The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติการประจำปี 2565 โรงเรียนบ้านตะกุย(ค้ำคูณบำรุง)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BantakuySchool, 2022-09-25 22:58:34

แผนปฏิบัติการประจำปี 2565

แผนปฏิบัติการประจำปี 2565 โรงเรียนบ้านตะกุย(ค้ำคูณบำรุง)



แผนปฏิบัตกิ าร
ประจำปี 2565



ตอนท่ี 1
ขอ้ มูลพื้นฐาน

1. ข้อมูลท่ัวไป
ชอ่ื โรงเรยี นบ้านตะกยุ (คำ้ คณู บำรงุ ) ทต่ี ัง้ หมทู่ ี่ 4 ตำบลตรมไพร อำเภอศีขรภมู ิ จังหวัด

สุรินทร์ สงั กัดสำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต 1 เปิดสอนระดับชนั้ อนบุ าล
ปที ี่ 1 ถึงระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 เน้ือท่ี 16 ไร่ 1 งาน 50 ตารางวา เขตพืน้ ที่บริการ หมู่ท่ี 4
หมู่ที่ 9 และหมู่ท่ี 10 ตำบลตรมไพร อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสรุ ินทร์

ประวตั ิโรงเรยี นโดยย่อ
โรงเรียนบา้ นตะกยุ (ค้ำคูณบำรงุ ) หมูท่ ่ี 4 ตำบลตรมไพร อำเภอศีขรภูมิ จงั หวัดสรุ ินทร์
รหสั ไปรษณยี ์ 32110 สงั กัดสำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมสุรนิ ทร์ เขต 1 ได้เริม่ ก่อต้งั ขน้ึ
เมอ่ื วนั ท่ี 15 มกราคม 2475 และไดจ้ ดั ทำการสอนตามหลกั สตู รประมวลการสอนภาค
หนึ่งของกระทรวงศึกษาธกิ าร ต้ังอยู่ได้ด้วยเงินบำรงุ การศึกษาและมพี ระอธกิ ารเปน็ อินทสุโร จดั สร้าง
อาคารข้ึนเปน็ อาคารเอกเทศถาวรเพราะตอนตั้งโรงเรียนข้ึนใหม่น้ันอาศัยศาลาวัดทำการสอนเม่อื วันที่
26 กนั ยายน 2498 ไดเ้ ปลีย่ นช่อื โรงเรียนใหม่โรงเรยี นบา้ นตะกุย (ค้ำคูณบำรุง) สาเหตทุ ี่มีคำว่า
“ คำ้ คูณบำรงุ ” ต่อทา้ ยน้นั มาจากนามสกลุ ของพระอธกิ ารเป็น อนิ ทสโุ ร ซ่ึงเป็นผ้อู ปุ ถัมภ์โรงเรียน
มาโดยตลอด
โรงเรยี นบา้ นตะกยุ (ค้ำคูณบำรุง) ไดย้ ้ายออกจากบรเิ วณวัดมาอย่ใู นทป่ี ัจจบุ นั น้ีเพราะอาคาร
เรียนที่พระอธกิ ารเปน็ อินทสุโร จดั สร้างน้ันเก่าแกม่ ากและผุพังตลอดจนสถานทีแ่ ละอาคารเรียนคบั
แคบไม่สามารถทีจ่ ะขยายใหก้ ว้างขวางไดแ้ ละเป็นที่ดินของทางวดั ดว้ ย คณะครู กรรมการศกึ ษา พอ่ คา้
และประชาชนชาวบ้านตะกยุ ได้ตกลงเอาท่ีดินโคกยาง(ท่อี ยู่ปจั จบุ นั )โดยความร่วมมือและการเสยี สละ
ของเจา้ ของทีด่ นิ ใกล้เคียง พร้อมทงั้ คณะครู กรรมการศกึ ษาได้ซื้อท่ีดินบรจิ าคอีกดังมรี ายช่อื ผ้ทู ี่บรจิ าค
ตอ่ ไปนี้
1. นายอภสิ ิทธิ์ จนั ทรแ์ จม่
2. นายหงิ ยศนีย์
3. นายผนั ไหมทอง
4. นายอาน ภูเขยี ว
5. นายอาน ประภาสยั
6. นางเปรง็ ค้ำคณู
7. นายหงษ์ ภูเขียว
วนั ท่ี 1 พฤศจิกายน 2520 คณะครูได้ซื้อที่ดนิ จากนายประเสรฐิ ยศนีย์ และนายสมดิ ยศนยี ์
นั้นได้บรจิ าคที่ดินให้อีก 1 แปลงรวมมีทีด่ นิ ทัง้ สิน้ ในปจั จุบันน้ปี ระมาณ 9 ไรเ่ ศษ
วันที่ 26 ตลุ าคม 2514 ไดร้ อื้ อาคารเก่าจากบริเวณวดั มาสรา้ งใหมต่ ามแบบ ป.1 ฉ ใต้ถนุ ต่ำ
จำนวน 2 ห้องเรียน โดยไดร้ ับเงนิ งบประมาณจากทางราชการมาเพ่ิมเติม 20,000 บาท
ตอ่ มาในปีงบประมาณ 2519 ทางโรงเรยี นไดร้ บั การจัดสรรงบประมาณมาสรา้ งอาคารเรียน เป็นเงิน
90,000 บาท เปน็ อาคารแบบ ป.1 ฉ อกี 1 หลงั 2 หอ้ งเรียนและได้สรา้ งเสรจ็ เมอ่ื วนั ท่ี 1 มิถนุ ายน
2520



ปกี ารศึกษา 2523 ไดร้ ับงบประมาณจัดสรร 94,800 บาท มาสร้างอาคารอเนกประสงค์
และตอ่ มาวันที่ 15 มถิ นุ ายน 2523 ก็ไดร้ ับงบประมาณสร้างอาคารแบบ สปช. 103 อกี 1 หลงั 3
ห้องเรยี นด้วยงบประมาณ 57,000 บาท

ปีงบประมาณ 2528 ไดร้ ับการจัดสรรสรา้ งอาคาร แบบ สปช. 105/2526 จำนวน 1 หลัง
2 ชนั้ 6 หอ้ งเรยี นด้วยงบประมาณ 749,000 บาท

ปกี ารศกึ ษา 2540 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้อนุมตั โิ รงเรียนบา้ นตะกุย (คำ้ คูณบำรุง)
เปน็ โรงเรยี นขยายโอกาสทางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ในระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 - 3

ปีงบประมาณ 2541 ได้รับการจัดสรรงบประมาณจากองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลตรมไพร
สรา้ งสนามตะกร้อ จำนวน 2 ท่ี ราคา 50,000 บาท และงบประมาณจาก สปช. สรา้ งสนาม
บาสเกตบอล จำนวน 1 ท่ี ราคา 232,000 บาท และไดร้ บั ความรว่ มมือจากผู้ปกครองนักเรียน
บริจาคเงนิ สรา้ งส้วมอนบุ าล เปน็ เงินทัง้ สิน้ 120,000 บาท

ปีงบประมาณ 2542 ได้รับการจดั สรรงบประมาณสร้างอาคารเรยี นแบบ สปช. 105/29
จำนวน 1 หลงั จำนวน 4 หอ้ งเรยี น ดว้ ยงบประมาณ 1,778,000 บาท

ปงี บประมาณ 2543 ได้รับการจัดสรรงบประมาณต่อเติมอาคารเรยี นแบบ สปช. 105/29
ช้ันลา่ ง จำนวน 4 หอ้ งเรยี นดว้ ยงบประมาณ 400,000 บาท

ปจั จุบันโรงเรยี นบ้านตะกยุ (ค้ำคณู บำรงุ ) มีอาคารเรียน 4 หลงั อาคารอเนกประสงค์
1 หลัง สว้ ม 3 หลงั 12 ที่ และเปดิ ทำการสอน 3 ระดบั คอื ช้ันอนุบาล, ช้ันประถมศึกษาและ
ช้ันมธั ยมศกึ ษา

แผนท่ีโรงเรียน



2. ข้อมูลผู้บริหาร
1) ผู้อำนวยการโรงเรยี น ชื่อ-สกุล นายชนิ วงศ์ ดีนาน โทรศัพท์ 064-4699662

e-mail [email protected] วฒุ ิการศกึ ษาสูงสดุ การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)
วุฒกิ ารศึกษาสูงสุด กศ.ม. สาขา หลักสูตรและการสอน ดำรงตำแหนง่ ทโ่ี รงเรยี นน้ตี งั้ แต่
1 ธนั วาคม 2557 จนถึงปัจจบุ นั เป็นเวลา 4 ปี 3 เดอื น

3. ข้อมูลนักเรยี น ปีการศึกษา 2561
1) จำนวนนักเรียนในเขตพืน้ ท่บี ริการท้ังสิ้น ๑๙๖ คน
จำนวนนกั เรียนในโรงเรยี นทง้ั สน้ิ 207 คน จำแนกตามระดบั ช้ันที่เปิดสอน

ระดบั ชั้นเรียน จำนวน เพศ รวม
หอ้ ง ชาย หญิง
อ.2 88 16
อ.3 1 95 14
รวม 1 17 13 30
ป.1 2 7 10 17
ป.2 1 12 9 21
ป.3 1 11 9 20
ป.4 1 14 8 22
ป.5 1 10 8 18
ป.6 1 98 17
รวม 1 66 52 115
ม.1 6 14 4 18
ม.2 1 10 7 17
ม.3 1 12 4 16
รวม 1 36 15 51
รวมทั้งหมด 3 146 108 196
9



2) จำนวนนักเรียนตามการวเิ คราะห์ผู้เรยี น

รายการ จำนวน(คน) คิดเปน็ รอ้ ยละ

1) จำนวนนักเรียนท่ีมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ของกรมพลศึกษา

หรือสำนักงานกองทุนสนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.)

2) จำนวนนกั เรยี นที่มนี ้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑข์ องกรมอนามยั

3) จำนวนนกั เรียนทม่ี คี วามบกพร่องเรียนรว่ ม

4) จำนวนนักเรียนมีภาวะทพุ โภชนาการ

5) จำนวนนักเรียนปญั ญาเลศิ

6) จำนวนนกั เรียนต้องการความช่วยเหลอื เป็นพิเศษ

7) จำนวนนักเรยี นท่ีออกกลางคนั (ปจั จบุ นั ) -

8) จำนวนนักเรียนท่ีมีสถิติการขาดเรียน(เกินกว่าร้อยละ80ของเวลา -

เรยี น)

9) จำนวนนักเรยี นทเ่ี รยี นซ้ำชัน้ -

10) จำนวนนักเรยี นทจ่ี บหลักสตู ร

ป. 6 17 100

ม. 3 16 100

11) อตั ราส่วนครู 1 คน : นักเรียน 25

12) จำนวนนักเรยี นทเี่ ขา้ รว่ มกจิ กรรมศลิ ปะ ดนตรี นาฏศิลป์ วรรณคดี

และนนั ทนาการ

13) จำนวนนักเรียนที่มคี ุณลักษณะเปน็ ลูกท่ีดีของพ่อ แม่ ผู้ปกครอง

14) จำนวนนักเรียนทีม่ คี ณุ ลักษณะเปน็ นักเรยี นท่ีดีของโรงเรยี น

15) จำนวนนักเรยี นที่ทำกิจกรรมบำเพญ็ ประโยชน์ตอ่ สังคมทง้ั ในและนอก

ประเทศ

16) จำนวนนักเรยี นทม่ี บี นั ทกึ การเรยี นรูจ้ ากการอา่ นและการสืบคน้ จาก

เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งสมำ่ เสมอ

17) จำนวนนกั เรียนท่ผี ่านการประเมนิ ความสามารถด้านการคิดตามที่

กำหนดในหลักสูตรสถานศึกษา

18) จำนวนนักเรยี นทีผ่ า่ นเกณฑ์การประเมินตามความสามารถในการปรบั ตัว

เข้ากับสังคมตามทีก่ ำหนดในหลกั สตู รสถานศึกษา



4. ขอ้ มูลครูและบคุ ลากร

ครปู ระจำการ

ที่ ชอ่ื – ช่ือสกลุ อายุ ตำแหน่ง/ วฒุ ิ วชิ า เอก จำนวนครั้ง/
อายุ ราช วิทยฐานะ สอนวิชา/ ช่วั โมงทรี่ ับ

การ ชน้ั การพฒั นา/
ปี

1 นายชนิ วงศ์ ดีนาน 50 40 ผ้อู ำนวยการ กศ.ม. หลักสูตรและ - 8

ชำนาญการ การแนะแนว

พิเศษ

๒ นางบุญยดา บุญร่วมธนะชยั 55 27 ครู ศษ.บ โสตทัศน ป.5 7

ชำนาญการ กศ.ม. ศกึ ษา

พเิ ศษ บรหิ าร

การศกึ ษา

๓ นางเสาวนยี ์ จันทรแ์ จม่ 40 10 ครู คบ. คณติ ศาสตร์ ม.1-ม.3 7

ชำนาญการ กศ.ม. บริหาร

การศกึ ษา

๔ นายสุรทยั เติมสุข 55 10 ครู (คศ.1) คบ. สังคมศึกษา ป.6-ม.3 7

กศ.ม. บริหาร

การศึกษา

๕ นายนพรตั น์ แก้ววิเศษ 40 9 ครู คบ. คณิตศาสตร์ ป.4-ป.6 7

ชำนาญการ กศ.ม. บรหิ าร

การศึกษา

๖ นางสาววจิ ติ ร ตรงแก้ว 37 9 ครู (คศ.1) กศ.บ. การ ป.4 7

ประถมศึกษา

๗ นางธญั ลกั ษณ์ นิตนอก ๒๘ 5 ครู (คศ.1) ศศ.บ. ภาษาอังกฤษ ป.5-ม.3 7

๘ นางสาวธญั ลักษณ์ คงสกุล 25 1 ครูผชู้ ่วย คบ. การ ป.3 7

ประถมศกึ ษา

๙ นางสาวปาลดิ า ศรีคะชินทร์ 25 3 ครผู ูช้ ่วย คบ. ภาษาไทย ป.4-ป.6 7

เดอื น

๑๐ นางสาวอมั ภาพร แสงดาว 24 3 ครูผู้ช่วย กศ.บ. ภาษาไทย ม.1-ม.3 7

เดอื น

จำนวนครทู ่สี อนวิชาตรงเอก 1๐ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 91.66



พนักงานราชการ/ครูอตั ราจา้ ง

ท่ี ชื่อ – ชือ่ สกลุ อายุ ประสบการณ์ วฒุ ิ วชิ า เอก สอนวิชา/ จา้ งดว้ ยเงนิ
การสอน (ป)ี ช้นั

1 นางสาวเครือวัลย์ ดวงดี 50 9 คบ. การประถมศึกษา ป.1 งบประมาณ

2 นายคำรณ ภเู ขยี ว 37 8 คบ. อุตสาหกรรมศิลป์ ป.1-ม.3 งบประมาณ

4 นางสุทธิดา พูนดังหวงั 37 5 คบ. เคมี ป.2 งบประมาณ

.

