รายงานการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
(Self Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564
ระดับการศกึ ษาปฐมวัย ระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
และการจดั การศึกษาเรียนรวม
โรงเรียนบา้ นตะกุย(ค้ำคูณบำรงุ )
ตำบลตรมไพร อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรนิ ทร์
รหัสสถานศกึ ษา 1032650466
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต ๑
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
ก
คำนำ
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564 (Self - Assessment Report :
SAR) ฉบับนี้ จัดทำขึ้นตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3 ให้สถานศึกษาแต่
ละแหง่ จดั ให้มรี ะบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศกึ ษาใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแตล่ ะระดบั และประเภทการศกึ ษา โดยระบใุ ห้ สถานศกึ ษาจัดส่ง
รายงานผลการประเมินตนเองใหแ้ ก่หนว่ ยงานต้นสังกัด หรอื หน่วยงานที่กำกับดูแล สถานศึกษาเป็นประจำทุก
ปี เพื่อรายงานผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาที่สะท้อนผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็น
ผลสำเร็จจากการบริหารจดั การศึกษาท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาปฐมวัย 3 มาตรฐาน
ได้แก่ คุณภาพของเด็ก กระบวนการบริหารและการจัดการ และการจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3 มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของผู้เรียน กระบวนการบริหารและการจัดการ
กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ และระบบการประกนั คณุ ภาพภายในท่ีมีประสิทธิผล
ผลการวิเคราะห์จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และระบุแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาในอนาคต และนำเสนอ
รายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาให้ต้นสังกัดและสาธารณซนได้รับทราบ และเตรียมความพร้อม
ในการรับการประเมินคณุ ภาพภายนอกตอ่ ไป
ขอขอบคณุ คณะครู ผูป้ กครอง นักเรยี น คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน และผทู้ มี่ สี ว่ นเกี่ยวข้อง
ทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมในการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 256 4 ให้
สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี และทางโรงเรียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนา
คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาต่อไป
โรงเรียนบ้านตะกยุ (ค้ำคูณบำรงุ )
คณะผู้จัดทำ
สารบญั ข
เรอ่ื ง หน้า
คำนำ ก
ข
สารบญั ค
บทสรุปของผ้บู รหิ าร
๑
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา
๑๕
สว่ นที่ 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ๑๕
• ระดับการศกึ ษาปฐมวยั ๑๖
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็ ๑๘
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ๑๙
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ ่ีเนน้ เดก็ เป็นสำคญั ๒๒
• ระดับการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ๒๒
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน ๒๔
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ๒๗
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รียนเป็นสำคัญ 31
• การจัดการศึกษาเรยี นรวม 32
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน 33
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 34
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ
37
สว่ นท่ี 3 สรปุ ผลการประเมินและแนวทางการพัฒนา 37
• ระดบั การศึกษาปฐมวัย 38
• ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 39
• การจดั การศึกษาเรียนรวม
42
สว่ นท่ี 4 ภาคผนวก 49
ภาคผนวก ก คำส่งั แตง่ ตัง้ คณะกรรมการประเมนิ ผลคณุ ภาพการศึกษา 51
ภาคผนวก ข เกยี รตบิ ัตรเชิดชูเกยี รติ สถานศึกษา/คร/ู นักเรียน 59
ภาคผนวก ค เอกสารหลักฐานขอ้ มูลสำคัญและเอกสารอ้างอิงตา่ งๆ 60
ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
คณะผจู้ ดั ทำ
ค
บทสรุปสำหรบั ผบู้ รหิ าร
รายงานผลการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report: SAT) ประจำปกี ารศกึ ษา 2564
โรงเรียนบา้ นตะกุย(ค้ำคูณบำรุง)
สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต 1
ที่ตัง้ หมู่ 4 ตำบลตรมไพร อำเภอศขี รภูมิ จงั หวัดสุรนิ ทร์ รหัสไปรษณีย์ 32110
ข้อมูลพน้ื ฐาน
ชอ่ื ผ้บู รหิ าร นายชินวงศ์ ดีนาน เบอรโ์ ทร 064-4699662 .
E-mail: [email protected] .
จำนวนครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา 22 .คน
จำนวนเด็ก 181 .คน
สภาพของชุมชน
สภาพชุมชนรอบบรเิ วณโรงเรียนมีลกั ษณะพ้นื ที่ราบสูง รม่ ร่ืน มคี วามสงบสุข ไม่มีการแพร่
ระบาดของยาเสพติด ชุมชนใหค้ วามรว่ มมือกบั ทางโรงเรียนเปน็ อย่างดี บรเิ วณใกล้เคียงโดยรอบ
โรงเรยี น ได้แก่ บา้ นตะกยุ บ้านตาแก้ว บ้านเนินสูง บ้านโคกหลัก
วสิ ัยทศั น์
โรงเรยี นบา้ นตะกุย(คำ้ คูณบำรุง) เป็นสถานศึกษาทเี่ นน้ พฒั นาผู้เรยี น ให้สุขภาพดี
มีจติ สาธารณะ ใฝเ่ รียนรู้ คู่คุณธรรม นอ้ มนำหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ก้าวทนั เทคโนโลยี มีชมุ ชนรว่ ม
ประสาน บริหารงานอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั
ตามที่โรงเรียนบ้านตะกุย (ค้ำคูณบำรุง) ได้ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปี
การศึกษา 2564 ตามระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ โดย
จัดทำรายงานประจำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกดั หน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้อง และเสนอต่อสาธารณชน เพ่ือนำไปสู่
การพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพภายนอกโรงเรียนบ้านตะกุย
(ค้ำคูณบำรุง) ได้ดำเนินการด้นประกันคุณภาพภายในอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันดำเนินงานตามกฎกระทรวง
การประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. 2561
บดั นีก้ ารดำเนนิ การประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษาเสรจ็ เรยี บร้อยแล้ว จึงขอเสนอผลการประเมิน
คุณภาพภายในสถานศึกษา แสดงในตาราง สรุปผลไดด้ งั นี้
มาตรฐาน/ตัวบ่งช้ี ระดับคุณภาพ
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก ยอดเยี่ยม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดเี ลศิ
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท์ ่เี นน้ เดก็ เปน็ สำคัญ ดีเลิศ
ง
ผลการดำเนนิ งาน
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพเดก็ มผี ลการดำเนินงาน ระดับคุณภาพ ยอดเยี่ยม
หลักฐานสนบั สนุนผลการการดำเนินงาน
โรงเรียนบา้ นตะกยุ (ค้ำคูณบำรุง) ได้จัดการศึกษาในระดบั ปฐมวยั สง่ เสริมให้เด็กมีพฒั นาการทง้ั 4
ด้านอย่างสมดลุ และเหมาะสมกับวัย โดยจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาทส่ี อดคลอ้ งกบั บริบทของท้องถิ่นและ
หลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช 2564 จดั ประสบการณ์ท่ีครอบคลมุ พฒั นาการทง้ั 4 ด้าน โดยเน้น
การจัดประสบการณ์ผา่ นการลงมือปฏบิ ัติด้วยกิจกรรมประจำวนั ท้ัง 6 กจิ กรรม จัดโครงการและกิจกรรม ดังนี้
โครงการพัฒนาเด็กปฐมวยั กิจกรรมอิ่มอร่อยครบครนั กจิ กรรมหนนู ้อยรักษ์สขุ ภาพ กิจกรรมสร้างสรรค์
กิจกรรมหนนู ้อยเด็กดี กจิ กรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์ กิจกรรมหนูน้อยเจา้ ปัญญา ประเมนิ พัฒนาการของเด็ก โดย
การสังเกตพฤติกรรมและบันทึกพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน จากการดำเนินงานตามกิจกรรมส่งผลให้มพี ัฒนาการใน
ภาพรวมระดบั คณุ ภาพ ยอดเยี่ยม จำแนกเปน็ ดา้ นรา่ งกายร้อยละ 100 ด้านอารมณ์ ด้านจิตใจ ร้อยละ 96.42
ด้านสงั คม ร้อยละ 92.85 และด้านสตปิ ัญญาอยใู่ นระดับ 85.71 โรงเรียนมีผลการดำเนินงาน ระดับคุณภาพ
ยอดเยย่ี ม ผลการดำเนนิ งาน สูงกวา่ เป้าหมายทีก่ ำหนด
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มีผลการดำเนนิ งาน ระดบั คณุ ภาพ ดีเลิศ
หลักฐานสนับสนุนผลการการดำเนินงาน
โรงเรยี นบ้านตะกุย (คำ้ คูณบำรงุ ) ไดด้ ำเนินการ กำหนดเป้าหมาย วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ แผนพฒั นา
คุณภาพการจัดการศกึ ษา แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี โครงการหรือกิจกรรม และจัดทำหลักสูตรของสถานศกึ ษา
โดยจดั ทำคำสัง่ แตง่ ตง้ั คณะกรรมการ ดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้ ได้แก่ โครงการพัฒนาบุคลากรปฐมวัย
โครงการพัฒนาสื่อสำหรบั เด็กปฐมวัย โครงการพฒั นาหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย โครงการพัฒนาระบบการ
ประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา โครงการปรบั ปรุงสภาพแวดล้อมสำหรบั เดก็ ปฐมวยั ประเมนิ ผล
ประสิทธภิ าพการบรหิ ารและการจดั การ เพ่อื สะท้อนผลการดำเนนิ งานแผน เช่น ติดตามผลการดำเนนิ โครงการและ
กจิ กรรม จัดทำติดตาม และแบบรายงานผลการโครงการ และจดั ทำรายงานผลการประเมนิ ตนเองประจำปี โรงเรยี นมี
ผลการดำเนนิ งาน ระดับคณุ ภาพ ดเี ลศิ ผลการดำเนินงาน เป็นไปตามเปา้ หมาย
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ ่ีเนน้ เดก็ เปน็ สำคญั มีผลการดำเนินงาน ระดบั คุณภาพ ดีเลิศ
หลกั ฐานสนบั สนุนผลการการดำเนนิ งาน
โรงเรียนบา้ นตะกุย (คำ้ คูณบำรุง) สนบั สนุนใหค้ รจู ัดประสบการณ์ โดยจัดทำแผนการจดั ประสบการณ์
ครบทกุ สาระการเรยี นรู้ ที่สอดคลอ้ งกบั หลกั สตู รของสถานศกึ ษา ครจู ัดทำบันทึกผลหลงั สอน มเี คร่ืองมือ
สำหรับประเมนิ หลงั การสอน ขอ้ มูลหรือผลงานของเดก็ ทเ่ี กิดขน้ึ ภายหลังจากการจัดประสบการณ์ ครูมวี ุฒิ
การศึกษา ตรงตามสายงาน การสอนส่อื เทคโนโลยี นวัตกรรม แหลง่ เรียนรู้ และภมู ิปญั ญาท้องถ่ินทใ่ี ชใ้ นการ
จดั ประสบการณท์ ่ีเหมาะสม หลากหลาย แหล่งเรียนร้ทู เี่ อื้อต่อการเรียนรู้ ได้แก่ วัด โรงเพาะเห็ด ธนาคารขยะ
หอ้ งสมุด ห้องคอมพวิ เตอร์ สวนสมนุ ไพร แปลงผกั สวนครัว โรงเรือนทำปยุ๋ ตน้ ไมย้ ม้ิ บ่อปลา มมุ ประสบการณ์
ภายในห้องเรียน และได้มีการตรวจสอบและประเมินเด็กอย่างเป็นระบบจากการจดั ประสบการณต์ ามหน่วย
การเรียนรู้ทีก่ ำหนดไว้ ใชเ้ คร่ืองมือ วธิ ีการประเมนิ ผลที่เหมาะสมและหลากหลาย ไดแ้ ก่ แบบบันทกึ การสงั เกต
พฤติกรรม แบบประเมนิ พัฒนาการตามหนว่ ยการเรยี นรู้ และใหข้ ้อมลู ย้อนกลับแก่ผู้ปกครองและผู้มสี ว่ น
จ
เก่ยี วข้อง เพ่อื นำไปใชใ้ นการพัฒนาการเรยี นรู้ มีการนำผลการประเมินมาพัฒนาเดก็ มาวิเคราะห์ถึงสาเหตุและ
ปัญหาทีเ่ กิดข้นึ เพ่ือนำมาวางแผนในการพัฒนาเดก็ และดำเนินการตามแผน แลกเปลี่ยนเรยี นรู้และให้ข้อมลู
ป้อนกลบั เพื่อพฒั นาปรับปรงุ การจดั ประสบการณ์ ด้วยจัดกจิ กรรม PLC ของครปู ฐมวัย มีการทำวิจยั มวี ิธีการ
แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ที่หลากหลายระหว่างเพื่อนครู และการนิเทศ กำกับ จากผบู้ รหิ ารมีโครงการสนบั สนนุ การ
ดำเนินงาน เช่น โครงการประชุมผู้ปกครองนักเรียนปฐมวัย เพ่ือแลกเปล่ียนเรยี นรู้กับผปู้ กครอง โรงเรยี นมีผล
การดำเนินงาน ระดับคุณภาพ ดเี ลิศ ผลการดำเนินงาน เปน็ ไปตามเป้าหมาย
ขอ้ เสนอแนะ แผนพฒั นาเพ่ือใหไ้ ดม้ าตรฐานท่สี ูงข้ึน
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก การทำกจิ กรรมเสริมสตปิ ัญญา ด้านการมีความคดิ รวบยอดควรจัด
กจิ กรรมเพอ่ื ให้เด็กได้พฒั นาความคิดรวบยอด การเลน่ กบั ผู้อืน่ โดยปราศจากความรุนแรง อยู่ร่วมในสังคมอยา่ ง
มีความสุขและมีการคิดและสามารถตดั สินใจในเรือ่ งงา่ ยๆได้
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ส่งเสรมิ ใหค้ รูมีความเชีย่ วชาญด้านการจดั
ประสบการณ์
มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ท่เี นน้ เด็กเปน็ สำคัญ จัดกจิ กรรมสง่ เสริมเด็กเรียนร้กู ารอยู่ร่วมกัน
การจัดสภาพแวดลอ้ มและการใช้ส่อื เทคโนโลยี เปดิ โอกาสใหผ้ ูเ้ รียนไดเ้ รียนรดู้ ้วยความสนใจ
ฉ
ระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
โรงเรียนบ้านตะกุย(ค้ำคูณบำรุง) มีนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 จำนวน 109 คน และช้ัน
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 - 3 จำนวน 46 คน (ขอ้ มลู ณ วันท่ี 31 มนี าคม 2565) ข้าราชการครู จำนวน 12 คน ครู
อัตราจ้าง จำนวน 1 คน เจ้าหน้าที่ธุรการ จำนวน 1 คน จัดทำรายงานผลการประเมินตนเองในภาพรวมมีผล
การประเมนิ ดงั นี้
มาตรฐาน เปา้ หมายท่ี ผลการ
สถานศกึ ษาตัง้ ไว้ ประเมนิ
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รียน ดีเลศิ ดีเลศิ
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดีเลศิ ดีเลศิ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สำคญั ดีเลิศ ดีเลิศ
สรปุ ผลการประเมนิ ระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ดีเลศิ
ข้อมูล หลักฐานเชิงประจักษ์ทส่ี นับสนนุ ผลการประเมินตนเอง
1. รางวัลสถานศกึ ษาทมี่ ผี ลพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1-3
ระดบั ดเี ยีย่ ม ตามโครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย “เดก็ ไทยวถิ ใี หม่ อ่านออกเขยี นได้
ทกุ คน” ปีการศึกษา 2564
2. รางวัลสถานศกึ ษาที่ผา่ นการนเิ ทศติดตามและประเมินผลโครงการพฒั นาคุณภาพการจดั
การศึกษาเรียนรวม ปีการศึกษา 2564 ระดับ ดเี ยยี่ ม
3. รางวลั สถานศกึ ษาทีม่ ผี ลงานรปู แบบการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษาทีป่ ระสบความสำเร็จ เป็น
แบบอย่างได้ (Best Practice) ปกี ารศึกษา 2564 ระดบั ดีมาก
4. รางวัลสถานศกึ ษาทีม่ ผี ลงานการนิเทศภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 ระดับดีมาก
5. รางวลั สถานศกึ ษาที่ดำเนินการส่งเสริมการประชาสัมพันธ์ข่าวสาร ภายใตโ้ ครงการโรงเรยี น
คุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ) อย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงาน
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผเู้ รียน มผี ลการดำเนนิ งาน ระดับคุณภาพ ดเี ลิศ
หลกั ฐานสนบั สนนุ ผลการการดำเนนิ งาน
โรงเรียนบ้านตะกุย(ค้ำคูณบำรุง) ได้จัดทำแผนการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เน้นผู้เรียน
เป็นสำคัญ สอดคล้องกับนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการจัดการเรียนรู้แบบ
On-site, On-line และ On-hand โดยได้จัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนและสถานการณ์ ทั้งนี้ยังมีการ
นิเทศติดตามการเรียนของผู้เรียน และวัดผลประเมินผลอย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ การดำเนินงานโครงการ
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้) มีการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมนักเรียนก่อน
การทดสอบระดับชาติ (RT, NT และ ONET) อีกทั้งเข้าร่วมโครงการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย
“เด็กไทยวิถีไทย อ่านออกเขียนได้ทุกคน” ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑ ส่งผลให้ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน สื่อสารและคิดคำนวณได้ตาม
เกณฑ์ในแต่ละระดับชั้น และมีร้อยละผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ในระดับ ดี
(70.40) อีกทั้งยังให้ความสำคัญในการพัฒนาผู้เรียนในด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ปลูกฝังคุณธรรม
ช
จริยธรรม และจัดกิจกรรม/โครงการทั้งทางด้านกฬี า ดนตรี ศิลปะวัฒนธรรม ทำให้ผู้เรียนมีคณุ ลักษณะอันพึง
ที่พึงประสงค์และค่านิยมที่ดี มีการพัฒนาสุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม ซึ่งส่งผลให้ผู้เรียนมี
สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ มีผลการดำเนนิ งาน ระดบั คณุ ภาพ ดีเลศิ
หลักฐานสนับสนนุ ผลการการดำเนินงาน
โรงเรียนบ้านตะกุย (ค้ำคูณบำรุง) ได้การจัดประชุมผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสถานศึกษา เพื่อกำหนด
เป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจที่สอดคล้องกับบริบทสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน นโยบายของรัฐบาล
แผนการศึกษา สนับสนุนครูให้เข้ารับการอบรมพัฒนาทั้งความรู้และการขอมีวิทยฐานะ และผลจากกระบวนการ
จัดการเรียนการสอนของโรงเรียน ส่งผลให้ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่สำเร็จการศึกษา และศึกษาต่อระดับที่สงู ขึ้น
ร้อยละ 100 สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพท้ังภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อม
ทางสังคมที่เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย และมีความปลอดภัย ได้แก่ ปรับปรุงห้องปฏิบัติการ
