รายงานการศึกษาอิสระทางสังคมศึกษา
เรอ่ื ง
การศึกษาพฤติกรรมการดาเนนิ ชีวิตตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งของนสิ ติ ช้นั ปที ่ี ๔
คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตขอนแก่น
โดย
นางสาวนันท์ธีมา คงนาวัง
รหสั นสิ ติ ๕๙๐๕๕๐๒๐๒๐
ช้ันปีท่ี ๔ คณะครศุ าสตร์ สาขาวชิ าสังคมศึกษา
รายงานการศึกษาอสิ ระเป็นส่วนหน่ึงของรายวชิ า การศึกษาอสิ ระทางสงั คมศกึ ษา
สาขาวชิ าสงั คมศกึ ษา
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น
รายงานการศึกษาอิสระทางสังคมศึกษา
เรอ่ื ง
การศึกษาพฤติกรรมการดาเนนิ ชีวิตตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งของนสิ ติ ช้นั ปที ่ี ๔
คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตขอนแก่น
โดย
นางสาวนันท์ธีมา คงนาวัง
รหสั นสิ ติ ๕๙๐๕๕๐๒๐๒๐
ช้ันปีท่ี ๔ คณะครศุ าสตร์ สาขาวชิ าสังคมศึกษา
รายงานการศึกษาอสิ ระเป็นส่วนหน่ึงของรายวชิ า การศึกษาอสิ ระทางสงั คมศกึ ษา
สาขาวชิ าสงั คมศกึ ษา
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น
แบบอนุมตั ผิ ลงานวิจัย
ด้วยสาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตขอนแก่น อนุมัติให้นับการวิจัยเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตชนั้ ปีที่ ๔ คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยา
เขตขอนแก่น นี้
ให้เป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาภาคปฏิบัติของรายวิชาการศึกษาอิสระทางสังคมศึกษา
จานวน ๓ หน่วยกิต ตามวัตถุประสงค์หลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา
คณะครศุ าสตร์
ประจาภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒
ลงช่ือ………….……….………………………ผูว้ จิ ัย
(...........................................................)
....…………/……………./………………
คณะกรรมการประเมิน/อนมุ ตั ิ การศกึ ษาอสิ ระทางสังคมศกึ ษา
ลงชื่อ……………………………..................อาจารย์ท่ปี รึกษา/กรรมการ
(......................................................)
…………../…………../………………..
ลงช่อื …………………...……...................อาจารย/์ กรรมการ
(...................................................)
………/……………./………………
ลงช่ือ…………………….……...................อาจารย์/กรรมการ
(...................................................)
………/……………./………………
ลงชือ่ …………………….……...................อาจารย/์ กรรมการ
(.................................................)
………/……………./………………
ลงชื่อ…………….……………..…….................ประธานหลักสตู ร/ประธานกรรมการ
(.....................................................)
……………/……………./………………..
ก
กิตตกิ รรมประกาศ
การศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับน้ีสาเร็จลงได้ด้วยความอนุเคราะห์จากบุคคลหลายฝ่าย
ซง่ึ ผ้วู ิจยั ขอระบนุ ามไว้เพอ่ื แสดงความขอบคณุ ดงั ต่อไปนี้
ขอขอบพระคุณ อาจารย์บุญส่ง นาแสวง ปรึกษางานการศึกษาค้นคว้าอิสระ ที่ได้
เสียสละเวลาให้คาปรึกษา และตรวจแก้ไขข้อบกพร่องของงานการศึกษาค้นคว้าอิสระฉบับน้ี ให้มี
ความสมบูรณ์ ขอบพระคุณ ผศ.อนุสรณ์ นางทะราช ประธานหลักสตู รสาขาสังคมศกึ ษา ขอบพระคุณ
ผู้ทรงคุณวุฒิ อาจารย์ ดร.สุภาพร บัวช่วย และอาจารย์พันทิวา ทับภูมี ผู้เช่ียวชาญที่ได้สละเวลา
ตรวจสอบความถูกต้องของเคร่ืองมือการวิจัย ขอบคุณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตขอนแก่น ที่ใหค้ วามสะดวกในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล พรอ้ มกับช่วยเหลือในเรอื่ งของเอกสาร
ข้อมูลในการทางานการศึกษาค้นคว้าอิสระ ตลอดจนให้ความรู้ทางด้านวิชาการ และประสบการณ์ใน
การทาการศกึ ษาคน้ คว้าอิสระในคร้งั นี้ สาเรจ็ ลุลว่ งไปด้วยดี
ผวู้ ิจัยขอขอบพระคณุ คณาจารย์ นักวชิ าการทกุ ท่านทีเ่ ป็นเจ้าของหนังสอื และงานวิจัยที่มี
คณุ ค่า ซ่ึงท่านได้เขียนไว้ให้ได้ศึกษาค้นคว้า เพ่ือเปน็ ข้อมูลประกอบในการเขียนงานการศึกษาค้นคว้า
อิสระในครั้งนี้ และท่ีขาดไม่ได้คือ คณะทีมงานผู้จัดทางานการศึกษาค้นคว้าอิสระ ท่ีได้ช่วยเหลือ
ร่วมมอื และสนบั สนนุ การศึกษาค้นคว้าอสิ ระดว้ ยดีมาโดยตลอด
งานการศึกษาค้นควา้ อิสระฉบับน้ี ผู้จัดทางานวิจัยหวังวา่ จะเป็นประโยชนแ์ กผ่ ู้สนใจตาม
สมควร พร้อมทั้งขอยกคุณความดีนี้บูชาคุณบิดา มารดา ครู อุปัชฌาย์ อาจารย์ทุกท่าน ที่ได้พยายาม
อบรม ส่ังสอนให้ความรู้จนทาให้ผู้จัดทางานวิจัย มีความรู้มีโอกาสได้ศึกษาเล่าเรียนจนถึงปัจจุบัน
คณะผจู้ ัดทาต้องขออนโุ มทนาขอบคุณไว้ ณ ท่ีน้ี
ผู้จดั ทางานวจิ ัย
นางสาวนนั ท์ธีมา คงนาวัง
ข
ชือ่ รายงานวจิ ัย : การศกึ ษาพฤติกรรมการดาเนินชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงของ
นสิ ิตชน้ั ปีท่ี ๔ คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั
วทิ ยาเขตขอนแก่น
ผู้วจิ ยั : นางสาวนนั ทธ์ มี า คงนาวงั
ปริญญา : พุทธศาสตรบณั ฑิต คณะครุศาสตร์ (สาขาวชิ าสังคมศึกษา)
อาจารยท์ ่ปี รึกษา : อาจารย์บญุ ส่ง นาแสวง
ปกี ารศกึ ษา : ๒๕๖๒
บทคัดย่อ
งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงของนิสิตช้ันปีที่ ๔ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต
ขอนแก่น งานวิจัยน้ีเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม โดยเก็บ
รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง นิสิตคฤหัสถ์คณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ ๔ ท่ีทาการ
ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ จานวน ๕๐ คน แบ่งเป็นเพศชาย ๑๔ คน
เพศหญิง ๓๖ คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉล่ีย
เลขคณติ (Mean) และค่าสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิต
ช้นั ปีท่ี ๔ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่ โดยภาพรวม
อยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านการมีคุณธรรม อยู่
ในระดับมากที่สุด, รองลงมาคือ ดา้ นความมีเหตผุ ล, ดา้ นความมภี ูมิคมุ้ กัน, ดา้ นการมคี วามรู้ และด้าน
ความพอประมาณ
สารบญั ค
กติ ติกรรมประกาศ ก
บทคัดยอ่ ข
สารบญั ค
บทท่ี ๑ บทนา ๑
๑.๑ ความเปน็ มาของปัญหา ๑
๑.๒ วัตถุประสงคข์ องการวิจัย ๔
๑.๓ ขอบเขตของการวจิ ัย ๔
๑.๔ นยิ ามศพั ท์เฉพาะ ๕
๑.๕ ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ ๕
บทท่ี ๒ แนวคิด ทฤษฎี และงานวจิ ยั ท่เี กีย่ วข้อง ๖
๒.๑ แนวคดิ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๖
๒.๒ หลกั การของทฤษฎปี รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ๑๘
๒.๓ ทฤษฎพี ฤติกรรมและพัฒนาการของวยั รนุ่ ๒๑
๒.๔ งานวจิ ยั ทเี่ ก่ยี วข้อง ๒๘
๒.๕ กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย ๓๕
บทท่ี ๓ ระเบยี บวธิ ีวจิ ัย ๓๖
๓.๑ รูปแบบการวิจยั ๓๖
๓.๒ ประชากรและและกลมุ่ ตัวอยา่ ง ๓๖
๓.๓ เครอ่ื งมอื การวิจัย ๓๗
๓.๔ การเก็บรวบรวมข้อมูลการวจิ ัย ๓๘
๓.๕ การวิเคราะห์ข้อมลู ๓๙
๓.๖ สถติ ิที่ใช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ๓๙
สารบญั (ตอ่ ) ง
บทที่ ๔ ผลการศกึ ษาวิจัย ๔๐
๔.๑ ตอนที่ ๑ ข้อมลู ท่วั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม ๔๐
๔.๒ ตอนที่ ๒ พฤตกิ รรมการดาเนนิ ชวี ิตตามหลกั ปรัชญา ๔๑
เศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตชั้นปีท่ี ๔ คณะครุศาสตร์ ๔๘
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น
๔๘
บทที่ ๕ สรุป อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ ๕๐
๕๒
๕.๑ สรปุ ผล
๕.๒ อภปิ รายผลการวิจัย ๕๓
๕.๓ ข้อเสนอแนะ ๕๖
บรรณานุกรม ๕๗
ภาคผนวก ๖๑
ภาคผนวก ก แบบสอบถามเพื่อการวจิ ัย
ภาคผนวก ข ประวตั ิผู้วจิ ัย
บทที่ 1
บทนำ
1.1 ควำมเปน็ มำและควำมสำคญั ของปัญหำ
ในสภาวการณ์ที่เศรษฐกิจโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง และตลอดเวลาทาให้มี
ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ และความเป็นอยู่ของประชาชนในสังคมไทยท่ีต้องเผชิญกับการดาเนิน
ชีวิตประจาวัน ค่าครองชีพที่สูงข้ึน และปัจจัยต่อการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมในการจับจ่ายใช้สอย
อย่างประหยัด และจากข้อมูล1 “ปัจจัยทางเศรษฐกิจท่ีมีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิต และหลักประกัน
ความมั่นคงของคนในชาติตอ้ งดาเนนิ ไปบนทิศทางท่ีสมดลุ คอื ตอ้ งมีความพอเพียงไมแ่ สวงหาความมั่ง
มีอย่างไร้ขีดกาจัด” และสอดคล้องกับคากล่าวของประธานอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
ท่ีว่า ประเทศไทยยังขาดภูมิคุ้มกันในการรับมือกับการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ และสังคมท่ีจะต้อง
เผชิญกับการไหลเข้ามาของกระแสโลกาภิวัฒน์ และความไม่พร้อมที่จะรับมือต่อการเปล่ียนแปลงใน
ทกุ ดา้ น ทัง้ 3 ด้าน คือ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสงั คม และด้านสงิ่ แวดล้อมอยา่ งดีพอ ดังนั้นในภาวะท่ีเกิด
การเปล่ียนแปลงข้างต้นน้ี สิ่งที่จะช่วยยึดเหน่ียวจิตใจ และทาให้ดารงอยู่ได้อย่างย่ังยืน คือ เศรษฐกิจ
พอพียง (Sufficiency Economy) ซึ่งเป็นปรัชญาท่ีพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัส
ชี้แนะแนวทางการดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดเวลายาวนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่เกิด
วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และภายหลังได้ทรงเน้นย้า 3 แนวทางการแก้ไข เพื่อให้รอดพ้นและ
สามารถดารงอยู่ได้อยา่ งมนั่ คง และยั่งยนื ภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์ และความเปลีย่ นแปลงตา่ งๆ2
ประเทศไทยได้รับรู้ถึงความแปรปรวนทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจอย่างสูง
นับต้ังแต่ปี พ.ศ. 2540 เป็นต้นมา ซ่ึงหากบุคคลใดไม่มีหลักและไม่ม่ันคงจะได้รับผลกระทบอย่าง
หลีกเล่ียงไม่ได้หลายภาคส่วนหลายองค์กรท้ังภาครัฐและภาคเอกชนต่างมองหาที่พ่ึงพิง และทาความ
เขา้ ใจกบั เศรษฐกิจพอเพียงเพ่อื นาวธิ ีคดิ ในการดารงชีวิตใหข้ ้ามผ่านวิกฤตดังกล่าว และเป็นที่ประจักษ์
ชัดว่าผู้ที่น้อมนาไปสู่การปฏิบัติสามารถดารงชีวิตของตนในภาวะเช่นนั้นได้บรรเทาผลกระท บความ
เสียหายรุนแรงที่เกิดขึ้นสามารถพลิกฟื้นกลับคืนสู่สถานะเดิมได้โดยไม่ยากนัก3 จากการวิเคราะห์
สถานการณ์วกิ ฤตเศรษฐกิจการเงนิ ของประเทศท่ปี ระทุเมือ่ ปพี ุทธศักราช 2540 พบวา่ มีหลายสาเหตุ
1 สานักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ, ผลกำรปฏิรูประบบสุขภำพแห่งชำติในช่วงทศวรรษท่ีผ่ำน
(พ.ศ. 2540-2549), (กรุงเทพฯ : สานักงานปฏิรปู ระบบสขุ ภาพแหง่ ชาติ (สปรส.), 2549), หน้า 5.
2 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, แนวควำมคิดกำรพัฒนำประเทศ,
(กรงุ เทพฯ : สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ, 254๐), หนา้ 62.
3 จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา, เศรษฐกิจพอเพียงตำมแนวพระรำชดำริ, (วารสารอันเน่ืองมาจาก
พระราชดาริ, 2549), หน้า 27-28.
๒
ปัจจัยที่เชื่อมโยงกัน จนนามาสู่การเกิดวิกฤตในคร้ังนั้นเร่ิมจากการพัฒนาอย่างรวดเร็วแบบก้าว
กระโดด ในขณะท่ีเศรษฐกิจและสังคมของประเทศยังไม่เข้มแข็งเพียงพอ และไม่มีการวางแผนเพ่ือ
เตรียมความพร้อมรบั การเปล่ียนแปลงทค่ี าดวา่ จะเกิดข้ึน การตัดสินใจเชงิ นโยบายและในระดับบคุ คล
เก่ียวกับการบริโภคและการลงทุนที่ไม่ต้ังอยู่บนการวิเคราะห์สถานการณ์อย่างเป็นเหตุเป็นผล อกี ครั้ง
ไม่สอดคล้องกับพ้ืนฐานความเป็นจริงของปัจจัยต่างๆ ท้ังภายในและต่างประเทศ การบริหารการเงิน
และการลงทุนทม่ี คี วามเสี่ยงสูง ขาดความระมัดระวังในการรักษาความสมดุลระหว่างปจั จัยทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและความมั่นคงของการพัฒนาสภาพเศรษฐกิจและสังคมดังกล่าว
เป็นสาเหตุสาคัญท่ีทาให้คนไทยตกอยู่ในภาวะเดือดร้อน ท้ังปัญหาด้านเศรษฐกจิ และปัญหาสังคม ซ่ึง
นับวันยง่ิ ทวคี ูณความรุนแรงมากข้นึ เนื่องจากสังคมไทยจะให้ความสัมพนั ธ์กบั ระบบเศรษฐกิจแบบทุน
นิยมจนทาให้คนทาทุกวิถีทางเพื่อให้ได้ในส่ิงท่ีต้องการบางคนถึงกับสละจรรยาบรรณในวิชาชีพนา
ความรคู้ วามสามารถของตนเองในแสวงหาผลประโยชนโ์ ดยไม่คานึงถึงความเดือดร้อนถึงจะเกิดกับคน
อื่นในสังคมขอเพียงให้ตนเองได้รับประโยชน์สูงสุดก็พอ ทุกคนต้องการที่จะตอบสนองความต้องการ
ของตนเองจึงเกิดการแข่งขันกันเพื่อให้ได้เงินตราโดยไม่จากัดรูปแบบ เช่น การฉ้อโกง รวมถึงการฉ้อ
ราษฎร์บังหลวง การดาเนินกิจกรรมนอกกฎหมาย4 ซ่ึงปัญหาท่ีเกิดจากภาวะเศรษฐกิจจนนาไปสู่
ปัญหาต่างๆ ทางสังคม เช่น ปัญหาการขาดคุณธรรมจริยธรรม ปัญหาความรุนแรงต่างๆ ปัญหาการ
รับค่านิยมวัฒนธรรมต่างชาตทิ ่ีไม่เหมาะสมของเยาวชนไทย ซึ่งในปัจจุบันเยาวชนไทยได้รับการเล้ียง
ดูท่ีแตกต่างจากอดีต ครอบครัวท่ีพ่อแม่เล้ียงดูลูกแบบเอ้ืออาทรให้ความรักดูแลลูกและให้ทุกส่ิงทุก
อย่างแก่ลูกเพ่ือให้ลูกมีโอกาสได้เรียนหนังสือเท่าเทียมเพื่อนโดยไม่ต้องทาหน้าท่ีอื่นๆ และลูกท่ีดีลูกที่
นา่ รักคือลูกพ่ีตั้งอกต้ังใจเรยี นเรียนเก่ง ได้เกรดดี หาพ่อแม่สามารถหาทุกส่งิ ทุกอย่างที่ลูกต้องการได้ก็
คงจะไม่ทาให้เกิดปัญหามากมาย แต่ในครอบครัวของเด็กท่ีขาดวัตถุบางอย่างแต่ต้องการสิ่งนั้นมา
อย่างง่ายๆ จะทาให้เด็กขาดความยั้งคิดและหลงผิดโดยง่าย ในภาวะบริโภคนิยมเต็มไปด้วยสิ่งเร้า
มากมาย การนับถือตนเองซ่ึงจะเห็นว่าเด็กให้ปัจจุบันมีความคิดเปลี่ยนแปลงจากอดีตมาก เด็กจะตก
อยู่ในความเส่ียงสูงเพราะเขาจะกล้าทาสิ่งผิดๆ ดังนั้นจะเห็นได้ว่าในปัจจุบันการดาเนินชีวิตของ
เยาวชนจะให้ความสาคัญกับวัตถุนิยม ความฟุ้งเฟ้อ มีความต้องการที่ไม่รู้จักพอ ใช้เงินเกินความ
จาเป็นก็จะทาให้สังคมไทยในอนาคตหน้าเป็นห่วงเพราะเยาวชนถือเป็นทรัพยากรมนุษย์ท่ีสาคัญที่สุด
ที่จะพัฒนาประเทศชาตใิ หม้ คี วามเจริญก้าวหน้าในอนาคตจากปัญหาตา่ งๆ
จากที่กล่าวมาภาครัฐได้เล็งเห็นความสาคัญและหาแนวทางแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วน
เช่นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบบั ท่ี 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) การพัฒนาประเทศให้
เป็นสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันภายใต้แนวปฏิบัติของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและมียุทธศาสตร์
การพฒั นาคนให้มีคุณธรรมนาความรู้ เกดิ ภูมคิ ุ้มกัน โดยมีจิตใจควบคู่กับการพัฒนาการเรียนรู้ทุกกลุ่ม
4 อารีย์ เช้ือเมืองพาน, กำรศึกษำปัจจัยและเง่ือนไขท่ีมีผลต่อควำมสำเร็จหรือล้มเหลวของกลุ่มสะสม
ทนุ ในเขตภำคเหนอื ตอนบน. (เชยี งใหม่ : คณะบริหารธุรกจิ มหาวิทยาลยั แมโ่ จ.้ 2551), หน้า ๔.
