The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ นาฏศิลป์ ม.3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pornpassanan Poomjarean, 2019-12-18 03:07:32

แผนการจัดการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้ นาฏศิลป์ ม.3

แบบกิจกรรมการจดั การเรียนรูตามตัวช้ีวดั

ารเรียนรู ศิลปะ

) รหสั วิชา ศ 23101 ชน้ั ม.3

แนวการ สมรรถนะ คุณลกั ษณะ แนวการวัดและ
การเรียนรู อนั พึงประสงค ประเมินผล

นักเรียนชม 1. ความสามารถใน 1. มวี ินัย แบบทดสอบ
ดง 1 เรือ่ ง การคดิ 2. ใฝเ รยี นรู
ถามนักเรยี น 2. ความสามารถใน 3. รักความเปนไทย
บการแสดงท่ี การสือ่ สาร
นักเรียนพบ
ใดบาง
ตวั อยางงานท่ี
นพบเห็น วา
าการกับกลุม
ารเรียนรูใด
และนกั เรยี น
ลการประเมนิ


โครงสร้างหน่วยการหน่วยการเรียนรู้ เวลา ชัวโมง

หน่วยการเรียนรู้ที 1 ทกั ษะ/กระบวนการ
พืนฐานความรู้ของนาฏศิลป์ และการละคร กระบวนการคดิ
การศกึ ษาคน้ ควา้
ผงั มโนทศั น์เป้าหมายการเรียนรู้ การคดิ วิเคราะห์
การสงั เกต
ความรู้ – การปฏบิ ตั ิ
– ภาษาทา่ หรือภาษาทางนาฏศลิ ป์ – การนาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชนใ์ น
– องคป์ ระกอบของนาฏศิลป์ – ชีวติ ประจาํ วนั
– เปรียบเทียบความแตกต่างการ – ทกั ษะการปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นกลมุ่
– ทกั ษะการปฏิบตั ิกิจกรรมเป็น
แสดงรําวงมาตรฐานกบั การแสดง – รายบคุ คล
ราํ ฉุยฉายเบญกาย



พืนฐานความรู้ของ
นาฏศิลป์ และการละคร

ภาระงาน/ชินงาน คุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ ม
– การทาํ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน – มีเจตคติทีดีต่อการแสดงนาฏศิลป์

– การศึกษาพนื ฐานความรู้ของนาฏศลิ ป์ และการละคร และการละคร
ไดแ้ ก่ ภาษาทา่ หรือภาษาทางนาฏศิลป์ – เหน็ คุณค่าและความสาํ คญั ของ

องคป์ ระกอบของนาฏศิลป์ การแสดงนาฏศิลป์ และการละคร
– ปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นรายบคุ คล
– บอกชือและจาํ แนกภาษาท่าหรือภาษาทางนาฏศิลป์
และปฏิบตั กิ ิจกรรมเป็นกลุ่มดว้ ย
– ฝึกปฏิบตั ิการใชภ้ าษาทา่ ในการถา่ ยทอดเรืองราว ความซือสัตย์ มีความรับผิดชอบ
– ปฏิบตั ิตนอยา่ งมีมารยาทในการ
– เปรียบเทียบความแตกต่างการแสดงราํ วงมาตรฐาน ปฏิบตั ิกิจกรรมร่วมกบั ผูอ้ ืน
กบั การแสดงราํ ฉุยฉายเบญกาย

– การปฏิบตั ิจริง – การนาํ เสนอผลงาน

– การจดั ทาํ รายงาน – การจดั ทาํ สมุดภาพ

– การทาํ โครงงาน – ใบงาน

ผงั การออกแบบการจดั การเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้ที พืนฐานความรู้ของนาฏศิลป์ และการละคร

ขันที 1 ผลลัพธ์ปลายทางทตี ้องการให้เกดิ ขึนกบั นกั เรียน

ตวั ชีวดั ชันปี

1. ใชน้ าฏยศพั ทห์ รือศพั ทท์ างการละครทีเหมาะสมบรรยายเปรียบเทียบการแสดงอากปั กิริยาของคนใน

ชีวิตประจาํ วนั และในการแสดง (ศ . ม. / )

. วจิ ารณเ์ ปรียบเทียบงานนาฏศิลป์ ทีมีความแตกตา่ งกนั โดยใชค้ วามรู้เรืององคป์ ระกอบนาฏศิลป์

(ศ . ม. / )

