง่ ภายในช้วั โมง

สถานศกึ ษาและการใช้หลกั สูตร ทง้ั หมด ๒) ใหน้ ิสติ แบ่งกลมุ่ ๆ ละ ๕ ๒) สงั เกตการทางานทงั้ ท่ี

นี้หมายถงึ หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน คน ศกึ ษาเอกสารวชิ าการทนี่ ามาเปน็ รายบุคคลและงานกลุ่ม

ความรับผดิ ชอบหลัก ให้ตามเน้ือหา แลว้ ชว่ ยกัน ตอบ ความเขา้ ใจในการจดั การ

๒) สามารถบรู ณาการหลักการ คาถามลงในเอกสารคาตอบท่ี เรียนรู้

แนวคดิ ทฤษฎีท่ีเกย่ี วข้องเพือ่ พัฒนา แจกให้ ๓) ตรวจแบบฝกึ หัด ที่ส่ง

หลักสูตร การวางแผนการเรยี นรู้การบริหาร ๓) นิสติ ค้นคว้าข้อมลู ทาง ทา้ ยช่วั โมง

จดั การชน้ั เรยี นการวัดผล ประเมินผล การ หลกั สูตรในหวั ข้อท่ีกาหนดให้

วิจัยในชัน้ เรียน เพ่ือพัฒนาผูเ้ รียนใหม้ ี ทางเว็ปไซตจ์ ากมือถือ และ

ความรู้ ความสามารถอย่างเต็มศักยภาพ บนั ทึกในกระดาษ โดยกาหนด

และมคี ุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคต์ ามที่ หวั เร่อื งให้

สังคมต้องการ ๔) นสิ ิตเขียนองค์ประกอบ

ความรบั ผดิ ชอบรอง ของหลกั สูตรที่เขา้ ใจมา จากท่ี

๑) มีความรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั ไดเ้ รยี นมาสว่ นใดท่สี ามารถ

หลักการ แนวคิด ทฤษฎที ่ีเกย่ี วขอ้ งกบั เขียนได้

การศึกษา การจัดการเรยี นรู้ การวดั ผล

ประเมินผล การวจิ ยั ในชน้ั เรยี นการ

บริหารจัดการชน้ั เรยี น การบันทึกและ

การรายงาน ผลการเรยี นรู้

๓) เขา้ ใจถงึ ความแตกต่าง

ระหว่างบคุ คลของผเู้ รียน

๔) ตระหนกั ถึงความสาคญั ของ

หลักการ แนวคิด ทฤษฎที ่ีเกี่ยวขอ้ งกับ

การศกึ ษา การ จัดการเรยี นรู้ การวัดผล

ประเมนิ ผล การวิจัยในชั้นเรยี น การบริหาร

จัดการชนั้ เรยี นการบนั ทึกและการรายงาน

ผลการเรียนรู้

หมวดท่ี ๕ แผนการสอนและการประเมนิ ผล

๑. แผนการจัดการเรียนรู้

สปั ดาห์ เนอื้ หาและประสบการณ์(Contents) กิจกรรมการเรยี น จานวนชัว่ โมง
ท่ี การสอน
บรรยาย ปฏิบตั ิ ส่อื การสอน

ช้ีแจง ๑.แนะนาผู้สอน/ผูเ้ รยี น ๑.เค้าโครง
ก. สังเขปรายวชิ า
๒.ชี้แจงรายวชิ า รายวชิ า
๑ ข. แผนจัดการเรยี นการสอน
ค. การศกึ ษาและแหล่งค้นคว้า ๓.นาเสนอเนอื้ หารายวิชา ๒ ๒ ๒.เอกสาร
ง. แนวทางการวดั ผลประเมนิ
๔.บรรยายแผนบริหาร ที่

๕.ซกั ถามข้อสงสัย



บทท่ี ๑ ความรู้และพัฒนาการเกี่ยวกับ เกยี่ วข้อง

สงั คมศึกษา ๑.เอกสารท่ี
๒ เกยี่ วขอ้ ง
๑.๑ ความนา ๑.นาเสนอเน้ือหารายวิชา
PowerPoint
๒ ๑.๒ ความหมายของวิชาสงั คมศึกษา ๒.บรรยายประกอบส่ือ ๒ ๓.ใบทดสอบ

๑.๓ การสอนสงั คมศึกษา ๓.ซกั ถามประเดน็ ๑.เอกสารที่
๒/๑ เกย่ี วข้อง
๑.๔ จดุ มุ่งหมายของการสอนวิชาสงั คม ๔.ทดสอบ
๒.
ศกึ ษา PowerPoint
๓.
๑.๕ ความสาคญั ของวิชาสังคมศึกษา แบบทดสอบ

๑.๖ ประโยชน์ของวิชาสงั คมศึกษา ๑.เอกสาร
ทเี่ กี่ยวข้อง
๑.๗ สรุปทา้ ยบท ๒- ๒.
๒ PowerPoin
บทท่ี ๒ การพัฒนาหลกั สูตรกล่มุ สาระ

สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

๒.๑ ความนา ๑.นาเสนอเน้อื หารายวิชา

๒.๒ หลักสตู รและเอกสารหลักสตู ร ๒.บรรยายประกอบสื่อ

สังคมศึกษา ๓.ซกั ถาม

๓ ๒.๓ พ้ืนฐานแนวคิดการพัฒนาหลักสตู ร ๔.ทดสอบ

กลมุ่ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

๒.๔ สาระการเรียนรู้ในสังคมศึกษา

ศาสนาและวฒั นธรรม

๒.๕ ความสาคญั สาระสังคมศึกษา

ศาสนาและวัฒนธรรม

๒.๖ หลักการหลกั สูตรกล่มุ สาระการ

เรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและ

วัฒนธรรม

๒.๗ จดุ หมายหลักสตู รกล่มุ สาระสังคม

ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

๒.๘ สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน และ

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

๒.๙ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

๒.๑๐ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นในหลกั สูตร

๒.๑๑ สรุปท้ายบท

บทท่ี ๓ การวิเคราะหห์ ลักสูตรเพือ่ จัด

ประสบการณ์การเรยี นรู้สงั คม

ศึกษา ๑.นาเสนอเนอื้ หารายวชิ า

๓.๑ ความนา ๒.บรรยายสือ่

-๔ ๓.๒ ความหมายของการวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร๓.ซักถามประเดน็ ๒-

-๕ ๓.๓ วตั ถุประสงค์ของการศึกษา ๔.สรปุ บทบรรยาย ๒



๓.๔ ความสาคัญของการวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร๕.ทดสอบทา้ ยชวั่ โมง t

๓.๕ หลกั การวิเคราะหห์ ลกั สตู ร

๓.๖ ลาดบั ขัน้ ของการวเิ คราะห์

หลักสูตร

๓.๗ การสร้างตารางวเิ คราะหห์ ลักสูตร

๓.๘ ประโยชนข์ องตารางวเิ คราะห์

หลักสตู ร

๓.๙ รปู แบบของการวเิ คราะห์หลกั สตู ร

สงั คมศกึ ษา

๓.๑๐ การวเิ คราะห์มาตรฐานหลกั สูตร

ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้

๓.๑๑ การวเิ คราะหห์ ลักสตู รรายวชิ า

๓.๑๒ วธิ กี ารสร้างตารางวิเคราะห์

หลักสตู รรายวชิ า

๓.๑๓ ตัวอยา่ งตารางวเิ คราะหห์ ลกั สตู ร

๓.๑๔ การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้

วชิ าสังคมศกึ ษา

๓.๑๕ สรปุ ทา้ ยบท

บทท่ี ๔ การพัฒนาและเขยี นแผนการ

จดั การเรียนรู้

-๖ ๔.๑ ความนา ๑.นาเสนอเน้ือหารายวชิ า ๑.เอกสาร

-๗ ๔.๒ ความหมายการเตรียมสอนสงั คม ๒.นิสติ เสนอเสวนา ๒- ๒ วิชา

ศกึ ษา ๓.ซกั ถามข้อสงสยั ๒ ๒ ๒.

๔.๓ โครงการสอนวิชาสงั คมศึกษา PowerPoint

๔.๔ การทาแผนการจัดการเรียนรแู้ ละ

บนั ทกึ การสอน

๔.๕ ข้นั ตอนการเตรียมแผนการจดั การ

เรยี นรู้

๔.๖ ตวั อยา่ งแบบแผนการจัดการ

เรียนรู้

๔.๗ ค่มู อื ครู/แบบเรียน/หนังสอื อา่ น

ประกอบ

๔.๘ สรปุ ทา้ ยบท

๘ ทดสอบวัดผลระหว่างภาคเรียน สอบพร้อมกัน ๔ เอกสารขอ้ สอบ

บทท่ี ๕ การจดั กจิ กรรมการเรยี นร้แู ละการ

สาธติ การสอนสังคมศึกษา

๕.๑ ความนา ๑.นาเสนอเนอ้ื หารายวิชา ๒ ๒ ๑.เอกสาร

๕.๒ การจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ๒.บรรยายประกอบส่ือ เก่ียวข้อง

๑๐

๙ วชิ าสังคมศึกษา การสอน ๒.

๕.๓ การสอนสังคมศกึ ษา ๓.นสิ ติ ทดลองเขยี นแผน PowerPoin

๕.๔ การสอนสงั คมศึกษาแนวใหม่ ๔.ซกั ถาม t

๕.๕ สภาพและปัญหาการจัดการ ๕.ทดสอบ ๓.แผนการ

เรยี นการสอนกลมุ่ สาระการ สอน

เรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและ ๔.

วัฒนธรรม แบบทดสอบ

๕.๖ วธิ ีการสอนแบบสาธิต

(Demonstration Method)

๕.๗ สรุปทา้ ยบท

บทที่ ๖ การจดั กจิ กรรมเสริมหลักสตู ร

และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนท่ี

สอดคล้องกับสาระการเรยี นรู้

๖.๑ ความนา ๑.นาเสนอเน้อื หารายวิชา ๑.เอกสารที่

๖.๒ ความสาคญั ของกจิ กรรมพฒั นา ๒.บรรยาย ๒ ๒ เกย่ี วข้อง

๑๐ ผ้เู รยี นท่ีสอดคลอ้ งกับสาระการ ๓.นิสติ เสนองาน ๒.

เรยี นรู้ ๔.ซักถาม PowerPoint

๖.๓ ความหมายของการจดั กจิ กรรม ๕.ทดสอบ ๓.

๖.๔ เป้าหมายการจดั กจิ กรรม แบบทดสอบ

๖.๕ หลกั การจัดกิจกรรมเสริมหลักสตู ร

พฒั นาผู้เรยี น

๖.๖ แนวทางการจดั กิจกรรมพัฒนา

ผเู้ รยี น

๖.๗ บทบาทของบคุ ลากรที่เกี่ยวข้อง

๖.๘ ขน้ั ตอนการดาเนนิ การจดั กิจกรรม

พฒั นาผูเ้ รยี น

๖.๙ การประเมินผลกจิ กรรม

๖.๑๐ ความสาคญั ของสถานศกึ ษาต่อ

กจิ กรรมการพฒั นาผ้เู รยี น

๖.๑๑ การจัดกิจกรรมการเรยี นการ

สอนให้สอดคลอ้ งกับหลักสตู ร

๖.๑๒ สรุปทา้ ยบท

บทท่ี ๗ การพฒั นาส่อื การสอนวิชาสังคม

ศึกษา ๑.นาเสนอเนื้อหารายวิชา ๑.เอกสาร

๗.๑ ความนา ๒.บรรยายประกอบส่ือ ทเ่ี กย่ี วข้อง

๑๑ ๗.๒ ความสาคญั ของสื่อการสอนสงั คม ๓.นสิ ิตเสนองานหน้าช้ัน ๒- ๒ ๒.

๑๒ ศกึ ษา ๔.ซกั ถามข้อสงสยั ๒ ๒ PowerPoint

๗.๓ โสตทศั นศึกษาสาหรับการสอน ๕.ทดสอบแบบฝกึ หัด ๓.ใบ

๑๑

สงั คมศกึ ษา กจิ กรรม

๗.๔ ส่อื สง่ิ พิมพส์ าหรบั สอนสงั คมศกึ ษา ๔.

๗.๕ ส่ือบุคคลในจัดการเรยี นการสอน แบบทดสอบ

๗.๖ สื่อประสบการณ์สังคมศึกษา

๗.๗ สอ่ื การสอนสงั คมศกึ ษาทว่ั ไป

๗.๘ สอ่ื การสอนสังคมศึกษาพ้นื บ้าน

๗.๙ สรปุ ท้ายบท

บทที่ ๘ การวดั และประเมนิ ผลวิชาสังคม ศึกษา

๘.๑ ความนา ๑.นาเสนอเนื้อหารายวชิ า ๑.เอกสารท่ี

๘.๒ การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นการ ๒.บรรยายประกอบสื่อ เกย่ี วข้อง

๑๓ สอนวชิ าสังคมศกึ ษา ๓.นสิ ิตเสนองานหน้าชัน้ ๒- ๒ ๒.

๑๔ ๘.๓ ทาไมตอ้ งมีการวัดและการ ๔.ซักถามประเดน็ ๒ ๒ PowerPoint

ประเมินผลการเรยี น ๕.ทดสอบแบบฝกึ หัด ๓.

๘.๔ หลกั การวดั ผลวิชาสงั คมศึกษา แบบทดสอบ

๘.๕ วิธีการวดั ผลวิชาสังคมศึกษา

๘.๕.๑ การออกข้อทดสอบ

๘.๕.๒ ลกั ษณะของแบบทดสอบท่ี

ดี

๘.๕.๓ หลักในการสร้างคาถาม

แบบเลอื กตอบ

๘.๖ การประเมนิ ผลการเรียนวิชาสงั คม

ศึกษา

๘.๖.๑ เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการ

เรียนรายวชิ า

๘.๖.๒ เกณฑ์คุณภาพการ

ประเมนิ ผล

๘.๗ สรุปทา้ ยบท

บทท่ี ๙ บทบาทครสู งั คมศกึ ษา

๙.๑ ความนา ๑.นาเสนอเน้ือหารายวชิ า ๑.เอกสารที่

๙.๒ บทบาทหนา้ ทีค่ รสู ังคมศึกษา ๒.บรรยายประกอบส่ือ เกย่ี วข้อง

๙.๓ ลักษณะของครูสอนวิชาสังคม ๓.นสิ ติ เสนองานหนา้ ชนั้ ๒.

ศกึ ษา ๔.ซักถามประเดน็ PowerPoint

๙.๔ คุณลกั ษณะครูทีด่ ีจากผลการวิจัย ๕.ทดสอบแบบฝกึ หดั ๓.ใบ

๑๕ ๙.๕ คุณลกั ษณะครูท่ดี ใี นทรรศนะ ๒ ๒ กิจกรรม

นกั วิชาการ ๔.

๙.๖ หนา้ ทแี่ ละภารกิจครูวชิ าสังคมศกึ ษา แบบทดสอบ

๙.๗. บทบาทหน้าทคี่ รทู ี่ดีของ

นกั วชิ าการในทางพระพุทธศาสนา

๙.๘ บทบาทหนา้ ท่คี วามรบั ผิดชอบของ ๑๒
ครู
-เอกสารท่ี
๙.๙ เกณฑม์ าตรฐานวิชาชีพครูสงั คม ๒/๑ เกย่ี วข้อง
ศกึ ษา

๙.๙.๑ มาตรฐานทางวชิ าชีพครู
๙.๙.๒ ครูคณุ ภาพ
๙.๙.๓ มาตรฐานระดบั คณุ ภาพ
๙.๙.๔ มาตรฐานวชิ าชีพครูสงั คมศึกษา
๙.๑๐ สรปุ ท้ายบท

๑) สรุปการบรรยายเนื้อหาทง้ั หมด ๑.บรรยาย
๑๖ ๒) แนะแนวขอ้ สอบและการเตรยี มสอบ ๒.ซักถาม

๒. แผนการประเมินผลการเรยี นรู้

กิจกรรม ผลการเรยี นรู้ กจิ กรรมการประเมนิ กาหนดการ สดั สว่ นการ
ประเมนิ ประเมิน
๑ ความรู้และทักษะการวเิ คราะหก์ ารสอน นาเสนอรายงาน ๘/๑๕ ๒๐
สงั คมศึกษาพร้อมการจดั สาระรายวิชา
การสอบระหว่างภาค ๘ ๒๐
๒ ความรู้ ความเข้าใจ เรยี น
-การสอบภาคทฤษฎี ๑๑-๑๖ ๒๐
๓ ความรกู้ ารศึกษาสานักเรียน/การทาส่ือการ และภาคปฏบิ ตั ิ
สอน การเขา้ ชน้ั เรียน ทกุ ชวั่ โมง ๑๐
ทกุ สัปดาห์ ๑๐
๔ ความรบั ผิดชอบต่อการเรียน การสังเกต/การทางาน
กลมุ่ ตลอดภาค ๒๐
๕ ทักษะความสัมพันธ์ ระหวา่ งบคุ คลและ การคน้ คว้าในการเข้า เรียน
ความรบั ผิดชอบ เรยี น

๖ ทักษะดา้ นการจัดการเรยี นรู้

หมวดท่ี ๖ ทรัพยากรประกอบการเรยี นการสอน

๑. ตาราหรอื เอกสารหลัก
อนสุ รณ์ นามทะราช,ผศ. การสอนสังคมศึกษา. ขอนแกน่ . มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย
วทิ ยาเขตขอนแก่น, ๒๕๖๓.

