The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ounging.1445, 2021-10-18 03:06:13

e-book นางสาวภัทรวดี อุ่นเสียม

2

Sublingual Gland 48

Submandibular Gland

Parotid Gland

Esophagus

Liver

Gallbladder

Duodenum

Pancreas

Hepatic Flexure

Acending Colon

lleum Mecti
Stomach
Cecum Spleen
Appendix Splenic Flexura pf Transverse Colon
Anus

Transverse Colon

Jejunum

Decending Colon

Sigmoid Colon

Sigmoid Flexure

Rectum

Soft palate Duodenum
Hard palate Common bile duct
Oral cavity Pancreas
Tongue Ascending colon
Sublingual gland Cecum
Submandibular gland Vermiform
Laryngopharynx appendix
Larynx lleum
Trachea Spleen
Nasopharynx Transverse colon
Parotid gland Jejunum
Oropharynx Small intestine
Esophagus Descending colon
Diaphragm Sigmoid colon
Stomach Anus
Liver (cut)- Rectum
Gallbladder

49

Lip Epiglottis
Gingiva (gum) Palatine Tonsil
Teeth Lingual Tonsil
Hard palate Terminal Sulcus
Soft palate Median Glossoepiglottic Fold
Retromolar Palatopharyngeal Arch
trigone Palatoglossal Arch
Tongue (front two-thirds) Vallate Papillae
Uvula Fungiform Papillae
Tonsil Midline Groove of Tongue
Buccal mucosa (lip and cheek lining) Filiform Papillae
Floor of mouth
MAXILLARY TEETH

CENTRAL INCISOR

LATERAL INCISOR

CANINE

FIRST PREMOLAR

SECOND PREMOLAR

FIRST MOLAR

SECOND MOLAR

THIRD MOLAR

MANDIBULAR TEETH

THIRD MOLAR

SECOND MOLAR

FIRST MOLAR

SECOND PREMOLAR

FIRST PREMOLAR

CANINE

LATERAL INCISOR

CENTRAL INCISOR

50

SUBLINGUAL PHARYNX
GLAND NASAL CAVITY
PAROTID NASOPHARYNX
GLAND OROPHARYNX
SUBMANDIBULAR HYPOPHARYNX
GLAND ORAL CAVITY
LARYNX
TRACHEA

RIGHT COLIC (HEPATIC) FLEXURE

TRANSVERSE COLON

ASCENDING COLON

LLEUM EPIPLOIC APPENDAGES

MESOAPPENDIX HAUSTRA

LEFT COLIC (SPLENIC) FLEXURE LLEOCECAL SPHINCTER (VALVE)
DESCENDING COLON
CECUM
TAENIA COLI
VERMIFORM APPENDIX

LIVER STOMACH SIGMOID COLON
GALLBLADDER PYLORUS PANCREAS
DUODENUM LEFT COLIC FLEXURE ANAL CANAL
RIGHT COLIC FLEXURE TRANSVERSE COLON
DUODENO JEJUNAL JEJUNUM ANUS
JUNCTION DESCENDING COLON
ASCENDING COLON SIGMOID COLON RECTUM
ILEOCECAL RECTUM
JUNCTION ANAL CANAL
ILEUM
CECUM
APPENDIX

51

FUNDUS
ESOPHAGUS
CARDIA
DUODENUM
PYLORIC ORIFICE
LESSER CURVATURE
PYLORIC SPHINCTER

THREE LAYER OF SMOOTH MUSCLE กระเพาะอาหาร
LONGITUDINAL LAYER (OUTER)
CIRCULAR LAYER (MIDDLE) MUCOSA
OBLIQUE LAYER (INNER) SUBMUCOSA

MUSCULARIS
BODY SEROSA
GREATER CURVATURE
PYLORUS RIGHT HEPATIC DUCT
GASTRIC FOLDS (RUGAE) HEISTER'S VALVE
NECK OF GALBLADDER
GALLBLADDER HARTMANN’S POUCH
HEPATIC DUCTS BODY OF GALLBLADDER
COMMON HEPATIC DUCT FUNDUS OF GALLBLADDER
CYSTIT DUCT LEFT HEPATIC DUCT
COMMON BLLE DUCT COMMON HEPATIC DUCT
HEPATO PANCREATIC AMPULLA CYSTIC DUCT
PANCREATIC DUCT COMMON BILE DUCT
PANCREAS PANCREATIC DUCT
AMPULLA OF VATER