ความเข้าใจทีคงทนของนกั เรียน คําถามสําคัญทีทําให้เกดิ ความเข้าใจทคี งทน
นักเรียนจะเข้าใจว่า...
1. ภาษาทา่ หรือภาษาทางนาฏศิลป์ คือ การแสดง 1. ภาษาท่าหรือภาษาทางนาฏศิลป์ คอื อะไร
ทา่ ทางแทนคาํ พูด ใชส้ ือถึงอารมณ์ความรู้สึก รวมถึง . ภาษาทา่ หรือภาษาทางนาฏศลิ ป์ แบ่งออกเป็นกี
กิริยาหรือิริยาบถต่าง ๆ โดยสรา้ งสรรคท์ ่าทางหรือท่า ประเภท อะไรบา้ ง
. ภาษาท่าทีมาจากท่าทางธรรมชาติแบ่งออกเป็นกี
รํามาจากธรรมชาติให้วิจิตรงดงาม แบง่ ออกเป็ น
ประเภท คือ ภาษาท่าทีมาจากทา่ ทางธรรมชาติ และ ลกั ษณะ อะไรบา้ ง
. การใชภ้ าษาทา่ หรือภาษาทางนาฏศิลป์ แบ่งตาม
ภาษาท่าทีมาจากการประดิษฐ์
. การใชภ้ าษาทา่ หรือภาษาทางนาฏศิลป์ สามารถแบ่ง วธิ ีการใชไ้ ดก้ ีลกั ษณะ อะไรบา้ ง
. องคป์ ระกอบของนาฏศิลป์ ประกอบดว้ ย
ตามวธิ ีการใชไ้ ด้ ลกั ษณะ คือ ใชภ้ าษาทา่ ทาง
ธรรมชาติ ใชภ้ าษาท่าเลียนแบบพฤติกรรมทางอารมณ์ อะไรบา้ ง
ใชภ้ าษาท่าเลียนแบบสิงทีอยใู่ นธรรมชาติ คน สตั ว์ ใช้ . ราํ วงมาตรฐานกบั ราํ ฉุยฉายเบญกายมีความ
ภาษาทา่ เลียนแบบสือความหมายตามหลกั นาฏศิลป์ แตกต่างกนั อยา่ งไร

ไทย

. องคป์ ระกอบของนาฏศิลป์ ประกอบดว้ ย จงั หวะ

ทาํ นอง การเคลือนไหว อารมณ์และความรู้สึก

นาฏยศพั ทแ์ ละภาษาทา่ รูปแบบการแสดง

การแตง่ กาย
) ดา้ นจงั หวะทาํ นอง

( ) ราํ วงมาตรฐานมเี พลงทีใชใ้ นการแสดงทงั หมด

เพลง แต่ละเพลงของการแสดงรําวงมาตรฐานจะ

เป็นเพลงอตั ราจงั หวะชนั เดยี วทุกเพลง และมีเพยี ง

ทาํ นองเดียวตลอดบทเพลง

( ) บทเพลงรําฉุยฉายเบญกายบรรจุเพลงสาํ หรับบท

ร้อง เพลง คือ เพลงฉุยฉายและเพลงแม่ศรี ซึงมีอตั รา
จงั หวะ ชนั และ ชนั มีการรับเลียนทาํ นองทุกท่อน

) ดา้ นการเคลือนไหว
( ) ราํ วงมาตรฐานมีลกั ษณะการเคลือนไหวในการ
ร่ายรําในลกั ษณะทีผแู้ สดงจะจบั ครู่ าํ ชาย–หญิงเดินราํ
ตามกนั เป็ นวงกลม ในลกั ษณะทวนเขม็ นาฬิกา เนน้
ความพร้อมเพรียง
( ) รําฉุยฉายเบญกายเป็นการร่ายราํ อวดฝีมือในการ
แสดงใชผ้ แู้ สดงเพียงคนเดียว ลีลาท่าทางเป็นการร่าย
ราํ ทีสือความหมายตามบทรอ้ ง
3) ดา้ นอารมณ์ความรู้สึก
( ) ราํ วงมาตรฐานเป็นการแสดงทีมีลกั ษณะการร่าย
ราํ เพอื ความสนุกสนาน
( ) ราํ ฉุยฉายเบญกายเป็นการแสดงทีผแู้ สดงตอ้ ง
ถา่ ยทอดอารมณ์ให้สอดคลอ้ งตามบทร้องควบคู่กบั
การร่ายรําทีงดงามตามหลกั นาฏศิลป์
) ดา้ นนาฏยศพั ทแ์ ละภาษาทา่
( ) รําวงมาตรฐานเป็นการแสดงทีมุง่ เนน้ ในความ
สวยงามและความถูกตอ้ งตามแบบแผนของทา่ ราํ ที
กาํ หนดในแต่ละบทเพลง
( ) ราํ ฉุยฉายเบญกายเป็นการแสดงทีใชน้ าฏยศพั ท์
และภาษาทา่ ในการร่ายราํ สือความหมาย
) ดา้ นรูปแบบการแสดง
( ) ราํ วงมาตรฐานเป็นการแสดงหมู่จบั ครู่ ะหวา่ ง
ชาย–หญิง ตงั แต่ คูข่ ึนไป มีลกั ษณะการราํ เคลือนที
เป็ นวงกลม
( ) ราํ ฉุยฉายเบญกายเป็นการแสดงเดียวเป็นการราํ ที
มีการใชท้ ิศทางบนเวทีทงั ดา้ นหนา้ เวทีและหนั
ดา้ นขวาและดา้ นซา้ ยของเวทีใหส้ อดคลอ้ งกบั ทา่ รําที
กาํ หนด
) ดา้ นการแตง่ ก่าย
( ) ราํ วงมาตรฐานแตง่ กายไดห้ ลายแบบ เช่น แบบ
พนื บา้ น แบบไทยพระราชนิยม แบบไทยสากล
( ) ราํ ฉุยฉายเบญกายแต่งกายแบบยนื เครือง (ตวั