5 นายวชั ระ ตรศี ลิ สัตย์ 36 3 คบ. คอมพิวเตอร์ ป.1-ม.3 งบประมาณ

6 นายชัยภัทร ศรีขนั ชมา 29 3 เดือน คบ. สงั คมศึกษา ปฎิบัตงิ าน งบประมาณ

ธุรการ

7 นางสาวจันทรา นา่ ชม 25 1 คบ. ปฐมวยั ปฐมวัย งบประมาณ

8 นางสาวสวุ มิ ล นพพิบูลย์ 25 1 คบ. ปฐมวยั ปฐมวยั งบประมาณ

5. ขอ้ มูลอาคารสถานที่
อาคารเรียน จำนวน 4 หลงั อาคารประกอบจำนวน 1 หลงั สว้ ม 3 หลงั

สระว่ายนำ้ - สระ สนามเด็กเล่น 1 สนาม สนามฟุตบอล 1 สนาม สนามบาสเก็ตบอล
1 สนาม สนามวอลเลย่ บ์ อล 1 สนาม สนามตะกร้อ 1 สนาม

6. ขอ้ มูลงบประมาณ

งบประมาณ (รบั -จา่ ย)

รายรับ จำนวน/บาท รายจา่ ย จำนวน/บาท

เงนิ งบประมาณ 173,107.27 งบดำเนนิ การ/เงนิ เดอื น-ค่าจ้าง

เงินนอกงบประมาณ 154,713.49 งบพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษา

เงินอน่ื ๆ (ระบ)ุ งบอ่นื ๆ (ระบ)ุ

รวมรายรบั รวมรายจา่ ย

งบดำเนนิ การ/เงนิ เดอื น เงนิ ค่าจ้าง คิดเปน็ รอ้ ยละ....................ของรายรับ
งบพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา คดิ เป็นร้อยละ....................ของรายรับ



7. ขอ้ มูลสภาพชมุ ชนโดยรวม
1. สภาพชมุ ชนรอบบรเิ วณโรงเรยี นมลี กั ษณะพื้นทีร่ าบสงู รม่ รน่ื มคี วามสงบสุข ไม่มกี ารแพร่

ระบาดของยาเสพตดิ ชุมชนให้ความร่วมมือกบั ทางโรงเรยี นเป็นอย่างดี บริเวณใกล้เคยี งโดยรอบ
โรงเรยี น ไดแ้ ก่ บ้านตะกุย บ้านตาแกว้ บ้านเนนิ สูง บ้านโคกหลกั

อาชีพหลักของชมุ ชน คือ เกษตรกรรม เนื่องจากมพี ืน้ ทีส่ ว่ นใหญเ่ ปน็ พ้นื ที่ราบเหมาะ
สำหรับการปลกู ข้าว

การนับถือศาสนา ส่วนใหญ่นบั ถอื ศาสนาพุทธ ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นท่ีเป็นท่ี
รู้จกั โดยทว่ั ไป คือ ภาษาเขมร และวฒั นธรรมพนื้ บ้านในท้องถ่นิ ท่ีปฏิบัติสืบต่อกันมา ได้แก่

- ประเพณีวันโฎนตา ทุกวนั ข้นึ 15 คำ่ เดือน 10 ของทุกปี
- ประเพณีทำบุญตักบาตรที่วัดทุกวนั พระ ขน้ึ 8 คำ่ , 15 คำ่ และแรม 8 ค่ำ, 15
คำ่
- ประเพณีทำบญุ ตักบาตรเทโว ทกุ วนั แรม 1 คำ่ เดอื น 11 ของทุกปี
2. ผ้ปู กครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดบั ช้ัน ป. 6 อาชพี หลัก คือ ทำนา, รบั จา้ ง ส่วนใหญ่
นับถอื ศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกจิ /รายไดโ้ ดยเฉลีย่ ต่อครอบครวั ต่อปี 30,000 บาท จำนวนคน
เฉลยี่ ตอ่ ครอบครวั 4-5 คน
3. โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรยี น
โรงเรยี นอยใู่ กล้แหลง่ เรียนรู้ในชมุ ชน เช่น วัด การสาธารณปู โภคภายในหมู่บา้ น
มีนำ้ ไว้ด่มื ไวใ้ ช้ แตน่ ำ้ ที่ใช้อุปโภคในโรงเรยี นยงั ขาดแคลนในบางระยะ การคมนาคมระหว่างหมบู่ ้าน
ใกล้เคยี งเป็นไปด้วยความสะดวก แตม่ ปี ัญหาในช่วงฤดฝู นทำใหถ้ นนชำรุดเป็นหลุมเป็นบ่อมนี ้ำขัง
เฉอะแฉะทำให้การเดินทางไม่สะดวก



8. โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษา

โครงสรา้ งหลกั สูตรแกนกลางสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551

ระดบั ช้นั ประถมศึกษา

โรงเรยี นบา้ นตะกุย (คำ้ คณู บำรุง) ปีการศกึ ษา 2561

เวลาเรียน ( ช่ัวโมง / ปี )

กลมุ่ สาระการเรียนรู้/ กจิ กรรม ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ( พ้ืนฐาน )

 ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160

 คณิตศาสตร์ 200 200 200 160 160 160

 วิทยาศาสตร์ 80 80 80 80 80 80

 สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 80 80 80 80 80 80

 ประวัตศิ าสตร์ 40 40 40 40 40 40

 สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา 80 80 80 80 80 80

 ศลิ ปะ 80 80 80 80 80 80

 การงานอาชีพและ เทคโนโลยี 40 40 40 80 80 80

 ภาษาต่างประเทศ 40 40 40 80 80 80

รวมเวลาเรียน ( พนื้ ฐาน ) 840 840 840 840 840 840

รายวิชา / กจิ กรรมทสี่ ถานศึกษาจดั เพิ่มเติม

ตามความพร้อมและจุดเนน้

 หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง 40 40 40 40 40 40

รวมเวลาเรยี น ( รายวชิ าเพิ่มเตมิ ) 40 40 40 40 40 40

 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น

 กจิ กรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40

 กิจกรรมนักเรยี น

- ลกู เสอื /เนตรนารี 40 40 40 40 40 40

- ชุมนมุ ชมรม 30 30 30 30 30 30

 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ 10 10 10 10 10 10

รวมเวลาเรียน ( กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น ) 120 120 120 120 120 120

รวมเวลาเรียนทัง้ หมด 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000

๑๐

โครงสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษาการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ปกี ารศกึ ษา 2561
ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 1- 3 โรงเรยี นบา้ นตะกุย(คำ้ คูณบำรุง)

เวลาเรียน ( 40 ชั่วโมง / 1 หน่วยกติ )

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 3
ภาคเรียน 1 ภาคเรียน 2 ภาคเรยี น 1 ภาคเรียน 2 ภาคเรียน 1 ภาคเรียน 2

พฐ พต พฐ พต พฐ พต พฐ พต พฐ พต พฐ พต

1. ภาษาไทย 60 - 60 - 60 - 60 - 60 - 60 -

2. คณติ ศาสตร์ 60 - 60 - 60 - 60 - 60 - 60 -

3. วิทยาศาสตร์ 60 20 60 - 60 20 60 - 60 20 60 20

4. สังคมศึกษา ศาสนา

และวฒั นธรรม 60 40 60 40 60 40 60 40 60 40 60 40

ประวตั ศิ าสตร์ 20 - 20 - 20 - 20 - 20 - 20 -

5. สขุ ศกึ ษาและ

พลศึกษา 40 - 40 - 40 - 40 - 40 - 40 -

6. ศิลปะ 40 - 40 - 40 - 40 20 40 - 40 -

7. การงานอาชีพ

และเทคโนโลยี 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40

8. ภาษาตา่ งประเทศ 60 - 60 20 60 - 60 - 60 - 60 -

รวมวิชาพืน้ ฐาน/

วิชาเพมิ่ เติม/ภาคเรียน 440 100 440 100 440 100 440 100 440 100 440 100

กิจกรรมแนะแนว 20 20 20 20 20 20

กิจกรรมนักเรียน

- ลูกเสอื /เนตรนารี 20 20 20 20 20 20

- ชมุ นมุ ชมรม 15 15 15 15 15 15

กิจกรรมเพื่อสงั คม

และสาธารณฯ 555555

รวมเวลาเรยี นกจิ กรรม

พัฒนาผเู้ รยี น/

ภาคเรียน 60 60 60 60 60 60

รวมช่ัวโมงเรียน /

ภาคเรียน 600 600 600 600 600 600

รวมเวลาเรียนทงั้ หมด 1,200 ชวั่ โมง / ปี

๑๑

9. แหลง่ เรียนรู้ ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่

1) ห้องสมดุ มีขนาด 12 x 9 ตารางเมตร จำนวนหนงั สอื ในหอ้ งสมดุ 600 เลม่

การสบื ค้นหนงั สือและการยมื -คนื ใชร้ ะบบ บตั รยืม

จำนวนนักเรียนทีใ่ ช้ห้องสมุดในปีการศกึ ษาทร่ี ายงาน เฉลี่ย 120 คน ต่อ วัน

คิดเปน็ ร้อยละ 44.44 ของนักเรยี นทัง้ หมด

2) ห้องปฏิบตั ิการ

หอ้ งปฏิบตั ิการวิทยาศาสตร์ จำนวน 1 ห้อง

หอ้ งปฏิบัติการคอมพวิ เตอร์ จำนวน 1 หอ้ ง

หอ้ งปฏิบตั กิ ารทางภาษา จำนวน - หอ้ ง

ห้อง (ระบุ) - จำนวน - หอ้ ง

3) คอมพวิ เตอร์ จำนวน 45 เครอ่ื ง

ใช้เพื่อการเรยี นการสอน 20 เคร่อื ง

ใช้เพือ่ สืบคน้ ข้อมูลทางอนิ เทอรเ์ น็ต 20 เคร่อื ง

จำนวนนักเรียนทีส่ ืบค้นข้อมูลทางอินเทอรเ์ นต็ ในปกี ารศึกษาทรี่ ายงาน

เฉลี่ย 25 คน ตอ่ วนั คดิ เป็นรอ้ ยละ 10 ของนกั เรยี นทั้งหมด

ใชเ้ พอ่ื การบรหิ ารจัดการ 5 เคร่ือง

4) แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรยี น

แหล่งเรียนรู้ภายใน สถิตกิ ารใช้จำนวนครั้ง/ปี
ช่ือแหล่งเรียนรู้

1. หอ้ งสมุด 250

2. ห้องคอมพิวเตอร์ 200

3. ห้องวทิ ยาศาสตร์ 200

4. สนามกฬี า 240

5. ห้องพยาบาล 40

6. หอ้ งสหกรณ์ 110

7. สวนเกษตร 120

5) แหลง่ เรยี นรภู้ ายนอกโรงเรียน สถิติการใช้
จำนวนคร้ัง/ปี
แหล่งเรยี นรภู้ ายนอก
2
ชื่อแหล่งเรยี นรู้ 2
20
1. อบต.ตรมไพร 15
2. สถานีอนามัยตำบลตรมไพร 15
3. วดั บ้านตะกุย 15
4. หมบู่ ้านตาแก้ว
5. หมบู่ า้ นตะกุย
6. หมู่บา้ นเนินสงู

๑๒

6) ปราชญ์ชาวบา้ น/ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ ที่สถานศึกษาเชิญมาให้ความรู้แก่ครู
นกั เรยี น ในปีการศึกษาท่รี ายงาน

6.1 ชอ่ื -สกุล นางนงนชุ จันทร์แจม่ ให้ความรเู้ ร่ือง การทอผ้า, การตดั เย็บ
สถิตกิ ารให้ความรู้ในโรงเรียนแหง่ น้ี จำนวน 25 ครง้ั /ปี

6.2 ชื่อ-สกลุ นายสญั ชัย กะหะกะสิทธิ์ ให้ความรเู้ ร่ือง เกษตรผสมผสาน
สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งน้ี จำนวน 20 ครง้ั /ปี

6.3 ช่ือ-สกุล นายสุธี เมอื งชัย ใหค้ วามรู้เรอื่ ง งานปนู
สถิตกิ ารให้ความรู้ในโรงเรียนแหง่ น้ี จำนวน 20 ครง้ั /ปี

6.4 ชื่อ-สกลุ นายโพน ประกอบดี ใหค้ วามรเู้ รอ่ื ง ชา่ งยนต์
สถิติการให้ความรใู้ นโรงเรยี นแห่งน้ี จำนวน 25 ครงั้ /ปี

10. ผลงานดีเดน่ ในรอบปีท่ีผา่ นมา
๑0.๑ ผลงานดเี ดน่
- ดา้ นครู

ประเภท ระดบั รางวลั /ชื่อรางวัลทไี่ ดร้ ับ หนว่ ยงานทมี่ อบรางวัล
นายวัชระ ตรศี ิลสตั ย์
ครผู ูส้ อนนกั เรยี น ได้รับรางวลั สพป.สรุ นิ ทร์ เขต1
นางสุทธิดา พูนดงั หวงั เหรียญทอง การแข่งขันการสร้าง
การต์ ูนแอนเิ มชนั่ (2D
นางเสาวนีย์ จันทร์แจ่ม Animation) ม.1-ม.3
นางสมทรพั ย์ กทศิ าสตร์
ครูผู้สอนนักเรยี น ได้รับรางวลั สพป.สุรนิ ทร์ เขต1
นายสรุ ทัย เตมิ สุข เหรียญทอง การแข่งขันการสรา้ ง
การ์ตนู แอนิเมชั่น (2D
นายคำรณ ภูเขียว Animation) ม.1-ม.3

ครูผสู้ อนนักเรยี น ไดเ้ ข้ารว่ ม การ สพป.สรุ ินทร์ เขต1
แข่งขันซูโดกุ ระดับช้นั ม.๑ - ม.


ครูผู้สอนนักเรยี น ไดร้ ับรางวัล สพป.สุรนิ ทร์ เขต1
ระดับเหรยี ญทองแดงกิจกรรม
การแขง่ ขันคัดลายมอื สื่อ
ภาษาไทย ระดับชัน้ ม.๑ - ม.๓

ครผู สู้ อนนกั เรียน ไดร้ ับรางวลั สพป.สุรนิ ทร์ เขต1
ระดบั เหรียญทอง กจิ กรรม การ
ประกวดมารยาทไทย ระดบั ชั้น
ม.๑ - ม.๓

ครูผู้สอนนกั เรียน ไดร้ บั รางวลั สพป.สุรินทร์ เขต1
ระดบั เหรยี ญทอง กจิ กรรม การ
ประกวดมารยาทไทย ระดับชั้น
ม.๑ - ม.๓

๑๓

- ด้านนักเรียน

ชื่อ-สกุล รายการ ระดับ
เด็กหญิงกานตม์ ณี เติมสุข
เดก็ หญงิ พรชติ า เตมิ สขุ ได้รบั รางวัลเหรียญทอง การ สพป.สุรินทร์ เขต1

เดก็ ชายเชษฐ์สกุล ค้าํ คูณ แข่งขันการสรา้ งการต์ ูนแอนิ
เดก็ หญิงนลนิ ทิพย์ ศรีขันชมา
เมช่ัน (2D Animation) ม.1-ม.3
เด็กชายปภาวิน ภญิ โญ
เด็กหญิงอรทัย บญุ พัก ไดเ้ ขา้ ร่วม การแข่งขันซูโดกุ สพป.สรุ นิ ทร์ เขต1

ระดับชั้น ม.๑ - ม.๓

ได้รบั รางวัลระดบั เหรยี ญ สพป.สรุ ินทร์ เขต1

ทองแดงกิจกรรม การแข่งขันคดั

ลายมือสือ่ ภาษาไทย ระดบั ช้ัน ม.

๑ - ม.๓

ครูผู้สอนนกั เรียน ได้รบั รางวัล สพป.สรุ นิ ทร์ เขต1

ระดับเหรยี ญทอง กิจกรรม การ

ประกวดมารยาทไทย ระดบั ชั้น

ม.๑ - ม.๓

๑๔

10.2 งาน/โครงการ/กจิ กรรม ท่ีประสบผลสำเร็จ

ที่ ชื่องาน/โครงการ/ วัตถปุ ระสงค/์ วิธดี ำเนนิ การ ตวั บง่ ชคี้ วามสำเร็จ
กิจกรรม
เปา้ หมาย (ย่อ ๆ) (จำนวน/รอ้ ยละ)
1 โครงการสง่ เสริม
คุณธรรม จรยิ ธรรม เพื่อให้นักเรยี นมีระเบยี บ 1. อบรมหน้าเสาธง นักเรียนมรี ะเบียบวนิ ยั

2 โครงการโรงเรียน วนิ ยั ความรบั ผดิ ชอบ 2. นง่ั สมาธิตอนเทีย่ ง ความรบั ผดิ ชอบ
ส่งเสรมิ สุขภาพ
ซ่อื สัตย์ มคี วามกตญั ญู 3. ฝึกมารยาทไทย ซอ่ื สัตย์ สจุ ริต มีความ

กตเวที มเี มตตากรุณา 4. จัดกิจกรรมวันสำคญั กตญั ญู กตเวที

ประหยัด ทางศาสนา มีเมตตากรณุ า

5. จัดกิจกรรมพฒั นา ประหยดั รอ้ ยละ 85

ผู้เรียน

7. เข้าคา่ ยอบรม

คณุ ธรรม จริยธรรม

8. สวดมนต์วันสุดสัปดาห์

1. เพื่อใหน้ กั เรยี นมีสขุ 1. งานอนามัยโรงเรียน 1. นกั เรยี นรอ้ ยละ 80

นสิ ัยในการดแู ลตนเอง 2. กิจกรรมออกกำลังกาย มสี ขุ นิสยั ในการดูแล

และออกกำลังกายอย่าง เพื่อสุขภาพ ตนเองและออกกำลงั

สม่ำเสมอ 3. กจิ กรรมแปรงฟนั กายอยา่ งสม่ำเสมอ

2. เพือ่ ใหน้ ักเรยี นมี 4. กจิ กรรมนันทนาการ 2. นักเรียนรอ้ ยละ 80

น้ำหนกั สว่ นสูง และ 5. กิจกรรมส่งเสริม มีน้ำหนกั ส่วนสงู และ

สมรรถภาพทางกายตาม สุขภาพอนามยั นักเรยี นที่ สมรรถภาพทางกาย

เกณฑ์ มีนำ้ หนกั ต่ำ หรอื สูงกว่า ตามเกณฑ์

3. เพอ่ื ให้นักเรยี นรูจ้ ัก เกณฑ์ 3. นักเรยี นร้อยละ 80

การป้องกันตนเองจาก รู้จักการป้องกนั ตนเอง

ส่งิ เสพตดิ ให้โทษและ จากสง่ิ เสพตดิ ให้โทษ

หลีกเล่ยี งสภาวะทเ่ี สีย่ ง และหลีกเลย่ี งสภาวะท่ี

ตอ่ ความรนุ แรง โรคภยั เส่ยี งต่อความรนุ แรง

อบุ ัตเิ หตุ และปัญหาทาง โรคภยั อุบตั ิเหตุ และ

เพศ ปัญหาทางเพศ

4. เพ่อื ใหน้ ักเรียนมีความ 4. นักเรียนร้อยละ 80

มัน่ ใจกล้าแสดงออกอยา่ ง มคี วามมน่ั ใจกลา้

เหมาะสมและใหเ้ กยี รติ แสดงออกอย่าง

ผูอ้ นื่ เหมาะสมและใหเ้ กยี รติ

ผ้อู น่ื

๑๕

ที่ ช่ืองาน/โครงการ/ วัตถุประสงค์/ วธิ ีดำเนินการ ตวั บ่งชี้ความสำเร็จ
กจิ กรรม (จำนวน/ร้อยละ)
เปา้ หมาย (ย่อ ๆ)
3 โครงการหอ้ งสมุด 1. นกั เรยี นรอ้ ยละ 80
มชี วี ิต 1. เพื่อให้นกั เรียนไดใ้ ช้ 1. กจิ กรรมสง่ เสริม ได้ใชบ้ ริการห้องสมุด
2. นักเรยี นร้อยละ 80
เป็นแหล่งเรียนรู้ รกั การอา่ น ได้ใช้เวลาวา่ งในการใช้
บรกิ ารหอ้ งสมุด
2. เพือ่ ให้นักเรยี นรู้จักใช้ 2. จัดซ้ือหนังสอื ตำรา 3. นกั เรียนรอ้ ยละ 80
ได้ค้นควา้ และเรียน
เวลาวา่ งให้เกิดประโยชน์ เรยี น วารสาร วิธีการใช้หอ้ งสมุด
4. นักเรยี นร้อยละ 80
สูงสุด หนงั สือพิมพ์ มนี สิ ยั รกั การอา่ น