๓
ทุกวัย อีกท้ังยังมีหลักการพัฒนาประเทศที่สาคัญในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐-
๒๕๖๔) ยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” “การพัฒนาที่ย่ังยืน” และ “คนเปน็ ศูนย์กลางการ
พัฒนา” ท่ีต่อเน่ืองจากแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี ๙-๑๑ และยึดหลักการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ลด
ความเหลื่อมล้าและขับเคลอื่ นการเจริญเติบโตจากการเพิ่มผลิตภาพการผลิตบนฐานการใช้ภูมิปัญญา
และนวัตกรรม โดยยึดวิสยั ทัศนข์ องกรอบยุทธศาสตร์ชาติทกี่ าหนดว่า “ประเทศไทยมีความมัน่ คง ม่ัง
คง่ั ยัง่ ยืน เปน็ ประเทศพัฒนาแลว้ ดว้ ยการพฒั นาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง”5
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี งเป็นปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวทรงมพี ระราชดารัส
แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 และภายหลังวิกฤตเศรษฐกิจ พ.ศ. 2540 ได้
ทรงเน้นย้าเป็นแนวทางแก้ไขเพ่ือให้รอดพ้นและสามารถดารงอยู่ได้อย่างม่ันคงและย่ังยืนภายใต้
กระแสโลกาภิวัฒน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ของสังคมไทย และต่อมาในปี พ.ศ. 2549
พ ร ะ บ า ท ส ม เด็ จ พ ร ะ เจ้ า อ ยู่ หั ว ท ร ง พ ร ะ ร า ช ท า น ป รั ช ญ า เศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เพี ย ง ให้ กั บ ส า นั ก ง า น
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติไว้ว่า “เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาช้ีถึง
แนวทางดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัวระดับชุมชนจนถึง
ระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและบรหิ ารถามประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนา
เศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันโลกยุคโลกาภิวัฒน์” โดยหลักสาคัญของทุกเรื่องก็คือความเรียบง่ายดังที่ได้
ทรงใช้คาว่า “Simplify” หรือ “Simplicity” จะต้องเรียบง่ายไม่ยุ่งยากสลับซับซ้อน ท้ังใน
แนวความคิดและด้านเทคนิควิชาการจะต้องสมเหตุสมผล ทาได้รวดเร็ว และสามารถแก้ไขปัญหาให้
กอ่ ประโยชน์ไดจ้ ริง ตลอดจนมงุ่ ไปสูว่ ถิ ีแหง่ การพฒั นายัง่ ยืน (Sustainability) อกี ดว้ ย6
การท่ีปรัชญาได้รับการยอมรับท้ังในแง่กรอบความคิดและการปฏิบัติในสังคมไทยเช่นน้ี
เป็นเพราะปรัชญาน้ีมาจากประสบการณ์ท่ีเป็นจริงของการพัฒนาท่ัวทุกพื้นที่ของประเทศ จากการ
กล่ันกรองพระบรมราโชวาทอันมีพื้นฐานจากพระราชกรณียกิจและการดาเนินงานโครงการหลวงที่
พระองค์ท่านได้ทรงพัฒนาในภูมิสังคมต่างๆ ท่ัวประเทศ จึงเป็นประสบการณ์ท่ีแท้จริงของประชาชน
สว่ นใหญ่เป็นการพัฒนาท่ีให้ความสาคัญม่งุ ให้คนสามารถพ่ึงตนเองได้ อกี ทั้งปรัชญายังมีหลักทางสาย
กลางมีการพัฒนาเป็นขั้นตอน ไม่สุดโต่ง เป็นตามหลักมัชฌิมาปฏิปทาของพุทธศาสนาอันเป็นท่ี
ยอมรับของประชาชนโดยทั่วไปทั่งยังให้หลักการพัฒนาท่ีเน้นองค์รวมโดยมุ่งความสุขของบุคคล ท้ัง
ด้านวัตถุ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม จึงช่วยให้มีกรอบท่ีกว้างกว่าในอดีตท่ีมักจะมองภาพโดย
5 สานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สรุปสำระสำคญั แผนพัฒนำเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชำติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๔, (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาต,ิ ๒๕๖๐), หนา้ ๒-๔.
6 สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ, สำระสำคัญใน
แนวคิดและทฤษฎีกำรพัฒนำอันเนื่องมำจำกพระรำชดำริ, (สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน
โครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาร,ิ ๒๕๖๐), หน้า 2-5.
๔
แยกส่วนปรัชญานี้ไม่ปฏิเสธกระแสโลกาภิวัฒน์ แต่ช้ีว่าให้มีความรู้เท่าทันให้มีความสามารถท่ีจะรับ
ความผันผวนของการเปลี่ยนแปลงได้7 ดังนั้นจะเห็นได้ว่าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามา
ประยุกต์ใชก้ ับประชาชนได้ทุกกลุ่มเพอ่ื ใหช้ ีวติ อย่บู นพ้ืนฐานความพอเพียงในทุกเรอ่ื ง หากคนในสังคม
โดยเฉพาะเยาวชนไทยสามารถปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจได้จะทาให้เยาวชนเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มี
คณุ ภาพ และจะนาไปสู่การนาพาประเทศให้รอดพ้นจากวิกฤติต่างๆ ได้
จากสาเหตุของสภาพปัญหา ผู้ศึกษาจึงสนใจท่ีจะศึกษาเร่ือง การศึกษาพฤติกรรมการ
ดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตช้ันปีท่ี ๔ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น เพ่ือศึกษาพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตคณะครุศาสตร์ ชั้นปีท่ี ๔ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตขอนแก่น
๑.๒ วตั ถปุ ระสงค์กำรวจิ ัย
- เพ่ือศึกษาพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิต
ช้ันปที ่ี ๔ คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่
๑.๓ ขอบเขตกำรวจิ ยั
1.3.1 ขอบเขตด้ำนประชำกรและกล่มุ เปำ้ หมำย
นิสิตคฤหัสถ์คณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 ที่ทาการลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่ ๒
ปีการศึกษา ๒๕๖๒ จานวน ๕๐ คน เปน็ ชาย ๑๔ คน เป็นหญงิ ๓๖ คน
1.3.๒ ขอบเขตด้ำนเนื้อหำ
ศกึ ษาจากตารา เอกสาร และงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตคฤหัสถ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต
ขอนแกน่ คณะครศุ าสตร์ ช้นั ปีท่ี ๔
1.3.3 ขอบเขตดำ้ นสถำนที่
มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตขอนแกน่
1.3.4 ขอบเขตด้ำนเวลำ
เดือนมกราคม - เดือนมนี าคม พ.ศ.๒๕๖๓ ในภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๒
7 สมพร เทพสิทธา, กำรเดินทำงตำมรอยพระยุคลบำทเศรษฐกิจพอเพียงช่วยแก้ปัญหำควำมยำกจน
และกำรทุจริต, (กรงุ เทพฯ : กองทุนอรยิ มรรค, 2550), หนา้ 20.
๕
๑.๔ นยิ ำมศพั ท์
พฤติกรรม หมายถึง การกระทาท่ีแสดงออกมาโดยสังเกตเห็นได้ของนิสิตคฤหัสถ์
คณะครุศาสตร์ ชน้ั ปที ่ี ๔ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่
การดาเนินชีวิต หมายถึง วิถีการดาเนินชีวิตในรูปแบบต่างๆ โดยที่ลักษณะของ
พฤติกรรมต่างๆ จะเป็นตัวบ่งบอกถึงรูปแบบการดาเนินชีวิตของนิสิตคฤหัสถ์ท่ีกาลังศึกษาในระดับ
ปริญญาตรี คณะครุศาสตร์ ช้ันปีท่ี ๔ ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต
ขอนแกน่
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง หลักการใช้ชีวิตอยู่บนความพอเพียง
ประกอบด้วย
1. ความพอประมาณ ได้แก่ พฤติกรรมเก่ียวกับการใช้จ่ายเงินอย่างพอประมาณ การ
ออมเงนิ การใชท้ รัพยากรอยา่ งคมุ้ คา่
2. ความมีเหตผุ ล ได้แก่ พฤตกิ รรมการตัดสนิ ใจเกยี่ วกับการใชจ้ ่ายเงิน การดาเนินชีวติ
3. การมีภูมิคุ้มกัน ได้แก่ พฤติกรรมเกี่ยวกับการวางแผนการใช้จ่ายเงิน การวางแผนใน
การทางาน การวางแผน และพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึงความซ่ือสัตย์สุจริต ความขยันหม่ันเพียร
ความอดทน อดออม ความพงึ พอใจต่องาน และความมีระเบยี บวินัย
นิสิต หมายถึง นิสิตคฤหัสถ์ที่กาลังศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์
ช้นั ปีท่ี ๔ ของมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
๑.๕ ประโยชนท์ ี่คำดว่ำจะไดร้ บั
- ได้ทราบพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตคณะ
ครศุ าสตร์ ชน้ั ปีที่ ๔ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น
บทท่ี ๒
แนวคิด ทฤษฎี และงำนวจิ ยั ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง
การวิจัยคร้ังนี้เป็นการศึกษาเร่ือง การศึกษาพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตช้ันปีท่ี ๔ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วทิ ยาเขตขอนแก่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงของนิสิตชั้นปีที่ ๔ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต
ขอนแก่น ในการศึกษาครั้งนผ้ี ้วู ิจยั ได้ศึกษาเอกสาร และงานวจิ ยั ท่ีเก่ยี วข้องดังน้ี
๒.๑ แนวคิดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
๒.๒ หลกั การของทฤษฎปี รัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๒.๓ ทฤษฎพี ฤตกิ รรมและพฒั นาการของวยั รุน่
๒.๔ งานวิจัยที่เกีย่ วขอ้ ง
๒.๕ กรอบแนวคดิ ในการวิจยั
๒.๑ แนวคดิ หลกั ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๒.๑.๑ ควำมเปน็ มำหลกั ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ตลอดระยะเวลาท่ีมีประเทศไทยเกิดข้ึน สถาบันกษัตริย์กับคาว่าไทยน้ันอยู่คู่กันมาโดย
ตลอด ประชาชนไทย สังคมไทย การเมืองไทย เศรษฐกิจไทย ชาติไทยกับพระมหากษัตรยิ ์ไทยถูกหล่อ
หลอม เป็นหนึ่งเดียวกัน และเมื่อพิจารณาดูทุกๆ สถาบันพระมหากษัตริย์ท่ัวโลกแล้ว ยังไม่มีสถาบัน
กษัตริย์ใด อยู่ใกล้ชิดประชาชนเท่ากับพระมหากษัตริย์ไทยเลย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง
พยายามสร้าง ความม่ังคั่งความม่ันคงให้เกิดข้ึนกับประชาชน พระองค์ทรงรับสั่งไว้ว่า อันดับแรกคือ
ความม่ันคงของ ประเทศ ประชาชนต้องต่อสู้เพ่ือเสรีภาพ เพ่ือเอกราช หลังจากนั้นเม่ือประเทศชาติ
สงบลงบ้างแล้วก็จะ มีความสงบเรียบร้อย มีกฎหมายและการบริหารแผ่นดินและต่อจากน้ันใน
ขณะเดียวกันก็ต้องมีอาหาร พอมีพอกนิ มีปัจจัยต่างๆท่ีเพียงพอต่อการดารงชวี ิตท่ีดี เพราะฉะน้ัน คา
ท่รี บั สัง่ มาโดยตลอด ระยะเวลาทท่ี รงครองราชย์มาคือ “ขอให้บ้านเมอื งของเรา ประชาชนชาวไทยนั้น
พอมีพอกินกันเถิด” คาว่าพอมีพอกินเป็นคาที่ย่ิงใหญ่ ถ้าประเทศใดไม่พอมีพอกินแล้วประเทศนั้นจะ
อยู่ไม่รอดไม่ว่าจะมี ความเจริญเติบโตทางด้านวัตถุ อย่างไรก็ตาม ความผาสุกคงจะไม่เกิดข้ึนบน
แผน่ ดินน้นั อย่างแน่นอน ผลจากการพัฒนาตามแนวพระราชดารมิ ุ่งใหค้ วามสาคญั กับการพัฒนาคนให้
อยู่ไดโ้ ดยการพึ่งตนเองซึง่ เป็นการพัฒนาแบบยั่งยืน ช่วยให้สามารถยกระดับความเปน็ อยู่ของคนไทย
โดยเฉพาะผ้ยู ากไร้ให้ดีขนึ้ โดยลาดับ8
8 สเุ มธ ตันตเิ วชกุล, ใต้เบ้อื งพระยคุ ลบำท ครูแหง่ แผ่นดิน, (พมิ พค์ ร้ังท่ี ๖, กรุงเทพฯ : มตชิ น, ๒๕๕๖),
หนา้ ๑๒๗-๑๒๘.
๗
หนังสือรายงานการพัฒนาคน ปี พ.ศ.2550 หรือ Thailand Human Development
report 2007 (NHDR 2007) ได้รายงานสหประชาชาติ หรือ United Nations Development
Program (UNDP) เป็นที่สังเกตว่า “เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่าพระมหากษัตริย์ในประเทศต่างๆ ทั่ว
โลกในปัจจุบัน มักไม่ค่อยแสดงความเห็นเกี่ยวกับเศรษฐกิจในประเทศของแต่ละพระองค์ แต่สาหรับ
ประเทศไทย พระมหากษัตริย์กลับทรงเสนอให้ปรับเปล่ียนยุทธศาสตร์ในการพัฒนาประเทศที่ได้รับ
การยกย่อง โดยทั่วไปว่าประสบความสาเร็จอย่างสูง นั่นคือ เป็นเวลากว่า 40 ปีมาแล้วท่ีเศรษฐกิจ
ไทยมีการขยายตัว ในอัตราเฉล่ียร้อยละ 7.6 ต่อปี โดยท่ีอัตราดังกล่าวถือได้ว่าเป็นอัตราท่ีทาให้
ประเทศไทยมกี ารขยายตัว เร็วท่ีสุดประเทศหน่ึงของโลก” ซงึ่ ขณะที่ธนาคารโลกกล่าวถึงประเทศไทย
ในฐานะประเทศท่ีมีบทบาท สาคัญในฐานะเป็นคลื่นลูกท่ีสองของ “ความมหัศจรรย์ในเอเชีย” โดย
ขนานนามประเทศไทยว่า “เสือ ตัวท่ีห้า” พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกลับทรงเห็นว่าเป็นเรื่องที่มิ
นา่ ยินดกี บั คาสรรเสรญิ เหล่านั้น และ ไดม้ ีพระกระแสรับส่ังเม่อื เดือนธันวาคม พ.ศ.2540 ว่า
“...การเป็นเสือน้ันไม่สาคัญ สาคัญอยู่ท่ีเรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกิน
นั้นหมายความว่า อุ้มชูตัวเองได้ ให้มีพอเพียงกับตัวเอง อันนี้ก็เคยบอกว่า ความพอเพียงไม่ได้
หมายความว่า ทุกครอบครัวต้องผลิต อาหารของตัวเอง จะต้องทอผ้าใส่เอง อย่างนั้นมากเกินไป แต่
ว่าในหมู่บ้าน หรืออาเภอจะต้องมีความพอเพียงพอสมควร บางสิ่งบางอย่างที่ผลิตได้มากกว่า ความ
ต้องการ ก็ขายได้ แต่ขายในท่ีไม่ห่างไกลเท่าไหร่ ไม่ต้องเสียค่าขนส่ง มากนัก อย่างนี้นักเศรษฐกิจ
ต่างๆ ก็มาบอกว่า ล้าสมัย คนอ่ืนเขาต้องมี การเศรษฐกิจ ท่ีต้องมีการแลกเปลี่ยนเรียกว่าเศรษฐกิจ
การคา้ ไมใ่ ชเ่ ศรษฐกจิ พอเพยี ง...”
พระราชดารัสข้างต้นในปี พ.ศ.2540 ผ่านคาว่า “ให้มีพอเพียงกับตัวเอง” “เศรษฐกิจ
แบบ พอมีพอกิน “เศรษฐกิจแบบพอเพียง” อาจจะถือว่าเป็นจุดเร่ิมตน้ ของการจุดประกายที่ทาให้คน
ไทย และรวมถึงชาวโลกได้ตั้งสติคิดถึงความเหมาะสมในการพัฒนาเศรษฐกิจท่ีผ่านมา และหันมา
สนใจอยา่ ง จริงจงั กบั แนวพระราชดารเิ กย่ี วกับการพัฒนาภายใต้ช่อื “เศรษฐกจิ พอเพยี ง”๙
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานปฐมพระราชดารัสว่าด้วยเศรษฐกิจพอเพียง
โดย รับสั่งแก่นักศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัย
เมอ่ื ปี พ.ศ. 2517 วา่
“...การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับข้ัน ต้องสร้างพ้ืนฐาน คือความพอมี พอ
กิน พอใชข้ องประชาชนเป็นส่วนใหญ่…”
๙ ปรียานุช ธรรมปิยา, วิกฤตเศรษฐกิจ 2540 กับปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง, พิมพ์คร้ังท่ี 4
กรงุ เทพฯ : กรุงเทพฯ : ศนู ยส์ ถานศึกษาพอเพียง มลู นิธิยวุ สถิรคณุ , 2558, หนา้ 12-13.
๘
๒.๑.๒ ควำมหมำยของเศรษฐกจิ พอเพยี ง๑๐
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ตรัสถึง “เศรษฐกิจพอเพียง” อีกคร้ังหนึ่ง เม่ือวันที ๔
ธันวาคม ๒๕๔๑ มีความตอนหนึ่งว่า “คาว่า พอเพียงมีความหมายอีกอย่างหน่ึง มีความหมายกว้าง
ออกไปอีก ไม่ได้หมายถึง การมีพอสาหรับใช้เองเท่าน้ัน แต่มีความพอกินมากกว่าพอมีพอกิน
พอมีพอกินนถ้ี ้าใคร ได้มาอยู่ที่น่ีในศาลานเี้ มื่อเท่าไหร่ ๒๐๒๔ เม่ือปี ๒๕๑๕ ถึง ๒๕๔๑ น้ีก็ ๒๔ ปี ใช่
ไหม วันน้ันได้พูดว่าเราควรจะปฏิบัติให้พอมีพอกิน พอมีพอกินนี้ก็เศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง ถ้าแต่ละ
คนพอมีพอกนิ ก็ใช้ได้ ย่ิงถา้ ท้ังประเทศพอมีพอกินก็ยงิ่ ดี และประเทศไทยเวลานั้นก็เริ่มจะพอมีน้ีอะไร
พอมีพอกิน บางคนก็มีมาก บางคนไม่มีเลย สมัยก่อนน้ีพอมีพอกิน มาสมัยนี้ไม่พอมีพอกิน จะต้องมี
นโยบายท่ีจะทาเศรษฐกิจพอเพียง ให้เพียงพอนี้หมายความว่า มีกินอยู่ไม่ฟุ่มเฟือย ไม่หรูหราก็ได้ คา
ว่า “พอ” แม้บางครงั้ อาจจะดูฟมุ่ เฟือยแต่ถ้าทาให้มีความสุข ก็ควรท่ีจะทาตามสมควรท่ีจะปฏิบัติ อัน
นก้ี ็ความหมายอกี อย่างของเศรษฐกจิ พอเพยี ง”
สรุปความหมายของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงจากพระราชดารสั น้ี
“คาว่าพอเพียง...มีความหมายว่าพอมีพอกิน...พอมีพอกินก็แปลว่ าเศรษฐกิจพอเพียง
นนั่ เอง” ให้พอเพยี งนี้ กห็ มายความวา่ มกี ินอยอู่ ย่างไม่ฟมุ่ เฟือย ไมห่ รหู ราก็ได้ แต่วา่ พอ”
“เมื่อปีท่ีแลว้ ตอนท่ีพูดพอเพียง แปลในใจ แล้วกไ็ ด้พูดออกมาด้วยว่า Self-sufficiency
(พึ่งพาตนเอง) ถึงไดบ้ อกว่าพอเพียงแก่ตนเอง แต่ความจริงเศรษฐกิจพอเพียงนี้ กว้างขวางกว่า Self-
sufficiency คือ Self-sufficiency นั้นหมายความว่า ผลิตอะไรท่ีมีพอที่จะใช้ไม่ต้องไปซื้อคนอื่นอยู่
ไดด้ ้วยตนเอง บางครั้งแปลจากภาษาฝรัง่ ว่า ใหย้ ืนบนขาของตวั เอง คาวา่ ยนื บนขาของตัวเองนี่ มีบาง
คนพูดว่าชอบกล ใครจะมายืนบนขาคน มายืนบนขาของเรา เราก็โกรธ แต่ตัวเองยืนบนขาตัวเองก็
ต้องเสียหลัก หกล้มหรือล้มลง อันน้ันก็เป็นความคิดท่ีอาจจะเฟื่องไปหน่อย แต่ว่าตามท่ีเขาเรียกว่า
ยืนบนขาตัวเอง หมายความว่าของเราน่ี ยืนบนพ้ืนให้ได้ ไม่หกล้ม ไม่ต้องยืมขาคนอ่นื มาใช้สาหรบั ยืน
แต่พอเพียงนี้หมายความกว้างยิ่งกว่านี้อีก คือคาว่าพอเพียง เพียงน้ีก็พอ ดังน้ันเองถ้าคนเราพอใน
ความต้องการ ก็มีความโลภที่น้อยก็เบียดเบียนคนอ่ืนน้อย ถ้าทุกประเทศมีความคิดอันนี้ก็ไม่ใช่
เศรษฐกิจมีความคิดว่า ทาอะไรต้องพอเพียง หมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภมาก
อาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่ว่าต้องไม่ไปเบียดเบียนคนอ่ืน ต้องใช้ความพออัตภาพ พูดจาก็พอเพียง
ปฏิบัติตนก็พอเพียงทางความคิดก็เหมือนกันไม่ใช่ทางกายเท่าน้ันถ้าใครมีความคิดอย่างหนึ่ง
และต้องการให้คนอื่นคดิ อยา่ งเดียวกับตน ซ่ึงอาจจะเป็นความคิดท่ีไม่ถูก กไ็ ม่สมควรทา ปฏิบัติอย่าง
นี้ก็ไม่ใช่การปฏิบัติแบบพอเพียงความพอเพียงในความคิดก็คือการแสดงความคิดของตัว ความเห็น
๑๐ ณัฐพงศ์ ทองภักดี, ปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง : ควำมเป็นมำและควำมหมำย, (วารสารพัฒนบรหิ าร
ศาสตร,์ ปที ่ี ๔๗ พ.ศ. ๒๕๕๐), หนา้ ๓-๒๓.