๒. เอกสารและข้อมลู สาคัญ
ไกรนุช ศริ พิ นู . ความเป็นคร.ู กรุงเทพฯ : หา้ งหนุ้ สว่ นสามญั นิติบคุ คล, ๒๕๓๑.
ขัตตยิ า กรรสูตร. นโยบายสังคม. กรงุ เทพฯ: โอ.เอส.พริน้ ตง้ิ เฮ้าส,์ ๒๕๒๖.
คณาจารย์ มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมธริ าช. วธิ กี ารสอนสังคม. นนทบุรี: มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมธิ
ราช,ม.ป.ป..

๑๓

นอ้ มฤดี จงพยหุ ะ. คมู่ ือการเรยี นวชิ าการสอนสังคมศึกษา ระดบั ประถมศึกษา. กรุงเทพมหานคร
โรงพิมพ์การสยาม, ๒๕๑๕

บุญชม ศรีสะอาด,รศ.ดร.. การพฒั นาการสอน. พิมพค์ รั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : ชมรมเด็ก, ๒๕๔๑.
ชาญชยั ศรีไสยพชร. ทักษะและเทคนิคการสอน. กรุงเทพฯ: พิทักษ์อักษร, ๒๕๓๘.
ญาดาพนิต พนิ กลุ ,ผศ. หลักการสอน. กรุงเทพฯ: วีระวิทยาพนธ,์ ๒๕๓๙.
ทิศนา แขมณ,ี รศ.ดร.. ศาสตรก์ ารสอน. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั , ๒๕๔๗.
เทพเวที (ประยทุ ธ์ ปยุตโฺ ต),พระ. เทคนคิ การสอนของพระพุทธเจ้า. กรุงเทพฯ : มลู นธิ พิ ุทธธรรม,

๒๕๓๐.
นาตยา แสงไทย,ผศ.ดร.. ยุทธวธิ กี ารสอนสงั คม. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์โอเดียนสโตร,์ ๒๕๔๑.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์,รศ.ดร.. จติ วทิ ยาการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : สหมติ รออฟเซทกรพิมพ์,

๒๕๒๑.
พนัส หนั นครินทร,์ รศ.ดร.. การมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์พิฆเณศ, ๒๕๒๔.
รุ่งทวิ า จักรกร. วธิ ีการสอนท่วั ไป. กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ,

๒๕๒๗.
รัศมี ภบิ าลแทน,ผศ.ดร.. พฤติกรรมการสอนวชิ าสังคมศึกษา. กรงุ เทพฯ : ฝา่ ยตาราและอุปกรณ์

มหาวิทยาลยั รามคาแหง, ๒๕๒๘.
วชิ ัย ดสิ สระ, รศ.ดร.. การพัฒนาหลักสตู รและการสอน. กรงุ เทพฯ : สุวีรยาสาสน,์ ๒๕๓๕.
วชิ าการ,กรม. กระทรวงศกึ ษาธิการ. คมู่ ือสงั คมศกึ ษา พ.ศ.๒๕๒๐ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๒

กรุงเพทมหานคร : รุ่งเรืองสาสล์การพิมพ์,๒๕๒๐
เฉลียว กาละเวก. การสอนสงั คมศกึ ษา. กรงุ เทพฯ.: โอเดยี นส์, ๒๕๒๐
ศึกษาธกิ าร,กระทรวง. คูม่ ือกาใช้หลกั สูตรมธั ยมศกึ ษาตอนต้น พ.ศ. ๒๕๒๑. กรงุ เทพมหานคร :

จงเจริญการพมิ พ,์ ๒๕๒๑
สุโขทัยธรรมาธริ าช, มหาวิทยาลยั . เอกสารการสอนชุดวชิ าววิ ัฒนาการเมอื งไทย หนว่ ยท่ี ๑- ๒.

พมิ พค์ ร้งั ที่ ๒. นนทบุรี: สาขาศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรมาธิราช, ๒๕๓๔.
.....................เอกสารการสอนชุดวชิ าสังคมไทย. กรุงเทพฯ : สาขาศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลยั

สุโขทัยธรรมาธริ าช, ๒๕๓๓.
สุจินต์ วศิ วธรี านนท์,สมุ นทพิ ย์ บญุ สมบตั ิ. พฤติกรรมการสอนมธั ยมศึกษา. นนทบรุ ี :

มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมธิราช, ม.ป.ป.
สุนทร โคตรบรรเทา, ดร. เทคนิคการสอนครบวงจร. กรงุ เทพฯ : บริษัทซเี อด็ ยเู คซัน่ , ๒๕๓๕.
สมุ ิตร คุณากร,ดร. หลักสูตรและการสอน. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ชวรการพิมพ์ ๒๕๑๘
สนุ ทร สุนนั ท์ชัย. เทคนคิ และวธิ ีสอนสงั คมศึกษา. พระนคร : อกั ษรเสรี, ๒๕๑๔
สรุ นิ ทร์ สรสริ ิ และดารง มัธยมนันทน์. วธิ ีสอนสังคมศึกษา พระนคร : โรงพิมพ์คุรุสภา, ๒๕๑๕
อมร โสภณวเิ ชษฐ์และกวี อิศรวิ รณ ดร. หนงั สอื เรยี นสังคมศกึ ษา รายวิชา ส.๐๔๑๐ พระพุทธศาสนา

ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๕, กรงุ เทพฯ, สานักพิมพ์วัฒนาพาณิช จากัด: ๒๕๒๕.
วิชยั วงศใ์ หญ่,. กระบวนการพฒั นาหลักสตู รและการเรียนการสอนภาคปฏิบตั ิ. สุวรี ิยาสาส์น,

กรุงเทพ ฯ:๒๕๓๗
สุวิทย์ มูลคาและอรทยั มูลคา. เรียนรสู้ คู่ รมู ืออาชพี . ดวงกมลสมยั . กรุงเทพฯ : ๒๕๔๔.
อารยี ์ พนั ธ์มณี. จิตวิทยาการเรียนการสอน. ต้นอ้อ ๑๙๙๙, กรงุ เทพฯ : มปพ.

๑๔

๓. เอกสารและข้อมูลแนะนา
ไมม่ ี

หมวดที่ ๗ การประเมนิ และการปรับปรงุ การดาเนินการของรายวิชา

๑. กลยุทธ์การประเมนิ ประสิทธผิ ลของรายวิชาโดยนิสิต
๑.๑ ในวันแรกของการเรียนการสอน อาจารย์ผ้บู รรยายอธบิ ายใหน้ ิสิตเขา้ ใจถงึ การปรับปรงุ ของรายวิชา

นี้จากการเรยี นการสอนในภาคการศึกษาทีผ่ า่ นมา และประโยชน์จากขอ้ คิดเห็นของนสิ ติ ต่อการพัฒนาของ
รายวิชา เพอื่ สง่ เสริมให้นิสิตแสดงความคิดเหน็ ต่อการพัฒนารายวชิ าในชว่ งปลายภาคการศกึ ษา

๑.๒ ให้นิสิตประเมินพัฒนาการของตนเองโดยการเปรียบเทยี บ ความรู้ ทกั ษะในการประมวลความคดิ
และการวิเคราะหก์ ่อนและหลังการเรียนรายวชิ าน้ี

๑.๓ สง่ เสริมให้นิสติ แสดงความคดิ เห็นต่อการเรยี นการสอน และการพัฒนารายวชิ าผ่านระบบการ
ประเมิน On line ของมหาวิทยาลัย
๒. กลยทุ ธ์การประเมนิ การสอน

อาจารยผ์ ูบ้ รรยายมกี ารประเมินการสอนดว้ ยตนเอง ดูผลการเรยี นของนิสติ และทารายงานสรปุ
พฒั นาการทง้ั บุคลิกภาพและแนวความคดิ ของนิสติ ปญั หา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขหรอื การ
เปลย่ี นแปลง/ปรบั ปรุงของรายวิชา
๓. การปรบั ปรงุ การสอน

๓.๑ การประมวลความคิดเห็นของนิสิต การประเมินการสอนของตนเองและสรปุ ปัญหา อปุ สรรค
แนวทาง แก้ไขเม่ือส้ินสดุ การสอน เพื่อเป็นข้อมลู เบ้ืองตน้ ในการปรับปรุงรายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป

๓.๒ การวิจยั ในชน้ั เรยี น เพอื่ พฒั นารปู แบบ วธิ ีการเรียนการสอน และวิธกี ารฝึกปฏบิ ัตินอกสถานที่
๓.๓ การแจกแบบสอบถาม เพือ่ ใหน้ ิสติ ไดต้ อบและแสดงความคิดเหน็ สะท้อนแนวคดิ ถงึ การสอนและ
การพฒั นาตนเองของนสิ ิต
๓.๔ ปรับปรงุ รายละเอยี ดของรายวิชาใหท้ นั สมยั และเหมาะสมกบั นสิ ติ รนุ่ ตอ่ ไป
๔. การทดสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ขิ องนิสติ ในรายวิชา
๔.๑ อาจารย์แสดงตัวอย่างการประเมนิ ผลในรายวชิ าเพือ่ การทดสอบ
๔.๒ อาจให้มกี รรมการทดสอบ และการสมุ่ ตรวจสอบการให้คะแนนในรายวชิ าหรอื รายงานของผูเ้ รียน
๔.๓ เปรยี บเทยี บการใหค้ ะแนนข้อสอบแต่ละข้อในรายวิชา ตามเกณฑ์ท่ีกาหนด
๔.๔ อาจจดั ทาข้อสอบมาตรฐานสาหรบั รายวิชา หรอื สถานบนั การศกึ ษาท่ีเกย่ี วข้อง
๔.๕ สารวจความคิดเห็นเกีย่ วกับคาถามในขอ้ สอบจากผู้ใชบ้ ัณฑิต เพ่ือปรับมาตรฐานข้อสอบ
๕. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรบั ปรงุ ประสิทธผิ ลของรายวชิ า
๕.๑ นาข้อคดิ เห็นของนสิ ิตจากข้อ ๑ มาประมวล เพอื่ จัดกลุ่มเนือ้ หาความร้ทู ต่ี ้องปรับปรุง วิธีการศกึ ษา
คน้ คว้าดว้ ยตนเอง และรปู แบบของการศึกษาการปฏบิ ตั งิ านนอกสถนท่ี ผลจากการประมวลจะนาไป
ปรบั ปรุงการจัดการเรียนการสอนในรุน่ ตอ่ ไป
๕.๒ นาผลการประเมินการสอนของตนเองจากขอ้ ๒ มาจัดกล่มุ เทยี บเคียงกบั ข้อคิดเหน็ ของนิสติ เพ่อื
พัฒนาเนอ้ื หาสาระให้ทนั สมยั ปรับวิธกี ารเรียนการสอน และวธิ ีการประเมินผลให้ตรงกบั ผลการเรียนรู้ท่ี
คาดหวงั ในแตล่ ะเนอื้ หา

๑๕

ลงช่อื ...................................................
(ผู้ชว่ ยศาสตราจารยอ์ นสุ รณ์ นามทะราช)

ผรู้ ับผิดชอบรายวิชา/บรรยาย
วนั ท่.ี ......./................../๒๕๖๓

ลงชื่อ..............................................
(ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์อนสุ รณ์ นามทะราช)

ประธานหลักสตู ร/ผู้พจิ ารณา
วันท่ี........../................../๒๕๖๐

บทท่ี ๑

ความสาคัญและพฒั นาการวชิ าสงั คมศกึ ษา

วัตถุประสงคป์ ระจาบท

๑. เพือ่ ใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถอธบิ ายความหมายขอบขา่ ยของวิชาสังคมศกึ ษาได้
๒. เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนรเู้ ขา้ ใจในวชิ าสังคมศึกษาในฐานะสังคมศาสตร์ประยุกต์ได้
๓. เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นไดร้ ู้เข้าใจในวิวฒั นาการของวิชาสังคมศกึ ษาตลอดจดั หลักสตู รการสอน

สังคมศกึ ษาได้
๔. เพ่ือใหผ้ เู้ รียนไดร้ ปู้ ระโยชน์จากการศกึ ษาวิชาสังคมศกึ ษาและนาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิต

ประจาวนั ได้

ขอบข่ายเนอ้ื หาสาระ

๑.๑ ความนา
๑.๒ ความหมายของวิชาสงั คมศกึ ษา
๑.๓ การสอนสงั คมศึกษา
๑.๔ จดุ มุ่งหมายของการสอนวชิ าสงั คมศกึ ษา
๑.๕ ความสาคัญของวิชาสงั คมศึกษา
๑.๖ ประโยชน์ของวชิ าสังคมศึกษา
๑.๗ สรุปท้ายบท



๑.๑ ความนา

การศึกษาถือว่าเป็นแนวทางที่สาคัญของการพฒั นาชาติ เพราะต้องการพัฒนาชาตติ ้องพัฒนา คน
ในชาติ ด้วยเหตุผลนี้การศกึ ษาจงึ เป็นรากฐานสาคญั ดังน้ันกจิ กรรมตา่ งๆ ทีส่ าคญั ของสังคมไทยทุกสังคม
ในปัจจบุ ันน้ี ก็เพื่อถา่ ยทอดวัฒนธรรมหรือมรดกของสังคมไปยังเยาวชนรุ่นต่อ ๆ ไปให้เกิดความรู้ แนวคิด
การกระทาในกิจกรรมตา่ งๆ เพือ่ การอยู่ร่วมกันและความเจริญกา้ วหน้าของสงั คม ทุกสังคมย่อมมหี น้าที่
ในการให้การศึกษาแก่สมาชิกของสงั คมเพื่อให้เขาไดร้ ้จู ักบรรทัดฐานของสังคม เรียนรู้เกี่ยวกับวถิ ีการดาเนิน
ชวี ิตการทามาหาเลี้ยงชีพและวัฒนธรรมทบ่ี รรพบุรุษได้สรา้ งสมไว้ให้ การให้การศึกษาเดิมทเี ดยี วเปน็
หน้าทีข่ องสถาบนั ครอบครวั และสถาบันศาสนา แตต่ ่อมาสังคมมีความซับซ้อนมากยิง่ ข้ึน ความเปน็ อยู่
ลาบากยากเย็นมากยิ่งข้ึน ทาให้สถาบันครอบครัวและสถาบันศาสนา ต้องลดหน้าท่ีและบทบาททาง
การศกึ ษาลงไปและปล่อยให้สถาบนั การศกึ ษา ไดด้ าเนินการในเรอ่ื งการเรียนรูข้ องเด็กและสมาชกิ อื่น ๆ
ของสังคมต่อไป ภารกิจและหน้าท่นี ี้ในนามสถาบันทางการศกึ ษา อันน้ันหมายถงึ บคุ ลากรคอื ครู ผสู้ อน
ในสถานศึกษานั้น ๆ มีหน้าท่ีต้องอบรมส่ังสอน หรือทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในสังคมโลกที่มีความ
เจรญิ กา้ วหน้าอย่างไม่มีทีส่ ิ้นสุด ดว้ ยภารกจิ นี้ ในฐานะครูต้องศึกษาทาความเข้าใจจุดประสงคห์ รือแนว
ทางของวชิ าสงั คมศึกษาให้เข้าใจ ว่ามจี ุดมงุ่ หมายและมีความสาคญั อย่างไร