52

RIGHT LOBE
LIVER ANATOMY
CAUDATE LOBE
BARE AREA
GALLBLADDER
ROUND
LIGAMENT
FRONT LIVER SURFACE
LEFT LOBE
FALCIFORM
LIGAMENT
PORTA HEPATIS:
HEPATIC PORTAL VEIN
PROPER HEPATIC ARTERY
COMMON HEPATIC DUCT
RIGHT LOBE
QUADRATE LOBE
GALLBLADDER
BOTTOM LIVER SURFACE

ระบบขับถ่ายปัสสาวะ 53
(The Urinary System)

ระบบขับถ่ายปัสสาวะ ประกอบด้วย อวัยวะที่มีหน้าที่สร้างปัสสาวะและ
ขับ(URINE SECRETION) ได้แก่ ไต (KIDNEY), และท่อที่เป็นทางผ่านของ
ปัสสาวะ (URINARY PASSAGE) ออกสู่ภายนอก ได้แก่ หลอดไต (URETER),
ที่พักปัสสาวะ ได้แก่ กระเพาะปัสสาวะ (URINARY BLADDER) และ ท่อที่นำ
ปัสสาวะออกสู่ภายนอกร่างกาย ได้แก่ ท่อปัสสาวะ (URETHRA)

KIDNEYS RENAL
URETERS PYRAMIDS
URINARY BLADDER RENAL PELVIS
URETHRA URETER
RENAL CORTEX
NEPHRON RENAL CAPSULE
RENAL ARTERY RENAL
RENAL VEIN MEDULLA

ระบบขับถ่ายปัสสาวะ 54
(The Urinary System)

EFFERENT ARTERIOLE
AFFERENT ARTERIOLE
BOWMAN’S CAPSULE
GLOMERULUS

EFFERENT ARTERIOLE
AFFERENT ARTERIOLE
ARTERY
PERITUBULAR CAPILLARIES
LOOP OF HENLE
GLOMERULUS
VELN
BOWMAN’S CAPSULE
PROXIMAL CONVOLUTED TUBULE
DISTAL CONVOLUTED TUBULE
COLLECTING DUCT

ร ะ บ บ สื บ พั น ธ์ุ เ พ ศ ช า ย 55

(MALE REPRODUCTIVE SYSTEM)

ระบบอวัยวะสืบพันธุ์ชาย (MALE REPRODUCTIVE SYSTEM)
หรือ (MALE GENITAL SYSTEM)

ประกอบด้วยอวัยวะเพศภายนอกร่างกาย(องคชาต หรือลึงค์ หรือ
อวัยวะเพศชาย)ต่อมลูกหมาก ถุงอัณฑะ อัณฑะ ท่อพักอสุจิหรือเอ
ปิดิไดมิส (EPIDIDYMIS) ท่ออสุจิและต่อมสร้างน้ำกาม นอกจากนั้น
คื อ ห ล อ ด เ ลื อ ด แ ล ะ เ ส้ น ป ร ะ ส า ท

SEMINAL VESICLE 56
BLADDER
PROSTATE GLAND BLOOD
DUCTUS (VAS) FILTRATION
DEFERENS TUBULAR REABSORPTION AND SECRETION
PENIS URINE "REFRESHED" BLOOD
BULBOURETHRAL
GLAND BLADDER
EPIDIDYMIS SEMINAL VESICLE
TESTICLE URETHRA
PENIS
PROSTATE GLAND
URETHRA
DIVIDED VAS DEFERENS
NSV OPENING
TESTICLE
EPIDIDYMIS

57

DUCTUS (VAS) DEFERENS
URETER
URINARY BLADDER
SEMINAL
VESICLE
PROSTATE
EJACULATORY
DUCT
BULBOURETHRAL (COWPER'S) GLAND
BULBOSPONGIOSUS MUSCLE
S PCEORRMPAUTSI CS PCOONRGDI O S U M
P USBCIRCOSTYAML PSHEYPSTI SU M
SUPSEPNEISNSORY LIGAMENT

CORPUS CAVERNOSUM
CORONA
TESTIS
PREPUCE (FORESKIN)
GLANS PENIS
EPIDIDYMIS
DARTOS
SCROTUM

SKIN URETHRA
DEEP DORSAL VEIN
TUNICA ALBUGINEA
CORPUS CAVEMOSUM:
TRABECULAE 1
CAVEMOSAL SPACES 2
CAVEMOSAL ARTERY 3
SEPTUM
CORPUS SPONGIOSUM
URETHRA

