The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ounging.1445, 2021-10-18 03:06:13

e-book นางสาวภัทรวดี อุ่นเสียม

2

ANATOMY

นางสาวภัทรวดี อุ่นเสียม เลขที่ 12

6417701001058

คำ นำ (PREFACE)

E-BOOK เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชากายวิภาคศาสตร์ (ANATOMY)
โ ด ย มี จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ เ พื่ อ ใ ห้ นั ก ศึ ก ษ า ไ ด้ ฝึ ก ก า ร ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า แ ล ะ ส รุ ป เ นื้ อ ห า
ส า ร ะ สำ คั ญ ที่ ไ ด้ จ า ก ก า ร เ รี ย น ใ น ชั้ น เ รี ย น ม า ส ร้ า ง เ ป็ ฯ ชิ้ น ง า น เ พื่ อ เ ป็ น
ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ก า ร เ รี ย น ข อ ง ต น เ อ ง แ ล ะ ค น อืื่ น ๆ ต่ อ ไ ป
ผู้ จั ด ไ ด้ ร ว บ ร ว ม เ นื้ อ ห า ม า จ า ก ห นั ง สื อ แ บ บ เ รี ย น จ า ก ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น แ ล ะ
ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ขอขอบพระคุณอาจารย์เป็นอย่างสูงที่ได้ให้คำแนะนำ
เพื่อนำไปแก้ไขจุดบกพร่องตลอดการทำงาน ผู้จัดทำหวังว่า E-BOOK เล่นนี้
จะมีประโยชน์ต่อผู้ที่นำไปศึกษาหาความรู้ หากมีข้อผิดพลาดประการใด ผู้
จัดทำขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย

ผู้ จั ด ทำ
นางสาวภัทรวดี อุ่นเสียม

ส า ร บั ญ ห น้ า

เรื่อง ( CONTENTS) 1-18
19-30
Cell structure and skin โครงสร้างเซลล์และผิวหนัง 31-35
Female reproductive system ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง 36-40
Endocrine system ระบบต่อมไร้ท่อ 41-46
47-52
Skeletal system ระบบกระดูก 53-28
Muscle system ระบบกล้ามเนื้อ
Digestive system ระบบทางเดินอาหาร 59-63
64-68
Male unitary system reproductive system 69-76
ระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบสืบพันธ์ุเพศชาย
Nervous system ระบบประสาท

Cardiovascular system ระบบไหลเวียนโลหิต
Respirayory system ระบบทางเดินหายใจ

CELL 1

คือหน่วยที่เล็กที่สุด ของสิ่งมีชีวิต
คือ หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดตั้งแต่มนุษย์ พืช สัตว์ สาหร่าย รา แบคทีเรีย
ร ว ม ทั้ ง จุ ลิ น ท รี ย์ ต่ า ง ๆ
เซลล์ส่วนใหญ่ จะมีขนาดเล็กมาก มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น




เ ซ ล ล์ สั ต ว์ เ ซ ล ล์ พื ช

STRUCTURE OF CELL

ทุกเซลล์จะมีโครงสร้างพื้นฐาน 3 อย่างเหมือนกัน

เยื่อหุ้มเซลล์ (CELL MEMBRANE/PLASMA MEMBRANE)
ไซโตพลาสซึม (CYTOPLASM) ภายในยังมีโครงสร้างพื้นฐานขนาด
เล็กที่ทำให้เซลล์สามารถดำรงชีวิต เรียกว่า ออร์แกลเนลล์
(ORGENELLE)
นิวเคลียส (NUCLEUS)

Structure of cell 2

CELL STRUCTURE AND FUNCTION

เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane/Plasma membrane)
เป็นส่วนเสมือนรั้วบ้าน กันเซลล์ออกจากกัน และห่อหุ้มส่วนประกอบใน
เซลล์
ประกอบด้วยสารโปรตีนถึงร้อยละ 70% ส่วนใหญ่จะแทรกตัวอยู่ในชั้นไข
มัน มีรูขนาดเล็กๆ มากมาย

หน้าที่
คัดเลือกสารที่จะผ่านเข้า-ออกจากเซลล์ มีคุณสมบัติเยื่อเลือกผ่าน
(Semipermeable membrane)
รักษาสมดุลของสภาพแวดล้อมภายในเซลล์

3

CELL STRUCTURE AND FUNCTION

ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm)
• ไซโตซอล (cytosol) มีลักษณะเป็นของเหลว คล้ายวุ้น ประกอบด้วยสาร
อินทรีย์ และสารอนินทรีย์รวมถึงสารแขวนลอยต่างๆ เป็นแหล่งของปฏิกิริยา
เคมี
• ออร์แกเนลล์ (organelle) เป็นองค์ประกอบ ของเซลล์ที่มีโครงสร้าง
(Structure) และหน้าที่ (Function) ที่แน่นอน แขวนลอยอยู่ในไซโตซอล

ออร์แกเนลล์ (Organelles) ทำหน้าที่คล้ายกับอวัยวะของเซลล์ เป็นองค์
ประกอบของเซลล์ที่มี โครงสร้างและหน้าที่ที่แน่นอน แขวนลอยอยู่ใน
Cytoplasm ได้แก่
ไมโทคอนเดรีย (mitocondria)
• มีรูปร่างหลายแบบ ขึ้นกับชนิดของเซลล์
• มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น ชั้นนอกเรียบ ชั้นในจะพับทบ ไปมาแล้วยื่นเข้าไปด้านใน หน้าที่
สำคัญคือเป็นแหล่งผลิตพลังงานสูง ให้แก่เซลล์ในรูปของ adenosine
triphosphate (ATP) โดยเปลี่ยนพลังงานในอาหารให้เป็นพลังงานใน รูป ATP ที่
เซลล์สามารถนำไปใช้ได้

4

CELL STRUCTURE AND FUNCTION

ร่างแหเอนโดพลาสซึม (Endoplasmic Reticulum, ER)
Rough Endoplasmic Reticulum, RER
•มีไรโบโซม (Ribosome) เกาะที่ผิวด้านนอกทำให้มีผิวขรุขระ
•มีส่วนที่เชื่อมต่อกับเยื่อหุ้มนิวเคลียส
•ลำเลียงโปรตีนที่สร้างจากไรโบโซม เพื่อส่งออกไปใช้นอก เซลล์
Smooth Endoplasmic Reticulum, SER
•ไม่มีไรโบโซมเกาะ มีผิวเรียบ
•สร้างไขมัน ฮอร์โมน steroid และกำจัดสารพิษในเซลล์ตับ

Golgi complex หรือ Golgi body หรือ Golgi apparatus
• เป็นออร์แกเนลล์ที่ติดต่อกับ ER
• มีลักษณะเป็ นถุงแบนที่มีเยื่อ 2 ชั้น
• ทำหน้าที่เติมองค์ประกอบที่เป็นคาร์โบไฮเดรตและไขมันให้กับโปรตีนที่รับมา
จาก RER เพื่อส่งออกมาภายนอกเซลล์

5

CELL STRUCTURE AND FUNCTION

ไรโบโซม (ribosome) เป็นออร์แกเนลล์ที่มีขนาดเล็กที่สุด
เป็นโครงสร้างเดี่ยว ๆ (Free Ribosome) อยู่เป็นอิสระกระจายทั่วเซลล์
ยังไม่ทำหน้าที่สร้างโปรตีน
กลุ่มไรโบโซม เกาะติดกับสาร mRNA (Free Polyribosome) ทำหน้าที่
สร้างโปรตีนเพื่อใช้เป็น เอนไซม์ในเซลล์
จับกันเป็นสายโพลีไรโบโซม (Poly Ribosome) เกาะติดกับผนังด้านนอก
ของ RER ทำหน้าที่ สังเคราะห์โปรตีนเพื่อส่งออกภายนอกเซลล์

