The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยการพัฒนาชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนงานประดิษฐ์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิจัยการพัฒนาชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนงานประดิษฐ์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

วิจัยการพัฒนาชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนงานประดิษฐ์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

การพฒั นาชน้ิ งานสร้างสรรค์รว่ มกับการจดั การเรยี นรู้
โดยใชก้ ระบวนการ GPAS 5 Steps ทมี่ ตี ่อผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน

งานประดษิ ฐ์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4

อมรรตั น์ ชยั เพชร

โรงเรยี นบ้านห้วยลกึ

ตำบลชอ่ ง อำเภอนาโยง จงั หวดั ตรงั
สังกัดสำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
ปีการศกึ ษา 2564

การพฒั นาชน้ิ งานสร้างสรรค์รว่ มกับการจดั การเรยี นรู้
โดยใชก้ ระบวนการ GPAS 5 Steps ทมี่ ตี ่อผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน

งานประดษิ ฐ์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4

อมรรตั น์ ชยั เพชร

โรงเรยี นบ้านห้วยลกึ

ตำบลชอ่ ง อำเภอนาโยง จงั หวดั ตรงั
สังกัดสำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาตรัง เขต 1

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
ปีการศกึ ษา 2564

(1)

ชือ่ เรอื่ ง การพัฒนาชน้ิ งานสรา้ งสรรค์ร่วมกบั การจัดการเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการ GPAS
5 Steps ทีม่ ตี ่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น งานประดษิ ฐ์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4
ผูว้ ิจัย นางอมรรัตน์ ชยั เพชร
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชีพ
หนว่ ยงาน โรงเรยี นบา้ นห้วยลกึ ตำบลชอ่ ง อำเภอนาโยง จังหวดั ตรงั
ปกี ารศกึ ษา 2564

บทคดั ย่อ

การศึกษาวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลังเรียน
ด้วยช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ทม่ี ีตอ่ ผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียน งานประดิษฐ์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และ 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อชิ้นงาน
สร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน งาน
ประดษิ ฐ์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4

กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ในการวิจัยครั้งน้ี คือ นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2564 โรงเรียนบ้านห้วยลึก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 จำนวน 22 คน
เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย ช้ินงานสร้างสรรค์ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้
กระบวนการ GPAS 5 Steps แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติ
ที่ใชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ คา่ รอ้ ยละ ค่าเฉลี่ย

ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรยี นด้วยชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกับการ
จัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ท่ีมีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน งานประดิษฐ์ ช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ซึ่งมีคะแนนการทดสอบก่อนเรียนเฉลี่ย เท่ากับ 9.09
คะแนน คะแนนการทดสอบหลังเรียนเฉล่ียเท่ากับ 16.59 คะแนน ผลต่างของคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 7.50
คะแนน และ 2) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ
GPAS 5 Steps ท่ีมีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน งานประดิษฐ์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 โดยภาพรวมอยู่ใน
ระดบั มากทสี่ ุด (μ = 4.69)

(2)

กิตตกิ รรมประกาศ

รายงานการวิจัยการพัฒนาช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ
GPAS 5 Steps ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน งานประดิษฐ์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 เล่มนี้ สำเร็จ
สมบูรณ์ได้ด้วยความกรุณาของนางอารี ศริ ินพุ งษ์ ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพเิ ศษ โรงเรยี นวัดเถลิงกิตติ
ยาราม จงั หวัดนครศรีธรรมราช ผู้เช่ยี วชาญที่ได้ตรวจสอบคุณภาพเครอ่ื งมือ ช่วยเหลือให้คำแนะนำ
และตรวจแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ตลอดเวลาในการดำเนินการจัดทำ จนทำให้รายงานการวิจัยเล่มนี้
ถกู ต้องและสมบรู ณ์ยิง่ ขึน้ ผวู้ จิ ัยขอกราบขอบพระคุณทา่ นเป็นอยา่ งสงู ไว้ ณ โอกาสน้ี

ขอขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญทุกท่านที่ได้ตรวจสอบเครื่องมือไดอ้ ย่างมีคุณภาพ ไดแ้ ก่ นางสิริพัชร์
บุญกราน ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนวัดธรรมาราม จังหวัดตรัง และนายประทีป ชัย
เพชร ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนวัดธรรมาราม จังหวัดตรัง ท่ีได้กรุณาสละเวลาอันมี
ค่าของท่านตรวจสอบเคร่ืองมือ และแก้ไขความสมบูรณ์ของเครื่องมือ พร้อมท้ังให้คำแนะนำที่เป็น
ประโยชนใ์ นการวิจยั ในครัง้ น้เี ปน็ อย่างดียงิ่

ขอขอบคุณผู้บริหารและคณะครูโรงเรียนบ้านห้วยลึก สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาตรัง เขต 1 ท่ีมีส่วนช่วยเหลือ ให้คำแนะนำ และเป็นกำลังใจตลอดมา และขอขอบคุณ
ทกุ ทา่ นทมี่ ิได้เอ่ยนาม ที่มีสว่ นให้ความช่วยเหลือทำใหร้ ายงานการวจิ ยั เลม่ นี้สำเรจ็ ลลุ ว่ งได้ดว้ ยดี

อมรรตั น์ ชัยเพชร
กมุ ภาพนั ธ์ 2565

(3)

สารบญั

บทคัดย่อ …………………………………………………………………………………………………………........………… หน้า
กิตตกิ รรมประกาศ ……………………………….....................................................................................… (1)
สารบัญ ……………………………………………………………………………….……………………………….......…….. (2)
สารบัญตาราง …………………………………………………………………..……………………………….......………... (3)
(5)

บทท่ี 1 บทนำ ………………………………………………………………………..………………….........…….. 1
ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา ………………………………………………........………… 1
วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย ………………………………………………………………….......….……..… 2
สมมติฐานในการวิจยั ...................................................................................................... 3
ขอบเขตของการวจิ ยั ...………………………………………...………………….…..................…..… 3
นยิ ามศัพท์เฉพาะ ...………………………………………...………………….…..................…..…....... 4
ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะไดร้ ับ ……………………………………..………………………………........……. 5

บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กีย่ วข้อง …………………………..……………….……….……........…… 3
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นหว้ ยลกึ กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4.. 7
ทำไมต้องเรยี นการงานอาชพี ...………………………………………...………………….…............... 7
เรยี นรู้อะไรในการงานอาชีพ ...………………………………………...………………….…................ 7
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ...………………………………………....………………….…............ 7
คุณภาพผู้เรียนเม่ือจบช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 ...………………………………………...………..... 7
โครงสร้างรายวชิ า ...………………………………………...………………….….............................. 8
คำอธิบายรายวชิ าและตวั ชว้ี ดั ...………………………………………...………………….…............. 8
ตวั ชีว้ ัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ...………………………………………...………............... 9
ความสมั พันธ์ระหวา่ งโครงสรา้ งหนว่ ยการเรยี นรู้ และตัวชี้วดั ...……………………………… 9
ช้นิ งานสรา้ งสรรค์ ...………………………………………...………………….…................................ 12
ความหมายของชน้ิ งานสรา้ งสรรค์ ...………………………………………...………………….…....... 12
หลกั การกำหนดชิ้นงานหรือภาระงาน ...………………………………………...………………….… 13
หลกั ในการสร้างแบบฝึก ...………………………………………...………………….…...................... 13
แนวทางการสร้างแบบฝึกหัดทดี่ ี ...………………………………………...………………….…........... 14
การจัดการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการ GPAS 5 Steps ...……………………………………….... 14
ข้ันตอนของกระบวนการเรียนรู้ 5 ขน้ั ตอน (GPAS 5 Steps) ...……………………………….. 14
พฤติกรรมของครูและนักเรยี นในแตล่ ะขั้นของกระบวนการเรียนรู้ 5 ขน้ั ตอน (5STEPs) .. 15
คณุ ค่าของการใช้กระบวนการเรยี นรู้ 5 ข้ันตอน (5 STEPs) ...……………...………………… 16
ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น ...………………………………………...………………..........….…............ 17
ความหมายของผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ...………………………………………...…………………. 17
แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี ...………………………………………...………………….… 17

(4)

สารบัญ (ตอ่ )

บทที่ 2 (ตอ่ ) หนา้
การสรา้ งแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ...……………………………………….........
ความพึงพอใจ ...………………………………………...………………….…...................................... 18
ความหมายของความพึงพอใจ ...………………………………………...…………………..…............ 20
การวัดความพึงพอใจ ...………………………………………...………………….…........................... 20
การสรา้ งแบบสอบถามวัดความพงึ พอใจ ...………………………………………...………………….. 20
งานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วข้อง ...………………………………………...………………….…............................... 21
24

บทที่ 3 วธิ ดี ำเนนิ การวิจัย ………………………………………………………..……..……….…......………. 25
กลุ่มเปา้ หมาย ……………………………....……..….……………………….………………......…..……… 25
เครอื่ งมือท่ใี ชใ้ นการรวบรวมข้อมลู ……………………………………..…………..…........….……… 25
การสรา้ งและหาคณุ ภาพของเคร่ืองมือ …………………….……………….…...….….................. 26
การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ………………………………………….……………….…...….….......….……… 29
การวิเคราะหข์ อ้ มลู ………………………………………………………………………….…….......…….. 30
สถติ ิทีใ่ ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล ………………….……………….…...….….................................. 30
31
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล …………………………………………………………………….........………
ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล ……………………………………………………………………….......………….. 31

บทท่ี 5 สรุปผล และขอ้ เสนอแนะ …………………………….................….………………….......……… 35
สรุปผลการวิจัย ………………………………………………………………………..…………........……..… 35
อภปิ รายผลการวิจยั …………………….…………………..……...........................……........….…… 36
ข้อเสนอแนะ ………………….……………….…...….…....………………….…….………….…...….….... 37

บรรณานุกรม …………………………...………………………….......…………………….………………………..…….. 38
ภาคผนวก …………………………...………………………….......……………....……….………………………..…….. 41
42
ภาคผนวก ก ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ ..……………....……….………………………..…….. 55
ภาคผนวก ข ตวั อย่างผลงานนักเรยี น ............……………....……….………………………..…….. 61
ภาคผนวก ค แบบบนั ทกึ สรปุ คะแนนช้ินงาน .……………....……….………………………..……..

(5)

สารบัญตาราง

ตาราง หน้า
1 โครงสร้างรายวชิ ากลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ ……………..…................................……….. 8
2 สาระ มาตรฐาน ตวั ชว้ี ัด และสาระการเรียนรแู้ กนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 …………………………………..........................................…….……… 9
3 โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 ……… 9
4 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งหน่วยการเรยี นรกู้ ับตัวชวี้ ัดกล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี
ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 ………………………………………..........................……………………. 12
5 แบบแผนการทดลองแบบ One Group Pre – test Post – test Design ......................... 29
6 ผลการเปรียบเทียบคะแนนผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นก่อนและหลงั เรียนดว้ ยชน้ิ งานสร้างสรรค์
รว่ มกับการจัดการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ทมี่ ีตอ่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น
งานประดษิ ฐ์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ...................................................................................................... 32
7 ผลการศกึ ษาระดบั ความพงึ พอใจของนักเรียนตอ่ ชน้ิ งานสร้างสรรคร์ ว่ มกับการจัดการเรยี นรู้
โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ทมี่ ีตอ่ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น งานประดิษฐ์
ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 ................................................................................................ 33

1

บทที่ 1
บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 ได้กำหนด
ความมุ่งหมายและหลักการจัดการศึกษาไว้ในมาตรา 6 ว่าการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็น
มนุษย์ท่ีสมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต
สามารถอยู่รวมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข โดยมีกระบวนการเรียนรู้ท่ีกำหนดไว้ในมาตรา 7 ว่าต้องมุ่งปลูกฝัง
จิตสำนึกที่ถูกต้องให้แก่ผู้เรียน รวมทั้งส่งเสริมศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และความมร้อู ันเป็น
สากล ตลอดจนอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพ่ึงตนเอง มี
ความคดิ ริเร่มิ สร้างสรรค์ ใฝ่รู้และเรยี นร้ดู ว้ ยตนเองอย่างต่อเนือ่ ง (ราชกจิ จานเุ บกษา, 2542: 3)

สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มีวิสัยทัศน์ของหลักสูตรว่า
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนซึ่งเป็นกำลังของชาติ ให้เป็นมนุษย์ท่ีมีความ
สมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดม่ันในการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมท้ังเจต
คติท่ีจำเป็นตอ่ การศึกษาตอ่ การประกอบอาชพี และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมงุ่ เนน้ ผ้เู รียนเป็นสำคัญบนพ้นื ฐาน
ความเช่ือว่าทุกคนสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ ซึ่งมีหลักการท่ีสำคัญของหลักสูตรข้อ 5
กำหนดว่าเป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยกำหนดจุดหมายเพ่ือให้เกิดกับผู้เรียน ข้อ 2 ว่ามี
ความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต
โดยมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ 5 ประการ คือความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด
ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี
(กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2551: 4-7)

ผู้วิจัยซ่ึงปฏิบัติหน้าท่ีครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านห้วยลึก ตำบลช่อง อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง ได้วิเคราะห์ข้อมูลผู้เรียนจากผล
การทดสอบทางการศึกษาระดับสถานศึกษา ในปีการศึกษา 2563 พบว่า ค่าเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการของ
นักเรียนยังต่ำกว่าค่าเป้าหมายของสถานศึกษาในทุกระดับชั้น และจากการพิจารณาผลการเรียนของนักเรียน
รายคน พบว่า นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 มีผลการเรียนในระดับดีข้ึนไปร้อยละ 55.45 ของผู้เรียน
ท้ังหมด ซ่ึงถือว่าต่ำมาก โดยเฉพาะนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 มีผลสัมฤทธ์ิทางการของนักเรียนเฉล่ีย
70.21 และมีผลการเรียนในระดับดีข้ึนไปเพียงร้อยละ 50.00 ของนักเรียนทัง้ หมด เมื่อวิเคราะห์ปัญหาท่ีเกิดขึ้น
ระหว่างการจัดการเรียนรู้ พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ขาดวินัยในการส่งงาน ผัดวันประกันพรุ่ง สะสมภาระงานไว้
ไม่ทำภาระงานส่งตามเวลาที่กำหนด ทำให้นักเรียนมีภาระงานค้างส่งมาก เมื่อจะส้ินภาคเรียนหรือส้ินปี
การศึกษานักเรียนจะนำภาระงานค้างทั้งหมดมาทำส่งในเวลาอันสั้น ทำให้ผลงานไม่มีคุณภาพ โดยเฉพาะอย่าง
ยง่ิ งานประดิษฐ์ซ่ึงต้องใช้เวลา และความประณีตในออกแบบและจัดทำชิ้นงาน ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของนักเรียนต่ำ ทั้งน้ีอาจจะเนื่องมาจากใบงานที่มอบหมายให้นักเรยี นมีรูปแบบที่เรียบง่าย ไม่น่าสนใจ ไม่ดึงดูด
และสร้างแรงจูงใจในการทำใบงาน ภาระงานให้กับนักเรียน อีกทั้งรูปแบบการจัดการเรียนรู้ยังเป็นรูปแบบเดิม ๆ
อาจยังไม่สามารถส่งเสริม กระต้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ การแสวงหาความรู้ การสื่อสารแลกเปล่ียนความ

2

คิดเห็น สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง การลงมือปฏิบัติจริงยังไม่หลากหลายเพ่ือให้เกิดความเข้าใจที่คงทน
เท่าท่ีควร

การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 ข้ันตอน (5STEPs) เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสำคัญ ให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้นักเรียนได้เสริมสร้าง
กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทักษะการอ่าน การพูด การเขียน การสื่อสาร จนสามารถศึกษาหาความรู้ได้ด้วย
ตนเอง สื่อความหมายของข้อมูลหรือนำเสนอข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ใน
สถานการณ์ใหม่ได้ ซ่ึงส่งผลให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจอย่างคงทน มีทักษะกระบวนการ มีคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ สามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็มความสามารถ เรียนรู้ได้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ และยังช่วยให้ผู้เรียนมี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีสูงข้ึน (สุคนธ์ สินธพานนท์, 2552: 31) สอดคล้องกับงานวิจัยของพิชญะ กันธิยะ
(2559) ทศี่ กึ ษาการพัฒนาทักษะการคดิ วิเคราะห์โดยใชก้ ารจดกั ารเรียนรูแ้ บบบันได 5 ขั้น วิชาวิทยาศาสตร์ของ
นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้แบบบันได 5 ขั้น มีผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนหลังได้รับการเรียนรู้สูงกว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01
รวมทง้ั งานวิจัยของธัญญารัตน์ สุขเกษม (2561) ที่ศึกษาผลการจดั การเรยี นรู้แบบกระบวนการเรียนรู้ 5 ขน้ั ตอน
(5STEPs) ร่วมกับการใช้คำถามเชิงวิเคราะห์ เรื่อง วิวัฒนาการท่ีมีต่อการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์และ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่เรียนด้วยกระบวนการเรยี นรู้
5 ขนั้ ตอน (5 STEPs) มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรยี นสูงก่อนเรยี นอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติที่ระดบั .05

จากเหตุผล ความสำคัญ และสภาพปัญหาดังท่ีกล่าวมา ทำให้ผู้วิจัยมีแนวคิดและสนใจท่ีจะพัฒนา
ช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน งานประดิษฐ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 เพื่อดึงดูด
และสรา้ งแรงจงู ในการทำชนิ้ งาน อยากทำชน้ิ งานและทำด้วยความต้งั ใจ ส่งเสริมให้ผเู้ รยี นไดล้ งมือปฏบิ ตั ิ มสี ว่ น
ร่วม มีปฏิสัมพันธ์กับเพ่ือนๆ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนๆ สร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง สามารถนำความรู้ไป
ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำวันได้ ผู้เรยี นได้นำเสนอผลงาน มีความภาคภูมใิ จในผลงานจากการทำงานและการร่วม
กระบวนการกลุ่ม โดยผู้วิจัยคาดว่าหากผู้เรียนที่ได้เรียนด้วยช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้
กระบวนการ GPAS 5 Steps แลว้ ผ้เู รยี นจะมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนที่สูงข้นึ ได้

วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั

การวจิ ัยครง้ั น้ี มีวตั ถุประสงค์ดงั ต่อไปน้ี
1. เพื่อเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกอ่ นและหลังเรียนดว้ ยช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกบั การจัดการ
เรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ที่มตี อ่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน งานประดษิ ฐ์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4
2. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้
กระบวนการ GPAS 5 Steps ที่มตี อ่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน งานประดิษฐ์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4

3

สมมติฐานในการวจิ ยั

การวจิ ัยครั้งนี้ มีสมมตฐิ านดังตอ่ ไปน้ี
1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนด้วยชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้
กระบวนการ GPAS 5 Steps ที่มีตอ่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน งานประดิษฐ์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4 หลังเรยี นสูง
กว่าก่อนเรียน
2. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5
Steps ทมี่ ตี อ่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน งานประดิษฐ์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 อยใู่ นระดับมาก