คอมพิวเตอร์ ห้องดนตรี ห้องสังคมศึกษาและห้องสมุดมีชีวิต ปรับปรุงหลังคาอาคารเรียน 2 หลัง ปรับปรุง
ศาลาอเนกประสงค์บริเวณนั่งพักผ่อนของนักเรียน ก่อสร้างเตาเผาขยะปลอดมลพิษและโรงจอดรถสำหรับครู
และผ้มู าติดตอ่ ราชการ ฯลฯ การจดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนนุ ให้นกั เรยี นและบุคลากร มีความรู้
ความเข้าใจ สามารถใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสืบค้นหา
ข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ได้อย่างคล่องแคล่ว โดยได้รับจัดสรรงบประมาณสำหรับการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์
พรอ้ มอุปกรณส์ ำหรับการเรยี นการสอน ปีงบประมาณ 2564 ตามโครงการเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพ่ือการศึกษาขั้น
พื้นฐานและงบประมาณสำหรับโครงการจัดสรรครุภัณฑ์ทดแทนห้องเรียน DLTV สำหรับโรงเรียน Stand
Alone ปีงบประมาณ 2564 นอกจากนี้ สถานศึกษาได้ทำการบันทึกผลการเรียนผ่านโปรแกรมเว็บ
แอพพลเิ คชั่น โปรแกรมบรหิ ารสถานศกึ ษา (School MIS) ซง่ึ โปรแกรมดงั กล่าวนอกจากใช้บันทกึ ผลการเรียน
แลว้ ยังสามารถอำนวยความสะดวกใหโ้ รงเรยี นในการออกเอกสารหลักฐานการศึกษาตา่ งๆอกี ดว้ ย
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ มีผลการดำเนินงาน ระดับ
คุณภาพ ดเี ลิศ
หลกั ฐานสนบั สนนุ ผลการการดำเนนิ งาน
โรงเรียนมีการการพัฒนาบุคลากร โดยการอบรมเชิงปฏิบัติการในหลายๆด้าน โดยเฉพาะการ
ออกแบบหน่วยการเรียนรู้และมีการนิเทศการจัดการเรียนรู้โดยผูเ้ ชีย่ วชาญ จึงทำให้ครูมคี วามกระตือรือรน้ ใน
การพัฒนากระบวนการจดั การเรียนรู้อยา่ งสม่ำเสมอ มกี ารติดตาม ประเมนิ ผลเพื่อผู้สอนนำผลมาปรับปรุงและ
พัฒนา จึงทำให้ผู้สอนมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยกระบวนการเรียนรู้แบบ Active
Learning เพื่อการนำไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์อย่างเปน็ ระบบปฏบิ ัติและนำไปใช้ใน
ชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมคณะครูได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบออนไลน์ นำ
เทคโนโลยมี าใช้ประกอบกับการศึกษาอย่างเกิดประโยชน์สูงสุด โดยจดั การเรียนการสอน ผา่ น Google Meet
จดั ทำสื่อวดี ีโอออนไลน์ จัดทำใบงานทง้ั แบบ On hand และ Online อกี ทงั้ มีรายงานสรปุ ผลการจดั การเรียนรู้
ผ่านทางช่องทางออนไลน์ มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากร ทั้งด้านความรู้
ความสามารถและทักษะตามมาตรฐานประกอบด้วย การพัฒนาครูตามมาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะ
ได้แก่ สง่ เสรมิ ใหค้ รูและบุคลากรได้พฒั นาวิชาชพี การทำวทิ ยฐานะในระดบั ตา่ งๆ การจัดทำแผนพฒั นาตนเองของครู
และบุคลากรทางการศึกษา (ID PLAN) ครูสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
ติดตามการอบรมพัฒนาครูและบุคลากรด้วยการจัดกิจกรรมส่งเสริมศักยภาพบุคลากรทางการศึกษา ( Quality
ซ
Teacher For Quality Edu) เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในเทคนิควิธีการ รูปแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่
สอดคลอ้ งกบั การเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี 21
แผนการดำเนนิ งานเพือ่ ยกระดบั คุณภาพ
ด้านคุณภาพผ้เู รียน
แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี ๑ ดำเนนิ กิจกรรมการเรียนรสู้ ู่โครงงาน การประกวดโครงงาน ซึง่ จะสง่ ผลใหผ้ ู้เรียน
มีทักษะการคดิ วิเคราะห์ คดิ สังเคราะห์ มีการคิดแบบองค์รวม คดิ นอกกรอบ สามารถตรวจสอบความถูกต้อง
ตามหลกั เกณฑ์ได้อย่างตรงประเด็น สามารถสรปุ สาระและเช่อื มโยงเพ่ือนำมาวางแผน สรุปเหตุผลเชิงตรรกะ
มีการคาดการณ์และกำหนดเปา้ หมายในอนาคตไดอ้ ย่างมเี หตผุ ลและสร้างส่ิงใหม่ไดอ้ ยา่ งถูกต้องและเหมาะสม
เช่น การเขียนโครงงาน หรอื รายงาน ช้นิ งาน นวัตกรรม สิง่ ประดษิ ฐ์ท่ีสามารถนำไปตอ่ หรือพฒั นาได้ในอนาคต
ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ
แผนปฏิบัติงานท่ี ๑ จัดทำข้อมูลสารสนเทศทเ่ี ป็นระบบแก่ผูต้ อ้ งการใช้ทุกฝา่ ย บุคลากรทกุ คน
สามารถเขา้ ถงึ ข้อมูลไดส้ ะดวกรวดเร็วเป็นปัจจุบนั นำขอ้ มูลสารสนเทศทีส่ ำคญั ย้อนหลัง 3 ปี ใช้เป็นข้อมลู
ทบทวน ปรบั ปรงุ พฒั นางาน
ดา้ นกระบวนการเรยี นการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สำคญั
แผนปฏบิ ตั ิงานท่ี ๑ สง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหพ้ ฒั นาครู เพ่ือผลิต พัฒนาส่ือ นวตั กรรมการเรียนการสอน
รวมท้ังประเมนิ คุณภาพสอ่ื ฯ เพื่อเลือกใชป้ ระกอบการเรยี นการสอนทุกกลุม่ สาระการเรียนรู้ การบรหิ ารจัดการ
ชัน้ เรยี นเชงิ บวกอาจจะเป็นต้องมีการใชเ้ ทคนิคท่แี ปลกใหม่ เพ่ือให้ผู้เรยี นเขา้ ถงึ มีความอยากรู้ อยากเรียนและ
มคี วามสขุ ในการเรียนรู้มากยิ่งข้นึ เชน่ การใชส้ มาร์ทโฟน หรือเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาช่วยในการจดั การ
เรียนรู้ เปน็ ตน้
(นายชินวงศ์ ดนี าน)
ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบ้านตะกยุ (คำ้ คูณบำรงุ )
๑
ส่วนท่ี 1
ข้อมูลพ้นื ฐาน
1.1 ขอ้ มูลท่ัวไปของสถานศกึ ษา
ชอ่ื สถานศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นตะกยุ (ค้ำคูณบำรงุ )
ประวตั ิของโรงเรียน
ที่อยู่ หมูท่ ี่ 4 ตำบลตรมไพร อำเภอศขี รภมู ิ จังหวดั สรุ ินทร์
สังกัด สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต 1
โทรศพั ท์ : 044-069-392
อเี มล : [email protected]
ระดบั ชนั้ ท่ีเปดิ สอน : ระดับช้นั อนุบาลปีท่ี ๒ ถงึ ระดบั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓
ชอ่ื ผู้บริหาร .นายชินวงศ์ ดนี าน โทร. 064-4699662
วิสยั ทัศน์โรงเรยี นบา้ นตะกุย(ค้ำคูณบำรงุ )
โรงเรียนบ้านตะกยุ (ค้ำคูณบำรุง) เปน็ สถานศึกษาท่ีเนน้ พัฒนาผเู้ รยี น ใหส้ ขุ ภาพดี
มีจติ สาธารณะ ใฝเ่ รียนรู้ คู่คุณธรรม น้อมนำหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ก้าวทนั เทคโนโลยี มีชุมชนรว่ ม
ประสาน บรหิ ารงานอย่างมีประสิทธภิ าพ
อตั ลักษณข์ องโรงเรยี นบ้านตะกยุ (ค้ำคูณบำรุง)
“ สขุ ภาพดี มจี ติ สาธารณะ ”
เอกลกั ษณ์ของโรงเรียนบ้านตะกุย(คำ้ คณู บำรงุ )
“ บรรยากาศสดใส ใส่ใจสขุ ภาพ ”
1.2 โครงสร้างการบริหารสถานศกึ ษา
แผนภมู ิการบริหารจดั การศึกษาโรงเรยี นบ้านตะกุย(ค้ำคูณบำรงุ )
๒
1.3 จำนวนครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
1) จำนวนบุคลากร
บคุ ลากร ผบู้ รหิ าร รอง ครผู ู้สอน พนักงาน ครูอตั รา เจ้าหน้าท่ี รวม
ผอ.รร. ราชการ จ้าง อนื่ ๆ ทง้ั หมด
ปกี ารศึกษา 1 0 15 4 1 1 22
2564
2) วฒุ ิการศึกษาของบุคลากร รวม
22
ปรญิ ญาเอก ปรญิ ญาโท ปริญญาตรี ป.บัณฑิต อนุปรญิ ญา ปวช./ม.๖ ต่ำกว่า
0 7 15 0 0 0 0
1.4 ขอ้ มูลนกั เรียน (ข้อมูล ณ 10 มิถุนายน 2564)
จำนวนนกั เรียน ทัง้ สนิ้ 181 คน ชาย 105 คน หญงิ 76 คน จำแนกเปน็
ระดับช้ันเรยี น จำนวน จำนวนนักเรยี น
ห้องเรียน ชาย หญิง รวม
อ.1 000
อ.2 0 7 4 11
1 6 7 13
อ.3 1
13 11 24
รวมปฐมวัย 2 7 8 15
ป.1 1 9 5 14
ป.2 1 8 10 18
ป.3 1 12 9 21
ป.4 1 12 9 21
ป.5 1 13 8 21
ป.6 1 61 49 110
6 10 7 17
รวม ป.1-ป.6 1 9 5 14
ม.1 1 12 4 16
ม.2 1 31 16 47
ม.3 3 105 76 181
11
รวม ม.1-ม.3
รวมทั้งหมด
1.5 จำนวนหอ้ ง จำนวน ...11.... หอ้ ง
1) ห้องเรียน จำนวน .......5... ห้อง
2) หอ้ งปฏิบัตกิ าร จำนวน ............. หอ้ ง
3) ห้องพยาบาล จำนวน ............. หอ้ ง
4) หอ้ งอนื่ ๆ
๓
1.6 ข้อมลู ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนระดบั สถานศึกษา ปีการศึกษา 2564
ระดบั ปฐมวัย
1.6.1 จำนวนนกั เรียนในโรงเรียน ปีการศกึ ษา 2564 ท้งั ส้ิน 23 คน จำแนกตามระดบั ชั้นทีเ่ ปิดสอน
ระดับชั้นเรียน จำนวนห้อง เพศ รวม เฉลีย่ ต่อห้อง
ชาย หญงิ
อนุบาล2 ( 4-5 ขวบ) 1 7 4 11 1: 10
อนบุ าล3 ( 5-6 ขวบ) 1 4 8 12 1: 11
รวมท้ังสน้ิ 2 11 12 23 2: 23
อัตราส่วนนกั เรียน : ครรู ะดบั ปฐมวัย = ....23....: ......2.... เปน็ ไปตามเกณฑ์ ไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์
1.6.2 ขอ้ มลู พัฒนาการปฐมวัย ปีการศกึ ษา 2564
พฒั นาการ
ระดับช้ัน ระดับชนั้ จำนวน ดา้ นร่างกาย(จำนวน) ดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ดา้ นสังคม(จำนวน) ดา้ นสตปิ ัญญา(จำนวน)
ท่ี นักเรยี น (จำนวน)
(1) (2) (3) (1) (2) (3) (1) (2) (3)
ประเมนิ ปรับปรงุ ปาน ดีขน้ึ ไป (1) (2) (3) ปรบั ปรงุ ปาน ดีขน้ึ ปรบั ปรงุ ปาน ดขี ้นึ ไป
ปรบั ปรุง ปาน ดีขน้ึ
กลาง กลาง ไป กลาง
กลาง ไป
อนุบาล อ. 2 11 11 11 11 3 8
2 รวม 11 11 11 11 3 8
ร้อยละ 93.75 100 100
(4-5 ป)ี
อนุบาล อ. 3 12 12 12 12 1 2 9
3 รวม 12 12 12 12 1 2 9
ร้อยละ 100 100 100
(5-6 ปี)
รวมทุกระดับช้ัน 23 23 23 24 1 5 17
รอ้ ยละรวม 100 100 100 100 4.34 21.73 73.91
ระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
1) ข้อมูลผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นระดับสถานศกึ ษา
1.1 ข้อมูลผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรยี นรูข้ องผ้เู รียนท่ีไดร้ ะดบั 3 ขึ้นไป
- ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 – ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ปีการศึกษา 2564
ระดบั ช้นั รายวชิ า(พ้นื ฐาน) เฉล่ยี
ไทย คณิต วทิ ยฯ์ สังคมฯ ประวัติ สุขฯ ศิลปะ การงาน อังกฤษ
83.33
ป.1 10 10 11 14 14 14 13 13 11 75.00
66.18
ป.2 9 6 10 12 15 15 12 14 6 59.52
68.75
ป.3 10 7 12 11 11 15 12 11 11 79.17
71.44
ป.4 13 11 11 20 9 15 14 13 7 71.44
ป.5 12 11 13 13 16 14 14 20 9
ป.6 14 15 13 13 21 21 20 21 9
รวม 68 60 70 83 86 94 85 92 53
ร้อยละ 62.39 55.05 64.22 76.15 78.90 86.24 77.98 84.40 48.62
๔
- ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 – มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564
ระดบั ช้ัน ไทย รายวิชา(พืน้ ฐาน) ศิลปะ การงาน องั กฤษ เฉลีย่
คณิต วิทยฯ์ สังคมฯ ประวตั ิ สุขฯ
ม.1 8 9 12 13 13 16 16 16 5 78.13
ม.2 6 6 6 1 4 11 8 12 6 47.62
ม.3 10 10 10 11 10 15 15 15 10 75.00
รวม 24 25 28 25 27 42 39 43 21 67.93
ร้อยละ 52.17 54.35 60.87 54.35 58.70 91.30 84.78 93.48 45.65 67.93
1.2 รอ้ ยละของนักเรยี นท่มี ีผลการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น ในระดับ ดี ข้นึ ไป
- ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – ประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศกึ ษา 2564
ระดบั ชนั้ จำนวน ผลการประเมิน ระดับดี รอ้ ยละ
นกั เรียน(คน) ไมผ่ ่าน ผา่ น ดี ดเี ยี่ยม ข้ึนไป
ป.1 15 0 4 3 8 11 73.33
ป.2 15 0 6 6 3 9 60.00
ป.3 18 1 4 5 8 13 72.22
ป.4 21 0 4 7 10 17 80.95
ป.5 20 0 2 7 11 18 90.00
ป.6 21 0 0 7 14 21 100.00
รวม 110 2 20 35 54 89 80.90
- ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 – มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2564
ระดับช้นั จำนวน ผลการประเมิน ระดับดี รอ้ ยละ
นกั เรียน(คน) ไมผ่ ่าน ผา่ น ดี ดเี ยย่ี ม ขึ้นไป 70.59
85.72
ม.1 17 1 4 3 9 12 62.50
72.34
ม.2 14 1 1 6 6 12
ม.3 16 0 6 2 8 10
รวม 47 2 11 11 23 34
1.3 รอ้ ยละของนักเรยี นท่ีมผี ลการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ในระดบั ดี ขน้ึ ไป
- ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 – ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2564
ระดับชนั้ จำนวน ผลการประเมิน ระดับดี ร้อยละ
ดีเยยี่ ม ขนึ้ ไป
นักเรียน(คน) ไมผ่ ่าน ผา่ น ดี 100.00
100.00
ป.1 15 0 0 3 12 15 94.44
100.00
ป.2 15 0 0 9 6 15 85.00
100.00
ป.3 18 1 0 2 15 17 96.36
ป.4 21 0 0 6 15 21
ป.5 20 0 3 5 12 17
ป.6 21 0 0 0 21 21
รวม 110 1 3 25 81 106
๕
- ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 – มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ปกี ารศึกษา 2564
ระดับชนั้ จำนวน ผลการประเมิน ระดบั ดี รอ้ ยละ
นักเรยี น(คน) ไมผ่ ่าน ผ่าน ดี ดเี ยย่ี ม ขน้ึ ไป 94.12
92.85
ม.1 17 1 0 0 16 16 93.75
93.61
ม.2 14 1 0 5 8 13
ม.3 16 0 1 0 15 15
รวม 47 2 1 5 39 44
1.4 ผลการประเมินสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 5 ดา้ น ของผ้เู รยี นที่ได้ระดบั 3 ขึ้นไป
กลุม่ สาระ ระดับชนั้
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3
จำนวนนกั เรยี น 15 15 18 21 20 21 17 14 16
• 1 ความสามารถดา้ นการส่ือสาร 13 12 17 17 20 21 16 10 15
• 2.ความสารถด้านการคดิ 13 6 17 16 17 21 11 10 15
• 3.ความสามารถในการแก้ปัญหา 14 5 17 16 19 21 14 10 10
4.ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต 14 15 17 17 20 21 16 10 15
• 5.ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 15 0 17 17 20 21 16 12 15
1.5 รอ้ ยละของนักเรียนทสี่ ำเรจ็ การศึกษา ปีการศกึ ษา 2564
- ชัน้ อนุบาลปที ่ี 3 จำนวน 13 คน ชาย 6. คน หญงิ 7 คน
- ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 จำนวน 21 คน ชาย 13 คน หญิง 8 คน
- ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 จำนวน 16 คน ชาย 12 คน หญงิ 4 คน
1.7 ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ นของผเู้ รยี น (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
1) ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT) ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1 ปกี ารศกึ ษา
2564
ความสามารถของผเู้ รียน คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ
ระดับโรงเรยี น ระดับ สพฐ. ระดับประเทศ
การอา่ นออกเสียง 47.84 69.04 69.95
การอา่ นรเู้ ร่ือง 53.38 72.30 72.79
รวมความสามารถท้ัง 2 ดา้ น 50.61 70.67 71.38
2) การเปรียบเทยี บผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผูเ้ รยี น (RT) ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1
ปีการศกึ ษา 2564
ความสามารถของผูเ้ รยี น ปกี ารศกึ ษา ร้อยละของผลต่าง
2562 2563 2564 ระหวา่ งปีการศกึ ษา
การอ่านออกเสียง 30.03 61.00 47.84 -13.16
การอ่านรู้เรื่อง 43.06 59.71 53.38 -6.33
รวมความสามารถท้ัง 2 ด้าน 36.54 60.35 50.61 -9.74
๖
1.8 ผลการประเมนิ คุณภาพผู้เรียน ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3 (NT)
1) ผลการประเมินคณุ ภาพผ้เู รียน ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 (NT) ปกี ารศึกษา 2564
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ
ระดบั โรงเรียน ระดบั สพฐ. ระดบั ประเทศ
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์
รวม
หมายเหตุ นักเรียนไม่ไดเ้ ข้ารบั การทดสอบเนื่องจากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนาในเขตพื้นทบี่ รกิ าร
ของโรงเรยี น
2) การเปรียบเทียบผลการประเมินคุณภาพผูเ้ รียน ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 (NT) ปีการศึกษา 2562–
256๔
กลุม่ สาระการเรียนรู้ ปีการศกึ ษา ร้อยละของผลต่าง
2562 2563 2564 ระหว่างปกี ารศกึ ษา
ภาษาไทย 48.76 40.10
คณติ ศาสตร์ 38.66 37.26
รวม 43.71 38.68
1.9 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขัน้ พื้นฐาน (O-NET)
ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
1) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ปกี ารศกึ ษา
2564
รายวชิ า ระดับโรงเรยี น คะแนนเฉลีย่
ระดบั สพฐ. ระดับประเทศ
ภาษาไทย 43.94 49.54 50.38
คณิตศาสตร์ 31.63 35.85 36.83
วทิ ยาศาสตร์ 31.35 33.68 34.31
ภาษาอังกฤษ 34.38 35.46 39.22
รวมเฉลี่ย 35.33 38.63 40.19
2) ผลการเปรยี บเทยี บการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
ปกี ารศกึ ษา 2562 – 2564
รายวิชา ปีการศกึ ษา รอ้ ยละของผลต่าง ระหวา่ งปี
2562 2563 2564 การศกึ ษา
ภาษาไทย 52.46 62.63 43.94 -18.69
คณติ ศาสตร์ 28.48 28.33 31.63 3.30
วทิ ยาศาสตร์ 32.63 34.29 31.35 -2.94
ภาษาองั กฤษ 22.92 42.08 34.38 -7.70
รวมเฉล่ยี 34.12 41.83 35.33 -6.51
๗
ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ระดับโรงเรียน คะแนนเฉลยี่
ระดับ สพฐ. ระดบั ประเทศ
ผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาตขิ ั้นพนื้ ฐาน (O-
NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี
การศึกษา 2564รายวชิ า
ภาษาไทย
คณิตศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์
ภาษาองั กฤษ
รวมเฉล่ีย
หมายเหตุ นกั เรยี นไม่ได้เข้ารบั การทดสอบเน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาในเขตพืน้ ท่ีบริการ
ของโรงเรียน
3) ผลการเปรยี บเทียบการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3
ปีการศึกษา 2562 – 2564
รายวชิ า ปกี ารศึกษา ร้อยละของผลต่าง
2562 2563 2564 ระหวา่ งปกี ารศึกษา
