The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตำบลหนองโก อำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by social study, 2021-05-11 00:30:13

4-นางสาวณัฏฐธิดา สีหาราช ๖๐๐๕๕๐๒๐๑๗

ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตำบลหนองโก อำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น

รายงานการศกึ ษาอสิ ระทางสังคมศกึ ษา

เร่อื ง
ปัจจัยทีส่ ง่ ผลตอ่ การเรียนรายวิชาภมู ิศาสตร์ ของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๒

โรงเรยี นบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวดั ขอนแกน่

โดย
นางสาวณัฏฐธดิ า สหี าราช
รหัสนิสิต ๖๐๐๕๕๐๒๐๑๗
ชนั้ ปที ี่ ๔ สาขาวิชาสังคมศกึ ษา คณะครุศาสตร์

รายงานการศึกษาอิสระทางสังคมศกึ ษาฉบบั นี้ เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา
ศึกษาอิสระทางสงั คมศึกษา (๒๐๓ ๔๒๐) ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศึกษาที่ ๒๕๖๓

หลักสตู รพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสงั คมศึกษา คณะครศุ าสตร์
มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่



ช่อื งานวจิ ยั : ปจั จัยทสี่ ง่ ผลตอ่ การเรยี นรายวิชาภูมศิ าสตร์ ของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีที
๒ โรงเรยี นบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จงั หวัดขอนแกน่
ผูว้ จิ ัย : นางสาวณัฏฐธดิ า สหี าราช
พทุ ธศาสตรบัณฑติ คณะครุศาสตร์ สาขาวชิ าสงั คมศกึ ษา
ปรญิ ญา : อาจารย์พันทิวา ทบั ภมู ี
๒๕๖๓
อาจารยท์ ่ีปรึกษา :

ปกี ารศกึ ษา :

บทคัดยอ่

การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของ
นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น
มีรูปแบบการวิจับเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ในการวิจัย นักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๒ จานวน ๑๙ คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม สถิติท่ีใช้ในการ
วเิ คราะห์ข้อมูล ไดแ้ ก่ ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉล่ยี ( ) สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.)

ผลวจิ ัยพบว่า
ปัจจัยท่ีส่งผลกระทบต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น โดยภาพรวม อยใู่ นระดับมาก
( = ๓.๕๕ , S.D = ๐.๑๗) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ปัจจัยด้าน
ส่ือการสอน อยใู่ นระดับมากท่ีสุด ( = ๔.๓๖ , S.D = ๐.๒๑) ปัจจยั ด้านครอบครัว อยใู่ นระดับมาก
( ๓.๙๙ , S.D = ๐.๔๙ ) ปัจจัยด้านผู้เรยี น อยูใ่ นระดบั ปานกลาง ( = ๓.๔๔ , S.D =๐.๔๘ ) และ
ปจั จัยด้านครู อยู่ในระดับน้อย ( = ๒.๓๙ , S.D =๐.๑๙)

กิตติกรรมประกาศ

รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่อง ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของ
นกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น
ฉบับนี้สาเร็จลุล่วงได้เป็นอย่างดี ซ่ึงได้รับความอนุเคราะห์จากอาจารย์ท่ีปรึกษา อาจารย์พันทิวา ทับ
ภูมี และคณะอาจารย์ประจาสาขาวิชาสังคมศึกษา ที่ได้กรุณาให้ความช่วยเหลือให้ความรู้ ความ
คิดเห็น คาแนะนา ให้คาปรึกษา ตลอดจนการตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ เป็นอย่างดีจน
รายงานการวจิ ยั ในครัง้ นเี้ สรจ็ สมบูรณ์ ซึ่งผวู้ จิ ยั ขอขอบคณุ ในความกรุณาเปน็ อย่างสูง

ขอบคุณโรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น ท่ีให้ความ
สะดวกในการเก็บรวบรวมข้อมูล พร้อมกับช่วยเหลอื ในเรอื่ งของเอกสารข้อมูลในการทางานการศึกษา
คน้ ควา้ อสิ ระ และประสบการณ์ในการทาการศกึ ษาคน้ ควา้ อิสระในครัง้ นี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี

ขอขอบคุณคณาจารยน์ ักวิชาการทุกท่าน ที่เป็นเจ้าของหนังสือและงานวิจัยท่ีมีคุณค่าซง่ึ ท่าน
ได้เขยี นไว้ใหไ้ ด้ศึกษาค้นคว้า เพื่อเป็นข้อมลู ประกอบในการเขียนงานการศึกษา ค้นคว้าอิสระในคร้ังนี้
และที่ขาดไม่ได้คอื คณะทีมงานผู้จัดทางานการศึกษาคน้ คว้าอิสระท่ีได้ช่วยเหลือร่วมมือและสนบั สนุน
การศึกษาคน้ คว้าอิสระดว้ ยดมี าโดยตลอด

รายงานการศึกษาคน้ คว้าอิสระ ฉบับนี้ผจู้ ดั ทางานวจิ ยั หวังว่าจะเปน็ ประโยชนแ์ ก่ผสู้ นใจตาม
สมควร พร้อมท้ังขอยกคุณความดีนี้บูชาคุณบิดามารดาครูอุปัชฌาย์อาจารย์ทุกท่าน ท่ีได้พยายาม
อบรมส่ังสอนให้ความรู้จนทาให้ผู้จัดทางานวิจัยมีความรู้มีโอกาสได้ศึกษาเล่าเรียนจนถึงปัจจุบัน
ผจู้ ดั ทาตอ้ งขออนุโมทนาขอบคณุ ไว้ ณ ทีน่ ี้

ผู้วจิ ัย
นางสาวณฏั ฐธดิ า สีหาราช

๒๘/เมษายน/๒๕๖๔

สารบญั หนา้

เรื่อง ก

บทคดั ย่อ ค
กิตติกรรมประกาศ จ
สารบัญ ฉ
สารบญั ตาราง
สารบัญภาพ ๑

บทท่ี ๑ บทนา ๒
๑.๑ ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา ๒
๑.๒ วัตถปุ ระสงค์ของการวิจัย ๒
๑.๓ ขอบเขตของการวจิ ัย ๔
๑.๔ นยิ ามศัพท์เฉพาะ
๑.๕ ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับจากการวจิ ยั ๕

บทที่ ๒ แนวคิด ทฤษฎี และงานวจิ ัยทเี่ กี่ยวข้อง ๑๐
๒.๑ แนวคิด/ทฤษฎที เี่ กย่ี วข้อง ๑๑
๒.๒ ความหมายของปัจจัยที่มีผลกระทบต่อนกั เรยี น ๑๑
๒.๓ ความสาคญั ของปจั จัยที่มผี ลกระทบต่อนักเรียน ๑๘
๒.๔ หลกั สตู รขนั้ พื้นฐาน ๒๒
๒.๕ งานวิจัยทีเ่ ก่ียวขอ้ ง
๒.๖ กรอบแนวคดิ การวิจัย ๒๓
๒๓
บทที่ ๓ ระเบียบวิธวี ิจัย ๒๓
๓.๑ รูปแบบการวจิ ัย ๒๓
๓.๒ ประชากรกลมุ่ เป้าหมาย ๒๕
๓.๓ เครือ่ งมือท่ใี ชใ้ นการวิจยั ๒๕
๓.๔ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ๒๕
๓.๕ การวิเคราะห์ขอ้ มูล
๓.๖ สถติ ิที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

สารบัญ (ต่อ) ง

เรือ่ ง หน้า

บทที่ ๔ ผลการวิเคราหข์ ้อมูล ๒๖
๔.๑ ขอ้ มลู พ้นื ฐานของผู้ตอบแบบสอบถามปจั จยั ที่ส่งผลกระทบ ๒๖
ต่อการเรยี นรายวิชาภมู ิศาสตร์ ของนกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๒
โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จงั หวดั ขอนแก่น ๒๗
๔.๒ ผลการวเิ คาระห์ขอ้ มลู ปัจจัยทส่ี ง่ ผลกระทบต่อการเรียน
ในรายวชิ าภมู ศิ าสตร์ ของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ๓๒
โรงเรียนบา้ นหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน ๓๓
จงั หวัดขอนแก่น ๓๓
๔.๓ องคค์ วามรใู้ หม่ที่ได้รบั ๓๔
๓๘
บทท่ี ๕ สรุปผล อภปิ รายผลการวจิ ยั และข้อเสนอแนะ ๔๐
๕.๑ สรุปผลการวิจัย ๔๒
๕.๒ อภิปรายผลการวจิ ัย ๔๔
๕.๓ ข้อเสนอแนะ ๔๖
๔๘
บรรณานกุ รม
๕๑
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก รายชื่อผเู้ ชยี วชาญตรวจสอบเคร่อื งมือที่ใชใ้ นการวิจยั
ภาคผนวก ข ผลวเิ คราะห์เครื่องมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย
ภาคผนวก ค แบบสอบถามเกี่ยวกบั ปัจจยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ การเรียนรายวชิ า
ภูมิศาสตร์ ของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียน
บา้ นหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จงั หวดั
ขอนแกน่

ประวตั ิผู้วิจยั

สารบญั ตาราง

ตางรางที่ หน้า

ตารางที่ ๔.๑ ตารางขอ้ มลู พืน้ ฐานของผู้ตอบแบบสอบถามปัจจยั ทสี่ ่งผลกระทบ ๒๒
ตอ่ การเรยี นในรายวิชาภูมศิ าสตร์ ของนกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ๒๓
โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จงั หวัดขอนแก่น ๒๔
๒๕
ตารางท่ี ๔.๒ ตารางปจั จัยท่ีสง่ ผลกระทบต่อการเรียนในรายวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรยี น ๒๖
ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนบา้ นหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน ๒๗
จงั หวดั ขอนแกน่ ๔๑

ตารางที่ ๔.๓ ตารางปจั จัยทส่ี ง่ ผลกระทบต่อการเรียนในรายวิชาภูมิศาสตร์ ของนกั เรยี น
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ โรงเรยี นบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน
จังหวัดขอนแกน่ ปัจจยั ด้านผ้เู รยี น

ตารางท่ี ๔.๔ ตารางปจั จยั ที่ส่งผลกระทบต่อการเรยี นในในรายวิชาภมู ศิ าสตร์ ของนักเรียน
ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ โรงเรยี นบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน
จงั หวัดขอนแก่น ปจั จยั ดา้ นครู

ตารางที่ ๔.๕ ตารางปัจจยั ทีส่ ่งผลกระทบต่อการเรยี นในรายวิชาภูมศิ าสตร์ ของนักเรยี นชนั้
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ โรงเรียนบา้ นหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน
จงั หวดั ขอนแก่น ปจั จยั ดา้ นครอบครวั

ตารางท่ี ๔.๖ ตารางปจั จยั ทส่ี ่งผลกระทบต่อการเรยี นในรายวชิ าภูมิศาสตร์ ของนักเรยี นชั้น
มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ โรงเรยี นบา้ นหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน
จังหวัดขอนแก่น ปจั จัยด้านสือ่ การสอน

ตารางท่ี ๔.๗ ผลวิเคราะหท์ ไ่ี ด้จากการประเมนิ แบบสอบถาม เรอ่ื ง ปัจจัยทีส่ ่งผลกระทบตอ่
การเรยี นในรายวชิ าภมู ศิ าสตร์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ โรงเรยี น
บา้ นหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวนจงั หวัดขอนแก่น

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา้

ภาพที่ ๑. กรอบแนวคิดในการวจิ ยั ๒๒

บทท่ี ๑

บทนำ

๑.๑ ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปญั หำกำรวิจยั

การศึกษานับเป็นปัจจัยท่ีสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาคุณภาพของคนในประเทศ เพราะรากฐาน
ของชาติคอื คน รากฐานของคนคือการศึกษา คนทีม่ ีคุณภาพจะชว่ ยสรา้ งความเจรญิ ท่ียง่ั ยืนในอนาคต
ได้ การเตรียมคนที่มีคุณภาพเพื่อเป็นผู้นาด้านต่างๆ จึงเป็นเร่ืองที่สาคัญท่ีจะนา พาชาติให้
เจริญก้าวหน้า การปรับโครงสร้างทางการศึกษา การปฏิรูปการศึกษาต้องทาอย่างจริงจังและจริงใจ
ต้องร่วมมือกันเพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดทางการศึกษา การฝึกฝนคนที่มีสติปัญญาให้ได้เป็นผู้นาใน
การแกป้ ัญหาตา่ งๆ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพและเปน็ ผ้นู าในการสร้างสรรค์เทคโนโลยีใหม่ ๆ อันเปน็ กาลัง
สาคัญในการบริหารและพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้า ต้องสร้างคนเก่งหัวกะทิขึ้นมาเพื่อเป็นผู้นา
ทางวชิ าการในอนาคต๑

ในปจั จบุ ันสภาพทางเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศเปล่ยี นแปลงไปอย่างรวดเรว็ ซึ่งมีสว่ นท่ี
ก่อให้เกิดปัญหากับนักเรียนมัธยมศึกษา ปัญหาที่เกิดขึ้นกับนักเรียนนั้นเม่ือรวมเป็นด้านใหญ่ๆ ได้แก่
ปัญหาการเรียน ปัญหาส่วนตัว และปัญหาสังคม ปัญหาท่ีเกิดขึ้นย่อมมีผลกระทบต่อพัฒนาการทุกๆ
ดา้ นของนักเรียนและเปน็ รากฐานไปสู่ปญั หาในวยั รนุ่ ปัญหาที่ปรากฏเดน่ ชัดที่สุดในกลุ่มวัยรุ่นน้ัน ถ้า
พิจารณาให้ลึกซ่ึงจะพบว่า ส่วนใหญ่มีรากฐานมาต้ังแต่เด็กเล็กหรือเด็กในชั้นประถมศึกษา และ
นักเรียนช้ันมัธยมศึกษา ที่มีปัญหาการเรียนเกิดจากเรียนไม่เข้าใจ ทากิจกรรมมากเกินไป ไม่มีเวลา
ทบทวนบทเรียน ไม่กลา้ ถามครู เพ่ือนคุยกนั ในเวลาเรียนทาใหเ้ รียนไมร่ เู้ รอ่ื ง ทางานไม่ทันเพ่อื น เกยี จ
คร้าน ครูใหง้ านมากเกินไป ไม่เขา้ ใจโจทย์หรือการบ้านที่ครใู ห้มา ขาดเรียนบ่อยและครสู อนไม่ เขา้ ใจ
ปัญหาส่วนตัวเกิดจากกดดันจากครอบครัวที่บังคับให้อ่านหนังสือเรียน มีอคติต่อเพ่ือน พ่อแม่ ไม่เอา
ใจใส่ ปรับตัวเข้ากับเพ่ือนในห้องไม่ได้ พักผ่อนไม่เพียงพอ แม่มีปัญหาจากที่ทางานทาให้อารมณ์
แปรปรวน พ่อแม่ประกอบอาชีพท่ีไม่ม่ันคง นอนดึก ดูละครมากเกินไปพ่อแม่มีรายได้น้อย และไม่มี
ความเชือ่ ม่นั ในตนเอง และปญั หาการทางานเกดิ จากเพื่อนในกลมุ่ ไมม่ ีความสามคั คกี นั

๑ สามารถ มังสงั , กำรศึกษำของชำติ : ปัจจัยสำคญั ในกำรพัฒนำประเทศ, (กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร์,
๒๕๕๙), หน้า ๑๔.



ปัญหาการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์จากที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษา
ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาที่ ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตําบลหนองโก
อําเภอกระนวน จังหวดั ขอนแก่น ทําใหผ้ ู้วิจยั สนใจที่จะศกึ ษาเร่อื งปัจจัยท่ีสง่ ผลต่อการเรยี นในรายวิชา
ภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตําบลหนองโก อําเภอกระนวน
จงั หวัดขอนแกน่ เพ่อื หาแนวทางในการแกป้ ญั หาการจัดการเรียนการสอนในรายวชิ าภูมิศาสตร์

๑.๒ วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย

- เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๒
โรงเรยี นบ้านหนองโก ตาํ บลหนองโก อําเภอกระนวน จังหวัดขอนแกน่

๑.๓ ขอบเขตของการวิจยั

๑.๓.๑ ขอบเขตด้านเนอ้ื หา
ผู้วิจัยได้ศึกษาจากเอกสาร ตํารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยท่ีส่งผลต่อการ

เรียนในรายวชิ าภูมศิ าสตร์ ของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ประกอบดว้ ยปจั จัย ๔ ดา้ น
๑. ปัจจยั ดา้ นข้อมูลส่วนตวั
๒. ปัจจยั ดา้ นกบั ครู
๓. ปจั จยั ด้านผปู้ กครอง
๔. ปจั จยั ดา้ นส่อื การสอน

๑.๓.๒ ขอบเขตด้านประชากรและกลมุ่ เปา้ หมาย
กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒ จํานวน ๑๙ คน

โรงเรียนบ้านหนองโกตําบลหนองโก อําเภอกระนวน จงั หวัดขอนแก่น
๑.๓.๓ ขอบเขตด้านระยะเวลา
การวิจยั ครง้ั น้ีใช้ระยะเวลา ตัง้ แตเ่ ดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๓ – เมษายน ๒๕๖๔
๑.๓.๔ ขอบเขตด้านสถานที่
โรงเรยี นบ้านหนองโก ตําบลหนองโก อําเภอกระนวน จงั หวดั ขอนแกน่

๑.๔ นิยามศพั ท์เฉพาะ

๑.๔.๑ ปัจจัย หมายถึง เหตุอันเป็นทางให้เกิดผล หนทาง เช่น การศึกษาเป็นปัจจัยให้เกิด
ความรู้ความสามารถองค์ประกอบ โดยปัจจัยท่ีผู้วิจัยระบุไว้ในการศึกษาปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเรียนใน
รายวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตําบลหนองโก อําเภอ
กระนวน จังหวดั ขอนแก่น ประกอบดว้ ย ๔ ปจั จัย ได้แก่



๑.๔.๑.๑ ปัจจัยดา้ นข้อมูลส่วนตัว
๑.๔.๑.๒ ปัจจัยด้านกบั ครู
๑.๔.๑.๓ ปจั จยั ด้านผ้ปู กครอง
๑.๔.๑.๔ ปจั จยั ด้านสอ่ื การสอน
๑.๔.๒ ผลกระทบ หมายถึง คอื สิ่งท่ีสง่ ผลตอ่ การดําเนินการ ผลท่ีเกดิ ขึ้นนอ้ี าจเกดิ ข้ึนระหว่าง
การ ดาํ เนนิ การตาม หรอื เกิดขึ้นภายหลงั จากการใชห้ ลักสูตรครบวงจรแล้ว ซ่ึงมผี ลตอ่ ผู้ทเี่ กี่ยวข้องกับ
หลักสูตรคือกลุ่มครู ผู้ปฏิบัติการสอน กลุ่มนักเรียน และกลุ่มผู้บริหารโรงเรียน ผลที่เกิดข้ึนน้ีอาจ
เป็นได้ทั้ง ผลที่คาดหวังและผลท่ีไม่ได้คาดหวังท่ีเป็นไปได้ท้ังทางบวกและทางลบ ผลกระทบของการ
ฝึกอบรม หมายถงึ สภาพและระดับของความเปลีย่ นแปลงที่เกิดจากครู โดยเปน็ ผลจากการปฏบิ ตั ิงาน
ซงึ่ ผลท่เี กิดขนึ้ น้ี อาจเกิดได้ท้งั โดยตรงและโดยอ้อม
๑.๔.๓ รายวิชาภูมิศาสตร์ หมายถึง การเรียนในรายวิชาภูมิศาสตร์ เป็นวิชาหนึ่งที่ผู้เรียนทุก
คนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาต้องเรียน ทั้งน้ีเพราะรายวิชาภูมิศาสตร์นี้ว่าด้วย ภูมิศาสตร์
(geography) คือ ศาสตร์ทางดา้ นพ้ืนที่และบริเวณต่างๆ บนพ้ืนผิวโลก เป็นวิชาท่ีศึกษาปรากฏการณ์
ทางกายภาพ และมนุษย์ ทเ่ี กดิ ข้นึ ณ บริเวณทีท่ าํ การศกึ ษา รวมไปถึงส่ิงแวดล้อมท่ีอยูบ่ รเิ วณโดยรอบ
นักภูมศิ าสตร์อธิบายถึงรูปแบบของการเปล่ียนแปลงของท่ีต่างๆ บนโลก แผนที่ และสัณฐานโลก โดย
อธิบายว่ารูปแบบการเปลี่ยนแปลงนั้นเกิดขึ้นได้อย่างไร ภูมิศาสตร์จะทําให้เข้าใจปัญหาทางด้าน
กายภาพ และวัฒนธรรม ของบริเวณท่ีศึกษา และสิ่งแวดล้อมโดยรอบท่ีอยู่บนพื้นผิวโลก ภูมิศาสตร์
ศึกษาความสัมพนั ธ์ระหว่างมนุษย์ สถานที่ และส่ิงแวดลอ้ มโดยการใช้ขอ้ มูลทางแผนที่ ในการอธิบาย
ความสัมพันธท์ างดา้ นพื้นที่ การต้ังถ่ินฐานและการอยู่อาศยั ของคนแต่ละคน และโดยรวมเป็นรากฐาน
ในการเลือกสถานที่ เพือ่ สรา้ งสงั คมมนษุ ยใ์ นดินแดนตา่ งๆ และมคี วามสมั พันธก์ ับชวี ิตของพืชและสตั ว์
ในการเกดิ ดํารงชวี ิต และการเปลีย่ นแปลงระบบนิเวศวิทยา
๑.๔.๔ นักเรียน หมายถึง ผู้เรียนในโรงเรียนระดับอนุบาล ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา
บางคร้ังอาจใช้ในความหมายกว้างหมายถึงผศู้ ึกษาในสถานศึกษาทง้ั หมดก็ได้กลุ่มสังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม เป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ผู้เรียนทุกคนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาต้อง
เรยี น ทง้ั นี้เพราะกลุม่ สาระการเรียนรู้นว้ี ่าด้วย การอยรู่ ว่ มกันบนโลกที่มกี ารเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเร็ว
ตลอดเวลา การเช่ือมโยงทางเศรษฐกิจซ่ึงแตกต่างกันอย่างหลากหลาย การปรับตนเองกับบริบท
สภาพแวดล้อม ทําให้เป็นพลเมืองที่รับผิดชอบ มีความสามารถทางสังคม มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม
และค่านยิ มทเ่ี หมาะสม โดยให้ผเู้ รยี นเกดิ ความเจรญิ งอกงามในแต่ละด้าน

๑.๕ ประโยชน์ที่ได้รบั จากการวิจัย



- ได้ทราบถึงปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๒
โรงเรียนบา้ นหนองโก ตําบลหนองโก อําเภอกระนวน จงั หวัดขอนแก่น

บทท่ี ๒

แนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ัยท่เี กี่ยวขอ้ ง

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาเรื่องปัจจัยที่ส่งผลต่อปัญหาการเรียนรายวิชา
ภูมิศาสตร์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน
จังหวัดขอนแก่น ผู้วิจัยได้ศึกษาจากเอกสาร ตารา และงานวิจัยท่ีเกี่ยวกับปัจจัยท่ีส่งผลต่อปัญหาการ
เรียนในรายวชิ าภูมศิ าสตร์ ผู้วิจยั ขอเสนอวรรณกรรมทีเ่ กีย่ วขอ้ งในเร่ืองต่างๆ ดงั ต่อไปน้ี

๒.๑ แนวคิด/ทฤษฎใี นเรื่องปัจจยั ทม่ี ผี ลกระทบต่อนักเรยี น
๒.๒ ความหมายของปัจจยั ท่ีมีผลกระทบตอ่ นักเรียน
๒.๓ ความสาคญั ของปจั จัยทม่ี ผี ลกระทบตอ่ นักเรยี น
๒.๔ หลกั สตู รขั้นพื้นฐาน
๒.๕ งานวิจยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
๒.๖ กรอบแนวคิดในการวจิ ยั

๒.๑ แนวคิด/ทฤษฎที ่ีเกย่ี วขอ้ ง

การเยแ่ ละบริกซ์๒ ไดแ้ บ่งปัจจัยท่ีสง่ ผลต่อการเรยี นรเู้ ป็น ๒ ประเภท คือ
๑. ปัจจัยภายนอก เป็นปัจจัยเดิมของการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง โดยการให้ส่ิงเร้า

พร้อมกับให้ผู้เรียนตอบสนองในสิ่งที่ต้องการ การทาซ้าคือการให้ผู้เรียนเรียนรู้โดยใช้ส่ิงเร้าแล้ว
ตอบสนองหลาย ๆ คร้ัง จนสามารถเรียนรู้ได้การให้การเสริมแรง คือ การเสริมกาลังใจให้เกิดความ
พอใจในการเรยี นรู้

๒. ปัจจัยภายใน เป็นสิ่งภายในท่ีผู้เรียนต้องมีเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ข้อเท็จจริงขณะ
เรียนขณะนั้นหรือระลึกจากที่เคยเรียนมาแล้ว ทักษะทางปัญญาหมายถึง ความสามารถในการใช้
สมองเพื่อการเรียนรู้โดยระลึกจากประสบการณ์การเรียนรทู้ ่ีผ่านมา ยุทธศาสตร์หมายถงึ สมรรถภาพ
ที่ควบคุมการเรียนรู้ความต้ังใจ การจา และพฤติกรรมการคิดของมนุษย์ เป็นกระบวนการทางาน
ภายในสมองของมนุษย์ผู้เรียนอาจไดร้ ับแนวทางในขณะเรียน

๒ พิจิตรา ธงพานิช, วิชาการออกแบบและการจัดการเรียนรู้ในช้ันเรียน, (นครปฐม : โรงพิมพ์
มหาวทิ ยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวงั สนามจนั ทร์, ๒๕๖๐), หนา้ ๓๓.



ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม๓ ไดเ้ สนอทฤษฎีการเรียนรู้ในโรงเรียนกลา่ วคือ พื้นฐานของผู้เรียน
เป็นหัวใจในการเรียน ผูเ้ รยี นแต่ละคนจะเข้าช้ันเรียนด้วยพนื้ ฐานท่จี ะช่วยให้เขาประสบความสาเรจ็ ใน
การเรียนรู้ต่างกัน ถ้าเขามีพื้นฐานท่ีคล้ายคลึงกัน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจะไม่แตกต่างกัน
คุณลักษณะของแต่ละคน เช่น ความรู้ที่จาเป็นก่อนเรียน แรงจูงใจในการเรียน คุณภาพของการสอน
เป็นสิ่งท่ีปรับปรุงได้เพื่อให้แต่ละคนและทั้งกลุ่มมีระดับการเรียนที่สูงข้ึน นอกจากน้ีปรียาพร วงศ์
อนุตรโรจน์๔ ไดก้ ล่าวถึง แรงจูงใจใฝส่ ัมฤทธ์ทิ ่ีสาคญั ในการเรยี นการสอน ไดแ้ ก่

๑ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ตามแนวคิดของ แอทคินสัน อธิบายถึงในสถานการณ์หน่งึ ผู้ท่ี
มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิจะมีความพยายามที่จะทางานนั้นให้สาเร็จ โดยเปรียบเทียบกับมาตรฐานถ้า
ผลงาน สูงกว่าหรอื เท่าเกณฑม์ าตรฐานกถ็ ือว่าประสบผลสาเรจ็ ตามความคิดเขาแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิจะ
ข้นึ อย่กู ับ ๓ องค์ประกอบ คอื

๑.๑ ความคาดหวัง หมายถึง การคาดล่วงหน้าถึงผลการกระทาของตน คนที่มี
แรงจูงใจใฝ่สมั ฤทธิ์สูงจะคาดล่วงหนา้ ถงึ ความสาเร็จของงาน

๑.๒ ส่ิงล่อใจ คอื ความพงึ พอใจทีไ่ ด้รบั จากการทางาน
๑.๓ แรงจูงใจจากความพึงพอใจในการแสวงหาความสุขและหลีกเล่ียงความ
ผิดหวัง คนเรากระทาการใดก็ย่อมหวังได้รับความสุขความพอใจกับการกระทาต้องการความสาเร็จ
และกลวั ความล้มเหลว
๒ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิของแมคเคลแลนด์๕ กล่าวถึงแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์เป็นความ
ต้องการที่จะทางานให้ประสบความสาเรจ็ ถือว่าเป็นแรงจูงใจทีส่ าคัญที่สุดของมนุษย์และมีอทิ ธพิ ลต่อ
ความสาเร็จของส่วนตัว และศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์กับพื้นฐานทาง
วัฒนธรรมของสังคม และการอบรมเล้ียงดูรวมทั้งผลของแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ที่มีต่อสังคมด้วย เขามี
ความคิดว่าการอบรมเลี้ยงดูและวัฒนธรรมของสังคมที่เน้นความสาเร็จ คือท่ีมาของสังคมที่ประสบ
ความสาเร็จ ท้ังน้ีเพราะวฒั นธรรมในสงั คมท่ีเห็นความสาเร็จ จะทาให้พ่อแมอ่ บรมเล้ียงดูนักเรยี น โดย
เน้นความสาเร็จตามสถานะของสังคม พ่อแม่จะพยายามฝึกให้เด็กช่วยตัวเอง ฝึกการคิดแก้ปัญหา
และให้การเสริมแรงพฤติกรรมทม่ี ุ่งความสาเร็จในการเรียนและการทางาน การอบรมเลีย้ งดูจะพัฒนา
ให้เด็กเติบโตเป็นคนที่ต้องการความสาเร็จ มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้วย แมคเคลแลนด์ได้พบว่า
ความสมั พันธร์ ะหว่างแรงจูงใจกบั การอบรมเลี้ยงดขู องพ่อแม่มีค่อนข้างสูง การอบรมเลี้ยงดขู องพอ่ แม่

๓ http://www.aksornnex.com/index.php/teacher-resource/NEWS/2467/การเรียนรู้ตามทฤษฎี
ของบลมู -Bloom-s-Taxonomy (สืบค้นเมอ่ื ๑๘ เมษายน ๒๕๖๔).

๔ ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์, จิตวิทยาอุตสาหกรรม, (กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่ือเสริมกรุงเทพฯ ๒๕๔๘), หน้า
๒๓๑ – ๒๔๑.

๕ http://www.pirun.ku.ac.th (สบื คน้ เม่อื ๑๘ เมษายน ๒๕๖๔).



มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิในตัวของเด็กเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะครอบครัวท่ีพ่อแม่เลี้ยงดูแบบ
เดินทางสายกลาง ไม่ตามใจเด็กจนเกินไป ไม่เคี่ยวเข็ญให้เด็กทาในส่ิงท่ีเกินความสามารถของเขา ไม่
วางมาตรฐานความสาเร็จไว้สงู หรือต่าเกินไป ส่งเสริมให้เด็กช่วยตวั เองใหท้ าอะไรเองตั้งแตย่ ังเด็ก เม่ือ
พอ่ แมแ่ ละครใู หค้ วามรกั ความอบอ่นุ และสนับสนนุ แก่เดก็ เขาจะประสบความสาเร็จดว้ ยตัวเอง

๓ แรงจูงใจในการเรียนรู้ แรงจูงใจเป็นแรงเสริมที่เกิดจากท้ังภายในและภายนอก
เป็นขวัญและกาลังใจในการเรียนรู้และการทางาน ครูสามารถพัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะ
ในด้านต่าง ๆของนักเรียนใหเ้ กิดผลดีจงึ ตอ้ งมีการพัฒนาแรงจงู ใจ สร้างขวัญและกาลงั ใจ การจดั สภาพ
การเรียนและการทางาน รวมทง้ั การใหบ้ ทเรียนท่ีเหมาะสมกับสตปิ ัญญาความสามารถของผเู้ รียนดังน้ี

๓.๑. แรงจูงใจภายนอกและแรงจูงใจภายใน ครูพยายามปรับบทเรียนและ
สภาพห้องเรยี นทจ่ี ะสรา้ งความพึงพอใจใหเ้ กดิ แก่นักเรียนดว้ ย

๓.๑.๑ แรงจูงใจภายนอก ได้แก่ผลการเรียน การได้รู้ผลและความสาเร็จ
ของสง่ิ ทีไ่ ด้เรียนไปแลว้ เป็นแรงจงู ใจภายนอก

๓.๑.๒ แรงจูงใจภายใน ได้แก่ ความอยากรู้อยากเห็น อยากสารวจตรวจ
ตรา อยากจดั การมาสโลว์๖ (Maslow) ถอื ว่าเปน็ ความต้องการความสาเร็จในชวี ติ ทาใหม้ นษุ ย์แสวงหา
สิง่ ทสี่ ่วนตัว ตอ้ งการและพอใจทส่ี ่วนตัวได้พบไดท้ า ครจู ะพบว่าเดก็ ไม่ชอบการอยู่นิ่ง การให้เด็กอย่นู ิ่ง
ๆ และไม่ใหซ้ ักถามจึงขัดกับความตอ้ งการและแรงจูงใจขอเด็ก เด็กเป็นผทู้ ี่ต้องการแสวงหาด้วยความ
อยากรู้อยากเห็น หากครไู ด้ใช้ความรู้อยากทดลองผู้เรียนใหถ้ ูกทาง และเป็นการเรียนในส่ิงที่เขาสนใจ
ก็จะให้เขาไดป้ ระสบผลสาเร็จในสิ่งทต่ี อ้ งการ

๓.๒ ลักษณะของบทเรียน บทเรียนหรืองานท่ีให้ผู้เรียนทา อาจทาให้เกิด
แรงจูงใจในการเรียนสูงหรือต่าได้เช่น ความยากง่ายของบทเรียน ความยากง่าย นี้อาจวัดจากทัศนะ
ของผู้เรียนเอง ความยากง่ายนี้จะสัมพันธ์กับความสามารถ ความต้องการ ความพอใจของผู้เรียนแต่
ละคน บทเรียนอย่างเดียวกันอาจยากไปสาหรับนักเรียนคนหน่งึ และอาจง่ายไปสาหรบั นักเรียนอีกคน
หนึ่งก็ได้ นอกจากน้ีความน่าสนใจของบทเรียนก็มีผลในด้านแรงจูงใจ บทเรียนหรืองานที่ท้าทาย
ความสามารถ งานที่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้เลือกทางานที่มีค่าตอบแทน งานที่สร้างช่ือเสียงเป็น
แรงจูงใจให้ผู้เรยี นเกิดความต้องการท่จี ะทาใหส้ าเรจ็

๓.๓ ความคาดหวัง เป็นความคาดหวังท่ีมาจากกลุ่ม เช่น เพื่อน นักเรียน
คาดหวงั จากครพู อ่ แมแ่ ละความคาดหวงั ของส่วนตัวทง้ั ๓ กล่มุ จะมีลักษณะตา่ งกัน คือ

๓.๓.๑ ความคาดหวังจากกลุ่ม เป็นเสมือนสถานท่ีทาให้ผู้เรียนท่ีเป็น
สมาชิกของกลมุ่ ถกู กระตุ้นใหค้ ลอ้ ยตามและพยายามท่จี ะทาตาม ถ้าครูพยายามปลูกฝังค่านิยมในด้าน

๖ https://sites.google.com/site/bunrienonline2/thvsdi-khwam-txngkar-khxng-mas-low-
maslow-s-hierarchy-behavior (สืบคน้ เมอื่ ๑๘ เมษายน ๒๕๖๔).