ขอบเขตของการวจิ ัย

เพือ่ ให้เป็นไปตามวตั ถปุ ระสงคท์ ี่ตงั้ ไว้ ผ้วู ิจยั ไดก้ ำหนดขอบเขตของการวจิ ัยไวด้ ังนี้
1. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายที่ใชใ้ นการวจิ ยั ครงั้ น้ี ได้แก่ นักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปี
การศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านหว้ ยลกึ สังกดั สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 จำนวน 22 คน

2. ขอบเขตเนือ้ หา
เนอ้ื หาทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัยครงั้ นี้ ได้แก่ เนือ้ หากลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4

สาระท่ี 1 การดำรงชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน ง 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานประดิษฐ์ จากหลักสูตร
สถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยลึก พุทธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช
2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ครอบคลุมตัวชี้วัด 4 ตัวชี้วัด คือ มฐ. ง 1.1 ป.4/1, มฐ. ง 1.1 ป.4/2,
มฐ. ง 1.1 ป.4/3 และ มฐ.ง 1.1 ป.4/4 ผวู้ ิจัยทำการวิเคราะห์ และแบ่งเปน็ เนอ้ื หายอ่ ย จำนวน 10 เรื่อง ดงั น้ี

2.1 ความสำคญั ของงานประดิษฐ์
2.2 กระบวนการของงานประดษิ ฐ์
2.3 ใบตองและงานประดิษฐ์จากใบตอง
2.4 กระดาษประเภทต่าง ๆ
2.5 เครอื่ งมอื วสั ดุ และอปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นงานประดิษฐ์
2.6 การประดษิ ฐก์ ระทงมุมเดียวดนุ กน้
2.7 การประดษิ ฐ์ของตกแต่งจากใบตอง (กรวยใส่ดอกไม)้
2.8 การประดษิ ฐ์ของใช้จากกระดาษ (กล่องใส่ของมหี ูห้ิว)
2.9 การประดิษฐข์ องใช้ของตกแต่งจากกระดาษ
2.10 การนำงานประดษิ ฐข์ องใช้ ของตกแตง่ จากใบตองและกระดาษไปใชป้ ระโยชน์

3. ตัวแปรทศ่ี ึกษา
การศึกษาในครงั้ นีผ้ ู้วจิ ยั ไดก้ ำหนดตัวแปรอสิ ระและตวั แปรตามดังนี้
3.1 ตวั แปรอิสระ ได้แก่
3.1.1 ชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกบั การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps

4

3.2 ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่
3.2.1 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรยี นที่เรียนดว้ ยชิน้ งานสรา้ งสรรค์ร่วมกับการจัดการ

เรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการ GPAS 5 Steps
3.2.2 ความพงึ พอใจของนกั เรียนท่ีมีตอ่ ชิ้นงานสรา้ งสรรค์รว่ มกับการจดั การเรียนรู้โดยใช้

กระบวนการ GPAS 5 Steps

4. ระยะเวลาท่ใี ชใ้ นการศกึ ษา
การศึกษาในคร้ังนี้ผู้วิจัยดำเนินการทดลองในภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ใชเ้ วลา 12 ช่ัวโมง

แบ่งเป็นทดสอบก่อนเรียนจำนวน 1 ช่ัวโมง จัดกิจกรรมการเรียนรู้จำนวน 10 ชั่วโมง และทดสอบหลังเรียน
จำนวน 1 ช่วั โมง รวมทง้ั สิน้ 12 ช่ัวโมง

นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ

ในการวิจัยคร้ังน้ี ผู้วิจัยได้กำหนดนิยามศัพท์เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย เพ่ือให้เกิดความเข้าใจ
ชัดเจนในการศึกษาไวด้ งั ต่อไปนี้

1. ช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps หมายถึง ใบงาน
หรือแบบฝึกท่ีครูสร้างขึ้น มีรปู แบบแปลกใหม่ เพ่ือมอบหมายให้นักเรียนทำในช่ัวโมงเรียนหรือเป็นการบ้าน เพ่ือ
ใช้เป็นสื่อประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ซ่ึงมีขั้นตอนการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ 5 ขั้น ได้แก่ 1) ข้ันสังเกต รวบรวมข้อมูล (Gathering) 2) ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้
(Processing) 3) ขั้นปฏบิ ตั ิและสรปุ ความรู้หลังการปฏิบตั ิ (Applying and Constructing the Knowledge) 4) ขน้ั
สอื่ สารและนำเสนอ (Applying the Communication Skill) และ 5) ขั้นประเมินเพือ่ เพิ่มคุณค่าบริการสังคม
และจติ สาธารณะ (Self-Regulating)

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนท่ีได้จากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ของนกั เรยี น เรอ่ื ง งานประดิษฐ์ กลุม่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 4

3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น หมายถึง เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง งาน
ประดิษฐ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้นเพ่ือทดสอบนักเรียนก่อน
เรียนและหลังเรียนด้วยช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps เป็น
ขอ้ สอบปรนัยชนดิ เลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ

4. งานประดิษฐ์ หมายถึง เนื้อหากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 สาระที่ 1
การดำรงชีวิตและครอบครัว หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานประดิษฐ์ จากหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยลึก
พุทธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช
2560)

5. ความพึงพอใจของนักเรียน หมายถึง ความรู้สึกของตนท่ีแสดงออกในลักษณะของความชอบ ความ
พอใจ ความสุขท่ีได้รับจากการเรียนด้วยช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการ GPAS 5
Steps ซ่ึงวัดโดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจ ท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้น ซ่ึงเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating
Scale) 5 ระดบั คอื มากท่สี ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยที่สดุ ตามลำดบั

6. นักเรียน หมายถึง นักเรียนท่ีกำลังศึกษาอยู่ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา
2564 โรงเรยี นบา้ นหว้ ยลึก สังกัดสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1

5

ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ

ในการวจิ ยั ครัง้ น้ี มีประโยชนท์ ่ไี ดจ้ ากการวิจยั ดงั ต่อไปน้ี
1. นักเรียนมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรือ่ ง งานประดษิ ฐ์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพสงู ขึ้น
2. นกั เรยี นมีความพึงพอใจตอ่ การเรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ
3. มีส่ือการเรียนการสอนเรื่อง งานประดิษฐ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพท่ีหลากหลาย
สร้างสรรคท์ ่ีชว่ ยพัฒนาการเรยี นรูข้ องนกั เรียน
4. เป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้
กระบวนการ GPAS 5 Steps ทเ่ี หมาะสมกบั ผู้เรียนในกลุ่มสาระการเรยี นรอู้ ื่นๆ
5. เป็นแนวทางสำหรับครูผู้สอน รวมทั้งผู้ที่เก่ียวข้องกับการเรียนการสอนเร่ืองงานประดิษฐ์ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้การงานอาชีพ สำหรับใช้ปรับปรุงวิธีการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสม เพ่ือให้
ผูเ้ รียนไดป้ ระโยชนส์ ูงสดุ จากการเรียนรู้ อนั จะนำไปสู่การแก้ปัญหาและนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวนั ได้

6

บทท่ี 2
เอกสารและงานวจิ ัยที่เกี่ยวขอ้ ง

การวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาค้นคว้าเอกสาร และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้โดย
ใช้ชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ท่ีมตี ่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
งานประดษิ ฐ์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4 รายละเอียดการศึกษา นำเสนอตามหัวขอ้ ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านห้วยลึก กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4
1.1 ทำไมตอ้ งเรยี นการงานอาชพี
1.2 เรียนรู้อะไรในการงานอาชพี
1.3 สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
1.4 คณุ ภาพผู้เรยี นเมอ่ื จบชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6
1.5 โครงสร้างรายวิชา
1.6 คำอธิบายรายวิชาและตัวชว้ี ดั
1.7 ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
1.8 ความสัมพนั ธร์ ะหว่างโครงสรา้ งหน่วยการเรยี นรู้ และตัวช้ีวดั

2. ชนิ้ งานสร้างสรรค์
2.1 ความหมายของชนิ้ งานสร้างสรรค์
2.2 หลักการกำหนดช้นิ งานหรือภาระงาน
2.3 หลกั ในการสรา้ งแบบฝึก
2.4 แนวทางการสรา้ งแบบฝึกหดั ที่ดี

3. การจัดการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการ GPAS 5 Steps
3.1 ขั้นตอนของกระบวนการเรียนรู้ 5 ขน้ั ตอน (GPAS 5 Steps)
3.2 พฤติกรรมของครูและนักเรยี นในแต่ละขั้นของกระบวนการเรยี นรู้ 5 ข้นั ตอน (5STEPs)
3.3 คณุ คา่ ของการใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 ขน้ั ตอน (5 STEPs)

4. ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน
4.1 ความหมายของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
4.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น
4.3 การสรา้ งแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น

5. ความพงึ พอใจ
5.1 ความหมายของความพงึ พอใจ
5.2 การวดั ความพึงพอใจ
5.3 การสร้างแบบสอบถามวดั ความพงึ พอใจ

6. งานวจิ ยั ที่เกย่ี วข้อง

7

หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยลึก กลมุ่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชีพ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4

สาระสำคัญในหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยลึก พุทธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) มีรายละเอียดดังนี้ (โรงเรียนบ้าน
ห้วยลกึ , 2563: 5-14)

1. ทำไมต้องเรยี นการงานอาชพี
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ มี

ทักษะพื้นฐานท่ีจำเป็นต่อการดำรงชีวิตและรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการดำรงชีวิต
และการอาชีพ มาใช้ประโยชน์ในการทำงานอย่างมีความคดิ สร้างสรรค์ และแข่งขันในสังคมไทยและสากล เห็น
แนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทำงาน และมเี จตคตทิ ี่ดีต่อการทำงาน สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้
อยา่ งพอเพียงและมีความสขุ

2. เรียนรู้อะไรในการงานอาชีพ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ มุ่งพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวม เพ่ือให้มีความรู้ความสามารถ

มีทักษะในการทำงาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมี
สาระสำคญั ดังน้ี

การดำรงชีวิตและครอบครัว เป็นสาระเก่ียวกับการทำงานในชีวิตประจำวัน ช่วยเหลือตนเอง
ครอบครัวและสังคมได้ในสภาพเศรษฐกิจท่ีพอเพียง ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม เน้นการปฏิบัติจรงิ จนเกิดความมั่นใจและ
ภมู ิใจในผลสำเรจ็ ของงาน เพื่อใหค้ ้นพบความสามารถ ความถนดั และความสนใจของตนเอง

การอาชีพ เป็นสาระท่ีเก่ียวข้องกับทักษะท่ีจำเป็นต่ออาชีพ เห็นความสำคัญของคุณธรรม
จริยธรรม และเจตคติที่ดีต่ออาชีพ เห็นคุณค่าของอาชีพสุจริต และเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพอย่าง
เหมาะสม

3. สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
สาระที่ 1 การดำรงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มที ักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการ

จัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำงานร่วมกันและทักษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสัยในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และส่ิงแวดล้อมเพ่ือการดำรงชีวิตและ
ครอบครวั

สาระที่ 2 การอาชพี
มาตรฐาน ง 2.1 เข้าใจ มีทกั ษะที่จำเป็น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ มีคุณธรรม
และมีเจตคติทด่ี ตี อ่ อาชีพ

4. คณุ ภาพผเู้ รียนเม่ือจบช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6
เข้าใจการทำงานและปรับปรุงการทำงานแต่ละข้ันตอน มีทักษะการจัดการ ทักษะการทำงาน

ร่วมกัน ทำงานอย่างเป็นระบบและมีความคิดสร้างสรรค์ มีลักษณะนิสัยการทำงานท่ีขยันอดทน รับผิดชอบ
ซื่อสัตย์ มีมารยาทและมีจิตสำนึกในการใช้น้ำใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัดและคุ้มค่า รู้และเข้าใจเกี่ยวกับอาชีพ
รวมทั้งมคี วามรู้ ความสามารถและคุณธรรมท่สี มั พันธ์กับอาชพี

8

5. โครงสร้างรายวชิ า
กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี กำหนดโครงสรา้ งรายวิชา ไวด้ ังน้ี

ตาราง 1 โครงสรา้ งรายวิชากลุม่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี

ชั้นปีท่ี กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ รหัสวชิ า จำนวนชั่วโมง/ปี

1 การงานอาชีพ ง11101 40
2 การงานอาชีพ ง12101 40
3 การงานอาชพี ง13101 40
4 การงานอาชีพ ง14101 40
5 การงานอาชีพ ง15101 40
6 การงานอาชพี ง16101 40

ในการศึกษาคร้ังนี้ผู้วิจัยเลือกใช้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 รหัสวิชา
ง14101 ภาคเรียนท่ี 2

6. คำอธิบายรายวชิ าและตวั ช้ีวดั
คำอธิบายรายวชิ าและตัวช้ีวัดกลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 มดี งั น้ี
วเิ คราะห์และอธิบายเหตุผลในการดูแลรกั ษาของใช้ส่วนตวั การจดั ตู้เสอื้ ผ้า การจัดโต๊ะเขยี นหนงั สือ

การจัดกระเป๋านักเรียน การปลูกไม้ดอกหรือไม้ประดับ การซ่อมแซมอุปกรณ์ เคร่ืองมือและเคร่ืองใช้ การ
ประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่งจากใบตองและกระดาษ การจัดเก็บเอกสารส่วนตัว มีมารยาทในการปฏิบัติตน ใน
การต้อนรบั บิดามารดาหรือผู้ปกครองในโอกาสต่าง ๆ การรับประทานอาหาร การใช้ห้องเรียน ห้องน้ำและห้อง
ส้วม อธบิ ายความหมายและความสำคัญของอาชีพ

ฝึกปฏิบัติดูแลรักษาของใช้ส่วนตัว จัดตู้เสื้อผ้า จัดโต๊ะเขียนหนังสือ จัดกระเป๋านักเรียน ซ่อมแซม
อุปกรณ์ เครื่องมือและเคร่ืองใช้ การปลูกไม้ดอกหรือไม้ประดับ ประดิษฐ์ของใช้ ของตกแต่งจากใบตองและ
กระดาษ จัดเก็บเอกสารส่วนตัว โดยใช้ทักษะกระบวนการทำงานอย่างเป็นขั้นตอน การจัดการกระบวนการ
แกป้ ัญหา การทำงานร่วมกันและการแสวงหาความรู้ ใชร้ ะบบปฏิบัติ มีความร้คู วามเข้าใจในการทำงาน และรูจ้ ัก
สร้างองค์ความรดู้ ว้ ยตนเอง

เพื่อมีเจตคติที่ดีต่อการทำงาน มีมารยาท ขยัน อดทน รับผิดชอบ และซื่อสัตย์ในการทำงาน ปลูก
จติ สำนึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่า สร้างเจตคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพท่ีสุจริต
ตลอดจนนำความร้ไู ปใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้

มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
ง 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4
ง 2.1 ป.4/1
รวม 2 มาตรฐาน 5 ตัวชี้วัด

9

7. ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4

รายละเอยี ดดงั ตาราง 2

ตาราง 2 สาระ มาตรฐาน ตัวชีว้ ัด และสาระการเรยี นรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชพี
ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4

สาระ/ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

สาระท่ี 1 การดำรงชวี ิตและครอบครัว • การทำงาน เช่น
- การดแู ลรักษาของใชส้ ่วนตวั
มาตรฐาน ง 1.1
1. อธิบายเหตุผลในการทำงานใหบ้ รรลุ - การจดั ต้เู ส้อื ผ้า โตะ๊ เขียนหนงั สือ และกระเปา๋ นักเรยี น
- การปลูกไม้ดอก หรอื ไมป้ ระดับ
เปา้ หมาย - การซ่อมแซมวสั ดุ อุปกรณ์ และเคร่ืองมอื
- การประดษิ ฐ์ของใช้ ของตกแตง่ จากใบตอง และกระดาษ
2. ทำงานบรรลเุ ป้าหมายทว่ี างไว้ อย่าง • - การจดั เกบ็ เอกสารส่วนตัว
เป็นข้ันตอน ดว้ ยความขยนั อดทนรบั ผิดชอบ มารยาท เช่น
และซื่อสัตย์ - การต้อนรับบิดามารดาหรอื ผูป้ กครองในโอกาสต่าง ๆ
- การรบั ประทานอาหาร
3. ปฏิบตั ติ นอยา่ งมีมารยาทในการทำงาน - การใชห้ อ้ งเรียน ห้องน้ำ และหอ้ งสว้ ม
4.ใช้พลังงานและทรพั ยากรในการทำงาน
อย่างประหยดั และคุ้มคา่

สาระท่ี 2 การอาชพี

มาตรฐาน ง 2.1

1.อธบิ ายความหมายและความสำคัญของอาชีพ • ความหมายและความสำคญั ของอาชพี

จากตารางผู้วิจัยเลือกสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดในสาระที่ 1 การดำรงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน ง 1.1 ตัวชว้ี ัด ง 1.1 ป.4/1, ง 1.1 ป.4/2, ง 1.1 ป.4/3 และ ง 1.1 ป.4/4 เพื่อใช้ในการศกึ ษาวิจยั คร้ังนี้

8. ความสัมพันธร์ ะหว่างโครงสร้างหน่วยการเรยี นรู้ และตวั ช้ีวดั
ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 อธิบายด้วยตาราง 3 - 4 ดังนี้

ตาราง 3 โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4

ลำดับ ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้/ตวั ชีว้ ดั (ชว่ั โมง) คะแนน

1 งานบ้าน ง 1.1 ป.4/1 1. ของใชส้ ว่ นตวั เปน็ ส่ิงของเครื่องใชเ้ ฉพาะบคุ คล 8 20

ง 1.1 ป.4/2 ท่ีไม่ควรใชร้ ว่ มกบั ผู้อ่ืน การใชง้ านของใชส้ ว่ นตวั อย่าง

ง 1.1 ป.4/3 ถกู วธิ ี และการทำความสะอาดของใชส้ ว่ นตวั เป็นประจำ

ง 1.1 ป.4/4 เพื่อความสะอาดและถูกสุขอนามัย ใช้งานได้อยา่ งคมุ้ คา่

และประหยดั คา่ ใชจ้ ่ายในการซอื้ ใหม่

10

ตาราง 3 (ต่อ)

ลำดับ ชื่อหน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
ท่ี เรียนรู้ เรียนรู้/ตัวชวี้ ดั (ชวั่ โมง) คะแนน

