The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ผศ.อนุสรณ์ นางทะราช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by social study, 2021-10-18 09:33:27

การสอนสังคมศึกษา

ผศ.อนุสรณ์ นางทะราช

๒๙

คาถามทา้ ยบท

ตอนท่ี ๑ จงตอบคาถามด้วยการอธิบายข้อคาถามตอ่ ไปให้เขา้ ใจตามความร้ทู ่ีได้ศึกษามา
๑. จงใหอ้ ธิบายความหมายของหลกั สตู รสังคมศึกษา มาพอสังเขป
๒. ทฤษฎี ใดบางท่จี ะนามาประยกุ ตใ์ นหลักสูตรการสอนกับการเรียนการสอนไดด้ ี
๓. หลกั สตู รสงั คมศกึ ษา มีความสาคัญอย่างไร เพราะอะไร
๔. อทิ ธิพลที่มตี ่อการเปลย่ี นแปลงหลักสตู รสงั คมศึกษา มีอะไรบ้าง
๕. นักวิชาการทางหลักสูตรได้กล่าวถึงองคป์ ระกอบของหลกั สูตรทีส่ าคัญ ไวว้ ่าอย่างไรบาง

ตอนที่ ๒ จงเลือกทาเคร่ืองหมาย  ก ข ค หรอื ง ทเี่ ห็นว่าถกู ท่สี ุดเพียงข้อเดียว
๑. หลักสูตรคอื
ก. หลักฐาน
ข. หลักการเรยี น
ค. หลกั ความรู้
ง. การกาหนดรายวิชาให้แกผ่ ้เู รยี น
๒. ความหมายคาว่า หลังสูตร มาจากภาษาละตินว่า
ก. Educational Purpose
ข. Educational Experience
ค. Determination
ง. Racecourse
๓. หลักสตู รแบบแกนกลาง (The Core Curriculum) คือ
ก. เรียนทางตรง
ข. จุดมุ่งหมายทีจ่ ะพฒั นาผ้เู รียนให้มีความรู้
ค. การเรยี นมุง่ ท่ผี สู้ อน
ง. มุง่ ท่หี ลกั สตู ร
๔. ม่งุ สง่ เสริมการเรียนแบบ Active Learning คือ
ก. การใหผ้ ูเ้ รียนเป็นศนู ยก์ ลางและมสี ่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมมากทีส่ ดุ
ข. การเรียนเนน้ กจิ กรรมมากทสี่ ุด
ค. การใหผ้ ู้สอนเปน็ ศนู ย์กลาง
ง. ถกู ทกุ ข้อ
๕. หลกั สูตรของสังคมศกึ ษา จะมวี ชิ าหลายวชิ ารวมเขา้ ด้วยกัน
ก. ภูมศิ าสตร์
ข. ประวัติศาสตร์
ค. หนา้ ที่พลเมอื ง
ง. ถกู ทุกข้อ

๓๐

๖. เศรษฐศาสตร์กบั ชีวิตประจาวนั อยใู่ นสาระทีเ่ ท่าไร
ก. ท่ี ๑
ข. ที่ ๒
ค. ท่ี ๓
ง. ที่ ๔
๗. หลกั สูตรสังคมศึกษาตามแนวใหม่ของไทย พ.ศ. ๒๕๕๑ จดั เปน็ สหสมั พนั ธ์ คอื
ก. หลายวชิ าเขา้ ดว้ ยกัน หรอื เป็นแบบบรู ณาการ
ข. หลายสาขารวมกัน เป็น แบบบรู ณาการ
ค. หลายสตู รรวมกัน เป็น แบบบูรณาการ
ง. ถกู ทกุ ข้อ
๘. มธั ยมศึกษาโดยเอาเนอื้ หาวิชามารวมกนั เปน็ แบบ
ก. Active
ข. Integrated
ค. Curriculum
ง. ไม่มีข้อถูก
๙. Determination of What to Evaluate คือ
ก. การเรียนรู้
ข. ประสบการณ์
ค. วธิ ีการประเมนิ
ง. ความรู้
๑๐. สังคมวทิ ยา มีสาระการเรียนรูใ้ นระดับชน้ั ทเี่ ท่าไร
ก. ที่ ๑
ข. ที่ ๒
ค. ที่ ๓
ง. ที่ ๔

-----------

๓๑

เอกสารอา้ งองิ ประจาบท

สมพร โตนวล,ผศ. การสอนสังคมศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคาแหง,
๒๕๕๐.

นาตยา ภัทรแสงไทย. ยทุ ธวธิ กี ารสอนสงั คมศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร, สานกั พิมพโ์ อเดยี นสโตร.์
๒๕๔๗.

สานักคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน. หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ๒๕๕๑.
กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ. ๒๕๕๑.

บทที่ ๓

การวเิ คราะหห์ ลกั สตู รเพือ่ จัดประสบการณ์การเรยี นรู้
สังคมศึกษา

วตั ถปุ ระสงคป์ ระจาบท

๑. เพ่ือให้นสิ ติ มีความรู้ความเขา้ ใจในการใช้วิเคราะห์หลกั สูตรสงั คมศึกษา
๒. เพื่อให้นิสติ สามารถวิเคราะหห์ ลักสูตรสังคมศึกษาและนาไปใช้ได้
๓. เพ่ือให้นิสิตสามารถนาไปใชเ้ ป็นแนวทางในการจดั ทาเอกสารการสอนรายวิชาสังคม

ศึกษา
๔. เพ่ือให้นสิ ติ สามารถอธบิ ายแนวทางการวเิ คราะหไ์ ปใช้ในการสอนสังคมศึกษา

ขอบข่ายเน้ือหาสาระ

๓.๑ ความนา
๓.๒ ความหมายของการวิเคราะห์หลักสูตร
๓.๓ วัตถุประสงคข์ องการศึกษา
๓.๔ ความสาคัญของการวิเคราะห์หลักสตู ร
๓.๕ หลักการวิเคราะหห์ ลกั สูตร
๓.๖ ลาดบั ขั้นของการวเิ คราะห์หลกั สูตร
๓.๗ การสรา้ งตารางวิเคราะหห์ ลักสตู ร
๓.๘ ประโยชนข์ องตารางวเิ คราะหห์ ลักสตู ร
๓.๙ รูปแบบของการวิเคราะห์หลกั สตู รสังคมศึกษา
๓.๑๐ การวิเคราะหม์ าตรฐานหลักสูตร ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้
๓.๑๑ การวิเคราะหห์ ลกั สตู รรายวชิ า
๓.๑๒ วิธกี ารสรา้ งตารางวิเคราะหห์ ลักสตู รรายวชิ า
๓.๑๓ ตัวอย่างตารางวเิ คราะห์หลกั สตู ร
๓.๑๔ การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้วชิ าสงั คมศึกษา
๓.๑๕ สรปุ ทา้ ยบท