ความเช่ือในตน ความพยายามและความสาเร็จให้แก่นักเรียนทุกคนในชั้นเรียนก็มีผลต่อการพัฒนา
แรงจูงใจในการเรียนให้นักเรยี นได้สนใจในบทเรยี น ตั้งใจเรยี นมากขนึ้

๓.๓.๒ ความคาดหวังของบุคคลสาคัญสาหรับนักเรียน เช่น พ่อแม่ครู ถ้า
พ่อแมค่ รแู สดงความเชอื่ และชื่นชมความสามารถของเด็ก เดก็ คนนนั้ จะรับร้แู ละมพี ฤติกรรมคล้อยตาม
ไม่อยากให้พอ่ แมผ่ ิดหวัง นอกจากนแี้ รงจงู ใจใฝ่สมั ฤทธ์ิในการเรยี นการสอน

๓.๔ สภาพแวดล้อมในช้ันเรียนและบรรยากาศของโรงเรียนในชั้นเรียนมีกลุ่ม
เพ่ือน นอกห้องเรียนมีกลุ่มเพื่อน ครูคนอ่ืน ๆ สภาพแวดล้อมท้ังในช้ันเรียนและโรงเรียนจะช่วย
ส่งเสรมิ หรือ บนั่ ทอนแรงจูงใจในการเรยี นและการท างานของนกั เรียนได้ดงั นี้

๓.๔.๑ ถ้านักเรียนได้รับรู้ว่า เวลาเรียน เวลาทางานมีเพ่ือนและครูเป็น
กาลังใจและช่วยเหลือแนะนาก็จะเกิดกาลังใจในการเรียน ขณะเดียวกันถ้าเพ่ือนกล่ันแกล้ง ครูดุมาก
เกินไป ก็จะบ่นั ทอนความอยากเรยี นของนกั เรียน

๓.๔.๒ การยอมรับจากกลุ่มเพ่ือนและครูในด้านความสาเร็จของการเรียน
กเ็ ปน็ กาลงั ใจใหอ้ ยากเรยี น

๓.๔.๓ การรู้ถึงผลของการเรียน เช่น การทดสอบ การแข่งขัน ทาให้
ผู้เรียนถกู กระตนุ้ ใหใ้ ช้ความพยายาม มแี รงจงู ใจในการเรียนและการทางานได้

๓.๔.๔ ระเบียบและกฎเกณฑ์ของโรงเรียน โรงเรียนที่เข้มงวดเกินไปใน
ด้านระเบียบ เช่น ระเบียบการแต่งกาย โดยเฉพาะวัยรุ่นทาให้นักเรียนเกิดความคับข้องใจ เกิดความ
ขัดแย้งกับระเบียบ กฎเกณฑ์ท่ีหยุมหยิมเกินไป เป็นเหตุให้แรงจูงใจลดลง เพราะบรรยากาศของ
โรงเรียนไม่เอื้อตอ่ การเรียนรู้ โรงเรยี นสกปรก เสียงยานพาหนะหนวกหหู อ้ งเรยี นร้อนอบอ้าวก็ไมส่ ร้าง
แรงจูงใจในการเรียนเช่นกัน ดังนั้นจะเห็นได้ว่าแรงจูงใจจึงเกิดจากปัจจัยใน หลาย ๆ ด้าน การสร้าง
แรงจูงใจให้เกิดกับนักเรียน โดยให้มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิสูงในการเรียนและการทางานจึงต้องพจิ ารณา
ปัจจัยตา่ ง ๆ ตงั้ แตต่ ัวผเู้ รียนเองและสภาพแวดลอ้ มดว้ ย

สุรัตน์ เตียวเจริญ๗ ได้สรุปถึงปัจจัยที่เป็นสาเหตุที่เกี่ยวเน่ืองถึงผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ๓
ด้าน ได้แก่ ปัจจัยด้านสถานศึกษา ปัจจัยด้านส่วนตัวของนักเรียน และปัจจัยด้านครอบครัว โดยมี
รายละเอียด ดงั นี้

๑. ปัจจัยด้านสถานศึกษา เป็นสิ่งสาคัญเพราะเวลาส่วนใหญ่ นักเรียนจะอยู่ที่
โรงเรียน โรงเรียนมีหน้าท่ีให้การศึกษาแก่เด็ก รวมถึงการจัดการด้านการบริการ ด้านวิชาการ

๗ สุรัตน์ เตียวเจริญ, ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีท่ีมี
ผลการเรียนต่ากว่าเกณฑ์, (การค้นคว้าอิสระตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต : บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ ๒๕๔๓), หน้า ๕๓ – ๕๘.



ตลอดจนการจัดกิจกรรมต่าง ๆอปุ กรณ์การเรยี นการสอน การกีฬา รวมถงึ สภาพแวดล้อมที่จะสง่ เสริม
ให้เด็กมโี อกาสพฒั นาส่วนตัวอย่างเต็มท่ี

๒. ปจั จยั ทางดา้ นสว่ นตวั ของนักเรียน
๒.๑ บคุ ลิกภาพ ซ่งึ เป็นสงิ่ ทไี่ ดร้ ับการกลอ่ มเกลาและหล่อหลอมมาจากครอบครัว

และรับการขัดเกลาจากโรงเรียน ก่อใหเ้ กิดปัญหาในการปกครองและเป็นผลกระทบต่อการเรียน เช่น
นสิ ัยก้าวรา้ ว ชอบทาลายสงิ่ ของ อวดดีเลนิ เล่อ ฝา่ ฝืนระเบียบ ชอบทาตัวเดน่ เปน็ คนขอี้ าย

๒.๒ สุขภาพ หากเด็กมีโรคประจาตวั ก็จะเปน็ อุปสรรคต่อการเรียนและอาจทาให้
เด็กเกิดปมดอ้ ย เกดิ ความทอ้ ถอยในการเรียนได้

๒.๓ การปรับตัวให้เข้ากับระบบต่าง ๆ ของโรงเรียน เช่น ระบบการเรียนการ
สอนใหม่ๆเพือ่ น ครผู ู้สอน

๒.๔ การวางแผนการเรียน เด็กค้นหาความชอบของส่วนตัวยังไม่เจอ จะเรียน
อะไรดเี พื่อจะนาไปใช้ในการประกอบอาชพี ยงั ไมม่ เี ปา้ หมายชวี ิตอยา่ งไร

๒.๕ การเปล่ียนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม สิ่งยั่วยุต่าง ๆ ในสังคมปัจจุบัน
ไม่ว่าจะเปน็ สอ่ื ทางโทรทศั นท์ างอนิ เตอรเ์ น็ต

๒.๖ การคบเพ่ือนหรือกลุ่มเพื่อน กลุ่มเพื่อนมีผลต่อเจตคติและพฤติกรรมการ
เรยี นการสอนตามลกั ษณะของกลมุ่ เพือ่ น เช่น การเลือกวชิ าเรียน และแผนการเรียน

๒.๗ นิสัยในการเรียนและทัศนคติต่อการเรียน และการปรับตัวทางการเรียนมี
ความสมั พันธ์กบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น

๓. ปจั จัยดา้ นครอบครวั โดยปัญหาทจี่ ะพบอยเู่ สมอ ไดแ้ ก่
๓.๑ ปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัว หากพ่อแม่แยกกันอยู่หรือทะเลาะกันพ่อ

แม่ ลุ่มหลงในอบายมขุ ยอ่ มมสี ่วนทาใหเ้ ด็กขาดความอบอุ่น
๓.๒ พื้นความรู้ของพ่อแม่ พ่อแม่บางคนขาดความเข้าใจนักเรียน ขาดความรู้

เร่อื งจิตวิทยากอ็ าจทาใหเ้ ดก็ เกดิ ความคบั ข้องใจได้
๓.๓ ฐานะทางเศรษฐกิจ ครอบครวั ท่ียากจนไม่สามารถจัดหาอุปกรณ์การเรียนท่ี

จาเปน็ ใหแ้ กเ่ ด็ก บางครอบครวั ท่ีร่ารวยอาจส่งเสริมใหเ้ ดก็ ทาในทางทผ่ี ิด ทาใหม้ นี สิ ยั ฟงุ้ เฟ้อ
ดังน้ันจากแนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

ผ้วู ิจัยสามารถสรุปปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ๔ ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยด้านนักเรียน ปัจจัย
ด้านครอบครัว ปจั จยั ดา้ นครู และปัจจัยดา้ นสถานศึกษา



๒.๒ ความหมายของปัจจัยท่มี ีผลกระทบตอ่ นักเรียน

การวิเคราะห์ปัญหาหรือข้อสงสัยที่เกิดข้ึนกับการปฏิบัติหน้าที่ของครูผู้สอน จะเป็นปัญหา
หรือขอ้ สงสยั อย่างกว้างๆ เหมือนกับคนหนมุ่ สาวที่จะตัดสินในเลือกคคู่ รอง ก็มักจะมองในส่วนกว้างๆ
ของคนรัก แต่เมื่อต้องตัดสินใจเลือกเพียงคนเดียวก็จะเริ่มพิจารณาให้แคบลงจนกระทั่งได้คนรักเพียง
คนเดียวเท่านั้น เช่นเดียวกันกับปัญหาหรือข้อสงสัยของครูก็ต้องทาให้ปัญหาหรือข้อสงสัยนั้นแคบลง
มา จนเป็นปัญหาหรือขอ้ สงสัยทสี่ าคญั หรือเรง่ ด่วนเพยี งเร่ืองเดยี วทีเ่ ป็นปญั หาแทจ้ ริง ซงึ่ ปัญหาที่พบ
ในการจดั การเรยี นการสอนครูไม่สามารถนาปญั หาท้ังหมดมาแกไ้ ข หรอื พฒั นาทง้ั หมดได้

การท่ีจะเลือกปัญหาใดมาปรับปรุงแก้ไขก่อนหรือหลังนั้น ต้องพิจารณาจากความสาคัญ
ความร้ายแรง ความบ่อยของปัญหาน้นั มากน้อยเพียงใด กระทบกับนักเรียนมากนอ้ ยเพยี งใด ปัญหามี
ความสาคัญอย่างไร เช่น นักเรียนไม่สามารถอ่านหนังสือได้และมีผลส่งให้กับการเรียนในวิชาอ่ืนๆ
ตามมาด้วย ปัญหาน้ีจึงควรได้รับการแก้ไขก่อน เน่ืองจากหากปล่อยไว้จะกระทบและสร้างความ
เสยี หายต่อการเรยี นต่อไปได้

- ปัจจัย หมายถึง วัสดุ สื่อ อุปกรณ์ สถานที่ สภาพแวดล้อม เวลา บุคลากร และทรัพยากร
อน่ื ๆ ที่ช่วยใหก้ ารดาเนนิ งานเปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ

- กระบวนการ หมายถึง วิธีการ แนวโน้ม กิจกรรม กลวิธีหรือเทคนิคอันเป็นขั้นตอนท่ีใช้
ทางานให้เกดิ ผลผลติ

- ผลผลิต หมายถึง ผลสดุ ท้ายทีเ่ กดิ จากการปฏบิ ตั งิ านหรือโครงการต่าง ๆ
- ผลกระทบ หมายถึง ผลต่อเนื่องที่เกิดขึ้นจากผลผลิต หรือมีการนาผลผลิตไปใช้ แล้วได้ผล
อ่ืนตามมา
จากเอกสารดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า ปัจจัยสาคัญที่มีผลกระทบต่อนักเรียน ปัจจัยส่งเสริม
การเรียนการสอน เช่น สถาบนั การศกึ ษาท่ีมปี ัจจัยสง่ เสริมการเรียนการสอนอย่างครบถ้วนทกุ ด้านจะ
ช่วยให้การเรียนการสอนมคี ุณภาพและประสทิ ธิภาพสงู แต่โรงเรยี นหรือสถาบันการศึกษาจานวนมาก
ไม่สามารถจัดหาปจั จยั ส่งเสรมิ การเรียนการสอนดงั กล่าวได้อย่างเหมาะสม ทาให้การจดั การศึกษาไม่มี
คุณภาพการจัดการการศึกษา ประเด็นน้ีถือว่ามีความสาคัญอย่างยิ่งเพราะผู้บริหารสถาบันการศึกษา
ต้องรับผิดชอบการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ ท้ังเร่ืองการจัดให้มีผู้สอนที่มีคุณภาพ การจัดหา
ทรัพยากรให้เพียงพอต่อการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพหลักสูตรและระบบการเรียนการสอน
กล่าวคือหลกั สตู รตอ้ งเป็นหลักสูตรทที่ ันสมัยสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของสังคมคณุ ภาพผู้สอน ปกติ
คนท่จี ะมีอาชพี สอนหนังสอื จะต้องเปน็ คนท่มี ผี ลการเรียนดี หรอื เป็นคนเรยี นเกง่ สถาบันการศึกษาท่ีมี
ชอ่ื เสียงทว่ั โลกทุกระดับจะพยามคัดเลอื กคนเก่งใหเ้ ปน็ ผสู้ อน

๑๐

๒.๓ ความส่าคัญของปัจจยั ทมี่ ีผลกระทบต่อนักเรยี น

- ปัญหาการเรียนด้านหลักสูตรพบว่าข้อท่ีเป็นปัญหาสูง คือ เนื้อหาวิชาที่เรียนหลักสูตรไม่ได้
บรรจุทกั ษะทจ่ี าเปน็ บางอยา่ งในการปฏิบัตงิ านจรงิ ของผเู้ รียน

- ปัญหาการเรียนด้านวธิ ีการสอน พบว่าขอ้ ที่เปน็ ปญั หาสงู สุดคือการจดั ตารางเรียน ในแต่ละ
รายวิชาเอ้อื ประโยชนใ์ หก้ บั ผ้สู อนมากกว่าผูเ้ รยี น

- ปัญหาการเรียนด้านผู้สอน พบวา่ ข้อทเ่ี ปน็ ปญั หามากทส่ี ดุ คอื ผสู้ อนบรรยายเน้ือหารายวิชา
ทส่ี อนเร็วเกินไปทาใหผ้ ู้เรยี นตามไม่ทัน

- ปัญหาการเรียนด้านผู้เรียนพบว่า ข้อท่ีเป็นปัญหามากท่ีสุดคือ ปัญหาด้านเศรษฐกิจของ
ประเทศส่งผลกระทบในเร่อื งคา่ ใชจ้ ่ายดา้ นการเรียนของผเู้ รยี น

- ปัญหาการเรียนด้านการวัดผลและประเมินผล พบว่าข้อที่เป็นปัญหามากท่ีสุดคือ ข้อ
ทดสอบที่ใชใ้ นการวัดผลและประเมนิ ผลการเรียนแต่ละคร้ังมีความยากเกินไป

- ปัญหาการเรยี นด้านสอ่ื การเรียนการสอนและสิง่ อานวยความสะดวก พบว่าขอ้ ที่เป็นปัญหา
มากทสี่ ดุ คอื จานวนสอื่ อุปกรณ์ ประกอบการเรยี นการสอนมีไมเ่ พยี งพอกบั จานวนนักเรยี น

จากเอกสารดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า ส่ือการเรียนการสอนสามารถช่วยการเรียนการสอน
ของครูได้ดีมาก ซ่ึงเราจะเห็นว่าครูน้นั สามารถจัดประสบการณ์การเรียนรใู้ ห้กับนักเรียนไดม้ ากทีเดียว
แถมยงั ชว่ ยให้ครมู ีความรมู้ ากขน้ึ ในการจัดหาแหล่งวิทยาการท่ีเป็นเน้ือหาเหมาะสมแก่การเรยี นรู้ตาม
จุดมุ่งหมายในการสอน ช่วยครูในด้านการคุมพฤติกรรมการเรียนรู้และสามารถสนับสนุนการเรียนรู้
ของนักเรียนได้มากทีเดียว ส่ือการสอนจะช่วยส่งเสริมให้นักเรียนได้ทากิจกรรมหลายๆรูปแบบ เช่น
การใช้ศูนย์การเรียน การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การสาธิต การแสดงนาฏการ เป็นต้น ช่วยให้
ครูผู้สอนได้สอนตรงตามจุดมุ่งหมายการเรียนการสอนและยังช่วยในการขยายเน้ือหาท่ีเรียนทาให้การ
สอนง่ายขึ้นและยังจะช่วยประหยัดเวลาในการสอนนักเรียนจะได้มีเวลาในการทากิจกรรมการเรียน
มากขึ้น จากข้อมูลเราจะได้เห็นถึงประโยชน์ของส่ือการเรียนการสอนซ่ึงทาให้เรามองเห็นถึง
ความสาคัญของส่ือสารมีประโยชน์และมีความจาเป็นสามารถช่วย พัฒนาการเรียนการสอนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

๒.๔ หลกั สตู รขนั้ พ้นื ฐาน๘

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ ให้เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ ที่ทบทวนจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน

๘ กระทรวงศึกษาธกิ าร, หลกั สูตรการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๔๔, (กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค์ รุ ุ
สภาลาดพรา้ ว ๒๕๔๔), หนา้ ๑.