CORPORA CAVERNOSA
CORPORA CAVERNOSA
GLANS PENIS
URETHRAL OPENING
CORONA
URETHRA
CORPUS SPONGIOSUM

58

VAS (DUCTUS) DEFERENS ACROSOME CAP SPERMATIC CORD
BODY OF EPIDIDYMIS NUCLEUS BLOOD VESSELS & NERVES
TESTICULAR ARTERY NUCLEAR MEMBRANE DUCTUS (VAS) DEFERENS
PAMPINIFORM PLEXUS PROXIMAL CENTRIOLE EPIDIDYMIS (HEAD)
HEAD OF EPIDIDYMIS SEGMENTED COLUMN EFFERENT DUCTULE
EFFERENT DUCTULES MITOCHONDREA SEMINIFEROUS TUBULE
SEPTA DENSE FIBERS
TAIL OF EPIDIDYMIS ANNULUS RETE TESTIS
LOBULES FLAGELLUM LOBULE
TUNICA ALBUGINEA FIBROUS SHEATH EPIDIDYMIS (TAIL)

ระบบประสาท 59
(NERVOUS SYSTEM)

ควบคุมการทำหน้าที่ ของส่วนต่างๆ ของทุกระบบในร่างกายให้ทำงาน
ประสานสัมพันธ์กัน เพื่อให้ร่างกายสามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่ง
แวดล้อม ทั้งภายในและภายนอกร่างกาย ให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้
เป็นแหล่งที่มาของความคิด ความรู้สึก สติปัญญา ความฉลาดไหวพริบ
การตัดสินใจ การใช้เหตุผลและการแสดงอารมณ์

STRUCTURE OF THE NERVOUS SYSTEM

ระบบประสาท 60

(NERVOUS SYSTEM)

ระบบประสาทแบ่งออก 2 ส่วน

1. ระบบประสาทส่วนกลาง (CENTRAL NERVOUS SYSTEM)
ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ส ม อ ง แ ล ะ ไ ข สั น ห ลั ง
เป็นศูนย์ควบคุม และประสานการทำงานของร่างกายทั้งหมด
2. ระบบประสาทส่วนปลาย (PERIPHERAL NERVOUS SYSTEM)
ประกอบด้วย เส้นประสาทสมอง (CRANIAL NERVES) 12 คู่ และ
เส้นประสาทไขสันหลัง (SPINAL NERVES) 31 คู่
เป็นส่วนที่ติดต่อระหว่างระบบประสาทส่วนกลางและส่วนอื่น ๆ ของ
ร่ า ง ก า ย

STRUCTURE AND FUNCTION OF THE NERVOUS SYSTEM

ระบบประสาท 61
(NERVOUS SYSTEM)

เซลล์ประสาท A NEURON

เ ป็ น เ ซ ล ล์ เ ร้ า ไ ด้ ด้ ว ย ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า ที่ ทำ ห น้ า ที่ ป ร ะ ม ว ล
และส่งข้อมูลผ่านสัญญาณไฟฟ้าและเคมี โดยส่ง
ผ่านจุดประสานประสาท (SYNAPSE) ซึ่งเป็นการ
เชื่อมต่อโดยเฉพาะกับเซลล์อื่น ๆ

AXON & DENDRITES

AXON (แกนประสาทนำออก) AXON, WHICH IS THE FIBER
THAT CONNECTS A NEURON WITH ITS TARGET.
DENDRITES (ใยประสาทนำเข้า) DENDRITES ARE
RESPONSIBLE FOR RECEIVING MOST OF THE INPUT
FROM OTHER NEURONS.

UNIPOLAR NEURONS 62

( เ ซ ล ล์ ป ร ะ ส า ท ขั้ ว เ ดี ย ว )

ได้แก่ เซลล์ประสาทที่มี PROCESS เดียว
อาจจะมีแต่ AXONไม่มี DENDRITE เช่น
OLFACTORY RECEPTOR NEURONS, RODS และ CONE CELLS
ของ RETINA บางครั้ง PROCESS ที่ยื่นออกมา
จะแยกเป็น 2 แขนง เรียกว่าเป็น
PSEUDOUNIPOLAR NEURONS ได้แก่ SPINAL GANGLION CELL

MULTIPOLAR NEURONS
( เ ซ ล ล์ ป ร ะ ส า ท ห ล า ย ขั้ ว )