๙
ของตัว และปล่อยให้อีกคนพูดบ้าง และมาพิจารณาที่เขาพูดท่ีเราพูด อันไหนพอเพียง อันไหนเข้า
เร่ือง ถ้าไม่เข้าเร่ืองก็แก้ไข เพราะว่าถ้าพูดกันโดยที่ไม่รู้เร่ืองก็จะกลายเป็นการทะเลาะกัน จากการ
ทะเลาะด้วยวาจาก็จะกลายเป็นการทะเลาะด้วยกาย ซึ่งในทส่ี ุดก็นามาซ่งึ ความเสียหาย เสยี หายแก่ผู้
ท่ีเป็นตัวละครทั้งสองคน ถ้าเป็นหมู่ก็เลยเป็นการตีกันอย่างรุนแรงได้ ซ่ึงจะทาให้คนอ่ืนอีกมาก
เดือดร้อน ฉะน้ัน ความพอเพียงนี้ก็แลว่า ความพอประมาณและความมีเหตุผล ท่ีพูดอย่างน้ีก็เพราะ
ต้องอธบิ ายคาวา่ พอเพยี งที่คนไม่เขา้ ใจเม่ือปีท่แี ล้ว”๑๑
ความในพระราชดารัสน้ี พระเจ้าอยู่หัวได้ให้ความหมายเศรษฐกิจพอเพียงไว้ว่า “ความ
พอเพียงนี้มีความหมายกว้างขวางคือคาว่า พอก็คือพอเพียง เพียงน้ีก็พอ ทาอะไรต้องพอเพียง
หมายความว่าพอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภมาก พอเพียงน้ีอาจจะมีมากอาจจะมีของหรูหราก็ได้แต่
ว่าต้องไม่เบียดเบียนผู้อ่ืนต้องให้พอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง ทาอะไรก็พอเพียง ปฏิบัติ
ตนก็พอเพียง ทางความคิดก็เหมือนกนั ไม่ใช่ทางกายเท่านั้น ความพอเพียงในความคดิ กค็ ือการแสดง
ความคิดของตัว ความเห็นของตัว และปล่อยให้อีกคนพูดบ้าง และมาพิจารณาท่ีเขาพูดที่เราพูดอัน
ไหนพอเพียง อันไหนเข้าเรื่อง ถ้าไม่เข้าเรื่องก็แก้ไข เพราะว่าถ้าพูดกันโดยท่ีไม่รู้เรื่องก็จะกลายเป็น
การทะเลาะกัน ฉะนั้น ความพอเพียงน้ีก็แปลว่า ความพอประมาณ ความมีเหตุผล น่ีเป็นนิยาม
ความหมาย “เศรษฐกิจพอเพียง” ที่พระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานไว้เมื่อ พ.ศ.๒๕๔๐ และ พ.ศ.
๒๕๔๑มีหลายท่าน ท้ังท่ีเป็นผู้รู้และผู้ไม่รู้ ได้วิพากษ์วิจารณ์กันไปต่างๆ นานา จนเกิดความไม่เข้าใจ
หรือความเข้าใจผิดไปก็มี มีท่านผู้รู้ระดับปราชญ์หลายท่านได้ให้ความหมายของ “เศรษฐกิจ
พอเพียง” ไว้อย่างลึกซงึ้ คือ
สุเมธ ตันติเวชกุล๑๒ อดีตเลขาธิการสานักคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงาน
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ (กปร.) ผูส้ นองงานรับใช้พระเจ้าอย่หู วั มานาน ได้ใหค้ วามหมาย
ของ “เศรษฐกิจพอเพียง” ไว้ดงั น้ี
“เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง เศรษฐกิจท่ีสามารถอุ้มชูตัวเอง (Relative Self-
sufficiency) อยู่ได้โดยไม่ต้องเดือดร้อน โดยสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจของตนเองให้ดีเสียก่อน คือ
ตั้งตัวให้มีความพอกินพอใช้ ไม่มุ่งหวังแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจให้รวดเร็วแต่เพียง
อยา่ งเดียวเพราะผูม้ อี าชีพและฐานะเพยี งพอท่จี ะพ่ึงตนเองย่อมสามารถสรา้ งความเจริญก้าวหน้าและ
ฐานะทางเศรษฐกิจทีส่ ูงข้ึนตามลาดับได้” และยงั ได้กลา่ วถึงการใชเ้ ศรษฐกิจพอเพียงสาหรับสังคมแต่
ละระดับไว้ ดังต่อไปนี้ ระดับบุคคลหรือครอบครัวสามารถให้ตนเองเป็นท่ีพ่ึงแห่งตนใน ๕ ด้าน คือ
๑๑ คณะกรรมการการขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพียง, มำรวมกันเป็นคน พ.ศ. พอเพียง (คู่มือ พ.ศ.
พอเพยี ง), (กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัท เจ เอส แอล จากัด ๒๕๕๐), หน้า ๒-๔.
๑๒ สุเมธ ตันติเวชกุล, ปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงพระเจำ้ อยู่หวั , (กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์แสงดาว,
๒๕๔๙), หน้า ๑๘.
๑๐
จิตใจ สังคม เทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจรู้จักคาว่า “พอ” และไม่
เบียดเบียนผู้อ่ืน พยายามพัฒนาตนเองเพ่ือเสริมสร้างความเข้มแข็งและความชานาญมีความสุขและ
พอใจกับชีวิตที่พอเพียงยึดเส้นทางสายกลางในการดาเนินชีวิต ระดับชุมชน ประกอบด้วย บุคคล
ครอบครัวท่ีมีความพอเพียงแล้ว รวมกลุ่มทาประโยชน์เพื่อส่วนรวมโดยอาศัยภูมิปัญญาและ
ความสามารถของตน และชุมชนมีความเอื้ออาทรระหว่างสมาชิกชุมชนทาให้เกิดพลังทางสังคม
นาไปสู่เครอื ข่ายระหวา่ งชุมชนต่างๆ ระดบั รัฐหรือระดับประเทศ ประกอบด้วยสังคมต่างๆ ทเี่ ข้มแข็ง
ชุมชนหรือสังคมหลายๆแห่งรว่ มมือกันพฒั นาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงวางรากฐานให้ประเทศมี
ความพอเพียง และพร้อมก่อนจึงค่อยๆ ดาเนินการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศให้เจริญ
ข้นึ เปน็ ลาดับต่อไป๑๓
นิธิ เอียวศรีวงษ์๑๔ ได้ให้ความหมายของ “เศรษฐกิจพอเพียง” โดยนัยแห่งวัฒนธรรม
ไว้ว่า “เศรษฐกิจพอเพียง ไม่ใช่เทคนิค แต่มีความหมายกว้างกว่าน้ันมาก เพราะต้องเอา ๑)
อดุ มการณ์บางอยา่ ง ๒) โลกทัศน์บางอย่าง ๓) ความสัมพันธ์บางอย่าง ๔) คา่ นิยมบางอย่างอยู่ในน้ัน
ด้วยจึงจะนับได้ว่าเป็นเศรษฐกิจพอเพียงท่ีแท้จริง ท้ัง ๔ ประการ ท่ีจะกล่าวถึงนี้ คือ ส่วนที่เรารู้จัก
กันว่าวัฒนธรรมนั่นเอง” ถ้าไม่เข้าเข้าใจเศรษฐกิจพอเพียงตามความหมายเช่นน้ี เศรษฐกิจพอเพียง
จะมีความเป็นไปได้แก่จานวนน้อยเท่านั้นเอง คือ เกษตรกรท่ีมีที่ดินเป็นของตนเองในปริมาณที่เพียง
พอที่จะผลิตเพื่อพอบริโภค หรือทารายได้พอสาหรับครัวเรือนเท่าน้ัน ฉะนั้น เศรษฐกิจพอเพียงจึง
นิยมกันไว้เพียงว่าเศรษฐกิจพอเพียงคือ วัฒนธรรม ไม่ใช่เทคนิคการเพาะปลูกหรือศีลธรรม ควรไม่
ละโมบและประหยัดเท่านนั้ แม้ว่าเปน็ สว่ นที่ขาดไมไ่ ดข้ องเศรษฐกิจพอเพยี ง
ไสว บุญมำ๑๕ กล่าวถึง เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง การใช้ทรัพยากรท่ีมี จากัดในการ
ผลิตเพื่อบริโภคเองบ้าง และเพ่ือแลกเปลี่ยนบ้างตามความเหมาะสม โดยมีจุดมุ่งหมาย เบ้ืองต้น คือ
ให้สามารถมีส่ิงต่างๆ เพียงพอสนองความตอ้ งการเบอื้ งต้น หรือปัจจัย ๔ ในดาเนนิ ชีวติ
ประเวศ วะสี๑๖ มองเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเช่ือมโยงหลายสิ่งหลายอย่างเข้าด้วยกัน
เพ่ือใหม้ ีความสมดลุ ไมต่ ้องประสบวิกฤต
“เศรษฐกิจพอเพียง ไม่ได้แปลวา่ ไม่ได้เกี่ยวข้องกับใคร ไม่ค้าขาย ไม่ส่งออก ไม่ผลติ เพ่ือ
คนอ่ืน ไม่ทาเศรษฐกิจมหาภาค ส่ิงเหล่านี้หลายคนอาจคิดเอาเอง พูดเอาเอง และกลัวไปเองทั้งน้ัน
๑๓ สเุ มธ ตันติเวชกุล, หลักธรรมตำมรอยพระยคุ ลบำท, (พมิ พ์ครงั้ ท่ี ๘, กรงุ เทพมหานคร : ดา่ นสุทธา
การพิมพ,์ ๒๕๔๘), หน้า ๑๑๗.
๑๔ นธิ ิ เอยี วศรวี งษ์, ปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพียงพระเจ้ำอยหู่ วั , (พมิ พ์ครั้งท่ี ๓, เชยี งใหม่ : คะนงึ นจิ
การพมิ พ,์ ๒๕๔๔), หน้า ๙.
๑๕ ไสว บุญมา, เศรษฐกจิ พอเพียงภมู ิปญั ญำชำตไิ ทย, (กรุงเทพฯ : พี เอ ลฟี ว่ิง, 2543), หน้า ๑๙-๒๐.
๑๖ ประเวศ วะสี, ปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงพระเจ้ำอยู่หัว, (พิมพ์ครั้งที่ ๓, กรุงเทพฯ : เคล็ดไทย,
๒๕๔๕), หน้า ๑๙.
๑๑
ถ้าจะกระตุกกันสักหน่อยก็ขอกล่าวว่า “พระเจ้าอยู่หัวไม่ใช่คนโง่” ท่ีทรงกล่าวถึงเรื่องน้ีประเทศ
เนเธอร์แลนด์ เดนมาร์ก สวิสเซอร์แลนด์ เป็นตัวอย่างของประเทศที่เคยยากลาบากและเสียสมดุล
ต่อเม่ือพัฒนาประเทศแบบเศรษฐกิจพอเพียงจึงเข้มแข็ง ได้สมดุลและเติบโตไปด้วยดีเศรษฐกิจ
พอเพยี ง หมายถึง พอเพยี งอยา่ งนอ้ ย ๗ ประการด้วยกันคอื
๑) พอเพียงสาหรับทุกคน พอเพียงสาหรบั ครอบครวั ไมใ่ ชเ่ ศรษฐกิจแบบทอดทง้ิ กนั
๒) จิตใจพอเพียง ทาให้รักและเอ้ืออาทรคนอื่นได้ คนที่ไม่พอจะรักคนอื่นไม่เป็น และ
ทาลายมาก
๓) สง่ิ แวดล้อมพอเพียง การอนรุ ักษ์และเพิ่มพูนส่ิงแวดล้อมทาให้ยังชพี และทามาหากิน
ไดท้ ้งั สิ่งแวดล้อม และไดท้ ้ังเงนิ เปน็ ตน้
๔) ชุมชนเข้มแข็งพอเพียง การรวมตัวเป็นชุมชนท่ีเข้มแข็ง จะทาให้แก้ไขปัญหาต่างๆ
ได้ เช่น ปัญหาสงั คม ปญั หาหาความยากจน หรือปัญหาสิง่ แวดล้อม เป็นตน้
๕) ปัญหาพอเพยี ง มีการเรยี นรู้ร่วมการในการปฏิบัติ และประตวั ได้อย่างต่อเนื่อง
๖) อยู่บนพ้ืนฐานวัฒนธรรมพอเพียง วัฒนธรรม หมายถึง วิถีชีวิตของชนสัมพันธ์อยู่กับ
ส่ิงแวดล้อมท่ีหลากหลาย ดังน้ัน เศรษฐกิจจึงควรสัมพันธ์ และเติบโตจากรากฐานทางวัฒนธรรมจึง
จะมั่นคง เช่น เศรษฐกิจของจังหวัดตราด ขณะน้ีไม่กระทบกระเทือนจากฟองสบู่แตก คงไม่ตกงาน
เพราะอยู่บนพ้ืนฐานของสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมท้องถิ่นท่ีเอ้ืออานวยต่อการทาอาชีพสวนผลไม้
ทาการประมง และการทอ่ งเท่ียว
๗) มีความมั่นคง ไม่วู่วาม เดี๋ยวจนเด๋ียวรวยแบบกะทันหัน เดี๋ยวตกงาน ไม่มีกินไม่มีใช้
ถ้าเป็นแบบนัน้ ประสาทมนุษย์ คงทนไม่ไหวต่อความผัวผนั ทีเ่ ร็วเกินไป จงึ ทาใหส้ ขุ ภาพจติ เสีย เครยี ด
เพ้ียน รุนแรง ฆ่าตัวตาย ติดยา เศรษฐกิจพอเพียงท่ีมั่นคงจึงทาให้สขุ ภาพจิตดี เม่ือทุกอย่างพอเพียง
ก็เกิดสมดุล ความสมดุลคือความปกติและยั่งยืน ซ่ึงเราอาจเรียกเศรษฐกิจพอเพียงในชื่ออ่ืนๆ เช่น
เศรษฐกจิ พ้ืนฐาน เศรษฐกิจสมดุล เศรษฐกิจบรู ณาการ และเศรษฐกจิ ศีลธรรม
กรมกำรศำสนำ๑๗ ไดใ้ นนยิ ามของเศรษฐกิจพอเพียงตามหลกั พระพุทธศาสนา หมายถึง
การดารงชีวิตท่ีเรียบง่าย ประหยัด ไม่ฟุ้งเฟ้อ ฟุ่มเฟือย ยึดถือทางสายกลาง รู้จักพอ พอดี
พอประมาณ และพอใจ มีความเมตตาเอ้ืออาทรต่อกัน ไม่เบียดเบียนกัน ไม่เอารัดเอาเปรียบกัน ไม่
มุ่ง ร้ายทาลายกัน ประกอบสัมมาอาชีพด้วยความขยันหม่ันเพียร สามารถพ่ึงตนเองได้ ไม่เดือดร้อน
ไม่ตก เป็นทาสอบายมุข วัตถุนิยม และบริโภคนิยม ดาเนินชีวิตในความพอดี มีชีวิตใหม่คือ หวน
กลบั มาใชว้ ถิ ี ชวี ติ ไทยในการสร้างรากฐานหรอื พ้นื ฐานของระบบเศรษฐกจิ ทัง้ หมด
๑๗ กรมการศาสนา, กรอบแนวคิดทำงทฤษฎี เศรษฐศำสตร์ ปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง, (กรุงเทพฯ :
สานกั งานสานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาต,ิ 2549), หน้า ๑๕.
๑๒
ดังน้ันท่ีกล่าวมาคือ เศรษฐกิจทางสายกลาง หรือเศรษฐกิจมัชฌิมาปฏิปทา เพราะ
เชอ่ื มโยงทุกเรื่องเข้าด้วยกัน ทง้ั เศรษฐกิจ จิตใจ สังคม วัฒนธรรม สิง่ แวดล้อม ท่ีจริงคาว่าเศรษฐกิจ
เป็นคาท่ีมีความหมายท่ีดี ที่หมายถึงความเจริญท่ีเชื่อมโยง ใจ สังคม วัฒนธรรม และส่ิงแวดล้อมเข้า
ด้วยกัน แต่ได้นาเอาคาวา่ เศรษฐกิจไปใช้ในลักษณะแบบแยกส่วน ซง่ึ หมายถึงการแสวงหาเงินเทา่ นั้น
เมอ่ื แยกสว่ นทท่ี าลายส่วนอื่นๆ จนเสยี สมดุลและวิกฤต๑๘
วูล์ฟกัง ซัคส์ นักวิชาการด้านส่ิงแวดล้อมคนสาคัญของเยอรมณี สนใจการประยุกต์ใช้
เศรษฐกิจพอเพียงอย่างมากและมองว่าน่าจะเป็นอีกทางเลือกหน่ึงสาหรับทุกชาติในเวลานี้ ท้ังมี
แนวคดิ ผลกั ดันเศรษฐกิจพอเพียงให้เปน็ ที่รู้จักในเยอรมนี
อมำตยำ ซัคส์ ศาสตราจารย์ชาวอินเดีย เจ้าของรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร์ ปี
ค.ศ.๑๙๙๘ มองว่าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นการใช้สิ่งต่างๆ ที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต และใช้
โอกาสให้พอเพียงกับชีวิตที่ดี ซึ่งไม่ได้หมายความว่าไม่ต้องการ แต่ต้องรู้จักใช้ชีวิตให้พอดี อย่าให้
ความสาคญั กบั เรอื่ งของรายไดแ้ ละความรา่ รวย แตใ่ หม้ องท่คี ณุ คา่ และชวี ิตมนษุ ย์
นำยจิกมี ทินเลย์ นายกรัฐมนตรีแห่งประเทศภูฏาน ให้ทรรศนะว่า หากประเทศไทย
กาหนดเรื่องเศรษฐกิจให้เป็นวาระระดับชาติและดาเนินการตามแนวทางนี้อย่างจริงจัง “ผมว่า
ประเทศไทยสามารถสร้างโลกใบใหม่จากหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สร้างชีวิตที่ยั่งยืน และ
สุดท้ายจะไม่หยุดเพียงแค่ในประเทศไทย แต่จะเป็นหลักการและแนวปฏิบัติของโลก ซ่ึงหากทาได้
สาเร็จ ไทยคือผู้นา”
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้รับการเชิดชูเป็นอย่างสูงจากองค์การสหประชาชาติ โดย
นายโคฟี อันนัน ในฐานะเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ได้ทูลเกล้าฯ ถวายรางวัลความสาเร็จ
สูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เม่ือวันท่ี ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๔๙
และได้มปี าฐกถาถึงปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงว่า เป็นปรชั ญาท่ีมีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานา
ประเทศและสามารถเร่ิมได้จากการสร้างภูมิคุ้มกันในตนเอง สู่หมู่บ้าน และสู่เศรษฐกิจในวงกว้างข้ึน
ทีส่ ุด
แนวคิดทฤษฎีการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว
โดยในส่วนของแนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดารนิ ้ัน ได้กลา่ วถึง ปรัชญาและ
แนวคิดอันเปน็ พ้ืนฐานของการพัฒนาประเทศของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัว เป็นปรัชญาทม่ี ุ่งเน้น
ไปที่ความเรียบง่ายไม่สลับซับซ้อน และเริ่มจากเล็กไปใหญ่ โดยให้สอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่
ของประชาชน สังคม สภาพความธรรมชาติและระบบนิเวศน์โดยรวมของชุมชนน้ันความเรียบง่าย
(Simplicity) และการให้ความสาคัญต่อจุดเล็ก (micro) ซ่ึงเป็นพื้นฐานสาคัญเสียก่อนแล้วจึงค่อย
๑๘ ปรียานุช พบิ ูลศราวุธ, ปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพียงกับกำรประยกุ ต์ใช้ท่วั ไป, (เชยี งใหม่ :
มหาวทิ ยาลัยแมโ่ จ้, ๒๕๕๑), หน้า ๗๕.
๑๓
ขยายไปสู่จุดใหญ่ที่เป็นองค์รวม (macro) โดยมีลักษณะค่อยเป็นค่อยไป และไม่ให้เป็นการ
เปลี่ยนแปลงในลักษณะถอนรากถอนโคนอีกทั้งยังหลีกเล่ียงกา รเบียดเบียนและทาลาย
ทรัพยากรธรรมชาติและสรรพส่ิงท่ีร่วมอาศัยในโลกอันสอดคล้องต้องกันกับแนวคิด “Small is
Beautiful” ในพุทธเศรษฐศาสตร์ ของ ดร.อี.เอฟชมาร์คเกอร์ เพียงแต่หลักการน้ี พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวได้ทรงใช้เป็นแนวปฏิบัติมาก่อนล่วงหน้าหลายสิบปี หลักสาคัญในแนวคิดและทฤษฎี
การพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดาริ เม่ือมองในเชิงวัตถุประสงค์แล้วจะเห็นชัดเจนว่าทรงเน้นย้า
หลักของการพึ่งพาตนเอง โดยมุ่งหมายให้ประชาชนส่วนใหญ่ “พออยู่-พอกิน” เป็นเบ้ืองต้นในทาง
เศรษฐกิจและให้ดารงตนอย่ใู นแนวทางของ “ทางสายกลางหรือมัชฌิมาปฏิปทา” ตามหลักแห่งพระ
พุทธธรรมนอกไปจากนีแ้ นวความคิดและทฤษฎกี ารพัฒนาประเทศของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว
โดยรวมยังมีลักษณะเด่นชัดของการ “ไม่ติดตารา” คือเป็นการพัฒนาประเทศของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวโดยรวมยังมีลักษณะเด่นชัดของการ “ไม่ติดตารา” คือเป็นการพัฒนาท่ีอนุโลมและรอม
รอมกับสภาพของธรรมชาติและสภาพสังคมจิตวิทยาแห่งชุมชน และท่ีสาคัญคือการไม่ผูกมัดติดอยู่
กับวิชาการและเทคโนโลยีท่ีแข็งตัวและไม่เหมาะกับสภาพท่ีแท้จริงของคนไทยอันจะทาให้เกิดการ
ดาเนินงานทสี่ ามารถบรรลผุ ลสาเร็จได้อย่างสมบรู ณเ์ ตม็ ที่๑๙
พระพรหมคุณำภรณ์ (ป.อ.ปยตุ โต)๒๐ ปราชญ์แห่งพุทธธรรมได้มองเศรษฐกิจพอเพียง
ในแง่วัตถุและจิตวิสัย ดังน้ี “...ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง อาจมองได้เป็น ๒ ด้าน คือ มอง
อยา่ งวัตถุวิสยั และแบบจติ วิสยั คือ
๑) มองอย่างวัตถุวิสัยมองภายนอก คือ ต้องมีกินมีใช้ มีปัจจัยส่ีท่ีเพียงพอ ที่เราพูดว่า
พอสมควรกบั อตั ภาพ ซง่ึ ใกล้เคียงกบั คาว่าพง่ึ ตนเองในทางเศรษฐกิจ
๒) ส่วนความหมายด้านจิตวิสัยหรือภายใน คือ คนจะมีความรู้สึกเพียงพอไม่เท่ากัน
บางคนมีเป็นล้านก็ไม่พอ บางคนมีนิดเดียวก็พอ เป็นการพอทางจิตใจ” และท่านยังกล่าวอีกว่า
ความรู้จักพอประมาณไว้บนหนังสอื ทศวรรษธรรมทัศนพ์ ระธรรมปฎิ กว่า พฤติกรรมของเศรษฐกจิ เมื่อ
หลักพระพุทธเข้าสัมพันธ์ไปแล้วไม่ว่าจะเป็นการผลิต การบริโภค หรือการวิภาคแบ่งปันกระจาย
รายได้อะไรก็ตาม ก็จะเร่ิมจากจุดยืนท่ีตัวมนุษย์ว่า จะต้องมีความรู้จักประมาณก่อน ความรู้จัก
ประมาณหรือความรู้จักพอดีน้ี ทางพระเรียกว่ามัตตัญญุตา เช่น รู้จักพอดีในการบริโภคอาหารก็เป็น
โภชเนมตั ตัญญุตา
๑๙ มนูญ มุกข์ประดิษฐ์ และคณ , แนวคิดและทฤษฎีกำรพัฒนำอันเน่ืองมำจำกพระรำชดำริ,
(กรุงเทพมหานคร : สานกั งาน กปรฉ, ๒๕๔๐), หนา้ ก.