ภาษาไทย 56.69 47.71
คณิตศาสตร์ 20 18.67
วิทยาศาสตร์ 26.88 24.23
ภาษาองั กฤษ 28.46 28.33
รวมเฉล่ีย 33.01 29.74
1.10 ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม คะแนน ระดบั
ท่ไี ด้ คณุ ภาพ
ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย
4.50 ดมี าก
การศึกษาขัน้ พื้นฐาน 4.50 ดมี าก
ระดับปฐมวยั 4.00
7.50 ดี
กลมุ่ ตวั บง่ ชพี้ นื้ ฐาน 10.00 ดี
ตัวบ่งช้ีที่ 1 เด็กมพี ฒั นาการดา้ นรา่ งกายสมวยั 27.00 ดีมาก
ตวั บง่ ชท้ี ี่ 2 เดก็ มพี ฒั นาการด้านอารมณ์และจติ ใจสมวัย 12.50 ดี
ตัวบง่ ชท้ี ่ี 3 เด็กมพี ัฒนาการดา้ นสังคมสมวยั 4.49 ดี
ตวั บง่ ชี้ที่ 4 เดก็ มพี ฒั นาการด้านปญั ญาสมวยั ดี
ตวั บ่งชท้ี ่ี 5 เดก็ มคี วามพรอ้ มศึกษาในขัน้ ตอ่ ไป
ตวั บง่ ช้ีที่ 6 ประสทิ ธิผลของการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทเ่ี น้นเดก็ เปน็ สำคญั
ตัวบง่ ช้ที ี่ 7 ประสิทธภิ าพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา
ตัวบง่ ชี้ท่ี 8 ประสทิ ธผิ ลของระบบการประกนั คุณภาพภายใน
กลมุ่ ตัวบ่งช้อี ัตลกั ษณ์
๘
การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน คะแนน ระดับ
ระดับปฐมวัย ทไี่ ด้ คณุ ภาพ
ตวั บ่งช้ที ่ี 9 ผลการพัฒนาให้บรรลตุ ามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พนั ธกจิ 2.50 ดีมาก
และ วตั ถปุ ระสงคข์ องการจดั ตง้ั สถานศึกษา
ตวั บง่ ชี้ที่ 10 ผลการพฒั นาตามจดุ เน้นและจดุ เด่นทีส่ ง่ ผลสะท้อนเปน็ 2.50 ดมี าก
เอกลักษณ์ของสถานศึกษา
กลุ่มตัวบง่ ชี้มาตรฐานการส่งเสริม
ตัวบง่ ชที้ ี่ 11 ผลการดำเนนิ งานโครงการพเิ ศษเพื่อสง่ เสรมิ บทบาทของ 2.00 ดี
สถานศึกษา
ตวั บ่งช้ที ี่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดับมาตรฐาน รกั ษา
มาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ทส่ี อดคล้องกบั แนว 2.50 ดีมาก
ทางการปฏิรูปการศกึ ษา
คะแนนรวม 82.99 ดี
การรบั รองมาตรฐานสถานศึกษา : ระดับการศึกษาปฐมวัย
• ผลคะแนนรวมทุกตัวบง่ ชี้ ต้ังแต่ 80 คะแนนขน้ึ ไป ใช่ ไม่ใช่
• มีตวั บ่งชท้ี ี่ได้ระดบั ดีข้ึนไปอย่างน้อย 10 ตัวบ่งชี้ จาก 12 ตวั ใช่ ไมใ่ ช่
• ไมม่ ตี วั บ่งช้ีใดท่มี รี ะดับคุณภาพตอ้ งปรับปรงุ หรือต้องปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น ใช่ ไมใ่ ช่
ในภาพรวมสถานศึกษาจดั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน : ระดับการศกึ ษาปฐมวัย
สมควรรบั รองมาตรฐานการศกึ ษา ไมส่ มควรรับรองมาตรฐานการศึกษา
ข้อเสนอแนะจากการประเมินภายนอกรอบสาม
ระดับการศกึ ษาปฐมวยั
จุดเด่น
1. เดก็ มพี ัฒนาการด้านรา่ งกายสมวัย มีพัฒนาการดา้ นอารมณ์และจติ ใจสมวยั มพี ฒั นาการด้านสังคม
สมวัย มีพฒั นาการด้านปญั ญาสมวัย และมีความพรอ้ มศึกษาในขนั้ ตอ่ ไป
สถานศึกษามีผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ วัตถุประสงค์
ของการจัดตง้ั สถานศึกษา มผี ลการพฒั นาตามจดุ เน้นและจดุ เดน่ ที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
และมีผลผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพือ่ สง่ เสริมบทบาทของสถานศึกษา
2. สถานศึกษามีประสิทธภิ าพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา และมผี ลการส่งเสริม
พัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ที่สอดคล้องกับแนว
ทางการปฏริ ปู การศกึ ษา
ด้านผลการจัดการศึกษา
1. เด็กควรได้รับการปลูกฝังความมีวินัย ความเปน็ ระเบยี บ ร้จู กั การอดทน รอคอย การใช้นำอยา่ ง
ประหยดั การแสดงความเคารพอยา่ งถูกตอ้ ง ครคู วบคมุ กำกับให้เดก็ ได้ปฏิบัติอยา่ งจริงจงั สม่ำเสมอ และ
ประเมินเด็กทกุ คนตามสภาพจริงและนำผลเปน็ ข้อมูลในการพัฒนาเดก็ รว่ มกับผูป้ กครอง
๙
2. เดก็ ควรไดร้ ับการส่งเสริมให้รักการอ่าน โดยจัดหาสือ่ การอ่านและกจิ กรรมสง่ เสริมการอ่านใหม้ าก
ขน้ึ และควรไดร้ บั การสง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ สนใจเรียนรู้สงิ่ ตา่ งๆรอบตัวและจดั หาส่ือทห่ี ลากหลายและกจิ กรรมให้เด็ก
ไดล้ งมือปฏิบตั ิจรงิ โดยจัดกิจกรรมการสำรวจ การทดลอง การสังเกต ให้มากขึ้นและเหมาะสมกบั บริบทของ
ชมุ ชน เช่นการปรงุ อาหารจากผัก การสำรวจตน้ ไม้ ดอกไม้ และการทดลองคัน้ สจี ากดอกไมท้ ีป่ ลูกในโรงเรยี น
3. สถานศกึ ษาควรส่งเสริมการจดั กจิ กรรมศิลปะอยา่ งสร้างสรรค์ตามแผนจัดประสบการณ์อย่าง
ต่อเนอ่ื งมีเป้าหมายในการพัฒนาและมผี ลงานผู้เรยี นทช่ี ดั เจน
ดา้ นการบรหิ ารจดั การศกึ ษา
1. ควรเปิดโอกาสให้คณะกรรมการสถานศกึ ษาแต่งตั้งท่ีปรึกษาเพือ่ พัฒนางาน
2. ควรจดั ทำรายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาตามระเบียบสอดคล้องกบั วาระการ
ประชมุ
3. ควรจัดทีพ่ กั สำหรับเด็กป่วยเป็นสดั ส่วน
4. ควรพฒั นาพืน้ ทท่ี ำความสะอาดภาชนะทจี่ ัดเก็บภาชนะ พน้ื ท่สี ำหรบั แปรงฟนั ลา้ งมือให้เหมาะสม
ถูกสขุ ลักษณะ
ดา้ นการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั
1. ครูควรติดตาม บนั ทึกและประเมนิ พัฒนาการเด็กอย่างสมำ่ เสมอต่อเน่ืองเปน็ ส่วนหน่ึงของกิจกรรม
ปกติทจ่ี ัดใหเ้ ด็กในแตล่ ะวนั โดยกำหนดวิธกี ารเลอื กใชเ้ คร่อื งมือ และการใชแ้ หลง่ ข้อมลู ท่ีหลากหลายตาม
แผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้และจดั กิจกรรม เพ่ือพัฒนาเดก็ ทงั้ 4 ดา้ น
2. ควรนำผลการประเมนิ พฤติกรรมและพฒั นาการของเด็ก มาพัฒนาเด็กใหเ้ หมาะสม ตามความ
แตกต่างของบุคคล มีบนั ทึกและใบงานเพื่อให้ผู้ปกครองได้มีสว่ นรว่ มในการพฒั นาเด็กอยา่ งสม่ำเสมอทกุ ด้าน
ด้านการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา
สถานศึกษาควรสร้างความเข้าใจใหท้ กุ คนมีความตระหนัก รว่ มกันพัฒนาระบบประกนั
คณุ ภาพภายใน ให้มปี ระสิทธิภาพยง่ิ ข้ึน นำผลการประเมินไปเปรียบเทียบกับเปา้ หมาย เพ่ือนำขอ้ มูลไปใชใ้ น
การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาอยา่ งต่อเนอื่ ง
ระดบั การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน คะแนน ระดบั
ทไี่ ด้ คณุ ภาพ
การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
ระดับประถมศึกษา 9.83 ดีมาก
9.85 ดีมาก
กลุ่มตวั บง่ ชพ้ี น้ื ฐาน 7.97
ตัวบง่ ชี้ที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจติ ทดี่ ี 8.75 ดี
ตัวบง่ ชที้ ี่ 2 ผ้เู รียนมคี ณุ ธรรม จริยธรรมและคา่ นยิ มทพี่ ึงประสงค์ 9.48 ดี
ตวั บง่ ช้ีท่ี 3 ผู้เรยี นมีความใฝ่รู้ และเรยี นรู้อย่างต่อเนื่อง 9.00 พอใช้
ตัวบ่งช้ที ี่ 4 ผเู้ รยี นคดิ เปน็ ทำเปน็ 4.80 ดมี าก
ตวั บง่ ชี้ท่ี 5 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของผูเ้ รียน ดมี าก
ตวั บ่งชท้ี ่ี 6 ประสทิ ธิผลของการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั
ตัวบ่งชท้ี ่ี 7 ประสทิ ธิภาพของการบรหิ ารจดั การและการพัฒนาสถานศึกษา
๑๐
การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน คะแนน ระดับ
ระดบั ประถมศกึ ษา ที่ได้ คณุ ภาพ
ตัวบง่ ชท้ี ่ี 8 พฒั นาการของการประกันคณุ ภาพภายในโดยสถานศึกษาและตน้
สังกัด 4.49 ดี
กลมุ่ ตวั บง่ ชี้อัตลกั ษณ์
ตัวบง่ ชท้ี ี่ 9 ผลการพัฒนาใหบ้ รรลตุ ามปรชั ญา ปณธิ าน/วิสัยทัศน์ พันธกจิ 5.00 ดมี าก
และ วัตถุประสงค์ของการจดั ตั้งสถานศึกษา
ตัวบ่งช้ีที่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเนน้ และจุดเด่นทส่ี ง่ ผลสะท้อนเปน็ 5.00 ดมี าก
เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา
กลุม่ ตวั บง่ ชีม้ าตรฐานการสง่ เสริม
ตวั บง่ ชที้ ี่ 11 ผลการดำเนนิ งานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของ 4.00 ดี
สถานศึกษา
ตวั บง่ ชที้ ี่ 12 ผลการส่งเสรมิ พฒั นาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษา
มาตรฐาน และพฒั นาสู่ความเป็นเลิศ ท่ีสอดคล้องกับแนว 5.00 ดมี าก
ทางการปฏิรปู การศึกษา
คะแนนรวม 83.17 ดี
การรับรองมาตรฐานสถานศึกษา : ระดับประถมศึกษา
• ผลคะแนนรวมทุกตวั บ่งชี้ ตัง้ แต่ 80 คะแนนข้นึ ไป ใช่ ไม่ใช่
• มีตวั บง่ ช้ีทไี่ ด้ระดับดขี นึ้ ไปอย่างนอ้ ย 10 ตัวบ่งช้ี จาก 12 ตวั ใช่ ไมใ่ ช่
• ไมม่ ตี ัวบง่ ชี้ใดทม่ี ีระดบั คุณภาพต้องปรบั ปรงุ หรอื ต้องปรบั ปรุงเร่งดว่ น ใช่ ไม่ใช่
ในภาพรวมสถานศึกษาจดั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน : ระดับประถมศึกษา
สมควรรบั รองมาตรฐานการศึกษา ไม่สมควรรบั รองมาตรฐานการศึกษา
ข้อเสนอแนะจากการประเมินภายนอกรอบสาม
ระดบั ประถมศึกษา
จดุ เดน่
สถานศกึ ษาตั้งอยู่ในชมุ ชนชนบท โดยรอบเป็นบา้ นเรอื นผู้ปกครอง
ได้รับความช่วยเหลือจากองค์การบรหิ ารสว่ นตำบลตรมไพร ในดา้ นงบประมาณการจัดกิจกรรม
โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพชุมชนตำบลตรมไพร มาตรวจสขุ ภาพ ให้ความรเู้ กี่ยวกบั สุขภาพเปน็ ประจำ ผนู้ ำ
ชมุ ชนผปู้ กครอง และชุมชนให้การสนบั สนนุ และมีสว่ นร่วมในการศึกษา พระสงฆ์จากวดั บา้ นตะกุยมาให้ความรู้
ด้านพระพุทธศาสนาหรอื ธรรมศกึ ษาเปน็ ประจำทกุ สัปดาห์ องคก์ รตา่ งๆ ให้การสนบั สนุนเงินปรงุ อาคาร
สถานท่ี เช่น บริษทั ทีโอเอ ให้สีสำหรับทาอาคารเรยี น เป็นตน้
จดุ ทค่ี วรพัฒนา
สภาพครอบครัวของผ้เู รียนบางคนมปี ญั หาครอบครัว พ่อแม่แยกทางกนั กันอยู่ ทำงานในต่างจังหวัด
เดก็ จะต้องอยกู่ บั ญาติผูใ้ หญ่ การใหก้ ารควบคุมดูแล ชว่ ยเหลอื ดา้ นการเรยี น ผ้เู รียนไม่สามารถปฏิบตั ไิ ด้อยา่ งมี
คณุ ภาพ
๑๑
ดา้ นผลการจัดการศกึ ษา
ผู้เรียนควรได้รบั การสง่ เสริมใหม้ ีการอ่าน การใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ให้มากขนึ้ และ
เป็นรปู ธรรมรวมทง้ั การค้นคว้า การแสดงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง จากส่ืออยา่ งหลากหลาย มกี จิ กรรมใหผ้ ู้เรยี นได้
ปฏิบตั ิจริงทุกสัปดาห์ มีการบันทึกการเรยี นรู้ทุกครงั้ และติดตาม ตรวจสอบเป็นประจำ
มรี ่องรอยชัดเจน
1. ผ้เู รยี นควรไดร้ ับการพฒั นาให้มคี วามสามารถดา้ นการคดิ มากขนึ้ โดยมีโครงการพัฒนา
ทีช่ ดั เจน ปฏิบตั ิทุกวัน จากการใช้คำถามกระตุ้นใหต้ อบทุกคน จากโครงงาน แผนผงั ความคดิ เรียงความ
หนังสอื เลม่ เล็กและประเมนิ ชิน้ งานผ้เุ รียนอยา่ งต่อเน่ือง
2. ผู้เรียนควรได้รบั การพัฒนาให้มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนท่ีสูงข้ึน ทุกสาระการเรียนรู้
ด้วยกระบวนการจดั การเรยี นรู้ KM (Knowledge management Process) โดยใชก้ ารจัดการเรยี นรจู้ ากการ
ปฏบิ ัติ (Action Learning )
3. ควรส่งเสรมิ การพฒั นาผเู้ รียนทง้ั ระบบกลมุ่ และรายบุคคล
4. ควรพัฒนาสือ่ เพอื่ กระตนุ้ ความสนใจ และช่วยให้เกดิ การเรียนรทู้ ่ีเรว็ ไว และทนทาน
มกี ารทบทวนการวัดผลประเมนิ ผล เพ่ือพฒั นาการเรียนรู้อยา่ งต่อเนื่อง
ด้านการบรหิ ารจดั การศึกษา
1. ควรสง่ เสรมิ ให้คณะกรรมการสถานศกึ ษามโี อกาสได้แตง่ ต้งั คณะอนุกรรมการเพื่อพฒั นาการศกึ ษา
2. ควรจัดทำรายงานการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาใหเ้ ป็นไปตามระเบียบและสอดคล้องกับ
วาระการประชุม
ด้านการจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคญั
ครูควรใหก้ ารดแู ลให้ผู้เรียนเกิดการเรยี นรูอ้ ย่างท่วั ถึง มีการใช้สอ่ื กิจกรรม ทส่ี ง่ เสรมิ หรือกระตุ้นให้
ผู้เรียนเกดิ ความสนใจมุ่งมานะในการเรียนมากข้ึนและนำผลการประเมนิ ด้านผู้เรยี นไปวิจัยเพ่ือไปพฒั นาสื่อ
หรอื กระบวนการการเรียนรู้ของผู้เรียนและสง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รียนทกุ คนมีการเรียนรตู้ ามหลักสูตรอยา่ งมีคุณภาพ
และเตม็ ศกั ยภาพ
ดา้ นการประกันคุณภาพการศกึ ษา
สถานศึกษาควรนำตัวชี้วัดความสำเร็จของแตล่ ะมาตรฐานทก่ี ำหนดไวป้ ระกาศการใชม้ าตรฐาน
การศกึ ษาของแตล่ ะปี มาเป็นเปา้ หมายของการดำเนินงานในแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี และมีการนำผลประเมิน
มาเปรยี บเทยี บกบั เป้าหมาย เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ในการวางแผนพัฒนาในปีต่อไปอย่างต่อเน่ือง
๑๒
1.11 สรุปผลการประเมินคณุ ภายในของสถานศกึ ษา ระดับปฐมวัย
เป้าหมายของ ผลการ
ประเมนิ
มาตรฐาน สถานศึกษาที่ แปลผล หมายเหตุ
กำหนดไว้ บรรลเุ ปา้ หมาย
สูงกวา่ เปา้ หมาย
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ ดเี ลศิ ดีเลิศ สูงกว่าเป้าหมาย
สงู กวา่ เป้าหมาย
1.1 มีพัฒนาการดา้ นร่างกาย แขง็ แรง มสี ุขนิสยั ท่ีดีและ 81 96.42 สูงกว่าเปา้ หมาย
ดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้ 81 100
1.2 มีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และ 81 92.85 บรรลุเป้าหมาย
แสดงออกทางอารมณไ์ ด้ 81 85.71 สูงกว่าเปา้ หมาย
1.3 มีพฒั นาการดา้ นสังคม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเป็น ดีเลิศ ดเี ลศิ สูงกว่าเป้าหมาย
สมาชิกท่ดี ขี องสังคม สงู กวา่ เปา้ หมาย
1.4 มีพัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา สอื่ สารได้ มีทักษะการคดิ สงู กว่าเป้าหมาย
พ้ืนฐานและแสวงหาความรไู้ ด้ สงู กว่าเปา้ หมาย
สูงกวา่ เปา้ หมาย
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ บรรลุเปา้ หมาย
สูงกว่าเป้าหมาย
2.1 มหี ลักสตู รครอบคลมุ พฒั นาการท้งั 4 ดา้ น สอดคล้อง 80 85 สงู กว่าเป้าหมาย
กบั บริบทของทอ้ งถนิ่ 80 100 สงู กว่าเปา้ หมาย
สูงกว่าเปา้ หมาย
2.2 จดั ครูใหเ้ พียงพอกับชัน้ เรยี น
บรรลเุ ปา้ หมาย
2.3 สง่ เสรมิ ใหค้ รมู คี วามเชีย่ วชาญดา้ นการจดั 79 86.66
ประสบการณ์ 80 100
2.4 จดั สภาพแวดลอ้ มและสอื่ เพอ่ื การเรียนรู้ อย่าง 79 80
ปลอดภัยและเพยี งพอ 77 80
2.5 ให้บรกิ ารสือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และส่ือการเรียนรู้ ยอดเยยี่ ม ยอดเย่ียม
เพ่อื สนบั สนนุ การจัดประสบการณ์
2.6 มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพทเี่ ปิดโอกาสให้ผเู้ กีย่ วขอ้ งทุก
ฝ่ายมสี ่วนรว่ ม
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ทีเ่ นน้ เดก็ เป็นสำคัญ
3.1 จดั ประสบการณท์ สี่ ่งเสริมใหเ้ ด็กมีพัฒนาการทกุ ด้าน 81 85
อย่างสมดลุ เตม็ ศักยภาพ 81 85
79 84
3.2 สร้างโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ ับประสบการณต์ รง เลน่ และ 79 80
ปฏบิ ัติอย่างมคี วามสุข
ดีเลศิ
3.3 จดั บรรยากาศท่ีเอือ้ ตอ่ การเรยี นรู้ใช้สอื่ และเทคโนโลยี
ทเ่ี หมาะสมกบั วยั
3.4 ประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจริง และนำผลการ
ประเมินพฒั นาการเด็กไปปรับปรงุ การจดั ประสบการณ์
และพฒั นาเดก็
สรปุ ผลการประเมนิ ในของสถานศกึ ษา ระดับ
ปฐมวัย
๑๓
1.12 สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน
มาตรฐาน เปา้ หมายของ ผลการ แปลผล หมายเหตุ
สถานศึกษาท่ี ประเมิน
กำหนดไว้
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผูเ้ รียน ดีเลิศ ดีเลศิ บรรลุเป้าหมาย
1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน
1) มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การ ร้อยละ 80 80.51 บรรลเุ ปา้ หมาย
สอื่ สาร และการคิดคำนวณ รอ้ ยละ 80 80.71 บรรลุเป้าหมาย
2) ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิด ร้อยละ 80 87.67 บรรลุเป้าหมาย
อยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ียนความ ร้อยละ 80 84.89 บรรลเุ ป้าหมาย
คดิ เหน็ และแก้ปญั หา ร้อยละ 75
รอ้ ยละ 80 70.40 ไม่บรรลุ
3) มีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม เปา้ หมาย
ร้อยละ 80
4) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี รอ้ ยละ 80 95.83 บรรลุเปา้ หมาย
สารสนเทศและการสอื่ สาร ร้อยละ 80
ร้อยละ 80 85.66 บรรลเุ ปา้ หมาย
5) มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสตู ร 84.65 บรรลุเป้าหมาย
สถานศกึ ษา ดีเลศิ 81.23 บรรลุเปา้ หมาย
ดีเลศิ 87.63 บรรลุเป้าหมาย
6) มีความรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน และเจตคติที่ดตี อ่ ดเี ลศิ ดเี ลศิ บรรลุเปา้ หมาย
งานอาชีพ ดีเลศิ
ดเี ลิศ บรรลเุ ป้าหมาย
1.2 คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงคข์ องผูเ้ รียน
ดเี ลิศ บรรลุเปา้ หมาย
1) การมคี ุณลกั ษณะและค่านิยมทีด่ ีตามท่ี ดเี ลิศ บรรลเุ ปา้ หมาย
สถานศกึ ษากำหนด
2) ความภูมใิ จในท้องถนิ่ และความเปน็ ไทย
3) การยอมรบั ทจ่ี ะอยรู่ ่วมกันบนความ
แตกตา่ งและหลากหลาย
4) สุขภาวะทางร่างกาย และจติ สังคม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการ
จดั การ
2.1 มเี ปา้ หมาย วิสยั ทัศน์ และพนั ธกจิ ที่
สถานศกึ ษากำหนดชดั เจน
2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
2.3 ดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการท่ีเนน้ คุณภาพของ
ผ้เู รียนรอบดา้ น ตามหลกั สูตรสถานศึกษาและทุก
กลมุ่ เปา้ หมาย
๑๔
มาตรฐาน เป้าหมายของ ผลการ แปลผล หมายเหตุ
สถานศกึ ษาที่ ประเมนิ บรรลุเปา้ หมาย
กำหนดไว้ บรรลเุ ป้าหมาย
2.4 พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเช่ยี วชาญทาง ดีเลศิ ดีเลิศ บรรลุเปา้ หมาย