ไลโซโซม (Lysosome)
เป็นถุงขนาดเล็กมีเยื่อชั้นเดียว
ภายในจะบรรจุเอนไซม์ซึ่งย่อยสลายด้วยน้ำ (Hydrolytic Enzyme)
ย่อยออร์แกเนลล์ของเซลล์ที่หมดอายุ
ทำลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่ร่างกาย

เซนทริโอล (Centriole)
ประกอบด้วยหลอดเล็กๆ เรียกว่า microtubule เรียงตัวกันเป็นกลุ่มๆ
ทำหน้าที่สร้างเส้นใยสปินเดิล (Spindle Fiber) เพื่อยึดติดกับโครโมโซม

6

CELL STRUCTURE AND FUNCTION

นิวเคลียส (nucleus) ควบคุมการแสดงลักษณะทางพันธุกรรม การแบ่งตัวของเซลล์และ
ควบคุมการสร้างโปรตีน ประกอบด้วย
– เยื่อหุ้มนิวเคลียส (Nuclear Membrane/Nuclear envelope)
Membrane 2 ชั้น ซึ่งเชื่อมติดกันเป็นช่วงๆ ทำให้เกิดเป็นหลุม (Nuclear Pore) ทำให้มี
การแลกเปลี่ยนสารระหว่างนิวเคลียส กับไซโตพลาสซึม เช่น mRNA rRNA
– นิวคลีโอลัส (Nucleolus)
เป็นเส้นใยซึ่งเป็นโมเลกุลของ DNA ที่ขดตัวเป็นก้อน ทำหน้าที่สังเคราะห์ RNA โดย
DNA
– เส้นใยโครมาติน (Chromatin)
คือ เส้นใย DNA ที่จับอยู่กับ โปรตีน ซึ่งในระยะที่เซลล์แบ่งตัว DNA กับโปรตีนจะรวมตัว
กันแน่นปรากฏให้เห็นเป็นแท่งโครโมโซม (Chromosome) การลำเลียงสารเข้าออกของ
เซลล์(Cell Transportation) การลำเลียงสารแบบไม่ใช้พลังงาน (passive transport

7

ก า ร ลำ เ ลี ย ง ส า ร เ ข้ า อ อ ก ข อ ง เ ซ ล ล์

การลำเลียงสารแบบไม่ใช้พลังงาน (passive transport)
การแพร่ (diffusion)

การแพร่ธรรมดา (Simple diffusion) การกระจายของอนุภาคจากสาร บริเวณที่มีความ
เข้มข้นของสารสูงไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้นของสารต่ำกว่า เช่น การแพร่ของผงด่าง
ทับทิมในน้ำจนทำให้น้ำมีสีม่วงแดงจนทั่ว ภาชนะ การได้กลิ่นผงแป้ง หรือ การได้กลิ่น
น้ำหอม
การแพร่แบบมีตัวพา ( Faciliteated diffusion ) การแพร่ของสารผ่าน โปรตีนตัว
พา(Carrier) การแพร่แบบนี้มีอัตราการแพร่เร็วกว่าการแพร่แบบ ธรรมดามาก เช่น
การลำเลียงสารที่เซลล์ตับและ เซลล์บุผิวลำไส้เล็ก
ออสโมซิส (osmosis) เป็นการแพร่ของเหลวหรือการแพร่ของน้ำผ่านเยื่อ เลือกผ่านโดยน้ำจะ
แพร่จากบริเวณที่มีความหนาแน่นของน้ำมากไปยัง บริเวณที่มีความหนาแน่นของน้ำน้อยกว่า

การลำเลียงโดยใช้พลังงาน (Active Transportation)
สามารถนำสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารต่ำไปสู่บริเวณที่มีความเข้มข้น

ของสารสูงกว่าได้ โดยใช้พลังงานจาก ATP
• การดูดกลับสารที่ท่อของหน่วยไต
• Na+ -K+ pump หรือการขับ Na+ และการรับ K+ของใยประสา

เนื้อเยื่อ (TISSUE) 8

Tissue เป็นกลุ่มของเซลล์ที่มีโครงสร้างและทำหน้าที่เหมือนกันรวมตัวกัน
ประเภทของเนื้อเยื่อ
• เนื้อเยื่อบุผิว (Epithelial tissues)
• เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Connective tissues)
• เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ (Muscle tissues)
• เนื้อเยื่อประสาท (Nervous tissues)

เนื้อเยื่อบุผิว (Epithelial tissues) แบ่งตามลักษณะรูปร่างได้ 3 แบบ
– Squamous epithelium รูปร่างแบนบาง
– Cuboidal epithelium รูปร่างเหมือนลูกบาศก์
– Columnar epithelium รูปร่างสูง มีความสูง มากกว่าความกว้าง แบ่งตามจำนวนชั้น
ของเซลล์
– Simple epithelium เซลล์เรียงกันเป็นชั้นเดียว
– Pseudo stratified epithelium ประกอบด้วยเซลล์ เรียงกันเป็นชั้นเดียวบนเยื่อ
รองรับฐาน แต่มีเพียงบางเซลล์เท่านั้นที่สูงถึงผิวหน้าด้านบน
– Stratified epithelium เซลล์เรียงซ้อนกันหลายชั้น

เนื้อเยื่อ (TISSUE) 9

เนื้อเยื่อบุผิว
ทำหน้าที่ป้องกัน (protection) เช่น เนื้อเยื่อบุผิวที่ปกคลุมร่างกายไม่ให้เชื้อโรค
เข้าสู่ร่างกายและป้องกันการระเหยของน้ำออกสู่ร่างกาย
ทำหน้าที่เกี่ยวกับการดูดซึม (absorbtion) เช่น เนื้อเยื่อบุที่ผิวของลำไส้เล็กทำ
หน้าที่ดูดซึมอาหารเข้าสู่หลอดเลือด
สร้างสารคัดหลั่ง (secretion) เช่น ต่อมต่างๆที่ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน เพื่อ
ควบคุมการทำงานของร่างกาย

เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Connective tissue) เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เป็นเนื้อเยื่อที่พบแทรกอยู่
ทั่วไปใน ร่างกายทำหน้าที่ยึดเหนี่ยวหรือพยุงอวัยวะให้คงรูปอยู่ได้ลักษณะของเนื้อเยื่อ
ชนิดนี้ คือ ตัวเซลล์และเส้นใยกระจายอยู่ในสารระหว่างเซลล์ที่เรียกว่า
เมทริกซ์ (matrix) ซึ่งเส้นใยที่พบ ได้แก่

Collagen fiber มีลักษณะเป็นเส้นเหนียวแข็งแรง อยู่รวมกันเป็นมัดใหญ่
Elastic fiber เป็นเส้นใยที่มีความยืดหยุ่นมาก แตกเป็นแขนงย่อยส่งไปเชื่อมกับ
แขนงของเส้นอื่น
Reticular fiber มีลักษณะคล้ายเส้นใยคอลลาเจน แต่เป็นเส้นบางกว่ากระจาย
อยู่ทั่วไป เส้นใยชนิดนี้จะมองไม่เห็นถ้าย้อมด้วยสีย้อมเนื้อเยื่อทั่วไป ต้องย้อม
ด้วยสี silver stain

เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน 1 0

เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Connective tissue) เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เป็นเนื้อเยื่อที่พบแทรกอยู่
ทั่วไปใน ร่างกายทำหน้าที่ยึดเหนี่ยวหรือพยุงอวัยวะให้คงรูปอยู่ได้ลักษณะของเนื้อเยื่อ
ชนิดนี้ คือ ตัวเซลล์และเส้นใยกระจายอยู่ในสารระหว่างเซลล์ที่เรียกว่า
เมทริกซ์ (matrix) ซึ่งเส้นใยที่พบ ได้แก่