2. การจัดเกบ็ สง่ิ ของเครือ่ งใช้ควรทำอย่างเป็น

กระบวนการ เพือ่ ให้การทำงานมปี ระสิทธิภาพ

ประหยดั เวลา ประหยดั แรงงาน และผลท่ไี ดม้ ีคุณภาพ

3. ชวี ติ ประจำวนั ของมนษุ ย์ตอ้ งเกยี่ วข้องหรอื

พึง่ พาอาศยั ผอู้ น่ื เชน่ สมาชิกในครอบครัว ครูและเพือ่ น

ดังนั้น การมมี ารยาทจะทำใหอ้ ยู่รว่ มกบั ผอู้ ่นื ในสังคมได้

อย่างมคี วามสุข

4. พลังงานและทรัพยากรทีใ่ ชใ้ นการทำงานและ

การดำเนินชีวติ ประจำวนั พลงั งานและทรพั ยากรเป็นส่งิ

ทมี่ วี ันหมดไป หรอื เสอื่ มสภาพได้ ดังนัน้ สมาชิกทกุ คน

ในครอบครัวจงึ ควรร่วมมอื ร่วมใจในการใช้พลังงานและ

ทรัพยากรเหลา่ นอ้ี ย่างประหยดั คมุ้ คา่
1. ไม้ดอก ไมป้ ระดับเป็นพืชท่ีมดี อก ลำต้น และ
2 งานเกษตร ง 1.1 ป.4/1 ใบท่ีสวยงามตามธรรมชาติ นิยมปลูกท้ังในภาชนะและ 8 20
ง 1.1 ป.4/2 ปลกู ในแปลง ซ่ึงพบเห็นได้ท่ัวไปตามอาคารบา้ นเรือน
ง 1.1 ป.4/3 และสวนสาธารณะ ไม้ดอก ไม้ประดบั ชว่ ยเพิ่มสสี นั
ง 1.1 ป.4/4 และสร้างความสดชื่นใหแ้ ก่ผู้พบเหน็

2. การใชเ้ คร่ืองมือและอุปกรณ์ปลกู ไมด้ อก ไม้
ประดบั ใหเ้ หมาะสมกบั ลักษณะงานและเกบ็ รักษา
อยา่ งถูกวธิ จี ะช่วยให้งานเสรจ็ เร็ว ผลงานมีคุณภาพ
และยดื อายุการใชง้ านของเครื่องมือและอปุ กรณ์ให้
ยาวนานขึ้น จึงช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้อใหม่ได้
3. การปลูกไมด้ อกและการปลูกไม้ประดบั ควร
ปลูกตามขัน้ ตอนและกระบวนการปลูกเพื่อให้ได้ผล
ผลิตทีม่ ีคุณภาพ ควรศึกษาลักษณะการเจริญเตบิ โต
ของไม้ดอกและไม้ประดับแต่ละชนิด ซ่ึงการเตรียม
วสั ดอุ ุปกรณ์ ขั้นตอนการปลูก และการดูแลรักษาท่ี
ถกู ต้องก่อนลงมือปฏิบัติ จะได้ผลผลิต ท่ดี ี ชว่ ย
ประหยดั เวลา ประหยัดแรงงาน และประหยัด
คา่ ใชจ้ ่าย
3 งานช่าง ง 1.1 ป.4/1 1. หลักการซอ่ มแซมอุปกรณ์ เครอ่ื งมือและ 7 18

ง 1.1 ป.4/2 เครือ่ งใช้ ควรศึกษาวธิ ีการซ่อมแซมที่ถกู ต้องก่อนลงมือ

ง 1.1 ป.4/3 ปฏบิ ัติ ซ่อมแซมทันทีเมื่อพบร่องรอยการชำรุด เลอื กใช้

ง 1.1 ป.4/4 เครอ่ื งมอื ในการซ่อมแซมใหเ้ หมาะสม ปฏบิ ัตงิ านด้วย

ความไมป่ ระมาท ตรวจสอบสภาพเครอ่ื งมือและเคร่อื งใช้

หลงั การซ่อมแซมทกุ ครงั้ หากการซอ่ มแซมอปุ กรณ์มี

ความซับซอ้ นควรแจ้งผ้ปู กครองให้ซอ่ มแซม

11

ตาราง 3 (ต่อ)

ลำดับ ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
ท่ี เรยี นรู้ เรียนรู/้ ตวั ชีว้ ัด (ช่วั โมง) คะแนน
2. อปุ กรณ์ เคร่ืองมือและเครื่องใชท้ ่ีใชง้ านบ่อยมกั
3 งานชา่ ง ง 1.1 ป.4/1 ชำรุด และตอ้ งซ่อมแซมเปน็ ประจำ และการซ่อมแซม 7 18
ง 1.1 ป.4/2 ควรเลอื กวิธที ี่เหมาะสมกบั ลกั ษณะการชำรุด
ง 1.1 ป.4/3
ง 1.1 ป.4/4 3. การซอ่ มแซมเป็นการใชเ้ วลาว่างให้เกิดประโยชน์
ประหยัดคา่ ใชจ้ ่าย อปุ กรณ์และเคร่ืองมอื ใช้งานได้อย่าง
ปลอดภัย ฝกึ ทักษะในการซอ่ มแซมอุปกรณ์ เครอ่ื งมอื
และเครือ่ งใช้ และพัฒนาฝีมอื ไปสูก่ ารประกอบอาชีพได้
4. ตรวจสอบสภาพของวสั ดุ อุปกรณ์และเคร่อื งมือ
ท่จี ะใชใ้ นการซ่อมแซม หากหมดอายหุ รอื ชำรดุ ไมค่ วร
นำมาใช้ มคี วามระมัดระวงั และไม่ประมาทขณะใช้วสั ดุ
อปุ กรณ์และเคร่ืองมอื

4 งานประดิษฐ์ ง 1.1 ป.4/1 1. การทาํ งานประดิษฐ์ควรปฏบิ ัติตามหลักการ 10 25
ปฏิบตั เิ บ้ืองต้นในงานประดษิ ฐ์ เปน็ การช่วยพัฒนา
ง 1.1 ป.4/2 ความคิดสร้างสรรค์ ทําให้เกิดงานประดษิ ฐร์ ปู แบบ
ง 1.1 ป.4/3 ใหม่ ๆ ท่ีสวยงาม เพ่ือประโยชน์ใชส้ อยและสามารถ
ง 1.1 ป.4/4 สร้างรายได้ใหแ้ ก่ผู้ประดิษฐเ์ มื่อนําไปจําหน่าย

2. กระบวนการของงานประดิษฐ์เปน็ การ
ทํางานตามขนั้ ตอนทําให้งานเสรจ็ เร็วและมคี ุณภาพ
สามารถนํากระบวนการของงานประดษิ ฐ์ไปใชก้ ับ
การประดิษฐส์ ง่ิ ของเคร่ืองใช้ต่าง ๆ ได้ เพื่อฝกึ ความ
เป็นระบบระเบียบในการทาํ งาน รู้จกั การทำงานเปน็
ข้นั ตอนเพ่อื ให้งานมีคุณภาพ
3. การประดิษฐข์ องใช้และของตกแต่งจาก
ใบตองชว่ ยประหยัดค่าใช้จา่ ย รจู้ กั ใชเ้ วลาว่างให้เปน็
ประโยชน์ เกดิ ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ เกิดความ
ภาคภูมิใจท่ีสามารถประดิษฐ์ของใช้ ของตกแตง่ ได้
ดว้ ยตนเองและช่วยอนุรักษส์ ิง่ แวดล้อม
4. การประดิษฐ์ของใชแ้ ละของตกแต่งจาก
กระดาษ ทําให้เกิดความภาคภูมใิ จทป่ี ระดิษฐส์ ิ่งของ
ด้วยตนเอง พฒั นาความคิดสร้างสรรค์ ใชเ้ วลาว่างให้
เกิดประโยชน์ ประหยัดค่าใช้จ่าย ฝึกความอดทนใน
การประกอบชิ้นงาน และสามารถพฒั นาเปน็ อาชีพได้
5 งานธรุ กิจและ ง 1.1 ป.4/1 1. การจดั เก็บเอกสารส่วนตวั อย่างถกู วธิ ีจะทำ 7 17
ใหเ้ อกสารมรี ะเบียบ เรียบร้อย หลักฐานไมส่ ูญหาย
อาชีพ ง 1.1 ป.4/2 ค้นหาง่าย และหยิบใชไ้ ดส้ ะดวก
ง 2.1 ป.4/1
2. อาชีพเป็นการทำมาหากินหรือทำกจิ กรรม
ที่ก่อให้เกดิ ผลผลติ และรายได้ ซ่ึงมคี วามสำคัญทง้ั
ต่อตนเอง ต่อทอ้ งถิน่ และต่อประเทศชาติ ดงั นั้น
ทุกคนจงึ ต้องมีการประกอบอาชีพ

รวมตลอดทั้งปี 40 100

12

ตาราง 4 ความสมั พันธร์ ะหว่างหน่วยการเรียนรู้กับตัวชวี้ ดั กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชพี ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4

หนว่ ยการเรียนรู้ ตวั ชี้วัด

1. งานบ้าน ง 1.1 ป.4/1 อธิบายเหตุผลในการทำงานใหบ้ รรลุเป้าหมาย

ง 1.1 ป.4/2 ทำงานบรรลุเปา้ หมายท่วี างไว้ อยา่ งเปน็ ขั้นตอน ดว้ ยความขยนั อดทน

รบั ผิดชอบ และซ่ือสตั ย์

ง 1.1 ป.4/3 ปฏิบตั ิตนอย่างมีมารยาทในการทำงาน

ง 1.1 ป.4/4 ใช้พลงั งานและทรัพยากรในการทำงานอย่างประหยัด และคมุ้ ค่า

2. งานเกษตร ง 1.1 ป.4/1 อธบิ ายเหตผุ ลในการทำงานให้บรรลเุ ปา้ หมาย

ง 1.1 ป.4/2 ทำงานบรรลเุ ป้าหมายทว่ี างไว้ อยา่ งเป็นขัน้ ตอน ด้วยความขยนั อดทน

รบั ผิดชอบ และซื่อสัตย์

ง 1.1 ป.4/3 ปฏิบัตติ นอยา่ งมีมารยาทในการทำงาน

ง 1.1 ป.4/4 ใชพ้ ลังงานและทรพั ยากรในการทำงานอย่างประหยัด และคมุ้ คา่

3. งานช่าง ง 1.1 ป.4/1 อธิบายเหตผุ ลในการทำงานให้บรรลเุ ป้าหมาย

ง 1.1 ป.4/2 ทำงานบรรลเุ ป้าหมายทว่ี างไว้ อย่างเป็นขั้นตอน ดว้ ยความขยัน อดทน

รบั ผิดชอบ และซ่ือสตั ย์

ง 1.1 ป.4/3 ปฏบิ ัติตนอยา่ งมีมารยาทในการทำงาน

ง 1.1 ป.4/4 ใชพ้ ลงั งานและทรพั ยากรในการทำงานอยา่ งประหยดั และคุ้มค่า

4. งานประดิษฐ์ ง 1.1 ป.4/1 อธิบายเหตผุ ลในการทำงานให้บรรลุเปา้ หมาย

ง 1.1 ป.4/2 ทำงานบรรลุเปา้ หมายทว่ี างไว้ อยา่ งเป็นขั้นตอน ด้วยความขยัน อดทน

รบั ผิดชอบ และซ่ือสตั ย์

ง 1.1 ป.4/3 ปฏิบัตติ นอยา่ งมีมารยาทในการทำงาน

ง 1.1 ป.4/4 ใชพ้ ลังงานและทรพั ยากรในการทำงานอยา่ งประหยดั และคุ้มค่า

5. งานธุรกิจและ ง 1.1 ป.4/1 อธบิ ายเหตุผลในการทำงานให้บรรลุเปา้ หมาย

อาชีพ ง 1.1 ป.4/2 ทำงานบรรลุเปา้ หมายท่วี างไว้ อย่างเปน็ ขน้ั ตอน ด้วยความขยนั อดทน

รบั ผดิ ชอบ และซื่อสตั ย์

ง 2.1 ป.4/1 อธิบายความหมายและความสำคญั ของอาชพี

สำหรบั การศกึ ษาในครงั้ นี้ ผู้วิจยั ใชห้ น่วยการเรียนร้ทู ี่ 4 เรื่อง งานประดษิ ฐ์

ช้ินงานสรา้ งสรรค์

1. ความหมายของชน้ิ งานสร้างสรรค์
มผี ู้ให้คความหมายของชน้ิ งานและสร้างสรรคไ์ วต้ ่างๆ ดงั น้ี
ช้ินงาน หมายถึง ช้ินงานหรือภาระงานซ่ึงเป็นหลักฐาน/ร่องรอย ว่านักเรียนบรรลุมาตรฐานการ

เรยี นรู้/ตัวชีวัดในหนว่ ยการเรียนรูน้ ้ันๆ อาจเกดิ จากครูผูส้ อนกำหนดให้ หรืออาจใหผ้ ู้เรยี นรว่ มกนั กำหนดขึ้นจาก
การวเิ คราะหต์ ัวชวี้ ัดในหนว่ ยการเรยี นรู้ (https://krukohkhan.wordpress.com/2013/)

13

ช้ินงาน หมายถงึ ผลงาน งาน (https://dictionary.sanook.com/search/dict-th-en-lexitron/)
สร้างสรรค์ หมายถึง ประดิษฐ์,รังสรรค์,จัดทำ,สร้าง (https://dictionary.sanook.com/search/dict-th-
en-lexitron/)
สร้างสรรค์ หมายถงึ สรา้ งให้มใี ห้เปน็ ข้นึ (ราชบัณฑติ ยสถาน, 2542: 1134)
สรุปช้ินงานสร้างสรรค์ในความหมายของผู้วิจัย หมายถึง ใบงานหรือแบบฝึกท่ีครูสร้างขึ้น มีรูปแบบ
แปลกใหม่ เพ่ือมอบหมายให้นักเรยี นทำในชวั่ โมงเรยี นหรือเป็นการบา้ น

2. หลักการกำหนดช้นิ งานหรือภาระงาน
หลักการกำหนดช้นิ งานหรือภาระงาน มีดังนี้
1. ดูจากมาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชว้ี ดั ในหนว่ ยการเรียนรู้ ระบไุ ว้ชดั เจนหรอื ไม่
2. ภาระงานหรือชิ้นงานครอบคลมุ ตวั ชี้วดั ทีร่ ะบุหรอื ไม้ อาจจะคดิ จากเพ่ือนครู หรือ ผู้เรียน หรอื

อาจปรับเพ่ิมกิจกรรมให้เกิดชนิ้ งานหรอื ภาระงานทค่ี รอบคลมุ
3. ชิ้นงานชนิ้ หนงึ่ หรือภาระงาน 1 อยา่ ง อาจเชื่อมโดยงกับมาตรฐานกาเรียนรู้เดยี วกันและ/หรอื

ตวั ช้ีวัดต่างมาตรฐานการเรยี นรูก้ นั ได้
4. ควรเลือกตัวชว้ี ัดที่จะใหเ้ กิดงานทจ่ี ะส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รยี นไดพ้ ฒั นาสตปิ ญั ญาหลายๆดา้ นพรอ้ มกัน

เชน่ การแสดงละคร บทบาทสมมตุ ิ เคล่ือนไหวร่างกาย ดนตรี เปน็ ตน้
5. เลอื กงานท่ผี ู้เรียนมโี อกาสเรียนรู้และทำงานท่ีชอบใช้วิธีทำทีห่ ลากหลาย
6. เป็นงานทท่ี ำให้ทางเลือกในการประเมินผลทีห่ ลากหลาย โดยบุคคลตา่ งๆ เชน่ ผูป้ กครอง ผสู้ อน

ตนเอง เป็นต้น
ชิน้ งานหรอื ภาระงานท่แี สดงใหเ้ หน็ ถึงพัฒนาการของผู้เรยี นที่ไดร้ ับการพฒั นาการเรียนรู้ของแตล่ ะ

เรื่อง หรอื แตล่ ะขั้นตอนของการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้นำสู่การประเมินเพ่ือปรบั ปรุงเพ่ิมพูนคุณภาพผเู้ รียน/วธิ ี
สอนสงู ข้ึนอย่างต่อเนื่อง

3. หลกั ในการสร้างแบบฝึก
การสรา้ งแบบฝึก มีหลกั ดังต่อไปนี้
1. ใชห้ ลักจติ วิทยาการเรียนรู้ของเด็กแตล่ ะวัน เช่น แบบฝกึ สำหรับเด็กเลก็ หรือระดบั อนบุ าลและ

ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 – 2 เน้นภาพมากกวา่ คำ เด็กวยั 9 – 11 ขวบ จะสนใจเรืองราว เนอ้ื หาสาระประเภทสาร
คดี เร่ืองราวจากตำรา ตำนาน คำบอกเลา่ มากกว่านทาน วัย 11 – 16 ปี ชอบอา่ นเรื่องยาว ๆ ต้องการเน้ือหา
สาระมากกว่ารูปภาพเป็นต้น

2. ใชส้ ำนวนภาษาง่าย ๆ โดยเฉพาะคำสั่งต้องกระชบั และชัดเจนและไม่ใชศ้ พั ทย์ ากเกนิ ไป
3. ใหค้ วามหมายต่อชีวิต หมายถึงแบบฝึกน้ันมีวัตถุประสงค์ท่ชี ดั เจนวา่ ต้องการให้นักเรยี น ฝึกเพื่อ
อะไร ให้ข้อคดิ คตธิ รรมอะไรแฝงอยู่
4. ฝกึ ใหค้ ดิ ไดเ้ ร็วและสนุก ปกติหนังสอื เรียนมกั จะสรา้ งความจำเจ ทำให้นักเรยี นเบื่อหน่ายได้ง่าย
ดังนน้ั แบบฝกึ จะต้องแตกต่างไปจากหนังสือเรยี น หรอื แบบฝกึ หัดในหนงั สอื เรียน โดยเนน้ ให้นกั เรยี นได้คดิ ให้
เรว็ และสนกุ โดยมเี กม หรือมีกิจกรรมหลากหลาย
5. ปลกุ ความสนใจ ดว้ ยรปู ภาพและรปู แบบท่ีแปลกและแตกตา่ งจากทนี่ ักเรยี นเคยเห็น
6. เหมาะสมกบั วยั และความสามารถของนักเรียน แบบฝึกที่ดีไม่ควรมากเกนิ ไป ทำให้นักเรยี นเบอ่ื
และไมส่ นใจและไม่ควรมีกิจกรรมซ้ำ ๆ
7. อาจศึกษาด้วยตนเอง ตามลำพัง

14

4. แนวทางการสร้างแบบฝึกหดั ที่ดี
แนวทางการสรา้ งแบบฝึกหัดท่ดี ี ควรคำนงึ กฎดังต่อไปนี้
1. กฎความใกล้ชิด หมายถงึ ควรใช้สิ่งเรา้ และการตอบสนองเกิดขึน้ ในเวลาใกล้เคยี งกัน จะสร้าง

ความพอใจให้แก่ผู้เรียน
2. กฎการฝึกหัด คอื การให้ผู้เรียนไดท้ ำซำ้ ๆ กัน เพ่ือชว่ ยสรา้ งความร้คู วามเข้าใจท่ีแมน่ ยำ
3. กฎแห่งผล คือ การท่ีผู้เรียนไดท้ ราบผลการทำงานของตนดว้ ยการเฉลยคำตอบ จะช่วยให้ผู้เรยี น

นทราบข้อบกพร่องและสรา้ งความพอใจ
4. กฎการจงู ใจ การจดั แบบฝึกหดั ควรเรยี งลำดบั จากแบบฝกึ ง่าย ๆ สั้น ๆ ไปสเู่ ร่อื งยากและยาว

ขึ้นและควรมภี าพประกอบ
การเขยี นแบบฝึก สามารถเขียนได้หลายรปู แบบซ่ึงข้นึ อยู่กับลกั ษณะวชิ าสาระสำคัญและดประสงค์