วิชาชีพ บรรลเุ ป้าหมาย
บรรลุเปา้ หมาย
2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่ ดีเลิศ ดเี ลิศ บรรลุเป้าหมาย
บรรลุเปา้ หมาย
เอ้ือต่อการจดั การเรียนรู้อย่าง บรรลุเป้าหมาย
บรรลเุ ป้าหมาย
มีคณุ ภาพ บรรลเุ ป้าหมาย
2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ ดเี ลิศ ดีเลศิ
การบริหารจดั การและ
การจดั การเรยี นรู้
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอน ดเี ลิศ ดเี ลิศ
ทีเ่ น้นผ้เู รียนเป็นสำคญั
3.1 จัดการเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ตั ิ ร้อยละ 82 88.14
จรงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ได้
3.2 ใชส้ ือ่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ รอ้ ยละ 82 89.74
ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้
3.3 มีการบรหิ ารจดั การชนั้ เรียนเชงิ บวก รอ้ ยละ 82 89.83
3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอยา่ งเปน็ ระบบ รอ้ ยละ 82 87.85
และนำผลมาพฒั นาผู้เรยี น
3.5 มีการแลกเปลย่ี นเรยี นรแู้ ละใหข้ ้อมลู สะท้อน ร้อยละ 82 94.24
กลบั เพ่ือพัฒนาและปรับปรงุ การจัดการเรียนรู้
สรุปผลการประเมนิ ในของสถานศึกษา ดเี ลศิ
ระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
๑๕
สว่ นที่ 2
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
ระดับการศึกษาปฐมวัย
ผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา ระดับปฐมวัย ปีการศกึ ษา 2564
มาตรฐานการศกึ ษา เปา้ หมายของ ระดับ แปลผล
สถานศึกษาที่ คุณภาพ
กำหนดไว้ ยอดเยี่ยม บรรลเุ ป้าหมาย
ยอดเย่ียม บรรลเุ ปา้ หมาย
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ ยอดเยี่ยม
ยอดเย่ียม บรรลุเป้าหมาย
1.1 มีพฒั นาการดา้ นรา่ งกาย แขง็ แรง มีสุขนิสยั ท่ีดีและดแู ลความ ดเี ลศิ
ปลอดภัยของตนเองได้ ยอดเยี่ยม บรรลุเปา้ หมาย
1.2 มพี ฒั นาการด้านอารมณ์ จติ ใจ ควบคุมและแสดงออกทาง ดีเลิศ ดีเลศิ บรรลุเปา้ หมาย
อารมณ์ได้ ดเี ลิศ บรรลุเป้าหมาย
ดีเลิศ บรรลุเปา้ หมาย
1.3 มีพฒั นาการดา้ นสังคมชว่ ยเหลอื ตนเองในการปฏบิ ัตกิ จิ วัตร ดีเลศิ ยอดเย่ียม บรรลุเปา้ หมาย
ดเี ลศิ บรรลุเป้าหมาย
ประจำวัน มวี ินยั และเปน็ สมาชิกท่ดี ตี ่อสังคม ยอดเยี่ยม บรรลุเป้าหมาย
1.4 มพี ฒั นาการดา้ นสตปิ ัญญา สื่อสารได้ มีทกั ษะการคิดพนื้ ฐาน ดีเลิศ ดีเลิศ บรรลุเปา้ หมาย
และแสวงหาความรู้ได้ ดเี ลิศ บรรลุเปา้ หมาย
บรรลุเปา้ หมาย
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดเี ลิศ ดีเลิศ บรรลเุ ปา้ หมาย
2.1 มีหลกั สูตรครอบคลุมพฒั นาการทง้ั 4 ดา้ น สอดคล้องกบั ดเี ลิศ ดเี ลิศ บรรลุเปา้ หมาย
บริบทของท้องถ่ิน ดเี ลศิ บรรลุเปา้ หมาย
2.2 จัดครูให้เพยี งพอกบั ชั้นเรียน ดเี ลิศ ดีเลศิ บรรลเุ ปา้ หมาย
ดีเลิศ บรรลเุ ปา้ หมาย
2.3 ส่งเสรมิ ใหค้ รมู คี วามเชย่ี วชาญ ด้านการจดั ประสบการณ์ ดเี ลศิ
2.4 จดั สภาพแวดลอ้ มและสื่อการเรียนรู้ อยา่ งปลอดภัย และ ดีเลศิ
เพียงพอ
2.5 ให้บริการสอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและสื่อการเรียนรู้ เพ่อื ดีเลศิ
สนับสนุนการจัดประสบการณ์
2.6 มรี ะบบบริหารคณุ ภาพท่เี ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ กย่ี วข้องทุกฝ่ายมี ดีเลศิ
สว่ นร่วม
มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ ่ีเนน้ เด็กเปน็ สำคญั ดีเลิศ
3.1 จดั ประสบการณท์ ่สี ง่ เสรมิ ใหเ้ ด็กมีพฒั นาการทกุ ดา้ นอยา่ ง ดเี ลศิ
สมดุลเตม็ ศักยภาพ
3.2 สร้างโอกาสใหเ้ ด็กทุกคนได้รบั ประสบการณ์ตรง เล่นและลง ดเี ลิศ
มอื ปฏิบตั ิอย่างมีความสุข
3.3 จดั บรรยากาศ ที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ ใชส้ อื่ และเทคโนโลยที ่ี ดีเลิศ
เหมาะสมกบั วัยของเดก็
3.4 ประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมนิ ดเี ลศิ
พัฒนาการเด็กไปปรับปรงุ การจัดประสบการณแ์ ละพัฒนาเด็ก
สรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพภายใน ระดบั การศึกษาปฐมวยั ดเี ลิศ
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 สังกัด สพป.สุรนิ ทร์ เขต 1
๑๖
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเดก็
1. ระดบั คุณภาพ : ยอดเย่ียม
2. วธิ กี ารพฒั นา ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ที่สนบั สนุนการประเมนิ ตนเอง
2.1 วิธกี ารพัฒนา
โรงเรียนบ้านตะกยุ (ค้ำคูณบำรงุ ) ได้การระบเุ ป้าหมายคุณภาพของเดก็ ปฐมวยั ให้มพี ฒั นาการ
ทง้ั 4 ด้าน ในปีการศึกษา 2564 ร้อยละ 81 มวี ธิ ีพัฒนาคุณภาพเด็กปฐมวัยอยา่ งเปน็ ระบบ ตาม
เป้าหมายการพัฒนาเด็กปฐมวัย โดยดำเนินงานแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาปี พ.ศ. 2564 และ
ดำเนินงานตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำปี 2564 และจดั การศึกษาโดยยดึ หลักสตู รการศึกษาปฐมวัย
2560 และหลักสตู รสถานศึกษาฉบับปรบั ปรงุ ปี 2564 ครทู ุกคนจัดทำแผนการจดั ประสบการณ์
ประกอบด้วยสาระการเรยี นรู้ 4 สาระ จัดหนว่ ยประสบการณ์จำนวน 40 หน่วยตอ่ ปีการศึกษา เพือ่ ให้
เดก็ ได้รับประสบการณ์ทัง้ 4 ด้าน ดังนี้
1.1 มีการพฒั นาด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยทีด่ ี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้
โดยสอดคล้องกับโครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย เด็กมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน
กรมอนามัย จากการช่งั นำ้ หนัก วดั สว่ นสงู ทุกเดอื น มกี ิจกรรมเคลอื่ นไหวและจังหวะ กจิ กรรมกลางแจ้ง
มีอาหารกลางวัน มีอาหารเสริมดื่มนม ส่งผลใหเ้ ด็กมสี ุขภาพร่างกายแข็งแรง เคลอ่ื นไหวร่างกายได้อย่าง
คล่องแคล่ว ทรงตัวได้ดี มือและตาประสานสัมพันธ์กัน เด็กมีสุขนิสัยที่ดี จากการทำกิจกรรมการแปรง
ฟันตอนเช้า และหลังรับประทานอาหาร การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร การตรวจสุขภาพประจำ
สัปดาห์ การตรวจสุขภาพดูแลนักเรียนจากโรงพยาบาลส่งเสริมคุณภาพประจำตำบลตรมไพร ส่งผลให้
เด็กรักษาสุขภาพตนเองและปฏิบตั ิจนเปน็ นสิ ัยที่ดี เด็กดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้ จากการที่เด็ก
ปฏิบัติตามข้อตกลงของห้องเรียน เกี่ยวกับความปลอดภัย ทำให้ไม่มีอุบัติเหตุเกิดขึ้นทั้งในและนอก
ห้องเรยี น ร้จู กั การดูแลสขุ ภาพของตนเอง หลกี เลีย่ งการเกิดโรคติดต่อ ไมย่ ่งุ เกยี่ วกับสง่ิ เสพตดิ รู้จกั ระวัง
ภัยจากบุคคลแปลกหน้า มีกิจกรรมการซ้อมหนีไฟร่วมกับนักเรียนชั้นประถมและมัธยมอย่างสม่ำเสมอ
เพอ่ื เปน็ การสรา้ งทกั ษะการเอาตวั รอด เผ่อื เกดิ เหตุการณฉ์ กุ เฉนิ
1.2 มีการพฒั นาด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงอออกทางอารมณ์ได้
เด็กระดับชั้นอนุบาลโรงเรียนบ้านตะกุย (ค้ำคูณบำรุง) มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ จาก
การจัดกิจกรรมนั่งสมาธิก่อนเรียนทุกวัน ไหว้ ทักทาย สวดมนต์ไหว้พระก่อนนอนกลางวัน กิจกรรม
เคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ กิจกรรมเล่นตามมุม กิจกรรมกลางแจ้ง ในการทำ
กจิ กรรมทำใหเ้ ดก็ ร่าเริงแจ่มใสสมวัย กลา้ แสดงออก รู้หนา้ ท่ี มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม สามารถควบคมุ และ
แสดงออกทางอารมณ์ได้สมวัย จากการทำกิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรม
เสริมประสบการณ์ กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ กิจกรรมเล่นตามมุม กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมเกม
การศกึ ษา กจิ กรรมหน้าเสาธง กิจกรรมสวดมนต์ไหว้พระ เป็นต้น ส่งผลให้เด็กร้จู กั ควบคมุ อารมณ์ ยบั ยัง้
ชั่งใจ อดทนในการรอคอยสิ่งต่างๆ มีความมั่นใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก และมั่นใจในตนเอง ได้มีการ
จัดทำโครงการส่งเสริมอารมณ์ดี มีความสุข สุขภาพจิตงดงามเพื่อเป็นการพัฒนาเด็กในด้านอารมณ์
นอกเหนือจากกิจกรรมพน้ื ฐานประจำวนั ทม่ี อี ยู่
1.3 มีการพัฒนาการด้านสังคม ชว่ ยแหลือตนเอง และเปน็ สมาชิกท่ีดขี องสงั คม
เด็กอนุบาลโรงเรียนบ้านตะกุย (ค้ำคูณบำรุง) สามารถช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตร
ประจำวันได้ เช่น ชว่ ยเหลือตนเองในการแตง่ กาย แปรงฟนั รบั ประทานอาหาร เข้าห้องน้ำ รว่ มกิจกรรม
หลัก 6 กิจกรรมได้ มีวินัยในตนเอง มีความรับผิดชอบ รู้จักประหยัดพอเพียง มีการฝากเงินออมทรัพย์
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564 สังกดั สพป.สุรินทร์ เขต 1
๑๗
ทกุ วัน ร่วมดูแลส่ิงแวดล้อมในโรงเรียนและในห้องเรยี น มีมารยาทตามวฒั นธรรมไทยเหมาะสมกับวัย มี
สัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ ยิ้ม ไหว้ ทักทาย พูดจาไพเราะ สามารถเล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ร่วม
กิจกรรมวันสำคัญต่างๆ มีจิตอาสาทำความดี ยอมรับและเคารพความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ ไม่ใช้
ความรุนแรงหรือทะเลาะวิวาทกนั
1.4 มีพฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา สอ่ื สารได้ มีทกั ษะการคิดพ้นื ฐานและแสวงหาความรูไ้ ด้
เด็กอนุบาลโรงเรยี นบ้านตะกุย (คำ้ คณู บำรุง) มพี ฒั นาการด้านสตปิ ัญญา ประเมินผลจากการ
จัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ กิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เด็กได้
เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง การได้ฝึกปฏิบัติการทดลอง มีทักษะการสังเกต รู้จักการคิดแก้ปัญหา กล้า
แสดงออกซักถาม มกี ารคน้ หาคำตอบ มจี ินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ สื่อสารไดส้ มวัย ร้จู กั การตั้ง
คำถาม การตอบคำถาม สามารถใช้ภาษาได้เหมาะสมกับวัย พูดคุยในเรื่องเดียวกันได้อย่างต่อเนื่อง
สร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการได้ มีทักษะการคิดพื้นฐานแสวงหาความรู้ได้ จาก
การศึกษาแหล่งเรียนรนู้ อกสถานที่ กจิ กรรมเสริมประสบการณ์
ผลการดำเนินการ
เดก็ มีพฒั นาการท้งั 4 ด้าน ไดแ้ ก่ ด้านร่างกาย ดา้ นอารมณ์ จิตใจ ดา้ นสงั คมและด้าน
สติปัญญา ไดม้ ีการพัฒนาพร้อมทุกดา้ น มีการจดั กจิ กรรมการเรยี นที่สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของ
ผเู้ รยี น
3. จดุ เด่น จุดท่คี วรพัฒนา
จดุ เดน่ จดุ ทีค่ วรพัฒนา
เดก็ มีร่างกายเติบโตตามวยั มีน้ำหนักสว่ นสงู การทำกิจกรรมเสริมสติปญั ญาให้เหมาะสมตามวัย
ตามเกณฑ์ มที ักษะการเคลอ่ื นไหวตามวยั ด้านการมีความคิดรวบยอด การแก้ปัญหาที่เกิด
สามารถดแู ลสขุ ภาพและหลีกเล่ียงตอ่ สภาวะ จากการอ่าน การเล่นกบั ผู้อื่นโดยปราศจากการ
ที่เสี่ยงตอ่ อบุ ัตเิ หตุ ภยั และสิ่งเสพตดิ มี ใชค้ วามรุนแรง เพ่ือพฒั นาให้เด็กเปน็ ไปตาม
คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม ทพ่ี ึงประสงค์ มี วัตถุประสงค์ จึงจัดกจิ กรรมสนับสนุนให้เดก็ มี
จติ สำนึกในการอนุรกั ษ์และพัฒนาสงิ่ แวดลอ้ ม ความคดิ รวบยอดเกยี่ วกับส่งิ ต่างๆ ท่ีเกิดจาก
ทำงานร่วมกับผู้อนื่ ได้อย่างมคี วามสขุ มี ประสบการณ์การเรยี นรู้
อารมณ์แจ่มใส รา่ เรงิ สนกุ สนาน ร่วม
กิจกรรมอยใู่ นสงั คมได้อยา่ งมีความสุข มี
สติปญั ญาเรยี นรูไ้ ด้ตามกจิ กรรมประจำวัน
อย่างดี
ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ทีส่ นับสนนุ ผลการประเมินตนเอง
1. บันทึกการวัดส่วนสงู ชงั่ นำ้ หนกั
2. บันทกึ ประเมนิ พฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ
3. บันทึกการประเมนิ พฒั นาการดา้ นสงั คม
4. บนั ทึกการประเมินพัฒนาการด้านสติปญั ญา
5. รายงานผลการดำเนินกจิ กรรมอิ่มอร่อยครบครัน
6. รายงานผลการดำเนินกิจกรรมหนนู อ้ ยรักษ์สุขภาพ
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 สังกดั สพป.สรุ นิ ทร์ เขต 1
๑๘
7. รายงานผลการดำเนนิ กจิ กรรมสร้างสรรค์
8. รายงานผลการดำเนนิ กจิ กรรมหนนู ้อยเด็กดี
9. รายงานผลการดำเนนิ กิจกรรมบา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์
10. บนั ทึกการตรวจสขุ ภาพเด็กมีสุขภาพดี
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
1. ระดับคุณภาพ : ดเี ลิศ
2. วธิ กี ารพฒั นา ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ท่ีสนบั สนนุ การประเมินตนเอง
2.1วธิ กี ารพฒั นา
โรงเรียนบ้านตะกยุ (คำ้ คูณบำรุง) ไดว้ างแผนการดำเนนิ การในปีการศึกษา 2564 ดงั น้ี
2.1 โรงเรียนบ้านตะกุย (คำ้ คูณบำรงุ ) มกี ารพฒั นาหลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั สอดคล้องกับบรบิ ท
ของท้องถิ่น โดยเป็นหลักสูตรที่มุ่งพฒั นาเด็กทกุ ดา้ น ท้ังทางดา้ นรา่ งกาย อารมณ์-จติ ใจ สงั คม และสติปัญญา
เป็นหลกั สตู รทยี่ ืดหยนุ่ ไดต้ ามความเหมาะสม มีการจดั ทำแผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรูท้ เี่ น้นผู้เรยี นเป็น
สำคญั ผา่ นกจิ กรรมเคล่อื นไหวและจงั หวะ กจิ กรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์ กิจกรรมเล่น
ตามมุม กจิ กรรมกลางแจง้ และกิจกรรมเกมการศึกษา โดยจดั กิจกรรมต่างๆ ให้เด็กไดเ้ รียนรู้จากการปฏิบัตจิ รงิ
และคำนึงถึงความแตกต่างระหวา่ งบุคคล มหี ลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัยสอดคล้องกบั บรบิ ทของท้องถนิ่ มี
แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรูท้ สี่ อดคล้องกบั วถิ ชี วี ิตของครอบครวั ชมุ ชน มีการปรับปรงุ หลกั สตู ร
สถานศึกษาอยา่ งต่อเน่อื ง โดยมโี ครงการการจัดทำหลกั สูตรสถานศึกษาเพ่ือสนบั สนนุ ให้ครูได้รว่ มกันระดม
ความคิดในการปรบั ปรุงและพัฒนาหลกั สูตรอย่างต่อเน่อื งทุกปี
2.2 จดั ครูให้เพยี งพอกบั ชน้ั เรยี น สถานศึกษาได้จัดครูให้เหมาะสมกบั ภารกิจการเรยี นการจัด
ประสบการณ์โดยจดั ครูที่จบการศกึ ษาปฐมวัย จำนวน 2 คน ซึง่ มีความเพยี งพอห้องเรียน
2.3 ส่งเสริมใหค้ รมู คี วามเชีย่ วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์ สถานศกึ ษาได้พัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้
มีความรคู้ วามสามารถในการวิเคราะห์ และออกแบบหลักสูตรสถานศกึ ษา มที ักษะในการจดั ประสบการณ์ การ
ประเมินพฒั นาการเด็ก ใชป้ ระสบการณ์สำคัญในการออกแบบการจดั กจิ กรรม มกี ารสงั เกต และประเมิน
พัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล โดยการเขา้ รบั การอบรม นอกจากนส้ี ถานศึกษายังได้จดั โครงการและกจิ กรรม
ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ โครงการพฒั นาบุคลากร เช่น โครงการนเิ ทศภายในสง่ ครูเขา้ อบรม ประชุม สัมมนา ศึกษาดงู าน
ในหน่วยงานองค์กรตา่ ง ๆ ท่จี ัดข้นึ มีปฏสิ มั พนั ธท์ ่ดี ีกบั เด็กและ ครอบครัวดว้ ยโครงการเยี่ยมบ้านนกั เรยี น เพือ่
ทราบข้อมลู เก่ียวกบั นักเรยี นจากผปู้ กครอง จัดโครงการนเิ ทศภายใน โดยมีการนเิ ทศ กำกับ ตดิ ตาม
ประเมนิ ผลการจดั ประสบการณข์ องครู โดยผ้บู รหิ าร และคณะกรรมการ และนำผลการประเมนิ มาแก้ไข
ปรับปรุงการจัดกิจกรรม ด้วยการ ประชมุ การทำ PLC ระหว่างเพื่อนครเู พื่อพัฒนาการจัดประสบการณข์ องครู
ประเมนิ พัฒนาการของเดก็ ทั้ง 4 ด้านและนำผลการประเมินมาพัฒนา เด็กด้วยการทำวจิ ัยในชัน้ เรียนทกุ คน
เพอื่ พัฒนาเด็ก โดยไดท้ ำวจิ ัยเรื่อง การพฒั นาการรู้คา่ ตัวเลขของนักเรียนชนั้ อนบุ าลปีที่ 3
2.4 จัดสภาพแวดล้อมและส่ือเพื่อการเรยี นรู้อยา่ งปลอดภัยและเพยี งพอ
โรงเรียนจัดสภาพแวดลอ้ มทงั้ ภายนอกและภายในหอ้ งเรียน มคี วามรม่ รืน่ สะอาด ปลอดภยั เออื้ ตอ่
การจดั ประสบการณ์ จัดการเรียนรู้ ครูใช้สอื่ การเรียนการสอนทส่ี อดคลอ้ งกับเนื้อหาของหลักสูตร มกี ารจัดมุม
ประสบการณ์ท่ีหลากหลายภายในหอ้ งเรียน เพ่ือสง่ เสริมการเรียนร้ขู องเด็ก
2.5 ให้บริการสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนร้เู พ่ือสนับสนนุ การจัดประสบการณ์
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 สังกัด สพป.สรุ ินทร์ เขต 1
๑๙
โรงเรยี นจดั ให้มีการใชส้ อื่ เทคโนโลยใี นการจดั การเรยี นการสอน จัดให้มคี อมพวิ เตอร์ใน
ห้องเรยี นเพื่อใช้ในการเรยี นการสอน สง่ เสรมิ การจดั ทำสื่อการสอนของครู
2.6 มรี ะบบบริหารคณุ ภาพที่เปดิ โอกาสให้ผูเ้ กย่ี วขอ้ งทกุ ฝ่ายมีส่วนรว่ ม
โรงเรยี นมีการบริหารงานแบบมสี ่วนร่วมสร้างชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (PLC) จดั กจิ กรรมภาคี 4
ฝา่ ย มกี ารประชุมครูและผู้ปกครอง เปดิ โอกาสให้ผู้เกยี่ วข้องมสี ว่ นรว่ มในการพฒั นาและร่วมกนั จัดทำหลักสูตร
การศกึ ษาปฐมวัย จดั ทำแผนการจัดประสบการณ์ จัดทำแผนปฏิบตั กิ ารประจำปี สรุปโครงการและกจิ กรรม
ตามแผนแล้วจดั ทำรายงานสถานศกึ ษา (SAR) อยา่ งต่อเน่ือง
ข้อมูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ทส่ี นบั สนุนผลการประเมินตนเอง
1. รายงานผลการดำเนนิ โครงการกจิ กรรมพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษา
2. รายงานผลการดำเนนิ กิจกรรมหนนู อ้ ยพอเพยี ง
3. รายงานผลการดำเนนิ จรรมอบรมพัฒนาครูปฐมวยั