๓๓

๓.๑ ความนา

การวิเคราะห์หลักสูตร เป็นแนวทางและวิธีการท่ีผู้สอนไม่ว่าจะสอนวิชาอะไรต้องทา การ
วิเคราะห์ หลักสูตรในท่ีน้ี หมายถึงการศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรท่ีเป็นหลักสูตรแกนกลาง และในส่วน
ของหลักสตู รสังคมศึกษาเทา่ น้ัน แลว้ นามาแยกแยะวเิ คราะห์ และพิจารณาให้เหน็ วา่ หลกั สตู รกาหนด
ทศิ ทางการศกึ ษาไวว้ ่าอย่างไร โดยดทู งั้ หมดทง้ั จดุ ประสงค์ของหลกั สตู ร รายละเอยี ด รวมไปจนถึงแนว
ปฏบิ ตั ิในการใช้หลกั สตู รทงั้ หมด จากน้ันนามาเขยี นอธบิ ายให้เหน็ แนวทางที่จะสอนในแตล่ ะระดับชน้ั สง่ิ ท่ี
ผู้สอนวิเคราะห์ จากหลักสูตรจะทาให้ผู้สอนเห็นความต้องการของหลักสูตรที่เรียกว่า จุดมุ่งหมาย ของ
หลักสูตรอย่างแท้ จริง ในขณะเดียวกันถ้าเราศึกษาให้เข้าใจ และรู้แนวทางของการวิเคราะห์หลักสูตร
แล้ว การทจี่ ะสอนหรือนาเสนอให้ผู้เรยี นได้ศกึ ษากจ็ ะมีกรอบท่ีชัดเจน ไปในทศิ ทางท่ีถกู ต้อง

ในหวั ข้อนี้ไดน้ าเสนอถึงความสาคัญและประโยชน์และวธิ ีการวิเคราะห์ใหเ้ หน็ ผู้ศึกษาสามารถ
นาไปจัดทาได้ ซ่ึงการวิเคราะห์หลักสูตรน้ันถ้าลงมือทาถือว่าเป็นการเตรียมการสอนอย่างหนึ่ง ที่เรียน
ว่าการวางแผนระยะยาวเปน็ กระบวนการหน่ึงของการเตรียมการสอนของผูส้ อนในช้ันเรียน ส่ิงท่ไี ดก้ ็คอื
ทิศทางการสอนท่ถี ูกต้องเปน็ การท่ดี ดี ังที่กล่าวแลว้ และในขณะเดยี วกนั สงิ่ ท่ไี ด้อีกคอื เอกสารทางวชิ าการ
ที่มคี วามหมาย ทย่ี นื ยนั ถึงการเอาใจใสและการเตรียมการสอนของผู้สอนต่อไป

๓.๒ ความหมายของการวิเคราะห์หลกั สตู ร

การวิเคราะห์หลักสูตร หมายถึง การจาแนกแยกแยะรายละเอียดขององค์ประกอบของ
หลกั สตู รกลางเพื่อนามาสกู่ ารกาหนดเป็นรายละเอียดของหลกั สตู รสถานศึกษา สาหรับการนาไปสู่การนา
หลกั สูตร ไปใชใ้ นระดับชัน้ เรยี น โดยมีความตรงตามหลักสูตรกลาง และสอดคล้องกบั บรบิ ททางสงั คมและ
วฒั นธรรมโดยมคี วามเปน็ มาตรฐานตามหลักสตู รกลางท่ีกาหนดไว้๑

การวเิ คราะห์หลักสตู ร คอื เทคนคิ วิธกี ารซึ่งจะชว่ ยให้ผสู้ อนทราบว่าจะต้องสอน และจะตอ้ ง
ออกข้อสอบอยา่ งไรจึงจะสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรยี นรูแ้ ต่ละวิชา ในการวเิ คราะห์หลกั สตู รนนั้ จะ
ตอ้ งทาการวิเคราะห์ทัง้ ๒ ดา้ นด้วยกัน คอื

๑. วิเคราะห์ดา้ นเนื้อหาทีจ่ ะสอน
๒. วเิ คราะห์ดา้ นวตั ถปุ ระสงค์หรือจดุ ม่งุ หมายของการศกึ ษา

๓.๓ วัตถุประสงค์ของการวเิ คราะห์หลักสตู รสงั คมศกึ ษา

การศกึ ษาถึงการวิเคราะหห์ ลักสตู ร ท่เี ปน็ เหตุปจั จยั สาคญั เพราะการวิเคราะห์หมายถึงการ
ทาความเข้าใจ ในส่ิงท่ีจะสอนให้เห็นแนวทางทช่ี ดั เจนและสามารถนาไปเปน็ แนวทาง ในการดาเนินการ
สอน

ดังน้ันเพ่ือให้เห็นแนวทางที่ชัด ขอนาเสนอในวัตถุประสงค์ที่จะเป็นตัวกาหนดท่ีสาคัญใน
การศกึ ษา ซ่งึ เก่ียวข้องในการวเิ คราะห์ คือการศึกษา เพราะจะเหน็ ทมี่ าของการจัดการเรียนการสอนท่ี
สาคัญ ซง่ึ เป็นวตั ถุประสงค์ของการศึกษา คือ

๑ สถาบันการพลศกึ ษา วทิ ยาเขตชมุ พร, ความรทู้ วั่ ไปเกย่ี วกับการวเิ คราะหห์ ลักสูตร. สบื ค้นจาก (ออนไลน)์
www.ipecp.ac.th/ipecp/cgi-binn/webpili/unit๔/level๔-๑.html. (สบื คน้ วันท่ี ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐).