๒๐ พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโต), ธรรมกับกำรพัฒนำชีวิต, (กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิพุทธธรรม,
๒๕๓๙), หน้า ๓๙.
๑๔
ทองทิพภำ วิริยะพันธุ์๒๑ ได้กล่าวถึงพระราชดาริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไว้ในหนังสือ “เศรษฐกิจพอเพียงความพอเพียงมวลรวมในประเทศ”
ว่าพระราชดาริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นการนาเสนอสู่สังคม
ตามวิถีของชาวตะวันออกและวิถีพุทธซ่ึงยึดแก่นสาระของความเป็นจริงเป็นหลักตัวอย่าง เช่น
ศาสนาพุทธได้กล่าวถึงการรู้ความจริงของสรรพสิ่งท่ีมีอยู่ในโลกนี้ว่าทุกสิ่งนั้นไม่เท่ียงมรการเกิดขึ้น
ตัง้ อยู่และดับไป ดังน้ัน จึงไม่ควรยึดมั่นถือมน่ั ให้เกิดทุกข์ส่วนปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงนนั้ หากมกี าร
นามาใช้ปฏิบตั นิ าไปส่วู ถิ ที างการดาเนนิ ชีวติ ส่วนตัวและชวี ติ การทางานอย่างมคี ณุ ภาพและมีความสุข
การมีความพอเพียงเป็นท่ีต้ังจะทาให้รู้จักความพอดีจึงใช้ทางสายกลางท่ีไม่มากก็น้อยเกินไป ซึ่งจะ
สง่ ผลไปถงึ การบริหารจดั การตนเอง และทรัพยากรตา่ งๆ อย่างเหมาะสมไม่ฟุ่มเฟือยให้ส้ินเปลืองโดย
ใช่เหตุ เน่ืองจากผู้ท่ีมีความพอในจิตใจจะรู้จักประมาณตนใช้เหตุผลและยังใช้ความรู้ในการพิจารณา
ด้วยความรอบคอบระมัดระวังมีจิตสานึกในคุณธรรม มีความซ่ือสัตยส์ ุจริตจึงรู้จกั ควบคมุ จติ ใจของตน
ไม่ใหเ้ กดิ ความโลภ อนั จะนาไปสู่ความเส่ียงทีอ่ าจจะก่อให้เกิดความเสยี หายต่อตนเองและสว่ นรวม
๒.๑.๓ แนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียง
ผลจากการใช้แนวทางการพัฒนาประเทศไปสู่ความทันสมัย ได้ก่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงแก่ สังคมไทยอย่างมากในทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านเศรษฐกิจ การเมอื ง วัฒนธรรม สังคม
และส่ิงแวดล้อม อีกท้ังกระบวนการของความเปลี่ยนแปลงมีความสลับซับซ้อนจนยากที่จะอธิบายใน
เชิงสาเหตุและ ผลลัพธ์ได้ เพราะการเปล่ียนแปลงท้ังหมดต่างเป็นปัจจัยเชื่อมโยงซ่ึงกันและกัน
สาหรับผลของการ พัฒนาในด้านบวกนั้น ได้แก่ การเพ่ิมข้ึนของอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ความเจริญทางวัตถุ และสาธารณูปโภคต่างๆ ระบบส่ือสารท่ีทันสมัย หรือการขยายปริมาณและ
กระจายการศกึ ษาอยา่ ง ท่ัวถึงมากข้ึน แต่ผลด้านบวกเหลา่ น้ีส่วนใหญ่กระจายไปถึงคนในชนบท หรือ
ผู้ด้อยโอกาสในสังคมน้อย แต่ว่า กระบวนการเปล่ียนแปลงของสังคมได้เกดิ ผลลบติดตามมาด้วย เช่น
การขยายตัวของรัฐเข้าไปใน ชนบท ไดส้ ่งผลให้ชนบทเกิดความอ่อนแอในหลายดา้ น ทั้งการตอ้ งพึ่งพิง
ตลาดและพ่อค้าคนกลางใน การสั่งสินค้าทุน ความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบ
ความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และการ รวมกลุ่มกันตามประเพณีเพ่ือการจัดการทรัพยากรท่ีเคยมีอยู่
แตเ่ ดิมแตก สลายลง ภมู ิความรทู้ ีเ่ คยใช้ แกป้ ัญหาและส่งั สมปรับเปลีย่ นกันมาถูกลืมเลอื นและเร่ิม สูญ
หายไป ส่ิงสาคัญ ก็คือ ความพอเพียงใน การดารงชีวิต ซึ่งเป็นเงื่อนไขพื้นฐานที่ทาให้คนไทยสามารถ
พึ่งตนเอง และดาเนินชีวติ ไปได้อย่างมี ศกั ด์ิศรีภายใตอ้ านาจและความมีอสิ ระในการกาหนดชะตาชีวิต
ของตนเอง ความสามารถในการควบคุม และจัดการเพ่ือให้ตนเองได้รับการสนองตอบต่อความ
ต้องการต่างๆ รวมท้ังความสามารถในการจัดการ ปัญหาต่างๆ ได้ด้วยตนเอง ซ่ึงท้ังหมดน้ีถือว่าเป็น
๒๑ ทองทิพภา วิริยะพันธุ์, เศรษฐกิจพอเพียงควำมพอเพียงมวลรวมในประเทศ, (กรุงเทพมหานคร :
G.P.CYBERPRINT, ๒๕๕๐), หน้า ๔.
๑๕
ศกั ยภาพพื้นฐานท่ีคนไทยและสังคมไทยเคยมีอยู่แต่ เดิม ต้องถูกกระทบกระเทือน ซึ่งวิกฤตเศรษฐกิจ
จากปัญหาฟองสบู่และปัญหาความอ่อนแอของชนบท รวมท้ังปัญหาอ่ืนๆ ที่เกิดขึ้น ล้วนแต่เป็นข้อ
พิสจู นแ์ ละยืนยนั ปรากฏการณ์นไ้ี ดเ้ ป็นอย่างดี
พระรำชดำริวำ่ ด้วยเศรษฐกจิ พอเพยี ง๒๒
“…การพัฒนาประเทศจาเปน็ ต้องทาตามลาดับข้ันต้องสรา้ งพ้นื ฐานคือ ความพอมี พอกิน
พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการ และอุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถูกต้องตามหลัก
วิชาการ เมื่อได้พ้ืนฐานความมั่นคง พร้อมพอสมควร และปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความ
เจรญิ และฐานะ ทางเศรษฐกจิ ขน้ั ทีส่ งู ขนึ้ โดยลาดับตอ่ ไป...” (18 กรกฎาคม 2517)
“...เศรษฐศาสตร์ เป็นวิชาของเศรษฐกิจการท่ีต้องใช้รถไถ ต้องไปซ้ือเราต้องใช้ต้องหา
เงินมาสาหรับน้ามนั สาหรบั รถไถ เวลารถไถเก่า เราตอ้ งยง่ิ ซอ่ มแซม แตเ่ วลาใชน้ ้ันเราก็ตอ้ งปอ้ นนา้ มัน
ให้เป็นอาหารแล้วมันคายควัน ควัน เราสูตรเข้าไปแล้วก็ปวดหัว ส่วนควายเวลาเราใช้เราก็ต้อง ป้อน
อาหารต้องให้หญ้าให้อาหารมันกิน แต่ว่ามันคายออกมาที่มันคายออกมาก็เป็นปุ๋ยแล้วก็ใช้ได้สาหรับ
ให้ท่ดี ินของเราไมเ่ สีย...”
พระราชดารสั เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสิตาลัย วันท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๔
“... ตามปกติคนเราชอบดูสถานการณ์ในทางดีที่เขาเรียกว่าเล็งคนเลิศ ก็เห็นว่าประเทศ
ไทยเราน่ีก้าวหน้าการเงิน การอุตสาหกรรมการค้าดีมีกาไรอีกทางหนึ่งก็ต้องบอกว่าเรากาลังเสื่อมลง
ไปสว่ นใหญ่ ทฤษฎวี ่าถ้ามเี งินเท่านนั้ ๆมกี ารกู้เท่านน้ั ๆ หมายความว่าเศรษฐกจิ ก้าวหนา้ แล้วก็ประเทศ
ก็เจริญมีหวังว่าจะเป็นมหาอานาจขอโทษเลยตอ้ งเตือนเขาวา่ จรงิ ตัวเลขดแี ต่ว่าถ้าเราไมร่ ะมดั ระวงั ใน
ความตอ้ งการพื้นฐานของประชาชนนน้ั ไม่มที าง...”
พระราชดารสั เนื่องในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดสุ ติ าลยั วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๖
“...เดี๋ยวนี้ ประเทศไทยก็ยังอยู่ท่ี พอสมควร ใช้คาว่าพอสมควรเพราะมีคน มีคนจน คน
เดอื ดร้อนจานวนมากพอสมควรแตใ่ ชค้ าวา่ พอสมควรนี้ หมายความว่า ตามอตั ภาพ...”
พระราชดารสั เนื่องในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสิตาลยั วันท่ี ๔ ธันวาคม ๒๕๓๙
๒๒ สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ, สำระสำคัญใน
แนวคิดและทฤษฎีกำรพัฒนำอันเนื่องมำจำกพระรำชดำริ, (สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงาน
โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาร,ิ ๒๕๖๐), หน้า ๑-๕.
๑๖
“...ที่เป็นห่วงนั้น เพราะแม้ในเวลา ๒ ปี ที่เป็นปีกาญจนาภิเษกก็ได้สิ่งท่ีทาให้เห็นว่า
ประชาชนยังมีความเดือดร้อนมาก และมีส่ิงที่ควรจะแก้ไขและดาเนินการต่อไปทุกด้าน มีภัยจาก
ธรรมชาติกระหน่า ภยั ธรรมชาติน้เี ราสามารถที่จะบรรเทาไดห้ รอื แกไ้ ขได้ เพียงแต่ว่าต้องใช้เวลาพอใช้
มีภยั ท่มี าจากใจของคนซ่งึ กแ็ ก้ไขได้เหมือนกันแต่ว่ายากกว่าภัยธรรมชาติ ธรรมชาติน้ันเป็นสิ่งนอก
กายเรา แต่นิสัยใจคอของคนเป็นส่ิงท่ีอยู่ข้างในอันนี้ก็เป็นข้อหน่ึงที่อยาก ให้จัดการให้มีความ
เรียบรอ้ ย แต่ก็ไม่หมดหวงั ...”
พระราชดารัสเน่ืองในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสติ าลยั วนั ที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๙
“... การจะเป็นเสือน้ันไม่สาคัญ สาคัญอยู่ที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบ
พอมีพอกินนั้นหมายความวา่ อุ้มชูตัวเราได้ให้มีพอเพียงกับตัวเอง ความพอเพียงน้ีไม่ได้หมายความว่า
ทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัวเองจะต้องทอผ้าใส่เอง อย่างน้ันมันเกินไปแต่ว่าในหมู่บ้าน
หรือในอาเภอจะต้องมีความพอเพียงพอสมควรบางส่งิ บางอย่างผลิตไดม้ ากกวา่ ความตอ้ งการ กข็ ายได้
แตข่ ายในที่ไมห่ า่ งไกลเทา่ ไร ไม่ต้องเสียค่าขนสง่ มากนกั ...”
พระราชดารสั เนื่องในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสติ าลัย วนั ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๙
“... เมื่อปี ๒๕๑๗ วันนั้นได้พูดถึงว่าเราควรปฏิบัติให้พอมีพอกิน พอพอกินน่ีก็แปลว่า
เศรษฐกิจพอเพียงน่ันเอง ถ้าแต่ละคนมีพอมีพอกินก็ใช้ได้ ย่ิงถ้าทั้งประเทศมีพอมีพอกินก็ย่ิงดีและ
ประเทศไทยเวลานนั้ กเ็ รม่ิ จะไม่ เปน็ ไม่พอมพี อกนิ บางคนก็มีมากบางคนก็ไมม่ เี ลย...”
พระราชดารัสเนื่องในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดสุ ิตาลยั วันท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑
“... พอเพียงมีความหมายกว้างขวาง ย่ิงกว่าน้ีอีกคือคาว่าพอ ก็พอเพียงน้ีก็พอแค่นั้นเอง
คนเราถ้าพอในความต้องการก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อยก็เบียดเบียนคนอ่ืนน้อย ถ้า
ประเทศใดมีความคิดอันน้ีมีความคิดว่าทาอะไรต้องพอเพียงความหมายว่าพอประมาณ ซื่อตรง ไม่
โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุขพอเพียง น้ีอาจจะมี มีมากอาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่ว่าต้องไม่ไป
เบียดเบยี นคนอื่น...”
พระราชดารัสเนื่องในโอกาสวนั เฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสติ าลัย วนั ที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑
๑๗
“... ไฟดับถ้ามีความจาเป็น หากมีเศรษฐกิจพอเพียงแบบไม่เต็มที่ เรามีเคร่ืองปั่นไฟก็ใช้
ป่ันไฟ หรือถ้าขั้นโบราณกลัวมืดก็จุดเทียน คือมีทางที่จะแก้ปัญหาเสมอ ฉะนั้นเศรษฐกิจพอเพียงก็มี
เป็นข้ันๆแต่จะบอกว่าเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ให้พอเพียงเฉพาะตัวเอง ๑๐๐% น้ีเป็นสิ่งทาไม่ได้ จะต้อง
มีการแลกเปลี่ยนต้องมีการช่วยกัน ถ้ามีการช่วยกันแลกเปลี่ยนกัน ก็ไม่ใช่พอเพียงแล้วแต่ว่าพอเพียง
ในทฤษฎใี นหลวงนคี้ อื ให้สามารถ ท่จี ะดาเนนิ งานได้...”
พระราชดารสั เน่ืองในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดสุ ติ าลัย วันที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๒
“... โครงการต่างๆหรือเศรษฐกิจที่ใหญ่ต้องมีความสอดคล้องกันดีที่ไม่ใช่เหมือนทฤษฎี
ใหม่ ทีใ่ ชท้ ี่ดนิ เพียง ๑๕ ไร่และสามารถทจี่ ะปลกู ข้าวพอกินกจิ การใหญ่กว่าแตก่ ็เป็นเศรษฐกิจพอเพยี ง
เหมือนกัน คนไม่เข้าใจว่ากิจการใหญ่ๆงานสร้างเข่ือนป่าสักก็เป็นเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน เขา
นกึ ว่าเป็นเศรษฐกิจ สมยั ใหม่เป็นเศรษฐกจิ ที่ห่างไกลจากเศรษฐกิจพอเพียงแต่ที่จริงแล้วเปน็ เศรษฐกิจ
พอเพียงเหมอื นกนั ...”
พระราชดารัสเน่ืองในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสติ าลยั วนั ที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๒
“... ฉันพูดเศรษฐกิจพอเพียงความหมายคือ ทาอะไรให้เหมาะสมกับฐานะของตัวเองคือ
ทาจากรายได้ ๒๐๐ – ๓๐๐ บาทขึ้นไปเป็น ๒๐,๐๐๐ ๓๐,๐๐๐ บาทคุณชอบเอาคาพูดของฉัน
เศรษฐกิจพอเพียงไปพูดกันเลอะเทอะ เศรษฐกิจพอเพียงคือทาเป็น Self-Sufficiency มันไม่ใช่
ความหมายไม่ใชแ่ บบท่ีฉันคิดคือ ทฉ่ี นั คดิ คือเป็น Self-Sufficiency of Economy เชน่ ถ้าเขาตอ้ งการ
ดทู ีวี กค็ วรให้เขามดี ูไมใ่ ช่ไปจากดั เขาไม่ให้ซอื้ ทีวีดูเขาต้องการดูเพอ่ื ความสนุกสนานในหมบู่ ้านไกลๆท่ี
ฉันไป ท่ีเขามีทีวีดูแต่ใช้แบตเตอร่ีเขาไม่มีไฟฟ้าแต่ถ้า Sufficiency น้ันมีทีวีเขาฟุ่มเฟือย
เปรียบเสมือนคนไมม่ สี ตางค์ไปตดั สูทใสแ่ ละยังใส่เน็คไทเวอรซ์ าเช่ อนั นี้กเ็ กินไป...”
พระตาหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล
๑๗ มกราคม ๒๕๔๔
๒.๑.๔ ประเทศไทยกับเศรษฐกจิ พอเพยี ง
เศรษฐกิจพอเพียงมุ่งเน้นให้ผู้ผลติ หรือผู้บริโภค พยายามเร่ิมต้นผลิตหรือบริโภคภายใต้
ขอบเขตข้อจากัดของรายได้หรือทรัพยากรท่ีมีอยู่ไปก่อน ซ่ึงก็คือหลักในการลดการพ่ึงพาถ้าเพ่ิมขีด
ความสามารถในการควบคุมการผลิตได้ด้วยตนเอง และการลดภาวการณ์เสี่ยงจากการไม่สามารถ
ควบคุมระบบตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ เศรษฐกิจพอเพียงไม่ใช่ความหมายถึงการ
กระเบียดกระเสียร จนเกินสมควรหากแต่อาจฟุ่มเฟือยได้เป็นครั้งคราวตามอัตภาพแต่คนส่วนใหญ่
ของประเทศมักใชจ้ ่ายเกินตวั เกนิ ฐานะที่หามาได้
๑๘
๒.๒ หลักกำรของทฤษฎปี รชั ญำเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๒.๒.๑ หลักปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพยี ง
การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพ้ืนฐานของทางสาย
กลาง และความไม่ประมาท โดยคานึงถงึ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมคิ ุ้มกันท่ีดีใน
ตวั ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ คณุ ธรรมประกอบการวางแผนการตดั สนิ ใจและการกระทา
ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาปรชั ญาอยู่ ๕ ส่วนดงั น้ี๒๓
๑. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยแู่ ละปฏิบัติตนในทางท่ีควรจะ
เน้นโดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวติ ดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลาและเป็น
การมองโลกเชิงระบบท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤต เพ่ือ
ความม่นั คงและความยั่งยนื ของการพัฒนา
๒. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้ได้กับการปฏิบัติตนได้ในทุก
ระดบั โดยเนน้ การปฏิบัตบิ นทางสายกลางและการพฒั นาอย่างเปน็ ขัน้ ตอน
๓. คานิยาม ความพอเพียงจะตอ้ งประกอบดว้ ย ๓ ลักษณะพรอ้ มๆ กัน ดังนี้
๑) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่
เบยี ดเบียนตนเองและผ้อู น่ื เชน่ การผลิตและการบริโภคท่ีอยู่ในระดับ
๒) ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความเพียงพอนั้น จะต้อง
เป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยท่ีเก่ียวข้องตลอดจนคานึงถึงผลท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึน
จากการกระทาน้ันๆ อย่างรอบคอบ
๓) การมีภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการ
เปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ท่ีจะเกิดข้ึน โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ท่ีคาดว่าจะ
เกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้
๔. เง่ือนไข การตัดสินใจและดาเนินกิจกรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงน้ัน ต้องอาศัย
ท้ัง ความรู้ และคณุ ธรรมเปน็ พื้นฐาน กล่าวคือ
- เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้ เน้นเกี่ยวกับวิชาการต่างๆที่เกี่ยวข้อง
อย่างรอบด้าน ความรอบคอบ ท่ีจะนาความรู้เหล่าน้ันมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการ
วางแผน และความระมัดระวัง
- เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม
มคี วามซ่อื สัตย์สุจรติ มีความอดทน มีความเพียร ใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนนิ ชวี ิต
๒๓ สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ, สำระสำคัญใน
แนวคิดและทฤษฎีกำรพัฒนำอันเน่ืองมำจำกพระรำชดำริ, (สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงาน
โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ, ๒๕๖๐).