Collagen fiber มีลักษณะเป็นเส้นเหนียวแข็งแรง อยู่รวมกันเป็นมัดใหญ่
Elastic fiber เป็นเส้นใยที่มีความยืดหยุ่นมาก แตกเป็นแขนงย่อยส่งไปเชื่อมกับ
แขนงของเส้นอื่น
Reticular fiber มีลักษณะคล้ายเส้นใยคอลลาเจน แต่เป็นเส้นบางกว่ากระจาย
อยู่ทั่วไป เส้นใยชนิดนี้จะมองไม่เห็นถ้าย้อมด้วยสีย้อมเนื้อเยื่อทั่วไป ต้องย้อม
ด้วยสี silver stain

Connective tissues

เนื้อเยื่อเกี่ยวพันแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่
เนื้อเยื่อเกี่ยวพันสมบูรณ์ (connective tissue proper)
กระดูกอ่อน (cartilage)
กระดูกแข็ง (bone)
เลือด (blood)

เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน 1 1

เนื้อเยื่อเกี่ยวพันสมบูรณ์ (connective tissue proper) ลักษณะเมทริกซ์เป็นเส้นใย
กระจายอยู่แตกต่างกัน ทำให้แบ่งเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดนี้เป็น
2 ประเภท คือ

เนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดแน่นทึบ (dense connective tissue) พบปริมาณเส้นใย
มากอยู่ติดกันแน่นทึบ พบตามเอ็น กล้ามเนื้อ (tendon) และเอ็นยึด (ligament)
ซึ่งเนื้อเยื่อยึดระหว่างกระดูกต้องการความแข็งแรงมาก ประกอบด้วย collagen
fiber เรียงตัวหนาแน่นสีขาว
เนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดโปร่งบาง (loose connective tissue) เนื้อเยื่อนี้เชื่อมหนัง
กับกล้ามเนื้อ หรือเชื่อมกล้ามเนื้อ กับกล้ามเนื้อ matrix อ่อนและเหนียว มี
collagen fiber และ elastic fiber เซลล์ที่พบในเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดนี้ได้แก่
fibroblast, macrophage mast cell, plasma cell, adipose tissue

Connective tissues 1 2

กระดูกอ่อน (cartilage) พบอยู่ตามส่วนของโครงกระดูก โดยเฉพาะบริเวณที่กระดูกมี
การเสียดสีกัน ประกอบด้วยเมทริกซ์ซึ่งมีลักษณะคล้ายวุ้นเซลล์ กระดูกอ่อนเรียกว่า
คอนโดรไซต์ (chondrocyte) มีรูปร่างกลมหรือ รูปไข่ อาจพบ 1-4 เซลล์ เรียงตัวอยู่ใน
ช่องว่างที่ เรียกว่า ลาคูนา (lacuna) กระดูกอ่อน สามารถพบได้ที่ใบหู ฝาปิดกล่องเสียง
(epiglottis) กล่องเสียง (trachea) กระดูกอ่อนกั้นระหว่างกระดูก สันหลัง แต่ละข้อ
(intervertebral disc) เป็นต้น

กระดูก (Bone) ประกอบด้วยเซลล์กระดูกที่เรียกว่า ออสทีโอไซต์(osteocyte) อยู่ใน
ช่องลาคูนา โดยเซลล์ กระดูก จัดเรียงตัวเป็นวงรอบช่อง ฮาเวอร์เชียน (harversian
canal) ที่มีเส้นเลือดนำอาหารมาเลี้ยง เซลล์กระดูกและเรียกลักษณะ การเรียงตัวของ
เซลล์ กระดูกนี้ว่า ระบบฮาร์เวอร์เชียน (harversian system) เซลล์กระดูก ประกอบ
ด้วยแคลเซียมและฟอสเฟต

เซลล์เม็ดเลือด 13
เซลล์เม็ดเลือดแดง (Red Blood Cells, RBCs หรือ Erythrocytes) มีฮีโมโกลบิน
(hemoglobin) ซึ่งเป็นโปรตีนที่อยู่ในเม็ดเลือดแดง และมีคุณสมบัติในการจับกับ
ออกซิเจนเพื่อนำไปเลี้ยงเนื้อเยื่อต่างๆ และลำเลียง คาร์บอนไดออกไซด์กลับมา
ฟอกที่ปอด มีปริมาณมากกว่าเซลล์เม็ดเลือดขาวและเกร็ดเลือด
เลือดของคนมีสีแดง เนื่องจากประกอบด้วยฮีโมโกลบินซึ่งเป็ นรงควัตถุสีแดง
และมีธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบ หากออกซิเจนมาก เลือดก็จะมีสีแดงสด
หากมีออกซิเจนน้อย เลือดก็จะมีสีคล้ำ

เซลล์เม็ดเลือดขาว (white blood cell or leucocyte) ทำหน้าที่ต่อสู้กับเชื้อโรค
โดยทำลายเชื้อโรคที่เข้าสู่ ร่างกาย มี 2 ประเภท คือ พวกที่มีเม็ดแกรนูล
(granule) พิเศษในไซโทพลาสซึม (granulocyte) สามารถย้อมติดสีได้ดี ได้แก่
นิวโทรฟิล (neutrophil) โอซิโนฟิล (eosinophil) และเบโซฟิล (basophil)
พวกที่ไม่มีเม็ด แกรนูลในไซโทพลาสซึม (agranulocyte) ได่แก่
ลิมโฟไซต์ (lymphocyte) และเซลล์โมโนไซต์ (monocyt)

เซลล์เม็ดเลือด
เกล็ดเลือด (Platelets) ทำหน้าที่ช่วยให้เลือดแข็งตัว โดยการปล่อยสารทรอมโบ
พลาสตินซึ่งเป็นเอนไซม์ชนิดหนึ่งออกมา ทรอมโบพลาสตินจะไปกระตุ้นโพรทร
อมบินให้กลายเป็นทรอมบิน ทรอมบินกระตุ้น ไฟบริโนเจนให้กลายเป็นไฟบริน
ซึ่งจะรวมตัวสานกันในลักษณะตาข่ายเพื่อปิดบาดแผลไว้

เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ 14

เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ (Muscular tissue) แบ่งเป็น 3 ชนิด
1. กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle) พบที่อวัยวะภายใน เช่น ที่ผนังของ ทางเดินอาหาร กล้ามเนื้อ
เรียบมดลูก เส้นเลือด และอวัยวะภายในอื่นๆ รูปร่างของเซลล์มีลักษณะยาว หัวท้ายแหลม แต่ละ
เซลล์มี 1 นิวเคลียสอยู่ตรงกลางเซลล์ กล้ามเนื้อเรียบหดตัวได้ช้า แต่หดตัวได้นานมาก และการทำงาน
อยู่นอกอำนาจจิตใจควบคุมการทำงานโดยประสาทอัตโนมัติ

2. กล้ามเนื้อยึดลาย (skeleton muscle) เป็นกล้ามเนื้อขนาดใหญ่อยู่ติดกับ กระดูก เช่น กล้ามเนื้อที่
แขนขาจึงทำหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกายโดยตรง เซลล์กล้ามเนื้อนี้มีลักษณะเป็นทรง
กระบอกยาว แต่ละเซลล์มีหลายนิวเคลียสซึ่งเรียงกันอยู่ทางด้านข้างบริเวณใต้เยื่อหุ้มเซลล์ การ
ทำงานของกล้ามเนื้อนี้อยู่ภายใต้อำนาจจิตใจ ควบคุมโดยระบบประสาท

3. กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) พบที่ผนังหัวใจ เซลล์มีรูปร่างยาวทรงกระบอก มีนิวเคลียสอัน
เดียวอยู่ตรงกลางทำงานอยู่นอกอำนาจจิตใจ ควบคุมการทำงานโดยประสาทอัตโนมัติ

เนื้อเยื่อประสาท 15

เนื้อเยื่อประสาท (Nervous tissue) ทำหน้าที่รับส่งกระแสประสาท เซลล์ประสาทแต่ละเซลล์
ประกอบด้วย