3. ส่งเสรมิ สนบั สนุนให้ 3. ปรบั ปรุงพฒั นา

นักเรยี นรจู้ กั ศึกษาหา หอ้ งสมดุ

ความรูเ้ พม่ิ เติม 4. จดั สปั ดาหห์ อ้ งสมุด

4. เพื่อสรา้ งนิสยั ในการ

รักการอ่านให้กบั นักเรยี น

4 สูค่ วามเป็นเลิศทาง เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรยี น 1. เตรยี มนกั เรยี นในการ นกั เรยี นไดเ้ ขา้ รว่ ม

วิชาการ ไดแ้ สดงออกถงึ รว่ มกจิ กรรมภายใน แขง่ ขนั ทกั ษะทาง

ความสามารถทางดา้ น โรงเรียนและหน่วยงาน วิชาการของโรงเรียน

วิชาการ ตา่ ง ๆ และหนว่ ยงานต่าง ๆ

2. ร่วมกจิ กรรมการ

ประกวดในและนอก

โรงเรียน

5 โครงการพัฒนา 1. เพ่อื พฒั นาหลักสูตร 1. โรงเรยี นกำหนดใหค้ รู 1. โรงเรียนมีหลักสตู ร

หลักสตู รสถานศกึ ษา สถานศกึ ษาได้ครบ 8 ไดพ้ ฒั นาหลักสูตร สถานศกึ ษาครบทกุ

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 1 สถานศึกษา แหล่งเรยี นรู้ กลุม่ สาระ

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และการจัดทำแผนการ 2. ครูประสบ

และแหลง่ การเรยี นรู้ จดั การเรียนร้สู าระตา่ งๆ ความสำเร็จในการจดั

ตา่ ง ๆ 2. นำหลกั สูตร เรยี นรู้ตามแผนการ

2. เพ่อื ให้ครมู ีความเข้าใจ สถานศึกษาและแผนการ จัดการเรียนรูท้ ่วี างไว้

สามารถใช้หลักสูตรให้ได้ จัดการเรยี นรู้ ท่ีจดั ทำ ผู้เรยี นไดร้ บั ความรแู้ ละ

อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ พฒั นาแล้วไปใช้จัดการ มีความสุขในการเรียนรู้

เรียนร้แู กผ่ เู้ รยี น

6 โครงการพฒั นา เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้ครูและ 1. ดำเนินการอบรม ครแู ละบุคลากร

บุคลากร บคุ ลากรทางการศึกษา สมั มนา และจัดสง่ ทางการศึกษาได้รบั การ

ไดร้ ับการพัฒนา และ บคุ ลากรเขา้ รับการอบรม พัฒนาและสามารถ

นำมาใชใ้ นการจดั การ สัมมนา นำมาจดั กิจกรรมการ

เรียนรู้ไดอ้ ย่างมี 2. จดั ทำทะเบยี นการ เรยี นรูไ้ ดอ้ ยา่ งมี

ประสทิ ธิภาพ อบรม คณุ ภาพร้อยละ 80

3. สรปุ ผล รายงาน

๑๖

ที่ ชอื่ งาน/โครงการ/ วตั ถุประสงค์/ วิธีดำเนนิ การ ตวั บง่ ชคี้ วามสำเร็จ
กิจกรรม (จำนวน/ร้อยละ)
เปา้ หมาย (ย่อ ๆ)
8 โครงการประกัน 1. ผลการประเมนิ
คุณภาพภายใน 1. เพือ่ ใหผ้ ูบ้ รหิ าร 1. ประชมุ ชี้แจง คุณภาพภายใน
สถานศกึ ษา สถานศกึ ษาอยู่ในระดบั
ครผู ู้สอนและผเู้ กี่ยวขอ้ ง รายละเอยี ดการ ดขี ึน้ ไปทุกรายการ
2. มีการจัดทำรายงาน
ในการจดั การศกึ ษา ได้ ดำเนินการตามโครงการ การประเมินตนเอง

ตระหนักเห็นความสำคญั แก่คณะครใู นโรงเรยี น

และ ร่วมกันรบั ผดิ ชอบ 2. ดำเนนิ การประเมิน

การจัดการศึกษา เพ่ือ คณุ ภาพภายใน

พัฒนาผเู้ รยี นให้เกิดการ สถานศึกษา

เรียนรู้ 3. จัดทำงานรายงาน

2. เพ่อื จัดระบบการ ประเมินตนเอง

ประกนั คุณภาพการศึกษา 4. รายงานผลต่อ

ภายในสถานศกึ ษาให้มี สาธารณชน

คุณภาพเป็นทยี่ อมรับของ

ประชาชน ชมุ ชน และ

ท้องถ่ิน

3. เพื่อให้หน่วยงานและ

ผมู้ ีส่วนเกีย่ วขอ้ งในการ

จัดการศกึ ษาของ

สถานศึกษาสามารถ

รับทราบผลการ

ดำเนนิ งานจดั การศกึ ษา

และเข้ามามีสว่ นรว่ ม

รบั ผิดชอบในการจัด

การศกึ ษามากย่งิ ขึ้น

4. เพอื่ จัดระบบควบคมุ

คุณภาพการศึกษาของ

โรงเรียนตามมาตรฐานท่ี

สถานศึกษากำหนด

5. เพื่อจดั ระบบการนเิ ทศ

ภายในใหม้ ีประสทิ ธิภาพ

๑๗

ที่ ชอื่ งาน/โครงการ/ วตั ถปุ ระสงค/์ วิธดี ำเนนิ การ ตวั บ่งชคี้ วามสำเรจ็
กิจกรรม
เปา้ หมาย (ยอ่ ๆ) (จำนวน/รอ้ ยละ)
9 โครงการนิเทศ
ภายใน 1. เพื่อใหค้ ำแนะนำ 1. นเิ ทศแบบ 1. ครูและบคุ ลากร

10 โครงการพัฒนาและ ช่วยเหลือและแก้ไข กลั ยาณมติ ร ทางการศกึ ษาใน
ปรับปรุงอาคาร
สถานที่ ปญั หาตา่ ง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ 2. นเิ ทศโดยผู้บรหิ าร โรงเรยี นให้มีความรู้มี

11 โครงการวจิ ยั เพ่ือ จากการจัดกิจกรรม 3. ประชุมอบรม, สัมมนา ทักษะในการปฏบิ ัตงิ าน
พฒั นาคุณภาพ
การศึกษา การเรียนการสอน 4. สนทนาทางวิชาการ 2. นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิ

2. เพือ่ ให้การจดั กิจกรรม 5. ใหค้ ำปรกึ ษา ทางการเรยี นเพิม่ ขน้ึ

การเรยี นการสอนบรรลุ 6. เย่ียมชนั เรยี น

ตามเปา้ หมาย 7. สังเกตการสอน

1. เพ่ือปรับปรงุ ซ่อมแซม 1. ซอ่ มแซมอาคาร 1. อาคารสถานท่ีมี

อาคารสถานทใี่ ห้มสี ภาพ สถานท่ี สภาพพรอ้ มใช้

เหมาะสมกับการปฏิรปู 2. ปรับปรุงและพฒั นา 2. สภาพแวดล้อม

การศกึ ษา สภาพแวดล้อม สะอาดปลอดภยั

2. เพ่ือปรับปรุงสภาพ

แวดล้อมภมู ทิ ัศน์ภายใน

โรงเรยี นให้สวยงาม

3. เพอ่ื สง่ เสรมิ คุณภาพ

การจดั กจิ กรรมการเรยี น

การสอนใหเ้ กิด

ประสิทธภิ าพสูงสุด

1. เพอื่ ไดผ้ ลงานวิจัย 1. สำรวจความต้องการ 1. สถานศกึ ษามี

สถานศกึ ษา ทศี่ ึกษา จำเป็นของสถานศึกษาท่ี งานวิจัยจำนวน 2

พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ต้องการทำวจิ ยั จดั ทา เรือ่ งต่อปกี ารศึกษา

ในภาพรวม ระดับ โครงรา่ งเสนอของอนุมตั ิ 2. ครูสามารถจดั ทำ

สถานศกึ ษา 2. อบรมให้ความแก่ครู งานวจิ ยั ในชัน้ เรียน

2. เพื่อได้ผลงานวิจัยใน ในการจดั ทำการวิจัยใน อยา่ งน้อยคนละ 1

ช้ันเรียนทคี่ รูทุกคนได้ ชั้นเรียน เร่อื งต่อปกี ารศึกษา

ศกึ ษาและพัฒนาการ 3. ดำเนินการวิจัยของ

จดั การเรยี นเรยี นรู้ ระดบั สถานศกึ ษา

รายวชิ า 4. จัดการนิเทศตดิ ตาม

งานวจิ ยั ในชั้นเรยี น

ของครู

5. รวบรวมผลงานวิจยั ใน

ชั้นเรียนของครู ประเมนิ

ผลงานเสนอตอ่ ผู้บริหาร

๑๘

ท่ี ชื่องาน/โครงการ/ วัตถปุ ระสงค์/ วิธดี ำเนินการ ตัวบ่งชคี้ วามสำเรจ็
กจิ กรรม (จำนวน/ร้อยละ)
เปา้ หมาย (ยอ่ ๆ) 1. นกั เรียนร้อยละ 80
12 โครงการเปดิ โลกกับ ไดร้ ่วมกิจกรรมสัปดาห์
สปั ดาหว์ ทิ ยาศาสตร์ 1. เพอื่ ให้นกั เรียนไดร้ บั 1. จัดนิทรรศการสปั ดาห์ วทิ ยาศาสตร์
2. ผลสัมฤทธ์ิทางการ
13 โครงการคดั กรอง ประสบการณ์ตรงจากการ วทิ ยาศาสตรใ์ นโรงเรยี น เรียนกลุม่ สาระการ
และเยย่ี มบา้ น เรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์
นกั เรียน ได้เหน็ และสมั ผสั ของจรงิ 2. นกั เรียนไปทัศนศกึ ษา สูงข้ึน

14 โครงการพฒั นา 2. เพือ่ เป็นการกระตนุ้ ให้ นิทรรศการสปั ดาห์ 1. ครไู ด้รับทราบ
ระบบงาน ปัญหาของนกั เรยี นทุก
งบประมาณ การเงิน นกั เรียนสนใจบทเรียน วทิ ยาศาสตร์ ตามแหล่ง คน
และพัสดุ 2. ครแู ละผู้ปกครอง
3. เพ่ือเป็นการเปลยี่ น เรยี นรูต้ า่ ง ๆ สรา้ งความสัมพันธ์อันดี
3. นำข้อมลู ท่ีได้มาใช้
บรรยากาศการเรียน ในระบบช่วยเหลอื
นกั เรียน
4. เพื่อฝกึ ใหร้ ู้จกั การ
1. การพฒั นาระบบ
สังเกต วิเคราะห์ การเงนิ พสั ดุให้มี
ประสิทธิภาพรอ้ ยละ
อภปิ รายสรุปส่ิงทพ่ี บเหน็ 80

5. เพอ่ื ฝึกการทำงาน

ระบบกล่มุ

1. เพื่อสร้างความ 1. สำรวจขอ้ มูลของ

สมั พันธอ์ นั ดรี ะหวา่ งครู นกั เรียน

กับผปู้ กครอง 2. กจิ กรรมสัปดาห์

2. เพ่ือจะไดร้ บั ทราบ เย่ียมบา้ นนักเรียน

ขอ้ มูลเก่ยี วกบั ตวั นกั เรียน 3. วิเคราะห์ผเู้ รยี น

3. เพ่อื นำข้อมลู ท่ีไดม้ า รายบุคคล

ใชใ้ นการวางแผนพฒั นา 4. ช่วยเหลือนักเรียนที่มี

หรอื แก้ปัญหาต่อไป ปญั หา

4. เพ่ือใหน้ กั เรยี นที่มี 5. จดั กจิ กรรมสง่ เสริม

ปญั หาในดา้ นตา่ ง ๆ นกั เรยี นที่มีความสามารถ

ไดร้ ับการชว่ ยเหลอื แกไ้ ข พเิ ศษ

เพอื่ ใหม้ คี ุณภาพชวี ติ ทดี่ ี

ขน้ึ

5. เพอ่ื ส่งเสรมิ นักเรียน

ทีม่ คี วามสามารถพเิ ศษใน

ด้านตา่ ง ๆ ไดร้ บั การ

พฒั นาทด่ี ีข้นึ

เพอ่ื พัฒนาระบบการเงิน 1. จัดทำทะเบยี น

และพสั ดุให้มี การเงิน พัสดุ

ประสิทธิภาพ 2. จดั เกบ็ เอกสาร

3. จัดหาวสั ดุสำนกั งาน

๑๙

ท่ี ช่อื งาน/โครงการ/ วัตถุประสงค์/ วธิ ดี ำเนินการ ตัวบ่งช้ีความสำเร็จ

กจิ กรรม เป้าหมาย (ย่อ ๆ) (จำนวน/รอ้ ยละ)

15 โครงการเขา้ คา่ ยพัก 1. เพอื่ ให้ผู้เรยี นได้ 1. กิจกรรมเดินทางไกล 1. นกั เรียนทกุ คนเข้า

แรมลกู เสือ-เนตรนารี ทบทวนความรู้กจิ กรรม และบำเพญ็ ประโยชน์ รว่ มกิจกรรมลูกเสือ-

พัฒนาผู้เรียนลูกเสอื - สำหรับ นกั เรียนชน้ั เนตรนารี

เนตรนารี ป.1 – ป.3 2. นักเรยี นร้อยละ 80

2. เพอ่ื ใหน้ กั เรียนไดฝ้ ึก 2. กจิ กรรมเข้าค่ายพัก มีความรับผิดชอบ

ทักษะการเรยี นรู้ ระเบียบ แรมลกู เสอื – เนตรนารี มีระเบยี บวนิ ัยมากขนึ้

วินัย การเสียสละ การ สำหรับนกั เรียนชัน้ ป.4 3. นักเรยี นไดร้ ับ

ปรบั ตัวใหเ้ ข้ากบั สงั คม – ประสบการณ์ตรงและ

การมีพฤติกรรมอนั พึง ม.3 นำประสบการณ์ท่ีไดไ้ ป

ประสงค์ ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน

16 โครงการเรยี นฟรี 15 1. เพ่อื ให้นกั เรยี นได้รับ 1. ค่าเคร่ืองแบบนักเรยี น 1. นกั เรียนทกุ คนไดร้ บั

ปี อยา่ งมีคณุ ภาพ เครือ่ งแบบนักเรียนฟรี 2. ค่าอุปกรณ์การเรยี น งบประมาณจดั ซื้อ

ปลี ะ 2 ชุด ตามความ 3. จดั ซื้อหนังสือเรยี น เคร่ืองแบบนกั เรียน

จำเปน็ 4. กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี น และอปุ กรณ์การเรียน

2. เพื่อใหน้ กั เรียนได้รบั ร้อยละ 100

อุปกรณ์การเรยี นตาม 2. นักเรยี นมีหนงั สือ

ความจำเปน็ เรยี นครบทกุ กลุ่มสาระ

3. เพอ่ื จดั หาหนงั สือยืม รอ้ ยละ 100

เรียนครบทุกกลมุ่ สาระ 3. โรงเรียนจดั กจิ กรรม

4. เพอื่ ให้การจดั กจิ กรรม พัฒนาผเู้ รยี นครบทั้ง 4

พฒั นาผเู้ รียนมีคุณภาพ กิจกรรม รอ้ ยละ 100

17 โครงการอาหาร 1.เพอื่ ส่งเสรมิ ให้นักเรียน 1. กจิ กรรมสง่ เสริมภาวะ 1. มีเรียนมนี ้ำหนกั