4. รายงานผลการดำเนนิ กจิ กรรมสง่ เสริมการจัดสภาพแวดลอ้ มปลอดภัยนา่ อยู่ น่าเรียน
5. รายงานผลการดำเนนิ กจิ กรรมประกันคณุ ภาพภายใน
6. รายงานการอบรมของครูปฐมวยั
7. รายงานขอ้ มูลอัตราสว่ น จำนวน ครู และ เดก็
3. จุดเดน่ จุดท่ีควรพัฒนา
จดุ เด่น จุดท่คี วรพฒั นา
โรงเรยี นบา้ นตะกยุ (ค้ำคูณบำรงุ ) มกี ารจัดครูท่ี สง่ เสรมิ ใหค้ รูมีความเช่ยี วชาญดา้ นการจดั
เพยี งพอต่อช้นั เรียน มีการจดั สภาพแวดลอ้ ม ประสบการณ์
และสอ่ื เพ่ือการเรียนรู้ อย่างปลอดภยั และ
พอเพียง
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ ีเ่ น้นเด็กเป็นสำคญั
1. ระดับคณุ ภาพ : ดีเลิศ
2. วิธีการพฒั นา ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ท่ีสนบั สนนุ การประเมินตนเอง
2.1 วธิ กี ารพัฒนา
ครูมีการวางแผนการจัดประสบการณ์โดยยึดหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560เป็น
แนวทางในการจัดทำหลักสูตรสถานศกึ ษาปกี ารศึกษา 2564 และจัดทำแผนการจัดประสบการณร์ ายปีครบทุก
หน่วยการเรียนรู้ และทุกชั้นปีครูทุกคนมีการนำแผนการจัดประสบการณ์ไปใช้ในการจัดประสบการณ์โดยใช้
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เช่น ได้จัดโครงการพัฒนาหลักสูตร ครูวิเคราะห์
ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคลแบบบันทึกผลพัฒนาการเด็ก จัดทำแผนการจัดประสบการณ์จากการวิเคราะห์
มาตรฐานคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ในหลักสตู รสถานศึกษาผา่ นกินกรรมประจำวนั ท้ัง กิจกรรม ได้แก่ กจิ กรรม
เคลื่อนไหว กิจกรรมเสิรมประสบการณ์ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี(มุมประสบการณ์) กิจกรรม
กลางแจ้ง กิจกรรมเกมการศึกษา ที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กครบทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์
จติ ใจ ดา้ นสังคมและด้านสติปญั ญา ไม่มุง่ เน้นการพฒั นาด้านใดด้านหนึง่ เพยี งดา้ นเดยี ว
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 สงั กัด สพป.สรุ ินทร์ เขต 1
๒๐
3.2 สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั ประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏิบตั ิอย่างมีความสุข
วธิ ดี ำเนนิ การ
ครจู ัดประสบการณใ์ ห้เด็กได้ทำกจิ กรรมอยา่ งอิสระ หลากหลายตามความต้องการ ตามความ
สนใจของเด็ก เดก็ ไดเ้ รยี นร้ลู งมอื ทำด้วยตนเอง มีการนำเสนอผลงานเพ่ือแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ สนับสนนุ ใหเ้ ดก็ ได้
ทำกจิ กรรมบา้ นนักวิทยาศาสตร์น้อย ทำใหเ้ ด็กไดม้ ีความสุขกับการเรียน เชน่ กิจกรรมการทดลอง กิจกรรม
ศลิ ปะสร้างสรรค์ กิจกรรมเล่น
3.3 จดั บรรยากาศทเี่ อ้ือต่อการเรยี นรใู้ ชส้ ื่อเทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมกับวยั
วิธดี ำเนินการ
ครมู ีการจดั บรรยากาศในชัน้ เรียนเพื่อเอ้ือตอ่ การเรยี นรู้ เนน้ ความสะอาด ปลอดภัย มีสื่อการ
เรียนการสอนที่เหมาะสมกบั วัยและชนั้ เรียน ส่งผลใหเ้ ดก็ ได้มคี วามสุขในการเรยี นรู้ ครใู ช้สื่อเทคโนโลยีในการ
จดั ประสบการณท์ ีเ่ หมาะสมกับเวลาและวยั มคี อมพวิ เตอร์ช่วยสนับสนุนในการจดั การกิจกรรม ครูจดั ทำสื่อ
และใช้สอ่ื การสอนประกอบการทำกิจกรรมไดเ้ หมาะสมกบั วยั และชัน้ เรยี น
3.4 ประเมนิ พัฒนาการเดก็ ตามสภาพจริงและนำผลประเมินพัฒนาการเดก็ ไปปรับปรุงการจดั
ประสบการณ์และพัฒนาเดก็
วธิ ดี ำเนินการ
ครมู กี ารประเมนิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั ตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมนิ มาใช้ในการ
พัฒนาเดก็ มีการจัดทำงานธรุ การในช้นั เรยี นอย่างเป็นปจั จุบนั และต่อเนอื่ ง จัดทำรายงานประเมนิ ผลพฒั นา
ผ้เู รียน และนำเสนอผปู้ กครองเพื่อร่วมกันสง่ เสรมิ และแก้ไขปญั หาเด็กเปน็ รายบุคคล ครู ผูป้ กครอง และ
ผเู้ ก่ียวขอ้ งนำผลการประเมนิ พัฒนาการเด็กมาวเิ คราะหเ์ พ่ือใชป้ รับปรงุ การจดั ประสบการณแ์ ละแก้ไขปัญหา
พฒั นาการเด็ก
ผลการดำเนินการ
ส่งเสริมให้เดก็ มีพฒั นาการทุกด้านอย่างสมดลุ เตม็ ศักยภาพ โดยจัดประสบการณ์ใหค้ รอบคลมุ
พัฒนาการและมีการประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ
2.2 ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ทสี่ นับสนุนผลการประเมนิ ตนเอง
1. รายงานผลการดำเนินกิจกรรมจดั ทำแผนการจัดประสบการณ์ท่เี นน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคัญ
2. รายงานการอบรมของครูปฐมวัย
3. รายงานข้อมูลอตั รากำลัง จำนวน ครู และ เด็ก
4. บนั ทกึ การเลอื กเลน่ ในมมุ ประสบการณ์
5. บันทึกและสรปุ ผลการประเมินพฒั นาการ ทั้ง 4 ดา้ น
6. บันทกึ การวเิ คราะห์เด็กเป็นรายบคุ คล
3. จุดเด่น จุดทีค่ วรพัฒนา จดุ ท่ีควรพัฒนา
จุดเดน่ - จัดอุปกรณส์ ื่อการเรยี นการสอนทหี่ ลากหลาย
- พฒั นาเครื่องเลน่ สนาม
- เดก็ มพี ฒั นาการเหมาะสมตามวัย - จดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ เด็กเรียนร้กู ารอยรู่ ว่ มกัน
- เด็กเรยี นร้จู ากการเรยี นปนเลน่ และลงมอื
ปฏิบัติจริง
- มีบรรยากาศ สภาพห้องเรียนท่เี อ้ือตอ่ การ
เรยี นรู้
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564 สงั กัด สพป.สุรินทร์ เขต 1
๒๑
สรุปผลการประเมนิ มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระดับปฐมวยั
ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาอยู่ในระดบั ดีเลิศ
โรงเรียนบ้านตะกุย (ค้ำคูณบำรุง) ได้จัดการศึกษาในระดับปฐมวัยส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทั้ง 4
ด้านอย่างสมดุลและเหมาะสมกับวัย โดยจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่นและ
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2564 จัดประสบการณ์ที่ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน โดยเน้น
การจัดประสบการณผ์ า่ นการลงมือปฏบิ ตั ิดว้ ยกิจกรรมประจำวนั ทั้ง 6 กิจกรรม จัดโครงการและกิจกรรม ดงั น้ี
โครงการพัฒนาเด็กปฐมวัย กิจกรรมอิ่มอร่อยครบครัน กิจกรรมหนูน้อยรักษ์สุขภาพ กิจกรรมสร้างสรรค์
กิจกรรมหนนู ้อยเด็กดี กจิ กรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมหนูน้อยเจ้าปัญญา ประเมินพัฒนาการของเด็ก โดย
การสังเกตพฤติกรรมและบันทึกพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน จากการดำเนินงานตามกิจกรรมส่งผลให้มีพัฒนาการใน
ภาพรวมระดับคุณภาพ ยอดเย่ียม จำแนกเป็น ด้านร่างกายร้อยละ 100 ดา้ นอารมณ์ ด้านจิตใจ รอ้ ยละ 96.42
ด้านสังคม ร้อยละ 92.85 และด้านสติปัญญาอยู่ในระดับ 85.71 โรงเรียนมีผลการดำเนินงาน ระดับคุณภาพ
ยอดเยีย่ ม ผลการดำเนินงาน สูงกวา่ เป้าหมายท่กี ำหนด
โรงเรียนบ้านตะกุย (ค้ำคูณบำรุง) ได้ดำเนินการ กำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ แผนพัฒนา
คุณภาพการจดั การศึกษา แผนปฏิบตั ิการประจำปี โครงการหรือกิจกรรม และจัดทำหลักสูตรของสถานศึกษา
โดยจัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้ ได้แก่ โครงการพัฒนาบุคลากรปฐมวัย
โครงการพัฒนาสื่อสำหรับเด็กปฐมวัย โครงการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย โครงการพัฒนาระบบการ
ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โครงการปรับปรุงสภาพแวดล้อมสำหรับเด็กปฐมวัย ประเมินผล
ประสิทธิภาพการบริหารและการจัดการ เพื่อสะท้อนผลการดำเนินงานแผน เช่น ติดตามผลการดำเนินโครงการและ
กิจกรรม จัดทำตดิ ตาม และแบบรายงานผลการโครงการ และจัดทำรายงานผลการประเมนิ ตนเองประจำปี โรงเรียนมี
ผลการดำเนนิ งาน ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลศิ ผลการดำเนนิ งาน เป็นไปตามเปา้ หมาย
โรงเรียนบ้านตะกุย (ค้ำคูณบำรุง) สนับสนุนใหค้ รูจัดประสบการณ์ โดยจัดทำแผนการจัดประสบการณ์
ครบทุกสาระการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับหลักสูตรของสถานศึกษา ครูจัดทำบันทึกผลหลังสอน มีเครื่องมือ
สำหรับประเมินหลังการสอน ข้อมูลหรือผลงานของเด็กที่เกิดขึ้นภายหลังจากการจัดประสบการณ์ ครูมีวุฒิ
การศกึ ษา ตรงตามสายงาน การสอนสอ่ื เทคโนโลยี นวัตกรรม แหล่งเรยี นรู้ และภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ท่ีใช้ในการจัด
ประสบการณ์ที่เหมาะสม หลากหลาย แหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ได้แก่ วัด โรงเพาะเห็ด ธนาคารขยะ
ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ สวนสมุนไพร แปลงผักสวนครัว โรงเรือนทำปุย๋ ต้นไม้ยิม้ บ่อปลา มุมประสบการณ์
ภายในห้องเรียน และได้มีการตรวจสอบและประเมินเด็กอย่างเป็นระบบจากการจัดประสบการณ์ตามหน่วย
การเรยี นรทู้ กี่ ำหนดไว้ ใช้เครือ่ งมอื วธิ กี ารประเมนิ ผลที่เหมาะสมและหลากหลาย ได้แก่ แบบบันทึกการสังเกต
พฤติกรรม แบบประเมินพัฒนาการตามหน่วยการเรียนรู้ และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้ปกครองและผู้มีส่วน
เกีย่ วขอ้ ง เพ่ือนำไปใช้ในการพฒั นาการเรียนรู้ มกี ารนำผลการประเมินมาพัฒนาเด็กมาวิเคราะห์ถึงสาเหตุและ
ปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อนำมาวางแผนในการพัฒนาเด็กและดำเนินการตามแผน แลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูล
ป้อนกลับเพื่อพัฒนาปรับปรุงการจัดประสบการณ์ ด้วยจัดกิจกรรม PLC ของครูปฐมวัย มีการทำวิจยั มีวิธีการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่หลากหลายระหว่างเพื่อนครู และการนิเทศ กำกับ จากผู้บริหารมีโครงการสนับสนุนการ
ดำเนินงาน เช่น โครงการประชุมผู้ปกครองนักเรียนปฐมวัย เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้ปกครอง โรงเรียนมีผล
การดำเนนิ งาน ระดับคณุ ภาพ ดเี ลศิ ผลการดำเนินงาน เปน็ ไปตามเป้าหมาย
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 สงั กดั สพป.สรุ นิ ทร์ เขต 1
๒๒
ระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ระดับการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ปกี ารศกึ ษา 2564
มาตรฐานการศึกษา เป้าหมาย ผลการ แปลผล
ทีก่ ำหนด ประเมนิ
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน ดเี ลิศ ดีเลิศ บรรลุเป้าหมาย
1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการของผเู้ รยี น ดเี ลิศ ดีเลศิ บรรลเุ ปา้ หมาย
1.2 คุณลักษณะท่ีพึงประสงคข์ องผู้เรียน ดเี ลศิ ดีเลิศ บรรลเุ ป้าหมาย
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ดีเลศิ ดเี ลิศ บรรลเุ ป้าหมาย
2.1 มีเป้าหมายวิสยั ทศั น์และพนั ธกิจทส่ี ถานศึกษา ดีเลิศ ดเี ลิศ บรรลุเป้าหมาย
กำหนดชัดเจน
2.2 มีระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา ดีเลศิ ดเี ลิศ บรรลุเป้าหมาย
2.3 ดำเนินงานพฒั นาวชิ าการทเ่ี นน้ คุณภาพผเู้ รยี น บรรลเุ ปา้ หมาย
รอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุก ดเี ลิศ ดเี ลิศ
กลมุ่ เปา้ หมาย
2.4 พฒั นาครูและบุคลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญทาง ดีเลศิ ดเี ลศิ บรรลเุ ป้าหมาย
วิชาชพี
2.5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่เอื้อ ดีเลิศ ดเี ลศิ บรรลเุ ป้าหมาย
ตอ่ การจัดการเรยี นรู้ อย่าง มีคณุ ภาพ
2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุน ดีเลศิ ดเี ลศิ บรรลุเป้าหมาย
การบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ์ท่เี น้นเด็กเป็น ดีเลศิ ดเี ลศิ บรรลุเป้าหมาย
สำคัญ
3.1 จดั การเรียนรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิ ดเี ลศิ ดเี ลิศ บรรลเุ ปา้ หมาย
จริง และสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวันได้
3.2 ใช้ส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่ ดีเลิศ ดเี ลศิ บรรลุเปา้ หมาย
เออื้ ต่อการเรยี นรู้
3.3 มกี ารบริหารจดั การชั้นเรียนเชิงบวก ดเี ลิศ ดีเลิศ บรรลเุ ปา้ หมาย
3.4 ตรวจสอบและประเมินผูเ้ รียนอยา่ งเป็นระบบ ดเี ลศิ ดเี ลศิ บรรลุเปา้ หมาย
และนำผลมาพัฒนาผเู้ รียน
3.5 มีการแลกเปลย่ี นเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อน ดเี ลศิ ดเี ลศิ บรรลุเปา้ หมาย
กลบั เพ่ือพัฒนาและปรับปรงุ การจัดการเรียนรู้
สรปุ ผลการประเมินคุณภาพภายใน ระดบั การศกึ ษา ดีเลิศ ดีเลศิ บรรลุเปา้ หมาย
ขัน้ พ้ืนฐาน
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน
1. ระดบั คณุ ภาพ : ดีเลศิ
2. วิธีการพฒั นา ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ท่ีสนับสนนุ การประเมนิ ตนเอง
2.1วิธีการพัฒนา
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564 สงั กัด สพป.สุรินทร์ เขต 1
๒๓
โรงเรียนบา้ นตะกุย(คำ้ คูณบำรุง) ได้จัดทำแผนการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น เนน้ ผู้เรียน
เป็นสำคญั สอดคล้องกับนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน มกี ารจัดการเรียนรู้แบบ
On-site, On-line และ On-hand โดยได้จดั การเรียนรู้ที่เหมาะสมกบั ผู้เรยี นและสถานการณ์ ท้งั น้ยี งั มีการ
นิเทศติดตามการเรยี นของผเู้ รียน และวัดผลประเมินผลอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ไดแ้ ก่ การดำเนินงานโครงการ
ยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน(ทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้) มีการจัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมนักเรียนก่อน
การทดสอบระดับชาติ (RT, NT และ ONET) อีกท้ังเขา้ รว่ มโครงการพัฒนาการเรยี นการสอนภาษาไทย
“เดก็ ไทยวิถีไทย อ่านออกเขยี นไดท้ ุกคน” ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1-3 ของสำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
ประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต ๑ สง่ ผลให้ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขยี น สอื่ สารและคิดคำนวณได้ตาม
เกณฑ์ในแต่ละระดบั ชน้ั และมรี ้อยละผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานอยู่ในระดบั ดี
(70.40)
อีกทั้งยังให้ความสำคัญในการพัฒนาผู้เรียนในด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยยึดหลักคนเก่งต้อง
เป็นรองคนดี จึงได้ดำเนินการพัฒนาผู้เรียนด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้วยวิธีการที่หลากหลายส่งผลให้
ผู้เรียนส่วนใหญ่มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามค่าเป้าหมายที่กำหนด คือ ยอดเยี่ยม โดยจัดกิจกรรมส่งเสริม
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ได้แก่ การกิจกรรมเดินรณรงค์ต่อต้านยาเสพติด ส่งเสริมการแต่งกายด้วยผ้าไทยทุก
วันศกุ ร์ เพ่ือเป็นการสืบสานวัฒนธรรมการแตง่ กายอันดีงามของชาติไทย อนั เป็นเอกลกั ษณ์ที่สวยงามมิให้เลือน
หายไป และให้นักเรียนมีความภูมิใจในท้องถิ่นของตนเอง กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย มีการเลือกตั้ง
คณะกรรมการสภานักเรยี นประจำปีการศึกษา 2564 เปน็ การช่วยให้ผเู้ รียนได้พัฒนาตนเองสกู่ ารเป็นพลเมือง
ที่ดี ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับการเลอื กตั้งซ่ึงเปน็ หน้าที่ของพลเมืองไทยทุกคน เป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนรูจ้ กั
ประชาธิปไตย การหาเสียง และการลงคะแนนเสียง กิจกรรมส่งเสริมจิตสาธารณะ ได้แก่ โครงการลูกเสือจิต
อาสาพระราชทาน เพื่อส่งเสริมให้ลูกเสือและบคุ ลากรทางการลูกเสือนอ้ มนำโครงการจิตอาสาพระราชทานมา
เสรมิ สรา้ งจติ สำนกึ ความเป็นพลเมืองทเ่ี ข้มแข็งและบำเพ็ญประโยชน์ต่อชุมชนอย่างต่อเน่ืองและยัง่ ยืน กิจกรรม
ส่งเสริมเดก็ และเยาวชนดีเด่น โดยจัดตง้ั วงดรุ ิยางค์ของโรงเรียน และทีมฟตุ บอลตะกยุ อะคาเดมี ในปีการศึกษา
2564 มีนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สำเร็จการศึกษาและไปศึกษาต่อด้านกีฬา จำนวน 2 คน และชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี 2 จำนวน 1 คน เป็นการส่งเสริมผู้เรียนในการทำกิจกรรมต่างๆ ตามความสามารถของตนเอง
ให้ประสบความสำเร็จ กิจกรรมงานปกครองผู้เรียน มีหน้าที่ดูแลคุณธรรมจรยิ ธรรมและค่านิยมอันพึงประสงค์
จัดกิจกรรมทีป่ ลูกฝังให้นักเรียนรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ โดยได้ให้ความรู้นักเรียนในทุกๆวันสำคัญ จัด
ให้มีกิจกรรมสวดมนต์ประจำสัปดาห์ทุกๆวันอังคาร กิจกรรมการแสดงตนเป็นพุทธมามกะในวันสำคัญทาง
ศาสนา ส่งเสริมให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมตามประเพณีไทย ประเพณีท้องถิ่นและวัฒนธรรมของชาวตะวันตก
ไดแ้ ก่ วนั อาสหบชู าและวันเขา้ พรรษา วันแซนโฎนตา กิจกรรมวันลอยกระทง กจิ กรรมวันครสิ ตม์ าสและส่งท้าย
ปีเก่าต้อนรับปใี หม่ เป็นต้น ระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียน โดยผ่านระบบคัดกรองปัจจยั พื้นฐานนกั เรยี นยากจน
ที่จะช่วยให้ครูประจำชั้นได้ทำความรู้จักกับผู้เรียนได้ดีและยังนำไปสู่การดูแลช่วยเหลือในด้านอื่นๆ ซึ่งเป็น
ประโยชน์ท้งั กับครปู ระจำชั้น ผ้ปู กครองและผ้เู รียน ครปู ระจำชัน้ จดั ทำรายงานนำ้ หนักสว่ นสงู รายงานการทาน