๓๔

๓.๓.๑ เพื่อดาเนินการสอนตามที่หลักสูตรวางไว้ โดยการวิเคราะห์จะเป็นการเปิดหลักสตู ร
และศกึ ษาหลักสูตรอย่างดี นาไปส่กู ารไดห้ ัวข้อเรื่องทจ่ี ะสอนหรือประเด็นในการสอน โดยยึดตวั
หลักสูตรเป็นหลกั ในการดาเนินการสอน

๓.๓.๒ การจดั การศึกษาโดยท่วั ๆ ไป มีวตั ถุประสงคท์ ี่จะใหผ้ ู้เรียนเกิดการเปล่ียนแปลง
พฤติกรรม ๓ ด้านใหญ่ ๆ คือ๒

๑. ด้านพุทธิพิสยั (Cognitive Domain)
๒. ด้านจิตพิสัย (Affective Domain)
๓. ดา้ นทกั ษะพิสยั (Psychomotor Domain)
ซ่ึงพฤติกรรมแตล่ ะดา้ นแยกออกเปน็ พฤติกรรมย่อย ๆ ได้ดังนี้
๑. ดา้ นพุทธิพสิ ัย
พฤติกรรมด้านพุทธิพิสยั หรือด้านความรู้-ความคิดนั้น มีพฤติกรรมแยกย่อยออกเป็น ๖
พฤติกรรม เรียงตามลาดบั ตั้งแตพ่ ฤติกรรมระดบั ต่าทีเ่ กดิ งา่ ยทสี่ ุดไปสพู่ ฤตกิ รรมระดบั สูง ดังน้ี
๑. ความรคู้ วามจา (Knowledge) ความสามารถในการทรงไว้ รกั ษาไวซ้ ่งึ เร่ืองราวทง้ั ปวง
ของประสบการณท์ ่ผี ่านมาแล้ว รวมทัง้ สงิ่ ทีส่ มั พนั ธก์ ับประสบการณ์นน้ั และสามารถถา่ ยทอดสง่ิ ท่ี
จดจาไว้ออกมาได้อยา่ งถูกต้อง
๒. ความเขา้ ใจ (Comprehension) หายถึง ความสามารถในการแปลความ ตีความ และ
ขยายความ ในเรื่องราวแลเหตุการณต์ ่างๆ
๓. การนาไปใช้ (Application) หมายถึง ความสามารถในการนาหลกั การ กฎเกณฑแ์ ละ
วธิ ีดาเนินการต่าง ๆ ของเรื่องทไี่ ดเ้ รียนรู้มาแล้วน้ัน ไปใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณใ์ หม่ทเ่ี ปน็ ทานอง
เดยี วกนั กบั สถานการณเ์ ดิมได้
๔. การวิเคราะห์ (Analysis) หมายถึง ความสามารถในการแยกแยะเรือ่ งราว ข้อเทจ็ จริง
หรอื เหตกุ ารณ์ใด ๆ ออกมาเป็นส่วนย่อย ๆ ได้ และสามารถบอกว่าสว่ นยอ่ ยน้นั มคี วามสาคัญอยา่ งไร
แตล่ ะสว่ นมาความสัมพันธ์กนั อยา่ งไร ตลอดจนสามารถมองเห็นหลกั การของสง่ิ ต่างๆ ที่มอี ยรู่ ่วมก่อน
๕. การสงั เคราะห์ (Synthesis) หมายถงึ ความสามารถในการรวมสว่ นยอ่ ย ๆ เขา้ เปน็
สว่ นใหญเ่ รื่องราวใหม่เร่ืองเดียวกัน ซึ่งผลจากการรวมนจี้ ะตอ้ งเกิดเปน็ ของใหมท่ ่ีมีหนา้ ที่ใหมท่ ี่แตกต่าง
จากของเดมิ
๖. การประเมินคา่ (Evaluation) หมายถึง ความสามารถในการวินจิ ฉัย ตรี าคาโดยสรุป
อยา่ งมีหลกั เกณฑ์ โดยสิง่ ท่ีถูกประเมนิ นน้ั อาจเปน็ วสั ดุ ส่ิงของ ผลงานท่ีเป็นรูปธรรม หรอื อาจจะเปน็
ความคดิ เห็น หรือทัศนคตทิ เี่ ปน็ นามธรรมกไ็ ด้ ซึง่ ในการประเมินน้นั จะต้องใช้หลกั เกณฑ์ประกอบการ
วินจิ ฉัย
๒. ด้านจิตพสิ ยั
พฤติกรรมด้านจิตพิสยั เป็นพฤตกิ รรมทเี่ ก่ียวกบั อารมณแ์ ละความรู้สกึ ของผู้เรียนทม่ี ตี ่อสิ่ง
ตา่ ง ๆแยกเปน็ พฤติกรรมย่อย ๆ ได้ ๕ พฤติกรรม คือ
๑. การรับรู้ (Receiving) เป็นความรู้สกึ ว่องไวในการท่ีจะรับรตู้ อ่ สงิ่ เรา้ ตา่ ง ๆ

๒ สุรศกั ดิ์ อมรรตั นศักด,ิ์ รศ.ดร.และเตือนใจ เกตษุ า,รศ. ดร., การประเมินผลการศึกษา. (กรุงเทพมหานคร:

มหาวิทยาลยั รามคาแหง. ๒๕๒๖), หนา้ ๔๘-๔๙.

๓๕

๒. การตอบสนอง (Responding) เป็นการแสดงอาการสนองตอบต่อสิ่งเร้าด้วย
ความรู้สึกยินยอมเต็มใจ และพอใจ

๓. การสร้างคุณค่า (Valuing) เป็นการแสดงออกซ่ึงความรู้สึกมีส่วนร่วมต่อสิ่งต่าง ๆ
เช่น การยอมรับ ความชื่นชม และเช่อื ถือ

๔. การจัดระบบ (Organization) เป็นการจดั คุณคา่ ที่มีอยู่แลว้ ให้เป็นระบบ โดยอาศยั
ความ สมั พันธ์กับของสิง่ ทย่ี ดึ ถอื

๕. การสร้างลกั ษณะนสิ ัย (Characteration) เป็นการจัดคุณค่าท่ีมรอยูใ่ ห้เป็นระบบแล้ว
ยดึ ถือ เปน็ ลักษณะนิสัยประจาตวั บคุ คล

๓. ด้านทกั ษะพสิ ัย
พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย เปน็ พฤตติกรรมทเี่ กย่ี วกบั ความชานาญ และทักษะในด้านการ

ปฏบิ ัติแยกออกเปน็ พฤติกรรมยอ่ ย ๕ พฤติกรรม ดังนี้
๑. การเลียนแบบ (Imitation) เปน็ การเลือกหาตังแบบที่สนใจ
๒. การทาตามแบบ (Manipulation) เป็นการลงมือทาตามแบบที่สนใจ
๓. ความถูกต้อง (Precision) เป็นการตัดสนิ ใจเลือกทาแบบทเี่ หน็ วา่ ถูกต้อง
๔. การทาอย่างต่อเน่ือง (Articulation) เปน็ การกระทาส่งิ ทีเ่ ห็นว่าถกู ต้องนั้นได้อยา่ งเปน็

แกน่ สาร
๕. การทาโดยธรรมชาติ (Naturalization) เป็นการทาจนเกิดทักษะสามารถปฏิบัติได้