ของบทเรียนนัน้ รปู แบบของแบบฝกึ ได้แก่
1. มีคำสงั่ หรอื คำแนะนำใหท้ ำกิจกรรมใดกิจกรรมหน่ึง
2. กำหนดให้ทำกจิ กรรม โดยกำหนดขอบเขตหรอื วสั ดอุ ุปกรณใ์ ห้
3. ให้โยงเส้น เตมิ คำ เตมิ ข้อความ จับคู่ วาดรูป
4. ให้ตอบคำถาม เช่น ตอบส้ัน ๆ ตอบยาว ๆ อธิบายความแสดงความคิดเห็น
5. แบบเตมิ คำตอบในชอ่ งวา่ งเป็นต้น

การจดั การเรยี นรโู้ ดยใชก้ ระบวนการ GPAS 5 Steps

1. ขน้ั ตอนของกระบวนการเรียนรู้ 5 ขนั้ ตอน (GPAS 5 Steps)
กระบวนการเรียนรู้แบบบนั ได 5 ข้ันตอน (QSCCS) ประกอบดว้ ยขั้นตอนและกจิ กรรมการ เรียนรู้

ดงั ตอ่ ไปนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2555)
1. การตงั้ คำถาม/สมมตฐิ าน (Hypothesis formulation) เป็นนการฝึกใหน้ ักเรยี นรูจ้ ักคิด สังเกตตง้ั

คำถามอย่างมีเหตผุ ลและสร้างสรรค์ซง่ึ จะส่งเสริมให้นกั เรียนเกิดการเรยี นรูใ้ นการตง้ั คำถาม (Learning to
question)

2. การสบื คน้ ความร้แู ละสารสนเทศ (Searching to information) เป็นการฝึกแสวงหาความรู้
ขอ้ มูล และสารสนเทศ จากแหลง่ เรียนรูท้ ี่หลากหลาย เช่น ห้องสมดุ อินเทอร์เน็ต หรอื จากการฝึกปฏิบัติ ทดลอง
เป็นตน้ ซ่ึงจะสง่ เสริมให้เกดิ การเรียนรูใ้ นการแสวงหาความรู้ (Learning to search)

3. การสรา้ งองค์ความรู้ (Knowledge formation) เป็นการฝึกให้นกั เรียนนำความรู้ และ
สารสนเทศท่ีไดจ้ ากการแสวงหาความรมู้ าถกแถลง อภปิ ราย เพอ่ื นำไปสู่การสรุปและสรา้ งองค์ความรู้ (Learning
to construct)

4. การสือ่ สารและนำเสนออย่างมปี ระสทิ ธิภาพ (Effective communication) เป็นการฝึกให้
นักเรียนนำความรทู้ ี่ไดม้ าสือ่ สารอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ซง่ึ จะส่งเสริมให้นักเรยี นเกิดการเรียนรู้ และมีทักษะในการ
ส่ือสาร (Learning to communicate)

5. การบรกิ ารสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service) เป็นการน าความรสู้ กู่ ารปฏบิ ัติ ซึง่ นกั เรยี น
จะต้องเช่อื มโยงความรไู้ ปสูก่ ารท าประโยชน์ให้กับสงั คมและชมุ ชนรอบตวั ตามวุฒิ ภาวะของนักเรยี น และจะ
ส่งผลให้นักเรยี นมีจติ สาธารณะและบริการสังคม (Learning to serve)

15

กระบวนการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ประกอบดว้ ยขั้นตอนดังน้ี (สถาบนั พัฒนาคุณภาพวิชาการ
(พว.), 2564: 4-8)

1. ขนั้ สงั เกต รวบรวมข้อมลู (Gathering)
รวบรวมขอ้ มูลเพ่ือสสร้างฐานการเรียนรู้ กระตนุ้ อารมณ์ต่ืนตัว สรา้ งความรู้สกึ เชิงบวก

สนุกสนาน น่าสนใจ ทำให้สมองต่ืนตวั พร้อมเรียนรู้
2. ขน้ั คิดวเิ คราะหแ์ ละสรปุ ความรู้ (Processing)
สมองจะเกิดการเรียนรทู้ นั ทเี มือ่ ประเมินไดว้ ่า เรอ่ื งที่กาํ ลังเรียนมีความหมายและสำคัญต่อการ

ดำเนินชวี ิต ดงั น้ัน ในการสอนควรใหผ้ ู้เรียนคิดประเมนิ เพ่ือสร้างความหมายของความรู้ในมิติคุณธรรม จรยิ ธรรม
และคา่ นิยมหลัก ๑๒ ประการ

ผูเ้ รียนจะกระตือรือร้นเมื่อร่างกายไดเ้ คล่อื นไหว มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ ทำให้สมอง
พฒั นา มีศักยภาพในการคดิ มากข้ึน สมองจะใช้การคดิ หาความสัมพันธ์ของส่งิ ต่าง ๆ เพ่อื เปรยี บเทียบ จัดกลุ่ม
และสร้างเป็นหลักการของตนเอง โดยใช้แผนภาพมาชว่ ยจัดความคิดเหล่านใ้ี หเ้ ป็นระบบชัดเจน

3. ขน้ั ปฏบิ ัตแิ ละสรปุ ความร้หู ลังการปฏิบัติ (Applying and Constructing the Knowledge)
การนําหลกั การที่สร้างขน้ึ ไปปฏิบตั ิ ลงมือทำ ลงมือแก้ปัญหา ทำใหส้ มองต่อยอดความรู้ทมี่ ีอยู่

เดมิ เกิดความรู้ที่ซบั ซ้อนข้ึน ย่งิ ปฏิบัติเปน็ ประจำจะเกดิ ความชําานาญ กลายเป็นความเข้าใจที่คงทน ซ่ึงเรยี กว่า
องค์ความรู้ หรือปัญญา

4. ข้นั สือ่ สารและนำเสนอ (Applying the Communication Skill)
การถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรสู้ ึก โดยใชภ้ าษา แสดงถึงความสามารถในการสอ่ื สารหรอื

ปญั ญาด้านภาษา กระบวนการน้ที ำใหผ้ ู้เรียนได้แลกเปล่ยี นความรู้ ทศั นคติซ่งึ กันและกนั ถา้ นําเสนอโดยใช้
คอมพิวเตอร์หรือสอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ผเู้ รียนก็จะได้พฒั นาทกั ษะดา้ นเทคโนโลยีดว้ ย

การส่ือสารและนําาเสนอเปน็ การสร้างอารมณ์เชงิ บวกได้อยา่ งดี เมื่อผู้อื่นชน่ื ชอบผลงานของตน
ชื่นชมความสำเร็จของตน ผู้เรียนจะเกดิ ความภาคภูมใิ จ เกิดแรงบันดาลใจที่จะสรา้ งสรรคผ์ ลงานต่อๆ ไป

5. ขน้ั ประเมินเพ่ือเพ่ิมคุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Self-Regulating)
เมื่อสมองของผูเ้ รยี นไดร้ บั การเสรมิ แรงเชิงบวกอยา่ งสม่ำเสมอจากสิง่ ท่ที ำ จะกระตนุ้ ใหค้ ิด

สรา้ งสรรคส์ ่ิงทเี่ ปน็ ประโยชนเ์ พิ่มข้นึ อีก หล่อหลอมเปน็ นิสยั แห่งการคิดการกระทำในตวั ผ้เู รียน สามารถขยายผล
ไปสสู่ ังคมได้ตามมาตรฐานสากลและวสิ ยั ทัศน์ในศตวรรษที่ 21

สรปุ ขน้ั ตอนของกระบวนการเรยี นรู้ 5 ขน้ั ตอน (GPAS 5 Steps) ประกอบด้วย 1) ขัน้ สังเกต
รวบรวมขอ้ มูล 2) ขนั้ คิดวเิ คราะห์และสรุปความรู้ 3) ข้นั ปฏิบัตแิ ละสรุปความรูห้ ลงั การปฏิบัติ 4) ขน้ั สื่อสาร
และนำเสนอ และ 5) ข้นั ประเมนิ เพื่อเพิ่มคุณค่าบรกิ ารสังคมและจติ สาธารณะ

2. พฤตกิ รรมของครูและนักเรยี นในแต่ละขน้ั ของกระบวนการเรยี นรู้ 5 ขัน้ ตอน (5STEPs)
ในการจัดการเรียนการสอนโดยใชก้ ระบวนการเรียนรู้ 5 ขนั้ ตอนนัน้ พบว่าพฤติกรรมการสอนและ

พฤติกรรมการเรียนรู้มีความสำคญั ยิง่ ในแตล่ ะข้นั ตอนของกระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน ซ่ึงมรี ายละเอยี ดดังนี้
(พมิ พนั ธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยนิ ดสี ขุ , 2558: 63)

1. ขน้ั ระบคุ ำถาม (Learning to Question)
1.1 เป็นขนั้ ตอนที่ทำให้นกั เรียนสงสัย สมองเกดิ ภาวะอสมดุล (disequilibrium)
1.2 มกี ารทบทวนประสบการณเ์ ดมิ ของนกั เรยี น (elicit the prior knowledge) คอื การ

คาดคะเนคำตอบหรือตง้ั สมมตฐิ านหรอื จินตนาการคำตอบ คำตอบอาจไมถ่ ูกต้อง หรอื ผดิ หรือ เป็นมโนทัศน์
คลาดเคลื่อนกเ็ ปน็ ได้ ซ่งึ ครูไม่มกี ารเฉลยคำตอบ

16

1.3 ให้ตอบคำถามเป็นรายบุคคล ครูใหแ้ บบสอบถาม แบบปรนยั หรือแบบอัตนัย เมอื่ นกั เรยี น
คาดคะเนคำตอบ ครูควรถามนกั เรยี นว่าตอบอยา่ งไร เพ่ือไดร้ ูภ้ าพรวม การตอบของนกั เรียน เพื่อการตัดสินใจว่า
ควรจะสอนต่อไปหรือไม่

2. ขั้นแสวงหาสารสนเทศ (Learning to Search)
2.1 เป็นข้ันสำคัญ เพื่อพิสูจนส์ มมตฐิ าน เพื่อหาคำตอบของคำถามสำคัญ โดยครูอาจออกแบบให้

หรือครกู ับนักเรยี นร่วมกนั วางแผน หรอื นกั เรยี นวางแผนเอง
2.2 ครูออกแบบการเก็บข้อมูลและสารสนเทศใหเ้ องด้วยการสร้างสอ่ื การเรยี นรู้ เชน่ ใบกิจกรรม

ใบงาน ใบทดลองรวมทง้ั ใบความรแู้ ละอาจใช้ใบสรุปความรู้แจกให้นักเรียน
3. ข้นั สรา้ งความรู้ (Learning to Construct)
3.1 เป็นขนั ส่ือความหมายข้อมลู หลงั จากการวเิ คราะหข์ ้อมลู โดยนักเรียนมีโอกาส นำเสนอหน้า

ชนั้ เรยี น
3.2 เป็นขน้ั ที่นักเรยี นมีการแปลความหมายข้อมลู เพ่ือการสรปุ ผล/สร้างความรู้ดว้ ยตวั นักเรียนเอง
3.3 เป็นข้ันที่นักเรียนมีการสะท้อนความคดิ กัน และแต่ละกล่มุ ปรับแก้ไขความร้ทู ี่สรา้ งขนึ้ เอง
3.4 เป็นขนั้ ทค่ี รูเชือ่ มโยงความรูท้ ่นี กั เรยี นสรา้ งไปยงั ความรู้ทีถ่ ูกตอ้ ง
3.5 เป็นข้ันท่ีครอู าจใหท้ ำแบบฝกึ หัดเพื่อเสรมิ สรา้ งความเขา้ใจ และทักษะต่าง ๆ

4. ขัน้ ส่อื สาร (Learning to Communicate)
4.1 เป็นขั้นนักเรยี นนำเสนอความรู้และการเรียนรู้ทไ่ี ดจ้ ากการสร้างความร้ดู ้วยความเขา้ ใจหน้า

ชัน้ เรยี น รวมท้งั ผลงาน ตลอดกระบวนการ สรา้ งความรู้ตดิ ทผ่ี นังหรือกระดาน หนา้ ชนั้ เรียน
4.2 เป็นขั้นทีน่ ักเรยี นต้องได้รบั การฝกึ การนำเสนอหน้าชั้นเรียนดว้ ยหลัก 3P ดังนี้
- Planning คอื วางแผนการพูด
- Preparation คือ ซ้อม/เตรยี ม
- Presentation คอื นำเสนอหน้าช้นั เรียน
พรอ้ มฝึกการสร้างบุคลิกภาพภายในและบุคลิกภายนอกขณะนำเสนออย่างมั่นใจ และมีคุณภาพ

5. ข้ันตอบแทนสังคม (Learning to Service)
5.1 เป็นขั้นท่นี กั เรยี นประยกุ ต์ความรู้หรือนำความรู้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ เช่น ในชีวิตการ

เรียนในสาระอนื่ ๆ ในครอบครวั ในชมุ ชน ทำใหไ้ ดค้ วามรใู้ หม่ ช้ินงานใหม่ ภาระงานใหม่

3. คุณคา่ ของการใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน (5 STEPs)
นักเรยี นในปจั จุบันและอนาคตจะต้องเผชิญกับปญั หา และความท้าทายในอัตราการเปลี่ยนแปลงท่ี

สูงขนึ้ โลกมกี ารตดิ ต่อสือ่ สารและความเป็นพลวัตสงู ข้ึนในขณะท่ีปญั หาดด้านสงั คม และส่ิงแวดลอ้ มเพม่ิ ข้ึนเป็น
เงาตามตวั กบั สงั คมมนุษย์ ฉะนัน้ การกำหนดลักษณะผู้เรยี นจะตอ้ งเพิ่ม ลักษณะอย่างน้อย 3 ประการ คือ
ความสามารถในการคดิ เพ่ือสร้างองค์ความรู้ ความสามารถในการสื่อสารและความสามารถในการสร้างชิ้นงาน
บรกิ ารสังคม พร้อมเจตคติในการชว่ ยแก้ไขปญั หาสงั คม ดังน้ันกระบวนการเรียนรู้ 5 ขัน้ ตอน สง่ ผลให้ผเู้ รียนมี
ความรูค้ วามเข้าใจอย่างคงทน มที ักษะ/กระบวนการ มีคุณลักษณะอันพงึ ประสงคแ์ ละก่อใหเ้ กดิ ทักษะ 3 ตวั เนน้
คอื การร้หู นงั สือ การรู้เร่ืองจำนวน และความสามารถในการใช้เหตุผล (Reasoning) นอกจากนี้กระบวนการ
เรยี นรู้ 5 ขนั้ ตอน ยังช่วยเสริมสรา้ งสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 5 ข้อ ได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร
ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแกป้ ญั หา ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต และความสมารถใน
การใช้เทคโนโลยี โดยสมรรถนะเหลา่ นี้จะส่งผลใหเ้ ด็กก้าวไปสูน่ กั คิด สามารถแกป้ ญั หา สรา้ งสรรคช์ ้ินงาน
สรา้ งสรรค์ความรูใ้ หม่ กลายเป็นเดก็ นกั เรยี นอยู่อย่างมีคุณธรรม (พิมพันธ์ เดชะคุปตแ์ ละพเยาว์ ยินดสี ขุ , 2558)

17

สรปุ ว่าการจดั กิจกรรมการเรียนรูด้ ว้ ยกระบวนการเรยี นรู้ 5 ข้ันตอน (5 STEPs) ไดว้ ่า เป็นการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ทีเ่ ปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนได้ฝึกกระบวนการเรียนรู้ กระบวนการคดิ วิเคราะหด์ ว้ ยตนเอง เพอื่
พัฒนาความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ ความสามารถในการส่อื สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถ
ในการแกป้ ัญหา ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ และความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี โดยสง่ิ เหลา่ นี้จะส่งผล
ให้ผเู้ รยี นก้าวไปสนู่ กั คดิ สามารถแกป้ ัญหา สรา้ งสรรค์ช้นิ งาน สร้างสรรค์ความรูใ้ หม่และยงั สามารถพฒั นา
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นให้สูงขึ้น

ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นความสามารถทางสมองท่ีนักเรียนได้รับจากการจัดการเรียนรู้ ซึ่งสามารถ
ตรวจสอบได้ด้วยวธิ ีการต่างๆ เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ หรือการทดสอบ ผลการทดสอบจำเป็นตอ่ การพัฒนา
ผู้เรยี นให้มีคณุ ภาพ และต่อการปรบั ปรงุ และพัฒนาการสอนของครูให้มีคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพยิ่งข้ึน ผู้วิจัย
ไดศ้ กึ ษาเกีย่ วกบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นไวด้ งั นี้

1. ความหมายของผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น
นกั การศึกษาไดใ้ ห้ความหมายของผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น ไว้ดังน้ี
จีรพัฒน์ ชัยพร (2539: 22) ให้ความหมายไว้ว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ผลท่ีเกิดจาก

การเรียนรู้ของผู้เรียนอันเป็นผลมาจากการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วยความสามารถทางความรู้ ความ
เข้าใจ ความรู้สึกและเจตคติ และทักษะสามารถวดั ได้โดยใชก้ ารสังเกต การทดสอบหรือการสัมภาษณ์

สุนทรี เมฆบุญส่งลาภ (2540: 18) สรุปไว้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือ ความรู้ความ สามารถของ
นักเรียนที่ได้รับการฝึกฝน อบรม ส่ังสอนจากสถาบันการศึกษา โดยวัดและประเมินผลจากแบบทดสอบวัด
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน

อารีย์ วชิรวราการ (2542: 143) กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือ ผลที่เกิดข้ึนจากการเรียน
การสอน การฝึกฝน หรอื ประสบการณต์ ่างๆ ท้ังทโี่ รงเรียน ทบ่ี า้ น และสิ่งแวดลอ้ มอ่นื ๆ

ชุลีพร พินิจพล (2554: 69) กล่าวว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง คุณ ลักษณ ะ
ความสามารถ และประสบการณ์ของบุคคลอันเกิดจากการเรียนการสอนและเป็นผลให้บุคคลเปล่ียนแปลง
พฤติกรรมในด้านต่างๆ ซง่ึ สามารถตรวจสอบไดจ้ ากการวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน

สรุปความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถของบุคคลอันเกิดจากการเรียน
การสอน หรือประสบการณ์ตา่ งๆ ประกอบดว้ ยความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สกึ และเจตคติ และทกั ษะ

2. แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
มนี ักการศึกษากล่าวถงึ แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นไวด้ งั นี้
บุญชม ศรีสะอาด (2545: 53) ได้กล่าวว่า แบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิ (Achievement Test) หมายถึง

แบบทดสอบที่ใช้วัดความรู้ความสามารถของบุคคลในด้านวิชาการซึ่งเป็นผลจากการเรียนรู้ในเนื้อหาสาระและ
ตามจุดประสงค์ของวิชา หรือเนื้อหาท่ีสอนน้ันโดยทั่วไปจะวัดผลสัมฤทธ์ิในวิชาต่างๆ ที่เรียนในโรงเรียน
วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั หรือสถาบนั การศกึ ษาตา่ งๆ