กลางวัน มีสมรรถภาพทางกาย โภชนาการ สว่ นสงู ตามเกณฑ์

มีนำ้ หนัก ส่วนสูง ตาม 2. จดั บรกิ ารอาหารกลาง รอ้ ยละ 80

เกณฑ์ วันทถ่ี ูกหลักอนามยั แก่ 2. นกั เรียนไดร้ บั

2. เพ่ือใหน้ กั เรียนได้ นักเรยี นทกุ วนั สารอาหารทีเ่ พียงพอ

สารอาหารทเ่ี พยี งพอต่อ 3. กำหนดระยะเวลาชง่ั ต่อรา่ งกาย รอ้ ยละ

รา่ งกาย นำ้ หนัก และวดั สว่ นสูง 100

นกั เรียนทกุ เดือน

๒๐

ท่ี ชื่องาน/โครงการ/ วตั ถปุ ระสงค์/ วิธีดำเนินการ ตวั บ่งช้คี วามสำเร็จ
กิจกรรม (จำนวน/ร้อยละ)
เป้าหมาย (ย่อ ๆ)
18 โครงการทศั นศึกษา นักเรียนตัง้ แต่ระดับ
แหล่งเรยี นรู้ 1. เพอื่ ใหน้ ักเรียนไดร้ บั 1. ประชุมวางแผน อนบุ าล – ม.3 ได้ไป
ทัศนศึกษานอกสถานที่
ประสบการณ์ตรงจากการ 2. เสนอโครงการ รอ้ ยละ 100

ไดเ้ หน็ และสัมผสั ของจริง 3. กำหนดสถานทีแ่ หล่ง

รวมทง้ั นำความรทู้ ่ีไดร้ ับ เรยี นร้นู อกสถานท่ี

มาใช้ให้เกดิ ประโยชนต์ ่อ 4. ประเมินผลและ

ตนเองและผู้อน่ื รายงานผล

2. เพอ่ื เปน็ การกระตนุ้ ให้

นักเรยี นสนใจบทเรยี น

และรู้จักศึกษาหาความรู้

เพมิ่ เติมนอกจากเนื้อหา

ในบทเรยี นทคี่ รูจดั ให้

3. เพอื่ เปน็ การเปลี่ยน

บรรยากาศในการเรยี น

ใหน้ ักเรียนมคี วาม

สนุกสนาน และอยากที่

จะเรยี นรู้

๒๑

11. ผลการประเมินคุณภาพภายใน ปที ่ผี ่านมา
การเปรยี บเทียบผลการประเมนิ ตนเองกบั การตดิ ตามตรวจสอบ โดยหน่วยงานต้นสังกัด

(ใหบ้ นั ทึกระดบั คุณภาพ เช่น ปรับปรุง พอใช้ ดี ดมี าก ดีเย่ียม ตามผลประเมิน)

การประเมินคณุ ภาพภายใน

มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ผลการประเมิน ผลการติดตามตรวจ

ระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน ตนเองของ สอบโดยหนว่ ยงาน

สถานศกึ ษา ต้นสังกัด

มาตรฐานด้านที่ 1 ด้านคณุ ภาพผู้เรยี น

มาตรฐานที่ 1 ผ้เู รยี นมีสขุ สภาวะทดี่ ี และมีสนุ ทรภี าพ

มาตรฐานที่ 2 ผเู้ รียนมีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม และค่านยิ มทพี่ ึ่ง

ประสงค์

มาตรฐานที่ 3 ผู้เรยี นมีทกั ษะในการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเองรัก

การเรยี นรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง

มาตรฐานที่ 4 ผู้เรยี นมีความสามารถในการคดิ อยา่ งเป็นระบบ

คิดสรา้ งสรรค์ ตัดสินแก้ปัญหาไดอ้ ย่างมีสติ สม

เหตุผล

มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมคี วามรูแ้ ละทักษะทจ่ี ำเปน็ ตามหลักสูตร

มาตรฐานที่ 6 ผเู้ รียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงานร่วมกับ

ผู้อืน่ ได้และมีเจตคตทิ ด่ี ตี ่ออาชพี สุจรติ

มาตรฐานด้านที่ 2 ดา้ นการจัดการศึกษา

มาตรฐานที่ 7 ครูปฏิบตั งิ านตามบทบาทหน้าท่ีอย่างมี

ประสทิ ธภิ าพและเกิดประสทิ ธิผล

มาตรฐานท่ี 8 ผู้บริหารปฏบิ ัติงานตามบทบาทหน้าท่ีอย่างมี

ประสทิ ธภิ าพและเกิดประสทิ ธผิ ล

มาตรฐานท่ี 9 คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง ชมุ ชน

ปฏิบตั งิ านตามบทบาทหน้าท่ีอย่างมีประสิทธภิ าพ

และเกดิ ประสทิ ธิผล

มาตรฐานที่ 10 สถานศกึ ษามกี ารจดั หลักสตู ร กระบวนการ

เรยี นรู้ และกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นอยา่ ง

รอบด้าน

มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามกี ารจดั สภาพแวดล้อมและการ

บรกิ ารท่สี ง่ เสรมิ ให้ผ้เู รยี นพัฒนาเต็มศักยภาพ

มาตรฐานท่ี 12 สถานศึกษามกี ารประกนั คุณภาพภายในของ

สถานศึกษาตามทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง

มาตรฐานด้านที่ 3 ด้านการสรา้ งสังคมแห่งการเรียนรู้

มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามกี ารสร้าง สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้

สถานศกึ ษาเปน็ สังคมแหง่ การเรียนรู้

๒๒

มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา การประเมินคุณภาพภายใน
ระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน
ผลการประเมนิ ผลการตดิ ตามตรวจ
มาตรฐานดา้ นที่ 4 ดา้ นอตั ลักษณ์ของสถานศึกษา ตนเองของ สอบโดยหนว่ ยงาน
มาตรฐานที่ 14 การพฒั นาสถานศึกษาให้บรรลุเปา้ หมายตาม สถานศึกษา ตน้ สงั กัด

วสิ ัยทัศน์ ปรชั ญาและจดุ เน้นที่กำหนดขน้ึ
มาตรฐานด้านที่ 5 ดา้ นการส่งเสรมิ
มาตรฐานที่ 15 การจัดกจิ กรรมตามนโยบาย จดุ เนน้ แนว

ทางการปฏิรปู การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาและส่งเสริม
สถานศกึ ษาใหย้ กระดับคุณภาพสงู ขึ้น

12. ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกจาก สมศ.
โรงเรียนบ้านตะกุย (ค้ำคูณบำรงุ ) ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ.รอบสอง

เมอื่ วนั ที่ 8 ถึง 10 เดือนมกราคม พ.ศ. 2550 ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกของสถานศกึ ษา
มีการประเมนิ 3 ด้าน คือ ผู้บรหิ าร ดา้ นครู และด้านผู้เรียนซ่งึ สรปุ ผลการประเมินโดยภาพรวมตาม
มาตรฐานเปน็ ตารางดงั ตอ่ ไปน้ี

มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดับคณุ ภาพ

ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปรบั ปรงุ พอใช้ ดี ดีมาก

ด้านผเู้ รยี น ✓

มาตรฐานที่ 1 ผเู้ รยี นมีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ มที่พงึ ประสงค์

มาตรฐานท่ี 2 ผเู้ รยี นมีสุขนสิ ัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี ✓

มาตรฐานท่ี 3 ผู้เรียนมีสนุ ทรยี ภาพ และลกั ษณะนสิ ัยดา้ นศลิ ปะดนตรี ✓

และกีฬา

มาตรฐานที่ 4 ผู้เรยี นมีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดสงั เคราะห์ มี ✓

วจิ ารณญาณ มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ คดิ ไตร่ตรอง และมี

วิสัยทศั น์

มาตรฐานท่ี 5 ผเู้ รียนมีความรูแ้ ละทักษะทจี่ ำเปน็ ตามหลักสตู ร ✓

มาตรฐานที่ 6 ผเู้ รียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รกั การ ✓

เรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่อื ง

มาตรฐานท่ี 7 ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รกั การทำงาน สามารถทำงาน ✓

ร่วมกบั ผู้อื่นได้ และมเี จตคติท่ีดีตอ่ อาชีพสุจรติ

ดา้ นครู

มาตรฐานที่ 8 ครมู ีคุณวุฒิ / ความรคู้ วามสามารถตรงกบั งานที่รับผดิ ชอบ

และมีครูเพียงพอ ✓

มาตรฐานท่ี 9 ครูมคี วามสามารถในการจัดการเรยี นการสอนอย่างมี ✓

ประสิทธิภาพ และเน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ

๒๓

มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดบั คณุ ภาพ
ระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก

ดา้ นผู้บรหิ าร ✓
มาตรฐานท่ี 10 ผบู้ ริหารมีภาวะผนู้ ำและมคี วามสามารถในการบรหิ ารจดั การ

มาตรฐานท่ี 11 สถานศกึ ษามีการจดั องค์กรโครงสร้าง และการบริหารงาน ✓
อยา่ งเป็นระบบ ครบวงจร ให้บรรลเุ ป้าหมายการศึกษา ✓

มาตรฐานที่ 12 สถานศกึ ษามกี ารจัดกิจกรรมและการเรียนการสอนโดย ✓
เน้นผเู้ รียนเปน็ สำคัญ

มาตรฐานที่ 13 สถานศกึ ษามหี ลกั สูตร เหมาะสมกบั ผูเ้ รียนและท้องถิน่ มี
สือ่ การเรียนการสอนทีเ่ อ้ือตอ่ การเรยี นรู้

มาตรฐานท่ี 14 สถานศึกษาส่งเสริมความสัมพนั ธ์และความร่วมมือกับ
ชุมชนในการพัฒนาการศึกษา

โรงเรยี นมีผลการประเมนิ ระดับคณุ ภาพดี โดยมีค่าเฉลี่ย 3.30
ผลการรับรองมาตรฐานคณุ ภาพ  รับรอง  ไมร่ บั รอง

ขอ้ เสนอแนะจากการประเมินภายนอกรอบสอง
จดุ เด่น จุดทีค่ วรพัฒนา และข้อแสนอแนะจากการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสอง
ปัจจัยภายในสถานศึกษา
จดุ เด่น (ระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน : การศึกษาปฐมวัย)
ผู้เรยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรมและค่านิยมทพ่ี งึ ประสงค์ มีสุขนสิ ยั สุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี

มสี ุนทรียภาพและลกั ษณะนสิ ัยด้านศิลปะ ดนตรี และกฬี า มคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิด
สงั เคราะห์ มวี จิ ารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คดิ ไตรต่ รองและมีวิสัยทศั น์ มคี วามรู้และทกั ษะที่
จำเป็นตามหลกั สตู ร มีทักษะในการแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง รักการเรียนรู้ และพฒั นาตนเองอย่าง
ต่อเนอ่ื ง มีทกั ษะในการทำงาน รกั การทำงาน สามารถทำงานร่วมกบั ผูอ้ ่ืนไดแ้ ละมเี จตคติท่ีดีตอ่ อาชพี
สจุ ริต

ครมู ีคณุ วฒุ /ิ ความรู้ความสามารถตรงกับงานทีร่ บั ผิดชอบและมีครเู พียงพอ ความสามารถใน
การจัดการเรยี นการสอนอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและเน้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั

ผู้บรหิ ารมีภาวะผูน้ ำและมีความสามารถในการบริหารจดั การ สถานศกึ ษามีการจดั องค์กร/
โครงสร้าง และการบรหิ ารงานอย่างเป็นระบบ ครบวงจร ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายการศึกษา มีการจดั
กิจกรรมและการเรยี นการสอนโดยเนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคญั สถานศกึ ษามหี ลกั สูตรที่เหมาะสมกบั ผเู้ รยี น
และท้องถิ่น มสี ื่อการเรียนการสอนท่เี อื้อต่อการเรียนรู้ พร้อมทัง้ ส่งเสริมความสมั พนั ธแ์ ละความร่วมมือ
กบั ชมุ ชนในการพฒั นาการศึกษา

จดุ ควรพัฒนา (ระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน : การศึกษาปฐมวัย)
มาตรฐานด้านผู้เรียน สถานศึกษาควรพัฒนาใหผ้ เู้ รยี นมคี วามประหยัด รจู้ กั ใชแ้ ละรักษา
ทรพั ยากร และสง่ิ แวดล้อม สามารถแก้ปญั หาได้เหมาะสมกบั วยั
มาตรฐานด้านครู สถานศึกษาควรพัฒนาครูให้มคี วามสามารถในการประเมินพฒั นาการของ
ผ้เู รียนครบทกุ ดา้ นอยา่ งเหมาะสมตามวัย และสอดคล้องกับสภาพจรงิ ของการเรียนรู้ สามารถนำผล

๒๔

การประเมนิ พฒั นาการของผู้เรยี นมาปรับการจดั ประสบการณเ์ พื่อพฒั นาศกั ยภาพผู้เรียนใหเ้ ต็ม
ศักยภาพ

มาตรฐานด้านผูบ้ ริหาร ผู้บรหิ ารควรพฒั นาความสามารถในการบรหิ ารวิชาการและเปน็ ผู้นำทาง
วชิ าการ บริหารเชงิ กลยุทธ์ และพัฒนาการบริหารโดยใช้หลักการมสี ว่ นร่วม และมีการตรวจสอบถ่วงดุล

จดุ เด่น (ระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน : ระดับประถมศึกษา)
ผเู้ รยี นมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มที่พึงประสงค์ มสี ุขนสิ ยั สุขภาพกายและสุขภาพจิต
ทดี่ ี มสี นุ ทรียภาพ และลักษณะนิสยั ดา้ นศลิ ปะ ดนตรี และกฬี า มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์
คดิ สงั เคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคดิ สร้างสรรค์ คดิ ไตรต่ รอง และมวี ิสัยทัศน์ มที ักษะในการ
แสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเอง รักการเรียนรู้ และพฒั นาตนเองอย่างตอ่ เน่อื ง มีทักษะในการทำงาน รัก
การทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อน่ื ได้ และมีเจตคตทิ ่ีดตี อ่ อาชีพสจุ ริต
ครมู คี ุณวุฒ/ิ ความรู้ ความสามารถตรงกับงานทรี่ บั ผดิ ชอบและมีครูเพียงพอ ความสามารถใน
การจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสทิ ธิภาพและเนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั
ผบู้ ริหารมภี าวะผู้นำ และมคี วามสามารถในการบริหารจดั การ สถานศกึ ษามกี ารจดั องค์กร/
โครงสร้าง และการบริหารงานอยา่ งเป็นระบบ ครบวงจร ให้บรรลุเป้าหมายการศึกษา มกี ารจดั
กจิ กรรมและการเรยี นการสอนโดยเน้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั สถานศึกษามีหลกั สูตรท่เี หมาะสมกบั ผู้เรยี น
และท้องถ่ิน มสี ่ือการเรียนการสอนที่เอ้ือต่อการเรยี นรู้ พร้อมทัง้ ส่งเสรมิ ความสมั พนั ธแ์ ละความร่วมมือ
กบั ชุมชนในการพฒั นาการศึกษา
จดุ ควรพัฒนา (ระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน : ระดบั ประถมศกึ ษา)
มาตรฐานดา้ นผู้เรยี น สถานศึกษาควรพฒั นาผเู้ รียนใหร้ ู้จักดูแลสุขภาพ สุขนิสัย และออกกำลงั
กายสมำ่ เสมอ พัฒนาความสนใจและเขา้ รว่ มกิจกรรดา้ นกีฬา/นนั ทนาการ พฒั นาความสนใจและเข้ารว่ ม
กิจกรรมด้านกีฬา/นันทนาการ พัฒนาทักษะการคดิ วเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์ สรุปความคิดอย่างเป็นระบบ
และมกี ารคิดแบบองค์รวม ควรพฒั นาผเู้ รยี นให้มีความร้แู ละทกั ษะทีจ่ ำเปน็ ตามหลักสูตร ในกลมุ่ สาระ
วิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาษาตา่ งประเทศ
มาตรฐานดา้ นครู สถานศึกษาควรพัฒนาใหม้ จี ำนวนครตู ามเกณฑ์ พฒั นาความสามารถในการ
จดั การเรยี นการสอนให้มปี ระสิทธิภาพ และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ พฒั นาประสิทธิภาพการจดั การเรยี น
การสอนให้มีประสทิ ธิภาพ และเน้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั พฒั นาประสทิ ธิภาพการจัดการเรียนการสอนกลุ่ม
สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม สขุ ศึกษาและ
พลศึกษา ศิลปะ การงานอาชพี และเทคโนโลยี ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานดา้ นผู้บรหิ าร ผู้บริหารควรพัฒนา ความสามารถในการบริหารวิชาการและเปน็ ผนู้ ำ
ทางวชิ าการ บรหิ ารเชิงกลยทุ ธ์ และพฒั นาการบริหารโดยใช้หลักการมสี ่วนร่วม และมกี ารตรวจสอบถ่วงดลุ
ปจั จัยภายนอกสถานศกึ ษา
โอกาส
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ผู้ปกครองและชุม โรงเรยี นบ้านตะกุย (ค้ำคณู บำรุง)
ใหค้ วามตระหนักและเห็นความสำคัญของบุตรหลานในการเข้าเรียนทีโ่ รงเรยี นแห่งน้ี โดยรว่ มกนั ส่งเสรมิ
และสนบั สนุนกจิ กรรมของโรงเรยี นทกุ อย่าง เช่น จดั ผา้ ป่าเพ่ือการศึกษา