“ONE AXON AND

TWO OR MORE DENDRITES”

DURA MATTER เป็นชั้นที่หนาและเหนียวที่สุด เ ยื่ อ หุ้ ม ส ม อ ง
ARACHNOID MATTER ลักษณะใสและยืดหยุ่น MENINGES
PIA MATTER ลักษณะเป็นเยื่อบางติดสนิทกับสมองและไขสันหลัง และ
ประกอบเป็นเยื่อหุ้มหลอดเลือดที่เข้าสู่สมองเป็นส่วนที่เรียกว่า เพียล แบริ
เออร์ (PIAL BARRIER) ซึ่งทำหน้าที่ยับยั้งและคัดกรองสารเคมีที่เคลื่อน
ย้ายผ่านเข้าออก ระหว่างกระแสเลือดใน ซีรีบรัมกับเนื้อเยื่อประสาทของ
สมอง

โพรงสมอง VEVTRICLES 63

เป็นช่องภายในสมองซึ่งเป็นที่อยู่ของน้ำเลี้ยงสมองและไขสันหลัง (CEREBROSPINAL FLUID:CSF)
ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย
1.โพรงสมองด้านข้าง (LATERAL VENTRICLE) อยู่ในซีรีบรัม (CEREBRUM) มี 2 ข้าง คือ
ข้ า ง ข ว า แ ล ะ ข้ า ง ซ้ า ย
2 โพรงสมองที่ 3 (THIRD VENTRICLE) เป็นช่องเดียวที่อยู่กึ่งกลางระหว่างทาลามัส(THALAMUS)
3.โพรงสมองที่ 4 (FOURTH VENTRICLE) เป็นช่องเดียวที่อยู่ใต้ซีรีเบลลัม (CEREBELLUM)ภายในมีน้ำ
หล่อสมองไขสันหลังหรือน้ำไขสันหลัง (CEREBROSPINAL FLUID : CSF)

CENTRAL NERVOUS SYSTEM

BRAIN STEM

ควบคุมการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ แบ่งออกเป็น 3 ส่วน

MIDBRAIN ทำหน้าที่เป็นทางผ่านของเส้นใยประสาทที่จะไปสู่สมองส่วนหน้า ควบคุมเกี่ยวกับการ

มองเห็น และการได้ยิน

PONS ทำหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหว เป็นที่อยู่ของเซลล์ประสาทประสานงาน

MEDULLA OBLONGATA ทำหน้าที่ ควบคุมเกี่ยวกับการหายใจ การเต้นของหัวใจ ความดันเลือด

ก า ร ทำ ง า น ข อ ง ท า ง เ ดิ น อ า ห า ร FRONTAL LOBE
ความคิด ความจำ
CEREBRAL HEMISPHERES

การเคลื่อนไหว การพูด

PARIETAL LOBE

การรู้สึกตัว การเขียน

TEMPORAL LOBE

การได้กลิ่น การได้ยิน

การเข้าใจคำพูด ภาษา

OCCIPITAL LOBE

การมองเห็น หรือช่วยใน

การแปลความหมายภาพ

ระบบขับไหลเวียนโลหิต 6 4

(Cardiovascular System)

ระบบไหลเวียน หรือ ระบบหัวใจหลอดเลือด เป็นระบบอวัยวะซึ่งให้เลือดไหลเวียนและขนส่ง
สารอาหาร (เช่น กรดอะมิโนและอิเล็กโทรไลต์) ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ ฮอร์โมน และ
เม็ดเลือดเข้าและออกเซลล์ในร่างกายเพื่อหล่อเลี้ยงและช่วยต่อสู้โรค รักษาอุณหภูมิและ pH
ของร่างกาย และรักษาภาวะธำรงดุล