พิชิต ฤทธ์ิจรูญ (2550: 96 อ้างถึงใน เถกิง ละครเขต, 2553: 42) กล่าวว่า แบบทดสอบวัด
ผลสัมฤทธ์ิเป็นแบบทดสอบท่ีใช้วัดความรู้ ทักษะ และความสามารถทางวิชาการท่ีผู้เรียนได้เรียนรู้มาแล้วว่า
บรรลผุ ลสำเร็จตามจดุ ประสงคท์ ี่กำหนดไว้เพียงใด

18

สมบัติ ท้ายเรือคำ (2551: 73) ได้ให้ความหมายของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไว้ว่า เป็น
แบบทดสอบที่ใช้วัดระดับความสามารถของผู้เรียนว่ามีความรู้ ความสามารถและทักษะในเนื้อหาวิชาท่ีเรียนไป
แล้วมากน้อยเพียงใด

สรุปแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เป็นเครื่องมือที่ใช้วัดระดับความรู้ ความสามารถ และ
ทกั ษะทางวิชาการของผู้สอบจากการเรียนรู้ โดยมีจดุ มุ่งหมายเพื่อทจ่ี ะไดท้ ราบวา่ ผูส้ อบมีความรูอ้ ะไรบ้าง มาก
น้อยเพียงใด เม่ือผ่านการเรียนไปแล้ว

3. การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
3.1 ขัน้ ตอนการสร้างแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน
อทุ มุ พร จามรมาน (2540: 27) กล่าวถึงข้นั ตอนการสรา้ งขอ้ สอบไว้ดังนี้
1. การระบจุ ดุ มุ่งหมายในการทดสอบ
2. การระบเุ นอ้ื หาใหช้ ดั เจน
3. การทำตารางเนื้อหากับจุดมุง่ หมายในการทดสอบ
4. การทำนำ้ หนกั
5. การกำหนดเวลาสอบ
6. การกำหนดจำนวนขอ้ หรือคะแนน
7. การเขยี นข้อสอบ
8. การตรวจสอบขอ้ สอบทีเ่ ขียนข้นึ
9. การทดลองใช้ แก้ไข ปรับปรุง
พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2550: 96 อ้างถึงใน เถกิง ละครเขต, 2553: 43) ได้อธิบายขั้นตอนการสร้าง

แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิไว้ดังน้ี
1. วิเคราะห์หลักสูตรและสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร การสร้างแบบทดสอบ ควรเริ่มต้น

ด้วยการวิเคราะห์หลักสูตร และสรา้ งตารางวิเคราะห์หลักสูตรเพ่ือวิเคราะหเ์ นื้อหาสาระและพฤติกรรมท่ตี ้องการ
จะวัด ตารางวิเคราะห์หลักสูตรจะใช้เป็นกรอบในการออกข้อสอบ โดยระบุจำนวนข้อสอบในแต่ละเร่ืองและ
พฤตกิ รรมที่ต้องการจะวัดไว้

2. กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้เป็นพฤติกรรมท่ีเป็นผล การเรียนรู้ที่
ผ้สู อนมุ่งหวังจะให้เกิดขึ้นกบั ผู้เรียนซ่ึงผ้สู อนจะตอ้ งกำหนดไวล้ ่วงหน้าสำหรับเป็นแนวทางในการจัดการเรยี นการ
สอน และการสรา้ งขอ้ สอบวดั ผลสมั ฤทธิ์

3. กำหนดชนิดของข้อสอบและศึกษาวิธีสร้าง โดยการศึกษาตารางวิเคราะห์หลักสูตรและ
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ผูอ้ อกข้อสอบต้องพิจารณาและตัดสินใจเลือกใช้ชนิดของข้อสอบท่จี ะใช้วัดวา่ จะเป็นแบบ
ใด โดยต้องเลือกให้สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน แล้วศึกษาวิธีเขียน
ข้อสอบชนิดน้ันๆ ใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจในหลักและวธิ กี ารเขียนขอ้ สอบ

4. เขียนข้อสอบ ผู้ออกข้อสอบลงมือเขียนข้อสอบตามรายละเอียดท่ีกำหนดไว้ในตาราง
วเิ คราะห์หลักสูตร และให้สอดคลอ้ งกับจุดประสงค์การเรยี นรู้ โดยอาศัยหลักและวธิ ีการเขียนข้อสอบท่ีได้ศึกษา
มาแล้วในขัน้ ที่ 3

5. ตรวจทานข้อสอบ เพื่อให้ข้อสอบท่ีเขียนไว้แล้วในข้อที่ 3, 4 มีความถูกต้องตามหลัก
วิชาการ มีความสมบูรณ์ครบถ้วนตามรายละเอียดท่ีกำหนดไว้ในตารางวิเคราะห์หลักสูตร ผู้ออกข้อสอบต้อง
พิจารณาทบทวน ตรวจทานข้อสอบอกี ครง้ั ก่อนทจ่ี ะจัดพิมพ์และนำไปใชต้ ่อไป

19

6. จัดพิมพ์แบบทดสอบฉบับทดลอง เม่ือตรวจทานข้อสอบเสร็จแล้วให้พิมพ์ข้อสอบทั้งหมด
จดั ทำเป็นแบบทดสอบฉบับทดลองโดยมีคำชี้แจงหรือคำอธิบายวิธีตอบแบบทดสอบและจัดวางรูปแบบการพิมพ์
ให้เหมาะสม

7. ทดลองสอบและวิเคราะห์ข้อสอบ การทดลองสอบและวิเคราะห์ข้อสอบเป็นวิธีการ
ตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบก่อนนำไปใช้จริง โดยนำแบบทดสอบไปทดลองสอบกับกลุ่มที่มีลักษณะ
คล้ายคลึงกันกับกลุ่มที่ต้องการสอบจริง แล้วนำผลการสอบมาวิเคราะห์และปรับปรุงข้อสอบให้มีคุณภาพ โดย
สภาพการปฏบิ ัติจรงิ ของการทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ใิ นโรงเรียนมักไม่คอ่ ยมีการทดลองสอบ และวิเคราะห์ขอ้ สอบ
ส่วนใหญน่ ำแบบทดสอบไปใชท้ ดสอบแล้วจงึ วิเคราะห์ข้อสอบเพ่ือปรับปรุงข้อสอบและนำไปใช้ในครั้งต่อๆ ไป

8. จัดทำแบบทดสอบฉบับจริง จากผลการวิเคราะห์ข้อสอบ หากพบว่าข้อสอบ ข้อใดไม่มี
คุณภาพหรือมีคุณภาพไม่ดีพอ อาจจะต้องตัดท้ิงหรือปรับปรุงแก้ไขข้อสอบให้มีคุณภาพดีขึ้น แล้วจึงจัดทำเป็น
แบบทดสอบฉบบั จรงิ ท่จี ะนำไปทดสอบกับกลุ่มเป้าหมายต่อไป

3.2 หลกั การสรา้ งแบบทดสอบแบบเลอื กตอบ
การสร้างแบบทดสอบแบบเลือกตอบมีหลักการและข้อเสนอแนะ ดังนี้ (อุทุมพร จามรมาน,

2540: 51)
ตัวคำถาม (Stem)
1. ตัวคำถามมคี วามหมายสมบรู ณ์ในตวั เอง และถามปญั หาอย่างเฉพาะเจาะจง
2. ตัวคำถามแต่ละข้อควรเขียนใหส้ ั้น ชัดเจนและใชภ้ าษาท่เี ข้าใจง่าย
3. ตัวคำถามควรสร้างด้วยประโยคบอกเล่า หลีกเล่ียงการใช้ประโยคปฏิเสธ หากจำเป็นให้ขีด

เส้นใต้ประโยคปฏิเสธน้ัน แต่ถ้าเป็นประโยคปฏิเสธซ้อนไม่ควรใช้เด็ดขาด เพราะประโยคปฏิเสธจะอ่านเข้าใจ
ยากกวา่ ประโยคบอกเล่า

4. ตวั คำถามแตล่ ะข้อจะตอ้ งถามปัญหาเพยี งประเดน็ เดยี ว
5. ตัวคำถามแต่ละข้อต้องเป็นอิสระกัน อย่าให้เกยี่ วข้องกัน เพื่อป้องกันการแนะตัวเลือกถูกให้
ขอ้ อ่ืน
6. ตัวคำถามควรเขียนด้วยภาษาง่ายๆ ศัพท์เทคนิคไม่จำเป็นก็ไม่ควรใช้ หากใช้ควรใช้
ภาษาองั กฤษกำกบั หรือแปลความหมายไวด้ ้วย
ตวั เลอื ก (Alternative)
1. ตวั เลอื กทุกตวั ในข้อเดียวกนั จะต้องมคี วามเปน็ เอกพันธ์
2. ตัวเลือกทกุ ตัวควรมโี อกาสถูกพอๆ กนั
3. ตวั เลอื กทุกตัวควรมคี วามยากงา่ ยพอๆ กัน
4. ตวั เลอื กในแต่ละขอ้ ควรเรยี งตามหลักและเหตผุ ล หรอื เรยี งอยา่ งเป็นระบบ
5. ตวั เลอื กในแตล่ ะขอ้ ตอ้ งถูกเพียงตวั เดียว
6. ภาษาทใี่ ชใ้ นตวั เลือกไม่ควรตรงกับตวั คำถาม ถ้าต้องมีจะต้องนำไปรวมไวใ้ นตวั คำถาม
7. ตัวเลือกท่ีว่าทุกข้อข้างต้นถูกหมด ทุกข้อข้างต้นผิดหมด และไม่มีข้อใดถูกเลย ไม่ควร
นำมาใช้ เวน้ แตก่ รณใี ชว้ ัดความสามารถทางคณติ ศาสตร์
สรุปการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในการกำหนดวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
ด้านความรู้ที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน จะประกอบด้วย ความรู้ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การ
สังเคราะห์ และประเมินค่า โดยมีข้ันตอนในการสร้างแบบทดสอบดังนี้ วิเคราะห์หลักสูตรและสร้างตาราง
วิเคราะห์หลักสูตร กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ กำหนดชนิดข้อสอบและศึกษาวิธีสร้าง การเขียนข้อสอบ
ตรวจสอบขอ้ สอบ ทดลองใช้ แก้ไข ปรับปรุง และจัดทำข้อสอบฉบับจรงิ

20

ความพงึ พอใจ

ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกหรือทัศนคติ ซ่ึงเป็นผลมาจากประสบการณ์ ความเชื่อ ค่านิยมท่ีได้รับ
ซ่งึ ระดบั ความพึงพอใจของแต่ละบุคคลย่อมมีความแตกต่างกนั ไป โดยมีรายละเอียดดังน้ี

1. ความหมายของความพึงพอใจ
การจัดการเรียนรู้ที่ประสบความสำเร็จและมีประสิทธิภาพจะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ อย่างมี

ความหมาย เกิดกระบวนการคิดท่ีซับซอ้ น สามารถนำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้ และส่ิงหน่ึงทคี่ รคู วรคำนงึ ในการ
จัดการเรียนรู้คือความพงึ พอใจของผู้เรียน มีนกั การศกึ ษาได้ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ ดงั นี้

ราชบณั ฑติ ยสถาน (2542: 775) ไดใ้ ห้ความหมายความพงึ พอใจ ไว้ว่า หมายถึง พอใจ ชอบใจ
ชุลีพร พินิจพล (2554: 75) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกนึกคิด ความเชื่อ การ
แสดงความรู้สึก ความคิดเห็นต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยแสดงพฤติกรรมออกมา 2 ลักษณะ คือ ทางบวก ซ่ึงแสดง
ในลักษณะความชอบ ความพึงพอใจ ความสนใจ เห็นด้วย ทำให้อยากทำงานหรือปฏิบัติกิจกรรม อีก
ลักษณะหนงึ่ คือ ทางลบ ซ่ึงจะแสดงออกในลักษณะของความเครียด ไม่พึงประสงค์ ไม่พอใจ ไม่สนใจ ไม่
เห็นด้วย อาจทำให้บุคคลเกิดความเบ่ือหน่ายหรือต้องการหนีห่างจากสิ่งนั้น นอกจากน้ีความพึงพอใจอาจจะ
แสดงออกในลกั ษณะความเป็นกลางก็ได้ เช่น รู้สกึ เฉยๆ ไมร่ กั ไมช่ อบ ไมส่ นใจในสิ่งนนั้ ๆ
ศิริพร เนาวะเศษ (2554: 60) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดหรือเจตคติของบุคคล
ท่ีมีต่อการทำงานหรือปฏิบัติกิจกรรมในเชิงบวก ดังน้ัน ความพึงพอใจในการเรยี นรู้ จึงหมายถึง ความรู้สกึ พอใจ ความ
สนใจ ความชอบใจท่ีมตี ่อการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ และต้องการดำเนนิ กจิ กรรมน้ันๆ จนบรรลุผลสำเร็จ
สรุปความหมายของความพงึ พอใจ หมายถงึ ความรสู้ ึกหรอื ทัศนคตทิ ่ดี ี ตอ่ สิ่งใดสิง่ หนึ่ง
อันเป็นผลมาจากพ้ืนฐานของการรับรู้ ค่านิยม ประสบการณ์ที่ได้รับ และจะเกิดข้ึนก็ต่อเมื่อสิ่งน้ันสามารถ
ตอบสนองความตอ้ งการใหแ้ กบ่ ุคคลนนั้ ได้

2. การวัดความพงึ พอใจ
ในการวัดความพึงพอใจเราสามารถวัดได้โดยใช้เครื่องมือวัดท่ีเรียกว่า แบบวัด คำว่า แบบวัดน้ีเป็น

คำกลางใช้แทนความหมายของเคร่ืองมือรวบรวมข้อมูลท่ัวไป ทั้งแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบประเมินค่า
แบบทดสอบวัดความรู้ วัดความถนัด และวัดพฤติกรรม ดังนั้นในการวัดความพึงพอใจเราจึงสามารถสร้าง
แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ตอบได้โดยอาศัยแนวคิด ทฤษฎีสนับสนุน แบบวัดความพึงพอใจจึงจะมี
คุณภาพสามารถวัดไดต้ รงกับความตอ้ งการของผู้วจิ ัย การวัดความพึงพอใจสามารถกระทำได้หลายวธิ ี ดงั น้ี (บุญ
ธรรม กจิ ปรดี าบรสิ ุทธ์ิ, 2549: 181)

3.1 การใช้แบบสอบถาม โดยผู้สอบถามจะออกแบบสอบถามเพื่อต้องการทราบความคิดเห็น ซึ่ง
สามารถทำได้ในลักษณะที่กำหนดคำตอบให้เลือก หรือตอบคำถามอิสระ คำถามดังกล่าวอาจถามความพึงพอใจ
ในด้านต่างๆ เช่น การบรหิ าร การควบคุมงาน เงอ่ื นไขตา่ งๆ เป็นตน้

3.2 การสัมภาษณ์ เป็นวิธีวัดความพึงพอใจทางตรงทางหนึ่ง ซึ่งต้องอาศัยเทคนิคและวิธีการท่ีดีจึง
จะทำใหไ้ ด้ขอ้ มลู ทีเ่ ปน็ จริงได้

3.3 การสังเกต เป็นวิธีการวัดความพึงพอใจโดยสังเกตพฤติกรรมของบุคคลเป้าหมาย ไม่ว่าจะ
แสดงออกจากการพดู กิริยาท่าทาง วิธีนจี้ ะต้องอาศัยการกระทำอย่างจริงจัง และการสังเกตอยา่ งมีระเบียบแบบ
แผน

21

สรุปการวัดความพึงพอใจ สามารถทำได้หลายวิธี ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับความสะดวก ความเหมาะสม
ตลอดจนจดุ ม่งุ หมายหรอื เป้าหมายของการวัด

สำหรับการศึกษาในคร้ังน้ี ผู้วิจัยวัดความพึงพอใจของผู้เรียนโดยใช้แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณ
ค่า 5 ระดบั คือ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่ีสดุ ตามลำดบั

3. การสรา้ งแบบสอบถามวดั ความพงึ พอใจ
แบบสอบถามเปน็ เคร่ืองมือวิจยั ชนดิ หนึ่งท่ีนยิ มใช้กันมาก เพราะการเก็บรวบรวมขอ้ มูลสะดวกและ

สามารถใช้วัดได้อย่างกว้างขวาง การเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามสามารถทำได้ด้วย การสัมภาษณ์หรือให้
ผ้ตู อบตอบดว้ ยตนเอง หลกั ในการสร้างแบบสอบถามมดี งั น้ี (อุทมุ พร จามรมาน, 2544: 39 -45 )

3.1 โครงสรา้ งของแบบสอบถาม
โครงสร้างของแบบสอบถาม ประกอบด้วย 3 ส่วนสำคัญ ดังน้ี
3.1.1 หนังสือนำหรือคำช้ีแจง โดยมากมักจะอยู่ส่วนแรกของแบบสอบถาม อาจมีจดหมายนำ

อยดู่ ้านหน้าพรอ้ มคำขอบคุณ โดยคำชแ้ี จงมักจะระบุถงึ จุดประสงค์ท่ีให้ตอบแบบสอบถาม การนำคำตอบทไ่ี ด้ไป
ใช้ประโยชน์ คำอธิบายลักษณะของแบบสอบถาม วิธีการตอบแบบสอบถามพร้อมตัวอย่าง ช่ือ และท่ีอยู่ของ
ผู้วิจัย ประเด็นท่ีสำคัญคือการแสดงข้อความท่ีทำให้ผู้ตอบมีความม่ันใจว่าข้อมูลท่ีจะตอบไปจะไม่ถูกเปิดเผยเป็น
รายบุคคล จะไม่มีผลกระทบต่อผตู้ อบ และมีการพิทักษ์สทิ ธ์ิของผู้ตอบดว้ ย

3.1.2 คำถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนตัว เช่น เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ เป็นต้น การท่ีจะ
ถามข้อมูลส่วนตัวอะไรบ้างนั้นขึ้นอยู่กับกรอบแนวความคิดในการวิจัย โดยดูว่าตัวแปรท่ีสนใจจะศึกษานั้นมี
อะไรบา้ งทีเ่ กย่ี วกบั ขอ้ มลู ส่วนตัว และควรถามเฉพาะขอ้ มูลทจี่ ำเป็นในการวิจัยเทา่ น้ัน

3.1.3 คำถามเกี่ยวกับคุณลักษณะหรือตัวแปรท่ีจะวัด เป็นความคิดเห็นของผู้ตอบในเรื่องของ
คุณลกั ษณะ หรือตัวแปรนนั้

3.2 ข้นั ตอนการสรา้ งแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถามประกอบไปด้วยข้ันตอนสำคญั ดงั นี้
3.2.1 ศกึ ษาคุณลักษณะทจี่ ะวัด
การศึกษาคุณลักษณะอาจดูได้จากวัตถุประสงค์ของการวิจัย กรอบแนวความคิด หรือ

สมมติฐานการวิจัย จากนั้นจึงศึกษาคุณลักษณะ หรือตัวแปรท่ีจะวัดให้เข้าใจอย่างละเอียด ทั้งเชิงทฤษฎี และ
นิยามเชิงปฏิบตั กิ าร

3.2.2 กำหนดประเภทของข้อคำถาม
ข้อคำถามในแบบสอบถามอาจแบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื
1) คำถามปลายเปิด (Open Ended Question) เป็นคำถามที่เปิดโอกาสให้ผู้ตอบ