๒๕

อปุ สรรค
ผปู้ กครองส่วนใหญ่มฐี านะยากจน สน้ิ ฤดเู กบ็ เกย่ี วตอ้ งอพยพเข้าหางานทำท่ีตา่ งจงั หวดั ทำให้
บุตรหลานขาดการดูแล อบรม เอาใจใสจ่ ากผู้ปกครองยากตอ่ การจดั การศึกษา
ขอ้ เสนอแนะเพอื่ พฒั นาสถานศกึ ษา
1. สถานศกึ ษาควรสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนรู้จักประหยดั มนี ำ้ ใจเอื้อเฟอ้ื เผือ่ แผต่ ่อเพ่ือน สง่ เสรมิ ให้
ผเู้ รียนแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง และมีทักษะการทำงานร่วมกนั ตลอดจนส่งเสรมิ และพัฒนาผเู้ รียนท่มี ี
ความสามารถเฉพาะ
2. สถานศึกษาควรสนบั สนุนใหค้ รูร้เู ทคนิควิธสี อนท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั สง่ เข้ารบั การศึกษา
อบรม หรอื ศึกษาดูงานจากโรงเรียนอืน่ สนับสนุนงบประมาณในการจดั หาสื่อ ผลิตสือ่ การเรยี นการ
สอนใหค้ รูทุกชั้นเรียน
3. ผบู้ ริหารควรนเิ ทศ ตดิ ตาม กำกบั งานอยา่ งสมำ่ เสมอ และต่อเน่ืองรวมทั้งช้ีแนะแนว
ทางการปฏิบตั งิ านใหแ้ ก่บคุ ลากร เขา้ ใจบทบาท หนา้ ทแี่ ละงานท่รี ับผดิ ชอบ และให้มีการประเมนิ ผล
รว่ มกนั
ทศิ ทางการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของสถานศึกษาในอนาคต
สถานศกึ ษาควรปรบั ระบบการจดั การเรียนการสอนโดยใชก้ ระบวนการ นวตั กรรม และ
เทคโนโลยีมาใช้ในการจดั กิจกรรมการเรียนร้สู อดคลอ้ งกบั บรบิ ทของโรงเรยี นและสภาพของชุมชน พรอ้ ม
ทัง้ เนน้ ให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในชน้ั เรยี น สถานศกึ ษาควรจัดแหล่งเรียนรู้ใหน้ ่าอยู่ นา่ ดู นา่ เรยี น
และจดั เปน็ ระบบมีการมอบหมายหน้าท่ดี ูแลความเหมาะสม ให้ชมุ ชนได้มีสว่ นร่วมในการร่วมคิดร่วมทำ
ตามความเหมาะสม

โรงเรียนบ้านตะกยุ (ค้ำคูณบำรงุ ) ได้รับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกจาก สมศ.รอบสาม
(พ.ศ. 2554-2558) มผี ลการประเมนิ คุณภาพ ดังน้ี

๒๖

13. ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม
ระดับการศกึ ษาปฐมวัย

การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน คะแนน ระดบั

ระดบั ปฐมวยั ที่ได้ คุณภาพ

กลุม่ ตวั บง่ ชพี้ น้ื ฐาน

ตวั บ่งช้ีท่ี 1 เดก็ มพี ัฒนาการด้านรา่ งกายสมวยั 4.50 ดีมาก

ตัวบง่ ชท้ี ี่ 2 เด็กมพี ัฒนาการดา้ นอารมณแ์ ละจิตใจสมวัย 4.50 ดีมาก

ตัวบง่ ชี้ที่ 3 เด็กมพี ฒั นาการดา้ นสังคมสมวัย 4.00 ดี

ตัวบง่ ชี้ที่ 4 เดก็ มพี ัฒนาการด้านปญั ญาสมวัย 7.50 ดี

ตัวบง่ ช้ที ี่ 5 เดก็ มีความพร้อมศึกษาในข้นั ต่อไป 10.00 ดมี าก

ตวั บ่งชท้ี ่ี 6 ประสิทธผิ ลของการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ท่ีเน้นเด็กเป็นสำคญั 27.00 ดี

ตวั บ่งชท้ี ่ี 7 ประสิทธภิ าพของการบรหิ ารจดั การและการพัฒนาสถานศึกษา 12.50 ดี

ตัวบง่ ชี้ที่ 8 ประสทิ ธผิ ลของระบบการประกันคณุ ภาพภายใน 4.49 ดี

กลมุ่ ตวั บ่งชี้อัตลกั ษณ์

ตัวบง่ ชท้ี ี่ 9 ผลการพฒั นาให้บรรลตุ ามปรชั ญา ปณิธาน/วิสยั ทศั น์ พันธกิจ 2.50 ดีมาก
และ วตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั ต้ังสถานศึกษา

ตวั บ่งชี้ท่ี 10 ผลการพฒั นาตามจุดเนน้ และจุดเดน่ ที่สง่ ผลสะท้อนเปน็ 2.50 ดีมาก
เอกลักษณ์ของสถานศึกษา

กลุ่มตวั บ่งชม้ี าตรฐานการสง่ เสรมิ

ตวั บ่งชี้ที่ 11 ผลการดำเนนิ งานโครงการพิเศษเพ่ือส่งเสรมิ บทบาทของ 2.00 ดี
สถานศกึ ษา

ตัวบ่งชี้ที่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษา

มาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเปน็ เลิศ ทสี่ อดคล้องกบั แนว 2.50 ดีมาก

ทางการปฏริ ปู การศกึ ษา

คะแนนรวม 82.99 ดี

การรบั รองมาตรฐานสถานศึกษา : ระดบั การศึกษาปฐมวัย

• ผลคะแนนรวมทุกตวั บง่ ชี้ ต้งั แต่ 80 คะแนนขน้ึ ไป ใช่ ไม่ใช่

• มีตัวบง่ ชที้ ่ีไดร้ ะดบั ดขี ึน้ ไปอย่างน้อย 10 ตัวบ่งช้ี จาก 12 ตวั ใช่  ไมใ่ ช่

• ไม่มตี ัวบง่ ชีใ้ ดทมี่ ีระดบั คุณภาพตอ้ งปรบั ปรุงหรือต้องปรบั ปรุงเรง่ ด่วน ใช่ ไมใ่ ช่

ในภาพรวมสถานศึกษาจดั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน : ระดบั การศึกษาปฐมวัย

สมควรรบั รองมาตรฐานการศกึ ษา  ไมส่ มควรรับรองมาตรฐานการศกึ ษา

๒๗

ขอ้ เสนอแนะจากการประเมินภายนอกรอบสาม
ระดับการศึกษาปฐมวัย
จุดเด่น
1. เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย มีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย มีพัฒนาการ

ด้านสังคมสมวัย มีพัฒนาการด้านปัญญาสมวัย และมีความพร้อมศึกษาในขั้นต่อไป สถานศึกษามีผล
การพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ วัตถุประสงค์ของการจัดต้ัง
สถานศึกษา มีผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษาและมี
ผลผลการดำเนินงานโครงการพเิ ศษเพ่ือส่งเสริมบทบาทของสถานศกึ ษา

2. สถานศึกษามีประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษาและมีผลการ
ส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ท่ี
สอดคล้องกบั แนวทางการปฏริ ูปการศึกษา

ด้านผลการจดั การศึกษา
1. เด็กควรได้รบั การปลูกฝังความมวี ินยั ความเปน็ ระเบียบ รจู้ ักการอดทน รอคอย การใช้นำ
อย่างประหยัด การแสดงความเคารพอยา่ งถกู ต้อง ครูควบคุมกำกับให้เด็กได้ปฎบิ ตั ิอยา่ งจริงจัง
สมำ่ เสมอ และประเมินเดก็ ทุกคนตามสภาพจริงและนำผลเป็นข้อมูลในการพฒั นาเดก็ ร่วมกับผูป้ กครอง
2. เด็กควรได้รบั การส่งเสรมิ ให้รักการอ่าน โดยจัดหาสอื่ การอา่ นและกิจกรรมส่งเสริมการอา่ น
ให้มากขนึ้ และควรได้รับการสง่ เสรมิ ให้เดก็ สนใจเรียนรูส้ ง่ิ ต่างๆรอบตัวและจัดหาสอื่ ท่หี ลากหลายและ
กิจกรรมให้เด็กไดล้ งมือปฏิบตั ิจรงิ โดยจัดกจิ กรรมการสำรวจ การทดลอง การสังเกต ให้มากข้นึ และ
เหมาะสมกบั บรบิ ทของชมุ ชน เช่นการปรงุ อาหารจากผกั การสำรวจต้นไม้ ดอกไม้ และการทดลองคั้นสี
จากดอกไม้ท่ปี ลกู ในโรงเรียน
3. สถานศกึ ษาควรส่งเสรมิ การจดั กิจกรรมศิลปะอย่างสร้างสรรค์ตามแผนจดั ประสบการณ์
อยา่ งต่อเน่อื งมเี ปา้ หมายในการพัฒนาและมีผลงานผ้เู รยี นที่ชดั เจน

ด้านการบริหารจัดการศกึ ษา
1. ควรเปิดโอกาสให้คณะกรรมการสถานศึกษาแต่งต้งั ที่ปรึกษาเพื่อพฒั นางาน
2. ควรจัดทำรายงานการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาตามระเบียบสอดคล้องกับ
วาระการประชุม
3. ควรจัดทพี่ กั สำหรับเด็กป่วยเปน็ สัดส่วน
4. ควรพฒั นาพ้นื ทท่ี ำความสะอาดภาชนะที่จดั เก็บภาชนะ พ้ืนที่สำหรบั แปรงฟัน
ล้างมือใหเ้ หมาะสมถกู สุขลกั ษณะ

๒๘

ดา้ นการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผ้เู รียนเปน็ สำคัญ
1. ครูควรตดิ ตาม บนั ทึกและประเมินพฒั นาการเด็กอยา่ งสม่ำเสมอต่อเน่อื งเปน็ สว่ น
หนง่ึ ของกจิ กรรมปกติท่ีจัดใหเ้ ดก็ ในแตล่ ะวันโดยกำหนดวธิ กี ารเลอื กใชเ้ ครื่องมือ
และการใช้แหลง่ ข้อมูล ที่หลากหลายตามแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรแู้ ละ
จัดกิจกรรม เพ่ือพฒั นาเด็กทงั้ 4 ดา้ น
2. ควรนำผลการประเมนิ พฤติกรรมและพัฒนาการของเด็ก มาพฒั นาเดก็ ให้
เหมาะสม ตามความแตกต่างของบุคคล มบี นั ทึกและใบงานเพ่ือให้ผูป้ กครองได้มี
ส่วนรว่ มในการพฒั นาเด็กอย่างสม่ำเสมอทุกดา้ น

ดา้ นการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา
สถานศึกษาควรสรา้ งความเข้าใจให้ทกุ คนมีความตระหนัก ร่วมกนั พฒั นาระบบประกนั
คุณภาพภายใน ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึน้ นำผลการประเมินไปเปรียบเทยี บกบั เป้าหมาย เพอ่ื นำขอ้ มูลไป
ใช้ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเน่ือง

๒๙

ระดับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

การศึกษาขน้ั พื้นฐาน คะแนน ระดับ

ระดับประถมศึกษา ทไี่ ด้ คุณภาพ

กลมุ่ ตัวบ่งชี้พื้นฐาน

ตวั บง่ ช้ีท่ี 1 ผู้เรยี นมีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตทด่ี ี 9.83 ดีมาก

ตัวบ่งชี้ที่ 2 ผู้เรยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมที่พงึ ประสงค์ 9.85 ดีมาก

ตัวบง่ ชี้ท่ี 3 ผูเ้ รยี นมคี วามใฝร่ ู้ และเรียนรอู้ ยา่ งต่อเนื่อง 7.97 ดี

ตวั บง่ ชี้ที่ 4 ผ้เู รียนคิดเปน็ ทำเป็น 8.75 ดี

ตัวบง่ ชที้ ่ี 5 ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของผูเ้ รยี น 9.48 พอใช้

ตวั บ่งชท้ี ี่ 6 ประสิทธผิ ลของการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสำคญั 9.00 ดีมาก

ตวั บง่ ชี้ที่ 7 ประสิทธิภาพของการบรหิ ารจัดการและการพัฒนาสถานศกึ ษา 4.80 ดมี าก

ตวั บ่งช้ที ่ี 8 พัฒนาการของการประกันคณุ ภาพภายในโดยสถานศึกษาและตน้ 4.49 ดี
สงั กดั

กลุ่มตวั บ่งชี้อตั ลกั ษณ์

ตวั บ่งชี้ท่ี 9 ผลการพฒั นาให้บรรลุตามปรัชญา ปณธิ าน/วิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ 5.00 ดมี าก
และ วัตถปุ ระสงคข์ องการจดั ตงั้ สถานศึกษา

ตวั บ่งชท้ี ี่ 10 ผลการพฒั นาตามจดุ เน้นและจดุ เด่นทีส่ ง่ ผลสะท้อนเปน็ 5.00 ดมี าก
เอกลักษณ์ของสถานศึกษา

กลมุ่ ตวั บง่ ชมี้ าตรฐานการสง่ เสรมิ

ตวั บง่ ชท้ี ี่ 11 ผลการดำเนินงานโครงการพเิ ศษเพื่อสง่ เสรมิ บทบาทของ 4.00 ดี
สถานศึกษา

ตวั บ่งชี้ที่ 12 ผลการสง่ เสริมพฒั นาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รกั ษา

มาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเปน็ เลิศ ทสี่ อดคล้องกบั แนว 5.00 ดีมาก

ทางการปฏิรปู การศึกษา

คะแนนรวม 83.17 ดี

การรับรองมาตรฐานสถานศึกษา : ระดับประถมศกึ ษา

• ผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งช้ี ตงั้ แต่ 80 คะแนนข้นึ ไป  ใช่  ไม่ใช่

• มีตวั บง่ ชี้ที่ได้ระดับดีข้นึ ไปอย่างนอ้ ย 10 ตัวบ่งชี้ จาก 12 ตวั  ใช่  ไมใ่ ช่

• ไม่มีตวั บง่ ช้ีใดทม่ี ีระดับคุณภาพตอ้ งปรบั ปรุงหรือต้องปรับปรุงเร่งด่วน  ใช่  ไมใ่ ช่

ในภาพรวมสถานศึกษาจัดการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน : ระดบั ประถมศกึ ษา

 สมควรรบั รองมาตรฐานการศึกษา  ไมส่ มควรรับรองมาตรฐานการศกึ ษา

๓๐

ข้อเสนอแนะจากการประเมินภายนอกรอบสาม
ระดบั ประถมศกึ ษา
จุดเดน่
สถานศึกษาตัง้ อยู่ในชุมชนชนบท โดยรอบเป็นบา้ นเรอื นผู้ปกครอง
ไดร้ ับความช่วยเหลอื จากองค์การบรหิ ารสว่ นตำบลตรมไพร ในดา้ นงบประมาณการจดั กจิ กรรม

โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพชุมชนตำบลตรมไพร มาตรวจสขุ ภาพ ใหค้ วามรเู้ กี่ยวกบั สขุ ภาพเป็นประจำ
ผู้นำชมุ ชนผูป้ กครอง และชมุ ชนใหก้ ารสนับสนนุ และมีส่วนร่วมในการศึกษา พระสงฆจ์ ากวัดบ้านตะกยุ
มาใหค้ วามร้ดู า้ นพระพุทธศาสนาหรือธรรมศึกษาเปน็ ประจำทกุ สปั ดาห์ องค์กรต่างๆ ใหก้ ารสนับสนนุ
เงนิ ปรุงอาคารสถานท่ี เช่น บริษัท ทีโอเอ ใหส้ สี ำหรับทาอาคารเรียน เปน็ ตน้

จดุ ทีค่ วรพฒั นา
สภาพครอบครวั ของผ้เู รียนบางคนมีปญั หาครอบครวั พ่อแม่แยกทางกันกันอยู่ ทำงานใน
ตา่ งจงั หวดั เดก็ จะตอ้ งอย่กู ับญาตผิ ้ใู หญ่ การให้การควบคุมดแู ล ชว่ ยเหลอื ด้านการเรยี น ผู้เรยี นไม่
สามารถปฏิบัตไิ ด้อยา่ งมีคุณภาพ