มักมองว่าระบบไหลเวียนประกอบด้วยทั้งระบบหัวใจหลอดเลือด ซึ่งกระจายเลือด และ
ระบบน้ำเหลือง ซึ่งไหลเวียนน้ำเหลือง ทั้งสองเป็นระบบแยกกัน ตัวอย่างเช่น ทางเดินน้ำ
เหลืองยาวกว่าหลอดเลือดมุดเดี๋ยวโดนๆมาก เลือดเป็นของเหลวอันประกอบด้วยน้ำเลือด
เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือดซึ่งหัวใจทำหน้าที่ไหลเวียนผ่านระบบหลอดเลือด
สัตว์มีกระดูกสันหลัง โดยน้ำออกซิเจนและสารอาหารไปและของเสียกลับจากเนื้อเยื่อกาย
น้ำเหลือง คือ น้ำเลือดส่วนเกินที่ถูกกรองจากของเหลวแทรก (interstitial fluid) และกลับ
เข้าสู่ระบบน้ำเหลือง ระบบหัวใจหลอดเลือดประกอบด้วยเลือด หัวใจและหลอดเลือด ส่วน
ระบบน้ำเหลืองประกอบด้วยน้ำเหลือง ปุ่มน้ำเหลืองและหลอดน้ำเหลือง ซึ่งคืนน้ำเลือดที่
กรองมาจากของเหลวแทรกในรูปน้ำเหลือง

มนุษย์และสัตว์มีกระดูกสันหลังอื่นมีระบบหัวใจหลอดเลือดแบบปิด คือ เลือดไม่ออกจาก
เครือข่ายหลอดเลือดแดง หลอดเลือดดำ และหลอดเลือดฝอย แต่กลุ่มสัตว์ไม่มีกระดูกสัน
หลังบางกลุ่มมีระบบหัวใจหลอดเลือดแบบเปิด ในทางตรงข้าม ระบบน้ำเหลืองเป็นระบบ
เปิดซึ่งให้ทางที่จำเป็นแก่ของเหลวระหว่างเซลล์ส่วนเกินกลับเข้าสู่หลอดเลือดได้ ไฟลัมสัตว์
ไดโพลบลาสติก (diploblastic) บางไฟลัมไม่มีระบบไหลเวียน

• โครงสร้างและหน้าที่ของและหัวใจ 65

• โครงสร้างและหน้าที่ของหลอดเลือด
• หลอดเลือดแดง (ARTERY)
• หลอดเลือดดำ (VEIN)
• หลอดเลือดฝอย (CAPILLARY)

• โครงสร้างและหน้าที่ของระบบน้ำเหลือง

• หลอดน้ำเหลือง
• อวัยวะน้ำเหลือง

• การวัดความดันโลหิต
• การเจาะเลือด
• การวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ

ก ร ะ บ ว น ก า ร ทำ ง า น ข อ ง ร ะ บ บ ไ ห ล เ วี ย น เ ลื อ ด 66

1.ให้อาหาร นำอาหารและสารอื่นๆ ไปเลี้ยงเซลล์ของ
ร่ า ง ก า ย
2.หายใจ นำคาร์บอนไดออกไซด์ไปขับออกทางปอดเพื่อ
แ ล ก เ ป ลี่ ย น อ อ ก ซิ เ จ น ก ลั บ ม า ใ ช้
3.ขับถ่าย นำของเสียซึ่งเกิดจากเมแทบอลิซึม เพื่อขับ
อ อ ก ภ า ย น อ ก ร่ า ง ก า ย
4.การคงปริมาณสารน้ำของร่างกาย ช่วยควบคุมและ
รั ก ษ า ดุ ล ข อ ง ส า ร น้ำ ภ า ย ใ น ร่ า ง ก า ย

67

1 . หั ว ใ จ ห้ อ ง บ น ข ว า จ ะ รั บ เ ลื อ ด จ า ก ห ล อ ด เ ลื อ ด ดำ ซู พี เ รี ย เ ว น า ค า ว า ( S U P E R I O R
VENACAVA) ซึ่งรับเลือดมาจากศีรษะเเละเเขน เเละรับเลือดจากหลอดเลือดดำอิน
ฟีเรยเวนาคาวา(INFERIOR VENACAVA)ซึ่งรับเลือดมาจากลำตัวเเละขาเข้าสู้หัวใจ
2.หัวใจห้องบนขวาจะบีบตัว ทำให้เลือดไหลเข้าสู่หัวใจห้องล่างขวาผ่านลิ้นหัวใจ
ไ ต ร คั ส พิ ด
3.หัวใจห้องล่างขวาจะบีบตัว เลือดจะไหลผ่านลิ้นหัวในพัลโมนารีเซมิลูนาร์ ทำให้
เ ลื อ ด ไ ห ล เ ข้ า สู้ ห ล อ ด เ ลื อ ด พั ล โ ม น า รี อ า ร์ เ ท อ รี
4.เลือดจะถูกส่งไปยังปอดเพื่อเเลกเปลี่ยนเเก๊ส ทำให้เลือดมีเเก๊สออกซิเจนสูงขึ้น
5.เลือดที่มีเเก๊สออกซิเจนสูง จะออกจากปอดเเล้วไหลกลับสู่หัวใจทางหลอดเลือด
พัลโมนารีเวน เข้าสู่หัวใจห้อง
บนซ้าย เมื่อหัวใจห้องบนซ้ายบีบตัวเลือดจะไหลผ่านลิ้นหัวใจไบคัสพิดเข้าสู่หัวใจ
ห้ อ ง ล่ า ง ซ้ า ย
6 . เ มื่ อ หั ว ใ จ ห้ อ ง ล่ า ง ซ่ า ย เ กิ ด ก า ร บี บ ตั ว ทำ ใ ห้ เ ลื อ ด ไ ห ล ผ่ า น ลิ้ น หั ว ใ จ เ อ อ อ ร์ ติ ก เ ซ มิ ลู
นาร์ ทำให้เลือดไหลเข้าสู้หลอดเลือดเอออร์ตา(AORTA) ซึ่งเป็นหลอดเลือดเเดง
ใหญ่ เลือดที่มีปริมาณเเก๊สออกซิเจนสูงจะไหลไปยังส่วนต่างๆของร่ากาย