คล่องแคล่ววอ่ งไว และเป็นธรรมชาติ

๓.๔ ความสาคัญของการวิเคราะห์หลกั สตู ร

เน่ืองจากหลักสูตรแกนกลางเป็นหลักสูตรระดับชาติท่ีจัดทาข้ึนมาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้
สถานศึกษา ได้นาไปใช้เป็นแนวทางในการจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ สามารถพัฒนาเด็กให้มี
คุณภาพตามทีป่ ระเทศกาหนด และใหเ้ ปน็ มาตรฐานเดยี วกัน ความสาคัญของการศึกษาและวเิ คราะห์
หลกั สตู รแกนกลาง

จึงมีความสาคัญสาหรบั สถานศึกษาดงั นี้๓
๑. ทาให้เข้าใจถงึ หลักการสาคัญ ๆ ตลอดจนนโยบายและจุดหมายของการศกึ ษาปฐมวยั ของ
ประเทศ เพอื่ นามาเป็นหลกั การของการพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา
๒. นามาเป็นหลักในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาในแต่ละองค์ประกอบท่ีสอดคล้องกับ
หลกั สตู รแกนกลาง เพื่อให้มีความเปน็ มาตรฐานและเป็นไปตามนโยบายชาติ
๓. สามารถนาแนวคดิ ทฤษฎี หลักการของหลักสตู รมาอธบิ ายถึงการปฏบิ ตั ใิ นการพฒั นาเด็ก
ปฐมวัยได้
๔. สามารถนามาสู่การกาหนดจุดเน้นของหลักสูตรสถานศึกษาที่เป็นไป ตามกรอบของ
การพฒั นาเด็กในหลกั สตู รแกนกลางได้

๓ สถาบนั การพลศึกษา วทิ ยาเขตชมุ พร, ความร้ทู ัว่ ไปเก่ียวกบั การวิเคราะหห์ ลักสูตร. สืบคน้ จาก (ออนไลน)์
www.ipecp.ac.th/ipecp/cgi-binn/webpili/unit๔/level๔-๑.html. (สบื ค้นวันท่ี ๑ มนี าคม ๒๕๖๐).

๓๖

๓.๕ หลกั การวเิ คราะห์หลกั สตู ร

การวิเคราะหห์ ลักสตู ร หมายถึง การจาแนก การแยกแยะ ซึ่งการจาแนกนี้เป็นไปตามหัวขอ้
เรือ่ งวัตถุประสงค์ วิธีการที่จะใช้การจัดทาและเรียบเรียงลาดับ แนวในการวิเคราะห์พิจารณาที่
สาคัญของหลกั สตู ร คือ๔

๑. จดุ ประสงค์ของหลกั สตู ร (Goal)
๒. เน้ือหาของหลักสูตร (Content)
๓. ความสัมพันธร์ ะหว่างจดุ ประสงคแ์ ละเนอ้ื หาของหลกั สูตร
จดุ ประสงค์หรือประโยชน์ท่ีจะไดร้ บั จากการวเิ คราะหห์ ลักสูตรมีดังตอ่ ไปนี้
๑. เพือ่ ใหเ้ กิดความเข้าใจในจุดหมายหรือเป้าประสงค์ (Goal) ของหลกั สตู รอยา่ งแทจ้ รงิ
๒. เพอ่ื ใหเ้ กิดความเข้าใจในจุดหมายปลายทางของการเรียนการสอน ซ่ึงจะตอ้ งจดั ให้
สอดคลอ้ งกับแนวนโยบายและปรชั ญาของรัฐ รวมท้งั แนวทางการพัฒนาประเทศเปน็ ส่วนรวมดว้ ย
๓. เพอ่ื ใหท้ ราบขอบเขตของเนื้อหาแต่ละวชิ า
๔. เพอื่ ใช้เปน็ แนวทางหรือบรรทัดฐานในการกาหนดกระบวนการเรยี นการสอนของแตล่ ะวชิ า
๕. เพอื่ หาสหสัมพันธ์ระหวา่ งวชิ าในหลักสตู รแบบสหสมั พันธ์ (Correiated Curricutum)
๖. เพ่ือการจัดเน้ือหาและประสบการณ์สาหรับผู้เรียนให้เป็นไปตามหลักสูตรแต่สามารถ
ยืดหยุ่น(Flexibilty) ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ชุมชน และคานึงถึงสภาพการณ์ของ
โรงเรยี นแตล่ ะแหง่ ซง่ึ มีความแตกตา่ งกนั
๗. เพ่อื ใหส้ ามารถเลอื กเฟ้นวิธสี อน เทคนคิ หรือกลวธิ ใี นการสอน (Instructional Strategy)
เพอ่ื ใหส้ อดคล้องและเหมาะสมกบั เนื้อหาและความพร้อมของผ้เู รยี น
๘. เพอ่ื ให้สามารถพจิ ารณาเลือกสอื่ การสอน (Instructional Media and Material) ไดอ้ ย่าง
เหมาะสมกับเนือ้ หาท่ีจะสอน
๙. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนได้ทราบขอบเขต (Scope) เค้าโครง (Outline) และรายลพเอยี ด (Details)
ของรายวิชาที่ตนเรียน อันอาจใช้เป็นแนวทางในการเตรียมตัวล่วงหน้า เพ่ือให้เกิดความพร้อมในการ
เรยี นและสามารถเรียนได้เป็นอย่างดีด้วย
๑๐. เพื่อใหส้ ามารถกาหนดล่วงหนา้ และวิธีการวัดและประเมินผล (Measure & Evaluation)
การเรียนการสอนล่วงหน้า ซ่ึงจะเปน็ ประโยชน์ต่อผเู้ รียน และผู้สอนให้มีความเข้าใจตรงกันเปน็ เบ้ืองต้น
ระบบการวัดและประเมนิ ผลจึงจะดาเนินไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
๑๑. เพอื่ ให้สามารถเพมิ่ เติมหรอื ปรบั ปรุงข้อบกพร่องในการดาเนินตามกระบวนการเรียนการ
สอน ซ่งึ อาจาทาได้โดยการซ่อมเสรมิ (Remedial Teaching) และนาวิธกี ารใหมๆ่ หรอื นวตั กรรมทาง
การศกึ ษา (Educational Innovation) เข้ามาใช้ เป็นตน้

๔ สมพร โตนวล,ผศ. การสอนสงั คมศึกษา. (กรุงเทพมหานคร: สานกั พิมพ์มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง, ๒๕๕๐),
หนา้ ๖๔