๑.๒ ความหมายของวิชาสงั คมศกึ ษา

นักการศึกษาทางสังคมศึกษา ได้ให้ความหมายของวิชาสงั คมศึกษาในนานาทรรศนะ ผู้เขียน
ขอนาข้อมลู ทางความหมายท่ีนักวิชาการตา่ ง ๆ ได้กลา่ วไว้ เป็นตน้ ว่า๑

จาโรลเิ มค (John Jarolimek ) กลา่ วว่า “สังคมศึกษาเป็นวิชาทีว่ ่าด้วยความสัมพนั ธ์ของมนษุ ย์
กบั สิง่ แวดล้อมทางธรรมชาติ และทางสังคมทงั้ กลา่ วถึงวธิ ีท่ีมนุษย์จะใชส้ ่งิ แวดล้อมเพื่อสนองความ
ต้องการของตนในการดารงชีวิต”

เชพเวอร์ (James P. Shaver) ให้นิยามว่า“สังคมศึกษาเป็นสว่ นของการศึกษาท่ัวไปและ
เกยี่ วขอ้ ง โดยเฉพาะการเตรยี มพลเมืองให้มีส่วนรว่ มในสงั คมแบบประชาธิปไตย”

เองเกิล (Shirley H. Engle) ให้ความเห็นว่า “สงั คมศึกษาจะมีการเน้นคาถามด้านสังคมท่ีมีความ
ตอ่ เนื่องกันเน้น ปัญหาและประเดน็ ท้ังใหญ่และย่อย ซ่ึงเยาวชนควรต้องปฏิบัติหรือชว่ ยใหเ้ ขาทาได้
ปัญหา ของแตล่ ะบคุ คลและของสงั คมจะชว่ ยให้หลักสตู รมีการผสมผสานอย่างมีเหตุผล”

กู๊ด (Carter V.Good) ให้ความหมายวา“สังคมศึกษา เป็นส่วนต่าง ๆ ของเน้ือหาสาระ
ของสงั คมศาสตร์ โดยเฉพาะประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ สงั คมวทิ ยา และภมู ิศาสตร์ โดย
เลือกแล้วว่า เหมาะสมแก่การศึกษาในระดับประถมศกึ ษาและระดับมธั ยมศึกษา และมีการพัฒนาข้ึนเป็น
ราย วิชาต่าง ๆ เพ่ือการศึกษาไม่ว่าจะบูรณาการแล้วหรอื ไม่ และต้องมีท้ังเนื้อหาสาระและจุดหมาย
ที่เก่ียวข้อง กับสังคม หรอื ไม่กอ็ ยู่ในขอบข่ายทแ่ี คบไปหรือแน่นอนตายตัวของการศึกษาในแบบ
ผสมผสาน”

เพรสตัน (Ralph C. Preston) กลา่ วว่า “สงั คมศึกษาเป็นส่วนหน่ึงของเนื้อหาวิชาสงั คมศาสตร์

๑ สริ วิ รรณ ศรพี หล. วธิ สี อนทเี่ น้นผ้เู รยี นเปน็ สาคญั ในประมวลสาระชดุ การจัดการเรียนรู้ หน่อยท่ี ๕
(นนทบุร.ี บณั ฑติ ศึกษา, สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช, ๒๕๕๔): หนา้ ๑-๘



ทีเ่ ลือกเฟน้ มาเพื่อใช้ในการสอนเดก็ โดยเฉพาะระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
สังคมศึกษาในระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ส่วนมากได้เน้ือหาวิชามาจากสังคมศาสตร์ คือ

๑. ประวตั ศิ าสตร์ เปน็ การศกึ ษาเรือ่ งอดีตของมนุษย์
๒. ภมู ศิ าสตร์ เป็นการศึกษาเร่อื งความสมั พันธ์ระหว่างมนุษย์กับ แผ่นดินท่ีอยู่อาศัย
๓. หนา้ ท่พี ลเมือง เป็นการศึกษาเรอ่ื งสิทธิและหน้าท่ีของมนษุ ย์
๔. สงั คมวิทยา เป็นการศึกษาเกี่ยวกับสถาบนั ของมนุษย์ และกระบวนการทางสงั คม
๕. มานษุ ยวิทยา เป็นการศึกษาเก่ยี วกับวัฒนธรรมของกลุ่มชน
๖. เศรษฐศาสตร์ เป็นการศึกษาเก่ียวกับ ผลผลิตการแจกจา่ ย และการใช้ส่ิงท่ีมคี ่าในการแลกเปลี่ยน
และปรากฏการณท์ างสงั คมอันเกดิ ข้ึนจากกจิ กรรม ดงั กล่าว
จากความหมายที่นักวิชาการท่านต่าง ๆ ได้ให้ความหมายของวิชาสังคมศึกษาในนานาทรรศนะ น้ัน
ถา้ พจิ ารณาจากความหมายวิชาสงั คมศึกษาท่ไี มเคลิ ลสิ (Michaelis) ไดป้ ระมวลความหมายของวิชาสงั คม
ศกึ ษาในเชิงปรชั ญาและความเช่อื แบบต่าง ๆ สรปุ ได้ ๕ ประเภทดังนี้คือ
๑. สงั คมศึกษาในฐานะการถา่ ยทอดความเปน็ พลเมอื งดี (Social Studies as Citizenship
Transmission) ผู้ทยี่ ึดถือเชน่ นีเ้ ช่ือว่า สงั คมศกึ ษาควรจะถา่ ยทอดลักษณะพนื้ ฐานทางประวัตศิ าสตร์
และมรดกทางวัฒนธรรมของสงั คม พลเมืองดีที่มีความรับผิดชอบควรจะได้พฒั นาจากความเข้าใจต่อส่งิ
ทีด่ ี ที่เปน็ มรดกทางวัฒนธรรมของสงั คมนั้น
๒. สังคมศึกษาในฐานะเป็นการศกึ ษาทางสงั คมศาสตร์ (Social Studies as Social Science
Education) ผู้ทย่ี ึดถือเช่นน้ีเชื่อว่า เนื้อหาของสงั คมศึกษาและวิธีการศกึ ษาควรจะนามาจากสังคมศาสตร์
พลเมืองทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพควรจะร้มู โนมตพิ ื้นฐาน และวธิ กี ารศึกษาของสังคมศาสตร์ เพ่ือสามารถจัดการ
กบั ประเดน็ เรื่องราวและปัญหาต่าง ๆ
๓. สงั คมศึกษาในฐานะการคิดอย่างไตร่ตรอง (Social Studies as Reflective Thinking) แนว คิด
นี้ยึดถือโดยกลุ่มประจักษน์ ยิ ม ซ่งึ เชื่อว่าเป้าหมายสาคัญของสงั คมศึกษา คือ การพัฒนาความ สามารถ ใน
การคิดและการตดั สนิ ใจ ซ่ึงพลเมืองทีม่ ีประสิทธภิ าพจะใชแ้ บบและกระบวนการในการคิด และตัดสนิ ใจ
เพ่ือแก้ปญั หาและสรปุ เร่ืองราวตา่ ง ๆ ได้
๔. สังคมศึกษาในฐานะเปน็ การวิพากษ์สงั คมและการปฏบิ ัติ (Social Studies as Social Criticism
and Action) ลักษณะนี้เป็นการเน้นของกลุม่ ปฏิรูป ซ่ึงเช่ือว่าเปา้ หมายสาคัญของสงั คมศึกษาคือ เพ่ือ
พฒั นาความรแู้ ละทักษะทจ่ี าเปน็ สาหรบั การปรับปรงุ สังคมและพลเมืองท่ีรบั ผดิ ชอบจะสามารถวิเคราะห์
เร่อื งราวเหตกุ ารณ์ปัจจุบันและปัญหาอย่างวิพากษ์และปฏิบัตกิ ารอย่างเหมาะสม
๕. สังคมศึกษาในฐานะเป็นการพัฒนาเอกัตถบุคคล (Social Studies as Personal
Development of the Individual) ลักษณะนี้เป็นแนวความคิดของกลุ่มพิพัฒนาการนิยม
(Progressivism)และกลมุ่ อัตตภาวะนิยม (Existentialism) ซ่ึงเช่อื ว่าเปน็ โปรแกรมการเรียนควรยดึ ถือ
นกั เรยี นเป็นศนู ย์กลาง หรอื ให้ความสาคัญแกน่ ักเรยี น และควรจะพัฒนานกั เรยี นท้ังตัวท้ังทางสงั คม
อารมณ์สตปิ ัญญา และกาย ความเข้าใจในตนเอง และการนาตนเอง ซงึ่ เป็นลักษณะหรือคุณสมบัติท่ี
จาเปน็ สาหรับความเปน็ พลเมืองดที ่ีมีความรบั ผดิ ชอบ
จากความหมายท่ีไมเคิลลสิ ได้ประมวลมานี้ ไมเคิลลิส ยงั ได้สรปุ ความหมายและชี้ใหเ้ ห็นจุดเน้น
ของ ความหมายต่าง ๆ ดังนี้ (Michaelis)
๑. สังคมศึกษา คือ การถ่ายทอดวัฒนธรรมพ้ืนฐานทเี่ ปน็ มรดกของประเทศชาติให้แกผ่ เู้ รียน นิยาม



นี้เปน็ การเน้นด้านเนื้อหา
๒. สังคมศึกษา คือ เน้ือหาและวิธีการท่ีจะส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เก่ียวกับประวัติศาสตร์

สังคมศาสตร์ และศาสตรอ์ ื่น ๆ นยิ ามน้ีเน้นด้านเนื้อหาเช่นกัน
๓. สังคมศึกษา คือ การสง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนไดพ้ ฒั นากระบวนการคดิ และการตัดสนิ ใจเพอื่ นาไปประยุกต์

ใช้ในการแก้ปัญหาสังคม นิยามนี้เน้น ด้านสงั คม
๔. สงั คมศึกษา คือ กระบวนการเรียนการสอนที่มุ่งพัฒนาสมรรถนะทีจ่ าเป็นสาหรับผู้เรยี นเพ่อื ให้

สามารถวิเคราะหแ์ ละแก้ปญั หาสังคมได้ นิยามน้ีเน้น ด้านสงั คม
๕. สังคมศึกษา คือ การมุ่งพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนในการที่จะควบคุม ดูแลตนเอง ตลอดจน

สามารถอยู่รว่ มกบั ผู้อ่ืนในสงั คมได้ นยิ ามนี้เน้น ความสาคัญทต่ี วั ผู้เรยี น
สาหรบั ความหมายของวิชาสังคมศึกษาตามที่ปรากฏ ในหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

พุทธศักราช ๒๕๕๑ ได้ให้ความหมายว่า (กระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๕๑: ๑) “กลุ่มสาระการเรียนรู้
สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ว่า ด้วยการอยู่รว่ มกันในสังคมทีม่ ีความเชื่อมสัมพันธ์กันและมีความ
แตกตา่ งกนั อย่างหลากหลาย เพ่อื ช่วยให้สามารถปรบั ตนเองกับบรบิ ทสภาพ แวดลอ้ ม เปน็ พลเมืองดี มี
ความรับผิดชอบ มคี วามรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านยิ มทเี่ หมาะสม”

กลา่ วโดยสรุป วิชาสังคมศึกษาเปน็ วิชาท่ีศึกษาเก่ียวกับ ความสมั พันธข์ องมนุษย์ในสงั คมโดย เน้น
การศึกษาเกีย่ วกับเน้ือหาและวิธกี ารในศาสตรต์ ่าง ๆ โดยเฉพาะวิชาในหมวดสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
เพ่ือชว่ ยให้ผู้เรยี นมคี วามรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกับสงั คมมนุษย์ เศรษฐกิจ กจิ กรรมการเมืองทั้งในอดตี ปัจจบุ ัน
และอนาคต สิ่งแวดลอ้ มท่ีมีอทิ ธพิ ลต่อมนุษย์การเปล่ียนแปลงส่ิงแวดลอ้ มเพื่อนามา ใช้ประโยชน์ การ
แกป้ ัญหาและการวางแนวทางสาหรับอนาคต ทั้งนี้โดยมีเป้าหมายสาคัญ เพื่อมุ่งพัฒนาความเปน็ พลเมืองดี
ของนักเรียนในสงั คมประชาธิปไตย

๑.๓ ความหมายการสอนสังคมศกึ ษา

ในรายวชิ าการสอนสงั คมศึกษานน้ั จากเน้ือหาทนี่ าเสนอน้ี ยังสามารถแยกการสอนสงั คมศึกษาออก
ได้มีอยู่ ๒ ศัพท์ด้วยกัน คือการสอน และสังคมศึกษา ดังนั้นในท่ีน้ีจึงขอนาเสนอเป็น ๒ ประเด็น๒
เพ่ือให้เห็นความเกยี่ วข้องกัน คอื

- การสอน คืออะไร
ดร.สมุ ติ ร คุณานุกร ไดใ้ หค้ วามหมายของการสอนไวด้ ังนี้
๑. การสอน คือ การให้ข้อมูล ให้วชิ าความรู้ หรอื รวมๆ พูดไดว้ ่าเป็นการใหเ้ นื้อหา
๒. การสอน คือ การต้ังคาถามใหเ้ ด็กคิด
๓. การสอน คอื การใหค้ าแนะนาในการแกป้ ัญหาและการให้ความชว่ ยเหลอื
๔. การสอน คือ การให้กาลังใจและการส่งเสริมเพื่อให้เด็กได้มีกาลังใจท่ีจะทาอะไรให้บรรลุ

วตั ถปุ ระสงค์
๕. การสอน คอื การให้ความรกั ความผกู พนั ที่มีต่อเด็ก

๒ สุมติ ร คณุ านกุ ร,ดร. หลักสตู รและการสอน. (กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์ชวนพิมพ์ ,๒๕๔๘) หน้า ๑๓๓



๖. การสอน คือ การที่บุคคลผู้หน่ึง (ครู) นาเอาความรู้สึกนึกคิดและชีวิตของตนเองมาเผยให้
บุคคลอีกผูห้ นงึ่ (นกั เรียน) ทราบ เพ่อื ให้ผ้เู รียนไดเ้ ลอื กสรรเอาคุณสมบัติ ทัศนคติ และค่านยิ มทีจ่ บั ใจมา
ยดึ ถอื เป็นของตน ปฏิบัติตาม หรอื การสอนคอื การชว่ ยใหค้ นเปล่ยี นแปลงพฤติกรรม

โดยสรุป คาว่าการสอน ตามทศั นะของผูเ้ ขียน หมายความว่า
๑. การสอน มไิ ดห้ มายถึง การใหค้ วามวิชาความรู้หรอื เน้ือหาเทา่ นั้น แตบ่ ังรวมไปถึงการชว่ ย

ให้เด็กคิดด้วยการตั้งคาถามแก่เด็ก การแนะนาและการแนะแนวเพื่อช่วยให้เด็กแก้ปัญหา การให้ความ
ช่วยเหลือแก้เด็กดา้ นตา่ งๆ การให้กาลังใจ และการให้ความรกั

๒. การสอน คอื การนาวญิ ญาณ
๓. การสอน คอื การสร้างสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ข้นึ ในฝา่ ยผเู้ รียน

- สว่ นสงั คมศึกษา คืออะไร
จอห์น จารโ์ รลิเมค กล่าว่า สงั คมศึกษาเป็นวชิ าทว่ี า่ ด้วยความสัมพันธ์ของมนษุ ย์กบั สิ่งแวดล้อม

ทาง ธรรมชาตแิ ละทางสงั คม ทง้ั กล่าวถึงวธิ ีท่ีมนุษยจ์ ะใช้สง่ิ แวดลอ้ มเพื่อสนองความต้องการของตนใน
การดารงชวี ิต

เพลสต้ัน กล่าวว่า สังคมศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของเนื้อหาวิชาสังคมศาสตร์ที่เลือกเฟ้นมาเพื่อ
ใช้สอนเดก็ โดยเฉพาะระดบั ช้ันประถมศกึ ษาและมัธยมศึกษา สังคมศึกษาในระดบั ประถมศึกษาและมธั ยมศกึ ษา
สว่ นมากไดเ้ น้ือหาวิชาสังคมศึกษามาจากสงั คมศาสตร์คือ