๑๙
คณะกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง (๒๕๔๗) ได้สรุปโครงสร้างเศรษฐกิจ
พอเพียงดังภาพท่ี ๑ ตอ่ ไปน้ี
๕. แนวทางปฏิบัติ / ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา
ประยุกต์ใช้ คือการพัฒนาท่ีสมดุลและยั่งยืน พร้อมรับการเปล่ียนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ
สงั คม สง่ิ แวดล้อม ความรแู้ ละเทคโนโลยี
๑. หลกั กำรพึง่ ตนเอง๒๔
๑) ใชเ้ งินทุนตวั เอง
๒) ใช้แรง
๓) ใชอ้ ปุ กรณเ์ ครือ่ งมอื ตัวเอง
๔) ทาบญั ชคี รวั เรือนและใชบ้ ญั ชปี ระเมินผลปรับปรุง
๕) วเิ คราะห์ปัญหาและแก้ไขปัญหาตวั เอง
๒. หลกั ควำมพอมีพอกนิ
๑) เรียนรู้ (ฝกึ ) อาชีพทางการเกษตรอย่างหลากหลาย
๒) ปลูก - เลีย้ งทกุ อย่างทกี่ ินได้
๓) กนิ ทกุ อยา่ งทปี่ ลูกหรอื เลยี้ งได้
๔) เผอ่ื แผ่เกอ้ื กูลต่อเพือ่ นบ้าน
๓. หลกั พอมีพอใช้ (เงิน)
๑) ลดรายจ่ายดว้ ยการปลกู - เลย้ี ง กินเอง (ประหยัดเงนิ )
๒) เพิม่ รายไดด้ ว้ ยการปลูก - เลี้ยง ส่งิ ท่ขี ายได้งา่ ย
๓) ไมเ่ ล่นการพนนั - หวยเบอร์
๔) ไม่ใชจ้ า่ ยกบั สิ่งทฟี่ ุ่มเฟอื ย (สุรา เบยี ร์ บุหร่ี เครอ่ื งดม่ื ราคาแพง ฯลฯ )
๕) ออมเงนิ ง่าย
๒๔ ทองทพิ ภา วิรยิ ะพันธ,์ุ (เรื่องเดยี วกัน), หน้า ๖.
๒๐
๔. หลักควำมรูจ้ ักพอประมำณ (นกน้อยทำรังแต่พอตวั )
๑) ทาสิ่งต่างๆ ให้พอเหมาะกับเงินทุน / แรงงาน หรือศกั ยภาพของตัวเอง (อย่าทา
เกนิ ตัว)
๒) ไม่จัดงานบุญแขง่ ขนั กนั (แตง่ งาน - บวช ฯลฯ)
๓) ไมส่ รา้ งบา้ นแขง่ ขันกนั
๔) ไม่ซื้อรถ / ซอื้ ส่งิ ของอวด ร่าอวดรวยแข่งขัน
๕) พอใจในสิ่งทต่ี วั เองมอี ยู่ (สันโดษ)
๕. หลักควำมมภี มู ิค้มุ กนั
๑) พจิ ารณาเรือ่ งของเหตุและผลในทุกเรือ่ งจนเป็นพืน้ ฐานของจติ
๒) ปฏิเสธคาชักชวนไปในทางท่เี สีย่ ง / เสยี งนมุ่ นวล
๓) ทาอาชีพการเกษตรแบบผสมผสานเชงิ เกษตรอินทรีย์
๔) ฝึกไม่ตามใจตวั เอง
๕) ตอ้ งออมเงนิ ออมดนิ (ปรบั ปรุงดนิ ) ออมน้า (เกบ็ เงิน) ออมมิตร (ผูกมิตร)
๖. หลกั ควำมมคี ณุ ธรรม๒๕
๑) ไม่โลภเอาแต่ประโยชน์ส่วนตัว
๒) ไมล่ ักขโมย
๓) ปลูกเมตตาจิตให้กบั ตวั เอง (ไม่พยาบาทจองเวร /ไมเ่ บียดเบยี น /ให้อภัย)
๔) รับผลประโยชน์ตามสิทธขิ องตวั เอง
๕) ความนอบนอ้ มถอ่ มตน
๖) สารวมตนอยใู่ นกรอบของศลี ๕ หรือคาสอนในศาสนาต่างๆ (เหตุดี)
๒.๒.๒ ขน้ั ตอนของปรชั ญำเศรษฐกจิ พอเพยี ง๒๖
ผลจากแนวทางการใช้แนวทางการพัฒนาประเทศไปสู่ความทันสมัย ได้ก่อให้เกิดการ
เปล่ียนแปลงแก่สังคมไทยอย่างมากในทกุ ดา้ น ไมว่ ่าจะเปน็ ด้านเศรษฐกิจ การเมอื ง วัฒนธรรม สังคม
และสิง่ แวดล้อม อีกทงั้ กระบวนการของความเปลี่ยนแปลงมีความสลบั ซับซ้อนจนยากท่ีจะอธิบายใน
เชงิ สาเหตุและผลลัพธ์ได้ เพราะการเปลย่ี นแปลงทัง้ หมดตา่ งเป็นปจั จยั เชื่อมโยงซึง่ กนั และกัน
สาหรับผลของการพัฒนาด้านบวกนั้น ได้แก่ การเพ่ิมข้ึนของอัตราการเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจ ความเจริญทางวัตถุ และสาธารณูปโภคต่างๆ ระบบส่ือสารท่ีทันสมัย หรือการขยาย
ปริมาณ และการกระจายการศึกษาอย่างทั่วถึงมากข้ึน แต่ผลด้านบวกเหล่านี้ส่วนใหญ่กระจายไปถึง
คนในชนบท หรือผู้ด้อยโอกาสในสังคมน้อยแต่ว่ากระบวนการเปล่ียนแปลงทางสังคมได้เกิดผลลบ
๒๕ ทองทิพภา วริ ยิ ะพนั ธ์ุ, (เร่อื งเดยี วกนั ), หนา้ ๗.
๒๖ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ, กรอบแนวคิดทำง
ทฤษฎีเศรษฐศำสตร์ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียง, (กรงุ เทพมหานคร : สานักนายกรฐั มนตรี, ๒๕๔๖), หน้า ๖๕.
๒๑
ติดตามมาด้วย เช่น การขยายตัวของรัฐเข้าไปในชนบท ได้ส่งผลให้ชนบทเกิดความอ่อนแอในหลาย
ด้าน ท้ังการต้องพ่ึงพิงตลาดและพ่อค้าคนกลางในการส่ังสินค้าทุนความเส่ือมโทรมของ
ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และการรวมกลุ่มกันตามประเพณีเพื่อการ
จัดการทรัพยากรที่เคยมีอยู่แต่เดิม แตกสลายลง ภูมิความรู้ที่เคยใช้แก้ปัญหาและส่ังสมปรับเปลี่ยน
กันมาถูกลืมเลือนและเริ่มสูญหายไปสิ่งสาคัญ ก็คือ ความพอเพียงในการดารงชีวิตซ่ึงเป็นเงื่อนไข
พน้ื ฐานท่ที าให้คนไทยสามารถพงึ่ ตนเอง และดาเนินชีวิตไปได้อย่างมีศักดิ์ศรีภายใต้อานาจและความ
มีอิสระในการกาหนด ชะตาชีวิตของตนเอง ความสามารถในการควบคุมและจัดการเพ่ือให้ตนเอง
ได้รับการสนองตอบต่อความต้องการต่างๆ รวมทั้งความสามารถในการจัดการปัญหาต่างๆ ได้ด้วย
ตนเอง ซ่ึงท้ังหมดนี้ถือว่าเป็นศักยภาพพื้นฐานท่ีคนไทยและสังคมไทยเคยมีอยู่แต่เดิม ต้องถูก
กระทบกระเทือน ซ่ึงวิกฤตเศรษฐกิจจากปัญหาฟองสบู่และปัญหาความอ่อนแอของชนบท รวมท้ัง
ปัญหาอืน่ ๆ ที่เกิดขึน้ ล้วนแตเ่ ป็นขอ้ พิสูจน์และยนื ยันปรากฏการณน์ ีไ้ ด้เปน็ อย่างดี
๒.๓ ทฤษฎพี ฤตกิ รรมและพัฒนำกำรของวยั รุ่น
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ๒๗ ได้กล่าวถึงทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic
Theory) และทฤษฎกี ารเรียนรทู้ างสังคม (Social Learning Theory) ไวด้ งั น้ี
๒.๓.๑ ทฤษฎจี ิตวเิ ครำะห์ (Psychoanalytic Theory)
องค์ประกอบท่ีสาคัญในทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์ (Freud) คือ อิด (id) อีโก้
(ego)และซุปเปอร์อีโก้ (superego) id เป็นแหล่งพลังงานทางจิตเบื้องต้นและเป็นท่ีต้ังแห่ง
สัญชาตญาณเป็นความต้องการแสวงหาเพื่อตนเอง ต่อมาก็มี ego (อีโก้) เป็นผู้ควบคุม พฤติกรรม
ของ id (อิด) egoอาศัยหลักแห่งความจริง คือ ส่ิงท่ีปรากฏอยู่อย่างแท้จริง จากนั้นจะมีการเรียนรู้
พัฒนาข้ึนมา การเรียนรู้ทาให้ฉลาด สามารถเป็นนายเหนือความอยากอันเกิดแต่ id การเรียนรู้
อาศัยการรับรู้ ความจาความคิด และส่งเสริมให้ ego เข้มแข็ง ซุปเปอรอ์ ีโก้เป็นลักษณะท่ีสาม เป็น
หลักแหง่ อุดมคติและศีลธรรมจรรยา ซปุ เปอรอ์ โี กแ้ บง่ ไดเ้ ป็น ๒ ประเภท คือ
๑.๑ Ego-ideal คือ อุดมคติ เป็นแนวคิดของผู้ใหญ่ สังคมทีÉสอนไว้ว่าอะไรเป็นสิ่ง
ท่คี วรอะไรเปน็ สิง่ ไม่ควร และเม่ือประพฤติตามแล้ว จะเป็นทีน่ ยิ มชมชอบของผูใ้ หญ่ในสังคม
๑.๒ Conscience คือ มโนธรรม ได้แก่ ความรสู้ ึกว่า อะไรดีควรทาอะไรช่ัวควรละ
เว้นในขั้นนี้เด็กจะพัฒนาจากการท่ีเด็กเคยกระทาผิดอยู่ในใจ เช่น ผู้ใหญ่สอนให้เกลียดชัง ความ
สกปรกถ้าเราไปนิยมก็จะได้รับโทษเราจึงเว้นเสียบุคคลในระดับนี้จะเคร่งต่อหลักศีลธรรมเป็นอัน
มาก เปน็ สว่ นสาคัญทป่ี ้องกันการกระทาความผดิ
๒๗ ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, ทฤษฎีกำรเรียนรู้ทำงสังคม, (กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, ๒๕๔๓),
หน้า ๑๗๐-๑๗๖.
๒๒
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ (Psychoanalytic Theory) ซ่ึงเป็นทฤษฎีทางด้านการพัฒนา
Psychosexual โดยเช่ือว่าเพศหรือกามารมณ์ (sex) เป็นส่ิงท่ีมีอิทธิพลต่อการพัฒนาของมนุษย์
แนวคดิ ดงั กล่าวเกดิ จากการสนใจศึกษาและสงั เกตผปู้ ่วยโรคประสาท ดว้ ยการให้ผปู้ ว่ ยนอนบนเกา้ อี้
นอนในอิริยาบถท่ีสบายที่สุด จากน้ันให้ผู้ป่วยเล่าเร่ืองราวของตนเองไปเร่ือยๆ ผู้รักษาจะนั่งอยู่ด้าน
ศรี ษะของผ้ปู ว่ ย คอยกระตนุ้ ให้ผู้ป่วยได้พูดเล่าต่อไปเรอื่ ยๆเท่าทีจ่ าได้ และคอยบนั ทึกสงิ่ ท่ีผู้ปว่ ยเล่า
อย่างละเอียด โดยไม่มีการขัดจังหวะ แสดงความคิดเห็น หรือตาหนิผู้ป่วย ซ่ึงพบว่าการกระทา
ดงั กล่าวเป็นวธิ ีการที่ช่วยให้ผู้รักษาได้ข้อมูลที่อยู่ในจิตใต้สานกึ ของผู้ป่วย และจากการรักษาด้วยวิธี
น้ีเอง จึงทาให้ฟรอยด์เป็นคนแรกที่สร้างทฤษฎีจิตวิเคราะห์ เขาอธิบายว่า จิตของคนเรามี 3 ส่วน
คือ จิต สานึ ก (conscious mind) จิตก่ึงรู้สานึ ก (preconscious mind) และจิต ไร้สานึ ก
(unconscious mind) ซ่ึงมีลักษณะดังนี้ เช่ือว่าพฤติกรรมของมนุษย์ส่วนมากกาหนดขึ้นโดย
สญั ชาตญาณ ซึ่งมมี าตั้งแตก่ าเนิด สญั ชาตญาณเหลา่ นี้ส่วนมากจะอยู่ในระดับจิตไรส้ านึก เขาเชอ่ื ว่า
การทางานของจติ แบง่ เปน็ 3 ระดบั เปรียบเสมือนก้อนน้าแข็งลอยอยใู่ นทะเล คือ
1) จิตรู้สานกึ (Conscious mind) เป็นสว่ นที่โผล่ผิวน้าข้ึนมา ซึ่งมีจานวนน้อยมาก
เป็นสภาพที่รู้ตัวว่าคือใคร อยู่ท่ีไหน ต้องการอะไร หรือกาลังรู้สึกอย่างไรต่อสิ่งใด เม่ือแสดง
พฤติกรรมอะไรออกไปก็แสดงออกไปตามหลักเหตุและผล แสดงตามแรงผลักดันจากภายนอก
สอดคล้องกบั หลกั แหง่ ความเป็นจรงิ (principle of reality)
2) จิตก่ึงรู้สานึก (Preconscious mind) เป็นส่วนที่อยู่ใกล้ๆ ผิวน้า เป็นจิตท่ีเก็บ
สะสมข้อมลู ประสบการณ์ไวม้ ากมาย มไิ ด้รตู้ ัวในขณะนัน้ แต่พร้อมให้ดึงออกมาใช้ พร้อมเข้ามา อยู่ใน
ระดับจิตสานึก เช่น เดินสวนกับคนรู้จัก เดินผ่านเลยมาแล้วนึกข้ึนได้รีบกลับไปทักทายใหม่ เป็นต้น
และอาจถือได้ว่าประสบการณ์ต่างๆที่เก็บไว้ในรูปของความจาก็เป็นส่วนของจิตก่ึงรู้สานึกด้วย เช่น
ความขมขื่นในอดีต ถ้าไม่คิดถึงก็ไม่รู้สึกอะไร แต่ถ้าน่ังทบทวนเหตุการณ์ทีไรก็ทาให้เศร้าได้ทุกคร้ัง
เปน็ ต้น
3) จิตไร้สานึก (Unconscious mind) เป็นส่วนใหญ่ของก้อนน้าแข็งที่อยู่ใต้น้า
ฟรอยด์เชื่อว่า จิตส่วนน้ีมีอิทธิพลมากต่อพฤติกรรมของมนุษย์ กระบวนการจิตไร้สานึกน้ี หมายถึง
ความคิด ความกลวั และความปรารถนาของมนุษย์ ซ่ึงผู้เป็นเจ้าของเก็บกดไวโ้ ดยไม่รู้ตวั แต่มีอทิ ธิพล
ต่อเขา พลังของจิตไร้สานึกอาจจะปรากฏข้ึนในรูปของความฝัน การพลั้งปากหรือการแสดงออกมา
เป็นกิริยาอาการทบ่ี ุคคลทาโดยไม่รู้ตวั เปน็ ตน้
ฟรอยด์ เช่ือว่า มนุษยม์ ีสัญชาตญาณติดตัวมาแต่กาเนิด พฤติกรรมของบคุ คลเป็นผลมา
จากแรงจูงใจหรือแรงขับพ้ืนฐานท่ีกระตุ้นให้บุคคลมีพฤติกรรม คือ สัญชาตญาณทางเพศ (sexual
instinct) 2 ลักษณะคือ
๒๓
1) สญั ชาตญาณเพื่อการดารงชีวิต (Eros = life instinct)
2) สญั ชาตญาณเพื่อความตาย (thanatos = death instinct)
โครงสร้างบุคลิกภาพ (The personality structure) ฟรอยด์ เชื่อว่าโครงสร้างของ
บุคลิกภาพบุคคลมี 3 ประการ คือ
1) ตนเบื้องต้น (id) คือ ตนที่อยู่ในจิตไร้สานึก เป็นพลังที่ติดตัวมาแต่กาเนิด มุ่ง
แสวงหา ความพึงพอใจ (pleasure seeking principles) และเป็นไปเพื่อตอบสนองความต้องการ
ของตนเองเท่านั้น โดยไม่คานึงถึงเหตุผล ความถูกต้อง และความเหมาะสม ประกอบด้วย ความ
ต้องการทางเพศและความก้าวร้าว เป็นโครงสร้างเบ้ืองต้นของจิตใจ และเป็นพลังผลักดันให้ ego
ทาในส่ิงต่างๆ ตามท่ี id ต้องการ
2) ตนปัจจุบัน (ego) คือ พลังแห่งการใช้หลักของเหตุ และผลตามความเป็นจริง
(reality principle) เป็นส่วนของความคิดและสติปัญญา ตนปัจจุบัน จะอยู่ในโครงสร้างของจิตใจ
ทัง้ 3 ระดับ
3) ตนในคุณธรรม (superego) คือ ส่วนท่ีควบคุมการแสดงออกของบุคคลในด้าน
คุณธรรม ความดี ความชั่ว ความถูกผิด มโนธรรม และจริยธรรมท่ีสร้างโดยจิตใต้สานึกของบุคคล
น้ัน ซึ่งเป็นผลที่ได้รับจากการเรียนรู้ในสังคมและวัฒนธรรมน้ันๆ ตนในคุณธรรมจะทางานอยู่ใน
โครงสรา้ งของจติ ใจท้งั 3 ระดับ
การทางานของตนท้ัง 3 ประการ จะพัฒนาบุคลิกภาพของบุคคลให้เด่นไปด้านใดด้าน
หน่ึงของท้ัง 3 ประการนี้ แต่บุคลิกภาพท่ีพึงประสงค์ คือ การท่ีบุคคลสามารถใช้พลังอีโก้เป็นตัว
ควบคุมพลังอิด และซูเปอร์อีโก้ให้อยู่ในภาวะท่ีสมดุลได้ นอกจากนี้ฟรอยด์ใช้วิธีการวิเคราะห์ความ
ฝนั ของผู้มีปัญหา เขาเชื่อว่า ความฝันมีความสัมพันธ์กับสิ่งท่ีได้ประสบมาในชีวติ จริงปัญหาต่างๆ ที่
แก้ไมไ่ ด้อาจจะไปแสดงออกในความฝัน เพอื่ เป็นการระบายออกของพฤติกรรมอีกทางหน่งึ
๒.๓.๒ ทฤษฎกี ำรเรียนรูท้ ำงสงั คม (Social Learning Theory)
ทฤษฎีน้ีมีความเช่ือว่ากฎเกณฑ์ของสังคมและวัฒนธรรมเป็นปัจจัยสาคัญให้เกิดการ
พัฒนาจริยธรรม ทฤษฎีน้ีพยายามอธิบายกระบวนการเรียนรู้ โดยหลักการเสริมแรงและหลักการ
เช่ือมโยงความสมั พนั ธจ์ ากปรากฏการณ์ของสังคม
สกินเนอร์ (Skinner)๒๘ มีความเช่ือว่าแรงจูงใจที่ทาให้เกิดพัฒนาการทางสังคมมี
รากฐานมาจากความตอ้ งการรางวัลและหลกี เล่ยี งการลงโทษจากสงั คม
๒๘ สกินเนอร์ (Skinner อา้ งถึงใน ล้วน สายยศ และองั คณา สายยศ), (เรื่องเดียวกัน), ๒๕๔๓, หนา้ ๑๗๑.