อาหารกลางวัน การรับอาหารเสริม(นมโรงเรียน) และการแปรงฟัน เพื่อติดตามสุขภาวะทางร่างกายของ
นักเรียน
2.2 ขอ้ มลู หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ที่สนับสนนุ ผลการประเมินตนเอง
1) ขอ้ มลู นักเรียนรายบคุ คล
2) แบบสรปุ รายงานการอา่ นออกเขียนได้
3) รายงานผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผเู้ รยี น
4) รายงานผลการทดสอบระดบั ชาติ NT , O-NET
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 สงั กัด สพป.สุรินทร์ เขต 1
๒๔
แบบอย่างท่ดี ขี องสถานศึกษา ( Best Practice) หรือ นวตั กรรม (Innovation)
ในปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบา้ นตะกุย(คำ้ คูณบำรงุ ) ได้กอ่ สร้างเตาเผาขยะปลอดมลพิษ เพื่อใชใ้ น
การบริหารจัดการขยะมูลฝอยในสถานศกึ ษา โดยไดบ้ รู ณาการเขา้ กบั หลักสูตรสถานศึกษาในกลมุ่ สาระการงาน
อาชพี ในรายวชิ างานช่าง ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน้ ซ่ึงครไู ดส้ อนท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิในงานปูน
และไดร้ บั ความอนุเคราะห์จากปราชญ์ชาวบ้านในชุมชนได้แนะนำให้ความรู้ ทง้ั ทางด้านการออกแบบโครงสรา้ ง
การผสมวตั ถดุ ิบในการก่อ การฉาบ ซง่ึ นกั เรียนได้ให้ความสนใจและรว่ มก่อสร้างจนสำเร็จ
ความรู้ท่ีไดจ้ ากประสบการณ์จริง ทำให้นักเรียนมีประสบการณ์เพ่ือนำไปตอ่ ยอดในการศึกษาต่อสาย
อาชีพหรือนำไปประกอบอาชพี ในอนาคตได้
3. จุดเดน่ จุดท่ีควรพฒั นา จุดท่คี วรพฒั นา
จดุ เดน่ ๑. สง่ เสรมิ การจดั การเรยี นการสอนแบบ
โครงงานเพ่ือพัฒนาทักษะการคดิ อยา่ งเป็นระบบ
1. ผู้เรียนไดร้ ับการส่งเสริมทักษะในการทำงาน ได้ทดลองและพสิ ูจน์ส่งิ ต่างๆด้วยตนเอง
และการประกอบอาชีพ 2. ส่งเสริมการเรยี นรู้นอกสถานที่ ใหน้ ักเรยี นได้
2. ผเู้ รยี นไดร้ ับการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ใชป้ ระสบการณ์จรงิ ในการเรยี นรู้
คณุ ลักษณะและค่านยิ มท่ีดี
3. ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการอา่ น เขียน
สื่อสารและคิดคำนวณไดต้ ามเกณฑ์ในแตล่ ะ
ระดับช้ัน
4. แนวทางพฒั นาคณุ ภาพให้ดีข้ึนกว่าเดิม
1) ควรมกี ารพัฒนาความสามารถในการคิดคำนวณ คดิ วเิ คราะห์ ให้กบั ผ้เู รยี นอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
2) จัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะการคดิ วเิ คราะห์ในรูปแบบกิจกรรมค่ายหรอื ลักษณะอ่นื ๆท่เี หมาะสม
3) สง่ เสริมการใชส้ ือ่ เทคโนโลยีทท่ี นั สมัยให้นกั เรยี นเพอื่ สอดคล้องกบั แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี นใน
ศตวรรษท่ี 21
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
1. ระดบั คุณภาพ : ดเี ลศิ
2. วิธกี ารพฒั นา ขอ้ มลู หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ท่ีสนบั สนุนการประเมินตนเอง
2.1วิธกี ารพัฒนา
มเี ปา้ หมายวสิ ยั ทศั นแ์ ละพนั ธกิจทส่ี ถานศึกษากำหนดชดั เจน
โรงเรียนบ้านตะกุย (ค้ำคูณบำรุง) ได้การจัดประชุมผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสถานศึกษา เพ่ือ
กำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจที่สอดคล้องกับบริบทสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน นโยบายของ
รฐั บาล แผนการศึกษาแหง่ ชาติ ซ่งึ เปน็ ไปไดใ้ นการปฏิบัติ มีการจดั ระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
อย่างชัดเจน ร่วมกันวิเคราะห์ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกของหน่วยงานตนเอง แล้วกำหนดวิสัยทัศน์
พันธกิจ เป้าประสงค์ กรอบกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับเป้าหมายของโรงเรียน จัดทำแผนพัฒนาการศึกษาของ
โรงเรียน แผนปฏิบัติการประจำปี โดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน และจัดทำ
รายงานผลการดำเนินงาน/โครงการ ประจำปีการศึกษา จัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self—Assessment Report: SAR) ดำเนนิ การทบทวนวัตถุประสงค์เปา้ หมายของแผนปฏิบตั ิการประจำปีทุก
ปี และทบทวนวิสยั ทัศน์ พนั ธกิจ เป้าประสงค์ กลยทุ ธเ์ พื่อจดั ทำแผนพฒั นาการศกึ ษาของโรงเรียนทุก ๓ ปี
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 สงั กดั สพป.สรุ นิ ทร์ เขต 1
๒๕
มรี ะบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา
โรงเรียนบ้านตะกุย(ค้ำคูณบำรุง) มีวัฒนธรรมองค์กรในการทำงานร่วมกัน โดยช่วยเหลือเกื้อกูล มี
การจัดอบรมพัฒนาบุคลากรให้สอดรับกับนโยบายของต้นสังกัดและความทันสมัยในการจัดการเรียนรู้ สนับสนุนการ
ผลิตสื่อนวัตกรรมการเรียนการสอน สนับสนุนครูให้เข้ารับการอบรมพัฒนาทั้งความรู้และการขอมีวิทยฐานะ และผล
จากกระบวนการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน ส่งผลให้ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่สำเร็จการศึกษา และศึกษา
ตอ่ ระดับทีส่ ูงขึน้ ร้อยละ 100
โรงเรียนมีการบริหารอัตรากำลัง ทรัพยากรบุคคลและทรัพยากรทางการศึกษา มีระบบดูแล
ช่วยเหลือนักเรียนและระบบนเิ ทศภายในที่เข้มแข็งและสามารถปรับเปลยี่ นตามสถานการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ได้อย่างเหมาะสม
เช่น ทางโรงเรียนไดจ้ ัดทำแผนเฝ้าระวังและปอ้ งกนั ในสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา (COVID-19)
ในการจัดการเรียนการสอน ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เพื่อให้การจัดการเรียนการสอน ปีการศึกษา ๒๕๖๔ สอดคล้องกับ
ประกาศสถานการณฉ์ กุ เฉนิ สืบเนอื่ งจากการระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา (COVID-19)
ดำเนนิ งานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคณุ ภาพผ้เู รียนรอบดา้ นตามหลกั สูตรสถานศึกษาและทุก
กลุม่ เป้าหมาย
โรงเรียนบ้านตะกุย(ค้ำคูณบำรุง) มีหลักสูตรสถานศึกษาที่ประกอบด้วยโครงสร้าง และ
องค์ประกอบชองหลักสูตรครบถ้วนสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาชาติ หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน ตอบสนองวิสัยทัศน์ พันธกิจและจุดเน้นของ
สถานศึกษา กำหนดเวลาเรียนเหมาะสมกับระดับชั้นเรียน และครูนำไปจัดทำมาตรฐานการเรียน รู้ ตัวชี้วัด
ลำดับเนื้อหาสาระตามกระบวนการเรียนรู้ บูรณาการสภาพปัญหาและความต้องการของท้องถิ่นในรายวิชา
พ้นื ฐานและหรือรายวิชาเพมิ่ เตมิ อย่างเหมาะสม ออกแบบหน่วยการเรยี นรอู้ งิ มาตรฐานมหี ลักสตู รทหี่ ลากหลาย
ตอบสนองต่อความต้องการนักเรียนได้มีส่วนร่วมทุกรายวิชา มีโอกาสลงมือปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือ
ใกลเ้ คยี งสถานการณจ์ ริง มีผลงาน/โครงการท่ีแสดงให้เห็นการอธบิ ายวธิ ีคิดและสรปุ ความคดิ ของผู้เรยี น
พฒั นาครแู ละบคุ ลากรให้มีความเชย่ี วชาญทางวิชาชพี
โรงเรียนบ้านตะกุย(ค้ำคูณบำรุง) มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพครูและ
บคุ ลากร ท้งั ด้านความรู้ ความสามารถและทกั ษะตามมาตรฐานประกอบด้วย การพัฒนาครตู ามมาตรฐานตำแหน่งและ
มาตรฐานวิทยฐานะ ได้แก่ ส่งเสริมให้ครูและบุคลากรได้พัฒนาวิชาชีพ การทำวิทยฐานะในระดับต่างๆ การจัดทำ
แผนพัฒนาตนเองของครูและบุคลากรทางการศึกษา (ID PLAN) ครูสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ทุก
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ติดตามการอบรมพัฒนาครูและบุคลากรด้วยการจัดกิจกรรมส่งเสริมศักยภาพบุคลากรทาง
การศึกษา (Quality Teacher For Quality Edu) เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในเทคนิควิธีการ รูปแบบ
กระบวนการจัดการเรยี นรูท้ ี่สอดคลอ้ งกบั การเรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21 มผี เู้ ชย่ี วชาญเข้าร่วมกิจกรรม ท้งั ภายในโรงเรยี น
และจากหน่วยงานภายนอกและสนบั สนนุ ใหค้ รบู คุ ลากรเข้ารับการพัฒนาอย่างน้อย 20 ชั่วโมง
จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมท่ีเออื้ ต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
โรงเรียนบ้านตะกุย(ค้ำคูณบำรุง) มีแผน/โครงการ/ กิจกรรมพัฒนาอาคารสถานที่ ห้องเรียน แหล่ง
เรียนรู้ภายในโรงเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องน้ำ อาคารอเนกประสงค์ อาคารเรียน ฯลฯ ทุกแห่งมีความสะอาด
เป็นระเบียบภายใต้งบประมาณที่ได้รับจัดสรรอย่างคุ้มค่า มีประสิทธิภาพ มีความมั่นคงแข็งแรง ปลอดภัย จัด
สภาพแวดล้อมภายนอกห้องเรียนให้สวยงาม ร่มรื่น ภายในห้องเรียนมีสิ่งอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้
พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพียงพอต่อการใช้งาน ส่งผลให้ผู้เรียนมีสุขภาพกาย
สุขภาพจิตทีด่ ี ส่งผลต่อการเรยี นรู้ท่ีดขี ้นึ
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 สงั กดั สพป.สุรนิ ทร์ เขต 1
๒๖
สถานศึกษาจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพท้งั ภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทาง
สังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย และมีความปลอดภัย ได้แก่ ปรับปรุงห้องปฏิบัติการ
คอมพิวเตอร์ ห้องดนตรี ห้องสังคมศึกษาและห้องสมุดมีชีวิต ปรับปรุงหลังคาอาคารเรียน 2 หลัง ปรับปรุง
ศาลาอเนกประสงค์บริเวณนั่งพักผ่อนของนักเรียน ก่อสร้างเตาเผาขยะปลอดมลพิษและโรงจอดรถสำหรับครู
และผมู้ าตดิ ต่อราชการ ฯลฯ
จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการจัดการเรยี นรู้
โรงเรียนบ้านตะกุย(ค้ำคณู บำรุง) ได้มีการจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนใหน้ ักเรียนและ
บุคลากร มีความรู้ความเข้าใจ สามารถใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และสืบค้นหาข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ได้อย่างคล่องแคล่ว โดยได้รับจัดสรรงบประมาณสำหรับการจัดหาระบบ
คอมพิวเตอร์พร้อมอุปกรณ์สำหรับการเรยี นการสอน ปีงบประมาณ 2564 ตามโครงการเทคโนโลยีดิจิทัลเพอื่
การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานและงบประมาณสำหรบั โครงการจัดสรรครุภัณฑ์ทดแทนห้องเรียน DLTV สำหรับโรงเรียน
Stand Alone ปีงบประมาณ 2564 นอกจากนี้ สถานศึกษาได้ทำการบันทึกผลการเรียนผ่านโปรแกรมเว็บ
แอพพลิเคชั่น โปรแกรมบริหารสถานศึกษา (SchoolMIS) ซึ่งโปรแกรมดังกล่าวนอกจากใช้บันทึกผลการเรียน
แล้ว ยงั สามารถอำนวยความสะดวกใหโ้ รงเรียนในการออกเอกสารหลกั ฐานการศึกษาตา่ งๆอกี ดว้ ย
จากการดำเนนิ งาน สง่ ผลให้โรงเรียนมีผลการประเมนิ คณุ ภาพภายใน มาตรฐานท่ี 2 อยใู่ นระดับ ดเี ลศิ
การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษา เพื่อพัฒนาและส่งเสริมสถานศึกษาให้
ยกระดบั คุณภาพใหส้ ูงข้นึ สถานศึกษาดำเนินการได้ผลการประเมนิ ระดบั ดเี ลศิ บรรลุคา่ เป้าหมายของสถานศึกษา
กำหนดไว้
2.2 ข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ทีส่ นบั สนุนผลการประเมินตนเอง
1) โครงสร้างการบรหิ ารงาน
2) เปา้ หมาย วสิ ยั ทศั นแ์ ละพนั ธกิจท่ีสถานศึกษากำหนด มีความชดั เจนและสอดคลอ้ งกับบริบท
ของสถานศกึ ษา ความต้องการของชุมชนและนโยบายหนว่ ยงานตน้ สงั กดั ตามลำดับ
3) แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ระยะปานกลาง
4) แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปี
5) รายงานการประเมินตนเอง
3. จุดเด่น จุดทค่ี วรพัฒนา
จุดเดน่ จดุ ที่ควรพัฒนา
1. สถานศกึ ษามเี ปา้ หมายวสิ ัยทศั นแ์ ละพนั ธกิจ 1. จัดทำและให้บริหารข้อมูลสารสนเทศทเ่ี ป็น
ท่ีกำหนดไว้อย่างชดั เจน และม่งุ พัฒนาวิชาการที่ ระบบแกผ่ ู้ต้องการใช้ข้อมลู ทุกฝา่ ย บคุ ลากรทุก
เน้นคุณภาพผเู้ รยี นรอบดา้ นตามหลักสูตร คนสามารถเข้าถึงข้อมูลไดส้ ะดวกรวดเรว็ เปน็
สถานศึกษา ปัจจบุ นั
2. สถานศึกษามีการตรวจสอบ ซอ่ มแซม และ
ปรบั ปรุงบรรยากาศภายในสถานศกึ ษาอย่าง
ตอ่ เน่ือง ส่งผลตอ่ สุขภาพกายและสุขภาพจิต
ของผ้เู รยี น
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 สังกัด สพป.สรุ ินทร์ เขต 1
๒๗
4. แนวทางพฒั นาคณุ ภาพให้ดขี นึ้ กวา่ เดมิ
4.1 จดั หาระบบ/ซอฟแวรท์ เี่ หมาะสมและมีประสิทธิภาพในการจดั เกบ็ ขอ้ มูลสารสนเทศทสี่ ำคญั ของ
โรงเรียน เพ่อื ใหม้ ีความถูกต้องแม่นยำ และเช่ือถือได้ มหี ลักฐาน ร่องรอย ครูและบุคลากรทุกคนสว่ นรว่ มในการ
ตรวจสอบขอ้ มูลใหถ้ กู ต้อง เพื่อให้เกดิ ความคล่องตวั และรวดเร็วในการสอ่ื สาร
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นผ้เู รยี นเป็นสำคัญ
1. ระดบั คณุ ภาพ : ดเี ลศิ
2. วธิ กี ารพัฒนา ขอ้ มูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ที่สนบั สนุนการประเมนิ ตนเอง
2.1วธิ กี ารพฒั นา
สถานศกึ ษาได้ดำเนนิ การสง่ เสรมิ พัฒนาครูให้ปฏิบตั ิตามบทบาทหนา้ ที่อย่างมีประสทิ ธภิ าพโดย
ดำเนินการพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา เพื่อเป็นแนวทางในการจัดกระบวนการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้
ผู้เรียนทกุ คนมสี ว่ นรว่ ม เน้นให้ผเู้ รยี นได้เรียนร้โู ดยผา่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจรงิ สามารถนำไป
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้ เช่น การจัดกิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน กจิ กรรมชมุ นุมตามความสนใจของผูเ้ รยี น
หรือ โครงการพัฒนางานแนะแนวการศึกษาและอาชีพ เพื่อแสวงหาความรูใ้ นการพัฒนาตนเองดา้ นการศึกษา
อาชีพ และการงานชวี ติ และสังคม สามารถนำความรทู้ ่ีได้ไปประยกุ ต์ใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์
จดั การเรียนรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ จริงได้
สถานศึกษาได้ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning เป็นกระบวนการเรียนการสอนท่ี
เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและมีปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติที่หลากหลาย รูปแบบจัดการ
เรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด และปฏิบัติจริงได้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา มี
แผนการจัดการเรียนรู้ท่สี ามารถนำไปปฏิบตั ิได้จรงิ และนำไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ได้โดยวิธีการวดั และประเมินผล
การเรยี นร้ขู องผ้เู รยี นตามทหี่ ลกั สตู รสถานศึกษากำหนด
โรงเรียนมีการการพัฒนาบุคลากร โดยการอบรมเชิงปฏิบัติการในหลายๆด้าน โดยเฉพาะการ
ออกแบบหน่วยการเรียนรู้และมีการนิเทศการจัดการเรียนรู้โดยผู้เชี่ยวชาญ จึงทำให้ครูมีความกระตือรือร้นใน
การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้อยา่ งสมำ่ เสมอ มีการติดตาม ประเมนิ ผลเพื่อผู้สอนนำผลมาปรับปรุงและ
พัฒนา จึงทำให้ผู้สอนมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยกระบวนการเรียนรู้แบบ Active
Learning เพื่อการนำไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบปฏิบัติและนำไปใช้ใน
ชวี ิตประจำวันไดอ้ ย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม
ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ทีเ่ ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้
สถานศึกษามีการส่งเสริมให้ครูผู้สอนใช้สื่อการเรียนรู้ ทำให้ครูสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการ
ออกแบบการเรียนรู้แก่นักเรียน โดยในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-
19) คณะครูได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบออนไลน์ นำเทคโนโลยีมาใช้ประกอบกับการศึกษาอย่างเกดิ
ประโยชน์สูงสุด โดยจัดการเรียนการสอน ผ่าน Google Meet จัดทำสื่อวีดีโอออนไลน์ จัดทำใบงานทั้งแบบ
On hand และ Online อกี ทั้งมรี ายงานสรปุ ผลการจัดการเรียนรผู้ า่ นทางช่องทางออนไลนอ์ ีกด้วย
มกี ารบริหารจดั การช้นั เรียนเชงิ บวก
สถานศึกษามีการส่งเสริมและพัฒนาครูผู้สอนให้มีการจัดการเรียนการสอนโดยมีการบริหารจัดการ
ชัน้ เรยี นเชิงบวก เพ่ือทำให้ผู้เรียนมีความสุข มีความรว่ มมือในการจดั การเรียนรู้ เน้นกระบวนการคิด วิเคราะห์
และลงมือปฏิบัติโดยประเมิน จากการนิเทศการจัดการเรียนจากผู้เชี่ยวชาญ โรงเรียนดำเนินการโดยใช้ระบบ
การนเิ ทศจากผูเ้ ชีย่ วชาญ จึงทำใหค้ รผู ู้สอบพบปัญหา และสามารถนำปญั หาต่างๆ ในการจดั การเรยี นรู้และการ
บริหารจัดการช้ันเรยี นเชงิ บวกมาพัฒนาตนเอง เพื่อการพัฒนาผู้เรยี นไดอ้ ย่างแทจ้ รงิ
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 สังกัด สพป.สรุ นิ ทร์ เขต 1
๒๘
ตรวจสอบและประเมนิ ผ้เู รียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผเู้ รยี น
สถานศึกษามีการพัฒนาครูทุกคนในการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ จัดทำแผนผังหน่วยการเรียนรู้
และจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้อย่างน้อย 1 รายวิชา มีการวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด
ของหลักสูตรสถานศึกษา ทำให้เกิดการพัฒนาการสอนของครูให้มีคุณภาพ มีการนิเทศการสอนเพื่อพัฒนา