๑๑

พุทธศักราช ๒๕๔๔ ท่ีผ่านมาประกอบกับข้อมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี
๑๐ เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาคนในสังคมไทย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการใน การพัฒนา
เยาวชนสู่ศตวรรษท่ี ๒๑ นาไปสู่การทบทวนหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ ซ่ึง
นาไปสู่การพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ให้มีความเหมาะสม
ชัดเจน ทั้งเป้าหมายของหลักสูตร ในการพฒั นาคุณภาพผ้เู รียน และกระบวนการนาหลกั สูตรไปสู่การ
ปฏิบัติในระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาและสถานศึกษา โดยมีการกาหนดวิสัยทัศน์ จุดหมายสมรรถนะ
สาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดไว้อย่างชัดเจน
นอกจากน้ีได้กาหนดโครงสร้างเวลาเรียนขั้นต่าของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ในแต่ละชั้นปีไว้ใน
หลักสูตรแกนกลาง และเปิดโอกาสให้สถานศึกษาเพ่ิมเติมเวลาเรียนได้ตามความพร้อมและจุดเน้นอีก
ทั้งได้ปรับกระบวนการวัดและประเมินผลผู้เรียน เกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละระดับและเอกสาร
แสดงหลักฐานทางการศึกษาให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ดังน้ันในการจัดทาหลกั สูตร
สถานศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นหนองโก จึงใช้หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เป็นกรอบความคิด กาหนดทิศทางในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา ทางโรงเรียนจึงจัดทาหลักสูตร
สถานศึกษา ครอบคลุมในส่วนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และ
กรอบหลักสูตรท้องถ่ินและดาเนินการนาหลักสูตรสู่การปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอนในช้ันเรียน
อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

๒.๔.๑ วิสัยทัศน์๙
หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน มุงพฒั นาผเู้ รียนทกุ คน ซ่ึงเปนกาลังของชาตใิ หเปนม
นษุ ยที่มีความสมดุลทั้งดานรางกาย ความรู คุณธรรม มีจิตสานึกในความเปนพลเมอื งไทยและเปนพล
โลก ยึดม่ันในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข มีความรู
และทักษะพ้ืนฐาน รวมท้ัง เจตคติ ที่จาเปนตอการศึกษาตอ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอด
ชีวิต โดยมุงเนนผูเรียนเปนสาคัญบนพื้นฐานความเช่ือวา ทุกคนสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได
เตม็ ตามศักยภาพ
๒.๔.๒ จุดมุ่งหมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีความสุข มี
ศักยภาพในการศึกษาตอ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเปนจุดหมายเพ่ือใหเกิดกับผูเรียน เมื่อจบ
การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ดงั นี้

๙ กระทรวงศึกษาธิการ, หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุ
สภาลาดพรา้ ว ๒๕๔๔), หนา้ ๕ – ๑๑.

๑๒

๑. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมทพ่ี ึงประสงค์ เหน็ คุณคา่ ของตนเอง มีวินัยและ
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง

๒. มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา
การใช้เทคโนโลยแี ละมที กั ษะชวี ิต

๓. มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มสี ุขนสิ ยั และรักการออกกาลงั กาย
๔. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิต
และการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ
๕. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา
สงิ่ แวดล้อม มีจิตสาธารณะท่ีมงุ่ ทาประโยชน์และสร้างสง่ิ ที่ดงี ามในสังคม และอยู่รว่ มกนั ในสังคมอยา่ ง
มคี วามสุข
๒.๔.๓ สมรรถนะสา่ คัญของผูเ้ รียน๑๐
หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน มุงใหผูเรยี นเกิดสมรรถนะสาคญั ๕ ประการ ดงั นี้
๑. ความสามารถในการส่อื สาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวฒั นธรรม
ในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคดิ ความรู้ความเขา้ ใจ ความรู้สึก และทศั นะของตนเอง เพ่ือแลกเปลย่ี น
ข้อมูลข่าวสาร และประสบการณ์ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเอง และสังคม รวมท้ังการ
เจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสาร และ
ประสบการณ์ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัด
และลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผล และความถูก
ต้องตลอดจนการเลือกใช้วิธีการส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเอง และ
สังคม
๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคดิ วเิ คราะหก์ ารแกป้ ัญหาและ
อุปสรรคต่างๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูล
สารสนเทศ เข้าใจความสัมพนั ธ์ การเปลย่ี นแปลงของเหตกุ ารณ์ตา่ งๆ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ต่างๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ
เข้าใจความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์
ความรู้มาใชใ้ นการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบ
ทเ่ี กดิ ขึน้ ตอ่ ตนเองสงั คม และสิ่งแวดล้อม

๑๐ กระทรวงศึกษาธิการ, หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุ
สภาลาดพรา้ ว ๒๕๔๔), หน้า ๔.

๑๓

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่างๆ
ไปใชใ้ นการดาเนินชวี ิตประจาวัน การเรียนรูด้ ้วยตนเอง การเรยี นรู้อยา่ งต่อเน่ือง การทางาน และการ
อยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความ
ขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมและ
การรู้จักหลีกเลีย่ งพฤตกิ รรมไม่พึงประสงค์ที่สง่ ผลกระทบต่อตนเองและผู้อืน่

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้
เทคโนโลยีด้านตา่ งๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้าน
การเรียนรู้ ในด้านการเรียนรู้ การสอ่ื สาร การทางาน การแก้ปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถูกตอ้ งเหมาะสม
และมีคณุ ธรรม

๒.๔.๔ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์๑๑
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคณุ ลักษณะอันพึงประ

สงค เพื่อใหสามารถอยูรวมกับผูอ่ืนในสังคมไดอยางมีความสุข ในฐานะเปนพลเมืองไทยและพลโลก
ดังน้ี

๑. รักชาติ ศาสน กษัตริย
๒. ซ่อื สตั ยสุจรติ
๓. มวี นิ ัย
๔. ใฝเรยี นรู
๕. อยูอยางพอเพียง
๖. มงุ ม่นั ในการทางาน
๗. รกั ความเปนไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
นอกจากน้ี สถานศึกษาสามารถกาหนดคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคเพม่ิ เติมใหสอดคล
องตามบรบิ ทและจดุ เนนของตนเอง
๒.๔.๕ หลกั สตู รกล่มุ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมวาดวยการอยูรวมกันใน
สังคม ท่ีมีความเชื่อมสัมพันธกัน และมีความแตกตางกันอยางหลากหลาย เพื่อชวยใหสามารถปรับ
ตนเองกับบริบทสภาพแวดลอม เปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู ทักษะ คุณธรรม และคา
นยิ มที่เหมาะสมโดยไดกาหนดสาระตางๆไว ดังน้ี

๑๑ กระทรวงศึกษาธิการ, หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุ
สภาลาดพร้าว ๒๕๔๔), หนา้ ๕.

๑๔

ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเก่ียวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ การนาหลักธรรมคาสอนไปปฏิบัตใิ นการพัฒนา

ตนเอง และการอยูรวมกันอยางสันติสุข เปนผูกระทาความดี มีคานิยมที่ดีงาม พัฒนาตนเองอยูเสมอ

รวมทง้ั บาเพ็ญประโยชนตอสงั คมและสวนรวม

หนาท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองใน

สังคมปจจุบันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ลักษณะและ

ความสาคัญการเปนพลเมืองดี ความแตกตางและความหลากหลายทางวัฒนธรรม คานิยม ความเช่ือ

ปลูกฝงคานิยมดานประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข สิทธิ หนาที่ เสรีภาพการ

ดาเนินชวี ติ อยางสันติสุขในสงั คมไทยและสังคมโลก

เศรษฐศาสตร การผลิต การแจกจาย และการบริโภคสินคาและบริการ การบริหาร

จัดการทรัพยากรที่มีอยูอยางจากัดอยางมีประสิทธิภาพ การดารงชีวิตอยางมีดุลยภาพ และการนา

หลกั เศรษฐกิจพอเพยี งไปใชในชวี ติ ประจาวนั

๒.๔.๖ สาระสังคมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม/มาตรฐานการเรยี นรู้๑๒

กลุม่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรมไดก้ าหนดสาระต่างๆไว้ ดังนี้

สาระท่ี ๑ ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส ๑.๑ รู และเข าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา

หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตน

นับถือและศาสนาอ่ืน มีศรัทธาท่ีถูกตอง ยึดม่ัน

และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยูรวมกันอยาง

สนั ติสุข

มาตรฐาน ส ๑.๒ เขาใจ ตระหนัก และปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนที่ดี

และธารงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน

นับถือ

สาระที่ ๒ หนาทพ่ี ลเมือง วัฒนธรรม และการดา่ เนนิ ชีวิตในสงั คม

มาตรฐาน ส ๒.๑ เข าใจและปฏิบัติตนตามหน าท่ีของการเป นพล

เมืองดีมีคานิยมที่ดีงาม และธารงรักษาประเพณี

และวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู ร วมกันใน

สงั คมไทย และสงั คมโลกอยางสนั ติสขุ

๑๒ กระทรวงศึกษาธิการ, หลักสูตรการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๔๔, (กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พค์ ุรุ
สภาลาดพรา้ ว ๒๕๔๔), หนา้ ๑๕.

มาตรฐาน ส ๒.๒ ๑๕

สาระที่ ๓. เศรษฐศาสตร์ เข าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมป จจุ
มาตรฐาน ส ๓.๑ บัน ยึดมั่น ศรัทธา และธารงรักษาไว ซ่ึงการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหา
มาตรฐาน ส ๓.๒ กษตั รยิ ทรงเปน็ ประมุข
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร
มาตรฐาน ส ๔.๑ เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการ
ผลติ และการบรโิ ภค การใชทรพั ยากรทม่ี ีอยูจากัด
มาตรฐาน ส ๔.๒ ไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมท้ังเขาใจ
หลกั การของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพื่อการดารงชีวิต
มาตรฐาน ส ๔.๓ อยางมีดลุ ยภาพ
สาระที่ ๕ ภมู ศิ าสตร เขาใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต าง ๆ
มาตรฐาน ส ๕.๑ ความสัมพันธทางเศรษฐกิจ และความจาเปนของ
การรวมมอื กนั ทางเศรษฐกจิ ในสังคมโลก

เขาใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุค
สมัยทางประวัติศาสตร สามารถใชวิธีการทาง
ประวัติศาสตรมาวิเคราะหเหตุการณตางๆ อยาง
เปน็ ระบบ
เขาใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงป
จจุบัน ในดานความสัมพันธและการเปล่ียนแปลง
ของเหตุการณ อย างต อเนื่อง ตระหนักถึง
ความสาคัญและสามารถวิเคราะห ผลกระทบท่ี
เกดิ ข้ึน
เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิป
ญญาไทยมีความรักความภูมิใจและธารงความเป
นไทย

เขาใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความ
สัมพันธของสรรพส่ิงซึ่งมีผล ตอกันและกันใน
ระบบของธรรมชาตใิ ชแผนทแ่ี ละเคร่ืองมือทางภูมิ

๑๖

ศาสตร ในการคนหา วเิ คราะห สรุป และใชขอมูล

ภูมิสารสนเทศอยางมีประสทิ ธิภาพ

มาตรฐาน ส ๕.๒ เขาใจปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสภาพแวดล

อมทางกายภาพที่ก อให เกิดการสร างสรรค

วัฒนธรรม มีจิตสานึก และมีสวนรวมในการอนุ

รักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพ่ือการพัฒนาที่

ยง่ั ยืน

๒.๔.๗ ค่าอธบิ ายรายวชิ าภูมศิ าสตร์ ส ๒๒๑๐ ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๒๑๓

ศึกษาการใช้เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และนาเสนอข้อมูล

เก่ียวกับลักษณะทางกายภาพ และสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริกา วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง

ลักษณะทางกายภาพ และสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริกา การก่อเกิดส่ิงแวดล้อมใหม่ทางสังคมอัน

เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ และทางสังคมของทวีปแอฟริกา แนวทางการอนุรักษ์

ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในทวีปยุโรปและแอฟริกา ปัญหาเก่ียวกับส่ิงแวดล้อมที่เกิดขึ้นใน

ทวีปยุโรปและแอฟริกา สาเหตุและผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเปล่ียนแปลงของ

ส่งิ แวดลอ้ มในทวปี ยุโรปและแอฟริกา

โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทาง สังคม

กระบวนการเผชิญสถานการณแ์ ละแกป้ ัญหา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกล่มุ

เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ สามารถส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการใช้

เทคโนโลยใี นการสบื คน้ ขอ้ มลู มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมัน่ ในการทางาน มีวนิ ัย

มีจิตสาธารณะ เหน็ คุณคา่ และมีจติ สานกึ ในการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม

รหสั ตวั ชีว้ ัด

ส ๕.๑ ม.๒/๒,ม.๒/๒

ส ๕.๒ ม.๒/๑,ม.๒/๒,ม.๒/๓,ม.๒/๔

รวมทง้ั หมด ๖ ตัวช้ีวัด

๑๓ https://sites.google.com/site/misspanadda59/kha-xthibay-raywicha (สบื คน้ เม่อื วันท่ี ๓
มีนาคม ๒๕๖๔).

๑๗

๒.๕ งานวจิ ัยทเี่ กยี่ วขอ้ ง

๒.๕.๑ งานวิจัยในประเทศ
นิกสัน วังโพธ์ิ๑๔ ได้ทาการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชา

ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาปทุมธานีพบว่า ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียน
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ ประถมศึกษาสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาปทุมธานีคือ ปัจจัยด้าน
นักเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕ ได้แก่ (๑) เพศ (๒) แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียน
(๓) อาชีพของผู้ปกครอง (๔) รายได้ของผู้ปกครอง ส่วนปัจจัยด้านห้องเรียนไมม่ ีอทิ ธิพลต่อผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นวิชาภาษาอังกฤษ

จากงานวิจัยดังกล่างข้างต้น สรุปได้ว่า ปัญหาการเรียน หมายถึง อุปสรรค์ขอ้ บกพร่องในการ
เรียน ซ่ึงทาการผลการเรียนต่ากว่าเป้าหมายที่กาหนด ปัญหาหารเรียนอาจจะมาจากส่ิงแวดล้อม
เน้ือหาวชิ า สอ่ื อุปกรณท์ ีใ่ ชใ้ นการเรยี นการสอน และตวั ของนักเรยี นเอง

พรรณีชูชัย เจนจิต๑๕ กล่าวว่า การที่ครูมีความกรุณาเห็นอกเห็นใจนักเรียน สนใจนักเรียน
อย่างสํม่าเสมอ มีความยุติธรรม ไม่เลือกท่ีรักมักท่ีชัง ตลอดจนมี ความสัมพันธ์อันดีกับนักเรียน ทาให้
นักเรียนรักท่ีจะเรียน และทาให้นักเรียนประสบความสาเร็จใน การเรียน การรับรู้ของครูที่มีต่อ
นักเรียน เป็นตวั แสดงถึงบทบาทและลักษณะความสัมพนั ธร์ ะหว่างครูกบั นักเรยี น ดังน้ี คอื

๑. นกั เรียนแต่ละคนเป็นปจั เจกบุคคลและทุกคนท่ีมีบุคลิกภาพท่ีเปน็ ของ เขาเองซึ่ง
ตา่ งกบั คนอน่ื

๒. นักเรียนทุกคนมาโรงเรียนเพราะอยากเรียน ฉะนั้นครูที่ดีจะรู้จักเรา ความสนใจ
ของ นักเรียน ทาใหน้ กั เรยี นตง้ั ใจเรยี นไม่เบือ่ หนา่ ย

๓. ความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนจะต้องเป็นไปด้วยดี นักเรียน ไว้วางใจครู
และสามารถ พดู กับครไู ดอ้ ย่างเปดิ เผยโดยไมต่ อ้ งกลวั ถูกลงโทษ

๔. ครูและนักเรียนต้องมีความสัมพันธ์แบบประชาธิปไตย นักเรียนสามารถ ออก
ความเห็น หรือร่วมกบั ครูตัง้ เกณฑ์ต่างๆ เพื่อใช้ในหอ้ งเรียนได้

๑๔ นิกสัน วังโพธ์ิ, ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี ๖ โรงเรียนประถมศึกษาสังกัดส่านักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี, (กรุงเทพมหานคร :
มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ๒๕๔๘), หนา้ ๕.

๑๕ พรรณีชูชัย เจนจิต, องค์ประกอบท่ีมีอิทธิพลต่อปัญหาการเรียนในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน,
(กรงุ เทพฯ : บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรจน์ ๒๕๔๙), หนา้ ๕๘.