๒๔
บันดูรา (Bandura)๒๙ ได้ศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมอย่างลึกซ้ึงเขามีความคิดว่า
การเรยี นรทู้ างสังคมเกิดจากการเรียนรู้โดยการสังเกต การเลียนแบบ และการเอาอย่างแบบ บนั ดรู า
เชื่อว่าความสาคัญของการเรียนรู้ คือ กระบวนการเลียนแบบพฤติกรรมผู้อ่ืน หรือพิจารณาการ
กระทาของผู้อ่ืนแลว้ สังเกตผลกรรมที่ตามมา การตัดสนิ ใจน้ีเกิดจากการเรียนรู้พฤติกรรมของมนุษย์
ในสังคม ดังน้นั ทฤษฎีการเรยี นรูท้ างสังคมจงึ ขน้ึ อยู่กับเง่ือนไขและตวั แบบเปน็ สาคัญ
๒.๓.๓ ทฤษฎีปรำกฏกำรณ์ (Phenomenological Theories)
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ๓๐ ไดส้ รปุ ทฤษฎปี รากฏการณข์ องมาสโลว์ ไวด้ งั นี้
มาสโลว์ (Abraham Maslow) ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้นาในแนวคิดกลุ่มมนุษย์นิยม
เขาไม่เหน็ ด้วยกบั การมองว่าพฤติกรรมของมนุษย์ตกอยู่ภายใต้การผลักดันจากสิ่งที่อย่ใู นจติ ใต้สานึก
ตามแนวคิดของฟรอยด์หรือการถูกกาหนดจากผลกรรมจากส่ิงแวดล้อมภายนอกของ สกินเนอร์
มาสโลว์มองว่ามนุษย์นั้นมีศักดิ์ศรีพร้อมจะพัฒนาไปในทิศทางที่ดีขึ้นหากอยู่ในสภาพแวดล้อมที่
เอื้ออานวยให้ได้รับการตอบสนองต่อความต้องการซึ่งถือเป็นแรงจูงใจให้มนุษย์แสดงพฤติกรรม
ต่างๆ ออกมา ดังนั้นการที่มนุษย์จะดีไม่ดีก็อยู่ที่ว่าเขาได้รับการตอบสนองต่อความต้องการเหล่านี้
อย่างเหมาะสมหรือไม่มาสโลว์จดั ความต้องการที่หลากหลายของมนุษย์เป็น ๕ ลาดับประเภท และ
ความต้องการในลาดับแรกๆ จะต้องได้รับการตอบสนองจนเป็นท่ีพอใจก่อนความต้องการในลาดับ
สูงข้ึนจึงจะกลายเป็นแรงจูงใจสาหรับการกระทาของเราความต้องการตามลาดับประเภทเรียงจาก
ต่าไปหาสงู ไดแ้ ก่
๓.๑ ความต้องการทางร่างกายเป็นความต้องการสิ่งที่จาเป็นต่อการทาให้ร่างกาย
อยู่ในสภาวะสมดุล เช่นต้องการปัจจัยส่ิงต้องการพักผ่อน ต้องการอยู่ในสภาวะอุณหภูมิไม่ร้อนไม่
หนาวเกินไป หรอื ความต้องการทางเพศ เป็นต้น
๓.๒ ความต้องการความม่ันคงปลอดภัย หมายถึงความต้องการให้ตนเองมีความ
ปลอดภัย และมีความมั่นคงในการดาเนินชีวิต อันหมายรวมท้ังความม่ันคงปลอดภัยทางร่างกาย
และจติ ใจ
๓.๓ ความต้องการความรักและเป็นส่วนหนึ่งของหมู่เหล่า มนุษย์ถือเป็นสัตว์สังคม
ต้องการมีกลุ่ม มีสังกัด มีพรรคพวกเพ่ือนพ้องทุกคนอยากได้รับความรักความห่วงใยจากผู้อ่ืน
ขณะเดยี วกันกอ็ ยากให้ความรักความห่วงใยต่อบุคคลท่ีเรารักเช่นกนั แต่ความรักเปน็ สิ่งแปลกต้องได้รับ
ก่อนจึงจะเรยี นรทู้ ่จี ะให้คนที่ไม่ได้รบั ความรักจงึ เรยี กร้องไขว่ควา้ โดยไม่รจู้ ักการให้
๒๙ บันดูรา (Bandura อา้ งถึงใน ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ), (เรอื่ งเดียวกัน), ๒๕๔๓, หน้า ๑๗๑-๑๗๒.
๓๐ ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, ทฤษฎีปรำกฏกำรณ์, (กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, ๒๕๔๓),
หน้า ๒๓๒-๒๓๔.
๒๕
๓.๔ ความต้องการท่ีจะรู้สึกว่าตนมีคุณค่าเป็นความต้องการที่จะรับรู้ว่าตนมี
ความสามารถ มีความสาเร็จ มเี กยี รตมิ ีศกั ดิศ์ รี ได้รบั การยอมรับนับถือจากผอู้ ื่น
๓.๕ ความต้องการท่ีจะพัฒนาตนให้เป็นคนเต็มสมบูรณ์ (Self - actualization)
หมายถึงความต้องการที่จะรู้จักตนเอง ยอมรับและเข้าใจตนเองอย่างแท้จริงปรารถนาพัฒนาตนเอง
ไปให้ถึงขีดสูงสุดตามทิศทางและศักยภาพแห่งตนพร้อมท้ังอยากช่วยเหลือเก้ือกูลบุคคลอ่ืนและ
สังคมตามแนวคิดของมาสโลว์คนที่ได้รับการตอบสนองในความต้องการข้ันน้ีจะเป็นคนท่ีถือว่าเป็น
คนเต็มสมบูรณ์เพราะเขาจะเป็นผู้ปราศจากความเห็นแก่ตัว มีความสุขความพอใจกับชีวิตของตน
และนาพาก่อเกดิ แตส่ ่งิ ทด่ี ๆี ต่อตนเอง คนอนื่ และสงั คม
จากแนวคิดของมาสโลว์อาจกล่าวได้ว่า หากผู้ใหญ่ต้องการที่จะเห็นวัยรุ่นมีพฤติกรรม
และพัฒนาไปในทางท่ีดีก็ควรช่วยให้วัยรุ่นได้รับการตอบสนองความต้องในลาดับต้นท้ัง ลาดับก่อน
บุคคลจึงจะเรียนรู้และใฝ่ หาการพัฒนาตนให้เป็นคน เก่ง ดี และมีสุข (เก่งในที่นี้ หมายถึง การมี
ความสามารถตามขดี สดุ และความถนดั ของแตล่ ะบุคคล)
๒.๓.๔. ทฤษฎพี ัฒนำกำรทำงควำมรู้ควำมเขำ้ ใจของเพียเจต์๓๑
เพียเจต์ (Jean Piaget ) เป็นนักจิตวิทยาที่ได้ศึกษาว่าคนเรามีการพัฒนาการทางความรู้
ความเข้าใจเป็นไปอย่างไรซ่ึงทาให้เราได้รู้ว่าความรู้ความเข้าใจต่อส่ิงต่างๆ ของเด็กและผู้ใหญ่น้ัน
แตกต่างกันแนวความคดิ ที่สาคัญต่อการเข้าใจพฤติกรรมและพัฒนาการของบุคคลประกอบด้วย ๒ เร่ือง
หลักคอื กระบวนการพัฒนา โครงสรา้ งทางความรู้ความเข้าใจ
๔.๑ กระบวนการพัฒนาโครงสร้างทางความรู้ความเข้าใจตามแนวคิดของเพียเจต์นั้น
โครงสร้างทางความรู้ความเข้าใจต่อสิ่งต่างๆ ของบุคคลมีการเพ่ิมข้ึนหรือพัฒนาไปโดยใช้กระบวนทาง
สมอง ๓ อยา่ ง คอื
๑) การรับเข้ามาสู่โครงสรา้ งทางความรู้ความเข้าใจ (Assimilation)
กระบวนการนี้เป็นการรับข้อมูลจากการปฏิสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อมเข้ามา
เป็นหรอื เข้ามาสู่โครงสร้างทางความรู้ความเข้าใจ เชน่ เมือ่ เด็กเห็นสัตว์ชนิดหนึ่งและผูใ้ หญ่ซ่งึ บอกว่า
สุนัขเด็กกจ็ ะรับภาพและคาว่าสุนัขเข้าเปน็ โครงสร้างทางความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั สุนัขและเมอื่ เด็ก
ไปพบเห็นสัตว์ท่ีมีลักษณะเหมือนหรือคล้ายคลึงกับสุนัขท่ีเคยมาก็จะรับข้อมูลเหล่าน้ีเข้ามาสู่
โครงสรา้ งทางความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับสุนัขเชน่ น้ไี ปเรอื่ ยๆ
๒) การปรับโครงสรา้ งทางความรูค้ วามเข้าใจ (Accommodation)
เป็นกระบวนการนี้เป็นการปรับเปล่ียนหรือขยายโครงสร้างทางความรู้
ความเข้าใจต่อสิ่งต่างๆ ให้เข้ากับประสบการณ์ที่ได้รับ เช่น จากประสบการณ์ที่ผ่านมาเด็กเคยเห็น
๓๑ เพียเจต์ (อ้างถึงใน ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ), ทฤษฎีพัฒนำกำรทำงควำมรู้ควำมเข้ำใจ
ของเพยี เจต์, (กรุงเทพฯ : สวุ ีริยาสาสน์ , ๒๕๔๓), หนา้ ๑๗๒-๑๗๔.
๒๖
สุนัขท่ีมีลักษณะใกล้เคียง คล้ายคลึงกันต่อมาเมื่อเด็กไปพบสัตว์ท่ีมีลักษณะไม่เหมือนกับสุนัขท่ีเคย
เห็นมาแต่สัตว์ชนิดนี้เรียกว่าสุนัขเช่นกันแสดงว่าเด็กได้พบประสบการณ์ใหม่ที่แตกต่างจาก
โครงสร้างทางความรู้ความเข้าใจเดิมดงั นั้นเดก็ จึงต้องปรับโครงสร้างทางความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ
สุนัขใหม่ เพื่อให้สามารถบรรจุข้อมูลใหม่เก่ียวกบั สนุ ขั น้ีไดค้ วามรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกับสนุ ขั ของเดก็ จึง
มหี ลากหลายขึน้ นั้นเอง
๓) การจดั ระบบ (Organization)
เป็นกระบวนการจัดความรู้/ความเข้าใจที่บุคคลมีให้มีความเป็นประเภท
เป็นระบบระเบียบ และมีความเกี่ยวเน่ืองต่อกันทั้งน้ีเพื่อท่ีจะช่วยให้บุคคลรับรู้หรือเรียนรู้ส่ิงต่างๆ
และตอบสนองตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มท่ีประสบนัน้ ได้ดีข้ึน
๔.๒ ขั้นพฒั นาการทางความรคู้ วามเข้าใจ๓๒
เพียเจต์เช่ือว่าคนเรามีการพัฒนาการทางความรู้ความเข้าใจต่อส่ิงต่างๆ เป็น ๔ ข้ัน
โดยขั้นท่ีสูงข้ึน หมายถึงการเข้าใจต่อส่ิงต่างๆเหล่าน้ันในแง่มุมท่ีแตกต่างหลากหลายข้ึน ฉะนั้น
ปริมาณการรับข้อมูลท่ีมากกว่าอาจจะไม่ทาให้การคิดการเข้าใจของบุคคลพัฒนาไปสู่ข้ันท่ีสูงกว่าก็
ได้ถ้าไม่ทาให้ บุคคลมีคุณ ภาพทางความคิดความเข้าใจที่แตกต่างไปดังนั้นการพัฒ นาการ ทาง
ความรู้สึกความเข้าใจต่อส่ิงแวดล้อมจึงเป็นกระบวนการที่บุคคลจะต้องกระทากิจกรรมหรือ
ปฏิสัมพันธ์กับส่ิงแวดล้อมและสามารถสร้างโครงสร้างของความรู้ความเข้าใจที่มีความแตกต่าง
หลากหลายมากขึ้นและลึกซึ้งขึ้น โดยเพียเจต์มองว่า การเร่ิมเข้าสู่ในแต่ละข้ันและการพัฒนาอย่าง
สมบูรณ์ในขั้นนั้นๆ ของแต่ละคนอาจมีความแตกต่างกันอายุท่ีกาหนดไว้สาหรับแต่ละขั้นจึงเป็น
ตัวเลขประมาณเท่าน้ันบางคนอาจพัฒนาการเร็วกว่า หรือช้ากว่าท่ีกาหนดไว้ ขั้นพัฒนาการทั้ง
๔ ข้นั ไดแ้ ก่
๑) ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว (Sensorimotor stage) อยู่ในช่วงอายุ
ต้ังแต่แรกเกิดถึง ๒ ปี การทาความเข้าใจต่อส่ิงต่างๆ ของเด็กวัยนี้จะอาศัยประสาทสัมผัสรบั รู้ และ
การเคลื่อนไหวอวัยวะต่างๆ ของร่างกายเช่นการมองเหน็ การได้ยนิ การสัมผัสแตะต้อง การดูดการ
กดั การควา้ จบั หรือขว้างปาการถีบการเตะ เป็นต้น ซึ้งจะเห็นได้ว่าในช่วงแรกๆ ของวัยนี้ทารกจะ
ใช้พฤติกรรมลักษณะดังกล่าวในการเรียนรู้หรือทาความเข้าใจต่อสิ่งแวดล้อมจนกระทั่งในระยะ
ปลายของข้ันน้ีเด็กจึงเร่ิมท่ีจะเข้าใจและเร่ิมใช้สัญลักษณ์ง่ายๆ ได้ เริ่มมีการคิดในใจได้เลียนแบบ
โดยทีไ่ ม่ต้องมีตวั แบบอยตู่ ่อหน้าได้รวมทั้งเรม่ิ อนมุ านความสัมพนั ธ์ของเหตุ และผลง่ายๆ ได้
๓๒ เพยี เจต์ (อา้ งถึงใน ล้วน สายยศ และองั คณา สายยศ), (เร่อื งเดียวกัน), ๒๕๔๓, หน้า ๑๘๐.
๒๗
๒) ขั้นก่อนปฏิบัติการทางการคิด (Preoperational stage) อายุประมาณ ๒-๗ ปี
ในขั้นน้ีเด็กจะเข้าใจและเรียนรู้การใช้สัญลักษณ์แทนส่ิงต่างๆ ได้จึงเรียนรู้ภาษาได้อย่างรวดเร็ว
สามารถสร้างภาพแทนสิ่งต่างๆ ขึ้นมาในใจได้ น้ันคือเด็กเร่ิมมีการคิดจินตนาการได้ แต่อย่างไรก็
ตาม การคิดการเข้าใจของเด็กวัยน้ีก็ยังมีลักษณะท่ียึดตนเองเป็นศูนย์กลางและมีข้อจากัดหลาย
ประการท่ีเด็กไม่อาจเข้าใจส่ิงต่างๆ ได้หลากหลายมิติไปพร้อมๆกัน ทาให้การคิดมีลักษณะท่ียังไม่
สมบูรณ์ตามความเปน็ เหตแุ ละผลท่ถี ูกตอ้ งไดจ้ งึ เรียกข้ันน้ีวา่ เป็นข้นั ก่อนปฏิบตั กิ ารทางการคิด
๓) ขนั้ ปฏิบตั กิ ารทางการคดิ ด้วยรูปธรรม (Concrete operational stage)
ในช่วงอายุประมาณ ๗ - ๑๑ ปี เด็กมีพัฒนาการทางความรู้ความเข้าใจต่อส่ิงต่างๆ
ที่ถูกต้องสมเหตุสมผล สามารถคิดย้อนกลับได้ เข้าใจกฎเกณฑ์ในหลายมิติพร้อมกันได้จึงทาให้
สามารถคิดหาเหตุและผลได้ แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบได้ แต่มีข้อจากัดว่าความรู้ความเข้าใจและ
ความสามารถทางการคิดเหลา่ นีจ้ ะตอ้ งสามารถแทนด้วยสิง่ ท่เี ปน็ รูปธรรมได้
๔) ข้ันปฏิบตั ิการทางการคิดด้วยนามธรรม (Formal operational stage) ข้ันน้อี ยู่
ในช่วงอายุตั้งแต่ ๑๑ ปี ข้ึนไปบุคคลสามารถคิดและเข้าใจในสิ่งที่เป็นนามธรรมได้จึงสามารถคิด
อนุมานหาเหตุผลท่ีนอกเหนือไปจากท่ีข้อมูลมีอยู่ได้นั้นคือเข้าใจการต้ังสมมุติฐาน และหาข้อมูลหา
เหตุผลมาพิสูจน์หาข้อสรุปได้วยั รุ่นส่วนใหญ่จะมีพัฒนาการทางความรู้ความเข้าใจอยู่ในข้ันนี้ผู้ใหญ่
เองก็มีพัฒนาการทางการคิดอยู่ในข้ันน้ีเช่นเดียวกันเราจึงมักจะพบว่าเวลาที่พ่อแม่ ครู หรือผู้ใหญ่
บอกส่ังสอนอะไรวัยรุ่นจะไม่เชื่ออย่างง่ายๆเหมือนในวัยเด็กน้ันเป็นเพราะวัยรุ่นมองว่าตนสามารถ
คดิ และหาเหตุผลเองได้เข้าใจความเป็นจริงในสงิ่ ตา่ งๆ ได้ไม่แพ้ผูใ้ หญ่จงึ ไม่อยากให้ผู้ใหญ่มาบงการ
ในความคิดของตน๓๓
จากแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกบั พฤตกิ รรมของวยั รุ่น จะเหน็ ไดว้ ่าพฤติกรรมจะเกิดขึน้ ได้
ทั้งจากการเรียนรู้ตามสัญชาตญาณ จิตใต้สานึก และเกิดจากความต้องการทางร่างกายของมนุษย์
ความตอ้ งการทางจิตใจ ซึ้งมนุษย์จะมีการเรียนรู้และพัฒนาตนเองการพัฒนาด้านความรู้ความเข้าใจ
นั้นจะเร่ิมต้นที่ประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว การคิดและใช้เหตุผล ซ้ึงเป็นขั้นท่ีวัยรุ่นจะพัฒนา
พฤติกรรมของตนเองในข้ันน้ี
๓๓ เพยี เจต์ (อา้ งถึงใน ล้วน สายยศ และองั คณา สายยศ), (เรอื่ งเดียวกนั ), ๒๕๔๓, หนา้ ๑๘๑-๑๘๔.
๒๘
๒.๔ งำนวิจยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
สุมำลี จันทร์ชลอ และคณะ๓๔ ได้ศึกษาความเข้าใจปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ
ประชาชนในกรุงเทพมหานคร การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพือ่ ศึกษาความเข้าใจเก่ียวกับเศรษฐกิจพอเพียง
ศึ ก ษ า ก า ร ด า เนิ น ชี วิ ต ต า ม ห ลั ก เศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เพี ย ง แ ล ะ ศึ ก ษ า ค ว า ม เห็ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ใ น
กรุงเทพมหานครและปริมณฑลเก่ียวกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง กาหนดกลุ่มตัวอย่างด้วยการแบ่งชั้น
นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายท่ีมีอายุต้ังแต่ 15 ปีข้ึนไป จานวน 400 คน เป็นประชาชนผู้
ประกอบอาชีพพื้นฐานอายุ 15 - 30 ปี จานวน 350 คน กลุ่มตัวอย่างนักเรยี น โรงเรียนเอกชนและ
รัฐบาล แบ่งตามคิดเห็นท่ีการศึกษากลุ่มตัวอย่าง คนงานหรือพนักงานโรงงานอุตสาหกรรม แบ่งตาม
ประเภทของอุตสาหกรรมการผลิต 6 ประเภทตามพ้ืนท่ีต่างๆ จากโรงงานที่มีพนักงานมากกว่า 100
คนข้ึนไป กลุ่มผปู้ ระกอบการค้ารายย่อย และกลุ่มผูป้ ระกอบการอาชีพให้บรกิ าร กาหนดใหส้ อดคล้อง
กับพื้นท่ีกลุ่มตัวอย่างอุตสาหกรรมรวม 750 คน เครื่องมือท่ีใช้เก็บข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ชนิดมี
โครงสร้างประกอบด้วย 3 ส่วน คือ คาถามวัดความเข้าใจหลักเศรษฐกิจพอเพียงจานวน 25 ข้อ
คาถามพฤตกิ รรมการปฏบิ ัติ 25 ขอ้ ความเห็นเกี่ยวกับหลกั เศรษฐกิจพอเพยี งจานวน 10 ประเดน็
ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร ด า เนิ น ชี วิ ต ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ที่ พั ก อ า ศั ย อ ยู่ ใ น เข ต
กรงุ เทพมหานครและปริมณฑล ในภาพรวมพบว่าประชาชนมีพฤติกรรม ด้านการใช้จา่ ยพอประมาณมี
พฤติกรรม อยู่ในระดับบ่อยครั้งถึงเป็นประจา ด้านความรอบคอบมีพฤติกรรม อยู่ในระดับบ่อยคร้ัง
ด้านความมีเหตุผลมีพฤติกรรม อยู่ในระดับบ่อยคร้ัง ด้านการช่วยเหลือครอบครัวมีพฤติกรรมอยู่ใน
ระดับบอ่ ยครง้ั ยกเว้นดา้ นการมีส่วนแก้ไขปญั หาในครอบครวั นกั เรียนมพี ฤติกรรม ระดับนานนานครั้ง
ประชาชนมีพฤติกรรม อยู่ในระดับบ่อยคร้ังถึงนานนานคร้ัง ผลการศึกษาพฤติกรรมของประชาชน
5 กลุ่มย่อยๆ คือ นักเรียนโรงเรียนเอกชน นักเรียนโรงเรียนรัฐบาล พนักงานในภาคอุตสาหกรรมผู้
ใหบ้ รกิ าร และผูป้ ระกอบการค้ารายย่อย พบว่าความแตกต่างอยา่ งมใี นยะสาคัญทางสถิติ ดา้ นความมี
เหตุผล การดูแลส่ิงแวดล้อม การช่วยเหลือครอบครัว การช่วยเหลือสังคม และด้านความรอบคอบ
ความแตกต่างไม่มีนัยยะสาคัญทางสถิติ ด้านการใช้จ่ายอย่างพอประมาณ และการพัฒนาตนเองให้
ก้าวหน้า ผลการวิเคราะห์ความเห็นของประชาชนเก่ียวกับเศรษฐกิจพอเพียงด้วยค่าร้อยละพบว่า
ประชาชนส่วนมากมีความเห็นสอดคล้องกันว่าหลักเศรษฐกิจพอเพียงจะช่วยพัฒนาสังคมได้ และเห็น
ดว้ ยที่ทุกครอบครัวต้องทางบประมาณค่าใช้จ่าย และเห็นด้วยว่าการดาเนินชวี ิตเศรษฐกิจพอเพียงจะ
ทาให้สบายภายหลัง ประชาชนส่วนมากไม่เห็นดว้ ยในประเดน็ ท่วี ่า การดาเนินชีวติ ตามหลักเศรษฐกิจ
พอเพียงจะทาให้มีเพ่ือนน้อยลง ประเด็นของการทาการใดใดไม่ควรเสี่ยงต่อการสูญเสียหรือความ
ผิดพลาดจนน่าจะเป็นอันตราย ไมเ่ ห็นด้วยท่ีวา่ การพฒั นาประเทศตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงจะทาให้
ประเทศชะลอตัว และไม่เห็นด้วยท่ีว่าการขับเคล่ือนระบบเศรษฐกิจพอเพียงวันเป็นของรัฐบาลและ
นักวิชาการ ด้านการช่วยเหลือสังคม ด้านการใส่ใจสิ่งแวดล้อมส่วน ด้านการพัฒนางานให้ก้าวหน้ามี
พฤตกิ รรมอยใู่ นระดับนานๆ ครั้ง
๓๔ สมุ าลี จันทร์ชลอ และคณะ, กำรศึกษำควำมเข้ำใจปรัชญำเศรษฐกิจพอเพยี งของประชำชน
ในกรุงเทพมหำนคร, (ไดร้ บั ทนุ อดุ หนุนการวจิ ัยจากสานกั งานคณะกรรมการวิจยั แหง่ ชาติ, ๒๕๕๗), บทคัดย่อ.