๑. ประวตั ิศาสตร์ เปน็ การศกึ ษาเร่ืองอดีตของมนุษย์
๒. ภูมิศาสตร์ เป็นการศกึ ษาเร่ืองความสัมพันธ์ระหว่างมนุษยก์ บั แผ่นดินท่อี ยู่อาศัย
๓. หนา้ ที่พลเมือง เป็นการศึกษาเรือ่ ง สทิ ธหิ นา้ ที่ของมนุษย์
๔. สังคมวิทยา เป็นการศึกษาเกีย่ วกับสถาบนั ของมนษุ ย์ และกระบวนการทางสงั คม
๕. มนุษยว์ ิทยา เป็นการศึกษาเก่ียวกับวฒั นธรรมของกล่มุ ชน
๖. เศรษฐศาสตร์ เปน็ การศึกษาเก่ยี วกบั ผลผลิต การแจกจ่าย และการใชส้ ิ่งท่ีมคี ่าในการแลก
เปล่ยี น และปรากฏการณท์ างสงั คม อันเกิดขึน้ จากกิจกรรมตา่ งๆ
การสอนสงั คมศึกษาท่สี อนในโรงเรียนในประเทศไทย ประกอบดว้ ยวิชาภมู ิศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ หนา้ ที่
พลเมือง และศีลธรรม ซ่งึ จัดเป็นกลุ่มสาระคือกลมุ่ สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ประกอบ ดว้ ย
วิชาดังนี้
๑. ภูมิศาสตร์
๒. ประวตั ิศาสตร์
๓. หนา้ ท่พี ลเมอื ง
๔. ศีลธรรม
๕. สงั คมศึกษา
๖. ประชากรศกึ ษาและสิ่งแวดล้อม
๗. เศรษฐศาสตร์



ความแตกต่างระหว่างสังคมศึกษาและสังคมศาสตร์

สังคมศาสตร์ สังคมศกึ ษา

๑. ความร้เู รอ่ื งความเป็นอยูข่ องมนุษย์ต้ังแต่การกาเนิด ๑. เปน็ วชิ าสงั คมศาสตรท์ ่ีทาให้ง่ายขน้ึ
และการดาเนนิ ชีวติ แก่การเรยี นการสอน

๒. เป็นหมวดหนงึ่ ในวิชาความรทู้ ่ัวไปซงึ่ วิชาความรู้ใน ๒. เป็นวิชาท่ีรวบรวมเอาบางวิชาของ
โลกแบ่งเป็น ๓ ส่วนคือ วิชาสังคมศาสตร์
๑) วิทยาศาสตร์ คือ ส่วนทว่ี า่ ดว้ ยส่ิงทเี่ กิดข้ึนเองตาม
ธรรมชาติ ๓. เป็นวิชาประกอบดว้ ยวชิ าภูมิศาสตร์
๒) สงั คมศาสตร์ สว่ นท่วี ่าดว้ ยการสงั คมของมนุษย์ หนา้ ที่ พลเมือง ศีลธรรม
๓) มนษุ ย์ศาสตร์ คอื สว่ นที่ว่าดว้ ยศิลปะและความรู้ที่
นอกเหนอื จากส่วนแรก ๔. เป็นความรทู้ ั่วๆไปทค่ี ัดเลือกมาแล้วให้
เขา้ ใจวชิ าอื่นๆ ในสังคมศาสตร์
๓. ประกอบด้วยวิชามากมาย เชน่ การศึกษารัฐศาสตร์
สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ เปน็ ตน้

๔. แตล่ ะวชิ าในสงั คมศาสตร์มเี นือ้ หาทลี่ ะเอียดและลึกซง้ึ

จะเหน็ ได้วา่ วชิ าสงั คมศาสตร์ และสังคมศึกษา มขี ้อแตกตา่ งกันระดบั เนื้อหาสงั คมศาสตร์เป็นวิชา
ระดับผใู้ หญ่ แตส่ งั คมศึกษาเป็นวิชาสังคมศาสตรท์ ี่ย่อยให้งา่ ยเพื่อใหเ้ หมาะกับเดก็ ทงั้ สองวิชากลา่ ว ถงึ
คอื

๑. ความสมั พันธ์ระหวา่ งมนุษย์กับมนษุ ย์
๒. ความสมั พนั ธร์ ะหว่างมนุษย์กบั สถาบันทางสังคม
๓. ความสมั พันธ์ระหวา่ งมนุษยก์ บั พื้นแผ่นดนิ ท่อี ยู่อาศัย
๔. ความสมั พันธ์ระหว่างมนษุ ย์กับปัจจยั แห่งการดาเนนิ ชพี

๑.๔ จุดมุ่งหมายของการสอนวชิ าสงั คมศึกษา

Edward A. Krug ไดก้ ล่าววา่ จดุ ประสงค์ของการสอนสงั คมศึกษาไวด้ งั น้ี คือ๓

๑. ด้านสัจจะการแห่งตน ช่วยให้เด็กมปี ระสบการณ์ มีทักษะในการสังเกต การใชภ้ าษา การทา
งานเป็นหมพู่ วก และมีความรับผดิ ชอบในการทางานร่วมกัน

๒. ด้านมนษุ ยสัมพนั ธ์ สงั คมศึกษาช่วยให้เด็กร้จู ักผกู มิตรสมั พันธก์ ับผู้อ่ืน เขา้ ใจและซาบซง้ึ เรือ่ ง
มารยาทอันดีงามของสงั คม บทบาทแต่ละคนในครอบครวั การทางานรว่ มกนั และการปฏิบตั ิตามระบอบ
ประชาธิปไตย

๓. ด้านประสทิ ธิภาพและทางด้านเศรษฐกจิ ช่วยให้พลเมอื งรูจ้ กั ประกอบอาชีพตามความ สามารถ
ของตน และความรับผิดชอบของตน และการทางานน้ันให้ได้ผลดี

๓ Edward A. Krug. อ้างถงึ ใน สมุ ติ ร คณุ านกุ ร,ดร. หลักสตู รและการสอน. (กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์
ชวนพมิ พ์ ,๒๕๔๘) หน้า ๑๓๓.



๔. ความรบั ผิดชอบในฐานะที่เปน็ พลเมือง การสอนหนา้ ท่ีพลเมือง จะช่วยใหน้ ักเรยี นเข้าใจเรือ่ ง
ความรับผิดชอบ และหน้าทีข่ องตนต่อสังคม ต่อประเทศชาติ ในฐานะเป็นพลเมอื ง

สุรนิ ทร์ สรสริ ิ และดารง มัธยมนันทน์ ไดก้ ลา่ วจดุ มุ่งหมายของการสอนวิชาสังคมศึกษาไว้๔ดงั นี้
๑. ป้องกันชีวติ และรักษาสขุ ภาพอนามยั
๒. สงวนและใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกดิ ประโยชน์
๓. เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหว่างบคุ คลกบั รัฐบาล
๔. เข้าใจบทบาทของการศึกษา
๕. จดั ให้มีการแสดงออกทางสนุ ทรียศิลป์
๖. จัดให้มกี ารแสดงออกทางศลี ธรรมจรรยา

๑.๔.๑ ความมุ่งหมายของการสอนสงั คมศกึ ษาในระดบั ประถมศึกษา๕
๑. เพอ่ื เป็นพลเมืองดี มคี วามรู้ ความเข้าใจ และประพฤตปิ ฏิบัติตนอย่างมวี จิ ารณญาณเก่ียว

กบั หน้าที่ของบุคคล ต่อตนเอง ต่อผู้อื่น และต่อสังคม
๒. เพ่อื ใหม้ คี วามรู้ ความเข้าใจ ในความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งมนุษย์ กบั สิง่ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ

และทางสงั คม รวมทงั้ ความรู้ทางดา้ นภมู ิศาสตร์ของประเทศไทย และประเทศเพอ่ื นบา้ น
๓. เพอ่ื ใหม้ คี วามรู้ ความเข้าใจ ในความเป็นมาทางสังคม และทางวฒั นธรรมของชาติ และ

ความภาคภูมใิ จ ในความเป็นไทย
๔. เพอ่ื ปลกู ฝังคุณค่าในทางศีลธรรม วฒั นธรรม โดยเฉพาะท่ีเปน็ เอกลักษณ์ของไทยและ

ปฏิบตั ดิ ้วยความจริงใจ
๕. เพื่อใหม้ ีความเล่ือมใสในการปกครองในระบบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็

ประมุข โดยให้มีการตระหนกั ในหนา้ ท่ี ความรับผดิ ชอบ ปฏิบตั ติ ามขอบเขต แห่งสทิ ธเิ สรีภาพของตนเอง
และผอู้ น่ื

๖. เพื่อตระหนักในความสาคัญ เลื่อมใสและธารงไว้ซ่ึงความมั่นคง ปลอดภัยของประเทศ
และสถาบันชาติ ศาสนา และมหากษตั รยิ ์

๗. เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจ ในความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบั การผลิต การบรโิ ภคและ
การสงวนทรัพยากรธรรมชาติ

๘. เพ่ือให้สามารถนาความรู้ และประสบการณ์ในวิชาสังคมศึกษา ไปใช้ในการแก้ปัญหา
อย่างมีเหตุผล และมีหลักการ

จากข้อมลู ที่นาเสนอมาทาให้มองเห็นได้วา่ การสอนสงั คมศกึ ษาในระดับประถมศึกษา มีความ
ต้อง การปพู ื้นฐานของความเป็นมนษุ ยท์ ีส่ มบรู ณ์

๔ สุมิตร คณุ านกุ ร,ดร. หลกั สตู รและการสอน. (อา้ งแล้ว) หนา้ ๑๓๔.
๕ สุรนิ ทร์ สรสริ ิ และดารง มัธยมนนั ทน์. วธิ ีสอนสังคมศกึ ษา. (พระนคร. โรงพมิ พ์ครุ สุ ภา ลาดพร้าว
๒๕๑๕),หน้าที่ ๒๙.



๑.๔.๒ ความม่งุ หมายของการสอนสงั คมศกึ ษาในระดบั มัธยมศึกษา กาหนดไว้ดังนี้๖
๑. เพ่ือส่งเสริมความเป็นพลเมอื งดีตามระบอบการปกครองประชาธปิ ไตย อนั มี

พระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ
๒. เพ่อื ใหม้ ีความรกั ชาติ มีความสามคั คีในชาติ มคี วามเสียสละเพื่อสว่ นรวม มคี วามซาบซง้ึ ใน

ผล งานอันดเี ดน่ ของคนไทย รจู้ กั ธารงรกั ษาไว้ซึ่งเอกราช และร้จู กั รกั ษาแบบอยา่ งวฒั นธรรม ประเพณี
อนั เป็นเอกลักษณท์ ด่ี ีงามของชาติไทย

๓. เพื่อเสรมิ สร้างให้มีคณุ ภาพในการดารงชวี ติ มีคณุ ธรรมประจาใจ และมีคุณสมบตั ิต่างๆ อัน
พงึ ประสงค์ของสังคมไทย

๔. เพื่อส่งเสริมให้มีความรู้ และความเข้าใจพ้ืนฐานในการพัฒนาสร้างสรรค์ในการแกป้ ัญหาใน
ดา้ น สงั คม เศรษฐกิจและเทคโนโลยีโดยอาศัยคุณธรรมและวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตรเ์ ป็นปัจจัยสาคญั

๕. เพือ่ เสริมสร้างบทบาท หน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบและความสมั พนั ธอ์ นั ดรี ะหวา่ งสมาชกิ ใน
ครอบครัว ในชุมชน ในประเทศ และในประชาคมของโลก

๖. เพื่อใหเ้ กิดความรัก ความผูกพนั กับทอ้ งถน่ิ ของตน ตลอดจนเหน็ คุณค่า มคี วามรับผดิ ชอบ
รวมทง้ั ใหต้ ระหนักคือการอนุรกั ษ์ และพฒั นาทรัพยากรและสิง่ แวดล้อม โดยคานึงถงึ ประโยชน์แก่
ส่วนรวมเป็นสาคญั

สังคมศึกษาเป็นวชิ าท่ีสาคัญท่ีสดุ เพราะวัตถปุ ระสงคว์ ชิ าน้ี คอื การมุ่งอบรมเด็กใหเ้ ป็นพลเมอื งดี
ร้จู ักคิด รู้จักทางานเป็นหมู่ รู้จกั ตดั สินใจให้ถูกต้อง

๑.๕ ความสาคัญของวิชาสังคมศกึ ษา

วิชาสงั คมศึกษานับเป็นวชิ าที่มกี ารจัด การเรียนการสอนมาต้ังแต่คร้ังอดีตแล้ว และเรื่อยมาจนถงึ
ปัจจุบัน นับเป็นวิชาท่ีมีความสาคัญวิชาหนึ่งในหลักสูตรท่ใี ห้นักเรียนเรียนตลอดจนจบหลักสูตรความ
สาคัญของวิชาสงั คมศึกษามีดัง น้ี

๑. วชิ าสงั คมศึกษามงุ่ พัฒนาผู้เรียนให้เป็นพลเมืองดีของสังคม และสามารถนาความรู้ไป
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนินชวี ิตในสังคมได้ โดยเนน้ ให้ผเู้ รยี นเป็นพลเมอื งดีในวถิ ีชวี ิตแบบประชาธิปไตย
ภายใต้การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข

๒. กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมที่ปรากฏในหลักสูตรแกนกลางการ
ศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เน้นใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการอยูร่ ่วมกนั ในสังคมไทย
และสังคมโลกอย่างสนั ตสิ ขุ การเปน็ พลเมืองดีศรัทราในหลักธรรมของศาสนา การเห็นคุณค่าของทรัพยากร
และส่งิ แวดล้อม ความรกั ชาติ และภมู ิใจในความเป็นไทย (กระทรวงศึกษาธกิ าร: ๗)

๓. วิชาสงั คมศกึ ษา เป็นวิชาที่พัฒนาผู้เรยี นให้เกิดความเจริญงอกงามในด้านต่าง ๆ คือด้านความรู้
ดา้ นทักษะ และด้านเจตคติและค่านิยม

ในดา้ นความรู้ สงั คมศึกษาจะให้ความรู้ แกผ่ ู้เรยี นในเนื้อหาสาระที่นามาจากวชิ าตา่ ง ๆ ใน กลุม่
สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ เพื่อให้นักเรียนมีพื้นฐานในการสร้างความคิด กระบวนการคิดอย่าง
มีวิจารณญาณ รจู้ ักการใช้เหตุผล และสังเคราะห์ข้อมลู จนสามารถสรุปเป็นมโนมติและหลักการในทส่ี ุด

๖ กระทรวงศกึ ษาธิการ. หลกั สตู รประโยคมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ หมวดสังคมศึกษา พ.ศ.๒๕๒๐.
(กรงุ เทพมหานคร. กรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๒๐)



ในดา้ นทกั ษะ วชิ าสงั คมศกึ ษาจะฝกึ ฝนทักษะทถี่ ือเปน็ เครื่องมอื หรือวิธกี ารท่ีจาเป็นสาหรับผู้เรยี น ทจ่ี ะ
นาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต

วิชาสังคมศกึ ษามงุ่ พัฒนาใหน้ ักเรยี นมีทักษะท้ังด้านวิชาการ และทกั ษะทางด้านสังคม ทักษะทาง
ด้านวชิ าการ เน้นทกั ษะการแสวงหาความรู้ เช่น ทักษะการอ่าน การตี ความ การสบื ค้นหาขอ้ มูล การ
ใช้แหล่งเรียนรู้ เป็นต้น สว่ นทักษะทางดา้ นสงั คม เน้นการรู้จักอยู่รว่ ม กับผู้อ่ืน การทางานเปน็ กลุ่มการ
แลกเปลีย่ นเรียนรกู้ ับผู้อื่นหรือกล่มุ ความสามารถในการดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมคี วามสุข ในดา้ น
เจตคติ วชิ าสังคมศึกษามุ่งปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและการพัฒนาคา่ นิยมใหเ้ กิดขนึ้ กับผู้เรยี น