๓๗

๓.๖ ลาดบั ขัน้ ของการวเิ คราะหห์ ลักสูตร๕

๑. ศึกษาและพิจารณาโครงสร้างของหลักสตู รอยา่ งกวา้ งขวาง
๒. แยกแยะองค์ประกอบของหลกั สตู รออกเปน็ ส่วน ๆ (Part) ได้แก่

๒.๑ จดุ ประสงค์
๒.๒ เนอ้ื หา
๒.๓ อืน่ ๆ ได้แก่ อตั ราเวลาเรยี น จานวนหนว่ ยกิต และข้อบงั คับ การเลือกวิชาเป็นตน้
๓. ทาความเข้าใจในวัตถุประสงค์อย่างถ่องแท้ และจะต้องระลึกเสมอว่าจดุ ประสงค์ (Goal)
เป็น องค์ประกอบทีส่ าคัญ (Main Factor) ของหลักสตู ร เพราะเปน็ ตวั กาหนดแนว หรอื ทิศทางของสว่ น
ทีส่ องคือเน้ือหา (Content) และควรจะดคู วามสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบท้ังสองด้วย
๔. ศึกษาเพื่อให้ทราบรายละเอียดของขอบเขต และแนวทาง
๕. ศึกษารายละเอียดอ่ืน ๆ ไดแ้ ก่
๕.๑ อตั ราเวลาเรียน ๑ สปั ดาห์
๕.๒ จานวนหนว่ ยกติ
๕.๓ ลักษณะของวชิ า (วชิ าบังคับ/วชิ าเลอื ก)
๕.๔ ขอ้ บงั คับ หรอื ข้อแนะนาการเลือกวิชา เช่น ต้องผา่ นวิชาใดวชิ าหนงึ่ หรือหลายวชิ า
มาแล้วจงึ เลือกได้
๖. จัดวางและทาโครงการสอน (Teaching Plan)
๗. ทาตารางวิเคราะห์หลกั สูตร (เนอ้ื หา) เปน็ รายวชิ า
๘. กาหนดกระบวนการเรียนการสอน และแนวทางการวดั ประสบการณข์ องแต่ละวชิ าซึ่ง
ประกอบ ดว้ ย
๘.๑ กาหนดหัวขอ้ เร่ือง (Topic)
๘.๒ กาหนดเรอ่ื งย่อย (Sub topic)
๘.๓ กาหนดมโนทัศน์ (Concept)
๘.๔ กาหนดจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม (Behavioal objectivity)
๘.๕ เลอื กเน้ือหาและรายละเอยี ดทีจ่ ะสอน
๘.๖ เลอื กและกาหนดกิจกรรมการเรยี นการสอน
๘.๗ เลอื กสื่อการเรียนการสอน

- กระบวนการ (Process)
- วัสดุการสอน (Matirials)
๘.๘ กาหนดแนวทางและเคร่ืองมือในการวดั และประเมนิ ผล
๙. จัดทาชุดการสอน
๑๐. การนาไปปฏบิ ตั กิ ารสอบจรงิ
๑๑. ตดิ ตามเพื่อการแก้ไข ปรับปรงุ และใชเ้ ปน็ แนวทางการพัฒนาหลักสตู รและกระบวนการ
เรียนการสอนต่อไป

๕ สมพร โตนวล,ผศ. การสอนสงั คมศกึ ษา. (กรุงเทพมหานคร: สานกั พิมพ์มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง, ๒๕๕๐).

หนา้ ๖๕-๖๖.

๓๘

๓.๗ การสรา้ งตารางวิเคราะห์หลกั สตู ร

เนอ่ื งจากจุดมุ่งหมายสาคัญของการวิเคราะห์หลกั สูตร คือ การทาท่จี ะช่วยใหผ้ ูส้ อนทราบว่า
แตล่ ะวชิ ามีเนอ้ื หาอะไรบ้าง และการสอนเนื้อหานนั้ ๆ ครูต้องการให้ผู้เรยี นเกิดพฤติกรรมอะไรบ้าง
ตัวเลขในตารางวเิ คราะหห์ ลกั สูตร จะเป็นเคร่อื งบ่งบอกว่าครูต้องทาการสอนและทาการทดสอบอย่างไร
จึงจะได้ ผลสอดคล้องกบั จดุ หมายของหลกั สูตร และจดุ ประสงค์ของการสอนแต่ละวิชา ดังน้ัน การ
วิเคราะห์หลักสตู รจงึ มีข้ันตอนดาเนนิ งานใหญ่ ๆ ดงั นี้๖

๑. วิเคราะหเ์ น้ือหาในแต่ละวิชา
๒. วิเคราะหจ์ ดุ มุง่ หมายของการสอนวิชานนั้ ๆ ในรูปของจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
๓. กาหนดน้าหนกั ของแต่ละเนอ้ื หา - พฤติกรรม
เพ่ือให้ได้ตารางวิเคราะห์หลักสูตร ที่มีคุณภาพดีมีผลในทางปฏิบัติ ผู้ดาเนินการวิเคราะห์
หลักสตู รควรดาเนินการตามข้ันตอน ดังน้ี
๑. ตงั้ คณะกรรมการดาเนินการงานวเิ คราะห์หลกั สตู ร

คณะกรรมการท่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์หลกั สูตร ควรมปี ระมาณ ๕ - ๘ คน ถา้ มากกว่านจี้ ะทา
ใหไ้ ม่เกดิ ความคล่องตัวในการทางาน แตถ่ า้ น้อยเกินไปก็อาจทาให้ผลการวิเคราะห์คลาดเคลื่อนคณะกรรมการ
ชดุ หน่ึงควรประกอบด้วย ผู้ทม่ี ีความรเู้ รือ่ งการวดั ผล ๑ คน ผู้ที่มีความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาหลกั สตู ร ๑
คนและครูอาจารย์ที่สอนหรือเกี่ยวข้องกับหมวดวิชาน้ัน ๆ อย่างไรก็ดีในการสร้างตารางวิเคราะห์
หลักสูตรแบบไม่เป็นทางการสาหรับวิชาใดวิชาหนึ่งน้ัน อาจใช้ครู – อาจารย์ท่ีสอนวิชาน้ันทาการ
วิเคราะห์แต่เพียงผู้ เดียวก็ได้

๒. วิเคราะห์เน้ือหา
การวิเคราะหเ์ น้ือหา ควรมผี ู้เชีย่ วชาญในเนื้อหาวิชานน้ั ๆ มาให้คาปรึกษา โดยมี