ตัวเซลล์ ซึ่งอยู่ในชั้นสีเทา (grey matter) ของระบบประสาทไขสันหลังและระบบประสาท
ส่วนกลาง เซลล์ประสาทมีลักษณะกลมขนาดใหญ่ มีนิวเคลียสอยู่ตรงกลาง
แขนงประสาท แบ่งเป็น
– เดนไดรต์ (dendrite) ที่เป็นแขนงประสาทขนาดสั้นทำหน้าที่รับกระแสประสาท
(impulse) เข้าสู่ตัวเซลล์
– แอกซอน (axon) เป็นแขนงประสาทลักษณะยาวไม่มีแขนงแตกออกใกล้กับตัวเซลล์
แกซอน ทำหน้าที่นำกระแสประสาทออกจากตัวเซลล์

ระบบปกคลุมร่างกาย 16
(Integumentary system)

ระบบปกคลุมร่างกาย (Integumentary system)
ผิวหนัง (skin) ผิวหนังเป็นหนึ่งในอวัยวะที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของร่างกายโดยคิดเป็น 16% ของ
น้ำหนักตัวเป็นตัวแบ่งกั้นอวัยวะภายในออกจากสิ่งแวดล้อมภายนอก
อวัยวะที่มีต้นกำเนิดมาจากผิวหนัง (เล็บ ผม/ขน และรูขุมขน ต่อมไขมัน ต่อมเหงื่อ)

โครงสร้างของผิวหนัง (Structure of skin) ผิวหนังมนุษย์แบ่งได้ 3 ชั้น (รูปที่ 1) เรียงจากชั้นนอก
ไปในสุด ตามลำดับ ดังนี้

หนังกำพร้า (Epidermis) ผิวหนัง (SKIN)
หนังแท้ (Dermis)
ผิวหนังชั้นไขมัน (Hypodermis หรือ Subcutis)

ผิวหนัง 1 7

(Skin)

ผิวหนังชั้นหนังกำพร้า (Epidermis) เป็นผิวหนังที่อยู่ชั้นบนสุด คลุมอยู่บนหนังแท้ มีความหนา
ตั้งแต่ 0.05 ถึง 5 มิลลิเมตร บริเวณที่บางสุดคือรอบดวงตา บริเวณที่หนาสุดคือฝ่าเท้า หนังกำพร้า
ประกอบด้วยเซลล์เรียงซ้อนกันเป็นชั้นบาง ๆ อีก 5 ชั้นย่อย โดยเซลล์ชั้นในจะเลื่อนตัวดันเซลล์ชั้น
บนหรือชั้นนอกสุด ให้หลุดเป็นขี้ไคลออกไป ผิวหนังชั้นนี้ไม่มีหลอดเลือด เส้นประสาทรวมถึงต่อม
ต่าง ๆ หากผิวหนังชั้นนี้ได้รับอันตราย เราจะไม่รู้สึกแต่อย่างใด ทั้งนี้หนังกำพร้าจะเป็นทางผ่านของ
รูเหงื่อ เส้นขนและไขมัน ชั้นนี้จะมีเซลล์เม็ดสี (Melanin) โดยมีปริมาณมากน้อยแตกต่างกันในแต่ละ
คน

ผิวหนังชั้นหนังแท้ (Dermis) เป็นผิวหนังที่อยู่ชั้นล่างถัดจากชั้นหนังกำพร้า มี 2 ชั้นย่อย ผิวหนังชั้น
นี้ประกอบด้วยเนื้อเยื่อคอลลาเจน (Collagen) อีลาสติน (Elastin) และตัวประสานเนื้อเยื่อไฮยารู
รอน (Hyaluronic acid) ทำให้ผิวหนังมีความแข็งแรง และมีความยืดหยุ่นโดยมีหลอดเลือดฝอย
ปลายประสาทรับความรู้สึก ระบบประสาทอัตโนมัติควบคุมการทำงานของต่อมไขมัน ต่อมเหงื่อ
และรากขน/ผม กระจายอยู่ทั่วไปในชั้นหนังแท้

ผิวหนังชั้นใต้ผิวหนัง (Subcutis) อยู่ในสุดของชั้นผิวหนัง ประกอบด้วยไขมัน คอลลาเจน
หลอดเลือดที่มาหล่อเลี้ยง ความหนาของชั้นใต้ผิวหนังจะแตกต่างกันไปตามอวัยวะ และเพศ
ผิวหนังชั้นนี้ช่วยในการรับแรงกระแทก เป็นฉนวนกันอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง และยึดเหนี่ยว
ระบบผิวหนังไว้กับร่างกาย

ผิวหนัง 1 8

(Skin)

หน้าที่ของผิวหนัง
นอกจากจะมีหน้าที่ในการปกป้องร่างกายจากอันตรายภายนอก และขับถ่ายออกเสีย

แล้ว ผิวหนังยังมีหน้าที่ในการรับความรู้สึกอีกด้วย โดยผิวหนังจะรับความรู้สึกแล้วส่งข้อมูล
ไปยังสมอง เพื่อให้สมองสั่งการให้ร่างกายตอบสนองอีกทีหนึ่ง นอกจากนี้ผิวหนังยังสามารถ
ทำหน้าที่ดูดซึมสารบางชนิดที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายได้อีกด้วย เช่น ยาทาบรรเทาอากาศ
แก้ปวด อีกทั้งผิวหนังยังทำหน้าที่รายงานความผิดปกติของร่างกายอีกด้วย โดยจะแสดงออก
มาให้เห็นได้ทางผิวหนัง เช่น อาการหน้าแดง ผืนแดงขึ้นเนื่องจากการแพ้ยาหรือการแพ้
อาหาร

ร ะ บ บ สื บ พั น ธ์ุ เ พ ศ ห ญิ ง 19

(FEMALE REPRODUCTIVE SYSTEM)

ระบบสืบพันธ์ุ (REPRODUCTIVE SYSTEM)

- เป็นระบบในร่างกายสิ่งมีชีวิตที่ทำหน้าที่ในการ
สื บ พั น ธุ์ เ พิ่ ม จำ น ว น สิ่ ง มี ชี วิ ต ใ ห้ ม า ก ขึ้ น

โ ค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ ห น้ า ที่ ข อ ง ร ะ บ บ สื บ พั น ธุ์ เ พ ศ ห ญิ ง 20

โ ค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ ห น้ า ที่ ข อ ง ร ะ บ บ สื บ พั น ธุ์ เ พ ศ ห ญิ ง

- EXTERNAL GENITALIA - UTERINE TUBE OR FALLOPIAN TUBE
- VAGINA - MAMMARY GLANDS
- UTERUS - PERINEUM
- OVARY - PELVIS

EXTERNAL GENITALIA OR VULVA OR PUDENDUM

โ ค ร ง ส ร้ า ง ภ า ย น อ ก ข อ ง ร ะ บ บ สื บ พั น ธุ์ เ พ ศ ห ญิ ง

- MONS PUBIS - GREATER

- LABIA MAJORA - VESTIBULAR GLAND OR

- LABIA MINORA BARTHOLINE’S GLANDS*

- CLITORIS - HYMEN

- VESTIBULE OF VAGINA

VAGINA 21

ช่ อ ง ค ล อ ด , อ วั ย ว ะ สื บ พั น ธุ์ เ พ ศ เ มี ย บ ริ เ ว ณ ที่ เ ป็ น ช่ อ ง ต่ อ จ า ก
ม ด ลู ก อ อ ก ม า สู่ ภ า ย น อ ก ร่ า ง ก า ย มี ผ นั ง ยื ด ห ยุ่ น ไ ด้ ภ า ย ใ น มี
เ ยื่ อ เ มื อ ก