๑๘

๕. บรรยากาศของห้องเรียนท่ีดีจะต้องเอื้อต่อการเรียนและเสริมสร้าง บุคลิกภาพ
ของ นักเรียน โดยมีครูเป็นผู้สนับสนุนให้กาลังใจนักเรียนแต่ละคนให้พัฒนาทั้งด้านความรู้ และ
บคุ ลิกภาพ

จากงานวิจัยดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า ความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างนักเรียนกับครู และ
บรรยากาศในช้ันเรียนที่น่าสนใจจะช่วยให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียน ในด้านความรู้
ความสามารถในวิชาชีพของครูท่ีดาเนินการสอน ครูเป็นผู้มีความสามารถตรงตามสาขาวิชาชีพ มี
ทักษะในการสอนที่ทาให้ผู้เรียนได้เกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างหลากหลาย ด้วยทักษะเทคนิควิธีการ
สอนที่มีความเชี่ยวชาญ สามารดาเนินการจัดการเรียนการสอนท่ีทาให้ผู้เรียน ได้เข้าใจ เน้ือหา
รายละเอียดของวิชาไดอ้ ย่างชดั เจน มกี ารจัดบรรยากาศการเรยี นการสอนท่ีเอือ้ อานวยให้กับผู้เรยี น มี
การใช้สื่อ โสตทัศนูปกรณ์ที่ทันสมัย เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพในการ
เรียนการสอน ครูมีการวัดผลประเมินผลการเรียนเพื่อนามาพฒั นาในเรื่องการสอนอยา่ งต่อเนื่องอย่าง
มปี ระสทิ ธิภาพ

พระธีราภิสทุ ธ์ิ สารธมุโม๑๖ ได้ศกึ ษาปัจจยั ท่ีสง่ ผลตอ่ สมาธิในการเรียนของนักเรียนช่วงช้ันท่ี
๓ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เขตทวี วัฒนา กรุงเทพมหานคร พบว่า
บุคลิกภาพมีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมาธิในการเรียนอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๑ แสดง
ว่านักเรียนบางคนท่ีมีบุคลิกภาพแบบ เอ มีสมาธิในการเรียนมาก ทั้งนี้เพราะนักเรียนท่ีมีบุคลิกภาพ
แบบ เอ จะมีลักษณะ คือ ความมานะพยายามในการทางาน ชอบฝ่าฟันอุปสรรคต่างๆ เพื่อประสบ
ความสาเรจ็ ชอบทางานด้วยความรวดเร็ว

จากงานวิจัยดังกล่าว สรุปได้ว่า บุคลิกภาพทั้งแบบเก็บตัว-แสดงตัว มีผลให้เด็กมีลักษณะที่
แตกต่างกันในด้านของพฤติกรรม การ แสดงออกและความสัมพันธ์กับผู้อ่ืน ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นผลจาก
การเลย้ี งดู ดังนั้นผูว้ จิ ัยคาดว่า บุคลิกภาพแบบ เอ น่าจะเป็นปัจจยั หนง่ึ ทีส่ ง่ ผลต่อปัญหาการเรยี นของ
นักเรียนช่วงชัน้ ที่ ๒

สมนึก เสียงหวาน๑๗ ได้ศึกษาการควบคุมดูแลนักเรียนของผู้ปกครองโรงเรียนเทศบาล ๓
ชุมชนวัดจันทราวาส สังกัดเทศบาลเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี จาแนกตามภูมิหลังของผู้ปกครอง
นักเรียน โดยวิธีการวิจัยเชิงสารวจจากกลุ่มตัวอย่างท่ีเป็นผู้ปกครองนักเรียน โรงเรียนเทศบาล ๓
ชมุ ชนวัดจนั ทราวาส จานวน ๒๗๓ คน พบว่า ผู้ปกครองนักเรียนมีการควบคุมดูแลนักเรียน ด้านการ

๑๖ พระธีราภิสุทธ์ิ สารธมฺโม, ปัจจัยท่ีส่งผลต่อสมาธิในการเรียนของนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ ๓ โรง
เรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร, (กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ, ๒๕๕๐), หนา้ ๙๒.

๑๗ สมนึก เสียงหวาน, สภาพและปัญหาในการวางแผนบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียน สังกัด
เทศบาลเขตการศึกษา ๕, (วทิ ยานิพนธ์ครศุ าสตรมหาบณั ฑิต สถาบันราชภัฏเพชรบุรี : เพชรบุรี, ๒๕๕๑), หนา้ ๗๕.

๑๙

เรียน อยู่ในระดับมาก โดยแสดงความชื่นชมกับผลงานท่ีนักเรียนทาสาเร็จ มีการปฏิบัติเป็นลาดับแรก
รองลงมา แนะนานักเรียนให้รู้จักคิดอย่างรอบคอบและ แก้ไขปัญหาด้วยตนเอง และปลอบใจและให้
กาลังใจเมื่อนักเรียนมีปัญหาในการเรียน ส่วนพบครูเพ่ือ ปรึกษาในกรณีที่พบปัญหาการเรียนของ
นักเรียนมกี ารปฏิบตั เิ ปน็ ลาดับสุดทา้ ย

จากงานวิจัยดังกล่าว สรุปได้ว่า การเอาใจใส่การเรียนของผู้ปกครองเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทาให้
นักเรียนมีพัฒนาการในการเรียนที่ดี ช่วยให้ นักเรียนเกิดความอบอุ่นใจในการเรียนและมีความ
ขยันหม่ันเพียรในการเรียน ดังน้ันผู้วิจัยจึงคิดว่า การเอาใจใส่การเรียนของผู้ปกครองน่าจะส่งผลต่อ
ปญั หาการเรียนของนกั เรียนช่วงชั้นท่ี ๒

๒.๕.๒ งานวิจยั ต่างประเทศ
เรย์โนลด์ Raynolds๑๘ ได้ทาการวิจัยเรอื่ งการสอนสงั คมศึกษา ในโรงเรียนมัธยมศึกษาในรัฐ

เทนเนสซีตะวันออก ผลการวิจัยพบว่า ด้านตัวผู้สอนมีอุปสรรคที่ทาให้ผู้สอนไม่สามารถปรับปรุงการ
เรียนการสอนได้ นนั่ กค็ ือ ไม่มเี วลาเพียงพอ ดา้ นวธิ ีสอน อาจารยผ์ ้สู อนมุ่งสอนให้นักเรยี นจาเน้ือหา มี
อาจารย์ส่วนน้อยที่ใช้วิธีสืบสวนสอบสวน การศึกษารายกรณี การใช้อุปกรณ์การสอน หนังสืออ่าน
ประกอบมีน้อยมาก การเลือกหนังสือเป็นตาราเรียน ความพอใจ ของอาจารย์ส่วนมากต้องการให้มี
การอบรมวธิ สี อนสงั คมศึกษาใหม่

ไอแซงค์ อาโนลด์๑๙ และไมลีให้ความหมายของคาว่า ผลสัมฤทธิ์ หมายถึง ขนาดของ
ความสาเร็จที่ได้จากการทางานที่ต้องอาศัย ความหมายอย่างมาก ซึ่งเป็นผลมาจากการกระทาท่ีต้อง
อาศัยความสามารถท้ังร่างกายและ สติปัญญา ดังนั้น ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจึงเป็นขนาดของ
ความสาเร็จที่ได้จากการเรียนโดยต้อง อาศัยความสามารถเฉพาะตัวของบุคคล ผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนอาจได้กระบวนการท่ีไม่ต้องอาศัย การทดสอบ เชน่ การสังเกต เพ่ือการตรวจการบ้าน หรืออาจ
ไดใ้ นรูปของเกรดจากโรงเรยี นซึ่งตอ้ ง อาศยั กระบวนการทีซ่ บั ซอ้ น และระยะเวลานานพอสมควร หรือ
อาจได้จากการวัดผลสัมฤทธท์ิ างการ เรยี นทว่ั ไป

จากงานวิจัยดังกล่าวข้างต้น สรุปได้วา่ บุคลิกภาพ ซ่ึงเป็นสิ่งท่ีได้รับการกล่อมเกลาและหล่อ
หลอมมาจากครอบครัวและรับการขัดเกลาจากโรงเรียน ก่อให้เกิดปัญหาในการปกครองและเป็น
ผลกระทบต่อการเรียน เช่น นิสัยก้าวร้าว ชอบทาลายส่ิงของ อวดดี เลินเล่อ ฝ่าฝืนระเบียบ ชอบทา
ตวั เด่น เป็นคนข้ีอายสุขภาพ หากเด็กมีโรคประจาตัวก็จะเป็นอุปสรรคต่อการเรียนและอาจทาให้เด็ก
เกิดปมด้อย เกิดความท้อถอยในการเรียนได้ การปรับตัวให้เข้ากับระบบต่าง ๆ ของโรงเรียน เช่น
ระบบการเรียนการสอนใหม่ ๆ เพื่อน ครูผสู้ อน การวางแผนการเรียน เด็กคน้ หาความชอบของสว่ นตัว
ยังไม่เจอ จะเรียนอะไรดี เพ่ือจะนาไปใช้ในการประกอบอาชีพ ยังไม่มีเป้าหมายชีวิตอย่างไรการ

๑๘ เรย์โนลด์ Raynolds., ปัญหาการเรยี น, (กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร์ ๒๕๔๒), หน้า ๓๔.
๑๙ ไอแซงค์ อาโนลด์, ปญั หาการเรียน, (กรุงเทพฯ : ตน้ อ้อ ๒๕๔๓), หนา้ ๙๘ – ๙๙.

๒๐

เปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม สิ่งยั่วยุต่าง ๆ ในสังคมปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นสื่อทางโทรทัศน์
ทางอินเตอร์เน็ต การคบเพ่ือนหรือกลุ่มเพ่ือน กลุ่มเพื่อนมีผลต่อเจตคติและพฤติกรรมการเรียนการ
สอนตามลักษณะของกลุ่มเพ่ือน เช่น การเลือกวิชาเรียน และแผนการเรียน นิสัยในการเรียนและ
ทัศนคติต่อการเรียนและการปรับตัวทางการเรียนมีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ซ่ึง
สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม (Bloom, อ้างถึงใน ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์) ได้
เสนอทฤษฎีการเรียนรู้ในโรงเรียน กล่าวคือ พ้ืนฐานของผู้เรยี นเป็นหัวใจในการเรียน ผเู้ รียนแต่ละคน
จะเข้าชั้นเรียนด้วยพ้ืนฐานที่จะช่วยให้เขาประสบความสาเร็จในการเรียนรู้ต่างกัน ถ้าเขามีพ้ืนฐานท่ี
คลา้ ยคลงึ กัน ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจะไม่แตกตา่ งกนั คุณลักษณะของแต่ละคน เช่น ความร้ทู จี่ าเป็น
กอ่ นเรยี น แรงจงู ใจในการเรยี นคุณภาพของการสอนเปน็ สง่ิ ท่ีปรับปรุงได้เพ่ือให้แต่ละคนและทั้งกลมุ่ มี
ระดับการเรียนท่ีสงู ขึน้

ครอนบาค๒๐ มีแนวคิดว่าคุณลักษณะทาง จิตวิทยาในครอบครัวซึ่งประกอบด้วยบรรยากาศ
ทางปัญญาและอารมณ์ ซึ่งบรรยากาศทางอารมณ์ นั้นเป็นคุณลักษณะหน่ึงของสภาพแวดล้อมภายใน
ครอบครัวที่บิดามารดาสร้างข้ึน เด็กที่ประสบ ความสาเร็จในชีวิตมักมาจากครอบครัวท่ีบิดามารดามี
ทัศนะคติท่ีดีต่อลูกและมีความสัมพันธ์กันอย่าง ใกล้ชิด ถ้าเด็กมีบิดามารดาที่เข้าใจตน ให้ความรัก
ความอบอุ่น และช่วยเหลือในเวลาท่ีตอ้ งการ เดก็ ย่อมมีสขุ ภาพจิตดีและทาให้เด็กเรียนไดอ้ ย่างเต็มที่
และประสบความสาเร็จในการเรยี น โคแมน องค์ประกอบของบรรยากาศในครอบครัวทม่ี ีความสาคัญ
อย่าง ยิ่งต่อการพัฒนาการของเด็ก ซึ่งได้แก่ ความรัก ความอบอุ่น การยอมรับและการยกย่องเด็ก
บรรยากาศในครอบครัว ซ่ึงประกอบด้วย ความรัก ความอบอุ่น และยอมรับบุตรธิดาด้วยความ
เหมาะสม สมเหตุสมผล และสอดคล้องกับสถานการณ์ท่ีมีความสาคัญต่อการพัฒนาการและความ
สมบรู ณแ์ ห่งบคุ ลกิ ภาพของสมาชกิ ในครอบครวั นัน้ ๆ

จากเอกสารดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า การเอาใจใส่การเรียนของผู้ปกครอง ส่งผลให้เด็กมี
สุขภาพจิตที่ดี ร่าเริง มีความรับผิดชอบ ขยันหม่ันเพียร และประสบความสาเร็จในการเรียน ผู้เรียน
จะเติบโตเป็นคนท่ีต้องการความสาเร็จ มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้วย แมคเคลแลนด์ ได้พบว่า
ความสมั พนั ธ์ระหว่างแรงจูงใจกับการอบรมเลี้ยงดขู องพ่อแม่มีค่อนข้างสงู การอบรมเล้ียงดขู องพ่อแม่
มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิในตัวของผู้เรียนเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะครอบครัวที่พ่อแม่เล้ียงดู
แบบเดินทางสายกลาง ไม่ใช้อานาจบาตรใหญ่ ไม่ตามใจเด็กจนเกินไป ไม่เค่ียวเข็ญให้เด็กทาในส่ิงท่ี

๒๐ ครอนบาค, การส่ารวจปัญหาการเรียนสังคมและส่วนตัวของนักเรียนโรงเรียนสารพัดช่างใน
กรุงเทพมหานคร ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. , (กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรจน์ ๒๕๔๗),
หนา้ ๗๒.

๒๑

เกนิ ความสามารถของเขา ไม่วางมาตรฐานความสาเร็จไวส้ ูงหรอื ตา่ เกินไป ส่งเสริมให้เด็กช่วยตวั เองให้
ทาอะไรเองตั้งแต่ยังเด็ก เม่อื พ่อแมแ่ ละครูให้ความรักความอบอุน่ และสนับสนุนแก่เด็ก เขาจะประสบ
ความสาเร็จดว้ ยตวั เอง

๒.๖ กรอบแนวคิดการวจิ ัย

จากการศึกษาแนวคดิ หลกั การและขัน้ ตอนของรปู แบบปจั จัยท่มี ีผลกระทบกับนักเรียน
ดงั กล่าว ผูว้ ิจัยไดท้ ากรอบแนวคดิ การวิจยั ดังนี้

ตวั แปรต้น ตัวแปรตาม

ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนในรายวิชา การเรียนรายวิชาภูมศิ าสตร์ ของนักเรียน
ภมู ศิ าสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ โรงเรียนบา้ นหนอง
โก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัด
๑.ปัจจยั ดา้ นสว่ นตัว ขอนแก่น
๒.ปัจจัยด้านครู
๓.ปจั จัยด้านครอบครัว
๔.ปัจจัยดา้ นสอ่ื การสอน

ปัจจยั ท่ีสง่ ผลตอ่ การเรียนในรายวชิ าภูมิศาสตร์ ๔ ด้าน คอื ปจั จัยด้านสว่ นตัว ได้แก่ บคุ ลิกภาพ
และนิสยั ทางการเรียน ด้านครู ได้แก่ ครูสอนมีความรู้ความสามารถในการสอน และปัจจัยปัจจัยด้าน
ครอบครวั ได้แก่ การเอาใจใสก่ ารเรียนของผปู้ กครอง ปัจจัยดา้ นสื่อการสอน ได้แก่ ส่ือไม่เพยี งพอและ
ไม่เหมาะสม ท่ีส่งผลต่อปัญหาการเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก
ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จงั หวดั ขอนแกน่

บทท่ี ๓

ระเบียบวิธีวจิ ยั

ในการวิจัยคร้ังน้ีเพ่ือทราบถึงปัจจัยส่งผลต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น ผู้วิจัยได้
ดาเนินการตามขน้ั ตอน ดังนี้

๓.๑ รปู แบบการวจิ ัย
๓.๒ ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง
๓.๓ เครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัย
๓.๔ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
๓.๕ การวิเคราะหข์ ้อมูล
๓.๖ สถติ ิท่ีใชใ้ นการวิจยั

๓.๑ รปู แบบการวิจัย

การศึกษาวิจัยเร่ือง ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรายวิชาภมู ิศาสตร์ ของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษา
ปีท่ี ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น มีรูปแบบการวิจัยเชิง
ปรมิ าณ (Quantitative Research)

๓.๒ ประชากรและกลมุ่ เปา้ หมาย

กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ได้มาโดยแบบเจาะจง เป็นนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒
โรงเรยี นบา้ นหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จงั หวัดขอนแก่น จานวน ๑๙ คน

๓.๓ เครือ่ งมอื ที่ใช้ในการวจิ ยั

๓.๓.๑ เครอ่ื งมือทีใ่ ช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู
การวิจัยคร้ังนี้ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของ
นกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น
โดยแบง่ ออกเป็น ๓ ตอน ดงั นี้

ตอนที่ ๑ ข้อมูลพนื้ ฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย เพศ คะแนนเฉล่ยี

๒๔

ตอนที่ ๒ แบบสอบถามเก่ียวกับปัจจัยส่งผลต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของ

นกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น

โดยแบ่งออกเปน็ ๔ ดา้ น คือ ๑) ปจั จัยดา้ นขอ้ มูลส่วนตัว ๒) ปัจจยั ด้านกบั ครู ๓) ปัจจยั ดา้ นผู้ปกครอง

และ ๔) ปจั จยั ดา้ นส่อื การสอน วดั ผลกระทบเป็น ๕ ระดับ ดงั นี้ (บุญชม ศรสี ะอาด)๒๑

เกณฑก์ ารแปลค่าเฉลี่ย ระดบั ความคดิ เห็น

๔.๑๕- ๕.๐๐ ๕ หมายถึง เป็นปัจจยั ท่มี ีผลกระทบมากทีส่ ุด

๓.๕๑- ๔.๕๐ ๔ หมายถงึ เป็นปจั จยั ทม่ี ีผลกระทบมาก

๒.๕๑-๓.๐๐ ๓ หมายถึง เป็นปัจจยั ทม่ี ผี ลกระทบปานกลาง

๑.๕๑-๒.๕๐ ๒ หมายถึง เป็นปัจจยั ท่ีมีผลกระทบน้อย

๑.๐๐-๑.๕๐ ๑ หมายถงึ เป็นปัจจยั ท่มี ีผลกระทบน้อยทส่ี ดุ

ตอนท่ี ๓ ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ ทเี่ ปน็ ผลตอ่ การเรียนรายวชิ าภูมศิ าสตร์

๓.๓.๒ การสร้างและการหาคณุ ภาพของเครือ่ งมือ

๑. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับปัจจัยส่งผลต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์

ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัด

ขอนแกน่

๒. สร้างแบบสอบถามปัจจัยส่งผลต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ โรงเรียนบา้ นหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวดั ขอนแกน่ ตามแนวคิด

ทไี่ ดจ้ ากขอ้ ๑.