คณุ ธรรม หมายถึง หลกั ของความดี ความงาม ความถูกต้องและคณุ ภาพของบุคคล ซึ่งบุคคล
ยดึ มน่ั ไว้เป็นหลักประจาใจในการประพฤติปฏิบัตจิ นเป็นนสิ ัย โดยกระทาตามความคดิ และมาตรฐานของ
สังคม ตามหลักเกณฑท์ างจริยธรรม ทางศาสนา และทางวัฒนธรรม ส่วนจริยธรรมเป็นส่ิงจาเปน็ และมี
ความสาคัญต่อมนุษย์ ทั้งโดยส่วนตนและส่วนรวม เพราะจริยธรรมจะเป็นระบบพฤติกรรมและเจตคติ
ของมนุษย์ ซ่ึงจะเป็นปัจจัยพื้นฐานช่วยให้สังคมมีความสงบเรียบร้อย และก้าวไปสู่การพัฒนาอย่างมี
ระบบ และค่านยิ มเปน็ ลักษณะความเชอ่ื หรือกฎเกณฑ์ทบี่ ุคคลยดึ ถือเปน็ หลักปฏิบัติ ในการดาเนินชวี ิต

การปลูกฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม ตลอดจนการพัฒนาค่านิยมที่พึงประสงค์ให้แก่ผเู้ รียนซึ่งเปน็ เยาวชน
ของประเทศ จะทาใหเ้ ยาวชนเปน็ มนุษย์ที่สมบรู ณ์ เป็นทรัพยากรที่มคี ุณค่าของประเทศ อันจะนามาซ่ึง
การอยู่รว่ มกนั อย่างมคี วามสุขและเป็นระเบียบเรยี บร้อยของสงั คม สังคมจะมคี วามเข้ม แขง็ ในที่สดุ

๔. วชิ าสงั คมศกึ ษาจงึ มีความสาคัญตอ่ ผู้เรียน ช่วยวางพ้ืนฐานการดาเนินชีวิตในสงั คมให้แก่ ผเู้ รียน
เพื่อสร้างผู้เรียนให้เป็นพลเมืองที่มีประสิทธิภาพของประเทศและสังคมโลกอย่างแท้จริง เม่ือพลเมือง
ของประเทศและของโลกมีคุณภาพแล้วย่อมเปน็ กาลังสาคัญ ในการพฒั นาประเทศและโลกส่คู วามเจริญ
และความมั่นคงต่อไป

ดังทห่ี ลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ไดร้ ะบุความสาคญั ของวิชา
สังคมศึกษา ไว้วา่ “กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรมช่วยให้ผู้เรียนมีความรคู้ วาม
เขา้ ใจการดารงชีวติ ของมนุษย์ทงั้ ในฐานะปจั เจกบุคคลและการอยูร่ ว่ มกัน ในสังคม การปรับตัวตาม
สภาพแวดลอ้ ม การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด เขา้ ใจถงึ การพัฒนาเปลีย่ นแปลงตามยคุ สมัย กาล
เวลา ตามเหตปุ ัจจัย ตา่ ง ๆ เกดิ ความเข้าใจในตนเองและผู้อื่น มีความอดทน อดกล้ัน ยอมรับในความ
แตกตา่ งและมีคุณธรรม สามารถนาความรู้ไปปรบั ใช้เป็นการดาเนนิ ชีวิตเป็นพลเมืองดีของประเทศและ
สังคมโลก”๗

๗ กระทรวงศึกษาธกิ าร. หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (กรุงเทพมหานคร.
กระทรวงศกึ ษาธิการ, ๒๕๕๑).หนา้ ๑

๑๐

๑.๖ ประโยชน์ของวิชาสงั คมศึกษา

ประโยชน์ของวิชาสงั คมศึกษาผ้จู ัดทาได้นาคุณภาพของผเู้ รียนมาศึกษา และคิดว่าเม่ือมีการเรียน
การสอนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ผู้เรียนจะได้รับประโยชน์จากการเรียน ตามคุณภาพ
ของผเู้ รยี น ดงั น้ี๘

คุณภาพผเู้ รียน
หลกั สตู รการศึกษาข้ันพ้นื ฐานไดก้ าหนดกลุ่มสังคมศกึ ษา ศาสนา วฒั นธรรม เป็นกลุ่มสาระพน้ื ฐาน
ที่ผู้เรยี นตั้งชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ถึงชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๖ ประกอบดว้ ยศาสตรส์ าขาต่างๆ หลายแขนง
มีลักษณะเป็นพหุวิทยาการ มุ้งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะกระบวนการ มีคุณธรรม จริยธรรม
ค่านิยมที่พึงประสงค์ รวมท้ังได้แสดงบทบาทและความรับผิดชอบ ท้ังต่อตนเอง ต่อผู้อ่ืน และต่อ
สภาพแวดล้อม
องค์ประกอบดังกล่าวจึงทาให้กลุ่มสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีจุดเน้นในการสร้าง
คุณภาพของผู้เรยี นดงั นี้
๑. ยึดมัน่ ในหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนบั ถือสามารถนาหลกั ธรรมคาสอน
ไปใชป้ ฏบิ ตั ิในการอยรู่ วมกันได้ เปน็ ผูก้ ระทาความดี มคี ่านิยมอันดงี าม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมทั้ง
บาเพ็ญตนใหเ้ ป็นประโยชนแ์ ก่สังคมสว่ นรวม
๒. ยึดมัน่ ศรทั ธา และธารงรักษาไวซ้ ่ึงการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์
ทรงเป็นประมขุ ปฏิบตั ติ นเป็นพลเมืองดี ปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมไทย
รวมทงั้ ถ่ายทอดสงิ่ ที่ดงี ามไวเ้ ปน็ มรดกของชาติ เพ่ือสนั ตสิ ุขของสังคมไทยและสังคมโลก
๓. มคี วามสามารถในการบรหิ ารจดั การทรัพยากรใหม้ ปี ระสิทธิภาพ เพ่อื การดารงชวี ิตอย่างมีดุลย
ภาพ และสามารถนาหลกั การของเศรษฐกจิ พอเพียงไปปฏิบตั ไิ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ
๔. เขา้ ใจพัฒนาการของมนษุ ยจ์ ากอดตี จนถงึ ปัจจบุ นั ภาคภูมใิ จในความเปน็ ไทยท้ังในอดีตและ
ปัจจบุ ัน สามารถใชว้ ิธีการทางประวัตศิ าสตรม์ าวเิ คราะหเ์ หตุการณต์ า่ งๆ อย่างเปน็ ระบบ และนาไป
สรา้ งองค์ความรูใ้ หม่ได้
๕. มปี ฏสิ ัมพนั ธ์ท่ีดีงามระหวา่ งมนษุ ย์กบั มนุษย์ มนษุ ยก์ ับส่งิ แวดลอ้ ม เป็นผู้สรา้ งวัฒนธรรม มี
จติ สานึกอนรุ ักษท์ รัพยากรและสิ่งแวดลอ้ มเพื่อการพัฒนาทย่ี ัง่ ยืน ตลอดระยะเวลาท่ีผู้เรียนได้เรียนรู้ตาม
หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน กลุ่มสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ได้มีส่วนส่งเสริม สนับสนุน
และพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพและมีจดุ เน้นเม่ือผูเ้ รียนเรยี นจบปีสดุ ท้ายของแตล่ ะช่วงชัน้ ดงั น้ี

ผู้เรยี นจบช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๓
๑. มคี วามรเู้ รอ่ื งเกย่ี วกบั ตนเองและผู้ที่อยูร่ อบข้าง ตลอดจนสภาพแวดลอ้ มในท้องถิ่น ท่อี ยู่
อาศยั และเช่ืองโยงประสบการณ์ไปส่โู ลกกวา้ ง

๘ กระทรวงศึกษาธิการ. สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ กลุม่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม ในหลักสูตรการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ๒๕๔๔,(กรุงเทพฯ. กระทรวงศกึ ษาธิการ, ๒๕๔๔). หนา้ ๖-๘

๑๑

๒. มีทกั ษะกระบวนการ และมขี ้อมูลทจี่ าเปน็ ต่อการพัฒนาให้เปน็ ผ้มู ีคุณธรรม จรยิ ธรรม
ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตามหลักคาสอนของศาสนาทต่ี นนับถือ มีความเปน็ พลเมืองดี มีความรับผิดชอบ การ
อย่รู ว่ มกันและการทางานกับผอู้ ืน่ มสี ่วนรว่ มในกิจกรรมของหอ้ งเรยี น และไดฝ้ ึกหัดในการตัดสนิ ใจ

๓. มคี วามร้เู รื่องราวเกี่ยวกับตนเอง ครอบครวั โรงเรยี น และชุมชนในลกั ษณะการบูรณาการ
ผูเ้ รยี นได้เข้าใจแนวคิดเก่ยี วกับปจั จุบันและอดีต มคี วามรู้พืน้ ฐานทางเศรษฐกิจ ไดข้ ้อคิดเก่ียวกบั รายรับ-
รายจา่ ยของครอบครัว เข้าใจถึงการเป็นผู้ผลิต ผบู้ รโิ ภค รจู้ ักการออมข้ันตน้ และวธิ กี ารเศรษฐกิจพอเพียง

๔. รู้และเข้าใจในแนวคิดพ้ืนฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่พลเมือง
เศรษฐศาสตร์ ประวตั ิศาสตร์ และภมู ิศาสตร์ เพื่อเปน็ พื้นฐานในการทาความเข้าใจในข้นั ท่สี ูงต่อไป

เมอื่ ผู้เรียนจบชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖
๑. มีความรู้เรื่องของจังหวัด ภาค และประทศของตนเอง ท้ังเชิงประวัติศาสตร์ ลักษณะทาง
กายภาพ สังคมประเพณี และวัฒนธรรม รวมทั้งการเมือง การปกครอง และสภาพเศรษฐกิจโดยเน้น
ความเปน็ ประเทศไทย
๒. มีความรแู้ ละความเข้าใจในเร่ืองศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตนตามหลักธรรมคาสอน
ของศาสนาทต่ี นนับถือ รวมทัง้ มีสว่ นร่วมในศาสนพธิ ี และพิธีกรรมทางศาสนามากยิง่ ขนึ้
๓. ปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิหน้าท่ีในฐานะพลเมืองดีของท้องถ่ิน จังหวัด ภาค
และประเทศ รวมทั้งได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของท้องถิ่น
ตนเอง มากย่งิ ขึ้น
๔. สามารถเปรียบเทียบเรื่องราวของจังหวัดและภาคต่างๆของประเทศไทยกับประเทศเพ่ือน
บ้าน ได้รับการพัฒนาแนวคิดทางสังคมศาสตร์ เก่ียวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าท่ีพลเมือง
เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์ เพ่ือขยายประสบการณ์ไปสู่การทาความเข้าใจในภูมิภาค
ซีกโลกตะวันออกและตะวันตกเกี่ยวกับศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม
ประเพณี วัฒนธรรม การดาเนินชวี ิต การจัดระเบียบทางสังคม และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมจากอดีต
สู่ปัจจบุ ัน

ผู้เรียนจบช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓
๑. มคี วามรเู้ กีย่ วกับความเป็นไปของโลก โดยการศึกษาประเทศไทยเปรยี บเทยี บกับประเทศใน
ภมู ภิ าคตา่ งๆในโลก เพอ่ื พัฒนาแนวคิด เร่อื งการอย่รู ่วมกันอย่างสันตสิ ุข
๒. มีทักษะที่จาเป็นต่อการเป็นนักคิดอย่างมีวิจารณญาณได้รับการพัฒนาแนวคิด และขยาย
ประสบการณ์ เปรียบเทียบระหวา่ งประเทศไทยกับประเทศในภมู ภิ าคต่าง ๆ ในโลก ไดแ้ ก่ เอเชีย ออสเตรเลีย
โอเชียเนยี แอฟริกา ยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ในด้านศาสนา คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม ความ
เชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง ประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์ ด้วย
วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ และสังคมศาสตร์
๓. รู้และเข้าใจแนวคิดและวิเคราะห์เหตุการณ์ในอนาคต สามารถนามาใช้เป็นประโยชน์ ใน
การดาเนนิ ชวี ิตและวางแผนการดาเนนิ งานได้อยา่ งเหมาะสม

๑๒

ผเู้ รียนจบช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๖
๑. มคี วามรูเ้ ก่ียวกับความเปน็ ไปของโลกอยา่ งกวา้ งขวางและลกึ ซ้ึงยงิ่ ขน้ึ
๒. เปน็ พลเมืองท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏบิ ัตติ ามหลักธรรมของศาสนาทต่ี นนับถือ รวมทงั้ มี
ค่านิยมอนั พึงประสงค์ สามารถอยรู่ ่วมกบั ผู้อน่ื และอยใู่ นสงั คมได้อยา่ งมคี วามสขุ รวมทง้ั มศี กั ยภาพเพ่ือ
การศึกษาต่อในชน้ั สงู ตามความประสงค์ได้
๓. มีความรู้เรื่องภูมิปัญญาไทย ความภูมิใจในความเป็นไทย ประวัติศาสตร์ของชาติไทย
ยึดม่นั ในวถิ ีชีวติ และการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ
๔. มีนิสัยท่ีดีในการบริโภค เลือกและตัดสินใจบริโภคได้อย่างเหมาะสม มีจิตสานึก และมีส่วน
ร่วมในการอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมไทย และสิ่งแวดล้อม มีความรักท้องถิ่นและประเทศชาติ มุ่งทา
ประโยชน์ และสรา้ งสิ่งทีด่ งี ามใหก้ ับสังคม
๕. มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของตนเอง ชี้นาตนเองได้ และสามารถแสวงหา
ความรู้จากแหล่งการเรียนร้ตู ่างๆในสงั คมไดต้ ลอดชวี ิต
จากการทว่ี ชิ าสงั คมศึกษา วางเปา้ หมายในการศกึ ษาเล่าเรียนในระดับต่าง ๆ ไว้ เปน็ การสะทอ้ น
ใหเ้ ห็นวา่ หลกั สตู รได้วางวตั ถุประสงคช์ ัดเจนในการศึกษาเล่าเรยี นของเยาวชน คนในชาติ จะเห็นว่า ถา้
การเล่าเรยี นของผู้เรยี นมกี ารพฒั นาตามท่วี างไว้ ก็จะเป็นการพฒั นาคนท่สี มบรู ณ์ กจ็ ะทาใหค้ นในชาติ
พัฒนาไปในทิศทางที่ต้องการ การพัฒนาประเทศชาติก็จะไม่มีปัญหา จึงเกิดประโยชน์โดยรวมกับ
ประเทศโดยตรง วชิ าสงั คมศกึ ษาจึงเป็นประโยชนม์ หาศาลท้ังต่อวงการศกึ ษาและประเทศชาติ

๑.๗ สรุปทา้ ยบท

ความรคู้ วามเข้าใจเบ้อื งตน้ เกี่ยวกับการสอนวชิ าสงั คมศึกษา และเข้าใจการพฒั นาการเก่ียวกับของ
วชิ าสงั คมศึกษา เปน็ บทสรปุ ที่วา่ ดว้ ยความจาเปน็ ของการทาความเข้าใจ และมมี ุมมองท่ีตรงกันในอนั ที่
จะศกึ ษาในหวั ข้อการสอนวิชาสงั คมศึกษา ทจี่ ะเป็นองค์ความรู้ในตัวผูศ้ กึ ษาได้พัฒนาการศกึ ษาและคน
ในชาติ เพื่อให้ผูเ้ รยี นหรือผู้ท่ีศกึ ษาเกยี่ วกบั วชิ าสงั คมศกึ ษาไดม้ ีความรูพ้ ้ืนฐานกอ่ นที่จะทาความ เข้าใจ
ในประเดน็ อ่ืนตอ่ ไป การเรียนรู้วชิ าสังคมศึกษาของนักเรยี นหรอื ผทู้ ีส่ นใจ ถอื ว่าเปน็ เร่ืองสาคัญตามท่ีวา่
แลว้ สามารถจบั ประเด็นสาคัญได้ในการศึกษาดังตอ่ ไปนี้