- FALLOPLAN TUBE
- OVARY
- UTERUS
- VAGINA
- HYMEN
- CERVIX

UTERUS 22

LIGAMENT ทำหน้าท่ี่คอยยึดตัวมดลูก

- BROAD LIGAMENT เป็นสวนของเย่ื่อบุช่องท้อง (PARIETAL PERITONEUM)
- ROUND LIGAMENT เป็นก้อนเนื้อเย่ื่อเกี่ยวพัน

อ วั ย ว ะ อ่ื่ น ท่ี่ ม า ช่ ว ย ยึ ด ม ด ลู ก เ อ า ไ ว้

- กล้ามเนื้อ LEVATORANI ยึดจากกระดูก PUBIS , ISCHIUM และ ILIUM ไปเกาะท่ี่
กระดูก COCCYX และรองรับอวัยวะภายในช่องงท้องและเกาะกับปากมดลูกเพ่ื่อยึด
ม ด ลู ก ใ ห้ อ ยู่ ภ า ย ใ น อุ้ ง เ ชิ ง ก ร า น

LIGAMENT ท่ี่ทำหน้าท่ี่ยึดมดลูกท่ีสำคัญ มี 3 LIGAMENT

- TRANSVERSE CERVICAL LIGAMENT ตั้งอยู่ใต้ BROAD LIGAMENT ยึดจากปาก
มดลูกไปติดกับด้านข้างของอุงเชิงกรานทั้ง 2 ด้าน
- PUBOCERVICAL LIGAMENT ยึดจากปากมดลูกไปเกาะท่ี่ขอบของกระดูก PUBIS
- ERVICAL LIGAMENT ยึดจากปากมดลูกไปเกาะท่ี่กระดูก SACRUM

โครงสร้างของผนังมดลูกแบ่งออกเป็น 3 ชั้น 23

1. ชั้นนอก : PERIMETRIUM หรือ SEROSA

2. ชั้นกลาง : MYOMETRIUM เป็นชั้นของกล้ามเนื้อท่ี่เรียงตัวทั้งแบบตามยาว วงกลม

และแบบเฉียง ขณะตั้งครรภ์จะขยายและยืดได้ 10 เท่าตัว

3. ชั้นใน : ENDOMETRIUM มีเย่ื่อบุผิวชนิด SIMPLE COLUMNAR EPITHLIUM มี

CILIA มีต่อม UTERINE GLAND มีเนื้อเย่ื่อเก่ี่ยวพันอยู่กันอย่างหลวม ๆ เรียกว่า

STROMA หลอดเลือดท่ี่มีลักษณะขดไปมาเรียกว่า่ SPIRAL (COILED) ARTERY ผนังชั้นนี้

แ บ่ ง อ อ ก เ ป็ น

3.1 FUNCTIONAL LAYER เปล่ี่ยนแปลงตลอดรอบของรอบประจำเดือนและ

ห ลุ ด เ ป็ น ป ร ะ จำ เ ดื อ น

3.2 BASAL LAYER แบ่งเซลล์ให้เนื้อเย่ื่อเจริญขึ้นไปแทนท่ี่ชั้น

FUNCTIONALIS

รังไข่ (OVARY)

มี 2 ข้างอยู่ในอุ้งเชิงกรานตอนบนเนื้อภายในรังไข่มี 2 ชั้น คือ

• ชั้น CORTEX เป็นบริเวณรอบ ๆ ใต้ชั้น TUNICA ALBUGINEA

ประกอบด้วย OVARIAN FOLLICLES อยู่รวมกันใน CONNECTIVE

TISSUE CELLS และ FIBERS

• ชั้น MEDULLA อยู่บริเวณท่ี่อยู่ตอนกลาง มี STROMA ท่ีเป็น ELASTIC

FIBERS หลอดเลือด หลอดน้ำเหลือง และเส้นประสาท

- ทำหน้าท่ี่สรา้งฮอร์โมนเพศหญิงและผลิตไข่ (OVUM)

MAMMARY GLANDS 24

• ทำหน้าที่ขับน้ำนมเลี้ยงทารก
• ขนาดโตเมื่อเข้าสู่วัยรุ่นเพราะ CONNECTIVE TISSUE และ FAT เพิ่มมาก*
• ขนาดขึ้นอยู่กับปริมาณไขมันแต่จำนวนน้ำนมไม่ต่างกัน*
• ตรงกลางของเต้านมจะมี NIPPLE รอบๆ จะมีAREOLA มีสีคล้ำเพราะมี PIGMENT
• ส่วนประกอบ ได้แก่ COMPOUND AVEOLI GLANDS 15-20 LOBES แต่ละ
LOBES
มี LACTIFEROUS DUCT นำน้ำนมมาเปิดที่ NIPPLE ก่อนที่จะเปิดออกจะขยายตัว
เ รี ย ก
LACTIFEROUS DUCT
• เนื้อของต่อม (GLANDULAR TISSUE) ประกอบด้วย PARENCHYMA และ
STROMA

PERINEUM 25

ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก ล้ า ม เ นื้ อุ้ ง เ ชิ ง ก ร า น

เหมือนแถบริบบิ้นวางซ้อนอยู่ใต้ต่อกล้ามเนื้อ PUBOVISCERAL
MUSCLE และ ILIOCOCCYGEUS MUSCLE ทำให้มองไม่เห็นถ้า
ม อ ง ก ล้ า ม เ นื้ อ นี้ จ า ก ด้ า น บ น ข อ ง ก ล้ า ม เ นื้ อ อุ้ ง เ ชิ ง ก ร า น ล ง ม า จ ะ
ต้ อ ง ม อ ง จ า ก ด้ า น ล่ า ง ข อ ง พื้ น เ ชิ ง ก ร า น จึ ง จ ะ เ ห็ น
กล้ามเนื้อเริ่มต้นจากด้านหลังของกระดูก PUBIS ที่บริเวณด้าน
ข้างของ SYMPHYSIS PUBIS ทั้ง 2 ข้าง ข้างละ 1 มัด เช่น
เดียวกับ PUBOVISCERAL MUSCLE และ ย้อยลงมาเกาะกันเอง
ที่ผนังด้านหลังของทวารหนักบริเวณช่องว่างระหว่าง EXTERNAL
และ INTERNAL SPHINCTER และยังเกาะกล้ามเนื้อทั้ง 2 ด้วย
นอกจากนี้ยังไปเกาะกับ ANOCOCCYGEAL BODY ทำให้กล้าม
เ นื้ อ นี้ ดู ห มื อ น ห่ ว ง ที่ ม า ค ล้ อ ง กั บ บ ริ เ ว ณ ลำ ไ ส้ ใ ห ญ่ ส่ ว น ป ล า ย
มี ห น้ า ที่ ห ลั ก ใ น ก า ร ค ว บ คุ ม ก า ร เ ค ลื่ อ น ตั ว ข อ ง อุ จ จ า ร ะ ล ง ม า ที่ ห ว า ร
หนักให้ช้าลง เหมือนทำหน้าที่เป็นกล้ามเนื้อหูรูด

กระดูกเชิงกราน PELVIC BONE 26

ประกอบด้วยกระดูก 4 ชิ้น
- SACRUM , COCCYX และ INNOMINATE BONE 2 ชิ้น

อุ้งเชิงกรานประกอบด้วย FALSE PELVIS และ TRUE PELVIS ซึ่งแบ่ง
กันที่ LAMINA TERNIMALIS โดยFALE PELVIS จะอยู่เหนือต่อเส้นนี้
และ TRUE PELVISจะอยู่ใต้ต่อเส้นนี้

- TRUE PELVIS คล้ายกับรูปถ้วยน้ำที่ด้านหลังสูงกว่าด้านหน้ามี
ขอบเขตด้านบนคือ LAMINA TERMINALIS และขอบเขตด้านล่างคือทาง
เปิดของอุ้งเชิงกราน (PELVIC OUTLET) ซึ่งส่วนของ TRUE PELVIS ได้
แบ่งออกเป็น PELVIS INLET, MID PELVIS และ PELVIC OUTLET