ด้านผลการจดั การศึกษา
1. ผู้เรียนควรไดร้ ับการส่งเสรมิ ให้มีการอ่าน การใชเ้ ทคโนโลยใี นการเรยี นรู้ใหม้ ากข้นึ และ
เปน็ รปู ธรรมรวมท้งั การค้นคว้า การแสดงหาความรู้ด้วยตนเอง จากส่ืออย่างหลากหลาย มกี จิ กรรมให้
ผู้เรียนไดป้ ฏบิ ตั ิจรงิ ทุกสปั ดาห์ มีการบนั ทกึ การเรยี นร้ทู ุกคร้งั และติดตาม ตรวจสอบเป็นประจำ
มรี อ่ งรอยชดั เจน
2. ผูเ้ รียนควรได้รบั การพฒั นาให้มีความสามารถดา้ นการคดิ มากขึ้น โดยมีโครงการพัฒนา
ทชี่ ัดเจน ปฏบิ ตั ิทุกวนั จากการใชค้ ำถามกระต้นุ ใหต้ อบทกุ คน จากโครงงาน แผนผงั ความคิด เรยี งความ
หนังสือเล่มเลก็ และประเมนิ ชิ้นงานผุ้เรียนอย่างต่อเนื่อง
3. ผู้เรียนควรไดร้ ับการพฒั นาให้มผี ลสมั ฤทธิ์ ทางการเรียนที่สูงขึน้ ทุกสาระการเรียนรู้
ดว้ ยกระบวนการจัดการเรียนรู้ KM (Knowledge management Process)โดยใช้การจดั การเรียนรู้
จากการปฏบิ ตั ิ ( Action Learning )
4. ควรส่งเสริมการพัฒนาผูเ้ รยี นทงั้ ระบบกลมุ่ และรายบคุ คล
5. ควรพัฒนาส่ือเพ่อื กระตนุ้ ความสนใจ และชว่ ยใหเ้ กิดการเรียนรทู้ เ่ี รว็ ไว และทนทาน
มกี ารทบทวนการวัดผลประเมินผล เพื่อพฒั นาการเรยี นรู้อย่างตอ่ เน่ือง

ด้านการบรหิ ารจัดการศกึ ษา
1. ควรส่งเสริมใหค้ ณะกรรมการสถานศึกษา มโี อกาสไดแ้ ต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพัฒนา
การศกึ ษา
2. ควรจัดทำรายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาใหเ้ ป็นไปตามระเบียบและ
สอดคลอ้ งกับวาระการประชุม

๓๑

ดา้ นการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผูเ้ รียนเป็นสำคญั
ครูควรให้การดูแลใหผ้ ้เู รยี นเกิดการเรียนร้อู ย่างทัว่ ถงึ มีการใชส้ ่อื กิจกรรม ทสี่ ่งเสรมิ หรือ
กระตุน้ ใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความสนใจมงุ่ มานะในการเรียนมากข้ึนและนำผลการประเมินด้านผู้เรียนไปวิจยั เพอื่
ไปพัฒนาสื่อ หรอื กระบวนการการเรยี นรขู้ องผู้เรียนและส่งเสริมใหผ้ ้เู รยี นทุกคนมกี ารเรยี นรตู้ าม
หลักสูตรอย่างมีคณุ ภาพและเตม็ ศักยภาพ

ด้านการประกนั คุณภาพการศกึ ษา
สถานศกึ ษาควรนำตัวช้ีวดั ความสำเร็จของแตล่ ะมาตรฐานทก่ี ำหนดไวป้ ระกาศการใชม้ าตรฐาน
การศกึ ษาของแตล่ ะปี มาเปน็ เปา้ หมายของการดำเนินงานในแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี และมีการนำผล
ประเมนิ มาเปรยี บเทียบกบั เป้าหมาย เพื่อใช้เปน็ ข้อมลู ในการวางแผนพัฒนาในปีต่อไปอย่างต่อเน่ือง

๓๒

ส่วนที่ 2
ทศิ ทางการพัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษา

1. การบริหารจัดการศกึ ษา

โรงเรียนบ้านตะกุย (คำ้ คูณบำรุง) แบง่ โครงสร้างการบริหารงานเป็น 4 ดา้ น ได้แก่
ดา้ นการบรหิ ารงานวชิ าการ ด้านการบรหิ ารงานงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้าน
การบริหารงานท่ัวไป ผู้บริหารยึดหลักการบรหิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม การจดั การศึกษาเปน็ ภารกจิ หลกั ของ
สถานศกึ ษา ท่ีจะต้องดำเนนิ การใหป้ ระสบผลสำเรจ็ ดงั น้ันผบู้ รหิ ารสถานศึกษาควรใช้กระบวนการไป
พร้อมๆ กนั คือ การบริหารการศกึ ษา การบริหารการจดั การเรยี นรู้ และการบริหารการนิเทศ
การศึกษา โดยเฉพาะกระบวนการบริหารสถานศึกษามีการะบวนการบริหารท่ีมคี ุณภาพ ก็เชือ่ ไดว้ ่า
การบรหิ าร
จดั การศึกษาจะประสบผลสำเร็จไดต้ ามเป้าหมายท่ีกำหนดไว้ ผ้บู ริหารสถานศึกษาเปน็ บุคคลทีส่ ำคัญที่
จะทำให้กระบวนการบรหิ ารการศึกษามีประสิทธิภาพ ในที่น้ีจะกล่าวถึงกลยทุ ธ์ของผ้บู ริหารสถานศึกษา
ท่ที ำให้ประสบผลสำเร็จคือ

• สรา้ งศรัทธา เปน็ การประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตนของผ้บู ริหารสถานศึกษาใหเ้ กิดความนา่ เช่อื ถือ

ไวว้ างใจเชือ่ ไดส้ นิทใจ ใหค้ วามเคารพนบั ถือ ยกย่องชมเชย ให้เกยี รติ ความศรทั ธาดังกลา่ วจะต้องเกิดข้ึนกบั ครู ผู้ปกครอง นักเรียน คณะกรรมการ
สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานและผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสยี ผบู้ ริหารสถานศึกษาควรแสดงพฤติกรรมที่ทำให้เกดิ ศรัทธา เช่น มงุ่ ม่นั หมั่นทำดี มีวสิ ัยทัศน์ ซอ่ื ตรงโปรง่ ใส

ใหค้ วามเปน็ ธรรม นำพัฒนา (นำคิด นำทำ) วาจาสุภาพ อดทน อดกลั้น

• พัฒนาทมี งาน เป็นการสร้างทีมงานให้มีการทำงานเปน็ กลุ่ม เป็นคณะ มีความเปน็ กนั เอง

ส่งเสรมิ การมีสว่ นร่วม ติดต่อสอ่ื สารกนั อย่างเปิดเผย ทุกคนรู้บทบาทของตนเองอย่างชัดเจน ใหอ้ ภัย ประนปี ระนอม ไม่เอาเปรยี บกนั ทุกคนมีความสำคัญ
เมอื่ พัฒนาทีมงานให้มีคุณลักษณะดังกล่าวแลว้ การพฒั นางานตา่ ง ๆ ของผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาก็จะเป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ และเกิดประสทิ ธิผล ดังนนั้ ควร
พัฒนาบุคคลตอ่ ไปนคี้ ือ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู คณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน และผู้ปกครอง

แนวทางการพัฒนาทมี งาน

1. จัดให้มกี ารประชุม อบรม สัมมนา

2. ส่งเสริมให้ครศู ึกษาต่อ

3. ส่งเสริมใหค้ รทู ำผลงานทางวชิ าการ

4. ศึกษาดูงานโรงเรยี นทป่ี ระสบผลสำเรจ็

5. การสรา้ งประสบการณโ์ ดยทำงานท่ีท้าทาย

• ประสานการใช้ยทุ ธศาสตร์ ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องนำยุทธศาสตร์ การทำงานใหมม่ า
ใช้

ในการพฒั นาการจดั การศึกษา และสง่ เสรมิ สนับสนนุ การนำนวตั กรรมใหม่ ๆ มาใช้ ในการนำนวตั กรรม
หรอื ยทุ ธศาสตรม์ าใช้ ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องมคี วามรู้ความเข้าใจเป็นอย่างดี สามารถเป็นท่ีปรกึ ษา
ของทีมงานได้ ยทุ ธศาสตรท์ น่ี ำมาใช้และทำใหป้ ระสบผลสำเร็จ เช่น การบริหารแบบมีส่วนรว่ มการ
บรหิ ารแบบมีสว่ นร่วม ผ้บู รหิ ารสถานศึกษาจะต้องใหค้ วามสำคัญกบั ทีมงานของตน ซึ่งประกอบด้วยครู
คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ผ้ปู กครอง นักเรยี น และผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี มสี ว่ นร่วมใน
กระบวนการพฒั นางาน เช่น กระบวนการพัฒนาระบบครบวงจร ของ Deming Cycle หรือ วงจร PDCA

1) Plan คอื การวางแผนในการดำเนนิ งาน

2 ) Do คือการลงมอื ทำตามแผนที่วางไว้

3) Check ๓๓
4) Action
คอื การตรวจสอบผลการดำเนินงานกับแผน
คือการยดึ ถอื ปฏิบตั ิหากการดำเนินงานบรรลุตามแผน ถ้าการดำเนินงานยังไม่บรรลุตามแผนให้หาสาเหตุและ

วางแผนแก้ไขใหม่

วงจรสู่ความสำเร็จ

ร่วมกนั วางแผน

ร่วมกนั ปรับปรุง ร่วมกนั ปฏิบตั ิ

การตรวจสอบ
และประเมนิ คุณภาพ

ร่วมกนั ตรวจสอบ

กลยทุ ธใ์ นการบรหิ ารทป่ี ระสบผลสำเร็จทงั้ 3 อย่าง คอื การสร้างศรทั ธา พัฒนาทีมงาน ประสานการใช้ยุทธศาสตร์ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาได้ปฏิบตั ิ
ตนเองให้มีพฤติกรรมดังกล่าวเช่ือวา่ จะทำให้ผู้ร่วมงานและผู้เก่ียวข้องเกิดความชื่นชอบ และชว่ ยเหลอื เมื่อเป็นเชน่ นัน้ กจ็ ะทำให้การบรหิ ารการศึกษาประสบ
ความสำเรจ็ ตามเปา้ หมายท่ีตง้ั ไว้

๓๔

โครงสร้างการบรหิ ารงานโรงเรยี นบ้านตะกุย (ค้ำคณู บำรุง)

แผนภาพท่ี 1 โครงสร้างการบรหิ ารงานโรงเรยี นบ้านตะกุย (ค้ำคณู บำรุง)

๓๕

2. วิสัยทัศน์ พนั ธกจิ เปา้ หมาย อัตลักษณ์ และเอกลักษณ์ของสถานศึกษา

2.1 วสิ ัยทศั น์
โรงเรยี นบ้านตะกยุ (ค้ำคูณบำรงุ ) เป็นสถานศกึ ษาทีเ่ น้นการพฒั นาผู้เรยี นใหส้ ขุ ภาพดี มีจิต
สาธารณะ ใฝ่เรียนรู้ คคู่ ุณธรรม น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ก้าวทันเทคโนโลยี มชี มุ ชน
รว่ มประสาน บริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ

2.2 พันธกิจ
1. บรหิ ารและจดั การศึกษาข้นั พน้ื ฐานในเขตบรกิ ารใหท้ ั่วถงึ และมีคณุ ภาพ
2. กระจายอำนาจให้ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา กรรมการสถานศกึ ษา

ผ้ปู กครอง ชุมชนบรหิ ารจดั การโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐาน
3. ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนและคุณภาพผเู้ รียนให้ได้ตามเกณฑม์ าตรฐานของ

กระทรวงศึกษาธิการ
4. พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานวชิ าชพี
5. ขบั เคลือ่ นหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่สถานศกึ ษาเทา่ เทยี มทั่วถึง และตรง

ตามศักยภาพ

2.3 เป้าหมาย
1. ประชากรกลุ่มเป้าหมายของเขตบริการทุกคนไดร้ บั โอกาสในการศึกษา 12 ปี

ตามสิทธิอย่างเทา่ เทยี มทัว่ ถงึ และตรงตามศกั ยภาพ
2. ผู้เรยี นทุกคนไดร้ ับการศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพตามหลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน
3. ครแู ละบุคลากรทางการศึกษามีคณุ ธรรม มีสมรรถนะหลกั และสมรรถนะประจำสาย

งาน
4. สถานศกึ ษามีความเข้มแข็ง สามารถจดั การเรียนรู้แบบบรู ณาการ ดำรงความเปน็

ไทยและทอ้ งถ่นิ
5. ผมู้ ีสว่ นรว่ มในการจดั การศึกษามีความพงึ พอใจ

2.4 อัตลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา
สุขภาพดี มีจิตสาธารณะ

2.5 เอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา
บรรยากาศสดใส ใสใ่ จสุขภาพ

3. แนวทางการพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา
3.1 ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน 5 กลุ่มสาระวชิ าหลกั เพมิ่ ขึ้นรอ้ ยละ 4
3.2 เด็กปฐมวัยได้รบั การเตรียมความพร้อมด้านรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคมตามหลักสูตร

การศกึ ษาปฐมวยั อย่างมคี ุณภาพ
3.3 นกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 3 มที ักษะอย่างดีดา้ นการอ่านออก เขียนได้ และการคดิ

คำนวณเบอื้ งต้นเพ่ือเป็นพน้ื ฐานในชั้นเรียนทีส่ ูงขน้ึ
3.4 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มที ักษะอย่างดีด้านการอ่านคล่อง เขียนคล่อง และคิด

๓๖

คำนวณที่ซบั ซ้อนขน้ึ
3.5 นกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 มีความรู้ความสามารถอย่างสูงตามมาตรฐานระดับชาติ
3.6 ประชากรในวยั เรียนทุกคนได้รับการศึกษาข้นั พื้นฐาน 15 ปอี ย่างมีคณุ ภาพและทั่วถึง

โดยไดเ้ รียนรตู้ าศักยภาพและความถนดั
3.7 นกั เรียนทกุ คนมีความสำนกึ ในความรักชาติ
3.8 สร้างทางเลือกในการเรียนรทู้ เ่ี นน้ ใหป้ ระชากรวัยเรียนทุกคนเขา้ ถงึ โอกาสทางการศกึ ษา

อยา่ งทว่ั ถึง ลดอัตราการออกกลางคดั ศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
3.9 สง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
3.10 สถานศึกษาผา่ นการรับรองมาตรฐานการศึกษา มรี ะบบการประกนั คุณภาพภายใน

เขม้ แข็ง
และผ่านการรบั รองจากการประเมนิ คุณภาพภายนอก

4. กลยุทธ์การพัฒนาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา
4.1. พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทุกระดบั ตามหลักสตู รและส่งเสริมความสามารถ

ดา้ นเทคโนโลยีเพื่อเปน็ เคร่ืองมอื ในการเรยี นรู้
4.2. ปลกู ฝังคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงความรับผดิ ชอบต่อสงั คมและสงิ่ แวดล้อม
4.3. ขยายโอกาสทางการศึกษาใหท้ วั่ ถึงครอบคลุมผู้เรยี น ให้ไดร้ ับโอกาสในการพัฒนาเตม็
ตาม

ศกั ยภาพ
4.4. พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาท้งั ระบบ ใหส้ ามารถจดั การเรียนการสอนได้

อย่างมีคณุ ภาพ
4.5. พฒั นาประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการศกึ ษา ตามแนวทางการกระจายอำนาจทาง

การศกึ ษาตามหลกั ธรรมาภบิ าล เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคสว่ นและความร่วมมือกบั องค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถ่นิ เพ่ือส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การจัดการศึกษา

๓๗

จุดเนน้ มาตรการ ตวั ชวี้ ดั ความสำเร็จ และนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร

กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดบั ตามหลักสูตรและส่งเสริมความสามารถ
ด้านเทคโนโลยเี พอ่ื เปน็ เครือ่ งมือในการเรียนรู้

จุดเน้น มาตรการ ตัวช้วี ัดความสำเร็จ สนอง
นโยบาย
1. นักเรยี นปฐมวัยมีพฒั นา - พฒั นา สง่ เสริม สนับสนนุ การจัด - รอ้ ยละ 100 ของนกั เรยี น
การดา้ นร่างกาย อารมณ์- กจิ กรรมเพอ่ื เตรยี มความพร้อม ปฐมวัยที่ไดร้ ับการเตรยี มความ ศธ.
จิตใจ สงั คม และสตปิ ัญญา ใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา พร้อม ข้อ 1
ท่ีสมดลุ เหมาะสมกับวัย ปฐมวัย ตามหลักสูตรการจัด
และเรียนร้อู ย่างมคี วามสุข การศกึ ษาปฐมวยั พ.ศ. 2546 - ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนใน ขอ้ 1
2. นกั เรียนชน้ั ประถมศึกษา - ยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน วิชาหลกั นกั เรยี นช้ัน
ปีที่ 6 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ตามหลักสตู รการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ประถมศึกษาปีท่ี 6 จากการ
3 และช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ โดยเนน้ ทดสอบระดบั ชาติ (O-NET)
มผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียน 5 กลุ่มวชิ าหลัก ไดแ้ ก่ ภาษาไทย เพมิ่ ขึน้ ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 5
จากการทดสอบระดับชาติ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคม - ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนใน
(O-NET) กลมุ่ สาระหลกั ศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม และ วิชาหลัก นกั เรียนชั้น
เพิ่มขน้ึ เฉลี่ยไมน่ ้อยกวา่ ภาษาต่างประเทศ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 จากการ
ร้อยละ 5 ทดสอบระดบั ชาติ (O-NET)
เพม่ิ ขึน้ ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 5