๑. การศึกษาในหวั ข้อน้เี ป็นการทาความเข้าใจเบ้ืองต้นถึงความหมาย ความสาคัญรวมไปถึงประโยชน์
ของการสอนสงั คมศึกษา ว่ามีความเป็นมาอย่างไร จากประเด็นน้พี อสรุปให้เหน็ ว่าในวชิ าสังคมศึกษามี
ความสาคญั ต่อการศกึ ษาของคนในชาตหิ รอื เยาวชนท่กี าลังอยู่ในช่วงวยั กาลงั ศึกษา ท่ีการศกึ ษาต้องทา
ให้เขาได้ศึกษาถึงการดาเนนิ ชีวิตท่ีถกู ต้อง โดยเฉพาะความเขา้ ใจและการดาเนนิ ชีวิตทต่ี ้องเกยี่ วข้องกับ
ประเทศชาติ หรือเกย่ี วข้องกับคนอ่ืนท่ีเรยี กวา่ สังคมซงึ่ หมายถงึ สงั คมส่วนใหญ่ การมคี วามเขา้ ใจและการ
ดาเนินชวี ิตทีถ่ ูกต้องหมายถงึ การไม่สร้างปญั หาใหส้ ังคมส่วนรวม และค่อยสนบั สนนุ และทาตามสังคมสว่ น
ใหญ่ ถา้ คนมีความเขา้ ใจและเรียนรสู้ ังคมศึกษาแลว้ จะทาให้ การปกครองประเทศหรือคนในประเทศก็
อย่รู ่วมกนั ไมไ่ มป่ ญั หา

๒. การศึกษาในหัวขอ้ นี้ ในฐานะผทู้ จี่ ะไปเป็นผู้สอนวชิ าสงั คมศึกษานนั้ ตวั เองจะต้องเข้าใจอยา่ ง
ถอ่ งแท้ในข้อมลู หรือความเป็นมาและความหมาย ความสาคัญ ของวิชาสังคมศึกษา ซง่ึ หมายถงึ การทา
ตวั เองให้เปน็ ตวั อย่างในสถานะผสู้ อนด้วย

๑๓

คาถามทา้ ยบท

---------------
ตอนท่ี ๑ จงตอบคาถามด้วยการอธิบายข้อคาถามต่อไปให้เข้าใจตามความรูท้ ่ีไดศ้ ึกษามา

๑. ให้นกั เรียนเขยี นความหมายของหลกั สตู รตามความคิดเหน็ ของตนเอง
๒. หลกั สตู รน้ันมอี ยู่กีป่ ระเภท อะไรบา้ ง จงอธิบายมาพอสังเขปตามความเข้าใจ
๓. หลกั สตู รสงั คมศึกษา มีองคป์ ระกอบที่สาคญั อะไรบา้ ง
๔. ลักษณะทีส่ าคัญของหลกั สูตรสงั คมศึกษาแนวใหม่ ทีเ่ หน็ เดน่ ชดั และพอที่จะสรุปได้นั้นมี

อะไรบ้าง จงอธิบาย
๕. เอกสารทเ่ี ป็นหลกั สตู รแนวทางสาหรับครูในการวางแผนการเรียนการสอนให้บรรลุ

วัตถปุ ระสงค์ของหลักสูตรได้ เอกสารประกอบหลักสูตรสาหรบั ครูนั้นได้แก่อะไรบ้าง

ตอนที่ ๒ จงเลือกทาเครือ่ งหมาย  ก ข ค หรอื ง ทเ่ี ห็นว่าถกู ที่สุดเพียงขอ้ เดยี ว
๑. หลักสตู รเรยี กวา่ อีกอยา่ งหนึ่งวา่ อะไร ?

ก. โปรแกรมการศึกษา
ข. โปรแกรมกจิ กรรม
ค. โปรแกรมแนะแนว
ง. โปรแกรมการเรียน
๒. รปู แบบของหลักสตู รชนดิ ที่ทาให้วชิ าแต่ ละวชิ าและหมวดแต่ละหมวดมคี วามสัมพันธ์
สอดคล้องตอ่ เนื่องกันเช่อื มโยงกันโดยไม่ขาด ตอนหลกั สตู รรูปแบบนเ้ี รยี กว่า ?
ก. หลักสูตรสัมพันธ์
ข. หลักสูตรแกนกลาง
ค. หลกั สูตรสหพนั ธ์
ง. หลักสูตรหมวดวิชา
๓. โปรแกรมการเรยี นนน้ั เมือ่ จกั ชว่ งระยะเวลาที่ เก่ยี วข้องใหแ้ ลว้ ควรจะอยใู่ นชว่ งระยะเวลาใด
ก. อดตี
ข. อดีต ปจั จุบนั
ค. ปจั จุบนั
ง. อนาคต
๔. โปรแกรมกจิ กรรมนน้ั ควนจัดอยใู่ นช่วงใด ?
ก. อดตี
ข. อดีต ปัจจบุ ัน
ค. ปจั จุบนั
ง. อนาคต

๑๔

๕. หลักสูตรตามแผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๒๐ หลกั สูตรนน้ั ประกอบด้วยกห่ี ลักสูตร ?
ก. ๒ หลักสตู ร
ข. ๔ หลกั สตู ร
ค. ๖ หลักสูตร
ง. ๘ หลกั สูตร

๖. วตั ถุประสงค์ของหลกั สตู รสังคมศึกษาระบกุ าร พฒั นาการของผู้เรยี นนัน้ ทางด้านใด ?
ก. พุทธิพสิ ยั
ข. เจตพิสัย
ค. ทักษะพิสยั
ง. พุทธิพสิ ยั เจตพิสยั ทักษะพิสัย

๗. วัตถุประสงค์ทางดา้ นเจตคติประกอบดว้ ย
ก. มโนคติ การประยกุ ต์
ข. ความคดิ ความเขา้ ใจ
ค. ความร้สู กึ ความสามารถ
ง. ความร้สู กึ และค่านยิ ม

๘. ปัจจัยขั้นพืน้ ฐานของการเปน็ พลเมอื งดี ตามหลกั สตู รมัธยมศกึ ษา คือ
ก. พทุ ธิพิสัย เจตพิสยั
ข. พทุ ธิพิสยั ทักษะพสิ ยั
ค. เจตพิสยั ทกั ษะพิสัย
ง. พุทธพิ ิสยั เจตพสิ ยั

๙. ขอบเขตของวิชาเพ่ือส่งเสรมิ การเปน็ พลเมอื งดที ่ีมีประสบการณ์กว้างขวางขอบเขตเนื้อหาจึง
ขยายกวา้ งขนึ้ และมีลักษณะเปน็
ก. หลักสตู รหมวดวิชา
ข. หลักสตู รสัมพันธ์
ค. สหวิทยาการ
ง. สหสัมพนั ธ์

๑๐. หลักสตู รแกนกลางนน้ั มีลกั ษณะคลา้ ยกับหลักสตู รอะไร
ก. หลกั สูตรเนอ้ื หาวชิ า
ข. หลักสูตรสหสัมพันธ์
ค. หลักสตู รหมวดวชิ า
ง. หลกั สูตรสหพนั ธ์

๑๖

เอกสารอ้างองิ ประจาบท

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. หลักสูตรประโยคมัธยมศึกษาตอนตน้ หมวดสังคมศึกษา พ.ศ. ๒๕๒๐.
กรุงเทพมหานคร. กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธกิ าร,๒๕๒๐.

--------------. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ในหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ๒๕๔๔, กรุงเทพมหานคร. กระทรวงศึกษาธกิ าร,
๒๕๔๔.

--------------. หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑. กรงุ เทพมหานคร.
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๕๑.

สริ วิ รรณ ศรีพหล. วธิ ีสอนท่ีเน้นผ้เู รียนเปน็ สาคญั ในประมวลสาระชดุ การจดั การเรยี นรู้ หน่อยที่ ๕
นนทบุรี. บณั ฑิตศึกษา, สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช, ๒๕๕๔:

สุมติ ร คณุ านุกร,ดร. หลกั สูตรและการสอน. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ชวนพิมพ์ ,๒๕๕๘.
สุรินทร์ สรสิริ และดารง มัธยมนนั ทน์. วิธสี อนสังคมศึกษา. พระนคร. โรงพิมพ์ครุ ุสภา ลาดพร้าว

๒๕๑๕.

บทที่ ๒

การพฒั นาหลกั สตู รกล่มุ สาระสงั คมศึกษา
ศาสนาและวฒั นธรรม

วัตถปุ ระสงคป์ ระจาบท

๑. เพ่ือให้มคี วามรแู้ ละเขา้ ใจในความเปน็ มาของหลักสตู รวิชาสังคมศกึ ษา
๒. เพอ่ื ใหผ้ ศู้ กึ ษาได้เห็นความสาคญั และประโยชน์ของหลักสูตรสังคมศกึ ษา
๓. เพอ่ื ให้สามารถอธบิ ายหรือบอกต่อเก่ยี วกับหลกั สตู รสงั คมศึกษา
๔. เพือ่ ใหม้ เี จตคตแิ ละความตระหนกั ถึงการใชใ้ นหลักสูตรสงั คมศึกษา
๕. เพอื่ ให้การใช้หลักสตู รสังคมศึกษามีความหมายและนาไปใชไ้ ดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ

ขอบข่ายเนอ้ื หาสาระ

๒.๑ ความนา
๒.๒ หลักสตู รและเอกสารหลกั สตู รสงั คมศึกษา
๒.๓ พื้นฐานแนวคิดการพัฒนาหลักสตู รกลมุ่ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๒.๔ สาระการเรียนรู้ในสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๒.๕ ความสาคญั สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๒.๖ หลกั การหลักสูตรกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
๒.๗ จดุ หมายหลกั สตู รกลุม่ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
๒.๘ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
๒.๙ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
๒.๑๐ กิจกรรมพฒั นาผู้เรียนในหลกั สตู ร
๒.๑๑ สรปุ ท้ายบท

๑๘

๒.๑ ความนา

การเรียนรู้ความเป็นมาของการพัฒนาการของหลักสูตรกลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม จะทาให้ผู้ศึกษาค้นคว้าเข้าใจลึกซึ้งหรือเห็นแนวทางที่ชัดเจน ในการสอนในกลุ่มสาระสังคม
ศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรมดีย่ิงขน้ึ ในกระบวนการของการพัฒนาการของกลมุ่ สาระสังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม คือความเป็นมาพร้อมกันกับการพัฒนาหรือการเปล่ียนแปลงหลักสูตรการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ดังน้ันอาจพูดได้ว่าการพัฒนาการของหลักสูตรสังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม ก็คือ การพฒั นาการของหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานนั้นเอง

ในประเด็นท่ีนาเสนอนี้ เป็นภาพรวมของการพัฒนาหลักสูตรท้ังของหลักสูตรการศึกษาข้ัน
พนื้ ฐานและหลกั สูตรสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ที่มองเหน็ ความเป็นมาและภาพรวมของหลักสตู ร
ท่ีเป็นหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานที่เรียกว่าหลักสูตรแกนกลาง ในส่วนของสังคมศึกษา ศาสนาและ
วฒั นธรรมพร้อมกันนกี้ ็นาเสนอบางสว่ นของหลักสตู รสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ท่ีเป็นหลักสูตร ท่ี
ใช้ในปจั จบุ นั กาลงั ได้รบั การพฒั นาอยู่ในขณะน้ี

๒.๒ หลักสตู รและเอกสารหลักสูตรสังคมศกึ ษา

ประเทศไทยมีการกาหนดทิศทางการศึกษา โดยใช้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.
๒๕๔๒ ประกาศใช้วันท่ี ๒๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๔๒ กาหนดให้สถานศึกษาใช้หลักสูตรการศึกษาขั้น
พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ และได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในการใช้หลักสูตรในปัจจุบัน เป็น
หลักสูตรปรบั ปรงุ ปี พ.ศ.๒๕๕๑ ซึ่งถือเปน็ หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ เป็น
หน้าท่ีของคนไทยทุกคนที่จะช่วยกันในการจัดการศึกษา และในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
มาตร ๒๓ ได้กาหนดเน้ือหาความรไู้ ว้คอื

การจัดการศกึ ษาทัง้ การศึกษาในระบบการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ตอ้ ง
เน้นความ สาคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสมของระดับ
การศึกษา ในเรื่องไว้ต่อไปนี้๑

๑. ความรเู้ ร่ืองเก่ยี วกบั ตนเอง และความสัมพันธข์ องตนในสังคม ได้แก่ครอบครวั ชุมชน ชาติ
และสงั คมโลก รวมถึงความรเู้ ก่ยี วกับประวตั ิศาสตร์ความเป็นมาของสงั คมไทย และระบบการเมืองการ
ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์เปน็ ประมุข

๒. ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งความรู้ ความเข้าใจและ
ประสบการณ์เร่ืองการจัดการ การบารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลย่งั ยืน

๓. ความรู้เกี่ยวกับศาสนา ศิลปวัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปัญญาไทย และการประยุกต์ใช้ภูมิ
ปญั ญา

๔. ความรแู้ ละทกั ษะด้านคณิตศาสตร์ และดา้ นภาษาเน้นการใชภ้ าษาอย่างถกู ต้อง
๕. ความร้แู ละทกั ษะในการประกอบอาชีพ และการดารงชีวติ ย่างมีความสุข
ความรู้ท่ีเกี่ยวข้องกับวิชาสังคมศึกษา เป็นความรู้ท่ีเก่ียวกับตนเอง ความสัมพันธ์ของตนเอง
กับสังคม ได้แก่ ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลก รวมถึงความรู้ที่เก่ียวกับประวัติศาสตร์ความเป็น

๑ สมพร โตนวล, การสอนสังคมศกึ ษา. (กรงุ เทพมหานคร, มหาวิทยาลยั รามคาแหง: ๒๕๕๐),หน้า ๑๐.

๑๙

มาของสงั คมไทย ระบบการเมืองการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์เปน็ ประมขุ
นอก จากนี้ยังเน้นเรื่องของเทคโนโลยีการนามาใช้ การใช้ประโยชน์ให้คุ้มค่า การนา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมาบริหารจัดการ บารุงรักษาให้สมดุลยั่งยืน ความรู้ที่เก่ียวกับ
ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญั ญาไทย การประยุกตใ์ ช้ภูมิปัญญา ตลอดจนความรู้ ทกั ษะ ในการ
ประกอบอาชีพการดารงชวี ติ อยา่ งมีความสุข

ทีใ่ ชใ้ นปัจจุบันคือหลักสูตรการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ และในขณะเดียวกนั ตอนน้ีถงึ
เวลาทห่ี ลกั สูตรการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ ต้องเปล่ียนแปลงถือว่าอยู่ในขั้นกาลังปรบั ปรงุ หรือการ
ดาเนิน การจัดทาหลกั สตู รใหม่ รอทีจ่ ะประกาศใชต้ ่อไป

๒.๓ พน้ื ฐานแนวคิดการพฒั นาหลักสูตรกลมุ่ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

กลมุ่ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม เป็นศาสตร์แห่งการบรู ณาการ หลักสูตรและการเรยี น
การสอนกลุ่มสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม มีลกั ษณะของการเชื่อมโยงสาระการเรยี นรูต้ ่าง ๆ ใน
หลักสตู รเขา้ ด้วยกัน เชน่ วธิ ีการและแนวคดิ ของนักวิทยาศาสตรก์ ระบวนการของนักคณิตศาสตร์ ความ
คดิ สรา้ งสรรค์ของศลิ ปนิ นักดนตรปี ระสบการณ์ของนักศิลปะ และทักษะการสื่อสารถ่ายทอดภาษาออกมา

กลุม่ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สามารถบรู ณาการกับกลุม่ อ่ืน ได้ดังนี้๒
๑) กลมุ่ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรมเชอื่ มโยงได้กับการเรียนกลมุ่ ภาษา ผูเ้ รียนท่ีเรียน
สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ตอ้ งใช้ภาษาเพอ่ื ส่ือสารไดเ้ ปน็ อย่างดี ใช้ภาษาในการใหเ้ หตผุ ลและ
การแก้ ปญั หา ปกป้องรักษาวัฒนธรรมใหค้ งไว้ การพฒั นาทกั ษะทางภาษาในการเรียนกลมุ่ สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม ได้แก่ การอา่ น เขียน พูด ฟังเรื่องราว และการพิจาณาวรรณกรรมตา่ ง ๆ จะเปิด
โลกทัศน์ให้ผู้เรียนได้เข้าใจโลก ด้วยการศึกษาวรรณกรรมเหล่าน้ีในเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม
วรรณกรรม จากส่ิงพมิ พ์ทป่ี รากฏอยใู่ นชวี ติ ประจาวันของผู้เรยี นมมี ากมายที่จะพฒั นาทกั ษะทางภาษาได้
มิใชแ่ ตเ่ ฉพาะจากหนังสอื่ เรยี น ท้ังน้ี เพ่ือขยายประสบการณท์ างสงั คมที่เป็นจริงของผเู้ รียนให้กว้างขวาง
ยิง่ ขนึ้ สื่อเทคโนโลยี ต่าง ๆ และคอมพวิ เตอร์เป็นเครื่องมืออีกทางหนงึ่ ทท่ี าให้ผู้เรยี นพัฒนาทกั ษะภาษา
เพ่ือการส่ือสารได้อย่าง มีประสิทธภิ าพ
๒) กลมุ่ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรมเช่ือมโยงได้กับการเรียนกลุม่ ศิลปะ ศิลปะช่วยให้
ผู้เรยี นได้เข้าใจมุมมองต่าง ๆ เกยี่ วกับโลก งานศิลปะสะท้อนให้ความเป็นจริงของสังคม การเมอื ง เศรษฐกิจ
ใน ยุคสมัยต่าง ๆ ได้ ศิลปะสะท้อนความคิด จิตวิญญาณความหวังของมนุษย์ชาติ เป็นเสมือนบันทึก
หลักฐานวา่ มนุษยเ์ รามชี วี ิต มีความคิดคานงึ อย่างไร ด้วยการนาเสนอมุมมองที่เปน็ เอกลักษณ์ของผู้สร้าง
งานศิลปะนั้น ศิลปะจงึ ชว่ ยให้ผ้เู รียนได้เรียนรโู้ ลกกว้างท่ีเขาอาศยั อยู่ การศึกษาสังคมจากงานศลิ ปะยังทา
ใหผ้ ้เู รียน ไดพ้ ัฒนาความคิดสร้างสรรค์ดว้ ย
๓) กลุ่มสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเช่ือมโยงได้กับการเรียนกลุ่มคณิตศาสตร์
คณติ ศาสตร์เปน็ เครื่องมือทชี่ ว่ ยใหต้ รวจสอบและแกป้ ญั หาต่าง ๆ ผู้เรยี นได้ใช้แนวคดิ ทางคณติ ศาสตร์ใน
การจัดระบบ วิเคราะห์ และนาเสนอข้อมลู ต่าง ๆ ทีส่ ัมพันธ์กับเหตุการณห์ รือประเด็นปัญหาในสงั คมได้

๒ สมพร โตนวล,ผศ. การสอนสงั คมศึกษา. (กรุงเทพมหานคร : สานกั พมิ พ์มหาวิทยาลยั รามคาแหง,
๒๕๕๐), หน้า ๕๑.