๓. นาแบบสอบถามทีส่ รา้ งข้ึนเสนอตอ่ อาจารย์ที่ปรึกษา

๔. ปรับแกแ้ บบสอบถามตามอาจารย์ปรึกษา และเสนอต่อ อาจารย์อกี คร้ัง

๕. โดยนาแบบสอบถามเสนอผู้เชี่ยวชาญ ๓ ท่าน ได้แก่ ๑) ผ.ศ.อนุสรณ์ นางทะราช ๒)

อาจารยบ์ ญุ ส่ง นาแสวง ๓) อาจารย์วิรตั น์ ทองภู ตรวจสอบความถูกต้องของเนือ้ หา (IOC)

๖. นาแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจความตรงของเนอ้ื หาแล้วมาจัดทาแบบสอบถามฉบับ

สมบูรณ์และนาไปเกบ็ รวบรวมข้อมลู กับกลุ่มตวั อย่างต่อไป

๒๑ บญุ ชม ศรสี ะอาด, วธิ กี ารทางสถิติสาหรบั การวิจัย, (กรงุ เทพฯ : สุวรี ิยาสาสน,์ ๒๕๔๗), หน้า ๗๒.

๒๕

๓.๔ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

๑. ผู้วิจัยศึกษาเอกสารงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับงานวิจัยเร่ืองปัจจัยส่งผลต่อการเรียนรายวิชา
ภูมิศาสตร์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน
จงั หวัดขอนแกน่

๒. ผู้วิจัยนาแบบสอบถามไปเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมายด้วยตนเอง จานวน ๑๙
ฉบบั ระหว่างวนั ที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ ถึงวนั ที่ ๒๖ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔ โดยชี้แจงวตั ถปุ ระสงค์และ
ขอความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม ไดร้ ับแบบสอบถามคืนมาครบทุกฉบับ

๓. ผู้วิจัยนาแบบสอบถามจานวน ๑๙ ฉบับ ที่นกั เรียนตอบมาคัดเลือกเฉพาะฉบับท่ี สมบรู ณ์
คือ ตอบครบทุกข้อ ปรากฏว่าสมบูรณ์ทุกฉบับ ผู้วิจัยนามาตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ที่ กาหนดไว้
แล้วนาขอ้ มูลมาวเิ คราะห์ทางสถิตติ ่อไป

๓.๕ การวเิ คราะห์ข้อมูล

จากแบบสอบถามมาวเิ คราะห์ ดงั นี้
๑. วิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบล
หนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น โดยการหาค่าร้อยละ แล้วนามาเสนอผลการวิเคราะห์
ข้อมลู ในรปู ของตารางประกอบคาบรรยายใต้ตาราง
๒. วเิ คราะห์ปัจจัยที่สงผลต่อปจั จัยด้านส่วนตัว ปัจจัยด้านครู ปัจจัยด้านครอบครัว และด้าน
ส่อื การสอน กับปัญหาการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนอง
โก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแกน่ โดยการหาคา่ เฉลยี่ ( ) และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.)
๓. ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมปัจจัยที่สงผลต่อปัจจัยด้านส่วนตัว ปัจจัยด้านครู ปัจจัยด้าน
ครอบครัว และด้านส่ือการสอน กับปัญหาการเรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนบ้าน
หนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น ในแบบสอบถามเป็นคาถามแบบเปิด ทา
การวเิ คราะหเ์ น้อื หาแบบบรรยาย

๓.๖ สถติ ทิ ีใ่ ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมูล

สถติ ทิ ใี่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูลในการวิจัยคร้งั น้ี ได้แก่
สถิตพิ ื้นฐาน ได้แก่
๑. ค่าร้อยละ (%)
๒. ค่าเฉลี่ย
๓. สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.)

บทท่ี ๔

ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ในงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ โรงเรียนบา้ นหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวดั ขอนแก่น ในการวิจัย
คร้ังน้ีวิจัยได้ดาเนินการ และเม่ือส้ินสุดการวิจัยจึงทาการทดสอบและนาผลที่ได้ไปวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้วิจัยได้เสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ตามลาดบั ขั้นตอนดงั ต่อไปน้ี

๔.๑ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐานของผ้ตู อบแบบสอบถามปัจจยั ที่ส่งผลต่อการเรยี นรายวชิ า
ภูมิศาสตร์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน
จังหวัดขอนแก่น

๔.๒ ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของนกั เรียน
ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ โรงเรยี นบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จงั หวดั ขอนแก่น

๔.๓ องค์ความรใู้ หมท่ ่ไี ดร้ บั จากการวจิ ัย

๔.๑ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐานของผู้ตอบแบบสอบถามปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรายวิชา
ภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอ
กระนวน จังหวดั ขอนแก่น

ตาราง ๔.๑ ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถามปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน
จงั หวัดขอนแก่น

ขอ้ มูลทั่วไป จานวน (คน) รอ้ ยละ
๑.เพศ
๑๕ ๗๘.๙๔
ชาย ๔ ๒๑.๐๖
หญงิ ๑๐ ๕๒.๖๓
๒. คะแนนเฉล่ยี (GPAX)
๒.๐๐ – ๒.๔๙

๒๗

ตารางที่ ๔.๑ ขอ้ มลู พนื้ ฐานของผูต้ อบแบบสอบถามปัจจัยทส่ี ง่ ผลต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของ
นักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ โรงเรยี นบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน
จังหวดั ขอนแกน่ (ต่อ)

ข้อมูลท่ัวไป จานวน (คน) รอ้ ยละ
๒.๕๐ – ๒.๙๙ ๙ ๔๗.๓๗

รวม ๑๙ ๑๐๐

จากตารางที่ ๔.๑ ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถามปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเรียนรายวิชา
ภูมิศาสตร์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน
จังหวัดขอนแก่น แบ่งเป็นเพศชาย จานวน ๑๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๗๘.๙๔ และเพศหญิง จานวน ๔
คน คิดเปน็ ร้อยละ ๒๑.๐๖ คะแนนเฉล่ีย (GPAX) ของนกั เรียน โดยแยกเปน็ ช่วงคะแนนจากมากไปหา
น้อย คะแนนเฉล่ีย (GPAX) ระหว่าง ๒.๕๐ – ๒.๙๙ จานวน ๑๐ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๕๒.๖๓ คะแนน
เฉลีย่ (GPAX) ระหวา่ ง ๒.๐๐ – ๒.๔๙ จานวน ๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๗.๓๗

๔.๒ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยท่ีส่งผลต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้น
มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวดั ขอนแก่น

ตารางที่ ๔.๒ ปัจจยั ที่ส่งผลตอ่ การเรียนรายวชิ าภมู ศิ าสตร์ ของนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ โรงเรยี น
บา้ นหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวดั ขอนแกน่ โดยภาพรวม

ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียน S.D แปลผล
รายวิชาภูมศิ าสตร์
๓.๔๔ ๐.๔๘ ปานกลาง
๑.ปัจจยั ดา้ นผู้เรยี น ๒.๓๙ ๐.๑๙ น้อย
๒.ปัจจยั ด้านครู ๓.๙๙ ๐.๔๙ มาก
๓.ปจั จยั ดา้ นครอบครัว ๔.๓๖ ๐.๒๑ มากทสี ุด
๔.ปัจจัยดา้ นสื่อการสอน ๓.๕๕ ๐.๑๗ มาก

รวม

จากตารางที่ ๔.๒ ปัจจัยที่สง่ ผลต่อการเรียนรายวชิ าภูมศิ าสตร์ ของนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี
ท่ี ๒ โรงเรยี นบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จงั หวัดขอนแกน่ โดยภาพรวม อยใู่ นระดับ
มาก ( = ๓.๕๕ , S.D. = ๐.๑๗) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงจากมากไปหานอ้ ย พบว่า ปัจจัย
ด้านสือ่ การสอน อยูใ่ นระดับมากทสี่ ุด ( = ๔.๓๖ , S.D. = ๐.๒๑) รองลงมาคอื ปจั จยั ด้านครอบครัว

๒๘

อยู่ในระดับมาก ( ๓.๙๙ , S.D. = ๐.๔๙ ), ปัจจัยด้านผู้เรียน อยู่ในระดับปานกลาง ( = ๓.๔๔ ,
S.D. =๐.๔๘ ) และปจั จยั ดา้ นครู อยูใ่ นระดบั น้อย ( ̅ = ๒.๓๙ , S.D. =๐.๑๙)

ตารางที่ ๔.๓ ปัจจยั ที่สง่ ผลต่อการเรยี นรายวิชาภมู ิศาสตร์ ของนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒
โรงเรยี นบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จงั หวัดขอนแก่น ปัจจัยด้าน
ผเู้ รียน

ปจั จยั ดา้ นผู้เรียน S.D ระดับ
๑. การไมเ่ ตรยี มตัวก่อนเรยี นใน ๔.๑๒ ๐.๕๒ มากทีสดุ
แตล่ ะครง้ั ๓.๖๘ ๐.๙๘ มาก
๒. การเข้าเรยี นไมส่ ม่าเสมอไม่ ๑.๑๖ ๐.๗๔ น้อย
ตรงต่อเวลา ๓.๓๗ ๐.๙๓ ปานกลาง
๓. การไม่เอาในใสแ่ ละมสี มาธิ ๒.๗๙ ๑.๐๖ นอ้ ยที่สุด
ในการเรียน ๓.๔๔ ๐.๔๘ ปานกลาง
๔. การไม่วางแผนการเรยี น
เพ่อื ใหผ้ ลการเรยี นดี
๕. ไม่มคี วามรับผดิ ชอบในงานท่ี
ไดร้ บั มอบหมาย

รวม

จากตารางที่ ๔.๓ ปัจจัยท่ีสง่ ผลตอ่ การเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษา
ปที ี่ ๒ โรงเรยี นบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแกน่ ปัจจยั ดา้ นผเู้ รียน โดย
ภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง ( = ๓.๔๔ , S.D. =๐.๔๘) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ โดยเรียงจาก
มากไปหานอ้ ย พบวา่ การไม่เตรียมตัวกอ่ นเรียนในแต่ละครั้ง อยู่ในระดับมากที่สุด ( = ๔.๑๒ , S.D.
= ๐.๕๒) รองลงมาคอื การเขา้ เรียนไม่สมา่ เสมอไม่ตรงตอ่ เวลา อยู่ในระดับมาก ( = ๓.๖๘ , S.D. =
๐.๙๘), การไม่วางแผนการเรียนเพ่ือให้ผลการเรียนดี อยู่ในระดับปานกลาง ( = ๓.๓๗ , S.D. =
๐.๙๓), การไม่เอาในใสแ่ ละมีสมาธิในการเรียน อยใู่ นระดับน้อย ( = ๓.๑๖ , S.D. = ๐.๗๔) และไม่
มีความรับผิดชอบในงานทไี่ ด้รบั มอบหมาย อยู่ในระดบั นอ้ ยทส่ี ดุ ( = ๒.๗๙ , S.D. = ๑.๐๖)

๒๙

ตารางท่ี ๔.๔ ปัจจยั ทสี่ ง่ ผลต่อการเรียนรายวชิ าภูมศิ าสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ โรงเรียน
บา้ นหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวดั ขอนแกน่ ปัจจัยดา้ นครู

ปจั จัยดา้ นครู ̅ (S.D) ระดับ

๑. ครูไม่มีความรู้ในวิชาท่ีสอน ๒.๖๓ ๑.๑๓ มากทสี ดุ

เป็นอย่างดี

๒. ไม่มีการจัดระบบการเรียน/ ๒.๔๒ ๐.๘๘ ปานกลาง

วิธีเรยี น

๓. ไมม่ ีการจัดกิจกรรมการเรียน ๒.๑๑ ๐.๗๒ น้อยทส่ี ดุ

การสอน

๔. ครูไม่เปิดโอกาสให้นักเรียน ๒.๒๖ ๐.๘๕ น้อย

ได้ซักถามในเรอ่ื งท่ีกาลังเรยี น

๕. ครูไม่จัดกิจกรรมการสอนที่

นา่ สนใจ น่าเบ่ือ ไม่ได้รับความรู้ ๒.๕๓ ๐.๘๒ มาก

มาก

รวม ๒.๓๙ ๐.๑๙ น้อย

จากตารางท่ี ๔.๔ ปจั จัยท่ีสง่ ผลต่อการเรยี นรายวิชาภมู ิศาสตร์ ของนกั เรียนชนั้ มัธยมศกึ ษา
ปีที่ ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น ปัจจัยด้านครู โดย
ภาพรวม อยู่ในระดับน้อย ( = ๒.๓๙, S.D. =๐.๑๙) โดยเรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ครูไม่มี
ความรู้ในวิชาท่ีสอนเปน็ อย่างดี อยู่ในระดับมากทีสุด ( = ๒.๖๓, S.D. =๑.๑๓) รองลงมาคือ ครูไม่
จัดกิจกรรมการสอนท่ีน่าสนใจ น่าเบื่อ ไม่ได้รับความรู้มาก อยู่ในระดับมาก ( = ๒.๕๓, S.D. =
๐.๘๒), ไม่มีการจัดระบบการเรียน/วิธีเรียน อยู่ในระดับปานกลาง ( = ๒.๔๒ , S.D. =๐.๘๘), ครูไม่
เปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนไดซ้ ักถามในเร่ืองท่กี าลังเรยี น อยใู่ นระดับนอ้ ย ( = ๒.๒๖, S.D. = ๐.๘๕) และ
ไมม่ ีการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน อยใู่ นระดับนอ้ ยทส่ี ุด ( =๒.๑๑, S.D. =๐.๗๑)

๓๐

ตารางท่ี ๔.๕ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒
โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น ปัจจัยด้าน
ครอบครัว

ปจั จยั ดา้ นครอบครวั S.D ระดบั
๔.๑๖ ๐.๖๗ มาก
๑. การไม่สนบั สนุนด้านการเงิน ๓.๗๔ ๐.๗๑ น้อย
๒. การไม่สนบั สนนุ ดา้ นวสั ดุ
อุปกรณ์ ๓.๗๙ ๐.๗๗ ปานกลาง
๓. การไมใ่ ห้ความสนใจและ
ไมใ่ ห้กาลังใจกับการเรียน ๓.๔๒ ๑.๒๓ น้อยที่สุด
๔. พอ่ แม่หยา่ รา้ งกัน ๔.๘๔ ๐.๓๖ มากทีส่ ดุ
๕. พ่อแมท่ างานไมม่ เี วลาใหล้ ูก ๓.๙๙ ๐.๔๙ มาก

รวม

จากตารางท่ี ๔.๕ ปัจจัยท่ีส่งผลกระทบต่อการเรียนในรายวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น ปัจจยั ด้าน
ครอบครัว โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ( = ๓.๙๙ , S.D. =๐.๔๙) โดยเรียงจากมากไปหาน้อย
พบว่า พ่อแม่ทางานไม่มีเวลาให้ลูก อยู่ในระดับมากทีสุด ( = ๔.๘๔, S.D. =๐.๓๖) รองลงมาคือ
การไม่สนับสนุนด้านการเงิน อยู่ในระดับมาก ( =๔.๑๖, S.D. =๐.๖๗), การไม่ให้ความสนใจและ
ไม่ให้กาลังใจกับการเรียน อยู่ในระดับปานกลาง ( = ๓.๗๙ , S.D. =๐.๗๗), การไม่สนับสนุนด้าน
วัสดุอุปกรณ์ อยู่ในระดับน้อย ( = ๓.๗๔ =, S.D. =๐.๗๑) และพ่อแม่หย่าร้างกัน ซึ่งอยู่ในระดับ
น้อยที่สุด( = ๓.๔๒ , S.D. = ๑.๒๓ )