นาง)

ความรู้ของนกั เรียนทีนําไปสู่ความเข้าใจทีคงทน ทักษะ/ความสามารถของนกั เรียนทีนําไปสู่ความ
นักเรียนจะรู้ว่า... เข้าใจทีคงทน
1. คาํ สาํ คญั ทีควรรู้ ไดแ้ ก่ ภาษาท่า ศิราภรณ์ ราํ วง นักเรียนจะสามารถ...
มาตรฐาน
1. อธิบายความหมายของภาษาทา่ หรือภาษาทาง
. ภาษาทา่ หรือภาษาทางนาฏศิลป์ คือ การแสดง นาฏศิลป์ ได้
ท่าทางแทนคาํ พดู ใชส้ ือถึงอารมณ์ ความรู้สึก รวมถึง 2. บอกชือและจาํ แนกภาษาท่าในแตล่ ะภาพ
กิริยาหรืออิริยาบถตา่ ง ๆ โดยสร้างสรรคท์ ่าทางหรือ . ฝึ กปฏิบตั ิการใชภ้ าษาท่าในการถ่ายทอดเรืองราว
ท่าราํ ใหม้ ีความวจิ ิตรงดงาม แบง่ ออกเป็น ประเภท ได้
คอื . อธิบายองคป์ ระกอบนาฏศิลป์ ได้
) ภาษาท่าทีมาจากทา่ ทางธรรมชาติ แบง่ เป็น
. สร้างสรรคก์ ารแสดงโดยใชอ้ งคป์ ระกอบของ
ลกั ษณะ คือ ภาษาทา่ ทีใชแ้ ทนการพูด ภาษาทา่ ทีใชส้ ือ นาฏศิลป์ ได้
ความหมายแทนอารมณ์ความรู้สึก ภาษาทา่ ทีใชแ้ สดง . เปรียบเทียบความแตกตา่ งของการแสดงรําวง
อิริยาบถต่าง ๆ มาตรฐานกบั ราํ ฉุยฉายกายได้

) ภาษาท่าทีมาจากการประดิษฐ์

. การใชภ้ าษาท่าหรือภาษาทางนาฏศิลป์ สามารถแบ่ง

ตามวธิ ีการใชไ้ ด้ ลกั ษณะ คือ ใชภ้ าษาทา่ ทาง

ธรรมชาติ ใชภ้ าษาท่าทางเลยี นแบบพฤติกรรมทาง
อารมณ์ ใชภ้ าษาทา่ เลียนแบบสิงทีอยใู่ นธรรมชาติ คน

และสตั ว์ ใชภ้ าษาทา่ สือความหมายตามหลกั นาฏศิลป์

ไทย

. องคป์ ระกอบการแสดงนาฏศิลป์ ประกอบดว้ ย

จงั หวะทาํ นอง การเคลือนไหว อารมณ์และความรู้สึก

นาฏยศพั ทแ์ ละภาษาทา่ รูปแบบของการแสดง การ

แตง่ กาย
. ราํ วงมาตรฐาน ใชเ้ พลงประกอบบทร้องเป็นเพลง
อตั ราจงั หวะชนั เดยี ว ใชท้ าํ นองเดียวแต่ละบทเพลงทงั
เพลง เป็นการร่ายรําทีสืออารมณ์สนุกสนาน
ม่งุ เน้นในความสวยงามของท่าราํ แตล่ ะท่าทีกาํ หนด
เป็นการแสดงหมรู่ าํ เป็นค่ชู าย–หญิง เคลือนทีเป็ น
วงกลม แต่งกายไดห้ ลายแบบ เช่น แบบพนื บา้ น แบบ
ไทยพระราชนิยม แบบไทยสากล
. ราํ ฉุยฉายเบญกาย เพลงประกอบในการแสดงมี
เพลง คอื เพลงฉุยฉายเป็นเพลงทีมีอตั ราจงั หวะ ชนั
และเพลงแม่ศรีเป็นเพลงซึงมีอตั ราจงั หวะ ชนั สือ

อารมณ์ตามบทรอ้ งของเพลง มุ่งเน้นการใชภ้ าษาทา่ ใน
การสือความหมายของทา่ ราํ ตามบทร้อง เป็นการแสดง
เดียว อวดฝี มือ ใชท้ ิศทางบนเวที ดา้ น คือ ดา้ นหนา้
เวทีและหันดา้ นซา้ ยและขวา แตง่ กายแบบยนื เครือง
(ตวั นาง)