๒๙
พิกุล ภูมิโลกรักษ์๓๕ ได้ศึกษาพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษา
พฤติกรรมการตา่ เนนิ ชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของนักศกึ ษามหาวิทยาลยั ราชภัฏ
นครราชสีมา เป็นการวิจัยเชิงสารวจ โดยการใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครรายสีมาทุกคณะ รวม 406 คน วิเคราะห์ซ้อมูลโดยการใช้สถิติเชิง
พรรณนา คือ จานวน ความถ่ี ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานผลการวิจัยที่สาคัญ
พบว่า 1) ส่วนใหญ่นักศึกษาการได้รับข่าวสารเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจากการเรียน
การสอน และการเรียนรู้ด้วยวิธีการต่างๆ ได้รับฟังข้อมูล/ข่าวสารจากส่ือต่างรู้ 2 ครั้ง ส่วนมากไม่
เคยอบรม แต่เป็นการศึกษาดูงานและร่วมจัดกิจกรรม/นิทรรศการอย่างน้อย 1 ครั้ง อีกท้ังไม่เคย
แลกเปลี่ยนเรียนรู้และไม่เคยการเผยแพร่ความรู้เก่ียวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2) ความรู้
เร่ืองปรัชญาเศรษฐกิจหอเพียงของนักศึกษามหาวิทยาลัยราขภัฏนครราชสีมาพบว่า มีความรู้เรื่อง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับมาก 3) พฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงของนกั ศกึ ษามหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา พบว่า 3.1) นักศึกษามพี ฤติกรรม
ด้านอาหาร เชน่ รับประทานอาหารครบ 3 มือ้ ประกอบดว้ ยท้งั ผักและผลไม้ รับประทานอาหารแต่
พออิ่มทกุ วัน การรับประทานอาหารที่สด ใหม่ สะอาด ด่ืมน้าสะอาดทกุ วัน เป็นต้น 3.2) นักศกึ ษามี
พฤติกรรมในการแต่งกาย เช่น ใช้เสื้อผ้าเคร่ืองแต่งกายที่เหมาะสม รู้จักซ่อมแซมและดัดแปลง
เสื้อผ้าเก่า เลือกซ้ือเสื้อท่ีมีคุณภาพราคาเหมาะสมและรู้จักวิธีดูแลเสื้อผ้า เป็นตัน 3.3) นักศึกษามี
พฤติกรรมด้านท่ีพักอาศัย เช่น ไม่เปิดเคร่ืองใช้ไฟฟ้าและก๊อกน้าท้ิงไว้ ตรวจสภาพเครื่องใช้ภายใน
บ้านและซ่อมแซมเมื่อชารุด ประหยัดน้าและเช้ือเพลิงต่างๆ ในบ้านและครัวเรือน เป็นต้น 3.4)
นักศึกษามีพฤติกรรมด้านการดูแลสุขภาพ เช่น ออกกาลังกาย พักผ่อนอย่างเพียงพอ ดูแลสุขภาพ
ร่างกาย มีสุขลักษณะนิสัยความสะอาดท้ังร่างกายและที่อยู่อาศัย ไม่ยุ่งเก่ียวกับสิ่งเสพติดให้โทษ
เป็นต้น 3.5) นักศึกษามีพฤติกรรมต้นเศรษฐกิจและค่าใช้จ่าย เช่น ใช้จ่ายตามฐานะ ไม่เล่นการ
พนนั ต่างๆ คานงึ ถงึ ความจาเปน็ ต่อการดารงชีวติ ไม่ก้หู น้ียมื สิน และรจู้ ักอดออม เปน็ ต้น
จันทร์ชลี มำพุทธ๓๖ ได้ศึกษาการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ
นิสิตระดับอุดมศึกษา การวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงของนิสิตระดับอุดมศึกษา และเปรียบเทียบการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ของนิสิตระดับอุตมศึกษา ระหว่างกลุ่มทดลองจัดกิจกรรมกับกลุ่มควบคุมสอนแบบบรรยาย
๓๕ พิกุล ภูมิโลกรักษ์, รำยงำนวิจัย พฤติกรรมกำรดำเนินชีวิตตำมหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงของ
นักศึกษำมหำวิทยำลัยรำชภัฏนครรำชสีมำ, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, (นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยราช
ภัฏนครราชสีมา, ๒๕๖๐), หน้า ๒.
๓๖ จันทร์ชลี มาพุทธ, กำรดำเนินชีวิตตำหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตระดับอุดมศึกษำ,
(ศกึ ษาศาสตร์, 28 (1) มกราคม - เมษายน 2560), หนา้ 28-40.
๓๐
ตอนท่ี 1 กลุ่มตัวอย่างจานวน 400 คน เครื่องมือท่ีใช้ ได้แก่ แบบสอบถามและตอนที่ 2 กลุ่ม
ทดลองโดยใช้กิจกรรมจานวน 30 คน และกลุ่มควบคุม จานวน 30 คน เคร่ืองมือท่ีใช้เป็น
แบบสอบถามและจดบันทึก สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน
การทดสอบคาที่และการวิเคราะห์เน้ือหา ผลการวิจัยพบว่า การดาเนินชีวิตตามหลักปรั ชญา
เศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตระดับอุดมศึกษาโดยรวมอยูใ่ นระดับปานกลาง ด้านการดูแลสขุ ภาพ ต้าน
การแต่กาย ด้านเศรษฐกิจและการใช้จ่ายของนิสีตอยู่ ในระดับปานกลาง การดาเนินชีวิตตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตระดับอดุ มศึกษาระหวา่ งกล่มุ ทดลองและกลุ่มควบคุมแตกต่างกัน
อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดับ 0.1
กรรณิกำร์ ภิรมย์รัตน์๓๗ ได้ศึกษาพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงของนกั ศึกษามหาวิทยาลยั ราชภฏั ในเขตกรุงเทพมหานคร งานวจิ ัยนี้มีวัตถปุ ระสงค์ 1) เพ่ือ
ศึกษาระดับความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษา 2) เพ่ือศึกษา
ระดบั พฤติกรรมการดาเนินชีวติ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนกั ศึกษา 3) เพอ่ื ศึกษาความ
คิดเห็นของนักศึกษาในการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็นแนวทางในการดาเนินชีวิต
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรีท่ีกาลังศึกษาในมหาวิทยาลัยราช
ภฎั ในเขตกรุงเทพมหานคร 6 แห่ง ได้แก่ 1) มหาวทิ ยาลัยราชภัฏจนั ทรเกษม 2) มหาวิทยาลัยราช
ภัฏธนบุรี 3) มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 4) มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร 5)
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 6) มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาจานวน 420 คน เครื่องมือการ
วิจัยมี 2 ฉบับ คือฉบับท่ี 1 แบบทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เป็นแบบ 2 ตัวเลือก ถูก-ผิด และฉบับท่ี 2 เป็นแบบสอบถามวัดพฤติกรรมการดาเนินชีวติ ตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษา โดยข้อความที่สร้างขึ้นเป็นแบบมาตรประเมินค่า ( Rating
scale) แบบ 3 ระดับ เคร่ืองมือท้ัง 2 ฉบับ มีค่าความเช่ือม่ันเท่ากับ 0.750 และ 0.83
ผลการศกึ ษาพบว่า 1. นกั ศึกษามหาวทิ ยาลัยราชภัฏมรี ะดบั ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั หลกั ปรชั ญา
เศรษฐกิจพอเพียงโดยรวมอยู่ในระดับสูง (X = 15.53) เม่ือพิจารณาเป็นรายมหาวิทยาลัยราชภัฏ
พบวา่ ทุกมหาวทิ ยาลัยราชภัฏมีระดับความร้อู ย่ใู นระดับสูง 2. นกั ศกึ ษามหาวิทยาลัยราชภัฏมีระดับ
พฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยรวมอยู่ในระดับสูง (X = 1.35)
เม่ือพิจารณาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง พบว่า (1) ด้านความพอประมาณ นักศึกษามี
ระดับพฤติกรรมอยู่ในระดับปานกลาง (X = 1.11) (2) ด้านความมีเหตุผล นักศึกษามีระดับ
พฤติกรรมอยู่ในระดับสูง (X = 1.38) และ (3) ด้านการมีภูมิคุ้มกันนักศึกษามีระดับพฤติกรรมอยู่
ในระดับสูง (X = 1.49) 3. นักศึกษามีความคิดเห็นต่อการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
๓๗ กรรณิการ์ ภิรมย์รัตน์, พฤติกรรมกำรดำเนินชีวิตตำมหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษำ
มหำวทิ ยำลัยรำชภัฏในเขตกรุงเทพมหำนคร, (กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสนุ นั ทา, 2557), บทคดั ยอ่ .
๓๑
เป็นแนวทางในการดาเนินชีวิต ดังน้ี (1) ด้านการดารงชีวิตประจาวัน ได้แก่ การเก็บออมเงิน การ
จัดทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย การใช้ทรัพยากรทุกอย่างอย่างประหยัดและรู้คุณค่า การประยุกต์ของ
เก่าให้กลับมาใช้ได้อีกคร้ัง (2) ด้านการเรียนการสอน ได้แก่ มหาวิทยาลัยควรมีการจัดทาหลักสูตร
การเรียนรายวิชา “เศรษฐกิจพอเพียง” ควรมีการสอดแทรกเศรษฐกิจพอเพียงในทุกรายวิชา มีการ
จัดต้ังชมรมเศรษฐกิจพอเพียง มีการฝึกปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (3) ด้านการ
ณรงค์ ได้แก่ การทาสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ในมหาวิทยาลัย การจัดอบรมให้ความรู้ท้ังใน
ภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ตั ิ การจดั นิทรรศการเศรษฐกจิ พอเพียง
กำนดำ เต๊ะขันหมำก๓๘ ศึกษาวิจัยปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตาม
ปรัชญาเศรษฐกิจของพอเพียงของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในกรุงเทพมหานคร การวิจัยน้ีมี
วตั ถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา และ 2) ศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการดาเนินชีวิต
ตาม ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา เป็นการวิจัย
เชิงสารวจ โดยการใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
ทกุ คณะ ทุกช้นั ปี รวม 302 คน วิเคราะหข์ ้อมลู โดยการใช้สถิตเิ ชิงพรรณนา คือ จานวน ความถ่ี ร้อย
ละ ค่าสูงสดุ ค่าตา่ สุด ฐานนิยม ค่าเฉล่ีย และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน และสถิตเิ ชิงอนุมานโดยการหา
ค่า สหสัมพันธ์โดยวิธีการของเปียร์สัน ผลการวิจัยที่สาคัญ พบว่า (1) ได้รับข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับ
ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงจากโทรทัศน์มากที่สุด (ร้อยละ 86.1) รองลงมาคือจากการเรียนการ
สอน (ร้อยละ 78.8) อินเตอร์เน็ท (ร้อยละ 66.9) และหนังสือพิมพ์/นิตยสาร/วารสาร (ร้อยละ
61.9) ตามลาดับ (2) นักศึกษาตอบแบบสอบถามถูกน้อยที่สุด 3 ข้อ และมากที่สุด 15 ข้อ โดยมี
ตอบถูกเฉลี่ย 9.74 ข้อ มีความรู้เร่ืองปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับมาก ร้อยละ 22.9 ใน
ระดับปานกลาง ร้อยละ 51.2 และในระดับน้อย ร้อยละ 25.9 มีรายการท่ีนักศึกษามีความรู้เรื่อง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับมาก จานวน 6 รายการ จาก 15 รายการ (ร้อยละ 40.00)
ระดับปานกลาง จานวน 3 รายการ จาก 15 รายการ (ร้อยละ 20.00) และระดับน้อย จานวน 6
รายการ จาก 15 รายการ (ร้อยละ 40.00) (3) มีเจตคติต่อปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในระดับดี
มาก จานวน 2 ข้อ จาก 15 ข้อ (ร้อยละ 13.33) ในระดับดี จานวน 6 ข้อ จาก 15 ข้อ (ร้อยละ
40.00) และในระดับท่ีควรได้รับการพัฒนา จานวน 7 ข้อ จาก 15 ข้อ (ร้อยละ 46.67) (4) มี
พฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยภาพรวมอยู่ใน ระดับเกือบทุกครั้ง
โดยเม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับเกือบทุกคร้ังในทุกด้าน (ด้านอาหาร ด้านการแต่ง
กาย ด้านท่ีอยู่อาศัย ด้านการดูแลรักษาสุขภาพ และด้านเศรษฐกิจและการใช้จ่าย) (5) ปัจจัยที่
๓๘ กานดา เต๊ะขันหมาก, ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมกำรดำเนินชีวิตตำมปรัชญำเศรษฐกิจของ
พอเพียงของนักศึกษำมหำวิทยำลัยรำชภัฏพระนครศรีอยุธยำ, (อยุธยา : มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา,
2556, บทคดั ย่อ.
๓๒
สัมพันธ์กับพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษามหาวิทยาลัย
ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา 3 ปัจจัย ได้แก่ 1) จานวนสมาชิกในครวั เรือน (มีความสัมพันธ์เชิงปฏิฐาน
ใน ระดับน้อยมาก) 2) จานวนเงินท่ีได้รับเม่ือเทียบกับค่าใช้จ่ายต่อเดือน (มีความสัมพันธ์เชิงปฏิฐาน
ในระดับน้อยมาก) และ 3) ความรู้เร่ืองปรัชญาเศรษฐกิจของพอเพียง (มีความสัมพันธ์เชิงปฏิฐานใน
ระดับน้อยมาก)
จำเริญรัตน์ จิตต์จิรจรรย์๓๙ ได้ศึกษาการพัฒนารูปแบบการประยุกต์ใช้ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือพัฒนาตนเองในการศึกษาของนักศึกษาสถาบันอุดมศึกษาในภาคตะวันออก
เฉยี ง เหนือ เพอื่ สร้างและพัฒนาและเพอื่ ตรวจสอบรูปแบบซง่ึ มกี ารดาเนินการ 5 ขัน้ ตอน คอื 1. เป็น
การศึกษา สังเคราะห์เอกสาร งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องและนามากาหนดเป็นกรอบแนวคิด 2. การสร้าง
และ พัฒนารูปแบบ 3. การนารูปแบบสู่การปฏิบัติ 4. ยืนยันรูปแบบ 5. เป็นการบูรณาการรูปแบบ
ผลการวิจัย พบว่า 1. องค์ประกอบของรูปแบบประกอบด้วย (1) หลักการและเหตุผล (2)
วัตถุประสงค์ (3) สาระสาคัญของรูปแบบ ประกอบด้วยการเรียนร้เู พ่ือนาสู่การปฏิบัติ การเรียนรู้เพ่ือ
การเป็นพลเมืองท่ีดี การเรียนรู้เพื่ออยู่ในสังคมอย่างมีความสุข และการเรียนรู้เพ่ือการเปล่ียนแปลง
ตนเองและสังคม ซึ่งมีการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียงได้แก่ ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล การสร้าง ภูมิคุ้มกันในตัว โดยมีเง่ือนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม (4) แนวทางการนาสู่
การปฏิบัติ (5) เง่ือนไข การนารูปแบบสู่การปฏิบัติ 2. รูปแบบประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงเพ่ือพัฒนาตนเอง ในการศึกษาของนักศึกษาสถาบันอุดมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
โดยภาพรวมมีความเหมาะสมใน ระดับมาก หากพิจารณาแต่ละองค์ประกอบพบว่า องค์ประกอบดา้ น
วัตถุประสงค์ของรูปแบบมีความ เหมาะสมอยู่ในระดับมากท่ีสุดเป็นลาดับแรก องค์ประกอบท่ีเป็น
สาระสาคัญด้านการเรียนรู้นาสู่การปฏิบัติมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากท่ีสุดเป็นลาดับรองลงมา
และองค์ประกอบขององค์ประกอบด้าน เง่ือนไขการนารูปแบบสู่การปฏิบัติมีความเหมาะสมในระดับ
มาก เป็นลาดับสุดท้าย ส่วนการตรวจสอบ การนาสาระสาคัญของการนารูปแบบสู่การปฏิบัติ พบว่า
อยู่ระดับมากทุกด้านโดยด้านการเรียนรู้การเป็นพลเมืองที่ดีมีการนาไปสู่การปฏิบัติในระดับมากเป็น
ลาดับแรกหากพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า การแสดงออกซึ่งด้านคุณธรรมจริยธรรม ได้แก่ การมี
วินัย มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ เป็นแบบอย่างที่ดี มีการนาสู่การปฏิบัติในระดับมาก
เป็นลาดับแรก และประเด็นการมีทักษะดา้ นมนษุ ยสัมพันธ์โดยสารมารถทางานเป็นกลุ่ม การแสดงถึง
ภาวะผู้นา ความรับผิดชอบต่อตนเองและ สังคม ความสามารถในการวางแผน รวมท้ังรับผิดชอบ มี
การนาสู่การปฏิบัตใิ นระดับมากเป็นลาดับสดุ ท้าย และด้านการเรียนรู้เพ่ือรู้ มีการนาสู่การปฏิบัตอิ ยู่ใน
ระดับมากเป็นลาดับสุดท้าย หากพิจารณา เป็นรายประเด็นพบว่าการมีคามรู้ความเข้าใจใน
๓๙ จาเริญรัตน์ จิตต์จิรจรรย์, กำรพัฒนำรูปแบบกำรประยุกต์ใช้ปรัชญำของเศรษฐกิจพอพียงเพื่อ
พัฒนำตัวเอง ในกำรศึกษำของนักศึกษำสถำบันกำรศึกษำในภำคตะวันออกเฉียงเหนือ, (นครราชสีมา :
มหาวทิ ยาลัยวงษช์ วลิตกุล, 2558), บทคดั ย่อ.
๓๓
วัตถุประสงค์ของสาขาวิชาชีพตามหลักสูตรที่ศึกษา มี การนาสู่การปฏิบัติอยู่ในระดับมากเป็นลาดับ
แรก และประเด็นการเรียนรู้หลักสถิติหรือคณิตศาสตร์ สามารถใช้เป็นเครื่องมือประมวลข้อมูลเพ่ือ
แกไ้ ขปญั หาอย่างเหมาะสม มีการนาส่กู ารปฏิบตั ิอยู่ในระดับ มากเป็นลาดับสดุ ทา้ ย
จันทร์ชลี มำพุทธ๔๐ ได้ศึกษาการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ
นิสิตระดับอุดมศึกษา การวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง ของนิสิตระดับอดุ มศึกษา และเปรียบเทยี บการเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงของ
นิสิตระดับอุดมศึกษา ระหว่างกลุ่มทดลองจัดกิจกรรมกับกลุ่มควบคุมสอนแบบบรรยาย ตอนท่ี 1
กลุ่มตัวอย่าง จานวน 400 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ ได้แก่แบบสอบถามและตอนท่ี 2 กลุ่มทดลองโดยใช้
กิจกรรมจานวน 30 คน และกลุ่มควบคุม จานวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามและจด
บันทึก สถิติท่ีใช้วิเคราะห์ ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าท่ีและ
การวิเคราะห์เน้ือหา ผลการวิจัย พบว่า การดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิต
ระดับอุดมศึกษาโดยรวมอยใู่ นระดับ ปานกลาง ด้านการดูแลสุขภาพ ดา้ นการแต่งกาย ด้านเศรษฐกิจ
และการใช้จ่ายของนิสิตอยู่ในระดับ ปานกลาง การดาเนินชีวติ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงของ
นิสิตระดับอุดมศึกษาระหว่างกลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุมแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่
ระดับ .01 จากเอกสารทางวิชาการท่ีเก่ียวข้องที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ขา้ งตน้ ผู้วิจัยสามารถสรปุ ได้ว่าการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการศกึ ษา การดาเนนิ ชวี ิต
ทาใหค้ ุณภาพชีวติ ดีขึ้น เศรษฐกิจทางสายกลางหรอื เศรษฐกิจแบบมชั ฌมิ าปฏิปทา เพราะเชือ่ มโยงทุก
เรื่องเข้ามาด้วยกันท้ังเศรษฐกิจ จิตใจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ซ่ึงแนวทางในการส่งเสริมการ
ดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีกล่าวมาข้างต้น สามารถวิเคราะห์แนวทางการ
ปฏิบัติท่ีจะนาไปส่งเสริมให้ประชาชนนาไปปฏิบัติในระดับครอบครัว สู่ชุมชน และขยายวงกว้าง
ออกไปอีกทุกสังคมต่อไป จึงเห็นได้ว่าแนวเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวคิดท่ีชี้ถึงแนวทางการดารงอยู่
และการปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับประเทศ
รวมทั้งยังสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาและการบริหารประเทศ เพื่อดาเนินไปในทางสาย
กลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพ่ือให้ก้าวทันต่อการเปล่ียนแปลงในโลกยุคโลกาภิวัตน์ได้เป็น
อยา่ งดดี ว้ ย
ศักด์ิชัย ค้ำชู๔๑ ได้ศึกษาการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในองค์กร : ศึกษา
กรณีศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนบ้านบึง มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
เศรษฐกิจพอเพียงของเจ้าหน้าท่ีและเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนบ้านบึง และเพื่อ
ประเมินผลสาเร็จในการประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน
บ้านบึง โดยใช้ระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพ จากการศึกษาเอกสาร การสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการ
สมั ภาษณ์เชิงลึก ผลการศึกษาพบว่า เจ้าหน้าที่และเยาวชนในศูนยฝ์ ึกและอบรมเดก็ และเยาวชนบ้าน
๔๐ จันทร์ชลี มาพุทธ, กำรดำเนินชีวิตตำมหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตระดับอุดมศึกษำ,
(งานวจิ ัยคณะศกึ ษาศาสตร์, ชลบรุ ี : มหาวิทยาลยั บรู พา), 25๖๐, หน้า 28-40.