๓๑

ตารางท่ี ๔.๖ ปัจจยั ที่ส่งผลต่อการเรยี นรายวชิ าภูมิศาสตร์ ของนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ โรงเรยี น
บา้ นหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น ปัจจัยด้านสอื่ การสอน

ปัจจัยด้านสือ่ การสอน ̅ S.D ระดับ
๑. การไม่ใชส้ ่ือการเรยี นการ ๔.๖๒ ๐.๔๘ มากทีสุด
สอน
๒. ใชส้ ื่อที่ไมเ่ หมาะสมและไม่ ๔.๓๓ ๐.๗๓ นอ้ ย
นา่ สนใจ ทาให้ไม่เข้าใจเน้ือหา ๔.๐๐ ๐.๔๖ น้อยทส่ี ดุ
มากขน้ึ
๓. ใชส้ ่อื ที่ไม่มีประสทิ ธิภาพ

๔. ใชส้ ื่อท่ไี มท่ ันสมัยทาให้ไม่ ๔.๓๘ ๐.๗๑ ปานกลาง
เกดิ การเรียน ๔.๔๘ ๐.๔๘ มาก
๕. เน้อื หาสาระการเรียนการ ๔.๓๖ ๐.๒๑ มากที่สดุ
สอน

รวม

จากตารางที่ ๔.๖ ปจั จัยที่ส่งผลตอ่ การเรียนรายวิชาภมู ิศาสตร์ ของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษา
ปีท่ี ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น ปัจจัยด้านส่ือการสอน
โดยภาพรวม อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( = ๔.๓๖ , S.D. = ๐.๒๑) โดยเรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า
การไม่ใช้ส่ือการเรียนการสอน อยู่ในระดับมากทีสุด ( = ๔.๖๒ , S.D. = ๐.๔๘ ) รองลงมาคือ
เน้ือหาสาระการเรียนการสอน อยู่ในระดับมาก ( = ๔.๔๘, S.D. = ๐.๔๘ ), ใช้สื่อที่ไม่ทันสมัยทาให้
ไม่เกิดการเรียน อยู่ในระดับปานกลาง ( = ๔.๓๘ , S.D. = ๐.๗๑), ใช้สื่อที่ไม่เหมาะสมและไม่
นา่ สนใจ ทาให้ไม่เข้าใจเนื้อหามากข้นึ อยใู่ นระดับนอ้ ย ( = ๔.๓๓, S.D. = ๐.๗๓ ) และใช้ส่ือที่ไม่มี
ประสิทธภิ าพ อยู่ในระดบั น้อยทสี่ ดุ ( = ๔.๐๐ , S.D. = ๐.๔๘ )

๓๒

๔.๓ องคค์ วามรู้ใหม่ทไ่ี ดจ้ ากการวจิ ัย

จากการศึกษาปัญหาท่ีส่งผลต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่
๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น ผู้วจิ ัยสามารถสรุปเป็นองค์
ความรู้ได้ คือ ในปัจจุบันโลกมีการเปล่ียนแปลงเป็นยุคของกระแสโลกาภิวัฒน์ เทคโนโลยีพัฒนาไป
อย่างรวดเร็ว และเกิดผลกระทบในหลายๆด้าน เช่น การดาเนินชีวิตในปัจจุบัน การศึกษา ดังน้ัน
ความรู้ความเข้าใจในเรื่องท่ีเก่ียวกับปัจจัยท่ีสงผลกระทบต่อการเรียน รวมทั้งผลกระทบจากส่ิงต่างๆ
จงึ เป็นสิ่งท่ีจะชว่ ยใหก้ ารดาเนินชวี ิตทา่ มกลางกระแสโลกในปจั จุบันเปน็ ไปไดอ้ ย่างมั่นคง และรู้เทา่ ทัน
ถงึ ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงท่ตี ่อตนเองและสังคม

ในปจั จุบันสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเปลยี่ นแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึง่ มีสว่ นท่ี
ก่อให้เกิดปัญหากับนักเรียนมัธยมศึกษา ปัญหาที่เกิดข้ึนกับนักเรียนน้ันเมื่อรวมเป็นด้านใหญ่ๆ ได้แก่
ปัญหาการเรียน ปัญหาส่วนตัว และปัญหาสังคม ปัญหาที่เกิดขึ้นย่อมมีผลกระทบต่อพัฒนาการทุกๆ
ดา้ นของนักเรียนและเปน็ รากฐานไปสู่ปญั หาในวัยรุ่น ปัญหาที่ปรากฏเด่นชัดท่ีสุดในกลุ่มวัยรุน่ น้ัน ถ้า
พิจารณาให้ลึกซ่ึงจะพบว่า ส่วนใหญ่มีรากฐานมาต้ังแต่เด็กเล็กหรือเด็กในช้ันประถมศึกษา และ
นักเรียนช้ันมัธยมศึกษา ที่มีปัญหาการเรียนเกิดจากเรียนไม่เข้าใจ ทากิจกรรมมากเกินไป ไม่มี เวลา
ทบทวนบทเรียน ไม่กล้าถามครู เพื่อนคุยกนั ในเวลาเรียนทาให้เรียนไม่ร้เู รือ่ ง ทางานไม่ทันเพ่ือน เกยี จ
คร้าน ครูให้งานมากเกนิ ไป ไม่เขา้ ใจโจทย์หรือการบา้ นที่ครูให้มา ขาดเรียนบ่อยและครูสอนไม่ เขา้ ใจ
ปัญหาส่วนตัวเกิดจากกดดันจากครอบครัวที่บังคับให้อ่านหนังสือเรียน มีอคติต่อเพื่อน พ่อแม่ ไม่เอา
ใจใส่ ปรับตัวเข้ากับเพ่ือนในห้องไม่ได้ พักผ่อนไม่เพียงพอ แม่มีปัญหาจากที่ทางานทาให้อารมณ์
แปรปรวน พ่อแม่ประกอบอาชีพที่ไม่มั่นคง นอนดึก ดูละครมากเกินไปพ่อแม่มีรายได้น้อย และไม่มี
ความเชือ่ มัน่ ในตนเอง และปัญหาการทางานเกดิ จากเพ่อื นในกลุ่มไม่มคี วามสามคั คกี ัน

ผู้วิจัยจึงมีความเห็นว่า การท่ีเราได้ทราบถึงปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเรี ยนรายวิชา
ภูมิศาสตร์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ทาให้เราได้ทราบถึงข้อบกพร่องของปัจจัยในด้านต่างๆ
เพอื่ นามาแก้ไขปรับปรงุ สิ่งเหล่านั้นให้ดยี ิ่งขนึ้ และพัฒนาใหด้ ีกวา่ เดิม

บทท่ี ๕

สรปุ ผล อภปิ รายผลการวิจยั และขอ้ เสนอแนะ

การวิจัยครง้ั น้ีเปน็ การวิจัยเพอ่ื ศึกษาปจั จัยที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรายวิชาภมู ิศาสตร์ ของ
นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น
โดยผ้วู จิ ยั ได้ทาการศกึ ษาและไดส้ รปุ ผล อภปิ รายและข้อเสนอแนะดงั นี้

๕.๑ สรปุ ผลการวจิ ยั

ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๒
โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น โดยภาพรวม อย่ใู นระดับมาก
เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ปัจจัยด้านสื่อการสอน อยู่ในระดับมาก
ที่สุด รองลงมาคือ ปัจจัยด้านครอบครัว อยู่ในระดับมาก ปัจจัยด้านผู้เรียน อยู่ในระดับ ปานกลาง
และปัจจัยด้านครู อยู่ในระดับน้อย และสามารถสรุปเป็นรายด้านปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเรียน
รายวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอ
กระนวน จงั หวดั ขอนแกน่ ดงั น้ี

ปจั จัยด้านผู้เรียน โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ โดยเรียงจาก
มากไปหาน้อย พบว่า การไม่เตรียมตัวก่อนเรียนในแต่ละคร้ัง อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ การ
เข้าเรียนไม่สม่าเสมอไม่ตรงตอ่ เวลา อยใู่ นระดับมาก การไม่วางแผนการเรยี นเพื่อให้ผลการเรยี นดี อยู่
ในระดับปานกลาง การไม่เอาในใส่และมีสมาธใิ นการเรียน อยู่ในระดับน้อย และไม่มีความรับผิดชอบ
ในงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย อยใู่ นระดบั น้อยที่สดุ

ปัจจัยด้านครู โดยภาพรวม อยู่ในระดับน้อย โดยเรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ครูไม่มี
ความรู้ในวิชาที่สอนเป็นอย่างดี อยู่ในระดับมากทีสุด รองลงมาคือ ครูไม่จัดกิจกรรมการสอนที่
นา่ สนใจ น่าเบือ่ ไมไ่ ด้รับความรู้มาก อยใู่ นระดับมาก ไม่มกี ารจัดระบบการเรยี น/วิธีเรยี น อยู่ในระดับ
ปานกลาง ครูไม่เปิดโอกาสให้นักเรียนไดซ้ ักถามในเรื่องที่กาลังเรียน อยู่ในระดับน้อย และไม่มีการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน อยูใ่ นระดับนอ้ ยทีส่ ดุ

๓๓

ปัจจยั ดา้ นครอบครัว โดยภาพรวม อยูใ่ นระดบั มาก โดยเรียงจากมากไปหาน้อย พบวา่ พ่อแม่
ทางานไม่มีเวลาให้ลูก อยใู่ นระดบั มากทสี ุด รองลงมาคอื การไมส่ นบั สนุนด้านการเงนิ อยใู่ นระดับมาก
การไม่ให้ความสนใจและไม่ให้กาลังใจกับการเรียน อยู่ในระดับปานกลาง การไม่สนับสนุนด้านวัสดุ
อปุ กรณ์ อยใู่ นระดบั น้อย และพอ่ แมห่ ยา่ ร้างกนั ซ่งึ อยู่ในระดบั น้อยท่สี ุด

๕.๒ อภปิ รายผลการวิจยั

ผลจากการวิจัยเรื่องปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น สามารถ
อภปิ รายผลการวจิ ัย โดยแยกเปน็ ๔ ดา้ น ดงั นี้

ปัจจัยด้านผู้เรียน ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น โดย
ภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อโดยเรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า การไม่
เตรียมตัวก่อนเรียนในแต่ละคร้ัง อยู่ในระดับมากท่ีสุด การเข้าเรียนไม่สม่าเสมอไม่ตรงต่อเวลา อยู่ใน
ระดับมาก การไม่วางแผนการเรียนเพ่ือให้ผลการเรียนดี อยู่ในระดับปานกลาง การไม่เอาในใส่และมี
สมาธใิ นการเรียน อยู่ในระดับน้อย และไม่มีความรบั ผิดชอบในงานท่ีได้รับมอบหมาย อยู่ในระดับนอ้ ย
ที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ สุรัตน์ เตียวเจริญ๒๑ ได้สรุปถึงปัจจัยที่เป็นสาเหตุท่ีเก่ียวเนื่องถึง
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ๓ ด้าน ได้แก่ ปัจจัยด้านสถานศึกษา ปัจจัยด้านส่วนตัวของนักเรียน และ
ปัจจัยด้านครอบครวั โดยมีรายละเอียด ดังนี้

๑) ปัจจัยด้านสถานศึกษา เป็นส่ิงสาคัญเพราะเวลาส่วนใหญ่ นักเรียนจะอยู่ท่ีโรงเรียน
โรงเรียนมีหน้าท่ีให้การศึกษาแก่เด็ก รวมถึงการจัดการดา้ นการบริการ ด้านวิชาการ ตลอดจนการจัด
กิจกรรมต่าง ๆอุปกรณ์การเรียนการสอน การกีฬา รวมถึงสภาพแวดล้อมที่จะส่งเสริมให้เด็กมีโอกาส
พฒั นาส่วนตวั อยา่ งเต็มที่

๒) ปจั จยั ทางดา้ นสว่ นตวั ของนักเรียน
๒.๑ บุคลิกภาพ ซึ่งเป็นส่ิงที่ได้รับการกล่อมเกลาและหล่อหลอมมาจากครอบครัวและรับ

การขัดเกลาจากโรงเรียน ก่อให้เกิดปัญหาในการปกครองและเป็นผลกระทบต่อการเรียน เช่นนิสัย
กา้ วร้าว ชอบทาลายสิง่ ของ อวดดีเลนิ เล่อ ฝา่ ฝนื ระเบียบ ชอบทาตัวเดน่ เปน็ คนขอี้ าย

๒๑ สรุ ตั น์ เตยี วเจริญ, ปจั จัยท่ีมีผลกระทบต่อผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั ศึกษาระดับปริญญาตรที ่ีมี
ผลการเรียนต่ากว่าเกณฑ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ , (เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่, ๒๕๔๓), หนา้ ๑๒.

๓๔

๒.๒ สุขภาพ หากเดก็ มีโรคประจาตัวก็จะเป็นอุปสรรคต่อการเรียนและอาจทาให้เด็กเกิด
ปมด้อย เกิดความทอ้ ถอยในการเรยี นได้

๒.๓ การปรบั ตัวให้เขา้ กบั ระบบตา่ ง ๆ ของโรงเรียน เชน่ ระบบการเรยี นการสอนใหม่ๆ
เพอ่ื น ครูผูส้ อน

๒.๔ การวางแผนการเรียน เด็กค้นหาความชอบของส่วนตัวยังไม่เจอ จะเรียนอะไรดี
เพอื่ จะนาไปใช้ในการประกอบอาชีพ ยังไม่มเี ป้าหมายชวี ิตอย่างไร

๒.๕ การเปล่ียนแปลงทางสงั คมและวัฒนธรรม ส่ิงยัว่ ยตุ า่ ง ๆ ในสังคมปัจจุบัน ไม่วา่ จะ
เป็นส่อื ทางโทรทัศนท์ างอนิ เตอรเ์ นต็

๒.๖ การคบเพอ่ื นหรือกลุ่มเพ่ือน กล่มุ เพื่อนมีผลต่อเจตคติและพฤติกรรมการเรยี นการ
สอนตามลกั ษณะของกล่มุ เพ่ือน เชน่ การเลือกวชิ าเรียน และแผนการเรยี น

๒.๗ นิสัยในการเรียนและทัศนคติต่อการเรียน และการปรับตัวทางการเรียนมี
ความสัมพันธ์กบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น

๓) ปัจจยั ดา้ นครอบครัว โดยปญั หาท่ีจะพบอยู่เสมอ ได้แก่
๓.๑ ปัญหาความสัมพันธ์ในครอบครัว หากพ่อแม่แยกกันอยู่หรือทะเลาะกันพ่อแม่ ลุ่ม

หลงในอบายมขุ ย่อมมีส่วนทาให้เด็กขาดความอบอุ่น
๓.๒ พื้นความรู้ของพ่อแม่ พ่อแม่บางคนขาดความเข้าใจนักเรียน ขาดความรู้เร่ือง

จิตวทิ ยากอ็ าจทาให้เด็กเกิดความคบั ขอ้ งใจได้
๓.๓ ฐานะทางเศรษฐกิจ ครอบครัวที่ยากจนไม่สามารถจัดหาอุปกรณ์การเรียนท่ีจาเป็น

ใหแ้ กเ่ ดก็ บางครอบครวั ทร่ี ่ารวยอาจสง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กทาในทางท่ีผดิ ทาให้มีนิสัยฟงุ้ เฟ้อ
ดังน้ันจากแนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน

ผวู้ ิจัยสามารถสรุปปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ๔ ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยด้านนักเรียน ปัจจัย
ดา้ นครอบครวั ปัจจยั ด้านครู และปัจจยั ด้านสถานศกึ ษา

ปัจจัยด้านครู ปัจจัยท่ีส่งผลกระทบต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น โดย
ภาพรวม อยู่ในระดับน้อย โดยเรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ครูไม่มีความรู้ในวิชาที่สอนเป็นอย่างดี
อย่ใู นระดับมากทีสดุ ครูไมจ่ ัดกิจกรรมการสอนที่น่าสนใจ น่าเบ่ือ ไมไ่ ดร้ บั ความรู้มาก อยู่ในระดับมาก
ไม่มีการจัดระบบการเรียน/วิธีเรียน อยู่ในระดับปานกลาง ครูไม่เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ซักถามใน
เรอ่ื งทกี่ าลังเรยี น อยใู่ นระดบั น้อย และไมม่ กี ารจัดกิจกรรมการเรียนการสอน อยู่ในระดบั น้อยที่สุด ซ่ึง

๓๕

สอดคล้องกับงานวิจัยของ พรรณี ชูชัย เจนจิต๒๒ กล่าวว่า การที่ครูมีความกรุณาเห็นอก เห็นใจ
นักเรยี น สนใจนกั เรียนอยา่ งสม่าเสมอ มีความยุติธรรม ไม่เลือกทร่ี ักมักที่ชงั ตลอดจนมี ความสมั พันธ์
อันดีกับนักเรียน ทาให้นักเรียนรักที่จะเรียน และทาให้นักเรียนประสบความสาเร็จใน การเรียน การ
รับรู้ของครูท่ีมีต่อนักเรียน เป็นตัวแสดงถึงบทบาทและลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน
ดังนี้ คอื