ขันที 2 ภาระงานและการประเมนิ ผลการเรียนรู้ซึงเป็ นหลักฐานทีแสดงว่านักเรียนมผี ลการเรียนรู้ตามที
กาํ หนดไว้อย่างแท้จริง
1. ภาระงานทนี ักเรียนต้องปฏิบตั ิ
– ศึกษาพนื ฐานความรู้ของนาฏศลิ ป์ และการละคร ไดแ้ ก่ ภาษาท่าหรือภาษาทางนาฏศลิ ป์ องคป์ ระกอบของ
นาฏศิลป์
– บอกชือภาษาทา่ หรือภาษาทางนาฏศลิ ป์ ในแต่ละภาพได้
– ฝึกปฏิบตั ิภาษาทา่ หรือภาษาทางนาฏศิลป์
– ฝึกปฏิบตั ิภาษาท่าหรือภาษาทางนาฏศิลป์ ประกอบการแสดง
– ศึกษาองคป์ ระกอบของนาฏศลิ ป์ และนาํ มาใชป้ ระกอบการสร้างสรรคก์ ารแสดง
– อธิบายองคป์ ระกอบการแสดง
– วจิ ารณ์เปรียบเทียบความแตกต่างของการแสดงรําวงมาตรฐานกบั การแสดงรําฉุยฉายเบญกายโดยใช้
องคป์ ระกอบของนาฏศิลป์

2. วิธีการและเครืองมือประเมินผลการเรียนรู้

วธิ กี ารประเมนิ ผลการเรียนรู้ เครืองมือประเมินผลการเรียนรู้
– การทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน

– การสนทนาซกั ถามโดยครู - แบบบนั ทึกขอ้ มูลการแสดงความคดิ เห็นและการ

– การแสดงความคิดเห็นและอภิปราย อภปิ ราย

– การฝึกปฏิบตั ิระหวา่ งเรียน - ใบงาน

– การประเมินตนเองของนกั เรียน - แบบประเมินผลดา้ นความรู้
– การประเมินดา้ นความรู้ - แบบประเมินผลดา้ นคุณธรรม จริยธรรม

– การประเมินดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรมและค่านิยม และค่านิยม

– การประเมินดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ - แบบประเมินผลดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ

3. สิงทีม่งุ ประเมนิ

– ความสามารถในการบอกถึงพนื ฐานความรู้ของนาฏศลิ ป์ และการละคร ไดแ้ ก่ ภาษาทา่ หรือภาษาทาง

นาฏศิลป์

– ความสามารถในการใชภ้ าษาท่าหรือภาษาทางนาฏศิลป์ ในการถา่ ยทอดเรืองราว

– ความสามารถในการบอกถงึ องคป์ ระกอบของนาฏศิลป์

– ความสามารถในการเปรียบเทียบการแสดงนาฏศิลป์ โดยใชอ้ งคป์ ระกอบของการแสดง

– ความสามารถในการปฏิบตั ิกิจกรรมร่วมกบั ผอู้ ืนดว้ ยความซือสตั ย์ ความรบั ผดิ ชอบ และความประหยดั

ขันที 3 แผนการจดั การเรียนรู้

– แผนการจดั การเรียนรู้ที ภาษาท่าหรือภาษาทางนาฏศิลป์ ชวั โมง

– แผนการจดั การเรียนรู้ที องคป์ ระกอบของนาฏศิลป์ 1 ชวั โมง

– แผนการจดั การเรียนรู้ที เปรียบเทียบการแสดงนาฏศิลป์ โดย

ใชอ้ งคป์ ระกอบนาฏศลิ ป์ 1 ชวั โมง

หน่วยการเรียนรู้ที 2 เวลา 10 ชัวโมง

ทักษะการแสดงนาฏศิลป์ ไทย

ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้ ทักษะ/กระบวนการ

ความรู้ – กระบวนการคิด – การสังเกต
– รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์ – การศึกษาคน้ ควา้ – การเคลือนไหวร่างกาย
ไทย – การคดิ วเิ คราะห์
– การประดษิ ฐท์ า่ ราํ – การปฏบิ ตั ิ
– ออกแบบสร้างสรรคอ์ ปุ กรณ์ – การนาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจาํ วนั
และเครืองแต่งกาย – ทกั ษะการปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นกลุ่ม
– การจดั การแสดงนาฏศิลป์ ไทย – ทกั ษะการปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นรายบุคคล
ในโอกาสตา่ ง ๆ