ก า ร กำ เ นิ ด ไ ข่ 27

ในขณะตกไข่ SECONDARY OOCYTE และ FIRST POLAR BODY ซึ่งมี
ZONA PELLUCIDA และ CORONA RADIATA ห่อหุ้มก็จะเคลื่อนผ่านไป
ต า ม ท่ อ นำ ไ ข่
เมื่อ SECONDARY OOCYTE ได้รับการผสมกับ SPERM การแบ่งเซลล์
แบบ MEIOSIS ครั้งที่ 2 เกิดขึ้นทันทีกลายเป็น MATURE OVUM และ
SECOND POLAR BODY
กรณีที่ไม่ได้รับการปฏิสนธิ SECONDARY OOCYTE ก็จะไม่มีการแบ่ง
เซลล์และสลายตัวภายในท่อนำไข่แล้วอีก 14 วันต่อมา PRIMARY
OOCYTE กลุ่มใหม่ในรังไข่ก็จะได้รับการกระตุ้นโดย HORMONE จาก
ต่ อ ม ใ ต้ ส ม อ ง ใ ห้ ส ร้ า ง เ ซ ล ล์ ไ ข่ เ ซ ล ล์ ใ บ ใ ห ม่ ต่ อ ไ ป

พั ฒ น า ก า ร ข อ ง ฟ อ ล ลิ เ คิ ล ใ น รั ง ไ ข่

การปฏิสนธิ (FERTILIZATION) 28

OOCYTE เมื่อ OVULATE จากรังไข่มีเปลือกหุ้มอยู่คือ ZONA
PELLUCIDA และ CORONA RADIATE
การปฏิสนธิเกิดขึ้นบริเวณ AMPULLA ของ UTERINE TUBE เกิดหลัง
OVULATION ประมาณ 12-24 ชม.
หลังการปฏิสนธิผ่านไปประมาณ 30 ชม. FIRST CLEAVAGE เสร็จสิ้น
ลงได้ 2 CELL STAGE มี 2 BLASTOMERE
วันที่ 3 หลังปฎิสนธิ ZYGOTE มีประมาณ 8-12 BLASTOMERE เรียก
MORULA
วันที่ 4 จำนวน BLASTOMERE เพิ่มขึ้น
เมื่อ MORULA เคลื่อนเข้าสู่ UTERINE CAVITY ZONA PELLUCIDA
เริ่มสลายไปทำให้ FLUID ซึมเข้าไปเป็นช่องภายในเรียกว่า
BLASTOCYST CAVITY ระยะนี้ เรียกว่า BLASTOCYST
วันที่ 6 BLASTOCYST เคลื่อนไปแตะที่ผิว ENDOMETRIUM

การฝังตัว (IMPLANTATION) 29

ZONA PELLUCIDA เริ่มสลายไป BLASTOCYST จะได้รับสารอาหารจาก UTERINE
GLAND
ประมาณวันที่ 6 - 7 BLASTOCYST จะเริ่มฝังตัวลงใน ENDOMETRIUM
ตำแหน่งในการฝังตัว POSTERIOR WALL ของ BODY หรือ FUNDUS OF UTERUS
TROPHOBLAST จะแบ่งตัวเป็น 2 ชั้น
ชั้นที่ติดอยู่กับ ENDOMETRIUM จะไม่เห็นขอบเขตเซลล์ชัดเจนและเห็นเป็นลักษณะ
คล้าย MULTINUCLEATED CELL เรียกว่า SYNCYTIOTROPHOBLAST
เกิดช่องว่างระหว่าง EMBRYOBLAST กับ TROPHOBLAST เป็นโพรงใหญ่เรียก
AMNIOTIC CAVITY

เซลล์แบนๆขนาดใหญ่ตามแนวของขอบ TROPHOBLAST เรียก
AMNIOBLAST ซึ่งจะเจริญเป็น AMNION
HYPOBLAST แบ่งตัวเรียก EXOCOELOMIC MEMBRANE มีโพรงตรงกลาง
เรียก PRIMARY YOLK SAC
ต่อมา CYTOTROPHOBLAST จะแบ่งตัวเป็นเซลล์อีกชั้นหนึ่งเรียก
EXTRAEMBRYONIC MESODERM หุ้มรอบ AMNION และ PRIMARY YOLK
SAC
เริ่มมี UTEROPLACENTAL CIRCULATION
ในขณะมีการฝังตัวของตัวอ่อนอาจมี IMPLANTATION BLEEDING ได้

พั ฒ น า ก า ร ข อ ง ท า ร ก ใ น ค ร ร ภ์ 30

สัปดาห์ที่ 3 เริ่มมีหัวใจ สมอง และไขสันหลัง
สัปดาห์ที่ 4 เริ่มมีตา ปุ่มแขนขา หัวใจมีการเจริญมากขึ้น
สัปดาห์ที่ 5 อวัยวะต่าง ๆ มีการเจริญเป็นรูปร่างมากขึ้น
สัปดห์ที่ 6 เริ่มมีหู
สัปดาห์ที่ 7 เริ่มมีเพดานในช่องปาก
สัปดาห์ที่ 8 เอ็มบริโอระยะนี้เรียกว่า ฟีตัส (FETUS) เริ่มเห็น
รูปร่างและ อวัยวะชัดเหมือนคนกระดูกอ่อนเปลี่ยนเป็นกระดูก
แ ข็ ง มี อ วั ย ว ะ เ พ ศ ภ า ย น อ ก
สัปดาห์ที่ 12 เริ่มเห็นรอยนิ้วมือ นิ้วเท้า สามารถกลืนของเหลวในถุง
น้้าคล้ำได้ ฟีตัสเริ่มมีการเคลื่อนไหวของแขน ขา มีอวัยวะที่ใช้หายใจ
เ กิ ด ขึ้ น
สัปดาห์ที่ 16 ฟีตัสมีการเคลื่อนไหวมากขึ้น มีการเจริญของกระดูกแข็ง
สัปดาห์ที่ 20-36 ฟีตัสมีการเจริญเติบโตเพิ่มมากขึ้นระบบประสาทมี
ก า ร เ จ ริ ญ ม า ก มี ก า ร ส ะ ส ม ข อ ง ไ ข มั น เ พิ่ ม ม า ก ขึ้ น มี ไ ข เ ค ลื อ บ ทั่ ว ตั ว
สัปดาห์ที่ 38 ฟีตัสเจริญเติบโตเต็มที

ระบบต่อมไร้ท่อ 31

(Endocrine System)




ระบบต่อมไร้ท่อ (ENDOCRINE SYSTEM)

ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ทำ ง า น ที่ ค่ อ น ข้ า ง ช้ า แ ต่ มี ผ ล ก า ร ทำ ง า น น า น
ก า ร เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ข อ ง ร่ า ง ก า ย ก า ร ผ ลิ ต น้ำ น ม ต้ อ ง อ า ศั ย เ ว ล า จึ ง จ ะ เ กิ ด ผ ล ใ ห้ เ ห็ น

อาศัยสารเคมี เรียกว่า ฮอร์โมน ที่ผลิตจากต่อมไร้ท่อ (ENDOCRINE GLAND)
ร ะ บ บ ป ร ะ ส า ท แ ล ะ ต่ อ ม ไ ร้ ท่ อ มี ก า ร ป ร ะ ส า น ง า น กั น อ ย่ า ง ใ ก ล้ ชิ ด แ ล ะ ต อ บ ส น อ ง

ซึ่ ง กั น แ ล ะ กั น
นำข่าวสารคำสั่งจากศูนย์กลางของร่างกายไปยังหน่วยย่อยอื่น ๆ

ร ะ บ บ ค ว บ คุ ม ที่ มี ก ล ไ ก ก า ร ทำ ง า น ร่ ว ม กั น ข อ ง ทั้ ง ร ะ บ บ ป ร ะ ส า ท แ ล ะ ร ะ บ บ ต่ อ ม
ไร้ท่อเรียกว่า “ นิวโรเอนโดคริโนโลยี ” (NEUROENDOCRINOLOGY)