ปรับปรุงการจัดทำแผนการจัดการเรยี นรู้ การประเมินผลผู้เรยี นให้เหมาะสมในการจัดการเรยี นรู้ โดยครูทุกคน
ได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน ร่วมนิเทศการสอนของครูในกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระฯ ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาความรูแ้ ละทกั ษะการออกแบบการจัดการเรยี นรู้ของครู
ทุกคน ครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง ครูมอบหมายงานให้ผู้เรียนเป็น
ระยะๆ มีการตรวจสอบความถูกต้อง แจ้งผู้เรียน และตรวจผลงานซำ้ จนเป็นผลงานท่มี ีคุณภาพ ผ้เู รียนได้ลงมือ
สืบค้นข้อมูลทำงานเป็นกลุ่มและเกิดชิ้นงานหรือนวัตกรรม ครูทุกคนมีการประเมินผู้เรียนด้วยเครื่องมือและ
วิธีการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ของแต่ละรายวิชา โดย
เครื่องมือในการวัดและประเมินผลมีการตรวจสอบความเหมาะสมในการใช้ประเมินคุณภาพผู้เรียน เช่น
ข้อสอบ โดยข้อสอบทุกฉบับถูกตรวจสอบจากหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้และถูกจัดเก็บไว้ที่กลุ่มงานวัดและ
ประเมินผล สามารถนำไปใช้ทดสอบความรู้ความสามารถด้านต่างๆของผู้เรียน ผ้เู รียนได้รบั ข้อมูลย้อนกลับ ท้ัง
ผลการเรยี น การทำงาน และผลงานต่างๆ จากครูผสู้ อน ผูเ้ รยี นสามารถพฒั นาปรับปรุงผลการเรยี นและผลการ
ประเมินผลงานต่างๆ ใหไ้ ด้ระดบั คณุ ภาพที่ครูกำหนด
มีการแลกเปล่ยี นเรียนร้แู ละใหข้ อ้ มูลสะทอ้ นกลบั เพอ่ื พัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้
ผลการพัฒนาครูทุกคนได้รับการนิเทศการสอนจากครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ของตน ส่งผลให้เกิด
การพัฒนาความรู้ ทักษะการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ร่วมกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) โดย
ร่วมประชุมหารือเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในรายวิชาที่สอนและระดับช่วงชั้นร่วมกัน เกิดการแลกเปลี่ยน
ปัญหาที่เกิดขึ้นในการจัดการเรียนการสอนของตนเอง ร่วมกันออกแบบการจัดการเรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหาหรือ
สร้างนวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อนำไปพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในรายวชิ านั้นต่อไป นอกจากที่ครูจะได้รับ
ประสบการณ์ใหม่ ครูยังเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม ได้รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และร่วมแสดงความคิดเห็น
ของตนเอง เกิดความสามคั คใี นองค์กรและเป็นพฒั นาองค์กรท่ีทกุ คนได้มสี ่วนรว่ มอกี ด้วย
จากการดำเนนิ งาน สง่ ผลให้โรงเรียนมีผลการประเมนิ คุณภาพภายใน มาตรฐานท่ี 3 อยใู่ นระดบั ดเี ลศิ
2.2 ขอ้ มลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ทส่ี นับสนนุ ผลการประเมนิ ตนเอง
1) แผนการจดั การเรียนรู้ของครู
2) สื่อการเรยี นการสอน
3) โครงงาน/ช้ินงานของผเู้ รยี น
4) ข้อมูลนักเรยี นรายบุคคล
5) บนั ทกึ การประชมุ
6) สมุดนิเทศ
7) แบบรายงานผลการปฏบิ ตั ิงานของครู (SAR)
8) รายงานและสรุปผลโครงการทเ่ี กย่ี วข้อง
9) อนื่ ฯ
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 สังกัด สพป.สุรนิ ทร์ เขต 1
๒๙
3. จดุ เด่น จุดทค่ี วรพฒั นา
จดุ เด่น จดุ ที่ควรพัฒนา
1) สถานศกึ ษาส่งเสรมิ และพัฒนาการจัดการ ๑) สถานศกึ ษาควรสง่ เสรมิ และพฒั นาครูเพ่ือ
เรยี นรขู้ องครูผูส้ อนทุกกระบวนการ และมีการ ผลติ สือ่ พัฒนาสื่อ นวตั กรรมการเรยี นการสอน
ใหผ้ ลสะท้อนกลบั ทำใหก้ ารจัดการเรียนรมู้ ี รวมทั้งประเมินคณุ ภาพสอ่ื ฯ เพอ่ื เลือกใช้
ประสิทธภิ าพ ประกอบการเรียนการสอน
2) สถานศกึ ษาใช้กระบวนการ PLC ในกลมุ่ ๒) การบริหารจัดการชัน้ เรียนเชิงบวกอาจ
สาระการเรียนรู้และระดับชว่ งชัน้ อย่างสมำ่ เสมอ จำเปน็ ตอ้ งมีการใชเ้ ทคนคิ ทแี่ ปลกใหม่ เพ่ือให้
เพ่ือทราบปัญหาเกีย่ วกับการจัดการเรียนรู้และ ผเู้ รียนเข้าถึง มีความอยากรู้ อยากเรียนและมี
ดำเนินการแก้ไขร่วมกัน ความสุขในการเรียนรู้มากขนึ้ เช่น การใช้สมารท์
โฟน หรือ เทคโนโลยีใหมๆ่ เป็นต้น
4. แนวทางพัฒนาคณุ ภาพให้ดขี ้นึ กว่าเดมิ
4.1 สง่ เสรมิ การพฒั นาทกั ษะความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีเพ่ือสง่ เสริมการเรียนรู้ของนักเรยี นท่ี
เน้นทักษะการคดิ คำนวณแบบพืน้ ฐานของจริยธรรมและความรบั ผดิ ชอบ
4.2 ควรนำภมู ิปัญญาท้องถิน่ ใหเ้ ข้ามามสี ว่ นรว่ มในการจดั กิจกรรมใหน้ กั เรียนได้เรยี นรูม้ ากข้ึน
สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาอยู่ในระดับ ดเี ลิศ
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผู้เรียน
โรงเรียนบ้านตะกุย(ค้ำคูณบำรงุ ) ได้จัดทำแผนการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เน้น
ผู้เรียนเป็นสำคญั สอดคล้องกับนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการจัดการเรียนรู้
แบบ On-site, On-line และ On-hand โดยได้จัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนและสถานการณ์ ทั้งนี้ยังมี
การนเิ ทศตดิ ตามการเรยี นของผู้เรียน และวัดผลประเมินผลอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ไดแ้ ก่ การดำเนินงานโครงการ
ยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น(ทกุ กลุม่ สาระการเรียนรู)้ มีการจดั กิจกรรมเตรียมความพร้อมนักเรยี นก่อนการ
ทดสอบระดับชาติ (RT, NT และ ONET) อีกทั้งเข้าร่วมโครงการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย “เด็กไทย
วิถีไทย อ่านออกเขียนได้ทุกคน” ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑ ส่งผลให้ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน เขียน สื่อสารและคิดคำนวณได้ตาม
เกณฑ์ในแต่ละระดับชั้น และมีร้อยละผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ในระดับ ดี
(70.40) อีกทั้งยังให้ความสำคัญในการพัฒนาผู้เรียนในด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ปลูกฝังคุณธรรม
จรยิ ธรรม และจัดกจิ กรรม/โครงการท้ังทางด้านกฬี า ดนตรี ศลิ ปะวัฒนธรรม ทำใหผ้ เู้ รียนมคี ณุ ลกั ษณะอันพึงท่ี
พึงประสงค์และค่านิยมที่ดี มีการพัฒนาสุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจิตสังคม ซึ่งส่งผลให้ผู้เรียนมี
สมรรถภาพทางกายเพ่ือสขุ ภาพ
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
โรงเรียนบ้านตะกุย (ค้ำคูณบำรุง) ได้การจัดประชุมผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสถานศึกษา เพ่ือ
กำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจที่สอดคล้องกับบริบทสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน นโยบายของ
รัฐบาล แผนการศึกษา สนับสนุนครูให้เข้ารับการอบรมพัฒนาทั้งความรู้และการขอมีวิทยฐานะ และผลจาก
กระบวนการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน ส่งผลให้ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่สำเร็จการศึกษา และศึกษาต่อ
ระดับที่สูงขึ้น ร้อยละ 100 สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพท้ังภายในและภายนอกห้องเรียน และ
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 สงั กดั สพป.สุรินทร์ เขต 1
๓๐
สภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย และมีความปลอดภัย ได้แก่ ปรับปรุง
ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องดนตรี ห้องสังคมศึกษาและห้องสมุดมีชีวิต ปรับปรุงหลังคาอาคารเรียน 2
หลัง ปรับปรุงศาลาอเนกประสงค์บริเวณน่ังพักผ่อนของนักเรยี น ก่อสร้างเตาเผาขยะปลอดมลพิษและโรงจอด
รถสำหรับครูและผู้มาติดต่อราชการ ฯลฯ การจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนให้นักเรียนและ
บุคลากร มีความรู้ความเข้าใจ สามารถใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และสืบค้นหาข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ได้อย่างคล่องแคล่ว โดยได้รับจัดสรรงบประมาณสำหรับการจัดหาระบบ
คอมพิวเตอร์พร้อมอุปกรณ์สำหรบั การเรยี นการสอน ปีงบประมาณ 2564 ตามโครงการเทคโนโลยีดิจิทัลเพอ่ื
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานและงบประมาณสำหรับโครงการจัดสรรครภุ ัณฑ์ทดแทนห้องเรยี น DLTV สำหรับโรงเรียน
Stand Alone ปีงบประมาณ 2564 นอกจากนี้ สถานศึกษาได้ทำการบันทึกผลการเรียนผ่านโปรแกรมเว็บ
แอพพลิเคชั่น โปรแกรมบริหารสถานศึกษา (School MIS) ซึ่งโปรแกรมดังกล่าวนอกจากใช้บันทึกผลการเรียน
แล้ว ยงั สามารถอำนวยความสะดวกให้โรงเรียนในการออกเอกสารหลักฐานการศึกษาตา่ งๆอีกดว้ ย
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการเรยี นการสอนทีเ่ น้นผู้เรยี นเป็นสำคญั
โรงเรียนมีการการพฒั นาบคุ ลากร โดยการอบรมเชิงปฏิบัติการในหลายๆด้าน โดยเฉพาะการ
ออกแบบหน่วยการเรียนรู้และมีการนิเทศการจัดการเรียนรู้โดยผู้เชีย่ วชาญ จึงทำให้ครูมีความกระตือรือร้นใน
การพฒั นากระบวนการจัดการเรียนรู้อยา่ งสม่ำเสมอ มกี ารตดิ ตาม ประเมินผลเพ่ือผสู้ อนนำผลมาปรับปรุงและ
พัฒนา จึงทำให้ผู้สอนมีแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยกระบวนการเรียนรู้แบบ Active
Learning เพื่อการนำไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบปฏิบัติและนำไปใช้ใน
ชีวิตประจำวนั ไดอ้ ย่างถูกต้องและเหมาะสมคณะครูไดจ้ ดั กจิ กรรมการเรียนการสอนแบบออนไลน์ นำเทคโนโลยี
มาใช้ประกอบกับการศึกษาอย่างเกิดประโยชน์สูงสุด โดยจัดการเรียนการสอน ผ่าน Google Meet จัดทำสื่อ
วีดีโอออนไลน์ จัดทำใบงานทั้งแบบ On hand และ Online อีกทั้งมีรายงานสรุปผลการจัดการเรยี นรู้ผ่านทาง
ช่องทางออนไลน์ มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากร ทั้งด้านความรู้
ความสามารถและทักษะตามมาตรฐานประกอบด้วย การพัฒนาครูตามมาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะ
ได้แก่ ส่งเสริมให้ครแู ละบุคลากรได้พัฒนาวิชาชพี การทำวิทยฐานะในระดับต่างๆ การจัดทำแผนพัฒนาตนเองของครู
และบุคลากรทางการศึกษา (ID PLAN) ครูสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
ติดตามการอบรมพัฒนาครูและบุคลากรด้วยการจัดกิจกรรมส่งเสริมศักยภาพบุคลากรทางการศึกษา ( Quality
Teacher For Quality Edu) เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในเทคนิควิธีการ รูปแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่
สอดคลอ้ งกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564 สงั กัด สพป.สรุ นิ ทร์ เขต 1
การจดั การศกึ ษาเรยี นรวม
การพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษาเรยี นรวมตามแนวทางการประเมินคุณภา
1. จำนวนนักเรียนพกิ ารเรยี นรวม จำแนกตามระดับชั้นและประเภทความพ
1.1 จำนวนนกั เรยี นพกิ ารเรียนรวม จำแนกตามระดับช้นั และประเภทค
จำนวน
ระดบั ชนั้ นกั เรียน รวม บกพร่อง บกพร่องทาง บกพรอ่ งทาง บกพร
ท้งั หมด (คน)
(คน) ทาง การไดย้ ิน สติปญั ญา หรอื
การเห็น การ
ชาย หญงิ ชาย หญงิ ชาย หญิง ชาย หญงิ ชาย
กอ่ นประถม 13 11 14 - - - - - - -
ป.1 7 8 15 - - - - - - -
ป.2 9 5 14 - - - - - - -
ป.3 8 10 18 - - - - - - -
ป.4 12 9 21 - - - - - - -
ป.5 12 9 21 - - - - - - -
ป.6 13 8 21 - - - - - - -
ม.1 10 7 17 - - - - - - -
ม.2 9 5 14 - - - - - - -
ม.3 12 4 16 - - - - - - -
ม.4
ม.5
ม.6
รวมทงั้ สิ้น 105 76 181 - - - - - - -
ราย
๓๑
าพตามมาตรฐานเรียนรวม เพอื่ การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564
พกิ าร
ความพิการ ปีการศกึ ษา 2564
ประเภทความพิการ
รอ่ งทางรา่ งกาย บกพรอ่ งทาง บกพรอ่ งทาง บกพรอ่ งทาง บคุ คล บคุ คล รวม
ออทสิ ติก พิการซอ้ น ทงั้ ส้นิ
อสขุ ภาพหรอื การเรยี นรู้ การพดู และ พฤตกิ รรม
(คน)
รเคลือ่ นไหว ภาษา และอารมณ์
ย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง
- ---------- -
- ---------- -
- 41 - - - - - - - - 5
- 62 - - - - - - - - 8
- 41 - - - - - - - - 5
- 50 - - - - - - - - 5
- 33 - - - - - - - - 6
- 70 - - - - - - - - 7
- 40 - - - - - - - - 4
- 40 - - - - - - - - 4
- 38 6 - - - - - - - - 44
ยงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 สังกัด สพป.สุรนิ ทร์ เขต 1
๓๒
1.2 จำนวนนกั เรียนพกิ ารท่ไี ดบ้ ริการทางการจัดการศึกษาแบบเรยี นรวม
รายการ จำนวนนักเรียน คดิ เป็นร้อยละ
(คน)
1.2.1 นักเรยี นพิการเรียนรวมทั้งหมดในสถานศกึ ษา 44 24.30
1.2.2 นักเรียนพิการเรียนรวมท่ไี ด้จดั ทำแผนการจดั 44 100.00
การศกึ ษาเฉพาะบุคคล (IEP)
1.2.3 นักเรียนพิการเรียนรวมท่ไี ดจ้ ัดทำแผนการสอน 44 100.00
เฉพาะบคุ คล (IIP)
1.2.4 นักเรียนทม่ี ีผลการประเมินผา่ นจดุ ประสงค์ตาม 42 95.45
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
1.2.5 นกั เรียนท่ีมีผลการประเมนิ ไม่ผา่ นจุดประสงค์ตาม 2 4.54
แผนการจัดการศกึ ษาเฉพาะบุคคล (IEP)
2. ผลการพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาเรยี นรวมในรอบปขี องสถานศกึ ษา
ในรอบปีการศึกษา 2564 โรงเรียนมกี ารดำเนินงานตามแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาเรยี นรวมจน
บรรลคุ วามสำเร็จตามมาตรฐานการจดั การศึกษาเรียนรวม ดงั นี้
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสมั ฤทธท์ิ างวชิ าการของผเู้ รียน
โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย ผลสำเรจ็ สนอง
(เชิงปริมาณ (เชงิ ปริมาณและคุณภาพ) มาตรฐาน/
และคณุ ภาพ ตัวบง่ ช้ี
โครงการพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทาง ครแู ละนกั เรียน 1. ผู้เรียนมคี วามสามารถในการ ขอ้ ท่ี 1
วชิ าการของผูเ้ รียน ทุกคน อา่ น เขียน การสื่อสาร และการ ขอ้ ที่ 2
- โครงการห้องสมุดมีชีวติ คิดคำนวณ ข้อที่ 7
- กจิ กรรมประเมินผลการเรียน 2. ผ้เู รียนมีความสามารถในการ
- กิจกรรมระดบั ยกผลสัมฤทธ์ิ คิด วิเคราะห์ คดิ วิจารณญาณ
ทางการเรียน อภิปรายและเปลี่ยนความคิดเห็น
- กจิ กรรมผลติ สอื่ การเรยี นการสอน 3. ผเู้ รียนมีความสามารถในการ
- โครงการยกระดับงานวชิ าการสู่ สรา้ งนวัตกรรม
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนรู้ 4. ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการ
- โครงการวดั และประเมนิ ผล ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการ
ส่อื สาร
5. ผู้เรยี นมผี ลสัมฤทธท์ิ างการ
เรียนตามหลักสตู รสถานศึกษา
6. ผู้เรียนมีความรู้ ทกั ษะพื้นฐาน
และเจตคติทด่ี ีต่องานอาชีพ
7. ผูเ้ รยี นมสี ุขนิสยั ในการดแู ล
สขุ ภาพและออกกำลงั กาย
สม่ำเสมอ
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 สงั กัด สพป.สุรินทร์ เขต 1
๓๓
โครงการ/กจิ กรรม เป้าหมาย ผลสำเรจ็ สนอง
(เชงิ ปริมาณ (เชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ) มาตรฐาน/
โครงการพฒั นาคุณลกั ษณะท่พี ึง และคุณภาพ ตวั บ่งชี้
ประสงคข์ องผู้เรยี น 8. ผ้เู รียนมีน้ำหนัก สว่ นสงู และมี
- กิจกรรมสง่ เสริมการยอมรบั ทจ่ี ะอยู่ สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
ร่วมกันในสังคม มาตรฐาน
- กิจกรรมสภานักเรยี น 9. ผ้เู รียนปอ้ งกนั ตนเองจากส่ิง
- กจิ กรรมเขา้ ค่ายลูกเสือ- เนตรนารี เสพติดให้โทษและหลีกเลยี่ ง
- กิจกรรมปฐมนเิ ทศ ตนเองจากสภาวะท่ีเส่ียงต่อความ
- กิจกรรมปจั ฉิมนเิ ทศ รุนแรง โรคภยั อุบตั เิ หตุและ
- กิจกรรมส่งเสริมทักษะดา้ นดนตรี ปญั หาทางเพศ
- กิจกรรมสง่ เสริมทักษะด้านกีฬา 10. ผู้เรียนเห็นคณุ คา่ ในตนเอง มี
กจิ กรรมสง่ เสริมคา่ นิยมความภูมิใจ ความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่าง
ในท้องถ่ินและความเปน็ ไทย เหมาะสม
- โครงการสง่ เสรมิ คุณธรรมจริยธรรม 11. ผเู้ รยี นมีมนษุ ยสัมพันธ์ท่ีดี
- วันสำคัญของไทยและวันสำคัญทาง และให้เกยี รตผิ ู้อน่ื
ศาสนา 12. ผู้เรยี นสรา้ งผลงานจากการ
- โครงการออมทรัพยน์ กั เรยี น เข้ารว่ มกจิ กรรมดา้ นศลิ ปะ ดนตรี
- โครงการเศรษฐกิจพอเพยี ง นันทนาการ นาฏศิลป์ กีฬาตาม
- โครงการลกู เสอื จิตอาสา จนิ ตนาการ
พระราชทาน
กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นใหเ้ กดิ
ความสมั พันธท์ ดี่ กี บั ชุมชนและ
ทอ้ งถ่ิน
- ประชุมผู้ปกครอง
- เยย่ี มบ้านนักเรยี น
- จดหมายขา่ ว
- ทัศนศึกษา
- ลดเวลาเรียนเพิม่ เวลารู้
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศึกษา 2564 สังกัด สพป.สรุ นิ ทร์ เขต 1
๓๔
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
โครงการ/กิจกรรม เปา้ หมาย ผลสำเรจ็ สนอง
(เชงิ ปริมาณ (เชงิ ปริมาณและคุณภาพ) มาตรฐาน/
และคุณภาพ ตัวบ่งชี้
โครงการพัฒนากระบวนการบรหิ าร ครูและนักเรียน 1. สถานศึกษามีเป้าหมาย ข้อที่ 1
และการจดั การของสถานศกึ ษา ทกุ คน วิสัยทศั น์ พันธกจิ ท่ีชัดเจน ขอ้ ที่ 6
1. กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพการจดั สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของ
การศกึ ษา สถานศกึ ษา