๒๐

ท้ังยงั เช่ือมโยง ใหผ้ เู้ รียนได้นาวธิ กี ารแก้ปัญหามาใชเ้ พื่อประเมนิ ความสัมพนั ธ์ของเหตุการณ์ ในอดีตกับ
เงื่อนไขในปัจจุบัน และผลที่จะเกดิ ขนึ้ ในอนาคตไดด้ ว้ ย

๔) กลุ่มสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเชื่อมโยงได้กับการเรียนกลุ่มวิทยาศาสตร์ ทักษะ
กระบวน การทางวิทยาศาสตรช์ ว่ ยให้ผเู้ รียนไดส้ ารวจองคป์ ระกอบทางการเมือง เศรษฐกิจ ลกั ษณะทาง
กายภาพ และวฒั นธรรมท่ีเก่ยี วขอ้ งกนั และทปี่ รากฏอยู่ในสังคมทเี่ ขาอยู่ กลมุ่ สงั คมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรมและวิทยาศาสตรเ์ ช่ือมโยงกันอย่างใกล้ชดิ เกี่ยวกับการศึกษาโลก ทั้งทางกายภาพและทางสังคม
การตรวจ สอบผลของธรรมชาติลสิ่งแวดล้อม ท่ีมีผลต่อการดารงชีวิตในสังคม การนาแนวคิดทาง
วิทยาศาสตร์มาใช้และผลที่เกิดขึ้น ทั้งสองวิชาสามารถเช่ือมโยงให้ผู้เรียนเห็นปัญหาท่ีเกดิ ข้ึนจริง และ
มองเห็นการปฏิบัติเพ่ือกจิ กรรมทางสังคมได้

๕) กลุ่มสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรมเชื่อมโยงไดก้ ับการเรียนกลมุ่ พลศกึ ษาและสุขศกึ ษา พล
ศึกษาและสุขศึกษาช่วยผู้เรียนได้พัฒนาเจตคติ ค่านิยม จริยธรรมและวิธีการต่าง ๆ ท่ีมีอิทธิพลต่อ
กระบวนการแกป้ ญั หา และการตดั สินใจในเรื่องราวต่าง ๆ ไดผ้ ูเ้ รียนสามารถใชท้ ักษะและการปฏบิ ตั ิตน
ทางเพศศึกษา และสุขศึกษามาดารงชวี ติ เพอ่ื พฒั นารา่ งกาย อารมณ์ และจติ ใจให้มีคุณภาพ จึงเปน็ การ
เช่ือมโยงระหวา่ งคุณค่าทางรา่ งกายและสติปัญญา เพื่อการสง่ เสริมการดาเนนิ ชีวติ ทด่ี ีต่อสุขภาพ

๖) กลุ่มสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเช่ือมโยงได้กับการเรียนกลุ่มการงานอาชีพและ
เทคโนโลยี การเรียนการงานอาชีพและเทคโนโลยีมุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ และประสบการณ์
ในงานที่เป็นพน้ื ฐานของวิชาชพี มที ักษะในการทางาน มเี จตคติท่ีดตี ่องานอาชพี มจี ริยธรรม คณุ ธรรมใน
การทางาน และสามารถนาความรู้ ทักษะและกระบวนการเทคโนโลยีไปใชใ้ นการดารงชีวิต ซ่ึงเช่ือมโยง
สัมพนั ธก์ ับการเรยี นรู้กลุ่มสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ทเี่ น้นการดารงชีวติ ในสังคมบนพน้ื ฐานของ
สัมมาอาชีพท่ปี ระกอบไปดว้ ยคณุ ธรรมจริยธรรม และสามารถทางานรว่ มกบั ผ้อู นื่ เนน้ การพัฒนาความ
เปน็ พลเมืองดที ต่ี ้องประกอบอาชพี ท่ีสุจรติ และเป็นประโยชน์ตอ่ ตนและสงั คมสว่ นรว่ มด้วย

ดังน้ัน การเรียนการสอนกลุ่มสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จึงไม่ใช่การเรยี นแต่เนอ้ื หา
ความรู้ แต่ต้องการให้ผู้เรียนเป็นนักการแก้ปัญหา นาความรู้ไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้จัดโอกาสให้
ผเู้ รียนไดส้ ารวจความเป็นไปในสังคมและในโลก พิจารณาว่ามนุษย์ พูด เขียน ประเมิน คิดคานวณ
วิเคราะห์ แก้ปญั หา สรา้ งจิตนาการและพากเพยี รพยามในเรอ่ื งต่าง ๆ กันอยา่ งไร สงั คมศกึ ษาเชื่อมโยง
กิจกรรมที่มนุษย์ทา ทัง้ ในอดีต ปจั จุบนั และอนาคตเข้าด้วยกนั

กล่มุ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมจึงเน้นการเรียนการสอนที่บูรณาการความรู้จากสาระ
การเรียนรู้ต่าง ๆ มาหลอมรวมเข้าด้วยกันในประเด็นปัญหาหรือเรื่องท่ีจะศึกษาการจัดหลักสูตรและ
หน่วยการเรียนรู้ของกลุ่มสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จึงมักเป็นประเด็นปัญหาท่ีบูรณาการ
ลักษณะหนว่ ยการเรียนแบบน้ีจะนามาจากแนวคิดความคิดรวบยอด ปัญหา หรือโครงงาน ที่ต้องการให้
ผู้เรียนได้เช่ือมโยงข้อมูลต่าง ๆ ท่ีเขาแสวงหาและรวบรวมมา ประเด็นปัญหาหรือโครงงานเหล่านั้นอาจ
เป็นเร่ืองที่เกี่ยวข้องกับสาระต่าง ๆ ในกลุ่มสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กลุ่มภาษาไทย กลุ่ม
คณิตศาสตร์ กลุ่มวิทยาศาสตร์ กลุ่มศิลปะ กลุ่มพลศึกษาและสุขศึกษา และกลุ่มการงานอาชีพและ
เทคโนโลยกี ไ็ ด้

ตวั อย่างหน่วยการเรยี นในลักษณะน้ี เชน่ เรียนเรื่องการเปลีย่ นแปลงวฒั นธรรม ความรับผิดชอบ
การพงึ่ พา ความขดั แย้ง ความสมดุล และความขาดแคลนเป็นต้น จะเหน็ ว่า การนาหนว่ ยการเรยี นมาให้
ผ้เู รียนได้เรยี น เป็นเร่ืองทค่ี รูต้องคน้ หา ต้องออกแบบเอง มใิ ชน่ ามาจากหวั ขอ้ ของหนงั สือเรยี นเทา่ น้นั

๒๑

หนว่ ยการเรยี นในลักษณะนีจ้ ะมีลกั ษณะสะท้อนให้เห็นภาพรวมของแนวคิดต่าง ๆ ได้กว้างขวางและลกึ ซ้ึง
มองเห็นวธิ กี ารจดั การเรยี นร้เู พื่อให้ได้ความรู้ในหนว่ ยการเรียนนัน้ ได้หลากหลายวิธี มาวา่ จะดว้ ยการเรยี น
เป็นกลุ่ม เป็นรายบุคคล การศึกษาวิจัย การลงมือปฏิบัติงาน การสารวจภาคสนาม การทดลองใน
ห้องปฏิบัติการและการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เป็นต้น หน่วยการเรียนลักษณะนี้จึงต้องใช้เวลาใน
การศึกษานานพอสมควร สิง่ ทเ่ี รียนจึงจะมีความหมายต่อผู้เรยี น

๒.๔ สาระการเรยี นรู้ในสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม

กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรมว่าด้วยการอยู่รว่ มกันในสงั คม ท่ีมี
ความเชื่อมสัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับ
บริบทสภาพแวดล้อม เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่
เหมาะสม โดยได้กาหนดสาระต่าง ๆ ไว้๓ ดงั นี้

๑) ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนบั ถือ การนาหลักธรรมคาสอนไปปฏบิ ตั ิในการพฒั นา
ตนเอง และการอยรู่ ่วมกนั อย่างสันตสิ ขุ เป็นผูก้ ระทาความดี มคี ่านยิ มที่ดงี าม พฒั นาตนเองอยู่เสมอ
รวมท้ังบาเพ็ญประโยชนต์ ่อสังคมและส่วนรวม

๒) หน้าท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคม
ปัจจุบันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและ
ความสาคัญ การเป็นพลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านยิ ม ความเชอ่ื
ปลูกฝังค่านยิ มด้านประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพการดาเนิน
ชีวิตอยา่ งสนั ติสขุ ในสังคมไทยและสังคมโลก

๓) เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจา่ ย และการบริโภคสนิ ค้าและบริการ การบริหารจัดการ
ทรัพยากร ที่มีอยู่อย่างจากัดอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ การดารงชีวิตอยา่ งมีดลุ ยภาพ และการนาหลัก
เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชวี ิตประจาวัน

๔) ประวัตศิ าสตร์ เวลาและยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์ วธิ ีการทางประวตั ศิ าสตรพ์ ัฒนาการของ
มนุษยชาติ จากอดตี ถงึ ปจั จุบัน ความสมั พันธแ์ ละเปลีย่ นแปลงของเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ผลกระทบท่เี กดิ จาก
เหตุการณ์สาคัญในอดตี บุคคลสาคัญท่ีมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆในอดีต ความเป็นมาของชาติไทย
วฒั นธรรม และภมู ปิ ัญญาไทย แหลง่ อารยธรรมทสี่ าคัญของโลก

๕) ภูมิศาสตร์ ลกั ษณะของโลกทางกายภาพ ลกั ษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และ
ภมู ิอากาศของประเทศไทย และภูมภิ าคต่างๆ ของโลก การใชแ้ ผนท่ีและเคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์
ความสัมพันธ์กนั ของส่ิงต่างๆ ในระบบธรรมชาติ ความสมั พันธ์ของมนุษยก์ บั สภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ
และสิง่ ท่มี นุษย์ สร้างขน้ึ การนาเสนอข้อมูลภมู ิสารสนเทศ การอนุรักษส์ ง่ิ แวดล้อมเพอ่ื การพฒั นาท่ี
ย่งั ยืน

๓ นาตยา ภทั รแสงไทย. ยทุ ธวธิ กี ารสอนสังคมศกึ ษา. (กรงุ เทพมหานคร. สานักพมิ พ์โอเดียนสโตร์.๒๕๔๗)
หนา้ ๔๐.

๒๒

๒.๕ ความสาคญั สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม๔

สงั คมโลกมีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเรว็ ตลอดเวลา กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา
และวฒั นธรรม ช่วยใหผ้ ู้เรยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ วา่ มนษุ ยด์ ารงชีวิตอยา่ งไร ท้งั ในฐานะปจั เจกบุคคล
และการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจากัด
นอกจาก น้ี ยังช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจถึงการพัฒนา เปล่ียนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัย
ต่าง ๆ ทาให้เกิดความเข้าใจในตนเอง และผู้อื่นมีความอดทน อดกล้ัน ยอมรับในความแตกต่าง
และมีคุณธรรม สามารถ นาความรู้ไปปรับใช้ในการดาเนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และ
สงั คมโลก

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่ง
เปน็ กาลังของชาติให้เป็นมนษุ ยท์ ีม่ คี วามสมดุลทงั้ ดา้ นร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มจี ิตสานกึ ในความเปน็
พลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็
ประมขุ มีความรู้ และทักษะปฏบิ ตั ดิ า้ นสขุ ภาพ จนเปน็ กิจนสิ ัย อนั จะส่งผลให้สงั คมโดยรวมมคี ุณภาพ
รวมทงั้ เจตคติท่ีจาเป็นต่อการศึกษาต่อ ประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุง่ เน้นผู้เรยี นเปน็
สาคัญบนพ้นื ฐานความเชือ่ ว่าทุกคนสามารถเรียนรแู้ ละพฒั นาตนเองได้เตม็ ตามศักยภาพ สอดคล้องกบั
ทอ้ งถ่ิน และตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

๒.๖ หลักการหลักสูตรกลุม่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีหลักการท่สี าคญั ๕ ดงั น้ี
๑) เปน็ หลกั สูตรการศึกษาเพ่ือความเปน็ เอกภาพของชาติ มจี ดุ หมายและมาตรฐานการเรยี นรู้
เป็นเป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐาน ของ
ความเป็นไทยควบคู่กบั ความเปน็ สากล
๒) เป็นหลกั สูตรการศกึ ษาเพ่ือปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมโี อกาสได้รับการศึกษาอยา่ งเสมอภาค
และมีคุณภาพ
๓) เปน็ หลกั สูตรการศึกษาทส่ี นองการกระจายอานาจ ใหส้ ังคมมสี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษา
ให้สอดคล้องกบั สภาพและความตอ้ งการของท้องถนิ่
๔) เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นท้ังด้านสาระการเรียนรู้ เวลา และการจัด
การเรียนรู้
๕) เป็นหลกั สูตรการศึกษาท่เี น้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ
๖) เปน็ หลกั สูตรการศึกษาสาหรบั การศกึ ษาในระบบ ครอบคลุมทุกกลุม่ เปา้ หมาย สามารถ
เทยี บโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

๔ สมพร โตนวล,ผศ. การสอนสังคมศกึ ษา. (กรุงเทพมหานคร : สานกั พมิ พ์มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง,
๒๕๕๐). หนา้ ๕๓

๕ สานกั คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ๒๕๕๑.
(กรงุ เทพมหานคร:กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. ๒๕๕๑). หนา้ ๔๐.