อวัยวะบางชนิดเท่านั้นที่จะตอบสนองต่อฮอร์โมนเรียกว่า อวัยวะเป้าหมาย
(TARGET ORGAN) ของแต่ละฮอร์โมน

ระบบต่อมไร้ท่อ 3 2

(Endocrine System)

ต่อมใต้สมอง (Pituitary Gland) เป็นต่อมที่มีขนาดเล็กอยู่ใต้สมอง แบ่งออกเป็น 2

ส่วน คือ ต่อมใต้สมองส่วนหน้าและต่อมใต้สมองส่วนหลัง

ต่อมใต้สมองส่วนหน้า มีหน้าที่ดังนี้
ผลิตฮอร์โมนควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย ถ้าผลิตมากเกินไปจะทำให้ร่างกายสูงใหญ่ผิดปกติ ถ้า
ผลิตน้อยเกินไปทำให้เตี้ย แคระแกร็น
- ผลิตฮอร์โมนกระตุ้นการทำงานของต่อมไทรอยด์ กระตุ้นให้ต่อมไทรอยด์ทำงานปกติ
- ผลิตฮอร์โมนกระตุ้นการทำงานของต่อมหมวกไต ให้ต่อมหมวกไตส่วนนอกทำงานได้ปกติ
- ผลิตฮอร์โมนเพศ ควบคุมและกระตุ้นการเจริญเติบโตการทำงานของต่อมเพศ
- ผลิตฮอร์โมนแลกโตจีนิกหรือโปรแลกติน กระตุ้นการทำงานของต่อมน้ำนมให้สร้างน้ำนมในขณะตั้ง
ครรภ์และการเติบโตของเต้านม
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง มีหน้าที่ดังนี้
- ผลิตฮอร์โมนออกซิโตซิน ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่มีผลต่อการบีบตัวของมดลูกขณะคลอดและช่วยการหลั่งของ
น้ำนม
- ผลิตฮอร์โมนวาโซเพรสซิน เป็นฮอร์โมนที่มีผลต่อการทำงานของไต ควบคุมน้ำในร่างกายกระตุ้นการ
ทำงานของระบบขับถ่าย และเพิ่มความดันโลหิต ถ้าขาดฮอร์โมนนี้จะทำให้เป็นโรคเบาหวานทำให้ปัสสาวะ
มาก กระหายน้ำ

33

ต่อมไทรอยด์ (Thyroid Gland) เป็นต่อมไร้ท่อที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย มี 2 ข้างอยู่ด้านข้างของ
หลอดลมส่วนบน บริเวณลูกกระเดือกข้างละต่อม ทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนไทรอกซิน (thyroxin)
ซึ่งต้องใช้สารไอโอดีนที่ดูดซึมจากสารอาหารในกระบวนการผลิต ซึ่งฮอร์โมนไทรอกซินควบคุม
การเผาผลาญในร่างกาย แลกเปลี่ยนน้ำและเกลือแร่ ควบคุมกรดไขมัน เปลี่ยนกรดอะมิโนเป็น
กลูโคส ถ้าร่างกายผลิตฮอร์โมนไทรอกซินมากเกินไป จะทำให้เกิดโรคไทรอยด์เป็นพิษ หากผลิต
น้อยเกินไปจะทำให้ระบบเผาผลาญอาหารในร่างกายผิดปกติ ร่างกายจะเตี้ย แคระแกร็น
ผิวหนังหยาบกร้านหากร่างกายได้รับสารไอโอดีนไม่เพียงพอจำทำให้เกิดโรคคอพอก ทำให้ต่อม
ไทรอยด์มีขนาดโตขึ้นและการผลิตฮอร์โมนไทรอกซิน ก็จะน้อยลง

ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid Glad) เป็นต่อมไร้ท่อที่เล็กที่สุด มี 2 คู่ อยู่ด้านหลังของต่อม
ไทรอยด์ ทำหน้าที่ผลิตพาราไทรอยด์ฮอร์โมนเพื่อควบคุมระดับแคลเซียมและฟอสฟอรัสใน
กระแส เลือด ถ้าต่อมพาราไทรอยด์ผลิตฮอร์โมนมากเกินไปจะไปละลายแคลเซียมออกจาก
กระดูกเข้า สู่กระแสเลือดทำให้เลือดมีระดับแคลเซียมสูงขึ้น อาจทำให้เกิดนิ่วในไต กระดูกพรุน
ปวดกระดูกและข้อ แต่ถ้ามีฮอร์โมนต่ำ ทำให้ระดับแคลเซียมในเลือดต่ำ เกิดผลต่อกล้ามเนื้อและ
ระบบประสาท ทำให้กล้ามเนื้อกระตุก

34

ต่อมหมวกไต (Adrenal Gland) คือ ก้อนเนื้อเยื่อรูปสามเหลี่ยมบริเวณด้านบนของไตทั้ง 2 ข้าง
ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชั้น ได้แก่

เนื้อเยื่อชั้นนอก (Adrenal Cortex)

เนื้อเยื่อชั้นใน (Adrenal Medulla)

เนื้อเยื่อชั้นนอก (Adrenal Cortex) เจริญมาจากเซลล์มีเซนไคมาส (Mesenchymas) ในชั้นมีโซ
เดิร์ม (Mesoderm) ของตัวอ่อน ผลิตฮอร์โมนที่สำคัญ 3 ชนิด คือ

กลูโคคอร์ติคอยด์ (Glucocorticoid Hormone) ทำหน้าที่ควบคุมกระบวนการเมตาบอลิ
ซึมของคาร์โบไฮเดรต
มินเนอราโลคอร์ติคอยด์ (Mineralocorticoid Hormone) ทำหน้าที่ควบคุมสมดุลของน้ำ
และเกลือแร่
ฮอร์โมนเพศ (Sex hormone) ทำหน้าที่ช่วยควบคุมลักษณะทางเพศที่สมบูรณ์ใน
ร่างกายทั้งเพศชายและหญิง

เนื้อเยื่อชั้นใน (Adrenal Medulla) อยู่ภายใต้การควบคุมของระบบประสาทซิมพาเทติก
(Sympathetic Nervous System) ที่ควบคุมปฏิกิริยาตอบสนองจากสิ่งเร้าภายนอก โดยทำ
หน้าที่สร้างฮอร์โมน 2 ชนิด คือ อะดรีนาลีน (Adrenalin/Epinephrine Hormone) และนอร์อะ
ดรีนาลีน (Noradrenlin/Norepinephrine Hormone) ซึ่งกระตุ้นการทำงานของหัวใจและ
หลอดเลือด

ตับอ่อน (Pancreas) เป็นได้ทั้งต่อมที่มีท่อและต่อมไร้ท่อ ทำหน้าที่สร้างน้ำย่อยที่ใช้ในการย่อย 35
อาหาร และสร้างฮอร์โมนอินซูลิน ซึ่งควบคุมการดูดซึมของคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน ถ้า
ร่างกายขาดฮอร์โมนนี้ จะทำให้ปริมาณน้ำตาลในเลือดสูงผิดปกติ กรดไขมันในเลือดเพิ่ม ทำให้
ปัสสาวะมากกว่าปกติ ตับอ่อนยังสร้างฮอร์โมนกลูคากอน (glucagon) ที่ทำหน้าที่กระตุ้น
ไกลโคเจนในตับให้เปลี่ยนกลูโคส

ต่อมเพศ (Gonad Gland) ในเพศชาย คือ อัณฑะ ในเพศหญิง คือ รังไข่
ในชายได้แก่อัณฑะและในหญิงได้แก่รังไข่ซึ่งมีหน้าที่สำคัญ 2 อย่างคือ สร้างเซลสืบพันธ์และสร้าง
ฮอร์โมน
ฮอร์โมนเพศชาย ที่สำคัญคือ เทสทอสเตอโรน (Testosterone) ซึ่งจะทำหน้าที่หลายอย่างคือ
1) ควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธ์
2) ทำให้อัตราการเจริญเติบโตของกระดูกเพิ่มขึ้น
3) กระตุ้นการสร้างโปรตีนเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะเอ็นไซม์
4) ควบคุมการหลั่งของฮอร์โมนเพศชาย