- ปรับปรุงแผนพฒั นาสถานศึกษา 2. สถานศึกษามีระบบบรหิ าร
- ปรบั ปรุงมาตรฐานสถานศึกษา จัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษาที่
- จัดทำปฏทิ นิ ปฏบิ ตั ิงานประจำปี ชัดเจน มีประสิทธภิ าพ และ
- แผนปฏิบัติการ สามารถตรวจสอบได้
- คำสั่งแต่งต้งั บคุ ลากรเขา้ ปฏบิ ัติ 3. สถานศกึ ษามีการสนบั สนุนการ
หน้าที่ จดั การศกึ ษาด้านวิชาการให้มี
- เยยี่ มชั้นเรียน คุณภาพรอบดา้ น
- พฒั นาบคุ ลากร 4. สถานศกึ ษาสถานศึกษามีการ
- ขวัญและกำลงั ใจบุคลากร พัฒนาครูและบุคลากรให้มคี วาม
- พัฒนาเทคโนโลยีและการส่ือสาร เช่ียวชาญทางวิชาชพี และมขี วัญ
- โรงเรียนสวยด้วยมือเรา กำลังใจในการทำงาน
- ประกันคณุ ภาพภายใน 5. สถานศกึ ษามีสภาพแวดล้อมท่ี
- นิเทศภายใน ปลอดภัยและเอือ้ ต่อการเรียนรู้
- ปรับปรุง ICT 6. สถานศกึ ษามเี ทคโนโลยี
2. กิจกรรมประเมินผลการจดั สารสนเทศในการบริหารจดั การ
การศกึ ษา และการจัดการเรียนรู้
7. สถานศกึ ษามีการกำกบั ติดตาม
โครงการสนับสนุนการดำเนนิ งาน ประเมนิ ผลการจดั การบริหารและ
ของสถานศกึ ษาอย่างมีคุณภาพ การจดั การศกึ ษา
1. กิจกรรมสนับสนุนการดำเนินงาน 8. สถานศึกษามีการบรหิ าร
ของสถานศกึ ษาอย่างมีคุณภาพ จดั การใหน้ ักเรยี นผู้ปกครองชมุ ชน
- โครงการเรยี นฟรี 15 ปี อย่างมี พงึ พอใจในการบรหิ ารจดั
คุณภาพ การศกึ ษา
- โครงการอาหารกลางวัน
2. กิจกรรมประชุมกรรมการบริหาร
โรงเรยี นและกรรมการทง้ั 4 ฝา่ ย
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 สงั กัด สพป.สุรนิ ทร์ เขต 1
๓๕
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั
โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย ผลสำเรจ็ สนอง
(เชิงปริมาณ (เชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ) มาตรฐาน/
และคณุ ภาพ ตวั บ่งช้ี
โครงการสง่ เสรมิ การจดั การเรยี น นกั เรียนทกุ คน 1. ผเู้ รยี นมีการจัดการเรียนรู้ผ่าน ขอ้ ที่ 1
ข้อที่ 2
การสอนทีย่ ดึ โยงบริบทของชุมชน กระบวนการคิดและการปฏิบัติ ข้อที่ 3
และเน้นผู้เรยี นเปน็ สำคัญ จริงและสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้
- กิจกรรมสัปดาห์วันสำคญั ทาง ในชีวติ ได้
วชิ าการ 2. ผเู้ รยี นใชส้ ่ือเทคโนโลยี
- กจิ กรรมส่งเสริมการแขง่ ขนั ทักษะ สารสนเทศและแหล่งเรยี นรู้ที่เอื้อ
วชิ าการ ตอ่ การเรยี นรู้
- กจิ กรรมนิเทศการสอน 3. มกี ารบรหิ ารจดั การชั้นเรียน
- กิจกรรมสง่ เสริมนกั เรียนทม่ี ีปญั หา เชงิ บวก
เรยี นร่วม 4. ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียน
อยา่ งเป็นระบบและนำผลมา
พฒั นาผ้เู รยี น
5. ผู้เรยี นมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
และให้ข้อมลู สะท้อนกลับเพื่อ
พฒั นาและปรบั ปรงุ การจัดการ
สรุปผลการดำเนนิ งาน เพื่อพัฒนาคณุ ภาพการจดั การเรียนรวมตามมาตรฐาน ดงั น้ี
มาตรฐาน/ตัวบ่งช้ี ระดับคณุ ภาพ แปลผล
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก ดเี ย่ยี ม
1. ผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผู้เรียน 3 ดี
ดี
2. คุณลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผู้เรยี น 4 ดี
ดเี ยี่ยม
รวมคะแนนเฉล่ยี มาตรฐาน 7/2 =3.50 ดี
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารจัดการของผูบ้ รหิ าร ดี
สถานศกึ ษา
1. การมเี ปา้ หมาย วสิ ยั ทศั น์และพันธกิจท่ีสถานศึกษากำหนดชัดเจน 3
และครอบคลุมผ้เู รยี นทุกกลุ่มเป้าหมาย
2. การวางแผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา 3
3. การมสี ว่ นร่วมของผู้เกย่ี วข้องทุกฝา่ ยและการร่วมรบั ผิดชอบตอ่ ผล 3
การจัดการศึกษาทกุ กลุ่มเป้าหมายใหม้ คี ุณภาพและไดม้ าตรฐาน
4. การนเิ ทศ กำกับ ตดิ ตาม ประเมินผลการบรหิ ารและการจัด 4
การศึกษา
รวมคะแนนเฉลี่ยมาตรฐาน 13/4 =3.25
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผเู้ รยี นเป็น
สำคญั
1. การมกี ระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ 3
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 สงั กัด สพป.สุรนิ ทร์ เขต 1
๓๖
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ ระดบั คุณภาพ แปลผล
3 ดี
2. การจดั การเรยี นการสอนทยี่ ดึ โยงกบั บรบิ ทของชมุ ชนและท้องถน่ิ 3 ดี
3. การจดั การเรียนการสอนให้สอดคล้องเหมาะสมกับความต้องการ 3 ดี
ของผูเ้ รียนทุกกล่มุ เป้าหมาย
12/4=3.25 ดี
4. การตรวจสอบและประเมินความรู้ความเข้าใจของผ้เู รียนเป็น
ระบบและมปี ระสิทธิภาพ
รวมคะแนนเฉล่ยี มาตรฐาน
เกณฑก์ ารให้คะแนน/ระดบั คณุ ภาพตามคา่ น้ำหนกั ของมาตรฐาน
1. เกณฑ์การจัดสินคุณภาพของมาตรฐานมี 4 ระดบั ดังน้ี
ระดับ 4 = ดีเยยี่ ม
ระดับ 3 = ดี
ระดบั 2 = พอใช้
ระดบั 1 = ปรบั ปรุง
2. การคำนวณคะแนนรายตวั บ่งชี้ มขี น้ั ตอนการคำนวณ ดังนี้
2.1 รวบรวมข้อมูลของแตล่ ะตัวบ่งชี้ทีไ่ ดร้ ะดับคุณภาพ...........ขึน้ ไป เพ่ือหาคา่ ร้อยละของตัวบ่งชนี้ ้นั
โดยใช้สตู ร ดงั น้ี
คะแนนของตวั บ่งช้ี = (ผลรวมระดับคณุ ภาพทง้ั หมด)
จำนวนทัง้ หมด
2.2 นำค่าคะแนนท่ีได้จากข้อ 1 มาเทียบกับเกณฑค์ ุณภาพ เพื่อสรุปคุณภาพของตวั บ่งชี้ โดยมเี กณฑ์
ดงั นี้
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผ้เู รยี น
คะแนนทค่ี ำนวณได้ ระดบั คุณภาพ แปลผล
3.26 – 4.00 4 ดีเยี่ยม
2.51 – 3.25 3 ดี
1.76 – 2.50 2 พอใช้
1.00 – 1.75 1 ปรบั ปรุง
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารจัดการของผู้บริหารสถานศกึ ษา
คะแนนทค่ี ำนวณได้ ระดบั คณุ ภาพ แปลผล
3.26 – 4.00 4 ดีเยี่ยม
2.51 – 3.25 3 ดี
1.76 – 2.50 2 พอใช้
1.00 – 1.75 1 ปรบั ปรงุ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั
คะแนนทีค่ ำนวณได้ ระดับคุณภาพ แปลผล
3.26 – 4.00 4 ดีเย่ยี ม
2.51 – 3.25 3 ดี
1.76 – 2.50 2 พอใช้
1.00 – 1.75 1 ปรบั ปรุง
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศกึ ษา 2564 สังกดั สพป.สุรนิ ทร์ เขต 1
๓๗
สว่ นที่ 3
สรปุ ผลการประเมินและแนวทางการพฒั นา
โรงเรียนบ้านตะกุย(ค้ำคูณบำรุง) สรุปผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ตามมาตรฐาน
สถานศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย และระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน การประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเป็น
ข้อมูลสารสนเทศสำคัญที่สถานศึกษาจะต้องนำไปวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อสรุปนำไปสู่การเชื่อมโยงหรือ
สะท้อนภาพความสำเร็จกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา (3 – 5 ปี) และนำไปใช้ในการ
วางแผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ดังน้นั จากผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา สามารถสรปุ ผล
การประเมินในภาพรวมของจุดเด่น จุดควรพัฒนาของแต่ละมาตรฐาน พร้อมทั้งแนวทางการพัฒนาเพื่อใ ห้ได้
มาตรฐานที่สงู ขึ้น ดงั นี้
ระดบั การศกึ ษาปฐมวัย
ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ระดับปฐมวยั ปีการศึกษา 2564
มาตรฐานระดบั ปฐมวัย ระดับคุณภาพ
มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเด็ก ยอดเยี่ยม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดีเลศิ
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณ ทเี่ น้นเด็กเป็นสำคัญ ดีเลิศ
สรปุ ผลการประเมิน ดีเลศิ
สรุปผล ดังนี้
จดุ เดน่ จุดควรพัฒนา
คณุ ภาพของเดก็ คุณภาพของเด็ก
เดก็ มีร่างกายเตบิ โตตามวยั มีนำ้ หนักส่วนสงู ตาม การทำกิจกรรมเสรมิ สตปิ ญั ญาให้เหมาะสมตาม
เกณฑ์ มีทกั ษะการเคล่ือนไหวตามวัย สามารถดูแล
สขุ ภาพและหลีกเล่ียงตอ่ สภาวะทเ่ี สย่ี งตอ่ อุบตั เิ หตุ วัย ดา้ นการมคี วามคดิ รวบยอด การแก้ปัญหา
ภยั และสิ่งเสพติด มีคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม ที่ ท่ีเกิดจากการอ่าน การยืนตรงเมอ่ื ไดย้ ินเพลง
พึงประสงค์ มีจติ สำนกึ ในการอนรุ ักษ์และพฒั นา ชาติ การเลน่ กบั ผ้อู ื่นโดยปราศจากการใช้ความ
สิ่งแวดลอ้ ม ทำงานร่วมกบั ผู้อื่นไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ มี รนุ แรง เพือ่ พฒั นาใหเ้ ด็กเปน็ ไปตาม
อารมณ์แจ่มใส ร่าเริง สนุกสนาน รว่ มกจิ กรรมอยู่ใน วตั ถปุ ระสงค์ จงึ จัดกจิ กรรมสนบั สนนุ ให้เด็กมี
สงั คมได้อย่างมคี วามสขุ มสี ติปญั ญาเรียนรไู้ ดต้ าม ความคิดรวบยอดเกยี่ วกบั ส่งิ ต่างๆ ท่เี กดิ จาก
กิจกรรมประจำวันอยา่ งดี ประสบการณ์การเรยี นรู้
กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
กระบวนการบริหารและการจดั การ
โรงเรยี นบา้ นตะกยุ (ค้ำคูณบำรุง)มีการจดั ครูที่ สง่ เสรมิ ใหค้ รมู ีความเชยี่ วชาญด้านการจดั
ประสบการณ์
เพยี งพอต่อช้นั เรยี น มีการจัดสภาพแวดลอ้ มและสื่อ
เพ่ือการเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภัย และพอเพียง การจดั ประสบการณท์ ี่เนน้ เด็กเปน็ สำคญั
จัดอปุ กรณส์ ือ่ การเรยี นการสอนท่หี ลากหลาย
การจดั ประสบการณ์ทีเ่ น้นเด็กเป็นสำคัญ พัฒนาเครื่องเลน่ สนามและระบบสาธารณูปโภค
เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย เดก็ เรยี นรูจ้ ากการ
เรียนปนเลน่ และลงมือปฏบิ ตั ิจริง มีบรรยากาศ
สภาพห้องเรียนท่ีเอ้ือต่อการเรยี นรู้ ประเมินผลเด็ก
ดว้ ยวิธกี ารหลากหลาย
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564 สังกัด สพป.สรุ นิ ทร์ เขต 1
๓๘
แผนพฒั นาเพื่อใหไ้ ด้มาตรฐานทสี่ ูงข้นึ
1. มีการจัดกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ีพ่ ัฒนาความคดิ รวบยอดของเดก็ ปฐมวัย
2. ส่งเสรมิ ใหค้ รไู ดเ้ ข้าร่วมอบรมเพ่ือพัฒนาการจัดประสบการณ์
ระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน ปีการศกึ ษา 2564 สรปุ ผล ดงั น้ี
มาตรฐานระดบั ปฐมวัย ระดบั คณุ ภาพ
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรยี น ดีเลิศ
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ดเี ลิศ
มาตรฐานที่ 3 การจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ ดีเลศิ
สรุปผลการประเมนิ ดีเลศิ
จดุ เดน่ จุดควรพัฒนา
คุณภาพของผเู้ รียน
คุณภาพของผเู้ รียน ๑. สง่ เสรมิ การจดั การเรยี นการสอนแบบโครงงาน
1. ผ้เู รียนได้รบั การสง่ เสริมทักษะในการทำงานและ เพือ่ พฒั นาทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ ได้ทดลอง
การประกอบอาชีพ และพสิ จู น์ส่งิ ต่างๆดว้ ยตนเอง
2. ผู้เรยี นได้รบั การส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม 2. สง่ เสรมิ การเรยี นร้นู อกสถานที่ ให้นักเรยี นไดใ้ ช้
คุณลกั ษณะและค่านยิ มที่ดี
3. ผ้เู รียนมีความสามารถในการอา่ น เขียน ส่ือสาร ประสบการณ์จริงในการเรยี นรู้
และคิดคำนวณไดต้ ามเกณฑ์ในแตล่ ะระดับชัน้
กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
1. สถานศึกษามีเป้าหมายวิสัยทัศนแ์ ละพันธกิจท่ี 1. จัดทำและใหบ้ รหิ ารข้อมลู สารสนเทศทเ่ี ป็นระบบ
กำหนดไว้อย่างชัดเจน และมุ่งพฒั นาวชิ าการท่ีเน้น แกผ่ ้ตู อ้ งการใชข้ ้อมูลทุกฝา่ ย บุคลากรทุกคนสามารถ
คณุ ภาพผเู้ รยี นรอบดา้ นตามหลกั สูตรสถานศึกษา เข้าถงึ ข้อมูลไดส้ ะดวกรวดเรว็ เปน็ ปัจจุบนั
2. สถานศึกษามีการตรวจสอบ ซอ่ มแซม และ
ปรบั ปรงุ บรรยากาศภายในสถานศึกษาอยา่ งตอ่ เนื่อง การจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคญั
ส่งผลตอ่ สขุ ภาพกายและสุขภาพจิตของผู้เรียน ๑) สถานศกึ ษาควรส่งเสรมิ และพัฒนาครูเพ่ือผลิตสอ่ื
การจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญ พฒั นาสอื่ นวัตกรรมการเรยี นการสอน รวมท้ัง
1) สถานศึกษาส่งเสริมและพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ ประเมินคุณภาพส่ือฯ เพื่อเลือกใช้ประกอบการเรียน
ของครผู สู้ อนทุกกระบวนการ และมีการให้ผล การสอน
สะทอ้ นกลับ ทำให้การจัดการเรยี นรู้มปี ระสิทธิภาพ ๒) การบริหารจดั การชัน้ เรียนเชงิ บวกอาจ
2) สถานศกึ ษาใชก้ ระบวนการ PLC ในกล่มุ สาระ จำเปน็ ต้องมีการใช้เทคนิคท่ีแปลกใหม่ เพ่ือใหผ้ ูเ้ รียน
การเรียนรแู้ ละระดบั ชว่ งชัน้ อยา่ งสม่ำเสมอ เพ่ือ เขา้ ถึง มีความอยากรู้ อยากเรียนและมคี วามสุขใน
ทราบปัญหาเกยี่ วกบั การจัดการเรียนรูแ้ ละ การเรียนรมู้ ากขน้ึ เชน่ การใช้สมารท์ โฟน หรอื
ดำเนินการแก้ไขรว่ มกัน เทคโนโลยใี หม่ๆ เปน็ ตน้
รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 สงั กัด สพป.สุรินทร์ เขต 1
๓๙
แผนพฒั นาเพือ่ ให้ไดม้ าตรฐานที่สูงขึน้
1. ควรมีการพฒั นาความสามารถในการคิดคำนวณ คิดวเิ คราะห์ ใหก้ ับผู้เรยี นอย่างจริงจังและต่อเนอื่ ง
2. จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ ทักษะการคิด วเิ คราะห์ในรูปแบบกิจกรรมคา่ ยหรือลักษณะอนื่ ๆทเี่ หมาะสม
3. ส่งเสรมิ การใช้สื่อเทคโนโลยที ่ีทนั สมยั ใหน้ ักเรียนเพื่อสอดคลอ้ งกบั แนวทางการพฒั นาผเู้ รยี นใน
ศตวรรษท่ี 21
4. จดั หาระบบ/ซอฟแวร์ท่ีเหมาะสมและมปี ระสิทธิภาพในการจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศที่สำคญั ของ
โรงเรยี น เพอ่ื ใหม้ ีความถูกต้องแม่นยำ และเช่ือถือได้ มหี ลักฐาน รอ่ งรอย ครแู ละบุคลากรทุกคนสว่ นรว่ มในการ
ตรวจสอบขอ้ มูลใหถ้ กู ตอ้ ง เพื่อให้เกดิ ความคล่องตัวและรวดเรว็ ในการส่ือสาร
5. ส่งเสริมการพฒั นาทักษะความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพือ่ สง่ เสริมการเรียนรูข้ องนกั เรียนที่เนน้
ทกั ษะการคิดคำนวณแบบพ้นื ฐานของจรยิ ธรรมและความรับผิดชอบ
6. ควรนำภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ ใหเ้ ข้ามามีสว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมให้นักเรยี นไดเ้ รียนรมู้ ากขนึ้
การพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษาเรยี นรวม สรปุ ผล ดงั น้ี
จุดเด่น จดุ ควรพฒั นา
คณุ ภาพของผูเ้ รียน คณุ ภาพของผูเ้ รยี น
1. มพี ฒั นาการตามศักยภาพของแตล่ ะบุคคลที่ ส่งเสริมให้ครูผู้สอน เข้ารับการอบรมการจัดเรียนรู้
แสดงออกถึงความรู้ ความสามารถทักษะตามทีร่ ะบุ เพื่อปรับใช้กับการเรียนการสอนให้เหมาะสำหรับ
ไว้ในแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล นักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ เพื่อให้
2. ผูเ้ รียนมคี วามสามารถในการอา่ นเขียนและการ ผู้เรยี นอย่างเต็มศักยภาพไปพร้อมๆกบั ผู้เรียนอื่นๆใน
คดิ คำนวณตามแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล วัยเดยี วกัน
ตามท่สี ถานศกึ ษากำหนด
3. มกี ารส่งเสริมกิจกรรมทางด้านดนตรแี ละกีฬา
ให้กับนกั เรยี นเรยี นร่วม
กระบวนการบริหารและการจัดการ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
ผู้บริหารเป็นผู้นำที่เข้าใจหลักการศึกษาขั้นพื้นฐาน สร้างเครอื ข่ายความรว่ มมือของผู้มีส่วนเกีย่ วข้องใน
วสิ ยั ทศั น์ ภาวะผ้นู ำ เหน็ ความสำคัญของการพัฒนา การจดั การศกึ ษาของโรงเรียนให้มคี วามเขม้ แข็ง
เด็ก และมีหลักการบริหารที่มีส่วนร่วมทั้งด้าน
วิชาการ และการจัดการได้บรรลุเป้าหมายตาม
แผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ให้บุคลากรได้
พ ั ฒ น า ศ ั ก ย ภ า พ เ ต ็ ม ค ว า ม ส า ม า ร ถ แ ล ะ มี
ประสทิ ธภิ าพ
การจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ การจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผเู้ รียนเปน็ สำคญั
โรงเรยี นบ้านตะกุย(คำ้ คูณบำรงุ ) มีวธิ กี ารพฒั นา ส่งเสริมให้ครูนำกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนไปใช้ใน
ผเู้ รียนทีห่ ลากหลาย รวมถงึ การวดั ผลประเมินผลที่ การพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาคุณภาพ
เหมาะสมกับเปา้ หมายและจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม ผู้เรียนให้สามารถพัฒนาได้เต็มตามศักยภาพอย่าง
ตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล รวมถึงการ ต่อเน่อื ง
สรปุ และรายงานผลการพัฒนาผูเ้ รยี น เพอ่ื เข้าสู่
ระบบจดั ชว่ งเชือ่ มต่อได้เป็นอยา่ งดี
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment Report : SAR) ปีการศกึ ษา 2564 สงั กดั สพป.สุรนิ ทร์ เขต 1
๔๐
แผนพฒั นาเพอ่ื ใหไ้ ดม้ าตรฐานท่ีสงู ขึน้
1. พัฒนาให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดจำแนก แยกแยก ใคร่ครวญ พิจารณาอย่าง
รอบคอบ โดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหาอย่างมี
เหตผุ ล
2. ส่งเสริมให้มีการทำวิจัยเพื่อพัฒนาโดยเน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกฝ่าย เพื่อนำ
ผลการวจิ ัยมาเป็นฐานการพฒั นาการบรหิ ารงานในองค์กร และการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาอย่างต่อเน่อื ง
3. พัฒนาหลักสูตรการอบรม ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้อง และจัดให้มีการอบรมเกี่ยวกับการจัด
การศึกษาสำหรบั นักเรียนที่มคี วามบกพร่องทางการเรียนรู้อยา่ งเปน็ ระบบและมีประสิทธภิ าพ
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment Report : SAR) ปกี ารศึกษา 2564 สงั กัด สพป.สรุ นิ ทร์ เขต 1