Pulse points 68

ในวิชาแพทยศาสตร์ ชีพจรของบุคคลแทนการคลำตรวจการเต้นของหัวใจทาง
หลอดเลือดแดงด้วยนิ้วมือ อาจคลำตรวจชีพจรได้ทุกที่ซึ่งจะกดหลอดเลือดแดง
กับกระดูก เช่น ที่คอ (หลอดเลือดแดงแคโรติด) ด้านในข้อศอก (หลอดเลือด
แดงแขน) ที่ข้อมือ (หลอดเลือดแดงเรเดียล) ที่ขาหนีบ (หลอดเลือดแดงต้นขา)
หลังเข่า (หลอดเลือดแดงขาพับ) ใกล้ข้อตาตุ่ม (หลอดเลือดแดงแข้งหลัง) และ
บนเท้า (หลอดเลือดแดงเท้าบน) ชีพจร หรือการนับชีพจรหลอดเลือดแดงต่อ
นาที เท่ากับการวัดอัตราหัวใจเต้น อัตราหัวใจเต้นยังสามารถวัดได้โดยการฟัง
หัวใจเต้นโดยตรง ซึ่งปกติใช้เครื่องตรวจหูฟังแล้วนับไปหนึ่งนาที

ร ะ บ บ ท า ง เ ดิ น ห า ย ใ จ 69
(RESPIRATORY SYSTEM)

ระบบทางเดินหายใจ(RESPIRATORY SYSTEM)

ระบบโครงกระดูก (SKELETAL SYSTEM)
- มีหน้าที่แลกเปลี่ยนก๊าซให้กับสิ่งมีชีวิตในมนุษย์และสัตว์
เลี้ยงลูกด้วยนมระบบทางเดินหายใจประกอบไปด้วย จมูก
หลอดลม ปอด และกล้ามเนื้อระบบทางเดินหายใจ
อ อ ก ซิ เ จ น แ ล ะ ค า ร์ บ อ น ไ ด อ อ ก ไ ซ ด์ จ ะ ถู ก แ ล ก เ ป ลี่ ย น ที่ ป อ ด
ด้วยกระบวนการแพร่ โดยนำออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายและ
ค า ร์ บ อ น ไ ด อ อ ก ไ ซ ด์ อ อ ก จ า ก ร่ า ง ก า ย

โ ค ร ง ส ร้ า ง ร ะ บ บ ท า ง เ ดิ น ห า ย ใ จ 70
โ ค ร ง ส ร้ า ง ภ า ย ใ น
- GROSS ANATOMY
- HISTOLOGY
โ ค ร ง ส ร้ า ง ภ า ย น อ ก
- กระดูกซี่โครง
- กล้ามเนื้อ
- กระบังลม
- เยื่อหุ้มปอด

ท า ง เ ดิ น ห า ย ใ จ

ท า ง เ ดิ น ห า ย ใ จ ส่ ว น บ น
ประกอบด้วยอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการหายใจเหนือกล่องเสียงขึ้นไป ได้แก่
จมูก คอหอย
ท า ง เ ดิ น ห า ย ใ จ ส่ ว น ล่ า ง
ประกอบด้วยกล่องเสียง , หลอดคอ , หลอดลมใหญ่ และปอด