๑) นักเรียนแต่ละคนเป็นปัจเจกบุคคลและทุกคนท่ีมีบุคลิกภาพท่ีเป็นของ เขาเองซึ่งต่างกับ
คนอ่ืน

๒) นักเรียนทุกคนมาโรงเรียนเพราะอยากเรียน ฉะนั้นครูที่ดีจะรู้จักเรา ความสนใจของ
นกั เรียน ทาใหน้ ักเรยี นต้ังใจเรียนไมเ่ บอื่ หน่าย

๓) ความสัมพนั ธ์ระหว่างครูกบั นักเรยี นจะต้องเป็นไปด้วยดี นักเรยี น ไว้วางใจครแู ละสามารถ
พูดกบั ครไู ดอ้ ย่างเปิดเผยโดยไม่ต้องกลัวถูกลงโทษ

๔) ครูและนักเรียนต้องมีความสัมพันธ์แบบประชาธิปไตย นักเรียนสามารถ ออกความเห็น
หรือรว่ มกับครูตั้งเกณฑต์ ่างๆ เพื่อใช้ในหอ้ งเรยี นได้

๕) บรรยากาศของห้องเรียนท่ีดีจะต้องเอื้อต่อการเรียนและเสริมสร้าง บุคลิกภาพของ
นกั เรียน โดยมีครูเป็นผู้สนับสนุนให้กาลังใจนักเรยี นแต่ละคนให้พัฒนาท้ังด้านความรู้ และบุคลิกภาพ
จากเอกสารดังกลา่ วขา้ งต้น

สรุปได้ว่า ความสัมพันธ์ท่ีดีระหว่างนักเรียนกับครู และบรรยากาศในช้ันเรียนที่น่าสนใจจะ
ช่วยให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียน ในด้านความรู้ความสามารถในวิชาชีพของครูท่ี
ดาเนนิ การสอน ครูเปน็ ผู้มีความสามารถตรงตามสาขาวิชาชพี มีทักษะในการสอนท่ีทาให้ผ้เู รยี นไดเ้ กิด
กระบวนการเรียนรู้อย่างหลากหลาย ด้วยทักษะเทคนิควิธีการสอนที่มีความเชี่ยวชาญ สามาร
ดาเนินการจัดการเรียนการสอนที่ทาให้ผู้เรียน ได้เข้าใจ เนื้อหารายละเอียดของวชิ าได้อย่างชัดเจน มี
การจัดบรรยากาศการเรียนการสอนที่เอื้ออานวยให้กับผู้เรียน มีการใช้ส่ือ โสตทัศนูปกรณ์ท่ีทันสมัย
เพ่อื ให้เกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพในการเรียนการสอน ครูมกี ารวัดผลประเมินผล
การเรยี นเพอ่ื นามาพัฒนาในเร่ืองการสอนอย่างต่อเน่อื งอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

ปัจจัยด้านครอบครัว ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น โดย
ภาพรวม อยู่ในระดบั มาก โดยเรียงจากมากไปหานอ้ ย พบว่า พอ่ แม่ทางานไม่มเี วลาให้ลูก อยูใ่ นระดับ

๒๒ พรรณี ชูชัย เจนจติ , จิตวิทยาการเรียนการสอน, (นนทบรุ ี : เกรท เอ็ดดูเคชน่ั , ๒๕๕๐), หนา้ ๑๒.

๓๖

มากที่สุด การไม่สนับสนุนด้านการเงนิ อยู่ในระดับมาก การไม่ให้ความสนใจและไม่ให้กาลังใจกับการ
เรียน อยู่ในระดับปานกลาง การไมส่ นบั สนุนด้านวัสดุอุปกรณ์ อยู่ในระดับน้อย และพอ่ แม่หย่าร้างกัน
ซ่ึงอยู่ในระดับน้อยที่สุด ซ่ึงสอดคล้องกับวิจัยของ นิกสัน วังโพธ์ิ๒๓ ได้ทาการศึกษาปัจจัยท่ีมีอิทธิพล
ต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียน
ประถมศึกษาสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาปทุมธานีพบว่า ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ ประถมศึกษาสังกัดสานักงานเขต
พ้ืนท่ีการศึกษาปทุมธานีคือ ปัจจัยด้านนักเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .๐๕ ได้แก่ (๑) เพศ
(๒) แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิทางการเรียน (๓) อาชีพของผู้ปกครอง (๔) รายได้ของผู้ปกครอง ส่วนปัจจัย
ดา้ นหอ้ งเรยี นมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นวชิ าภาษาองั กฤษ

สรุปได้ว่า การเอาใจใส่การเรียนของผู้ปกครอง ส่งผลให้เด็กมีสุขภาพจิตท่ีดี ร่าเริง มีความ
รับผิดชอบ ขยันหมั่นเพียร และประสบความสาเร็จในการเรียน ผู้เรียน จะเติบโตเป็นคนที่ต้องการ
ความสาเร็จ มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ด้วย ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับการอบรมเล้ียงดูของพ่อแม่มี
คอ่ นข้างสูง การอบรมเล้ียงดูของพ่อแม่มอี ิทธิพลต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธใ์ิ นตัวของผู้เรียนเปน็ อย่างมาก
โดยเฉพาะครอบครัวท่ีพ่อแม่เล้ียงดูแบบเดินทางสายกลาง ไม่ใช้อานาจบาตรใหญ่ ไม่ตามใจเด็ก
จนเกินไป ไม่เคี่ยวเข็ญให้เด็กทาในส่ิงที่เกินความสามารถของเขา ไม่วางมาตรฐานความสาเร็จไว้สูง
หรือต่าเกินไป สง่ เสริมให้เด็กช่วยตัวเองใหท้ าอะไรเองต้ังแต่ยงั เด็ก เม่ือพ่อแม่และครใู ห้ความรักความ
อบอุ่นและสนบั สนุนแก่เด็ก เขาจะประสบความสาเรจ็ ด้วยตัวเอง

ปัจจัยด้านสื่อการสอน ปัจจัยทส่ี ่งผลกระทบต่อการเรียนรายวิชาภมู ิศาสตร์ ของนักเรยี นช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น โดย
ภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด โดยเรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า การไม่ใช้สื่อการเรียนการสอน อยู่
ในระดับมากทีสุด เนื้อหาสาระการเรียนการสอน อยู่ในระดับมาก ใช้ส่ือที่ไม่ทันสมัยทาให้ไม่เกิดการ
เรียน อยู่ในระดับปานกลาง ใช้สื่อที่ไม่เหมาะสมและไม่น่าสนใจ ทาให้ไม่เข้าใจเนื้อหามากขึ้น อยู่ใน
ระดับน้อย และใช้สื่อที่ไม่มีประสิทธิภาพ อยู่ในระดับน้อยที่สุด ซ่ึงสอดคล้องกับ งามรัตน์ ผดุงกุล๒๔
ได้ศึกษาปัญหาทางด้านการเรียนของนักศึกษา โครงการปฏิรูปการศึกษาเพ่ือชีวิต ในวิทยาลัยเกษตร

๒๓ นิกสัน วังโพธ์ิ, ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนช้ัน
ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ โรงเรยี นประถมศกึ ษาสังกดั ส่านักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาปทุมธานี, (กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลัย
ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ๒๕๔๘), หน้า ๕.

๒๔ งามรัตน์ ผดุงกุล, ศึกษาปัญหาทางด้านการเรียนของนักศึกษาโครงการปฏิรูปการศึกษาเกษตรเพื่อ
ชีวติ ในวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี ภาคกลาง, (กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ๒๕๔๕), หนา้ ๑๓.

๓๗

และเทคโนโลยี ภาคกลาง จานวน ๓๖๐ คน พบว่า ๑) นักศกึ ษาโครงการปฏิรูปการศึกษาเกษตรเพื่อ
ชีวิต ในวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี ภาคกลาง มีปัญหาการเรียนที่เกี่ยวกับตัวนักศึกษา การสอน
ของอาจารย์ และหลักสูตรเน้ือหา อุปกรณ์ ตารา อยู่ในระดับมากท่ีสุด ๒) นักศึกษามีแนวทางแก้ไข
ปัญหาดังกล่าวอยู่ในระดับปานกลาง ๓) เปรียบเทียบปัญหาทางด้านการเรียนจาแนกตามเพศ และ
ระดับชน้ั ปี พบว่า นักศึกษาท่ีมีเพศต่างกัน มีปัญหาในด้านการเรียนไม่แตกตา่ งกันอย่างมนี ยั สาคัญทาง
สถิติทร่ี ะดับ .๐๕

สรุปได้ว่า ปัญหาการเรียน เป็นปัญหาท่ีพบมากท่ีสุดกับเด็กในวัยเรียน ด้านตัวผู้สอนมี
อุปสรรคที่ทาให้ผู้สอนไม่ สามารถปรับปรุงการเรียนการสอนได้ น่ันก็คือ ไม่มีเวลาเพียงพอ ด้านวิธี
สอน อาจารย์ผู้สอนมุ่งสอน ให้นักเรียนจาเน้ือหา มีอาจารย์ส่วนน้อยท่ีใช้วิธีสืบสวนสอบสวน
การศึกษารายกรณี การใช้อุปกรณ์ การสอน หนังสืออ่านประกอบมีน้อยมาก การเลือกหนังสือเป็น
ตาราเรียน ความพอใจของอาจารย์ ส่วนมากต้องการให้มีการอบรมวิธีสอนสังคมศึกษาใหม่ๆ
นอกจากนี้ นักเรียนส่วนใหญ่ไม่ว่าจะอยู่ในระบบการศึกษาท่ีต่างกัน ระดับช้ันต่างกันล้วนประสบ
ปัญหาดา้ นการเรยี นในหลายๆ ดา้ น เหมอื นกัน ซึ่งทาใหน้ ักเรยี นไม่มีความสขุ กับชวี ติ การเรยี น

๕.๓ ขอ้ เสนอแนะ

๕.๓.๑ ข้อเสนอแนะที่ไดจ้ ากการวจิ ัย
๑. ควรมีการศึกษาปัจจัยท่ีส่งผลกระทบต่อการเรียนรายวิชาภูมิศาสตร์ ของนักเรียน

โรงเรียนบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จงั หวดั ขอนแก่น ในระดบั ชว่ งชนั้ อ่ืนๆ ด้วย
๒. สามารถใช้เป็นแนวทางให้ผู้บริหารการศึกษา อาจารย์ นักเรียน และผู้ปกครองได้

ทราบข้อมูลเพื่อพิจารณา สามารถนาไปเป็นข้อมูลประกอบวางแผนพัฒนา หรือหา วิธีการในการ
ส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ โรงเรยี นบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จงั หวัด
ขอนแก่น ได้รับรู้ถึงปัญหาการเรียนของนักเรียน โดยนาปัจจัยท่ีส่งผลต่อปัญหาการเรียน ๒ ปัจจัย
ได้แก่ ปัจจัยด้านครอบครัว และปัจจยั ด้านสือ่ การสอน ไปเปน็ ข้อมูลประกอบการวางแผน พัฒนาการ
เรียนของนักเรยี น หรือหาวิธีในการส่งเสริมเพ่ิมพูนความรู้ในรูปแบบใหมใ่ หแ้ ก่นักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษา
ปีที่ ๒ โรงเรยี นบ้านหนองโก ตาบลหนองโก อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น เพิม่ มากขึ้น

๕.๓.๒ ข้อเสนอแนะในการท่าวจิ ยั ครงั้ ต่อไป
๑. ควรมีการศึกษาปัจจัยอื่นๆ ท่ีน่าจะส่งผลต่อปัญหาการเรียนของนักเรียน เช่น ความ

ถนัดความสนใจเป็นต้น

๓๘

๒. ควรนาปัจจัยท่ีส่งผลต่อปัญหาการเรียน ได้แก่ นิสัยทางการเรียนและสัมพันธภาพ
ระหว่างนักเรียนกับครูมาพัฒนา โดยใช้เทคนิคทางจิตวิทยาเช่นการปรับพฤติกรรม โดยการควบคุม
ตนเองเพ่ือพัฒนานิสัยทางการเรียนการใช้กิจกรรมกลุ่มเพ่ือพัฒนาสัมพันธภาพระหว่างนักเรียนกับครู
เป็นต้น

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุ
สภาลาดพร้าว. ๒๕๔๔.

การเย่และบริกซ.์ ปัญหาการเรียน. (พิมพ์ครง้ั ท่ี ๕) กรงุ เทพฯ : ตน้ ออ้ . ๒๕๔๒.
ครอนบาค. การสารวจปัญหาการเรียนสังคมและส่วนตัวของนักเรียนโรงเรียนสารพัดช่างใน

กรงุ เทพมหานคร. กรุงเทพฯ : บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รจน์. ๒๕๕๐.
งามรัตน์ ผดุงกุล. ปญั หาทางด้านการเรยี น. กลุ่มวิทยาลยั ภาคกลาง : วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี.

๒๕๔๒.
จรรยา เกษศรีสังข์. วิธีการเผชิญปัญหาของนักเรียนนายร้อยตารวจ. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (จิตวิ

ยาการแนะแนว). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒถ่าย
เอกสาร. ๒๕๓๗.
จักรินทร์ พริ้งทองฟู. ปัจจัยท่ีส่งผลต่อปัญหาการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาหลักสูตร
การศึกษานอกโรงเรียน สายสามัญ เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร.กรุงเทพฯ :
บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ. ถ่ายเอกสาร. ๒๕๔๖.
ชโรทัย ปัญติ. ปัญหาการเรียนในการเรียนของนักศึกษาผู้ใหญ่วัยกลางคนและสูงอายุในหลักสูตร
การศึกษานอกโรงเรียน สายสามัญ วิธีเรียนทางไกล จังหวัดกาแพงเพชร. กรุงเทพฯ :
บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ. ๒๕๔๐.
เนือ้ น้อง กบกระโทก. ปญั หาการเรยี น. อบุ ลราชธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏอบุ ลราชธานี. ๒๕๔๒.
นิกสัน วังโพธิ์. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี ๖ โรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาปทุมธานี.
กรงุ เทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์. ๒๕๔๘.
บลูม. ทฤษฎีการเรียนรใู้ นโรงเรยี น. กรุงเทพฯ : ศนู ยส์ ่อื เสริมกรุงเทพฯ. ๒๕๔๘.
พรรณี ชูชัย เจนจิต. องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อปัญหาการเรียนในหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน.
กรุงเทพฯ : บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรจน์. ๒๕๔๙.
พระธีราภิสุทธ์ิ สารธมฺโม. ปัจจัยท่ีส่งผลต่อสมาธิในการเรียนของนักเรียนระดับช่วงช้ันท่ี ๓ โรง
เรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา พุทธมณฑล เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร.
กรงุ เทพฯ : คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ. ๒๕๕๐.
รศ.ดร.ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. แนวคิดทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริม
กรุงเทพฯ. ๒๕๔๘.
เรยโ์ นลด์ Raynolds. ปัญหาการเรียน. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ๒๕๔๒.

๔๐

บรรณานุกรม (ตอ่ )

ลักขณา สิรวิ ัฒน์. สุขวทิ ยาจติ และการปรบั ตัว. กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร์. ๒๕๔๕.
วาสนา พิทักษ์เสรี. ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของนักเรียนสภาพการเรียนการสอนในชั้นเรียน

และสภาพแวดล้อมทางบ้านกับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนระดับ มัธยมศึกษา
ตอนตน้ . กรุงเทพฯ : บณั ฑติ วทิ ยาลยั จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. ๒๕๒๗.
วเิ ชียร เกตุสงิ ห์. หลกั การสร้างและวเิ คราะห์เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการวิจัย. กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ .
๒๕๓๘.
วลั ลภา เทพหัสดนิ ณ อยุธยา. งานบุคลากรนิสิตนักศึกษา. กรุงเทพฯ : ภาควิชาอดุ มศึกษา คณะครุ
ศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ๒๕๓๐.
สพุ ตั รา วะยะลนุ . ปจั จยั ที่มผี ลต่อผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นวิชาคอมพวิ เตอร์ ของนกั ศึกษาโปรแกรม
วิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์. กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏเขตอีสานใต้ : มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบรุ กี รุงเทพฯ. ๒๕๔๘.
สรุ ัตน์ เตียวเจรญิ . ปัจจยั ท่ีมีผลกระทบต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีท่ี
มีผลการเรียนต่ากว่าเกณฑ์. การค้นคว้าอิสระตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตร
มหาบัณฑิต : บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่. ๒๕๔๓.
ไอแซงค์ อาโนลด์. ปญั หาการเรยี น. (พมิ พ์ครง้ั ที่ ๕). กรุงเทพฯ : ต้นออ้ . ๒๕๔๒.
อุทัย ออกมา. ปัญหาการเรียน. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ๒๕๔๒.
อารี พันธ์มณ.ี จติ วิทยาการเรยี นการสอน. (พิมพ์คร้ังที่ ๕). กรุงเทพฯ : ตน้ ออ้ . ๒๕๔๔.

ภาคผนวก


Click to View FlipBook Version