ทกั ษะการแสดง
นาฏศิลป์ ไทย

ภาระงาน/ชินงาน คณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยม
– ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน – มีเจตคติทีดีตอ่ การแสดง
– ศึกษารูปแบบการแสดงนาฏศิลป์ ไทย ไดแ้ ก่
การแสดงเป็นหมู่ การแสดงเดียว การแสดงละคร นาฏศิลป์ และการละคร
การแสดงเป็ นชุดเป็ นตอน – เหน็ คณุ ค่าและความสาํ คญั
– ศึกษาหลกั ทีใชใ้ นการประดิษฐท์ ่าราํ
– สรา้ งสรรคก์ ารแสดงนาฏศลิ ป์ โดยใชห้ ลกั ของการแสดงนาฏศิลป์ และ
สาํ คญั มาใชใ้ นการประดษิ ฐ์ท่ารํา การละคร
– ออกแบบสร้างสรรคอ์ ุปกรณป์ ระกอบการแสดง – ปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นรายบคุ คล
– ออกแบบสร้างสรรคเ์ ครืองแตง่ กาย และปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นกลุ่ม
ประกอบการแสดง ดว้ ยความซือสัตย์ มีความ
– จดั การแสดงนาฏศิลป์ ไทยในโอกาสตา่ ง ๆ รบั ผิดชอบ
– การทาํ รายงาน – ปฏิบตั ิตนอยา่ งมีมารยาทใน
– การทาํ โครงงาน การปฏบิ ตั ิกิจกรรมร่วมกบั
ผอู้ ืน

ผงั การออกแบบการจดั การเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที 2 ทักษะการแสดงนาฏศิลป์ ไทย

ขันที 1 ผลลพั ธ์ปลายทางทตี ้องการให้เกดิ ขึนกบั นักเรียน

ตัวชีวัดชันปี

1. มีทกั ษะในการใชค้ วามคิดในการพฒั นารูปแบบการแสดง (ศ . ม. / )

. มีทกั ษะในการแปลความและการสือสารผา่ นการแสดง (ศ . ม. / )

. ร่วมจดั งานการแสดงในบทบาทหนา้ ทีตา่ ง ๆ (ศ . ม. / )
. ออกแบบสร้างสรรคอ์ ปุ กรณ์และเครืองแตง่ กาย เพอื แสดงนาฏศิลป์ และละครทีมาจากวฒั นธรรม

ต่าง ๆ (ศ . ม. / )

ความเข้าใจทีคงทนของนักเรียน คาํ ถามสําคญั ทีทาํ ให้เกดิ ความเข้าใจทคี งทน
นกั เรียนจะเข้าใจว่า...
. รูปแบบของการแสดงนากศิลป์ ไทย แบ่งออกเป็ น 1. รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์ ไทยแบ่งออกเป็นกี
ประเภท คือ การแสดงเป็นหมู่ การแสดงเดียว การ ประเภท อะไรบา้ ง
2. การประดิษฐท์ ่าราํ ประกอบการแสดงมีหลกั สาํ คญั
แสดงละคร การแสดงเป็นชุดเป็นตอน
อะไร
. หลกั สําคญั ของการประดิษฐ์ทา่ รํา คอื
) ท่าทางทีใชใ้ นการแสดงจะตอ้ งแสดงออกถึงทา่ 3. ขนั ตอนในการประดิษฐ์ทา่ รํามีอะไรบา้ ง
สาํ คญั ๆ ในบทเพลงวรรคนนั ๆ โดยตดั ท่าทีไม่สาํ คญั 4. การออกแบบสร้างสรรคอ์ ุปกรณ์และเครืองแต่ง
ออก กายประกอบการแสดงจะตอ้ งคาํ นึงถึงอะไร
5. ประเภทของงานทีจดั การแสดงนาฏศิลป์ ไทยแบ่ง
) ท่าราํ ตอ้ งสือความหมายทีชดั เจน
) การประดิษฐท์ ่าราํ ตอ้ งคาํ นึงถึงความถูกตอ้ ง ตรง ออกไดก้ ีลกั ษณะ อะไรบา้ ง
6. ขนั ตอนในการดาํ เนินการจดั การแสดงมอี ะไรบา้ ง
ตามแบบแผนของนาฏศิลป์ ไทย
) หลีกเลียงการใชท้ ่าราํ ซาํ กนั ในการสือความหมาย 7. ประโยชน์และคุณคา่ ของการแสดงมีอะไรบา้ ง

) การประดิษฐ์ท่าราํ ตอ้ งคาํ นึงถึงวยั ของเด็กในแต่

ละระดบั ชนั เพราะจะมีความยากงา่ ยไมเ่ หมือนกนั

. ขนั ตอนในการประดิษฐท์ า่ ราํ มีขนั ตอนดงั นี

) การเคลือนไหวร่างกาย
) การใชภ้ าษาทา่ ในการสือความหมาย

) การใชท้ ่าทางแทนคาํ พดู ประกอบการแสดง

. การออกแบบสร้างสรรคอ์ ุปกรณ์และเครืองแต่งกาย

ประกอบการแสดงจะตอ้ งคาํ นึงถึง ความประหยดั

ใชว้ สั ดุในทอ้ งถิน ใชห้ ลกั เรียบง่าย ใชค้ วามคดิ

สร้างสรรค์

. ประเภทของงานทีจดั การแสดงนาฏศิลป์ ไทยแบ่ง

ออกได้ ลกั ษณะ คือ งานพระราชพิธี งานมงคล

งานอวมงคล งานเทศกาลตา่ ง ๆ

. ขนั ตอนในการดาํ เนินการจดั การแสดงมดี งั นี

) การจดั การแสดงจาํ เป็นตอ้ งแบง่ หนา้ ที
ผรู้ ับผิดชอบออกเป็น ฝ่ าย คือ ฝ่ ายอาํ นวยการแสดง