จุดมงุ่ หมายท่ีจะแยกแยะเนอ้ื หาออกเป็นหน่วยยอ่ ย หรอื บทเรยี นยอ่ ย แลว้ นาเนื้อหานัน้ มาเรียงลาดับ
การสอนจากก่อนไปหลัง การวิเคราะห์เนือ้ หานั้นควรทาทเี ดียวทั้งกระบวนการวชิ า

๓. วิเคราะหจ์ ดุ มุ่งหมาย
การวิเคราะห์จุดมุ่งหมายเป็นการแปลจุดประสงค์ของการสอนออกมา เป็นพฤติกรรมที่

คาด หวังว่าในกรสอนวชิ านห้ี รอื บทเรยี นน้ี ต้องการใหผ้ เู้ รียนเกิดพฤติกรรมด้านใดบา้ ง แลว้ นามาเรียง
อนั ดับให้เหมาะสมจากพฤติกรรมพนื้ ฐานไปสูท่ ซ่ี ับซ้อน ในการแปลจุดประสงค์ออกมาเป็นพฤติกรรมทาง
การศึกษานั้น ผู้วิเคราะห์ควรแปลจากจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (ถ้ามี) หรืออาจจะเป็นแปลจาก
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ของแต่ละวิชาออกเป็นพฤตกิ รรมหลักใหญ่ ๆ ก็ได้

๔. กาหนดน้าหนักของแต่ละเน้อื หาและพฤติกรรมลงในตารางวิเคราะหห์ ลกั สูตร
เมอื่ ไดเ้ นื้อหาและพฤติกรรมท่ีจะทาการวเิ คราะห์ในแตล่ ะบทเรยี นย่อยหรอื ในแต่ละวิชา

แล้ว ใหน้ าเนอื้ หาและพฤติกรรมนั้นมาบันทึกในตาราง

๖ เตอื นใจ เกตุษา,รศ.ดร. การสร้างแบบทดสอบ ๑ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ.ิ์ (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์
ชวนพมิ พ,์ ๒๕๔๐),หนา้ ๔๖ - ๔๗.

๓๙

๓.๘ ประโยชนข์ องตารางวิเคราะห์หลกั สูตร๗

๑. ช่วยทาให้การสอนและการสอบสัมพันธ์กันในด้านการสอนจะทาให้ครู – อาจารย์ทราบ
ว่าจะ ตอ้ งสอนเนน้ หนักในเนื้อหาเร่ืองใดและพฤติกรรมใดจึงจะทาใหน้ าเด็กไปส่จู ุดหมายท่ีวางไว้ ตาราง
วิเคราะห์หลักสตู รจะเป็นเครื่องช่วยแนะให้ครูจดั สรรเวลาสาหรบั ทาโครงการสอน เป็นจานวนหลาย
ชวั่ โมง ต้องมีอุปกรณ์การสอนมายดึ หลักทว่ี ่าเนื้อหาใดสาคัญมากก็ต้องสอนเป็นจานวนหลายชัว่ โมง ต้องมี
อปุ กรณ์การสอนมากเปน็ พเิ ศษ เนื้อหาใดมีความสาคญั นอ้ ยกล็ ดจานวนชว่ั โมงสอนลงมาตามสดั ส่วน
ความสาคญั

ในด้านการสอบตัวเลขจากตารางวิเคราะหห์ ลกั สตู ร จะเป็นเครือ่ งช่วยกาหนดว่าในเนื้อหาใด
ควรออกข้อสอบเปน็ สดั ส่วนเท่าใด เนอ้ื หาใดมีความสาคญั มากก็จะออกข้อสอบวดั มากกว่า เนอ้ หาทม่ี ี
ความ สาคัญนอ้ ย การท่ีออกข้อสอบตามนา้ หนกั ท่กี าหนดไวใ้ นตารางวเิ คราะห์หลกั สตู ร

๒. เป็นประโยชน์ด้านการบรหิ ารการสิเคราะห์หลักสูตรจะช่วยให้ผู้บริหารโรงเรียน ได้
ทราบว่าขณะนแี้ ตล่ ะโรงเรียนไดส้ อนเนน้ หนักในเนื้อหาทีแ่ ตกต่างกนั ไปหรือไม่ และสอนใหเ้ ดก็ เกิด
พฤติกรรมท่ีกระทรวงกาหนดไว้ในจดุ ประสงคข์ องกระทรวงหรอื ไม่

๓. เปน็ เคร่ืองช่วยในการเรียนถ้าครูทาการวิเคราะห์หลักสตู รวิชาใด และติดประกาศให้
นักเรียนทราบก็จะช่วยใหน้ ักเรียนไดเ้ ตรียมตัวเรยี นไดต้ รงแนวได้ดียิ่งข้ึน เพราะเขาจะทราบวา่ ถา้ จะเรยี น
วิชานัน้ ๆ ให้ได้ดคี วรจะสนใจศกึ ษาเน้ือหาใดมาเปน็ พิเศษ จงึ ถอื ได้วา่ ตารางวิเคราะห์หลักสตู รคือ
ขอ้ ตกลงรว่ ม กันระหว่างผสู้ อนกับผ้เู รียน

๓.๙ รปู แบบของการวเิ คราะหห์ ลักสูตรสงั คมศึกษา

การวเิ คราะห์หลักสตู รแบบอิงกลุ่ม๘
การสร้างตารางวเิ คราะห์หลักสตู รแบบองิ กลุม่ ของแต่ละวชิ าควรทาเปน็ รูปของคณะกรรมการ
ซง่ึ ในที่น้ีเป็นตัวอย่างการวเิ คราะห์หลกั สตู รแบบกาหนดนา้ หนกั รวมเป็น ๑๐๐ % มขี น้ั ตอนการ
วเิ คราะห์ดังนี้
ขั้นท่ี ๑ พจิ ารณาจุดมงุ่ หมายของหลกั สตู รแต่ละขอ้ วา่ กลา่ วถงึ พฤติกรรมใด
ขัน้ ท่ี ๒ นาจุดม่งุ หมายทีพ่ จิ ารณาได้มายบุ สิ่งทซ่ี ับซ้อน
ขั้นที่ ๓ นาเอาพฤติกรรมดังกล่าว มาตีความหมายตามลกั ษณะของแต่ละวชิ า
ขัน้ ที่ ๔ พจิ ารณาแยกแยะเนื้อหาเพื่อใชใ้ นการสอนและการสอบ
ขน้ั ท่ี ๕ นาเอาพฤติกรรมในขั้นที่ ๓ และเนือ้ หาในขั้นท่ี ๔ มากาหนดนา้ หนักความสาคัญทจ่ี ะ
วัด
ขน้ั ที่ ๖ นาเอาพฤติกรรมในขั้นท่ี ๓ และเนื้อหาขน้ั ที่ ๔ มาเขยี นลงในตาราง ใหส้ ัมพนั ธ์กัน
พร้อมท้ังเขยี นน้าหนักความสาคัญท่ีกาหนดไวใ้ นข้ันที่ ๕ ลงในตาราง

๗ เตือนใจ เกตุษา, รศ.ดร. การสรา้ งแบบทดสอบ ๑ (แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ)์ิ . (กรงุ เทพมหานคร: โรง

พิมพ์ชวนพมิ พ,์ ๒๕๔๐), หนา้ ๔๗.
๘ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชมุ พร, ความรทู้ ่ัวไปเกย่ี วกบั การวิเคราะห์หลักสูตร. สืบคน้ จาก

www.ipecp.ac.th/ipecp/cgi-binn/webpili/unit๔/level๔-๑.html. (สบื ค้นวันท่ี ๑ มีนาคม ๒๕๖๐).