สามารถตอบได้อย่างเต็มท่ี ซึ่งคาดว่าน่าจะได้คำตอบที่แน่นอน สมบูรณ์ ตรงกับสภาพความเป็นจริงได้มากกว่า
คำตอบที่จำกัดวงให้ตอบ คำถามปลายเปิดจะนิยมใช้กันมากในกรณีที่ผู้วิจัยไม่สามารถ คาดเดาได้ล่วงหน้าว่า
คำตอบจะเป็นอย่างไร หรือใช้คำถามปลายเปิดในกรณีที่ต้องการได้คำตอบเพื่อนำมาเป็นแนวทางในการสร้าง
คำถามปลายปิด แบบสอบถามแบบนี้มีข้อเสียคือ มักจะถามได้ไม่มากนัก การรวบรวมความคิดเห็นและการแปล
ผลมักจะมีความย่งุ ยาก

2) คำถามปลายปิด (Close Ended Question) เป็นคำถามท่ีผู้วิจัยมีแนวคำตอบไว้ให้
ผู้ตอบเลือกตอบจากคำตอบที่กำหนดไว้เท่าน้ัน คำตอบที่ผู้วิจัยกำหนดไว้ล่วงหน้ามักได้มาจากการทดลองใช้
คำถามในลักษณะท่ีเป็นคำถามปลายเปิด หรือการศึกษากรอบแนวความคิด สมมติฐานการวิจัย และนิยามเชิง

22

ปฏิบัติการ คำถามปลายปิดมีวิธีการเขียนได้หลายๆ แบบ เช่น แบบให้เลือกตอบอย่างใดอย่างหนึ่ง แบบให้
เลือกคำตอบทถ่ี กู ต้องเพียงคำตอบเดยี ว แบบผตู้ อบจดั ลำดบั ความสำคัญหรือแบบให้เลอื กคำตอบหลายคำตอบ

3.2.3 การร่างแบบสอบถาม
เมื่อผู้วิจัยทราบถงึ คุณลักษณะหรือประเดน็ ที่จะวัด และกำหนดประเภทของข้อคำถามท่ี

จะมีอยู่ในแบบสอบถามเรียบร้อยแล้ว ผู้วิจัยจึงลงมือเขียนข้อคำถามให้ครอบคลุมทุกคุณลักษณะหรือประเด็นท่ี
จะวดั โดยเขียนตามโครงสรา้ งของแบบสอบถามที่ไดก้ ลา่ วไว้แล้ว และหลกั การในการสร้างแบบสอบถาม ดงั น้ี

1) ต้องมีจุดมุ่งหมายท่ีแน่นอนว่าต้องการจะถามอะไรบ้าง โดยจุดมุ่งหมายนั้นจะต้อง
สอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงคข์ องงานวจิ ัยท่จี ะทำ

2) ต้องสร้างคำถามให้ตรงตามจุดมุ่งหมายท่ีต้ังไว้ เพื่อป้องกันการมีข้อคำถามนอก
ประเดน็ และมขี อ้ คำถามจำนวนมาก

3) ต้องถามให้ครอบคลุมเรื่องที่จะวัด โดยมีจำนวนข้อคำถามท่ีพอเหมาะ ไม่มากหรือ
น้อยเกินไป แต่จะมากหรือน้อยเท่าใดนั้นขึ้นอยู่กับพฤติกรรมที่จะวัด ซ่ึงตามปกติพฤติกรรมหรือเรื่องที่จะวัด
เรอ่ื งหน่ึงๆ นนั้ ควรมีขอ้ คำถาม 25 - 60 ขอ้

4) การเรียงลำดับข้อคำถาม ควรเรียงลำดับให้ต่อเน่ืองสัมพันธ์กัน และแบ่งตาม
พฤติกรรมย่อยๆ ไว้เพ่ือให้ผู้ตอบเห็นชัดเจนและง่ายต่อการตอบ นอกจากนั้นต้องเรียงคำถาม ง่ายๆ ไว้เป็นข้อ
แรกๆ เพ่ือชักจูงให้ผู้ตอบอยากตอบคำถามต่อ สว่ นคำถามสำคัญๆ ไม่ควรเรยี งไวต้ อนทา้ ยของแบบสอบถาม เพราะ
ความสนใจในการตอบของผู้ตอบอาจจะน้อยลง ทำใหต้ อบอยา่ งไมต่ ้ังใจ ซึง่ จะส่งผลเสียตอ่ การวจิ ัยมาก

5) ลักษณะของขอ้ ความทีด่ ี ขอ้ คำถามทดี่ ขี องแบบสอบถามน้ันควรมีลักษณะ ดงั น้ี
5.1) ข้อคำถามไม่ควรยาวจนเกินไป ควรใช้ข้อความส้ัน กะทัดรัด ตรงกับ

วัตถปุ ระสงคแ์ ละสองคลอ้ งกบั เรื่อง
5.2) ขอ้ ความหรือภาษาท่ใี ชใ้ นขอ้ ความตอ้ งชัดเจน เข้าใจง่าย
5.3) ค่าเฉล่ียในการตอบแบบสอบถามไม่ควรเกินหนึ่งชั่วโมง ข้อคำถามไม่ควรมาก

เกนิ ไปจนทำให้ผตู้ อบเบ่ือหน่ายหรอื เหน่ือยล้า
5.4) ไม่ถามเร่ืองทีเ่ ป็นความลับเพราะจะทำให้ได้คำตอบที่ไมต่ รงกบั ข้อเท็จจริง
5.5) ไม่ควรใช้ข้อความท่ีมีความหมายกำกวมหรือข้อความที่ทำให้ผู้ตอบแต่ละคน

เขา้ ใจความหมายของขอ้ ความไมเ่ หมอื นกัน
5.6) ไมถ่ ามในเร่ืองท่ีรู้แลว้ หรือถามในส่ิงท่ีวัดไดด้ ้วยวธิ อี น่ื
5.7) ข้อคำถามต้องเหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่าง คือ ต้องคำนึงถึงระดับการศึกษา

ความสนใจ สภาพเศรษฐกิจ ฯลฯ
5.8) ข้อคำถามหน่ึงๆ ควรถามเพยี งประเด็นเดียว เพื่อใหไ้ ด้คำตอบท่ีชดั เจนและตรง

จดุ ซ่งึ จะงา่ ยต่อการนำมาวิเคราะหข์ อ้ มลู
5.9) คำตอบหรือตัวเลือกในข้อคำถามควรมีมากพอ หรือให้เหมาะสมกับข้อคำถาม

นั้น แตถ่ ้าไมส่ ามารถระบุไดห้ มดกใ็ หใ้ ชว้ า่ อ่นื ๆ โปรดระบุ ……………….
5.10) ควรหลีกเลย่ี งคำถามทเี่ ก่ียวกับค่านิยมทจ่ี ะทำให้ผู้ตอบไม่ตอบตามความเป็นจริง
5.11) คำตอบที่ได้จากแบบสอบถาม ต้องสามารถนำมาแปลงออกมาในรูปของ

ปริมาณและใช้สถิติอธิบายข้อเท็จจริงได้ เพราะปัจจุบันนี้นิยมใช้คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนั้น
แบบสอบถามควรคำนึงถงึ วธิ กี ารประมวลขอ้ มูลและวเิ คราะหข์ ้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย

23

3.2.4 การปรับปรุงแบบสอบถาม
หลังจากท่ีสร้างแบบสอบถามเสร็จแล้ว ผู้วิจัยควรนำแบบสอบถามนั้นมาพิจารณา

ทบทวนอกี คร้งั เพื่อหาข้อบกพร่องท่ีควรปรับปรุงแก้ไข และควรใหผ้ ู้เชี่ยวชาญไดต้ รวจสอบแบบสอบถามนั้นด้วย
เพื่อทจี่ ะไดน้ ำข้อเสนอแนะ และขอ้ วิพากษ์วิจารณข์ องผู้เช่ียวชาญมาปรบั ปรุงแก้ไขให้ดยี ิ่งขึ้น

3.2.5 วิเคราะห์คณุ ภาพแบบสอบถาม
เป็นการนำแบบสอบถามท่ีได้ปรับปรุงแล้วไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างเล็กๆ เพ่ือนำผล

มาตรวจสอบคณุ ภาพของแบบสอบถาม ซงึ่ การวเิ คราะหห์ รอื ตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถามทำได้หลายวิธี
3.2.6 ปรบั ปรุงแบบสอบถามใหส้ มบรู ณ์
ผวู้ จิ ัยจะตอ้ งทำการแก้ไขข้อบกพรอ่ งทีไ่ ดจ้ ากผลการวิเคราะห์คณุ ภาพของแบบสอบถาม

และตรวจสอบความถูกต้องของถ้อยคำหรือสำนวน เพื่อให้แบบสอบถามมีความสมบูรณ์และมีคุณภาพ ผู้ตอบ
อ่านเข้าใจได้ตรงประเดน็ ทีผ่ ูว้ ิจัยตอ้ งการ ซ่ึงจะทำให้ผลงานวิจยั เปน็ ที่นา่ เช่อื ถอื ยิ่งขน้ึ

3.2.7 จดั พมิ พแ์ บบสอบถาม
จัดพิมพ์แบบสอบถามที่ได้ปรับปรุงเรียบร้อยแล้วเพื่อนำไปใช้จริงในการเก็บร วบรวม

ข้อมูลกับกลุ่มเป้าหมาย โดยจำนวนที่จัดพิมพ์ควรไมน่ ้อยกวา่ จำนวนเป้าหมายท่ีตอ้ งการเก็บรวบรวมข้อมูล และ
ควรมีการพิมพ์สำรองไว้ในกรณีที่แบบสอบถามเสียหรือสูญหายหรือผู้ตอบไม่ ตอบกลับ แนวทางในการจัดพิมพ์
แบบสอบถามมีดงั นี้

1) การพมิ พแ์ บ่งหนา้ ใหส้ ะดวกตอ่ การเปดิ อา่ นและตอบ
2) เวน้ ท่ีว่างสำหรับคำถามปลายเปดิ ไวเ้ พยี งพอ
3) พมิ พอ์ กั ษรขนาดใหญ่ชดั เจน
4) ใชส้ แี ละลกั ษณะกระดาษทเี่ ออ้ื ต่อการอ่าน
3.3 หลักการสรา้ งแบบสอบถาม
3.3.1 สอดคล้องกบั วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั
3.3.2 ใช้ภาษาท่เี ขา้ ใจง่าย เหมาะสมกับผู้ตอบ
3.3.3 ใชข้ อ้ ความทสี่ ้ัน กะทัดรดั ไดใ้ จความ
3.3.4 แต่ละคำถามควรมีนยั เพยี งประเดน็ เดียว
3.3.5 หลีกเล่ียงการใชป้ ระโยคปฏิเสธซอ้ น
3.3.6 ไม่ควรใชค้ ำย่อ
3.3.7 หลกี เล่ยี งการใชค้ ำที่เปน็ นามธรรมมาก
3.3.8 ไม่ชี้นำการตอบใหเ้ ปน็ ไปแนวทางใดแนวทางหนึ่ง
3.3.9 หลกี เลี่ยงคำถามท่ที ำให้ผ้ตู อบเกิดความลำบากใจในการตอบ
3.3.10 คำตอบท่มี ใี หเ้ ลือกตอ้ งชัดเจนและครอบคลมุ คำตอบทเ่ี ป็นไปได้
3.3.11 หลีกเลยี่ งคำทีส่ อ่ื ความหมายหลายอย่าง
3.3.12 ไม่ควรเป็นแบบสอบถามท่ีมีจำนวนมากเกินไป ไม่ควรให้ผู้ตอบใช้เวลาในการตอบ
แบบสอบถามนานเกินไป
3.3.13 ข้อคำถามควรถามประเด็นทีเ่ ฉพาะเจาะจงตามเป้าหมายของการวิจัย
3.3.14 คำถามตอ้ งนา่ สนใจสามารถกระตุน้ ใหเ้ กิดความอยากตอบ
สรุปการสร้างแบบสอบถามวัดความพึงพอใจ จะประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วน คือ คำชี้แจง
คำถามเก่ียวกับข้อมูลส่วนตัว และคำถามเกี่ยวกับคุณลักษณะที่จะวัดซึ่งต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการ
วจิ ยั

24

งานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

พิชญะ กันธิยะ (2559) ได้ศึกษาการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบบันได 5
ขั้น วิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ผลวิจัยพบว่า นักเรียนที่ได้รัการเรียนรู้แบบบันได 5 ข้ัน
มีทักษะการคิดวิเคราะห์สูงกว่าก่อนได้รับการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และมีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นหลังได้รบั การเรยี นรู้สูงกวา่ ค่าเฉลย่ี ของคะแนนก่อนเรียน อย่างมีนยั สำคัญทางสถติ ิท่ี ระดบั .01

ธัญญารัตน์ สุขเกษม (2561) ได้ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการเรียนรู้ 5 ข้ันตอน (5 STEPs)
ร่วมกับการใช้คำถามเชิงวิเคราะห์ เรื่อง วิวัฒนาการที่มีต่อการคิดวิเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ผลวิจัยพบว่า นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี4 ท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้แบบ
กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน (5 STEPs) ร่วมกับการใช้คำถามเชิงวิเคราะห์ เร่ือง วิวัฒนาการมีค่าเฉลี่ยคะแนน
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ี ระดับ .05 นอกจากน้ียังพบว่า
ผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่าง มนี ยั สำคญั ทางสถติ ิท่รี ะดับ .05 อีกด้วย

ขจรศักดิ์ วังศรี (2561) ได้ศึกษาการพัฒนาความเข้าใจและความคงทนของความรู้ โดยใช้ การจัดการ
เรียนรู้ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 ข้ันตอน (5 STEPs) เรื่อง แรงและการเคลื่อนท่ี ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ผลวิจัย
พบว่า นักเรียนที่เรียน เร่ือง แรงและการเคล่ือนท่ีโดยใช้การจดัการเรียนรู้ด้วยกระบวนการเรียนรู้ 5 ข้ันตอน (5
STEPs) มีการพัฒนาความเข้าใจท่ีเพ่ิมข้ึนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับนัยสำคัญ .05 และมีความคงทนของ
ความรู้ท่ีไมแ่ ตกต่างอย่างมนี ยั สำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ยังช่วยพฒั นาใหน้ ักเรียนมีความรู้และความเข้าใจแนวคิด
ทางวทิ ยาศาสตรเ์ ก่ียวกบั แรงและการเคล่ือนทีใ่ นระดับทเ่ี พิม่ ขน้ึ และมีแนวคิดทางวิทยาศาสตร์คลาดเคลือ่ นลดลง

สรุปงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องได้ว่า จากผลการศึกษางานวิจัยที่เก่ียวข้องกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้
กระบวนการ GPAS 5 Steps จะเห็นได้ว่า ผู้เรียนมีคุณภาพที่สูงขึ้นในทุกด้าน เป็นปัจจัยสำคัญประการหนึ่งท่ี
จะช่วยใหก้ ารจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนมีประสทิ ธิภาพ ทำให้ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของผูเ้ รียนสงู ข้ึน

25

บทท่ี 3
วธิ ดี ำเนนิ การวิจัย

ในการศึกษาวิจัย เรื่อง การพัฒนาช้ินงานสร้างสรรค์รว่ มกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS
5 Steps ท่ีมีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น งานประดิษฐ์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 คร้ังนี้ ผู้วิจัยได้ดำเนินการศึกษา
ค้นคว้าตามลำดับหัวขอ้ ดังตอ่ ไปนี้

1. กลุ่มเปา้ หมาย
2. เครือ่ งมือทใ่ี ชใ้ นการรวบรวมข้อมลู
3. การสร้างและหาคุณภาพของเครอื่ งมือ
4. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
5. การวิเคราะห์ขอ้ มูล
6. สถิตทิ ใ่ี ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
รายละเอยี ดวธิ ีดำเนินการวิจัยมดี ังนี้

กลมุ่ เปา้ หมาย

กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี ได้แก่ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา
2564 โรงเรยี นบา้ นห้วยลกึ สังกดั สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 จำนวน 22 คน

เคร่อื งมือท่ใี ชใ้ นการรวบรวมข้อมูล

เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู คร้ังน้ี เป็นเคร่ืองมือที่ผู้วิจัยสรา้ งขน้ึ ประกอบดว้ ย
1. ช้ินงานสร้างสรรค์ เร่ือง งานประดิษฐ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
จำนวน 10 ช้ิน
2. แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps เรื่อง งานประดิษฐ์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
การงานอาชพี ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 จำนวน 10 แผน รวมทงั้ สน้ิ 12 ชั่วโมง
3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง งานประดิษฐ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 4 ท่ีผู้วจิ ัยเป็นผู้สร้างขึ้น เป็นแบบทดสอบชนดิ ปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ ใชท้ ดสอบ
กอ่ นเรยี นและหลงั เรียน
4. แบบสอบถามความพงึ พอใจของนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4 ท่ีมีต่อชนิ้ งานสรา้ งสรรค์ร่วมกับการ
จัดการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps เป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale)
โดยแบง่ ระดับความพึงพอใจออกเป็น 5 ระดบั คอื มากทส่ี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยที่สุด จำนวน 15 ข้อ

26

การสร้างและหาคุณภาพของเครือ่ งมอื

ผวู้ ิจยั ดำเนินการสรา้ งและหาคุณภาพของเครอื่ งมือตามขั้นตอน ดงั นี้
1. ช้นิ งานสร้างสรรค์

การสร้างและหาคุณภาพของชิ้นงานสร้างสรรค์ เร่ือง งานประดิษฐ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน
อาชีพ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4 ผู้วจิ ัยไดด้ ำเนินการตามขั้นตอน ดงั น้ี

1.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงาน
อาชีพ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4

1.2 ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยลึก พุทธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานพทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช 2560)

1.3 เลือกเนื้อหาสาระในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 มาวิเคราะห์
เพื่อหาเน้ือหาที่จะนำมาใช้ในการสร้างช้ินงานสร้างสรรค์ ซึ่งผู้วิจัยเลือกสาระที่ 1 การดำรงชีวิตและครอบครัว
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 4 งานประดษิ ฐ์

1.4 ศึกษาวิธกี ารสรา้ งชน้ิ งานสร้างสรรค์ จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวขอ้ ง
1.5 สร้างช้ินงานสร้างสรรค์ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 งานประดิษฐ์ สำหรับนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปี
ท่ี 4 จำนวน 10 ชิ้น ดังน้ี