ฝ่ ายจดั การแสดง และฝ่ ายธุรการ

) คดั เลือกผแู้ สดง ควรพจิ ารณาจากบุคลิกลกั ษณะ

ของผแู้ สดงใหม้ ีความสอดคลอ้ งกบั บทบาทของตวั

ละครนนั ๆ

) ประชุมเพอื มอบหมายงานใหก้ บั เจา้ หนา้ ทีฝ่ ายต่าง

ๆ เพือเตรียมการในงานส่วนต่าง ๆ
) จดั การประชุดติดตามผลการทาํ งานของแต่ละฝ่าย

) ฝึ กซอ้ มการแสดง

) จดั การแสดงจริง

) การสรุปและประเมินผลการแสดง

. ประโยชน์และคณุ คา่ ของการแสดง เช่น

ช่วยใหผ้ แู้ สดงมีความกลา้ แสดงออกทาํ ใหเ้ กิดความ

สามคั คี ร่วมแรงร่วมใจในการทาํ งาน เกิดความคิด
ริเริมสร้างสรรคใ์ นการคดิ ประดิษฐ์ชุดการแสดง

เป็ นตน้

ความรู้ของนกั เรียนทีนาํ ไปสู่ความเข้าใจทคี งทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนทีนาํ ไปสู่ความ
นักเรียนจะรู้ว่า... เข้าใจทีคงทน
1. คาํ สาํ คญั ทีควรรู้ ไดแ้ ก่ ระบาํ ฟ้อนที โขนหลวง นักเรียนจะสามารถ...
สวิง สมโภช โสกนั ต์ โสมนสั เหรัญญิก หุ่นละคร 1. อธิบายรูปแบบการแสดงนาฏศิลป์ ไทยได้
หลวง องคป์ ะตาระกาหลา 2. อธิบายหลกั สําคญั ในการประดิษฐ์ท่าราํ ได้

2. นาฏศิลป์ ไทย คอื ศิลปะการฟ้อนรําทีมนุษย์ . อธิบายขนั ตอนในการประดิษฐ์ท่าราํ ได้

สร้างสรรค์ และประดิษฐข์ ึน มคี วามงดงามประณีต 4. ประดิษฐท์ า่ รําประกอบการแสดงนาฏศิลป์ ไทยได้
และใหค้ วามบนั เทิงใจแก่ผชู้ ม มีรูปแบบการแสดง . ออกแบบสร้างสรรคอ์ ปุ กรณ์ประกอบการแสดงได้
นาฏศิลป์ ไทย ดงั นี
6. ออกแบบสร้างสรรคเ์ ครืองแต่งกายประกอบการ
) การแสดงเป็นหมู่ คือ การแสดงทีมีผแู้ สดงตงั แต่ แสดงได้
คนขึนไปใชเ้ พลงบรรเลงประกอบการแสดงทงั มี 7. อธิบายประเภทของงานในการจดั การแสดง
เนือร้องและไมม่ ีเนือร้อง เนน้ ความพร้อมเพรียง ความ นาฏศิลป์ ไทยได้
สมดุลในการแสดง หรือทีเรียกวา่ ระบาํ ซึงยงั รวม 8. จดั การแสดงนาฏศิลป์ ไทยไดต้ รงตามลกั ษณะของ
ความหมายไปถึง ฟ้อนและเซิง
งาน

) การแสดงเดียว คือ การแสดงทีผแู้ สดงเพียงคน 9. อธิบายขนั ตอนการดาํ เนินการจดั การแสดงได้
เดียว มงุ่ เนน้ ในความสวยงามของการเคลือนไหว 10. อธิบายประโยชนแ์ ละคณุ ค่าของการแสดงได้
ร่างกาย เป็นการแสดงฝีมือของผแู้ สดง เนน้ การใชม้ ือ
และแขนเป็ นหลกั

) การแสดงละคร คือ การแสดงทีดาํ เนินเป็ น
เรืองราว ใชผ้ แู้ สดงในการถา่ ยทอดเรืองราวตา่ ง ๆ โดย
ใชก้ ารร้อง การแสดงออกของลีลาท่าราํ และการใช้
เพลงประกอบ