๒๓

๒.๗ จุดหมายหลักสตู รกลุ่มสาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม

หลักสูตรกล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เปน็ คนดี
มีปัญญา มีความสขุ มศี ักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จงึ กาหนดเป็นจุดหมายเพ่ือให้เกิด
กับผูเ้ รียน๖ ดังนี้

๑) มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติ
ตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๒)มีความรู้ ความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมี
ทักษะชีวติ

๓) มสี ุขภาพกาย และสขุ ภาพจิตทดี่ ี มีสขุ นสิ ยั และรักการออกกาลงั กาย
๔) มีความรกั ชาติ มจี ิตสานึกในความเปน็ พลเมอื งไทย และพลโลก ยึดม่ันในวิถีชวี ติ และการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมุข
๕) มีจิตสานึกในการอนุรักษว์ ัฒนธรรม และภูมิปญั ญาไทย การอนุรักษ์ และพฒั นาสิง่ แวดลอ้ ม
มีจติ สาธารณะท่ีมุ่งทาประโยชน์ และสร้างส่ิงที่ดงี ามในสังคม และอยู่รว่ มกันในสงั คมอย่างมคี วามสุข

๒.๘ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

ในการพัฒนาผเู้ รียนตามหลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มุง่ เนน้
พัฒนาผเู้ รียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานท่ีกาหนด ซ่ึงจะชว่ ยใหผ้ ้เู รียนเกิดสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะ
อนั พึงประสงค์๗ ดังนี้

สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี น
หลักสตู รกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มงุ่ ให้ผ้เู รียนเกดิ สมรรถนะ
สาคัญของผู้เรยี น ๕ ประการ ดงั นี้
๑) ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรบั และสง่ สาร มวี ฒั นธรรมในการใช้
ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนข้อมูลข่าว
สารและประสบการณ์อนั จะเปน็ ประโยชนต์ ่อการพฒั นาตนเองและสงั คม รวมท้งั การเจรจาต่อรองเพ่ือ
ขจดั และลดปญั หาความขัดแยง้ ต่าง ๆ การเลอื กรับหรอื ไม่รับข้อมูลข่าวสารดว้ ยหลักเหตผุ ลและความถูก
ตอ้ ง ตลอดจนการเลอื กใช้วิธีการส่อื สาร ทีม่ ปี ระสิทธภิ าพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบทีม่ ีต่อตนเองและสงั คม
๒) ความสามารถในการคดิ เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ และการคดิ เป็นระบบ เพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความร้หู รอื
สารสนเทศเพ่ือการตัดสนิ ใจเกี่ยวกบั ตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เปน็ ความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคตา่ ง ๆ
ทีเ่ ผชิญไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสมบนพนื้ ฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เขา้ ใจความ
สัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณต์ ่าง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรูม้ าใช้ในการ

๖ สานักคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน. หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ๒๕๕๑.
(กรงุ เทพมหานคร: กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. ๒๕๕๑). หนา้ ๔.

๗ เรื่องเดยี วกัน,หนา้ ๒๑

๒๔

ปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หา และมีการตดั สินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานงึ ถึงผลกระทบทเี่ กดิ ขนึ้ ต่อตนเอง
สังคมและส่ิงแวดลอ้ ม

๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใชใ้ น
การดาเนินชีวิตประจาวัน การเรยี นรู้ด้วยตนเอง การเรยี นรู้อย่างต่อเน่อื ง การทางานและการอยู่รว่ มกนั
ในสังคมดว้ ยการสร้างเสริมความสมั พันธอ์ นั ดีระหว่างบุคคล การจัดการปญั หาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง
เหมาะสม การปรบั ตวั ให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรจู้ ักหลีก เล่ียง
พฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อนื่

๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลอื ก และใช้ เทคโนโลยดี ้านตา่ ง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร
การทางาน การแก้ปญั หาอยา่ งสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน มงุ่ พัฒนาผเู้ รยี นใหม้ คี ณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้
สามารถอยู่ร่วมกบั ผอู้ ืน่ ในสงั คมได้อยา่ งมีความสขุ ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
๒. ซือ่ สัตย์สุจรติ
๓. มีวินัย
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยู่อยา่ งพอเพียง
๖. มงุ่ มั่นในการทางาน
๗. รกั ความเป็นไทย
๘. มีจติ สาธารณะ

โครงสรา้ งเวลาเรยี น
หลกั สตู รการศึกษาขน้ั พื้นฐานระดับมธั ยมศึกษา แสดงกลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม กาหนดกรอบโครงสรา้ งเวลาเรยี น ดงั นี้

กลมุ่ สาระการเรยี นร/ู้ กจิ กรรม ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ระดบั มธั ยมศึกษา ตอนปลาย
ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ม. ๔ – ๖
ภาษาไทย ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
(๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) ๒๔๐
คณติ ศาสตร์ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ (๖ นก.)
(๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) ๒๔๐
วทิ ยาศาสตร์ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ (๖ นก.)
(๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) ๒๔๐
สังคมศกึ ษา ศาสนา (๖ นก.)
และวัฒนธรรม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๒๔๐
(๓ นก.) (๓ นก.) (๓ นก.) (๖ นก.)

๒๕

สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๑๒๐
(๒นก.) (๒ นก.) (๒ นก.) (๓นก.)
ศิลปะ ๘๐ ๑๒๐
(๒นก.) ๘๐ ๘๐ (๓ นก.)
การงานอาชีพและ (๒ นก.) (๒ นก.) ๑๒๐
เทคโนโลยี ๘๐ (๓ นก.)
(๒นก.) ๘๐ ๘๐ ๒๔๐
ภาษาต่างประเทศ (๒ นก.) (๒ นก.) (๖ นก.)
๑๒๐ ๑,๕๖๐
รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) (๓ นก.) ๑๒๐ ๑๒๐ (๓๙ นก.)
๘๔๐ (๓ นก.) (๓ นก.) ๓๖๐
 กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน (๒๑ นก.) ๘๔๐ ๘๔๐
 รายวิชา / กจิ กรรมที่ ๑๒๐ (๒๑ นก.) (๒๑ นก.) ไมน่ ้อยกวา่ ๑,๕๖๐ ช่ัวโมง
สถานศึกษาจดั เพม่ิ เติม ๑๒๐ ๑๒๐
ตามความพรอ้ มและจดุ เน้น รวม ๓ ปี
รวมเวลาเรียนทง้ั หมด ปีละไม่เกิน ๒๔๐ ชั่วโมง ไมน่ ้อยกวา่ ๓,๖๐๐ ชั่วโมง

ไมเ่ กิน ๑,๒๐๐ ช่วั โมง/ปี

๒.๙ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

หลักสตู รการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ กาหนดให้มี ๘ กลุ่มสาระและ ๖๗ มาตรฐาน คือ๘
- กลุ่มที่ ๑ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย (มี ๕ สาระ ๕ มาตรฐาน)
- กล่มุ ที่ ๒ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (มี ๖ สาระ ๑๔ มาตรฐาน)
- กลมุ่ ที่ ๓ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ (มี ๘ สาระ ๑๓ มาตรฐาน)
- กลุ่มที่ ๔ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม (มี ๕ สาระ ๑๑

มาตรฐาน)
- กลุม่ ที่ ๕ สาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศึกษา (มี ๕ สาระ ๖ มาตรฐาน)
- กลุ่มท่ี ๖ สาระการเรียนรู้ศิลปะ (มี ๓ สาระ ๖ มาตรฐาน)
- กลมุ่ ท่ี ๗ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และเทคโนโลยี (มี ๔ สาระ ๔ มาตรฐาน)
- กลุ่มที่ ๘ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ (มี ๔ สาระ ๘ มาตรฐาน)

สาระการเรยี นรกู้ ลุ่มสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวตั ิ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา

หรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอน่ื มศี รัทธาท่ถี กู ตอ้ ง ยดึ มั่น และปฏบิ ัติ
ตามหลักธรรม เพื่ออยู่รว่ มกนั อย่างสนั ตสิ ขุ
มาตรฐาน ส ๑.๒ เขา้ ใจ ตระหนกั และปฏบิ ตั ิตนเปน็ ศาสนิกชนที่ดีและธารงรักษาพระพุทธศาสนา
หรอื ศาสนาที่ตนนับถือ

๘ เรื่องเดีนวกนั , หน้า ๔๕.

๒๖

สาระท่ี ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนนิ ชีวิตในสงั คม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหนา้ ท่ีของการเปน็ พลเมอื งดี มีค่านยิ มท่ดี ีงาม และ

ธารงรกั ษาประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และ
สงั คมโลกอยา่ งสันติสุข
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดม่ัน ศรัทธา และ
ธารงรักษาไว้ซ่ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เปน็ ประมุข
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส.๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจดั การทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการ
ใช้ ทรพั ยากรท่มี ีอยู่จากดั ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพและคมุ้ คา่ รวมทัง้ เข้าใจหลักการ
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพอื่ การดารงชวี ติ อยา่ งมีดุลยภาพ
มาตรฐาน ส.๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกิจตา่ ง ๆ ความสมั พนั ธท์ างเศรษฐกจิ
และความจาเป็นของการรว่ มมอื กนั ทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก
สาระที่ ๔ ประวตั ศิ าสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็น
ระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพฒั นาการของมนุษยชาตจิ ากอดีตจนถึงปจั จบุ ันในด้านความสัมพันธ์
และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อยา่ งต่อเน่ือง ตระหนกั ถึงความสาคัญและ
สามารถ วเิ คราะห์ผลกระทบทีเ่ กดิ ข้นึ
มาตรฐาน ส ๔.๓ เขา้ ใจความเปน็ มาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรักความ
ภมู ิใจ และธารงความเป็นไทย
สาระที่ ๕ ภมู ิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผล
ต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนท่ีและเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์
ในการค้นหาวเิ คราะห์ สรุป และใช้ขอ้ มูลภูมิสารสนเทศอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหวา่ งมนุษย์กับสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพท่ีก่อใหเ้ กดิ
การสร้างสรรคว์ ัฒนธรรม มจี ติ สานกึ และมสี ว่ นรว่ มในการอนรุ กั ษ์ทรพั ยากร
และสิง่ แวดลอ้ ม เพอื่ การพัฒนาท่ยี ่งั ยืน

๒.๑๐ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนในหลักสูตร

กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียนถือว่า เปน็ ส่วนหน่ึงในกระบวนการของหลกั สูตรสังคมศึกษา ศาสนา
และวฒั นธรรม ท่ใี ห้ความสาคัญเพราะผู้เรยี นจะไดร้ บั การพัฒนาเปน็ ไปเพ่ือตนเองให้อยใู่ นสังคมอย่างมี
ความสุข มุ่งใหผ้ ู้เรียนพฒั นาตนเองตามศกั ยภาพ เสรมิ ให้เป็นผู้มศี ีลธรรม จริยธรรมระเบยี บวนิ ัย สรา้ ง
จิตสานึกของการทาประโยชน์เพอ่ื สังคม สามารถจัดการตนเองได้และอยรู่ ่วมกบั ผู้อื่นได้อย่างมีความสขุ
กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี นมี ๒ ลักษณะ คือ

- กจิ กรรมแนะแนว

๒๗

- กจิ กรรมนักเรียน
๑. กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี ยุวกาชาด นักศกึ ษาวิชาทหาร ผูบ้ าเพญ็ ประโยชน์
๒. กจิ กรรมชมุ นมุ หรือชมรม
- กจิ กรรมพัฒนาสังคมและสาธารณะประโยชน์ (ของเดิมไม่มกี ิจกรรมพฒั นาสงั คมฯ)
- กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมทส่ี ่งเสรมิ และพฒั นาผเู้ รียน ใหผ้ เู้ รยี นรจู้ ักตนเอง ช่วยให้

ครูรู้จกั และเข้าใจนักเรยี น ทง้ั ยังช่วยเหลอื เขา้ ใจผ้ปู กครองในการมีส่วนรว่ มพัฒนาผ้เู รียน
- กิจกรรมนักเรียน สง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นมีวินัย เปน็ ผนู้ าและผู้ตามท่ดี ี เชน่ ลูกเสอื เนตรนารี

ยวุ กาชาด นักศึกษาวิชาทหาร ผู้บาเพ็ญประโยชน์ กจิ กรรมชุมนมุ หรือชมรม
- กิจกรรมพฒั นาสังคมและสาธารณะประโยชน์ เปน็ กิจกรรมท่ีสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนมีจิต

สาธารณะ เชน่ กิจกรรมอาสาพัฒนาตา่ งๆ
ระดับการศึกษาและการมุ่งเน้นแต่ละระดับ จดั การศกึ ษาเป็น ๓ ระดบั คือ
- ประถมศึกษา (๖ ปี)
- มัธยมศกึ ษาตอนต้น (๓ ปี)
- และมัธยมศกึ ษาตอนปลาย (๓ ปี)
- ประถมศึกษา ทงั้ ๘ สาระ เนน้ ทักษะพ้ืนฐานดา้ นการอ่าน การเขียน (ภาษาไทย) การคิด

คานวณ การคิดพ้ืนฐาน การติดต่อส่อื สาร กระบวนการเรยี นรู้ทางสงั คมและพน้ื ฐานการเป็นมนุษย์ เนน้ การ
เรยี นรู้ แบบบูรณาการ

- มธั ยมศึกษาตอนตน้ เนน้ ให้ผ้เู รียนสารวจความถนดั และความสนใจของตนเอง มที กั ษะ
ในการคดิ วจิ ารณญาณ คิดสรา้ งสรรค์ คิดแก้ปญั หา ทกั ษะในการใช้เทคโนโลยี รบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม มี
ความภูมิใจในความเปน็ ไทย

- มธั ยมศึกษาตอนปลาย เน้นความรแู้ ละทักษะเฉพาะด้าน สนองความสามารถ และความ
ถนัดและความสนใจ ของผู้เรียนแตล่ ะคนทัง้ ในดา้ นวิชาการและวชิ าชพี

เวลาเรยี น
- ประถมศึกษา จดั การเรียนเปน็ รายปี เรยี นวันละไมเ่ กนิ ๕ ชัว่ โมง
- มัธยมศกึ ษาตอนต้น จดั เวลาเรยี นเป็นรายภาค มีเวลาเรียนวันละไม่เกิน ๖ ช่ัวโมง ใช้

เกณฑ์ ๑ หนว่ ยกิต เท่ากบั ๔๐ ชวั่ โมง
- มัธยมศึกษาตอนปลาย จัดเวลาเรยี นเปน็ รายภาค มเี วลาเรยี นวันละไมน่ ้อยกวา่ ๖ ชว่ั โมง

ใชเ้ กณฑ์ ๑ หนว่ ยกติ เทา่ กับ ๔๐ ช่ัวโมง

๒.๑๑ สรปุ ทา้ ยบท

จากข้อมูลทีน่ าเสนอเป็นเพยี งบางสว่ นในศกึ ษาการพฒั นาการของหลกั สูตรสงั คมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม จะเห็นวา่ การพัฒนาการหรอื ความเป็นมาของหลกั สูตรสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมโดย
ภาพรวมแล้ว คือการพัฒนาการของของหลักสตู รการศึกษาขั้นพนื้ ฐานนนั้ เอง แตใ่ นรายละเอียดหรือที่
เรยี กวา่ มมุ มองของหลักสูตรหรือสาระการเรยี นรนู้ ั้น ถกู ยบิ ยกขน้ึ ใหเ้ ห็นวา่ หลกั สูตรสังคมศกึ ษาเกย่ี วโยง
กับทุกกล่มุ สาระการเรยี นรู้ แตท่ าใหเ้ ห็นวา่ เป็นเชิงแนวคิดรวบยอกของการเรยี นร้ทู างสงั คม ในประเด็น
ท่ียิบยอนาเสนอคือรายละเอยี ดบางสว่ นของหลักสูตรสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ท่ผี เู้ รยี นจาเป็น
ตอ้ งรู้ โดยเฉพาะแลว้ ในฐานะผ้สู อนกจ็ ะต้องเขา้ ใจและรู้แนวทางในการดาเนินการเรียนการสอน เพราะ

๒๘

อยา่ งที่นาเสนอไว้การจัดการเรยี นการสอนจะตอ้ งเน้นแบบบรู ณาการเขา้ ดว้ ยกนั ในการพฒั นาหลักสูตร
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมนั้น จะเห็นวา่ แต่ก่อนจะมองแบบแยกสว่ นของการจดั การเรยี นการสอน
แตใ่ นปัจจุบันจะต้องมองในมุมท่ีทาอย่างไรใหผ้ ้เู รียนเห็นความสาคัญของการอยรู่ ่วมกันในสังคม และผ้เู รยี น
จะไดล้ งมือปฏบิ ัติหรือฝึกคิด ฝกึ เขยี นและการกระทา อันน้ีคอื เปา้ หมายหลกั ของหลักสูตรสงั คมศึกษา
ศาสนาและวฒั นธรรม


Click to View FlipBook Version