- CONDUCTING ZONE
- RESPIRATORY ZONE: BRONCHIOLE,

ALVEOLI

โครงสร้างภายนอกของ (NASAL CAVITY) 71
ส่ ว น น อ ก
- NASAL BONE
- MAXILLA BONE
- กระดูกอ่อน (CARTILAGE)
ส่ ว น ใ น
- ETMOID, VOMER, MAXILLA, PALATINE

โครงสร้างภายในของ (NASAL CAVITY)
TURBINATE

ช่ ว ย เ พิ่ ม พื้ น ที่ ผิ ว แ ล ะ ค ว บ คุ ม ก า ร ไ ห ล เ วี ย น
ของอากาศ

โพรงไซนัส (SINUS) 72

• ทำให้อำกำศอุ่นและชื้น
• ช่วยในกำรเปล่งเสียง
• รักษาสมดุลของศีรษะ
• ปรับความดันของอากาศในโพรงจมูก

โครงสร้างของคอหอย (PHARYNX)

NASOPHARYNX อยู่เหนือ เพดานอ่อนมี EUSTACHIAN
TUBE
OROPHARYNX อยู่เหนือฝาปิดกล่องเสียง
LARYNGOPHARYNX อยู่เหนือกระดูกอ่อน CRICOID
ช่ ว ย ใ น ก า ร อ อ ก เ สี ย ง ก า ร ก ลื น แ ล ะ เ ป็ น ท า ง ผ่ า น ข อ ง อ า ก า ศ
ใ น ก า ร ห า ย ใ จ ป้ อ ง กั น ก า ร สำ ลั ก

โ ค ร ง ส ร้ า ง ข อ ง ก ล่ อ ง เ สี ย ง ( L A R Y N X ) 73

• ฝาปิดกล่องเสียง (EPIGLOTTIS)
• กระดูกอ่อน (THYROID)
• กระดูกอ่อน (CRICOID)

โครงสร้างของปอด (LUNG)

โครงสร้างของปอด (LUNG) 74

TRACHEA
BRONCHUS
BRONCHIOLE
ALVEOLAR DUCT
ALVEOLAR SAC
ALVEOLI

HISTOLOGY ของปอด

PNEUMOCYTE
- TYPE I แลกเปลื่ยนก๊าซมีจำนวนน้อยกว่าแต่พื้นที่ผิวมากกว่า
- TYPE II เป็น PRECURSOR ของ TYPE I มีจำนวนมากกว่า TYPE I
ENDOTHELIAL CELL สร้าง ACE
ALVEOLAR MACROPHAGE ทำลายสิ่งแปลกปลอม
SURFACTANT อยู่บนเยื่อบุของ ALVEOLAR สร้างโดย PNEUMOCYTE
TYPE II ป้องการการแฟบของถุงลมขณะหายใจออก

โครงสร้างของปอด (LUNG) 75

TRACHEA
BRONCHUS
BRONCHIOLE
ALVEOLAR DUCT
ALVEOLAR SAC
ALVEOLI

HISTOLOGY ของปอด

PNEUMOCYTE
- TYPE I แลกเปลื่ยนก๊าซมีจำนวนน้อยกว่าแต่พื้นที่ผิวมากกว่า
- TYPE II เป็น PRECURSOR ของ TYPE I มีจำนวนมากกว่า TYPE I
ENDOTHELIAL CELL สร้าง ACE
ALVEOLAR MACROPHAGE ทำลายสิ่งแปลกปลอม
SURFACTANT อยู่บนเยื่อบุของ ALVEOLAR สร้างโดย PNEUMOCYTE
TYPE II ป้องการการแฟบของถุงลมขณะหายใจออก

76

โ ค ร ง ส ร้ า ง ภ า ย น อ ก ข อ ง ร ะ บ บ ท า ง เ ดิ น ห า ย ใ จ

1.กระดูกซี่โครง (RIB) และกล้ามเนื้อยึดซี่โครง
- ปกป้องปอดและหัวใจ
- มี 12 คู่
2. กระบังลม (DIAPHRAGM)
- ใ ช้ ใ น ก า ร ห า ย ใ จ
3. เยื่อหุ้มปอด
- ป้ อ ง กั น ก า ร เ สี ย ด สี ข อ ง ป อ ด ข ณ ะ ห า ย ใ จ

Thank
You


Click to View FlipBook Version