๔๐

ข้นั ท่ี ๗ ทาเปน็ ตารางเฉลี่ย โดยเอาตารางของผูส้ อนแต่ละคน นานา้ หนักความสาคัญของแต่

ละชอ่ ง

การวเิ คราะห์หลักสตู รแบบอิงเกณฑ์

การวเิ คราะหห์ ลกั สตู รแบบอิงเกณฑ์คล้ายกบั การทาตารางวิเคราะห์แบบองิ กลมุ่ แต่ไม่

จาเปน็ ต้องใหน้ ้าหนักคะแนนตามชอ่ งสมั พันธ์กับเน้ือหาและพฤติกรรม เพยี งแตแ่ สดงให้เห็น โดยการทา

เคร่ืองหมายว่าชอ่ งน้ีตอ้ งการปลูกฝังใหเ้ ดก็ มีพฤตกิ รรม และเขยี นจุดม่งุ หมายเชงิ พฤติกรรมให้กระจ่าง

เพ่อื ใช้ในการสอนและการสอบ ซง่ึ ควรแยกเนื้อหาเปน็ ตอน ๆ ท่ีคาดว่าจะสอบยอ่ ยครงั้ หน่ึง ๆ แลว้

พิจารณาวา่ เนื้อหาน้นั ควรมีการปลกู ฝังใหน้ ักเรียนเกดิ พฤติกรรมใดแล้วขีดเครอ่ื งหมายกากบาท (X) ดงั

ตัวอย่างในตาราง

ตวั อยา่ ง ตารางวิเคราะหห์ ลกั สตู รแบบอิงเกณฑ์

ตารางวิเคราะห์หลักสูตรแบบนี้เป็นเครอ่ื งชว่ ยใหผ้ สู้ อนและผู้สอบเข้าใจตรงกนั ตามความ

ตอ้ งการของหลักสูตร จานวนขอ้ สอบข้ึนอยู่กบั ผู้สอนเปน็ ประการสาคัญ ควรมขี ้อสอบไม่เกนิ ๒๕ ขอ้

(๒๐ –๒๕ ข้อ) และใช้เวลาสอบประมาณ ๒๐ – ๒๕ นาที

จากการวเิ คราะห์หลักสตู รแบบอิงเกณฑ์นี้ อาจนามาเขยี นจุดมุ่งหมายเชงิ พฤติกรรมแต่ละขอ้

ดงั ตัวอยา่ ง

๑. พฤติกรรมที่จะวัด : ความจาเกีย่ วกบั ส่วนประกอบของตา

จุดม่งุ หมายเชิงพฤติกรรม : เม่ือนกั เรียนเรียนสว่ นประกอบของตาแล้ว

๑) นกั เรยี นสามารถบอกสว่ นประกอบของตาได้

๒) นกั เรยี นสามารถชี้ สว่ นประกอบของตาได้

๒. พฤตกิ รรมท่ีจะวดั : ความจาเก่ียวกับหน้าท่ีและประโยชน์ของตา

จดุ มุง่ หมายเชิงพฤติกรรม : เมื่อนักเรยี นเรยี นหน้าท่ีและประโยชนข์ องตา

๑) นักเรยี นสามารถบอกหนา้ ที่และประโยชนข์ องตาได้

๒) นกั เรียนสามารถบอกหน้าทแี่ ละประโยชนข์ องส่วนประกอบของตาแตล่ ะสว่ นได้

๓. พฤตกิ รรมท่จี ะวัด : ความจาเกี่ยวกับการดูแลรักษาตา

จุดมุ่งหมายเชิงพฤตกิ รรม : เม่อื นักเรยี นเรียนการดูแลรักษาตา

๑) นกั เรียนสามารถบอกข้นั ตอนในการดูแลรกั ษาตาได้

๒) นักเรยี นสามารถเปรยี บเทียบผลเสียของการใชต้ าในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ได้

พฤตกิ รรม/เน้ือหา ความจา นาไปใช้ วเิ คราะห์ การประเมนิ ค่า

๑. สว่ นประกอบของตา X

๒. หน้าทข่ี องตา X

๓. ประโยชน์ของตา XX

๔. การดูแลรักษาตา XX X

การเขยี นจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม หรือพฤติกรรมหลกั ทีต่ ้องการให้นกั เรียนเกิดพฤติกรรมนัน้

การเขียนจดุ มุ่งหมายเชงิ พฤติกรรม ตอ้ งเขียนให้ผู้สอนและผสู้ อบสามารถปฏิบัติและสงั เกตได้จริง

๔๑

๓.๑๐ การวเิ คราะห์มาตรฐานหลักสตู ร ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้

ในการสรา้ งหลกั สูตรสถานศกึ ษานั้นจะต้องมีการศึกษาและวเิ คราะหห์ ลกั สตู รของชาติในส่วน
ของมาตรฐานหลักสูตร ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวฒั นธรรม๙