ต่อมไทมัส (Thymus Glad) เป็นต่อมที่รูปร่างคล้ายพีระมิด 2 พู (lobe) ติดกันขนาดและรูป
ร่างจะแตกต่างกันไปตามอายุ ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกาย

ระบบกระดูก 36
(Skeletal System)




Fixed joint
Cartilaginous joint
Cartilage disk
Vertebrae
Synovial joint
Bone
Synavium

37

Short bone Ossicles (inner ear)
Flat bone Hyoid bone
Long bone Skull
Irregular bone Rib cage
Vertebral column

Spine
Hip
Knee
Hand
Foot

38

Frontal Maxilla Parietal
Sphenoid Mandible Esfenoides
Nasal Zygomatic Maxilar superior
Ethmoid Parietal Cigomatico
Lacrimal Temporal Etmoides
Occipital

Ribs 39
Sternum
Cartilage Clavi
Xiphoid process Scap
ปั้มหัวใจ

Radius
Ulna

Base of sacrum
Ilium
Pubic bone
Ischium
Sacrum
Coccyx
Pubic arch
liac crest
Sacroiliac joint
Iliac fossa
Sacral promontory
Pelvic brim
Ischial spine
Acetabulum
Pubic crest
Pubic symphysis

หู 4 0
Malleus
Incus โคนลิ้น
Stapes
Auditory ossicles

Cervical vertebrae
Thoracic vertebrae
lumbar vertebrae
Sacrum
Coccyx
Pelvis

pelvic girdle
femur
patella
tibia
fibula
tarsals
metatarsals
phalanges

Hand Bones
Phalanges
Metacarpals
Carpals
Ulna
Radius

ระบบกล้ามเนื้อ 41
(Muscle System)




กล้ามเนื้อ (Muscle) เป็นเนื้อเยื่อที่หดตัวได้ในร่างกาย เปลี่ยนแปลงมาจากเมโซเดิร์ม (mesoderm) ของชั้น
เนื้อเยื่อในตัวอ่อน และเป็นระบบหนึ่งของร่างกายที่สำคัญต่อการเคลื่อนไหวทั้งหมดของร่างกาย แบ่งออกเป็น
3 ส่วน ได้แก่

กล้ามเนื้อโครงร่าง (skeletal muscle)
กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle)
กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle)

ทำหน้า ที่หดตัวเพื่อให้เกิดแรงและทำให้เกิดการเคลื่อนที่ (motion) รวมถึงการเคลื่อนที่และการหดตัวของ
อวัยวะภายใน กล้ามเนื้อจำนวนมากหดตัวได้นอกอำนาจจิตใจ และจำเป็นต่อการดำรงชีวิต เช่น การบีบตัวของ
หัวใจ หรือการบีบรูด (peristalsis) ทำให้เกิดการผลักดันอาหารเข้าไปภายในทางเดินอาหาร การหดตัวของ
กล้ามเนื้อที่อยู่ใต้อำนาจจิตใจมีประโยชน์ในการเคลื่อนที่ของร่างกาย และสามารถควบคุมการหดตัวได้ เช่น
การกลอกตา หรือการหดตัวของกล้ามเนื้อควอดริเซ็บ (quadriceps muscle) ที่ต้นขา

ระบบกล้ามเนื้อ 42
(Muscle System)


Levator labii
superioris alaeque nasi
Corrugator supercilii
Temporalis
Nasalis
Levator labii superioris
Zygomaticus minor and major (cut)
Masseter
Levator anguli oris (cut)
Buccinator
Orbicularis oris
Platysma
Procerus
Occipitofrontalis (frontal portion)
Orbicularis oculi
Orbicularis oculi (palpebral portion)
Levator labii superioris Zygomaticus minor
Zygomaticus major
Risorius
Levator anguli oris
Depressor anguli oris
Depressor labii inferioris
Mentalis

•Frontalis
•Orbicularis oculi
•Zygomaticus
•Buccinator
•Orbicularis oris
•Platysma
•Cranial aponeurosis
•Temporalis
•Occipitalis
•Masseter
•Sternocleidomastoid
•Trapezius

ระบบกล้ามเนื้อ 43

(Muscle System)

•Deep masseter muscle

•TMJ capsule
•Digastric posterior belly muscle
•Splenius capitis muscle
•Levator scapulae muscle
•Anterior, middle, and posterior scalene muscles
•Trapezius muscle
•Anterior temporalis muscle
•Superficial masseter muscle
•Digastric anterior belly muscle
•Hyoid bone
•Omohyoid superior belly muscle
•Stemohyoid muscle
•Stemocleidomastoid muscle
•Omohyoid inferior belly muscle

Sternocleidomastoid
Scalenes
External intercostals
Parasternal intercostals Diaphragm
Internal intercostals
External abdominal oblique Internal abdominal oblique Transversus abdominis
Rectus abdominis

ระบบกล้ามเนื้อ 44
(Muscle System)




Serratus anterior
Transversus abdominis 4
Internal oblique 2
External oblique 1
Aponeurosis of the external oblique
Pectoralis major
Linea alba
Tendinous intersection
Rectus abdominis 3
Inguinal ligament

•Free posterior border of external oblique
•Internal oblique
•Anterior superior iliac spine (ASIS)
•External oblique
•Rectus sheath (anterior layer)
•Inguinal ligament

ระบบกล้ามเนื้อ 45
(Muscle System)


•deltoid muscle
•pectoralis major muscles
•serratus anterior muscle
•latissimus dorsi muscle
•linea alba
•external oblique aponeurosis
•external oblique muscle
•rectus sheath
•umbilicus
•inguinal ligament
•external intercoastal muscles
•rectus abdominis muscle
•tendinous inscription
•internal oblique muscle

Acromion
Deltopectoral triangle
Deltoid muscle
Deltoid branch of
thoracoacromial artery
Cephalic vein
Long head
Short head
Triceps brachii muscle
Latissimus dorsi muscle
Serratus anterior muscle
External abdominal oblique muscle

ระบบกล้ามเนื้อ 46
(Muscle System)




Biceps brachii Triceps brachii
Brachialis Brachioradialis
Brachial artery Extensor carpi radialis longus
Medial epicondyle of humerus Medial epicondyle of humerus
Median nerve Lateral epicondyle of humerus
Tendon of biceps brachii Olecranon of ulna
Pronator teres Extensor carpi ulnaris
Brachioradialis Extensor digitorum
Palmaris Iongus flexor carpi ulnaris
Flexor carpi ulnaris Extensor retinaculum
Flexor carpi radialis Tendons of extensor digitorum
flexor digitorum superficialis
Flexor retinaculum
Metacarpals
Tendon of flexor digitorum superficialis
Tendon of flexor digitorum profundus

ระบบย่อยอาหาร 47
(Digestive System)

ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)

ระบบย่อยอาหารมีหน้าที่ย่อยอาหารให้ละเอียด แล้วดูดซึมผ่านเข้าสู่กระแสเลือดเพื่อไป
เลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
การย่อยอาหาร (Digestion) หมายถึง กระบวนการสลายอนุภาคอาหารให้มีขนาดเล็กสุด
จนสามารถดูดซึมเข้าไปในเซลล์ได้
เมื่อมนุษย์รับประทานอาหารเข้าสู่ร่างกาย จะผ่านระบบต่าง ๆ ดังนี้

- ปาก
- หลอดอาหาร
- กระเพาะอาหาร
- ลำไส้เล็ก
- ลำไส้ใหญ่
- ของเสียออกทางทวารหนัก


Click to View FlipBook Version