๔๑ ศักดิ์ชัย ค้าชู, กำรประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในองค์กร : ศึกษำกรณีศูนย์ฝึกและอบรม
เดก็ และเยำวชนบ้ำนบึง, (กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบรหิ าร, ๒๕๕8), บทคัดยอ่ .
๓๔
บึง ส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องเก่ียวกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็นแนวทางการ
ดาเนินชีวติ โดยคานึงถึงความพอประมาณ พอมี พอกิน พอใช้ เป็นแนวคิดพึ่งตนเอง ไมป่ ระมาท รู้จัก
เก็บออม ไม่ฟุ่มเฟือย ใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด มีการวางแผน ใช้ความรู้คู่คุณธรรม
ซ่อื สตั ย์ต่อตนเองและผู้อนื่ ซง่ึ ตรงกันกับลักษณะการดาเนนิ ชีวติ แบบเศรษฐกิจพอเพยี ง
ภูสิทธ์ ขันติกุล๔๒ ได้ศึกษาการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคลและ
ครวั เรอื นของประชาชนในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร การวิจัยในครั้งน้ีกาหนดวตั ถุประสงค์เพ่ือสารวจ
ความรู้ความเข้าใจ ค้นหากิจกรรมที่ปฏิบัติในระดับบุคคล ครัวเรือน และวิเคราะห์การประยุกต์ใช้
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคลและครัวเรือนของประชาชนเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร โดย
คานวณเพื่อหากลุ่มตัวอย่างตามเทคนิคของ ทาโร ยามาเน่ และใช้เทคนิคการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ
ไม่อาศัยความน่าจะเป็น ด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง สาหรับแบบสอบถามโดยพิจารณา กาหนดตาม
อายุของกลุ่มตัวอย่างต้ังแต่ อายุ 18 ปีขึ้นไป จานวน 398 ตัวอย่างและการสัมภาษณ์กลุ่มประธาน
ชุมชน/ผู้นาชุมชน หรือคณะกรรมการชุมชนท่ีประชาชนเคารพนับถือจานวน 30 คน พบผล
การศึกษาวา่ ประชาชนส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อยู่ใน
ระดับมากที่สุด โดยเฉพาะเร่ืองการใช้จ่ายใดๆ ก็ต้องคานึงถึงความจาเป็นต่อการดารงชีพและไม่
สุรุ่ยสุร่าย การลงทุนก็ต้องค้นหาข้อมูลอย่างละเอียดถี่ถ้วนรู้จักวางแผน และต้องไม่ทาเกินตัวเกิน
ความสามารถของตน ส่วนการปฏิบัติในกิจกรรมในระดับบุคคลและครัวเรือนตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงของประชาชน โดยภาพรวมอยูใ่ นระดบั มาก โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ด้านการใช้และการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ีเก่ียวกับการประหยัด ส่วนการประยุกต์ใช้ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพยี งในระดับบุคคลและครัวเรอื นตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงอยู่ในระดับเห็นดว้ ย
กับคาว่า “พอ” ท่ีเป็นการพฒั นาตนเอง ไม่เบียดเบียนและพึงพอใจในชีวติ ทพ่ี อเพยี ง ซึ่งจะประยกุ ต์ใช้
กับตนและสมาชิกในครอบครัวปฏิบัติตนในแนวทางท่ีดี ลดละส่ิงชั่ว ประพฤติตนตามหลักธรรมทาง
ศาสนาอยู่เสมอ ท้ังน้ีผู้นาชุมชนและประชาชนจะเน้นย้าเกี่ยวกับเศรษฐกิจในคาว่า "ประหยัด” เป็น
คาหลัก และส่วนใหญ่จะพอใจในส่ิงท่ีมีอยู่ ณ ปัจจุบัน เพียงดารงตนอย่างไม่ฟุ่มเฟือยใช้ส่ิงของให้
คุ้มค่า และใชช้ วี ิตอยา่ งมีสติ สมาธิ ปัญญา เดนิ ทางสายกลางเทา่ นก้ี ็เพียงพอ
๔๒ ภูสิทธ์ ขันติกุล, กำรประยุกต์ใช้ปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคลและครัวเรือนของ
ประชำชนในเขตดุสิต กรุงเทพมหำนคร, (กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสุนันทา, 2557), บทคัดย่อ.
๒.๕ กรอบแนวคิดในกำรวจิ ัย ๓๕
ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม
ขอ้ มลู ทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม พฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญา
ประกอบดว้ ย ของเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตชั้นปีท่ี ๔
๑. สถานภาพ - ชาย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬา-
ลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น
- หญิง - ความพอประมาณ
๒. อายุ - ความมเี หตุผล
๓. สาขาวชิ า - การสอนภาษาไทย - ความมภี มู ิคมุ้ กัน
- การมคี วามรู้
- สังคมศกึ ษา - การมีคณุ ธรรม
บทท่ี ๓
ระเบียบวิธวี ิจัย
การศกึ ษาคร้งั น้ีเป็นการศกึ ษา เร่อื ง การศกึ ษาพฤตกิ รรมการดาเนินชวี ิตตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตช้ันปีที่ ๔ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตขอนแก่น มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงของนิสิตช้ันปีที่ ๔ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต
ขอนแกน่ ผูศ้ ึกษาไดม้ กี ารดาเนินการวิจัย โดยมีรายละเอยี ดดงั น้ี
๓.๑ รปู แบบการวิจยั
๓.๒ ประชากรและและกลุม่ ตวั อยา่ ง
๓.๓ เครื่องมอื การวิจัย
๓.๔ การเก็บรวบรวมขอ้ มูลการวิจยั
๓.๕ การวเิ คราะหข์ ้อมูล
๓.๖ สถติ ทิ ่ีใช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
๓.๑ รูปแบบกำรวจิ ัย
การวจิ ัยเรอื่ ง การศึกษาพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ
นสิ ิตช้ันปที ่ี ๔ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตขอนแก่น เป็นการ
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) เป็นการศึกษาโดยใช้ลักษณะและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
กลา่ วคอื ใชต้ วั เลขประกอบการวิเคราะห์ สรปุ ผลและการเสนอผลการวจิ ัยกอ็ อกมาเป็นตัวเลข
๓.๒ ประชำกรและกลมุ่ ตัวอย่ำง
๓.๒.๑ ประชำกร
ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยในครั้งน้ี ได้แก่ นิสิตคฤหัสถ์สาขาวิชาสังคมศึกษา และสาขาวิชา
การสอนภาษาไทย คณะครุศาสตร์ ช้ันปีที่ 4 ที่ทาการลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา
๒๕๖๒ จานวน ๕๐ คน
๓.๒.๒ กำรสมุ่ กลุ่มตัวอยำ่ ง
กล่มุ ตวั อย่าง ท่ใี ชใ้ นการวิจยั คร้ังนี้ ไดแ้ ก่ นิสิตคฤหสั ถ์คณะครศุ าสตร์ ชัน้ ปที ี่ 4 ท่ที าการ
ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ โดยการหากลุ่มตัวอย่างโดยวิธีเฉพาะเจาะจง
เพศชาย จานวน ๑๔ คน เพศหญงิ ๓๖ คน รวมจานวน ๕๐ คน
๓๗
๓.๓ เครือ่ งมือกำรวจิ ัย
๓.๓.๑ เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นกำรวิจยั
เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม (Questionnaire) จะเป็นแบบสอบถามท่ี
ผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง โดยมีเนื้อหาครอบคลุมวัตถุประสงค์และเน้ือหาจากแนวคิดท่ีต้องการศึกษาพร้อม
ทั้งนาไปหาคณุ ภาพของเครอ่ื งมือก่อนนาไปใช้จริง โดยแบง่ ออกเปน็ ๓ ตอน ดังน้ี
ตอนท่ี ๑ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามพฤติกรรมการดาเนนิ ชีวติ ตามหลกั ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตชั้นปีท่ี ๔ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตขอนแกน่
ตอนท่ี ๒ พฤติกรรมการดาเนินชีวิตของนิสิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แบบสอบถามทั้งหมดมี ๓๐ ข้อ แบ่งเป็น ๕ ด้าน ด้านละ ๖ ข้อ มีเกณ ฑ์การให้คะแนน
๕ ระดบั ตามแนวคิดของลิเคริ ท์ (Likert Rating Scale)๔๓ ดงั น้ี
๕ หมายถงึ ระดบั การใหค้ ะแนน มากทสี่ ดุ
๔ หมายถงึ ระดับการใหค้ ะแนน มาก
๓ หมายถึง ระดบั การใหค้ ะแนน ปานกลาง
๒ หมายถงึ ระดบั การให้คะแนน นอ้ ย
๑ หมายถงึ ระดบั การใหค้ ะแนน นอ้ ยที่สดุ
ส่วนที่ ๓ ข้อเสนอแนะเก่ียวกับการศึกษาพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตชั้นปีท่ี ๔ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตขอนแก่น
๓.๓.๒ ขัน้ ตอนในสร้ำงเครอื่ งมอื กำรวจิ ัย
ในการวิจัยครั้งนี้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม ท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้น
ตามลาดับขัน้ ตอนดังนี้
๑) ศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร วารสาร และผลงานวิจัยที่เก่ียวข้อง เพ่ือเป็น
แนวทางในการสรา้ งเครือ่ งมอื
๒) ศึกษาวิธีการสร้างแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale)
๕ ระดับ ตามวิธีการของ ลิเครท์ิ (Likert)
๓) ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงของ กรรณิการ์ ภริ มย์รัตน์ และ พิกุล ภมู โิ คกรักษ์ เพื่อใช้เป็นแนวในการสร้างแบบสอบถามที่
ใชใ้ นการวิจยั
๔๓ บุญชม ศรีสะอาด, กำรวจิ ัยเบื้องตน้ , (พมิ พค์ ร้งั ที่ ๕, กรุงเทพฯ : สุวรี ยิ สาส์น, 2553), หน้า 120-121.
๓๘
๔) นาข้อมูลท่ีได้จากข้อ ๑,๒ และ ๓ มาสร้างเป็นแบบสอบถามพฤติกรรมการดาเนิน
ชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตชั้นปีท่ี ๔ คณะครุศาสตร์ ในภาคเรียนท่ี ๒
ปีการศึกษา ๒๕๖๒ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ตาบลโคกสี
อาเภอเมอื ง จังหวดั ขอนแก่น
๕) นาแบบสอบถามท่ีสร้างเสรจ็ เรียบรอ้ ยแล้วเสนอต่ออาจารย์ท่ีปรึกษา งานวิจัยเพ่ือให้
ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไขและพิจารณาครอบคลุมในด้านเนื้อหา ตลอดจนความถูกต้อง
เหมาะสมของภาษาที่ใช้
๖) ตรวจสอบความถูกต้องเชิงเน้ือหา (content validity) ของแบบสอบถาม ค่า IOC
การคานวณหาค่าความสอดคล้องดัชนีระหว่างข้อความกับวัตถุประสงค์ (Item Objective
Congruence Index = IOC) ความเห็นของผู้เชียวชาญว่า เหมาะสม (+๑) ไม่เหมาะสม (-๑) และ
ไม่แน่ใจ (๐) วิเคราะห์ดัชนีความตรงตามเน้ือหาของแบบสอบถาม โดยเลือกข้อที่มีค่า IOC ต้ังแต่
0.50 ขึ้นไป นาแบบสอบถามเสนอผู้เชี่ยวชาญจานวน ๓ ท่าน พิจารณาได้แก่ ผศ.อนุสรณ์
นางทะราช ๒) ดร.สุภาพร บัวช่วย และ ๓) อาจารย์พันทิวา ทับภูมี ได้ตรวจสอบความเหมาะสมของ
แบบสอบถามทั้งด้านการใช้ภาษา การใช้เน้ือหาของคาถาม และความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
จากนนั้ นาแบบสอบถามมาปรบั ปรุงแก้ไขให้สมบรู ณต์ ามคาแนะนาของผูเ้ ช่ียวชาญ (ค่า IOC = 1.00)
๗) นาแบบสอบถามท่ีผ่านการตรวจความเที่ยงตรงของเนื้อหาแล้วมาจัดพิมพ์
แบบสอบถามฉบบั สมบูรณ์ เพ่ือนาไปใชใ้ นการเกบ็ ขอ้ มูลการวจิ ัยกับกลุ่มเป้าหมายต่อไป
๓.๔ กำรเก็บรวบรวมข้อมลู กำรวิจยั
การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ผู้วจิ ยั ไดด้ าเนนิ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ตามขนั้ ตอน ดังน้ี
๑) ศึกษาพ้ืนที่ที่จะเก็บรวบรวมข้อมูลที่มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาเขต
ขอนแกน่
๒) ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยนาแบบสอบถามพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตาม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตช้ันปีที่ ๔ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ไปเก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง จานวน ๕๐ ชุด แบ่งเป็นนิสิต
นิสติ คฤหสั ถ์ชาย จานวน ๑๔ ชุด นสิ ิตหญิง จานวน ๓๖ ชุด รวม ๕๐ ชุด
๓) ผู้วิจัยได้รับแบบสอบถามกลับมาทั้งหมด นามาตรวจสอบความถูกต้องและความ
สมบรู ณข์ องแบบสอบถาม
๔) นาแบบสอบถามมาตรวจสอบให้คะแนนตามเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้และนาข้อมูลมา
วิเคราะห์ทางสถติ ติ อ่ ไป
๓๙
๓.๕ กำรวิเครำะหข์ ้อมูล
ผู้วิจยั ไดด้ าเนนิ การวิเคราะห์ขอ้ มูล และประมวลผลของแบบสอบถาม ดังนี้
๑) ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตชั้นปีที่ ๔ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตขอนแก่น ซ่ึงเป็นแบบสอบถามแบบตรวจสอบรายการ (Check list) วิเคราะห์ข้อมูลโดยแจก
แจงความถี่ และหาค่าร้อยละ แล้วนามาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปของตารางประกอบคา
บรรยายใต้ตาราง
๒) แบบสอบถามพฤติกรรมการดาเนินชีวิตของนิสิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ซึ่งเป็นแบบสอบถามประมาณค่า (Rating Scale) แบ่งเป็น ๕ ด้าน ด้านละ ๖ ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลหา
คา่ เฉลี่ย ( X ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) แลว้ นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปของตาราง
ประกอบคาบรรยายใต้ตาราง
เกณฑก์ ำรแปรผล
ผู้วิจยั ได้วัดค่าตวั แปรของการวิจยั ซ่งึ แบ่งออกเป็น ๕ ระดบั มเี กณฑก์ ารแปรผล ๕
ระดบั ตามแนวคิดของลเิ คิร์ท (Likert Rating Scale)๔๔ มคี ะแนนเฉลี่ย และแปลความหมายดังนี้
๔.๕๐ - ๕.๐๐ มผี ลกระทบในระดับมากทสี่ ุด
๓.๕๐ - ๔.๔๙ ผลกระทบในระดับมาก
๒.๕๐ - ๓.๔๙ ผลกระทบในระดบั ปานกลาง
๑.๕๐ - ๒.๔๙ ผลกระทบในระดับน้อย
๑.๐๐ - ๑.๔๙ ผลกระทบในระดบั น้อยทสี่ ดุ
๓) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ของนิสิตช้ันปีท่ี ๔ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
ในแบบสอบถามเป็นคาถามปลายเปิด ทาการวิเคราะห์เนอื้ หาแบบบรรยาย
๓.๖ สถติ ิท่ีใช้ในกำรวเิ ครำะหข์ อ้ มลู
ในการวิจัยเร่ือง พฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิต
ชนั้ ปีที่ ๔ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น มีการใช้สถิติ
ในการวเิ คราะห์ข้อมลู ดังน้ี
๑) คา่ รอ้ ยละ (%)
๒) ค่าเฉล่ยี เลขคณติ ( X )
๓) ค่าส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.)
๔๔ บุญชม ศรีสะอาด, กำรวิจัยเบือ้ งต้น, (พมิ พ์ครงั้ ที่ ๕, กรงุ เทพฯ : สวุ รี ยิ สาส์น, 2553), หน้า 120-121.
บทท่ี ๔
ผลกำรศึกษำวิจยั
การศึกษาพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตชนั้ ปีท่ี ๔
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น เป็นการวิจัย
เชิงปริมาณ (Quantitative research) เก็บรวบรวมขอ้ มูลโดยใชแ้ บบสอบถามจากกล่มุ ตวั อย่างที่เป็น
นิสิตชั้นปีที่ ๔ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น จานวน
๕๐ คน มีผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลตามวตั ถุประสงคก์ ารวิจัยดงั นี้
๔.๑ ตอนที่ ๑ ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถามพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตช้ันปีท่ี ๔ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช-
วทิ ยาลัย วทิ ยาเขตขอนแกน่
๔.๒ ตอนที่ ๒ พฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตชั้น
ปที ่ี ๔ คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตขอนแกน่
๔.๑ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถำมพฤติกรรมกำรดำเนินชีวิตตำมหลักปรัชญำเศรษฐกิจ
พอเพียงของนิสิตช้ันปีที่ ๔ คณะครุศำสตร์ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย วิทยำเขต
ขอนแกน่
ตำรำงท่ี ๔.๑ ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถามพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตชั้นปีที่ ๔ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วทิ ยาลยั วิทยาเขตขอนแก่น
ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถำม จำนวน (คน) ร้อยละ
๑. เพศ
14 28
ชาย 36 72
หญงิ 50 100
รวม
๔๑
ข้อมูลทั่วไป รวม จำนวน (คน) รอ้ ยละ
๒. อำยุ รวม
22-23 ปี 38 76
24-25 ปี 10 20
26 ปขี ึ้นไป 2 4
50 100
๓. สำขำวชิ ำ
การสอนภาษาไทย 24 48
สงั คมศึกษา 26 52
50 100
จากตารางที่ ๔.๑ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามพฤติกรรมการดาเนินชีวิตตาม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตชั้นปีที่ ๔ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช-
วทิ ยาลัย วิทยาเขตขอนแกน่ เพศของผตู้ อบแบบสอบถาม จานวน ๕๐ คน
เพศ
ชาย จานวน ๑๔ คน (คิดเปน็ รอ้ ยละ ๒๘) และเพศหญิง จานวน ๓๖ คน (คดิ เปน็ ร้อยละ ๗๒)
ชว่ งอำยุ
อายุ 22-23 ปี จานวน ๓๘ คน (คิดเป็นร้อยละ ๗๖) อายุ 24-25 ปี จานวน ๑๐ คน
(คิดเปน็ ร้อยละ ๒๐) อายุ 26 ปีขน้ึ ไป จานวน ๒ คน (คดิ เป็นร้อยละ ๔)
สำขำวชิ ำ
สาขาวิชาสังคมศึกษา จานวน ๒๖ คน (คิดเป็นร้อยละ ๕๒) และสาขาวิชา การสอน
ภาษาไทย จานวน ๒๔ คน (คิดเป็นรอ้ ยละ ๔๘)
๔.๒ ตอนที่ ๒ พฤติกรรมกำรดำเนินชีวิตตำมหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิตชั้นปีที่ ๔
คณะครศุ ำสตร์ มหำวทิ ยำลัยมหำจฬุ ำลงกรณรำชวิทยำลยั วิทยำเขตขอนแก่
ตำรำงที่ ๔.๒ พฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิต
ช้ันปีที่ ๔ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น โดย
ภำพรวม
๔๒
พฤตกิ รรมกำรดำเนินชีวติ ตำมหลกั X S.D. ระดับ
ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพยี ง
(โดยภำพรวม)
๑) ดา้ นความพอประมาณ 3.88 0.90 มาก
๒) ด้านความมเี หตผุ ล 3.96 0.74 มาก
๓) ดา้ นความมภี มู คิ ุ้มกัน 3.91 0.74 มาก
๔) ด้านการมคี วามรู้ 3.๙๐ 0.8๒ มาก
๕) ด้านการมีคุณธรรม 3.97 0.75 มาก
ภำพรวม 3.9๒ 0.๗๙ มำก
จากตารางที่ ๔.๒ พฤติกรรมการดาเนินชวี ิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนิสิต
ช้ันปีท่ี ๔ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ( X = 3.91, S.D. = 0.๗๙), เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงจาก
มากไปหาน้อย พบว่า ด้านการมีคุณธรรม อยู่ในระดับมาก ( X = 3.9๗, S.D. = 0.7๕), รองลงมา
คือด้านความมีเหตุผล อยู่ในระดับมาก ( X = 3.96, S.D. = 0.74), ด้านความมีภูมิคุ้มกัน อยู่ใน
ระดับมาก ( X = 3.9๑, S.D. = 0.74), ด้านการมีความรู้ อยู่ในระดับมาก ( X = 3.๙๐, S.D. =
0.๘๒) และดา้ นความพอประมาณ อยใู่ นระดับมาก ( X = 3.๘๘, S.D. = 0.๙๐)