) การแสดงเป็นชุดเป็นตอน คือ การแสดงที
สอดแทรกอยใู่ นการแสดงละคร มีจุดประสงคเ์ พอื เป็น
การร่ายรําอวดฝี มือของผแู้ สดง อาจเป็นการแสดง
ประเภทราํ เดียว ราํ คู่ หรือระบาํ
. การประดิษฐ์ท่าราํ คือ การนาํ พนื ฐานความรู้ดา้ น
นาฏยศพั ท์ ภาษาทา่ มาประดิษฐส์ รา้ งสรรคเ์ ป็นท่ารํา
ประกอบการแสดง หรือประกอบเพลงตา่ ง ๆ
. การประดษิ ฐ์ทา่ รําประกอบการแสดงจะตอ้ ง
คาํ นึงถึงหลกั สาํ คญั ในการประดิษฐ์ทา่ รํา ดงั นี

) ท่าทางทีใชป้ ระกอบการแสดงจะตอ้ งแสดงออก
ถึงท่าสาํ คญั ๆ ในบทเพลงวรรคนนั ๆ โดยตดั ทา่ ทีไม่
สาํ คญั หรือทา่ ยอ่ ยออก
2) ทา่ ราํ ทีประดิษฐห์ รือสร้างสรรคจ์ ะตอ้ งสือ
ความหมายไดอ้ ยา่ งชดั เจน

) ในการประดิษฐท์ ่ารําประกอบการแสดงจะตอ้ ง
คาํ นึงถึงความถูกตอ้ ง ตรงตามแบบแผนของนาฏศิลป์
ไทย

) ควรหลีกเลียงการใชท้ ่ารําทีซาํ กนั ในการสือ
ความหมาย

) การประดิษฐ์ทา่ ราํ ประกอบการแสดงนนั ตอ้ ง
คาํ นึงถึงวยั ของเด็กในแตล่ ะระดบั ชนั เพราะจะมีความ
ยากง่ายไมเ่ หมือนกนั
. ขนั ตอนในการประดิษฐท์ า่ รํา มีขนั ตอนดงั นี

) การเคลือนไหวร่างกาย เป็นการประดิษฐท์ า่ รํา
อยา่ งอสิ ระ โดยเริมจากการฟังเพลงแลว้ ใชจ้ ินตนาการ

ในการสร้างสรรคท์ า่ ราํ คาํ นึงถึงจงั หวะเป็นสาํ คญั ทา่
รําทีใชใ้ นการแสดงนนั จะสือความหมายตรงตามเนือ
เพลงหรือไม่กไ็ ด้ เพอื เป็นการช่วยพฒั นาในดา้ นการ
ฟัง ความคดิ สร้างสรรคใ์ นการแสดงและความกลา้
แสดงออก

) การใชภ้ าษาทา่ ในการสือความหมาย แทนการพดู
ระหวา่ งผแู้ สดงกบั ผชู้ ม อาจเป็นท่าทางทีเลียนแบบมา
จากธรรมชาติ สตั วห์ รือสิงของ ซึงมีการประดิษฐ์
ปรับปรุงให้มีความสวยงาม เหมาะสมกบั การแสดง

) การใชท้ า่ ทางแทนคาํ พูดประกอบการแสดง โดย
นาํ หลกั ของนาฏศิลป์ มาใชใ้ นการประดิษฐท์ า่ ราํ
ผทู้ ีจะประดิษฐท์ ่าราํ ไดด้ ีนนั จะตอ้ งมีความเขา้ ใจ
นาฏยศพั ท์ ภาษาทา่ ภาษานาฏศิลป์ ซึงเป็นพนื ฐาน
สาํ คญั ในการประดิษฐ์ทา่ ราํ
. การออกแบบสร้างสรรคอ์ ปุ กรณแ์ ละเครืองแตง่ กาย
ประกอบการแสดงจะตอ้ งคาํ นึงถึงหลกั ตา่ ง ๆ ดงั นี

) ความประหยดั คือ การนาํ เอาวสั ดุเหลือใช้ เช่น
ขวดพลาสติก เศษผา้ เชือก เป็นตน้ มาใชใ้ นการ
ประดิษฐส์ ร้างสรรคอ์ ปุ กรณ์ประกอบการแสดง

) ใชว้ สั ดุในทอ้ งถิน การแสดงพนื บา้ นบางชดุ
สามารถนาํ เอาวสั ดุพนื บา้ นของทอ้ งถินนนั ๆ มา
ประกอบการแสดง เช่น การนาํ สวิงมาใชใ้ นการแสดง
เซิงสวิง เป็นตน้

) ใชห้ ลกั เรียบง่าย การประดษิ ฐ์อปุ กรณ์
ประกอบการแสดงตอ้ งคาํ นึงถึงวยั ของผเู้ รียน ไมค่ วร
ใชว้ ธิ ีทียากจนเกินไป เน้นวา่ เป็ นอปุ กรณ์ทีใช้
ประกอบการเรียนผเู้ รียนสามารถประดิษฐ์ไดเ้ องและ
ใชป้ ระกอบการเรียนได้ ไม่ตอ้ งซือหาใหส้ ินเปลือง