๓๘

จุดเน้น มาตรการ ตวั ช้ีวดั ความสำเร็จ สนอง
นโยบาย
3. นกั เรยี นชั้นประถมศึกษา - พฒั นาความสามารถด้านภาษา - นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี
ศธ.
ปที ่ี 3 มคี วามสามารถดา้ น ด้านการคำนวณ และดา้ นการใช้ 3 ท่ไี ม่สามารถอา่ นได้ ร้อยละ ขอ้ 1

ภาษา ดา้ นคำนวณ และด้าน เหตุผล 1 ข้อ 1

การใช้เหตผุ ลและชั้น - นกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ขอ้ 1, 3

ประถมศึกษาปีที่ 6 มี 6 อ่านได้ทุกคน

ความสามารถด้านการอ่าน - ร้อยละ 80 ของนักเรยี นชน้ั

มัธยมศึกษาปีที่ 3 สามารถ

แสวงหาความรู้ไดด้ ้วยตนเอง

4. นกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษา - สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหส้ ถานศกึ ษา - ร้อยละ 80 ของนักเรียนชั้น

ปีท่ี 3 สามารถแสวงหา จัดการเรียนการสอนให้นักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 สามารถ

ความรู้ด้วยตนเอง มัธยมศึกษาปีท่ี 3 มีความสามารถ แสวงหาความร้ไู ด้ดว้ ยตนเอง

แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองได้ดว้ ย

วิธกี ารสอนทีห่ ลาก หลายและมี

ประสทิ ธิภาพตามบริบท

6. นกั เรียนมีทกั ษะชีวิต - สง่ เสริม สนบั สนุน ใหส้ ถานศกึ ษา - ระดบั ความสำเร็จตามจุดเน้น

ทักษะการคดิ วิเคราะห์ คิด พฒั นาหลกั สูตรและจัดการเรียนการ การพัฒนาผ้เู รียนตามนโยบาย

สร้างสรรค์ และทกั ษะการ สอนโดยเนน้ ให้นกั เรียนเกิดทักษะ ในการปฏริ ูปการศึกษาใน

สื่อสารอยา่ งสรา้ งสรรค์ ชีวิต สามารถคิดวิเคราะห์ คดิ ทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-

อย่างน้อย 2 ภาษา ทกั ษะ สรา้ งสรรค์ และทักษะการสอ่ื สาร 2561) ระดับ 5

ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยกระตุ้น/เปิดโอกาสให้นกั เรยี นได้ - รอ้ ยละ 100 ของนักเรยี น

เพอื่ เปน็ เครือ่ งมือการเรยี นรู้ แสดงออกและพฒั นาเตม็ ตาม ชัน้ ป.1

เหมาะสมตามช่วงวัย ศกั ยภาพท้ังใน/นอกห้องเรยี น ท่ีได้รบั สนบั สนุนคอมพิวเตอร์

- สนบั สนุน สง่ เสรมิ และพัฒนาการ พกพา ได้รบั การพฒั นา

ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ ศักยภาพ

สอ่ื สารเพ่ือการจัดการเรียนการสอน - ร้อยละ 100 ของนกั เรยี น

- สนับสนุน สง่ เสริม และพฒั นาการ ระดบั

ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 และ

ส่อื สารเพื่อการจัดการเรยี นการสอน ระดบั

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ทไ่ี ดร้ ับ

เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์พกพาเพื่อ

การศกึ ษา

๓๙

กลยุทธ์ 2 ปลูกฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความเปน็ ไทยและวิถชี ีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง ความรับผิดชอบตอ่ สังคมและสงิ่ แวดลอ้ ม

จดุ เน้น มาตรการ ตัวชี้วดั ความสำเรจ็ สนอง
นโยบาย
1. นกั เรยี นระดับประถม - สง่ เสริมและพัฒนากระบวนการ - ร้อยละ 95 ของนักเรียนทมี่ ี
จติ สำนกึ และค่านยิ ม ซ่ือสัตย์ ศธ.
สุจรติ และถูกต้องชอบธรรม
ขอ้ 1

ศกึ ษา ใฝเ่ รียนรู้ ใฝด่ ี และ เรียนการสอนให้ผเู้ รยี นมี

อยู่ร่วมกันกับผอู้ ื่นได้ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ใฝ่

2. นกั เรยี นระดบั เรียนรู้ ใฝด่ ี และอยู่รว่ มกนั กับผ้อู ืน่

มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มที ักษะ ได้ มีทักษะการแก้ปัญหาและอยู่

การแกป้ ัญหาและอยู่อย่าง อย่างพอเพียง มีความมงุ่ ม่นั ใน

พอเพียง การศึกษาและการทำงาน สามารถ

3. นกั เรียนระดบั ปรบั ตัวเขา้ กบั พหุวฒั นธรรมบน

มัธยมศึกษาตอนปลาบ มี พืน้ ฐาน วัฒนธรรมท่ดี ีงามของไทย

ความมุ่งม่ันในการศึกษาและ

การทำงาน สามารถปรับตัว

เข้ากบั พหวุ ัฒนธรรมบน

พื้นฐาน วฒั นธรรมที่ดงี าน

ของไทย

กลยทุ ธท์ ่ี 3 ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทวั่ ถึงครอบคลุมผ้เู รยี น ให้ไดร้ บั โอกาสในการพฒั นาเตม็

ตามศกั ยภาพ

สนอง

จดุ เน้น มาตรการ ตวั ช้ีวดั ความสำเรจ็ นโยบาย

ศธ.

1. เด็กพกิ ารไดร้ ับการ - สง่ เสริม สนบั สนนุ การพัฒนา - ร้อยละ 90 ของเด็กพิการ ขอ้ 7

พัฒนาศักยภาพเป็น สมรรถภาพเด็กพิการเปน็ ผา่ นเกณฑ์การพัฒนา

รายบคุ คลด้วยรูปแบบที่ รายบคุ คล สมรรถภาพตามแผนการศึกษา

หลากหลาย เฉพาะบุคคล

2. เดก็ ด้อยโอกาสไดร้ บั - เพิม่ และกระจายโอกาสให้ - รอ้ ยละ 100 ของผู้เรยี นต่อ ขอ้ 7

โอกาสทางการศึกษาที่มี ประชาชนวยั เรียนทกุ คนไดร้ บั ประชากรวัยเรยี นท่ไี ดร้ บั

คุณภาพตามมาตรฐานการ การศึกษาข้นั พน้ื ฐานอย่างมี การศกึ ษา

เรียนรตู้ ามหลกั สตู รและอตั คณุ ภาพ - อตั ราการออกกลางคนั ลดลง

ลกั ษณ์แหง่ ตน รอ้ ยละ 0.2

3. นกั เรยี นท่ีเรียนภายใต้

การจัดการศกึ ษาโดย

ครอบครวั สถานประกอบ

การ องค์กรเอกชน และ

๔๐

จดุ เน้น มาตรการ ตัวชว้ี ัดความสำเรจ็ สนอง
นโยบาย
สถานศกึ ษาทางเลือก ได้รับ - เสริมสร้างท่ีมีความสามารถพิเศษ - ระดับความสำเร็จของการ
การพฒั นาอยา่ งมีคณุ ภาพ ใหไ้ ด้รบั การพฒั นาเต็มตาม พัฒนาผมู้ คี วามสามารถพเิ ศษ ศธ.
4. นกั เรียนท่มี ี ศักยภาพ ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ขอ้ 7
ความสามารถพเิ ศษ ไดร้ ับ ระดับ 5
การสง่ เสรมิ ใหม้ ีความเป็น - เสริมสรา้ งระบบดูแลชว่ ยเหลือ ขอ้ 7
เลศิ ด้านวทิ ยาศาสตร์ นักเรียนทม่ี ีประสิทธภิ าพ โดยเน้น - ร้อยละ 100 ของนกั เรยี น
เทคโนโลยีพืน้ ฐานทาง เด็กกล่มุ ทต่ี ้องการการคุม้ ครองและ อายตุ ำ่ กวา่ 15 ปี ท่ตี งั้ ครรภ์
วศิ วกรรมศาสตร์ ช่วยเหลอื เป็นกรณีพเิ ศษ ลดลง
คณิตศาสตร์ ภาษา กีฬา - รอ้ ยละ 20 ของคดเี ดก็ และ
ดนตรี และศิลปะ เยาวชนท่ถี ูกดำเนินคดโี ดย
5. เดก็ กลุ่มทีต่ ้องการการ สถานพินจิ และคมุ้ ครองเด็กและ
คมุ้ ครองและชว่ ยเหลอื เปน็ เยาวชนลดลง
กรณีพเิ ศษ ได้รบั การ - ร้อยละ 20 ของนักเรยี นท่ีมี
คุ้มครองและช่วยเหลือ พฤติกรรมเสี่ยงต่อสารเสพติด
เยยี วยา ด้วยรูปแบบท่ี ลดลง
หลากหลาย

๔๑

กลยทุ ธท์ ี่ 4 พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาท้ังระบบ ให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้

อย่างมีคุณภาพ

สนอง

จดุ เนน้ มาตรการ ตัวชว้ี ัดความสำเรจ็ นโยบาย

ศธ.

1. ครูและบคุ ลากรทางการ - เร่งรดั ใหค้ รูและบุคลากร - ร้อยละ 100 ของครูที่ได้รับการ ข้อ 2

ศกึ ษา สามารถพัฒนาการ ทางการศึกษา ไดร้ ับการพฒั นา พฒั นา มีคุณภาพดา้ นการจัดการ

จดั การเรยี นการสอนและ ใหส้ ามารถปฏิบัติงานได้อยา่ งมี เรยี นการสอนตามหลักสูตร

พฒั นาตนเองอย่างตอ่ เน่ือง ประสทิ ธิภาพด้วยวิธีการที่ การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

เพ่อื ยกระดับคุณภาพผู้เรยี น หลากหลาย - รอ้ ยละ 100 ของบคุ ลากรทาง

และพร้อมเข้าสปู่ ระชาคม การศึกษาท่ีไดร้ บั การพัฒนา

อาเซียนและประชาคมโลก สามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างมี

ประสทิ ธิภาพ

2. ครแู ละบคุ ลากรทางการ - พฒั นาครูดา้ นกระบวนการคิด - ร้อยละ 100 ของครูท่ผี ่านการ ขอ้ 2

ศึกษา มคี วามรู้ ความสามารถ ดว้ ยวธิ ีการหลากหลาย พฒั นากระบวนการคิด

ตามมาตรฐานที่กำหนด และ - พัฒนาครดู ้านทักษะการวัดผล - ร้อยละ 80 ของครูท่ไี ดร้ ับการ

สามารถจัดการเรยี นการสอน ประเมนิ ผลการจัดการเรียนการ พัฒนาการวดั และประเมินผลการ

ท่ีสง่ ผลใหน้ ักเรียนพัฒนา สอนตามหลกั สูตรการศึกษาขั้น จัดการเรยี นการสอนตามหลกั สตู ร

อย่างเตม็ ศักยภาพ พนื้ ฐาน การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน

3. ครแู ละบุคลากรทางการ - เรง่ รดั พัฒนา ครแู ละบุคลากร - รอ้ ยละ 100 ของครูและบุคลากร ขอ้ 1, 2

ศกึ ษา สามารถใช้ภาอังกฤษ ทางการศกึ ษา ใหไ้ ดร้ บั การ ทางการศึกษา ไดร้ บั การเตรยี มความ

และภาษาของประเทศสมาชกิ เตรียมความพร้อมด้านภาษา พร้อมดา้ นภาษา สงั คม เศรษฐกจิ

อาเซียนในการส่อื สาร อย่าง สงั คม เศรษฐกจิ และวัฒนธรรม และวัฒนธรรมของประเทศอาเซียน

นอ้ ย 1 ภาษา ของประเทศอาเซยี นเพ่ือเข้าสู่ เพ่ือเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซียน

ประชาคมอาเซยี น

4. ครแู ละบคุ ลากรทางการ - พฒั นาครูผ้สู อนในช้ันที่ได้รับ - รอ้ ยละของครผู ู้สอนในชน้ั ท่ีได้รบั ข้อ 3

ศึกษา มที ักษะด้านเทคโนโลยี การจดั สรรเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ การจดั สรรเคร่อื งคอมพิวเตอร์

สารสนเทศ เป็นเคร่ืองมือใน พกพา ให้ไดร้ บั การพัฒนาการ พกพา ได้รบั การพัฒนาการจัดการ

การจัดการเรยี นรู้ จัดการเรียนการสอนด้วย เรยี นการสอนดว้ ยคอมพิวเตอร์

คอมพวิ เตอร์พกพา พกพา

- พัฒนาครผู ู้สอนและบคุ ลากร - ร้อยละ 80 ของครผู สู้ อนและ

ทางการศกึ ษาใหส้ ามารถใช้ บคุ ลากรทางการศึกษาที่ได้รับการ

เทคโนโลยีเพือ่ เป็นเครื่องมอื ใน พัฒนาการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

การจัดการเรยี นรู้ และการสื่อสาร เพื่อเปน็ เคร่ืองมอื

ในการจัดการเรยี นรู้

5. ครแู ละบคุ ลากรทาง - ส่งเสริมให้ครูและบุคลากร - ร้อยละ 80 ของครแู ละบุคลากร ข้อ 2

การศกึ ษา มขี วัญกำลังใจใน ทางการศกึ ษาได้พัฒนาตนเอง ทางการศกึ ษา ได้พัฒนาตนเองตาม

การพฒั นาตนเองตาม ตามมาตรฐานวิชาชพี ดว้ ย มาตรฐานวชิ าชีพ

๔๒

จดุ เน้น มาตรการ ตวั ช้ีวดั ความสำเร็จ สนอง
นโยบาย
มาตรฐานคุณวุฒิ วธิ ีการท่หี ลากหลาย
ศธ.
6. ครแู ละบคุ ลากรทางการ - ส่งเสริมให้ครแู ละบคุ ลากร - รอย้ ละ 100 ของครูและ ข้อ 2
ศกึ ษามี มขี วญั กำลงั ใจ
ไดร้ ับการจงู ใจในการพฒั นา ทางการศกึ ษามี มีขวัญกำลังใจ บุคลากรทางการศึกษามงุ่ มัน่ ตงั้ ใจ ขอ้ 2
ผู้เรยี นเต็มศกั ยภาพ
7. ครแู ละบุคลากรทางการ และม่งุ ม่นั ต้งั ใจในการปฏบิ ตั ิงาน ในการปฏบิ ตั งิ านเต็มศักยภาพ ข้อ 2
ศกึ ษา มีผลงานการสอนที่
แสดงศกั ยภาพการสอน เตม็ ศกั ยภาพ ขอ้ 2
อยา่ งมืออาชพี เปน็ เชิง
ประจกั ษ์ และไดร้ ับการเชิด - สง่ เสริมครูและบคุ ลากรทางการ - ร้อยละ 100 ของครูมีผลงานการ ข้อ 2
ชูเกยี รตอิ ย่างเหมาะสม
8. ครูและบุคลากรทางการ ศกึ ษาใหเ้ ปน็ มืออาชีพ สอนท่ีแสดงศกั ยภาพการสอนอยา่ ง
ศึกษา มวี ินัย คณุ ธรรม
จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณ มืออาชีพ
ตามมาตรฐานวชิ าชพี
9. ครแู ละบุคลากรทางการ - พฒั นาคุณธรรม จริยธรรม - รอ้ ยละ 100 ของครูและ
ศกึ ษา มีจติ วิญญาณและ ให้แก่ครูและบคุ ลากรทางการ บคุ ลากรทางการศึกษามคี ุณธรรม
อุดมการณ์ ท่มี ุ่งมั่นพฒั นา ศึกษาตามมาตรฐานวชิ าชพี จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณตาม
การศึกษาของชาติและเปน็ มาตรฐานวชิ าชีพ
แบบอยา่ งทดี่ ีแก่สงั คม - ยกระดับจติ วิญญาณ และ
10. ครูและบคุ ลากร อดุ มการณ์ ครูและบคุ ลากร - รอ้ ยละ 100 ของครูและ
ทางการศกึ ษา มีทักษะใน ทางการศึกษา เพ่ือให้เป็น บุคลากรทางการศึกษามคี ุณธรรม
การเขา้ ถึงและดูแล แบบอยา่ งที่ดีแกส่ งั คม จริยธรรม และจรรยาบรรณตาม
ช่วยเหลอื นกั เรยี น มาตรฐานวชิ าชีพ

- พฒั นาและบคุ ลากรทางการ - รอ้ ยละ 100 ของครูและ

ศึกษาใหม้ ที ักษะในการเขา้ ถึงและ บคุ ลากรทางการศึกษา สามารถ

ดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น ส่งเสรมิ การจัดระบบดแู ลช่วยเหลือ

นักเรยี นได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

๔๓

กลยุทธ์ท่ี 5 พัฒนาประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการศกึ ษา ตามแนวทางการกระจายอำนาจทาง
การศกึ ษาตามหลกั ธรรมาภบิ าล เนน้ การมีส่วนร่วมจากทุกภาคสว่ นและความรว่ มมือ
กับองคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ เพ่อื ส่งเสริมและสนับสนุนการจดั การศกึ ษา