1.5.1 ชน้ิ งานที่ 4.1 เรื่อง ความสำคัญของงานประดษิ ฐ์
1.5.2 ช้นิ งานที่ 4.2 เรอ่ื ง กระบวนการของงานประดิษฐ์
1.5.3 ชน้ิ งานที่ 4.3 เร่ือง ใบตอง
1.5.4 ชิน้ งานท่ี 4.4 เรื่อง ของใชข้ องตกแตง่ จากใบตอง 1
1.5.5 ชน้ิ งานท่ี 4.5 เร่ือง ของใชข้ องตกแตง่ จากใบตอง 2
1.5.6 ชิน้ งานท่ี 4.6 เรือ่ ง อุปกรณ์ท่ีใช้ในงานประดิษฐ์ใบตอง
1.5.7 ชิ้นงานที่ 4.7 เรื่อง เครื่องมือท่ีใชใ้ นงานประดิษฐ์
1.5.8 ชิ้นงานที่ 4.8 เรอ่ื ง การประดิษฐ์ของใช้ของตกแต่งจากใบตอง
1.5.9 ช้ินงานท่ี 4.9 เรอ่ื ง การประดิษฐข์ องใช้ของตกแตง่ จากกระดาษ
1.5.10 ชน้ิ งานที่ 4.10 เร่ือง การนำงานประดษิ ฐ์ของใช้ของตกแต่งจากใบตองและกระดาษไป
ใชป้ ระโยชน์
1.6 นำชิน้ งานสร้างสรรค์ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 งานประดิษฐ์ สำหรบั นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่
4 ท่ีผู้วิจัยค้นคว้า และสร้างข้ึน เสนอต่อผู้เช่ียวชาญ จำนวน 3 คน เพื่อตรวจสอบและประเมินความถูกต้อง
เหมาะสมด้านรปู แบบ เนอ้ื หา ผู้เชย่ี วชาญประกอบดว้ ย
1.6.1 นางสิริพัชร์ บุญกราน ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนวัดธรรมาราม
อำเภอนาโยง จงั หวัดตรัง
1.6.2 นางอารี ศิรินุพงษ์ ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนวัดเถลิงกิตติยาราม
อำเภอรอ่ นพบิ ลู ย์ จังหวัดนครศรธี รรมราช
1.6.3 นายประทีป ชัยเพชร ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนวัดธรรมาราม
อำเภอนาโยง จงั หวัดตรัง
1.7 ปรับปรุงช้ินงานสร้างสรรค์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานประดิษฐ์ ตามข้อเสนอแนะของ
ผูเ้ ชยี่ วชาญ

27

1.8 นำชิ้นงานสร้างสรรค์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งานประดิษฐ์ ท่ีผ่านการปรับปรุงแล้ว ไปใช้กับ
กลมุ่ เป้าหมายซ่ึงเป็นนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 4 โรงเรยี นบ้านห้วยลึก อำเภอนาโยง จังหวดั ตรัง สำนักงาน
เขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาตรงั เขต 1 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 จำนวน 22 คน

2. แผนการจัดการเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการ GPAS 5 Steps

การสร้างและหาคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps เร่ือง งาน
ประดษิ ฐ์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 กลมุ่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชีพ ผู้วจิ ัยไดด้ ำเนินการตามขั้นตอน ดงั น้ี

2.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงาน
อาชีพ ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4

2.2 ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านห้วยลึก พุทธศักราช 2563 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานพทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พุทธศักราช 2560) มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชี้วดั สาระ
การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ เนอ้ื หาและเวลาที่ใช้สอน

2.3 ศึกษาเอกสารท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ขั้นตอน
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจากเอกสารงานวจิ ัยทเี่ กีย่ วข้อง

2.4 จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps เรื่อง งานประดิษฐ์ จำนวน 10
แผน รวมท้ังสน้ิ 12 ชวั่ โมง ซ่งึ มี 5 ขั้นตอน ดังน้ี

2.4.1 ขน้ั สงั เกต รวบรวมข้อมลู (Gathering)
2.4.2 ขนั้ คิดวิเคราะห์และสรุปความรู้ (Processing)
2.4.3 ขัน้ ปฏบิ ัติและสรปุ ความรู้หลังการปฏบิ ตั ิ (Applying and Constructing the Knowledge)
2.4.4 ส่ือสารและนำเสนอ (Applying the Communication Skill)
2.4.5 ข้นั ประเมนิ เพือ่ เพิ่มคุณคา่ บริการสงั คมและจติ สาธารณะ (Self-Regulating)
โดยใช้การออกแบบการสอนแบบย้อนกลับ (Backward Design) ซึ่งมีองค์ประกอบของแผน
จัดการเรยี นรู้ ดังน้ี (ฆนทั ธาตุทอง, 2552: 207-212)
1. สาระสำคัญ (ความเข้าใจทคี่ งทน)
2. มาตรฐานเน้อื หา (สาระการเรยี นรู้)
3. มาตรฐานการปฏิบตั ไิ ด้ (ตวั ชวี้ ัด)
4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
5. ทกั ษะคร่อมวชิ า (สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน)
6. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
7. คำถามสำคญั
8. กิจกรรมการเรียนการสอน
9. สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้
10. หลักฐานและวธิ ีการประเมิน
11. เกณฑก์ ารประเมิน
2.5 นำแผนการจัดการเรยี นรู้ที่สร้างเสรจ็ แลว้ เสนอผเู้ ชีย่ วชาญ จำนวน 3 คน (ผ้เู ชี่ยวชาญชุดเดิม)
ตรวจพจิ ารณาความสอดคลอ้ งของเน้ือหา จุดประสงค์ กจิ กรรม ส่อื การสอน และการประเมนิ ผล
2.6 ปรบั ปรุงแผนจัดการเรยี นรู้ตามขอ้ เสนอแนะของผู้เช่ยี วชาญ
2.7 นำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ปรับปรุงให้สมบูรณ์แล้วจัดพิมพ์เป็นฉบับจริงเพ่ือใช้กับ
กลุ่มเปา้ หมายต่อไป

28

3. แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น
ผู้วิจัยได้สร้างแบบทดสอบสำหรับใช้ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับ

การจัดการเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการ GPAS 5 Steps โดยมขี ้นั ตอนดังนี้
1. ศึกษาวิธีสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ และวิธี

ตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบจากเอกสารที่เก่ยี วข้อง
2. ศึกษา วิเคราะห์หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ เรื่อง งานประดิษฐ์ สำหรับ

นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 สาระการเรียนร้แู กนกลาง มาตรฐานการเรยี นรู้ และตวั ชี้วดั ชน้ั ปี
3. สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ให้

สอดคล้องกบั สาระการเรยี นรู้และจดุ ประสงค์การเรยี นรู้
4. นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สร้างข้ึน เสนอผู้เช่ียวชาญ จำนวน 3 คน

(ผู้เช่ียวชาญชุดเดิม) ตรวจพิจารณาความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหา ความสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ความ
เหมาะสมของตวั เลือก และความสอดคล้องของพฤตกิ รรมทต่ี ้องการวดั

5. ปรบั ปรุงข้อสอบตามข้อเสนอแนะของผู้เช่ียวชาญ
6. จัดพิมพ์แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีคัดเลือกไว้เป็นฉบับจริง เพื่อนำไปใช้กับ
นักเรยี นกลุม่ เป้าหมายต่อไป

4. แบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรยี น
แบบสอบถามความพึงพอใจ เป็นแบบประเมินความคิดเห็นของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ท่ีมี

ต่อช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps เร่ือง งานประดิษฐ์ เพื่อให้
ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับความพึงพอใจ เม่ือสิ้นสุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แล้ว มีข้ันตอนการสร้าง
และหาคณุ ภาพดังน้ี

4.1 ศกึ ษาเอกสารท่ีเกย่ี วข้องกับวธิ สี ร้างแบบสอบถามความพงึ พอใจแบบมาตราสว่ นประมาณคา่
4.2 กำหนดพฤติกรรม อารมณ์ และความรู้สึกที่จะประเมินให้สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้
ดว้ ยชน้ิ งานสร้างสรรค์ร่วมกบั การจดั การเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการ GPAS 5 Steps
4.3 สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการ
เรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps แบบมาตราส่วนประมาณค่า โดยแบ่งระดับความพึงพอใจเป็น 5
ระดบั คือ (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2545: 103)

คะแนน 5 หมายถึง มีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มากที่สดุ
คะแนน 4 หมายถึง มีความพงึ พอใจอย่ใู นระดบั มาก
คะแนน 3 หมายถงึ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง
คะแนน 2 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจอยูใ่ นระดับน้อย
คะแนน 1 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจอยูใ่ นระดบั นอ้ ยท่สี ดุ
4.4 นำแบบสอบถามความพึงพอใจของนกั เรยี น เสนอผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน (ผู้เช่ียวชาญชุดเดิม)
เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ความสอดคล้อง ความครอบคลุมของคำถาม ความเหมาะสมในด้านการใช้ภาษาและการ
ส่ือความหมาย
4.5 ปรับปรงุ แก้ไขแบบสอบถามความพงึ พอใจตามคำแนะนำของผู้เชย่ี วชาญ
4.6 จัดพิมพ์แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการ
เรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps เรื่อง งานประดิษฐ์ สำหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 เป็นฉบับ
จรงิ เพือ่ นำไปใชก้ บั นกั เรยี นกลุม่ เป้าหมายตอ่ ไป

29

การเกบ็ รวบรวมข้อมลู

ผูว้ ิจยั ไดท้ ำการเก็บรวบรวมข้อมูลดังนี้
1. แบบแผนการทดลอง

การศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบกลุ่มเดียว มีการทดสอบก่อนและหลังเรียน (One
Group Pre – test Post – test Design) หมายถึง ใชก้ ลมุ่ ตัวอยา่ งกลุ่มเดียว ทำการทดสอบ ก่อนเรียน ทดลอง
และทดสอบหลงั เรียน ซง่ึ มีแบบแผนการทดลองดังตาราง 10 (ประสทิ ธ์ิ สุวรรณรักษ,์ 2542: 174)

ตาราง 5 แบบแผนการทดลองแบบ One Group Pre – test Post – test Design

การทดลอง Pre – test Treatment Post – test
กลุ่มทดลอง T1 X T2

สญั ลักษณ์ที่ใช้ในแบบแผนการทดลอง
T1 หมายถึง การทดสอบก่อนการทดลอง (Pre - test)
X หมายถึง การทดลองโดยใช้ชน้ิ งานสร้างสรรค์ร่วมกบั การจดั การเรยี นรู้โดยใช้

กระบวนการ GPAS 5 Steps เร่ือง งานประดิษฐ์
T2 หมายถึง การทดสอบหลงั การทดลอง (Post - test)

2. ขน้ั ตอนในการดำเนนิ การทดลอง
ผู้วิจัยได้ดำเนินการทดลองกับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

โรงเรียนบ้านห้วยลึก อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จำนวน 22 คน ใช้เวลาในการทดลอง จำนวน 12 ช่ัวโมง ตาม
ข้ันตอนดังน้ี

2.1 ชี้แจงเพ่ือทำความเข้าใจกับนักเรียนกลุ่มเป้าหมายเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ช้ินงาน
สร้างสรรค์ร่วมกบั การจัดการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ให้นักเรยี นได้ทราบถึงวิธีการเรียน การ
วัดผลและประเมนิ ผล

2.2 ผู้เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre - test) โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เรอ่ื ง งานประดษิ ฐ์ ที่ผ่านการตรวจสอบคุณภาพแลว้ จำนวน 20 ขอ้

2.3 ดำเนนิ การทดลองตามแผนการจัดการเรียนรู้ เปน็ เวลา 12 ช่ัวโมง
2.4 ทดสอบหลงั เรียน (Post – test) โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นทผ่ี วู้ ิจัยสร้าง
ขน้ึ ซึ่งเป็นชดุ เดียวกนั กับแบบทดสอบก่อนเรยี น (สลับข้อ)
2.5 ผู้เรยี นตอบแบบสอบถามความพึงพอใจท่มี ตี ่อการเรียนด้วยชน้ิ งานสร้างสรรค์ร่วมกับการ
จดั การเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps เรือ่ ง งานประดิษฐ์
2.6 นำขอ้ มลู ทไี่ ด้ไปวเิ คราะห์ข้อมูลทางสถิติ ดว้ ยโปรแกรมวิเคราะหข์ ้อมลู

30

การวเิ คราะห์ข้อมูล

การวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยได้วิเคราะหข์ ้อมลู โดยใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์สำเร็จรูป ดงั นี้
1. เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกับ
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps เร่ือง งานประดิษฐ์ โดยการหาผลต่างของคะแนนก่อน
เรียนและหลงั เรยี น
2. ศึกษาความพึงพอใจของผู้เรยี นท่ีมีต่อชิ้นงานสร้างสรรค์รว่ มกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ
GPAS 5 Steps เรื่อง งานประดิษฐ์ โดยการหาคา่ เฉลีย่ กำหนดเกณฑ์การแปลความหมายคา่ เฉล่ยี ดังน้ี (บุญชม
ศรีสะอาด, 2545: 103)

ค่าเฉล่ีย 4.51 – 5.00 หมายถึง มีความพงึ พอใจอยใู่ นระดับมากที่สดุ
ค่าเฉลย่ี 3.51 – 4.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
คา่ เฉล่ีย 2.51 – 3.50 หมายถงึ มีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั ปานกลาง
ค่าเฉลย่ี 1.51 – 2.50 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย
ค่าเฉล่ยี 1.00 – 1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจอยู่ในระดบั น้อยทีส่ ุด

สถติ ทิ ่ีใชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูล

สถิติพ้นื ฐาน ท่ีใช้ในงานวิจยั มดี งั นี้
1. ค่าร้อยละ ใชส้ ตู ร ดงั นี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2545: 104)

P = F 100
N

เมอื่ P แทน รอ้ ยละ
F แทน ความถี่ท่ีตอ้ งการแปลงใหเ้ ป็นร้อยละ
N แทน จำนวนความถท่ี งั้ หมด

2. คา่ เฉลี่ย ใชส้ ูตร ดงั น้ี (นพพร ธนะชยั ขันธ์, 2557: 16)

μ = x

N

เมื่อ μ แทน ค่าเฉลีย่ ของประชากร

 x แทน ผลบวกของขอ้ มูลทง้ั หมดในประชากร

Ν แทน จำนวนขอ้ มลู ทั้งหมดของประชากร

31

บทท่ี 4
ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู

การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการศึกษาการพัฒนาชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ
GPAS 5 Steps ทม่ี ตี ่อผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น งานประดษิ ฐ์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4

เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบกลุ่มเดียว มีการทดสอบก่อนและหลังเรียน มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพ่ือ
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้
กระบวนการ GPAS 5 Steps ที่มีต่อผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน งานประดิษฐ์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 และ 2) เพื่อ
ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5
Steps ท่ีมีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน งานประดิษฐ์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 ผู้วิจัยได้ดำเนินการเก็บรวบรวม
ข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้าน
ห้วยลึก สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 จำนวน 22 คน ซึ่งผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัย
นำเสนอเป็น 2 ตอน ดงั น้ี

ตอนที่ 1 ผลการวเิ คราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลงั เรียนด้วยชิ้นงานสรา้ งสรรค์
ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ที่มีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน งานประดิษฐ์ ช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 4

ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการ
เรยี นรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ทมี่ ีต่อผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น งานประดิษฐ์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 4

ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู

ตอนท่ี 1 ผลการวเิ คราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยชิ้นงานสร้างสรรค์
ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ท่ีมีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน งานประดิษฐ์ ชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 4

สมมติฐาน กำหนดว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับการ
จดั การเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ท่ีมีตอ่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน งานประดษิ ฐ์ ช้ันประถมศึกษา
ปีท่ี 4 หลังเรียนสงู กว่าก่อนเรียน

ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับ
การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ที่มีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน งานประดิษฐ์ ชั้น
ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 รายละเอียดดงั ตาราง 6 ดังน้ี

32

ตาราง 6 ผลการเปรยี บเทยี บคะแนนผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นกอ่ นและหลังเรยี นดว้ ยชิ้นงานสร้างสรรคร์ ่วมกับ
การจดั การเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ท่ีมีต่อผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น งานประดิษฐ์
ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4

เลขท่ี คะแนนกอ่ นเรียน(20 คะแนน ) คะแนนหลงั เรียน(20 คะแนน ) ผลตา่ ง

15 14 9
29 17 8

36 14 8

48 15 7

5 11 18 7

67 15 8
7 10 17 7
8 10 18 8
98 16 8
10 10 16 6
11 10 18 8
12 8 15 7
13 7 14 7
14 10 19 9
15 13 20 7
16 9 16 7
17 8 15 7
18 10 17 7
19 9 16 7
20 12 19 7
21 12 20 8
22 8 16 8

รวม 200 365 165

เฉลีย่ 9.09 16.59 7.50

ร้อยละ 45.45 82.95 37.50

จากตาราง 6 ผลการเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยชิ้นงาน
สร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ท่ีมีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน งาน
ประดิษฐ์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 พบว่า การทดสอบก่อนเรียนของนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 9.09 คะแนน
และการทดสอบหลังเรียนของนักเรียนมีคะแนนเฉล่ียเท่ากับ 16.59 คะแนน เมื่อเปรียบเทียบระหว่างคะแนน
ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี น พบวา่ คะแนนทดสอบหลังเรยี นของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรยี น โดยมีผลต่างของ
คะแนนเฉล่ยี เท่ากบั 7.50 คะแนน

สรุปได้ว่า ผลการวิจัยตอบรับสมมติฐานท่ีกำหนดว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนที่เรียน
ด้วยช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรยี น งานประดิษฐ์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 หลังเรยี นสงู กว่ากอ่ นเรยี น

33

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการ
เรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการ GPAS 5 Steps ทีม่ ีต่อผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน งานประดษิ ฐ์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 4

สมมติฐาน กำหนดว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้
กระบวนการ GPAS 5 Steps ทมี่ ีตอ่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน งานประดิษฐ์ ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4 อย่ใู นระดับมาก

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดย
ใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ท่ีมีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน งานประดิษฐ์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4
รายละเอียดดังตาราง 7 ดงั น้ี

ตาราง 7 ผลการศกึ ษาระดบั ความพึงพอใจของนักเรียนตอ่ ชิน้ งานสรา้ งสรรค์รว่ มกบั การจดั การเรียนรู้โดยใช้
กระบวนการ GPAS 5 Steps ทม่ี ีต่อผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน งานประดิษฐ์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4

รายการ ความพึงพอใจ(n=22)
μ ระดับ

ชิ้นงานสร้างสรรค์

1. ช้นิ งานสร้างสรรค์มรี ปู แบบสะดุดตาและหลากหลาย 4.68 มากทส่ี ดุ

2. ฉนั สนใจเมอ่ื ไดท้ ำชิน้ งานสรา้ งสรรค์ 4.64 มากทส่ี ุด

3. ฉันสนกุ และต่นื เตน้ เม่อื ได้ทำชนิ้ งานสร้างสรรค์ 4.73 มากทสี่ ดุ

4. ฉนั ได้ฝกึ ทกั ษะหลายอย่างเมือ่ ทำช้ินงานสรา้ งสรรค์ 4.77 มากที่สุด

5. ฉันไดเ้ รยี นรู้และทำชิน้ งานสร้างสรรคอ์ ยา่ งมคี วามสุข 4.68 มากทสี่ ดุ

6. ฉนั ชอบชนิ้ งานสรา้ งสรรค์เพราะสามารถนำไปใช้ประโยชนไ์ ด้ 4.59 มากท่ีสดุ

เฉลีย่ 4.68 มากท่ีสุด

การจัดการเรยี นรู้ (กระบวนการ GPAS 5 Steps)