สาระที่ ๑ ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอ่ืน มีศรัทธาท่ีถูกต้อง ยึดม่ัน และปฏิบัติตามหลักธรรม เพ่ืออยู่
ร่วมกันอย่างสนั ติสขุ
มาตรฐาน ส ๑.๒ เขา้ ใจ ตระหนกั และปฏิบัตติ นเปน็ ศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษาพระพทุ ธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ
สาระที่ ๒ หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสงั คม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าท่ีของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม
และธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่าง
สันติสุข
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดม่ัน ศรัทธา และ
ธารงรักษาไวซ้ ่ึงการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข
สาระท่ี ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบรหิ ารจดั การทรัพยากรในการผลติ และการบริโภค การ
ใชท้ รพั ยากรทม่ี ีอยจู่ ากดั ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพและคมุ้ ค่า รวมทัง้ เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพยี ง
เพื่อการดารงชวี ิตอย่างดุลยภาพ
มาตรฐาน ส ๓.๒ เขา้ ใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกจิ ตา่ ง ๆ ความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกจิ
และความจาเปน็ ของการรว่ มมือกันทางเศรษฐกจิ ในสงั คมโลก
สาระท่ี ๔ ประวตั ศิ าสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมายความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
สามารถใช้วธิ กี ารทางประวตั ิศาสตรม์ าวเิ คราะหเ์ หตกุ ารณ์ตา่ งๆ อยา่ งเปน็ ระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เขา้ ใจพัฒนาการของมนุษยชาตจิ ากอดีตจนถงึ ปจั จุบนั ในดา้ นความสัมพันธ์
และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเน่ือง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถวิเคราะห์ผล
กระทบทเ่ี กดิ ข้ึน
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก
ความภูมิใจและธารงความเป็นไทย
สาระท่ี ๕ ภมู ศิ าสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธข์ องสรรพสงิ่ ซ่ึงมีผล
ต่อกนั และกันในระบบของธรรมชาติ ใชแ้ ผนทแี่ ละเครอ่ื งมือทางภูมิศาสตร์ ในการคน้ หา วิเคราะห์ สรุป
และ ใชข้ อ้ มลู ภมู ิสารสนเทศอยา่ งมีประสิทธิภาพ

๙ สานักคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน. หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ๒๕๕๑.

(กรงุ เทพมหานคร: กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๕๑). หน้า ๔-๕.

๔๒

มาตรฐาน ส ๕.๒ เขา้ ใจปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งมนุษย์กับสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพท่กี ่อใหเ้ กิด
การสรา้ งสรรค์วัฒนธรรม มจี ติ สานกึ และมสี ว่ นรว่ มในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรและส่งิ แวดลอ้ ม เพื่อการ
พฒั นาที่ยั่งยนื

๓.๑๑ การวเิ คราะหห์ ลักสูตรรายวชิ า

การวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา โดยทั่วไปแล้วจะทาในรูป ของกรรมการ ซึ่งมีประมาณ
๕-๘ คนเพ่ือให้เกิดความคล่องตัวในการทางานและไม่น้อยเกินไป เพราะอาจทาให้ผลการวิเคราะห์
คลาด เคล่อื นคณะกรรมการควรประกอบดว้ ย นกั วดั ผลการศึกษา ๑ คน ผูท้ รงคณุ วุฒดิ า้ นการพฒั นา
หลักสูตรหรือการวเิ คราะห์หลักสตู ร ๑ คน และผ้สู อนในรายวิชานนั้ ๆ

ขน้ั ตอนกาวเิ คราะห์หลักสูตรรายวิชา๑๐ มดี งั น้ี
๑. วิเคราะห์จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ของวิชา และวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม ว่าเป็น
พฤติกรรมจุดหมายปลายทางอะไรบ้าง ทจี่ ะให้เกิดกบั ผูเ้ รยี นเม่ือเรียนวิชาน้ัน ๆ จบแลว้
๒. วิเคราะห์เนอ้ื หาวชิ าตามวัตถุประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม โดยการแยกแยะเนื้อหาออกเป็นหนว่ ย
ย่อยหรือบทเรยี นยอ่ ย แลว้ นาเนื้อหาน้นั มาเรียงลาดับการสอนจากก่อนไปหลัง
๓. ออกแบบรายวิชา เพ่ือนาวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมและเน้ือหาวิชาไปสร้างตาราง
วิเคราะห์หลกั สูตรรายวิชา
๔. สรา้ งตารางวิเคราะห์หลักสตู รรายวชิ า

๓.๑๒ วธิ กี ารสรา้ งตารางวิเคราะหห์ ลักสตู รรายวิชา (Table of Specifications)


การสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา เป็นตารางสองมิติ แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง
เน้ือหากับจุดมุ่งหมาย มิติแรกบ่งบอกเกี่ยวกับเนื้อหา มิติที่สองเป็นจุดมุ่งหมาย จุดมุ่งหมายอยู่ใน
แนวนอน และเน้ือหาวชิ าอยู่ ในแนวต้ัง การสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตรนี้ ควรจะสรา้ งก่อนการเรียน
การสอน เพราะจะช่วยให้ผู้สอนทราบ ว่าควรจะสอนเน้ือหาใด เน้นอะไร ใช้วิธีสอนอย่างไร จึงจะเกิด
การเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมของผู้เรียนตามท่ีตอ้ งการ และจะชว่ ยให้การออกข้อสอบมีความเท่ียงตรงตาม
เน้อื หาด้วยการกาหนดนา้ หนักในตารางวเิ คราะห์หลักสูตรรายวชิ าแตล่ ะช่องทาได้ ๒ วิธี ดังนี้

๑. กาหนดน้าหนักในแต่ละช่องใหม้ ีคะแนนเต็มเท่ากับ ๑๐ คะแนน แลว้ ให้คณะกรรมการแต่
ละคนให้ คะแนนเน้ือหนักในแต่ละช่อง จากนั้นจงึ เอาคะแนนของกรรมการแต่ละคนของแตล่ ะช่อง มาหา
ค่า เฉลี่ย เพ่ือทจ่ี ะเป็นน้าหนักของชอ่ งน้ัน ทาจนครบทกุ ช่อง จะไดน้ า้ หนักของทุกชอ่ ง หรอื

๒. กาหนดนา้ หนักลาดับความสาคญั ในแถวลา่ งสดุ ซึ่งเป็นนา้ หนักของแตล่ ะจดุ มุ่งหมายหรือ
แตล่ ะพฤตกิ รรมก่อน หลังจากน้นั จึงกาหนดน้าหนกั ของแตล่ ะเนือ้ หาหรือน้าหนกั ของแต่ละหวั ขอ้ วชิ า
ทาง ด้านขวามือสุดแลว้ จึงใส่นา้ หนักแต่ละช่องโดยการเทยี บบัญญตั ไิ ตรยางศ์

๑๐ กรองได อณุ หสูต, ผศ.ดร. การสร้างตารางวเิ คราะห์หลักสูตรรายวิชา. บทความทางวิชาการ : ภาค
วชิ าการพยาบาลศลั ยศาสตร.์ (ออนไลน์) www.ns.mahidol.ac.th/english/th/degree./การสร้างตารางวเิ คราะห์
หลักสตู ร.pdf. (สบื ค้นวันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๐).








































































Click to View FlipBook Version