จดุ เนน้ มาตรการ ตวั ชว้ี ดั ความสำเรจ็ สนอง
- รอ้ ยละ 100 ของสถานศกึ ษาท่ี นโยบาย
1. สถานศกึ ษาที่ไมผ่ ่านการ - สง่ เสรมิ สนบั สนุน พัฒนา ไม่ผ่านการรับรองคุณภาพภายนอก
มีแผน พัฒนาการศึกษาเปน็ รายโรง ศธ.
รบั รองคุณภาพภายนอก และที่ สถานศกึ ษาที่ไม่ผ่านการ ทร่ี ว่ มจัดทำกบั ผ้ปู กครอง ชมุ ชน ข้อ 1
และองคก์ รอ่นื ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง
ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของ รบั รองคุณภาพภายนอก ข้อ 6
- ร้อยละ 100 ของสถานศกึ ษามี
นักเรยี นตำ่ กวา่ ค่าเฉลย่ี ของ จดั ทำแผนพฒั นาการศึกษา ระบบประกันคุณภาพภายในท่ี ขอ้ 6
เข้มแข็งครบองค์ประกอบตาม
ประเทศ ได้รับการแก้ไข เป็นรายโรงร่วมกบั ผู้ปกครอง กฏกระทรวงฯ

แทรกแซง ชว่ ยเหลือ นเิ ทศ ชุมชน และองค์กรอ่ืน ๆ - รอ้ ยละ 100 ของสถานศึกษาท่ี
ได้รบั การตดิ ตามประเมนิ ผลและ
ตดิ ตาม เพื่อยกระดับคณุ ภาพ ที่เกย่ี วข้อง นิเทศการศึกษาอย่างมีคุณภาพ

การจดั การเรยี นการสอน - แทรกแซง ชว่ ยเหลือ นเิ ทศ

ติดตามสถานศึกษาท่ีไมผ่ ่าน

การรบั รองคุณภาพภายนอก

และท่มี ผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการ

เรยี นของนักเรยี นต่ำกวา่

คา่ เฉลย่ี ของประเทศ

2. สถานศกึ ษาบริหารจดั การ - สง่ เสริมและพัฒนาการ

โดยมุ่งการมีสว่ นรว่ ม ความ ดำเนินงานตามระบบประกัน

รบั ผิดชอบตอ่ ผลการดำเนินงาน คุณภาพภายในโรงเรียนให้มี

เพอ่ื ประโยชน์สูงสดุ ของ ความเขม้ แข็งเพ่อื รองรับการ

นักเรียน สร้างความเช่อื มนั่ แก่ ประเมนิ คุณภาพภายนอก

ผใู้ ชบ้ รกิ ารและสังคม

3. สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา - บริหารจัดการ โดยม่งุ การมี

บรหิ ารจดั การ นิเทศ ตดิ ตาม ส่วนร่วมในความรบั ผดิ ชอบ

ประเมนิ ผล อย่างเข้มแข็ง โดย ตอ่ ผลการดำเนินงาน

มงุ่ การมีสว่ นร่วม และความ - นเิ ทศ ติดตาม กำกับ ดแู ล

รบั ผิดชอบต่อผลการดำเนินงาน ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื

เพ่ือประโยชน์สงู สุดของ และพัฒนาสถานศึกษาใหเ้ กดิ

นกั เรียน สร้างความเช่ือมั่นแก่ ความเขม้ แขง็

ผู้ใช้บรกิ ารและสงั คม

๔๔

สนอง

จุดเน้น มาตรการ ตัวชว้ี ัดความสำเรจ็ นโยบาย

ศธ.

4. องค์คณะบคุ คลท่เี กย่ี วข้อง - พัฒนาการบรหิ ารจัดการ - ทกุ องคค์ ณะบคุ คลที่เก่ียวข้องกบั ขอ้ 6

กับการจดั การศึกษา ติดตาม ของสำนักงานเขตพน้ื ท่ี การจัดการศกึ ษา ดำเนินการ

และประเมินผลการดำเนนิ งาน การศกึ ษา ให้มปี ระสิทธิภาพ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน

ของหน่วยงานอยา่ งเขม้ แขง็ เป็นไปตามมาตรฐาน หน่วยงานตามบทบาทหนา้ ที่อยา่ ง

เพื่อประโยชน์สูงสุด คอื คุณภาพ เขม้ แข็ง

การจดั การเรยี นรู้ เพอื่ นักเรยี น

ไดพ้ ัฒนาตนเองอยา่ งเตม็ ตาม

ศกั ยภาพ

5. สถานศึกษาจัดการศึกษา - สง่ เสรมิ พัฒนาสถานศึกษา - รอ้ ยละ 80 ของสถานศกึ ษา ขอ้ 6

อยา่ งมีคุณภาพตามระดบั ให้จดั การศึกษาอย่างมี กลมุ่ เปา้ หมาย (Education Hub)

มาตรฐานทสี่ ูงขน้ึ เทียบเคียงกบั คณุ ภาพตามระดับมาตรฐานท่ี จัดการศกึ ษาอยา่ งมีคณุ ภาพตาม

ประเทศผู้นำด้านคณุ ภาพ สูงขึ้น เทียบเคยี ง มาตรฐานทส่ี ูงข้นึ เทยี บเคียงกับ

การศกึ ษาในภูมภิ าคอาเซยี น วธิ ีดำเนินการกบั ประเทศผนู้ ำ ประเทศผนู้ ำด้านคณุ ภาพการศกึ ษา

ด้านคุณภาพการศึกษาใน ในภมู ิภาคอาเซียน

ภมู ภิ าคอาเซียน

6. สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา - ส่งเสรมิ สนบั สนุน การ - ร้อยละ 100 ของสำนักงานเขต ข้อ 6

ส่งเสรมิ สนับสนุนให้มีการจดั บรหิ ารจดั การให้มีคณุ ภาพ พน้ื ที่การศกึ ษาท่ผี ่านการประเมิน

การศึกษาท่ีมีคุณภาพตามระดบั ตามมาตรฐานที่สงู ขน้ึ คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานของ

มาตรฐานท่สี งู ขนึ้ เทยี บเคยี งกับ เทียบเคียงกบั ประเทศผู้นำ สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษา

ประเทศผนู้ ำด้านคุณภาพ ดา้ นคุณภาพการศึกษาใน

การศกึ ษาในภูมิภาคอาเซียน ภูมภิ าคอาเซยี น

๔๕

สว่ นท่ี 3
แผนงาน/โครงการตามกลยุทธ์

โรงเรียนบ้านตะกยุ (ค้ำคณู บำรุง) ไดน้ ำกลยุทธ์ จดุ เนน้ มาตรการ และตัวชว้ี ดั ความสำเร็จ

ของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน มาเขยี นโครงการตามงบประมาณที่ได้รับจดั สรรจาก

การประมาณการเงินอุดหนุนและเงินอนื่ ๆ ดงั นี้

1. การประมาณการเงินอดุ หนนุ ปีงบประมาณ 2565 (ขอ้ มลู 10 พฤศจิกายน 2561)

ท่ี ประเภท จำนวน อตั ราจัดสรร จำนวนเงนิ
นกั เรียน (บาท/คน/ปี) (บาท)

1 เงินอดุ หนุนรายหัวระดับก่อนประถมศึกษา 30 1,700 51,000

2 เงินอดุ หนุนรายหัวระดับประถมศึกษา 115 1,900 218,500

3 เงนิ อดุ หนนุ รายหวั ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ 51 3,500 178,500

5 เงินปจั จัยพื้นฐานระดับประถมศึกษา 52 1000 52,000

6 เงนิ ปัจจัยพ้นื ฐานระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 21 3000 63,000

7 เงินโครงการอาหารกลางวัน 145 4,000 580,000

8 เงินค่าหนังสอื เรยี น

- กอ่ นประถมศึกษา 30 200 6,000

- ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 17 561 11,067

- ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 2 21 605 12,705

- ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 20 622 12,440

- ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 22 653 14,366

- ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 18 785 14,130

- ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 17 818 13,906

- ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 18 700 12,600

- ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 17 863 14,671

- ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 16 949 15,184

รวม 127,069

9 เงินคา่ อุปกรณ์การเรยี น

- ก่อนประถมศกึ ษา 30 200 6,000

- ประถมศึกษา 115 390 44,850

- มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 51 421 21,471

รวม 72,321

10 เงนิ ค่าเครื่องแบบนักเรียน

- กอ่ นประถมศกึ ษา 30 300 9,000

- ประถมศกึ ษา 115 360 41,400

- มัธยมศึกษาตอนต้น 51 450 22,950

รวม 73,350

๔๖

11 เงนิ ค่ากิจกรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน 30 215 6,450
- ก่อนประถมศกึ ษา 115 240 27,600
- ประถมศึกษา 51 440 22,440
- มัธยมศกึ ษาตอนตน้
56,490
รวม 1,497,730

รวมทั้งสน้ิ

2. เงินงบประมาณทีย่ กมาจากปีงบประมาณ 256๒

ประเภท/ด้าน วชิ าการ งบประมาณ บุคคล ทว่ั ไป รวมเงนิ

เงนิ อดุ หนุนรายหัวก่อนประถม 8,424.52

เงินอุดหนนุ รายหวั ประถมศึกษา 1,000.42

เงนิ อดุ หนนุ รายหวั ม.ต้น 42,953.75

เงนิ ปัจจัยพื้นฐานประถมศึกษา 21,500.00

เงินปัจจัยพืน้ ฐาน ม.ต้น 18,067.00

เงินโครงการอาหารกลางวัน 161,913.49

เงินคา่ หนังสือเรยี น 30,984.00

เงนิ คา่ อุปกรณ์การเรียน 18,022.00

,เงินคา่ เคร่อื งแบบนักเรยี น 5,000.00

เงนิ คา่ กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น 39,203.61

เงนิ อ่ืนๆ 83,661.71

รวมท้ังสิ้น 430,730.50

๔๗

3. รวมเงินงบประมาณที่ใชใ้ นการจดั ทำแผนปฏิบัติการประจำปี 256๓

ประเภท วชิ าการ งบประมาณ บคุ คล ทั่วไป รวมเงิน

เงินอดุ หนุนรายหวั ก่อนประถม 71,400 18,407.5 51,000
2

เงนิ อดุ หนนุ รายหวั ประถมศึกษา 228,00 1,040.42 218,500
0

เงนิ อุดหนุนรายหวั ม.ตน้ 308,00 3,750.51 178,500
0

เงินปัจจัยพื้นฐานประถมศึกษา 24,000 17,825.0 52,000
0

เงินปัจจัยพื้นฐาน ม.ตน้ 39,000 56,747.0 63,000
0

เงนิ โครงการอาหารกลางวนั 320,00 201,933.

0 49 127,069

เงนิ ค่าหนงั สอื เรยี น 163,16 33,731.0

70 72,321

เงินค่าอปุ กรณ์การเรยี น 46,080 16,947.0

0 73,350

เงินค่าเคร่ืองแบบนักเรียน 95,400 3,620.00 56,490

เงินคา่ กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น 76,550 17,631.7

2 127,069

รวมท้ังส้นิ 1,019,299

๔๘

งบหน้าโครงการและงบประมาณของแผนปฏิบตั ิการประจำปีการศึกษา 2565

1. ด้านการบริหารวิชาการ จำนวน 25 โครงการ เป็นเงนิ 279,940 บาท

ที่ ชื่อโครงการ งบประมาณ

1 โครงการนิเทศภายใน 1,000

2 โครงการหอ้ งสมดุ มีชวี ิต 10,000

3 โครงการปรบั ปรงุ ICT 80,000

4 โครงการพฒั นาการเรยี นการสอนปฐมวัย 20,000

5 โครงการพฒั นากลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย 13,000

6 โครงการพัฒนากลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ 5,000

7 โครงการพฒั นากลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ 5,000

8 โครงการพัฒนากลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ุขศกึ ษาฯ 20,000

9 โครงการพฒั นากลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษาฯ 1,000

10 โครงการพฒั นากลุม่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี 1,000

11 โครงการพัฒนากลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ 1,000

12 โครงการพัฒนากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ 5,000

13 โครงการยกระดบั งานวชิ าการส่ผู ลสมั ฤทธทิ์ าง 15,000
การเรยี นรู้

14 โครงการปฐมนเิ ทศนักเรียน 1,500

15 โครงการส่งเสรมิ วชิ าการสศู่ ลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียน 20,000

16 โครงการทศั นศึกษาแหล่งเรียนรู้

- กอ่ นประถม 2,000
- ประถม 16,000

- มธั ยม 15,000

17 โครงการสง่ เสรมิ นกั เรยี นท่ีมปี ญั หาเรียนรว่ ม 700

18 โครงการเขา้ ค่ายลูกเสอื -เนตรนารี 3,000
- ประถม ป. 1-3

- ประถม ป. 4-6 15,000
- มัธยม ม. 1-3 14,000

19 โครงการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา 3,000

20 โครงการพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษา 5,000

21 โครงการตะกุยนทิ รรศ 3,500

22 โครงการลดเวลาเรยี นเพ่มิ เวลารู้ 3,500

23 โครงการวดั และประเมนิ ผล 40,000

24 โครงการจดั ซ้ือวสั ดวุ ชิ าการ 177,940

25 โครงการพฒั นาบคุ คลากรด้านวิชาการ 15,000

๔๙

2. ดา้ นการบรหิ ารงบประมาณ จำนวน 4 โครงการ เปน็ เงิน 107,000 บาท

ที่ ชอื่ โครงการ งบประมาณ
1 โครงการบรหิ ารการเงนิ และการบัญชี 1,000
2 โครงการชำระค่าสาธารณปู โภค 90,000
3 โครงการบรหิ ารงานพัสดุ 15,000
4 โครงการพฒั นาแผนบรหิ ารงบประมาณ 1,000

3. ด้านการบริหารงานบุคคล จำนวน 3 โครงการ เปน็ เงิน 89,220 บาท

ท่ี ชื่อโครงการ งบประมาณ
1 โครงการสร้างขวัญกำลังใจบุคลากรทางการศึกษา 1,000
2 โครงการพัฒนาบุคคลากร 25,720
3 โครงการจดั จ้างบุคลากร(ครอู ัตราจา้ ง) 62,500

4. ดา้ นการบริหารงานท่ัวไป จำนวน 15 โครงการ เปน็ เงนิ 399,413 บาท

ที่ ช่อื โครงการ งบประมาณ
1 โครงสง่ เสรมิ กจิ กรรมวันสำคัญ 10,000
2 โครงการประชุมผปู้ กครองนักเรียน 1,000
3 โครงการวนั กอ่ ตงั้ โรงเรยี น
4 โครงการระดมทรพั ยากร -
5 โครงการปรบั ปรุงอาคารสถานที่ -
6 โครงการปัจฉมิ นเิ ทศนกั เรยี น 50,000
7 โครงการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา 5,000
8 โครงการส่งเสรมิ คุณธรรมจริยธรรม -
9 โครงการบริหารงานธรุ การ 16,000
10 โครงการโรงเรยี นส่งเสรมิ สขุ ภาพ 20,000
11 โครงการออมทรัพยน์ ักเรียน -
12 โครงการอาหารกลางวนั 1,000
13 โครงการะบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น 624,000
14 โครงการเรียนฟรี 15 ปอี ย่างมคี ุณภาพ 5,000

- หนงั สือเรยี น 132,250
- อุปกรณก์ ารเรยี น 76,313
- เครอ่ื งแบบนกั เรียน 77,850
15 โครงการเศรษฐกิจพอเพียง 5,000

๕๐

สว่ นที่ 4
การกำกับ ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงาน

โรงเรยี นบ้านตะกยุ (คำ้ คูณบำรุง) ได้ร่วมกับคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน กำหนด
แนวทางในการกำกบั ตดิ ตาม ปละเมินผล ตรวจสอบและการรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน/การดำเนนิ งาน
ตามแผนงาน/โครงการไว้ดงั นี้

1. การกำกบั ตดิ ตาม
- จัดทำรูปแบบการกำกบั ตดิ ตามงาน
- จัดผูร้ ับผิดชอบในการกับ ติดตามงาน
- กำหนดขอบข่ายการกำกับ ตดิ ตามงาน ดงั น้ี

การปฏิบตั งิ านตาม การกากบั ดา้ นปัจจยั ผลการดาเนินงาน
แผนงาน/โครงการ ติดตาม ดา้ นกระบวนการ ปัญหา/อปุ สรรค

ดา้ นผลผลิต

ปรับปรุงและพฒั นางาน

2. การประเมนิ ผล
- แต่งตง้ั คณะกรรมการประเมนิ ผล
- สร้างเคร่อื งมือประเมนิ ผล
- ดำเนนิ การประเมินผลก่อนดำเนนิ โครงการเพอ่ื ดูความเป็นไปได้ ระหว่างดำเนนิ

โครงการเพอ่ื ดคู วามก้าวหน้า และปรับปรุงแก้ไขการดำเนินงาน และประเมินผลเม่ือส้ินสดุ โครงการเพื่อ
ดูประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลของการดำเนนิ งานตามโครงการ


Click to View FlipBook Version