7 ฉนั มีความสุข สนุกสนานกบั การเรียนในชวั่ โมงเรียน 4.77 มากที่สุด

8 กิจกรรมการเรยี นรู้มคี วามนา่ สนใจ 4.64 มากทสี่ ุด

9 กจิ กรรมการเรยี นรสู้ ่งเสริมให้ฉันไดใ้ ช้ความคิด แกป้ ญั หาจนสำเร็จไดด้ ว้ ยตนเองและ 4.59 มากทส่ี ุด

ร่วมกบั เพื่อนๆ

10 ฉนั มคี วามสุข สนุกสนานกับการรว่ มกจิ กรรมกล่มุ กับเพื่อนๆ 4.91 มากท่สี ุด

11 ฉันมีความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองที่เรียน เพราะกิจกรรมการเรียนรู้ทำให้ฉันได้ค้นหา 4.59 มากทส่ี ดุ

วเิ คราะหข์ อ้ มูล และหาคำตอบได้

12 ฉนั มคี วามรู้มากขนึ้ เพราะได้สนทนาแลกเปลย่ี นความรูก้ ับเพ่อื นๆ 4.68 มากที่สุด

13 กจิ กรรมการเรียนรู้ส่งเสรมิ ให้ฉันสามารถสรุปและสร้างองคค์ วามรไู้ ด้ด้วยตนเอง 4.55 มากที่สดุ

14 ฉันภาคภมู ใิ จในผลงานท่ีไดจ้ ากการเรยี น 4.86 มากทสี่ ดุ

15 ฉนั สามารถนำความร้ไู ปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั 4.73 มากทส่ี ดุ

เฉล่ยี 4.70 มากทส่ี ดุ

เฉลย่ี รวม 4.69 มากที่สุด

จากตาราง 7 ความพึงพอใจของนักเรียนต่อช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้
กระบวนการ GPAS 5 Steps ท่ีมีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน งานประดิษฐ์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 พบว่า
ภาพรวมอยู่ในระดบั มากทีส่ ุด (μ = 4.69)

34

เม่อื พจิ ารณารายด้านในภาพรวม พบวา่ อยู่ในระดับAมากที่สดุ ทั้ง 2 ด้าน โดยเรยี งลำดบั จากมากไปหา
น้อย ได้แก่ การจัดการเรียนรู้ (กระบวนการ GPAS 5 Steps) (μ = 4.70) ช้ินงานสร้างสรรค์ (μ = 4.68)
และเม่ือพจิ ารณารายขอ้ พบวา่ อยู่ในระดบั มากท่ีสุดทุกข้อ

สรุปได้ว่า ผลการวิจัยตอบรับสมมติฐานท่ีกำหนดว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อชิ้นงานสร้างสรรค์
ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ท่ีมีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน งานประดิษฐ์ ช้ัน
ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 อยูใ่ นระดับมาก

35

บทที่ 5
สรุปผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ

การศึกษาวจิ ัยเรื่องการพัฒนาชิน้ งานสรา้ งสรรค์ร่วมกบั การจัดการเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการ GPAS 5
Steps ที่มตี ่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น งานประดิษฐ์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 ผู้วจิ ัยขอนำเสนอสรปุ ผลการวิจัย
อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะตามลำดบั ดังน้ี

1. วัตถุประสงคข์ องการวจิ ัย
2. สมมติฐานการวจิ ัย
3. สรุปผลการวิจยั
4. อภิปรายผลการวิจัย
5. ขอ้ เสนอแนะ

วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจัย

1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการ
เรยี นรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ทมี่ ีตอ่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น งานประดษิ ฐ์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4

2. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้
กระบวนการ GPAS 5 Steps ที่มีต่อผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น งานประดษิ ฐ์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4

สมมติฐานการวิจยั

1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนด้วยช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้
กระบวนการ GPAS 5 Steps ท่มี ีตอ่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน งานประดิษฐ์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 4 หลงั เรียนสูง
กวา่ กอ่ นเรยี น

2. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5
Steps ทมี่ ตี อ่ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น งานประดษิ ฐ์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4 อยใู่ นระดบั มาก

สรปุ ผลการวิจัย

จากผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล ผู้วิจัยสรปุ ผลการวจิ ยั ดังตอ่ ไปนี้
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนด้วยช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้
กระบวนการ GPAS 5 Steps ทม่ี ีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน งานประดิษฐ์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 4 หลงั เรียนสูง
กว่าก่อนเรยี น
2. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5
Steps ทมี่ ีตอ่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น งานประดิษฐ์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากทีส่ ดุ

36

อภปิ รายผลการวิจยั

จากผลการวิจัยเรื่องการพัฒนาชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5
Steps ท่ีมีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน งานประดิษฐ์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 ผู้วิจัยอภิปรายผลการวิจัยตาม
วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจัยและตรวจสอบสมมติฐาน ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. จากวตั ถุประสงค์ข้อท่ี 1 ของการวิจัยท่ีว่า “เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลัง
เรียนด้วยช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ท่ีมีต่อผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียน งานประดิษฐ์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4” น้ัน สรุปผลการวิจัยได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียนท่ีเรียนด้วยช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ที่มีต่อ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน งานประดิษฐ์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ซ่ึงพบว่าตอบรับ
สมมติฐานข้อที่ 1 ที่ว่า “ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยช้ินงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการ
เรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ท่ีมีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน งานประดิษฐ์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4
หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน” อภิปรายผลได้ว่า การพัฒนาชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้
กระบวนการ GPAS 5 Steps ที่มีประสิทธิภาพแล้วนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนสูงข้ึน ทั้งน้ีอาจเป็นเพราะว่าการเรียนรู้โดยโดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ทำให้ผู้เรียนได้มี
ส่วนร่วมทัง้ ทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ได้ลงมือปฏิบตั ิจรงิ ตามกระบวนการ GPAS 5 Steps
ทุกขั้นตอน ผู้เรียนมีโอกาสได้รวบรวมข้อมูล คิดวิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติ สรุปและสร้างองค์ความรู้จากการปฏิบัติ
ฝึกแก้ปัญหา การตัดสินใจ และ ได้เรียนรู้ส่ิงต่างๆ จากการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นและส่ิงแวดล้อมรอบตัว ปฏิบัติ
กจิ กรรมอย่างหลากหลายทเ่ี หมาะสมกับผู้เรียน เน้ือหา และมโี อกาสนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์แก่
ตนเอง ครอบครัว และสังคมส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้น นอกจากน้ีชิ้นงานสร้างสรรค์ได้
ออกแบบให้มีรปู แบบทแ่ี ปลกใหม่ สะดุดตา น่าสนใจ ได้รับการประเมินคุณภาพ คำแนะนำ และได้ปรบั ปรุงแก้ไข
เครือ่ งมอื ตามขอ้ เสนอแนะของผู้เชยี่ วชาญจนมีคุณภาพ

สอดคล้องกับผลการวิจัยของวาวรินทร์ พงษ์พัฒน์ (2561) ได้ทำการศึกษาวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียน คณิตศาสตร์เรื่องความน่าจะเป็นโดยการจัดการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ในระดับช้ัน
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรยี นวดั ศรสี ุทธาราม จังหวดั สมทุ รสาคร ผลการศึกษาพบวา่ นกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 3
โรงเรียนวัดศรีสุทธาราม จังหวัดสมุทรสาคร มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องความน่าจะเป็น โดยวิธีสอนแบบ
GPAS 5 Steps หลังเรยี นสูงกวา่ กอ่ นเรียน อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติ.05

2. จากวัตถุประสงค์ข้อท่ี 2 ของการวิจัยท่ีว่า “เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อชิ้นงาน
สร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ท่ีมีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน งาน
ประดิษฐ์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4” น้ัน สรุปผลการวิจัยได้ว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อชิ้นงานสร้างสรรค์
ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ท่ีมีต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน งานประดิษฐ์ ช้ัน
ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 โดยภาพรวมอยู่ในระดบั มากท่ีสดุ ซง่ึ พบว่าตอบรับสมมติฐานข้อท่ี 2 ท่ีวา่ “นกั เรยี นมคี วาม
พึงพอใจต่อชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ที่มีต่อผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียน งานประดิษฐ์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 อยใู่ นระดับมาก” อภิปรายผลได้ว่า ท้ังน้ีอาจเป็นเพราะว่า
ผู้วจิ ัยได้พัฒนาชิ้นงานสร้างสรรค์โดยอาศัยหลักการใช้สิ่งเร้า ให้ช้ินงานมีรูปแบบที่แปลกใหม่ สะดุดตา น่าสนใจ
เพ่ือให้เกิดการตอบสนอง มีรูปภาพประกอบน่าสนใจ และทุกข้ันตอนของการสร้างเคร่ืองมือ ได้รับคำแนะนำ
และการประเมนิ คุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญทุกข้นั ตอน ประกอบกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5
Steps เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมท้ังทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่
หลากหลาย เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ มีส่วนร่วม มีปฏิสัมพันธ์กับเพ่ือนๆ

37

แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนๆ สร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
ผู้เรยี นได้นำเสนอผลงาน มีความภาคภูมใิ จในผลงานจากการทำงานและการร่วมกระบวนการกลุม่

สอดคล้องกับผลการวิจัย วาวรินทร์ พงษ์พัฒน์ (2561) ได้ทำการศึกษาวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียน คณิตศาสตร์เร่ืองความน่าจะเป็นโดยการจัดการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ในระดับช้ัน
มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดศรีสทุ ธาราม จงั หวดั สมุทรสาคร ผลการศึกษาพบว่า นกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3
โรงเรียนวัดศรีสุทธาราม จังหวัดสมุทรสาคร มีความพึงพอใจในการเรียน เรื่อง ความน่าจะเป็นโดยวิธีสอนแบบ
GPAS 5 Steps อยใู่ นระดบั มาก

ขอ้ เสนอแนะ

จากผลของการวิจัยคร้ังนี้ ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะ ซึ่งอาจเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้
ชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกบั การจดั การเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการ GPAS 5 Steps หรอื การศึกษาวจิ ยั ครั้งต่อไป ดงั น้ี

1. ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การนำไปใช้
1.1 ก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้

กระบวนการ GPAS 5 Steps ครูผู้สอนควรศึกษาทำความเข้าใจเก่ียวกับรายละเอียด ข้ันตอน และวิธีการของ
รูปแบบการสอน ศึกษาแผนการจดั การเรยี นรู้ เพอ่ื ใหก้ ารจัดการเรยี นการสอนมปี ระสิทธิภาพมากทส่ี ุด

1.2 ในระหว่างที่ทำกิจกรรมครูควรใช้การเสริมแรง ยกย่องชมเชย ให้รางวัลผู้เรียนกลุ่มที่ทำงาน
สำเร็จ และให้กำลังใจกลุ่มที่ทำงานไม่ทันหรือช้า เพื่อให้ผู้เรียนทุกคนมีกำลังใจท่ีจะเรียนรู้และไม่ท้อแท้ต่อการ
ทำงาน อนั จะส่งผลทำใหก้ ารสร้างชนิ้ งานประสบความสำเรจ็ ได้

1.3 ครูต้องศกึ ษาผูเ้ รยี นเป็นรายบุคคลก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนรแู้ ละการมอบหมายงาน
1.4 ต้องประเมินผู้เรียนและแจง้ ผลการปฏิบตั ิกิจกรรม ตลอดจนให้คำแนะนำรวมท้งั ขอ้ สงั เกตท่ีจะ
เป็นประโยชนต์ ่อผู้เรียนทุกคร้งั ท้ังนี้เพ่ือเป็นข้อมูลให้ผู้เรียนได้มกี ารปรับปรุง พัฒนา และแก้ไขจุดบกพร่องของ
ตนเองต่อไป
1.5 ครูไม่ควรใจร้อนรีบด่วนสรุปบทเรียนช่วยผู้เรียน หรือเฉลยคำตอบ ซ่ึงผู้เรียนจะไม่ได้ฝึก
กระบวนการคดิ ครคู วรใช้การกระตุน้ ยว่ั ยใุ ห้ผู้เรียนคิดหรือยกตวั อยา่ งให้หลากหลาย

2. ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การวิจัยครั้งตอ่ ไป
2.1 ควรมีการศึกษาวิจัยการพัฒนาชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ

GPAS 5 Steps ในสาระการเรยี นรู้อน่ื ๆ หรอื ในชั้นเรียนอนื่ ๆ
2.2 ควรมีการศึกษาวิจัยเพ่ือการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วย

ชิ้นงานสร้างสรรค์ร่วมกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ GPAS 5 Steps ในระดับชั้นอ่ืนๆ หรือในกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้อ่ืนๆ

2.3 ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบผลการจัดการเรียนรู้ด้วยช้ินงานสร้างสรรค์กับวิธีการสอนแบบ
อื่นๆ หรอื เปรียบเทยี บกบั สอ่ื การสอนแบบอน่ื ๆ เพอ่ื เป็นแนวทางในการจัดการเรียนร้ใู ห้มีประสทิ ธภิ าพย่ิงขึน้

38

บรรณานกุ รม

39

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2551. หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551.
กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกดั .

ชุลพี ร พนิ จิ พล. 2554. การพฒั นากิจกรรมการเรียนรู้แบบซิปปา โดยใช้แบบฝกึ ทักษะการอา่ น
เชิงวเิ คราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3. วิทยานพิ นธป์ ริญญา
ครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสตู รและการสอน มหาวิทยาลัยราชภฏั มหาสารคาม.

“ช้ินงานหรือภาระงานต่างกันอย่างไร”(online). จาก https://krukohkhan.wordpress.com/2013/.
[เขา้ ถึงเมื่อ 14 กมุ ภาพันธ์ 65]

เถกิง ละครเขต. 2553. การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบซิปปา(CIPPA MODEL) กลุ่มสาระการ
เรียนรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี เรือ่ ง การประดิษฐด์ อกไมจ้ ันทนช์ ั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4.
วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม.

ธญั ญารัตน์ สขุ เกษม. 2561. ผลการจัดการเรยี นรแู้ บบกระบวนการเรียนรู้ 5 ขน้ั ตอน (5 STEPs)
รว่ มกบั การใชค้ ำถามเชิงวิเคราะห์ เรื่อง วิวัฒนาการ ท่มี ีต่อการคดิ วเิ คราะหท์ างวทิ ยาศาสตร์
และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4. ศึกษาศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่.

ธติ ิยา จนั ทรพลาบูรณ์ สุวัฏ สอนจันทร์และภิญโญ ใจดำรง. 2564. คู่มือครใู ชค้ ู่กับหนังสือเรียนการงานอาชีพ
ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4. สถาบนั พฒั นาคุณภาพวชิ าการ (พว.).

บุญชม ศรีสะอาด. 2545. การวิจยั เบอื้ งตน้ . พิมพ์ครัง้ ท่ี 7. กรุงเทพมหานคร: สุวีรยิ าสาสน์ .
บุญธรรม กจิ ปรีดาบรสิ ุทธ์ิ. 2549. เทคนิคการสรา้ งเครอ่ื งมือรวบรวมข้อมูลสำหรบั การวจิ ยั .

พมิ พ์ครงั้ ที่ 6. กรุงเทพมหานคร: จามจรุ ีโปรดกั ท.์
พงษ์พิรณุ วดีศริ ศิกด์ิ. 2563. การพัฒนาความเป็นพลเมืองใสใจสังคมและผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวชิ า

วทิ ยาศาสตร์ ของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่5 โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน.
ปรญิ ญานพิ นธ์การศึกษามหาบณั ฑิต สาขาวิชาการวัดประเมนิ และวจิ ัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสุข. 2558. การจัดการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21. พิมพ์คร้ังท่ี2. กรงุ เทพฯ:
โรงพิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั .
พีรวุฒิ ยิ่งนอก. 2564. การศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และการคิดวิเคราะห์โดยการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ดว้ ยกระบวนการเรียนรู้ 5 ขน้ั ตอน (5 STEPs) รว่ มกับการจดั การเรยี นรแู้ บบร่วมมอื
ด้วยเทคนิคSTAD เร่ืองทรัพยากรธรณขี องนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4. วทิ ยานิพนธ์ปริญญา
ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยบรู พา.
เพญ็ พักตร์ ชว่ ยพันธ.์ 2558. ผลของการใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 ขัน้ ตอนทม่ี ีต่อทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ และความคิดสร้างสรรค์ ทางวทิ ยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ของ
นกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3. วทิ ยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาการพฒั นาหลักสูตรและ
การเรียนการสอน คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรีธรรมราช.
พชิ ญะ กนั ธิยะ. 2559. การพฒั นาทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ โดยใชก้ ารจัดการเรียนรู้ แบบบนั ได 5 ขนั้
วชิ าวิทยาศาสตร์ของนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบณั ฑิต
สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชยี งใหม่.

40

ราชบัณฑติ ยสถาน. 2542. พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรงุ เทพมหานคร:
อักษรเจริญทศั น.์

ราชกจิ จานุเบกษา. 2542. พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: ส านกั งาน
คณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.

วาวรินทร์ พงษ์พัฒน์. 2561. การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรเร์ ื่องความนา่ จะเปน็ โดยการ
จดั การเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ในระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียนวดั ศรีสุทธาราม
จงั หวดั สมุทรสาคร. โครงการหลกั สตู รศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาคณติ ศาสตรศึกษา
คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั รามคำแหง.

สุคนธ์ สินธพานนท.์ 2552. นวตั กรรมการเรียนการสอนเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพของเยาวชน. กรงุ เทพฯ:
9119 เทคนิคพร่ินติง.

สมบตั ิ ท้ายเรือคำ. 2551. ระเบยี บวิธวี จิ ยั สำหรับมนุษยศ์ าสตรแ์ ละสังคมศาสตร์. กาฬสนิ ธุ์:
ประสานการพมิ พ์.

สุนทรี เมฆบญุ สง่ ลาภ. 2540. ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นวิชาเศรษฐศาสตรค์ รอบครัวของนักเรยี นช้ัน
มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 ทีเ่ น้นทักษะกระบวนการ. วิทยานพิ นธป์ ริญญามหาบณั ฑิต
มหาวิทยาลยั เชียงใหม่.

อารยี ์ วชริ วราการ. 2542. การวัดและประเมินผลการเรียน. กรุงเทพมหานคร: สถาบนั ราชภฏั ธนบรุ ี.
อุทุมพร จามรมาน. 2540. ขอ้ สอบ: การสร้างและการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์ฟนั น่ี

พลับบชิ ชงิ่ จำกดั .
_______. 2544. แบบสอบถาม: การสรา้ งและการใช้. พิมพ์ครง้ั ท่ี 6. กรงุ เทพมหานคร:

โรงพิมพ์ฟันนีพ่ ลับบชิ ชง่ิ จำกัด.
ศริ ิพร เนาวะเศษ. 2554. ผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบซิปปา กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย

เรื่อง การรบั สารจากการอา่ นนิราศนรินทรค์ ำโคลง ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4. การศึกษาคน้ คว้า
อสิ ระปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลยั
มหาสารคาม.

41

ภาคผนวก

42

ภาคผนวก ก

ตัวอยา่ งแผนการจดั การเรียนรู้

43


Click to View FlipBook Version