) ใชค้ วามคดิ สร้างสรรค์ เป็นการเปิ ดโอกาสให้
ผเู้ รียนเกิดจินตนาการและความคิดสร้างสรรคใ์ นการ
ประดิษฐอ์ ุปกรณ์และเครืองแต่งกาย
. ประเภทของงานทีจดั การแสดงนาฏศิลป์ ไทยแบ่ง
ออกได้ ลกั ษณะ คอื

) งานพระราชพิธี คือ งานทีพระบาทสมเดจ็ พระ

เจา้ อยหู่ ัวทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ กาํ หนดไวเ้ ป็น
ประจาํ ทุกปี ซึงพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวหรือพระ
บรมวงศานุวงศจ์ ะเสด็จพระราชดาํ เนินไปทรง
ประกอบพิธี เช่น งานพระราชพิธีสมโภช พระราชพิธี
โสกนั ต์ เป็นตน้ การแสดงทีนาํ มาจดั การแสดงจะตอ้ ง
มีแบบแผนขนบธรรมเนียมอยา่ งเคร่งครัดและมีความ
งดงานในท่าราํ เครืองแตง่ กาย และความไพเราะของ
บทเพลง

) งานมงคล คอื งานทีสือความหมายถึงความเป็น
สิริมงคล การแสดงทีนาํ มาแสดงจะตอ้ งสือความ
หมายถึงความเป็นสิริมงคล มีความสนุกสนาน

) งานอวมงคล คือ งานทีสือถึงความเศร้าโศกเสียใจ
ควรใชก้ ารแสดงทีมีจงั หวะชา้ ๆ มาจดั ในการแสดง

) งานเทศกาลต่าง ๆ คือ งานทีภาครฐั และเอกชนจดั
ขึนเพอื ช่วยอนุรักษส์ ืบสานนาฏศิลป์ ไทย แลเป็ นการ
ช่วยส่งเสริมการทอ่ งเทียวใหเ้ ป็นผลดีกบั เศรษฐกิจ
การแสดงทีนาํ มาแสดงตอ้ งเลือกใหเ้ หมาะสมกบั
เทศกาลต่าง ๆ
. ขนั ตอนในการดาํ เนินการจดั การแสดงมีดงั นี

) การจดั การแสดงจาํ เป็นตอ้ งแบ่งหนา้ ที
ผรู้ ับผดิ ชอบออกเป็น ฝ่ าย คือ ฝ่ ายอาํ นวยการแสดง
ฝ่ ายจดั การแสดง และฝ่ ายธุรการ

) คดั เลือกผแู้ สดง ควรพิจารณาจากบคุ ลิกลกั ษณะ
ของผแู้ สดงใหม้ ีความสอดคลอ้ งกบั บทบาทของตวั
ละครนนั ๆ

) ประชุมเพอื มอบหมายงานใหก้ บั เจา้ หนา้ ทีฝ่ ายต่าง
ๆ เพือเตรียมการในงานส่วนตา่ ง ๆ

) จดั การประชุดติดตามผลการทาํ งานของแต่ละฝ่าย
ซึงหวั หนา้ จะเป็นผูร้ ายงานความคบื หนา้ อุปสรรค
และปัญหาตา่ ง ๆ ใหก้ บั ผกู้ าํ กบั การแสดงและหวั หนา้
แตล่ ะฝ่ ายรับรู้และร่วมกนั หาแนวทางแกไ้ ข

) ฝึ กซอ้ มการแสดง จะมีการกาํ หนดการซอ้ มยอ่ ย
และซอ้ มใหญ่

) จดั การแสดงจริง เป็นขนั ตอนทีมีความสําคญั มาก

ทีสุด เพราะทุกฝ่ายจะตอ้ งทาํ หนา้ ทีของตนเองอยา่ ง
เตม็ ความสามารถ

) การสรุปและประเมินผลการแสดง เป็นขนั ตอน
สุดทา้ ยทีทุกฝ่ายจะมาประชุมสรุปและประเมินผลการ
จดั การแสดง และนาํ ขอ้ มูลทีไดม้ าปรับปรุงแกไ้ ขให้ดี
ยงิ ขนึ สําหรับในการจดั การแสดงครังต่อไป
9. ประโยชน์และคุณคา่ ของการแสดงมีมากมาย เช่น

) ช่วยให้ผแู้ สดงมีความกลา้ แสดงออก
) ทาํ ใหเ้ กิดความสามคั คี ร่วมแรงร่วมใจในการ
ทาํ งาน
) เกิดความคดิ ริเริมสร้างสรรคใ์ นการคดิ ประดิษฐ์
ชุดการแสดง
) เป็นการใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์
) ผ่อนคลายความเครียด เกิดความสนุกสนาน
เพลิดเพลิน
) รู้จกั การคิดวิเคราะห์ วจิ ารณ์อยา่ งมีเหตุผล
) นาํ ไปบรู ณาการกบั กลุม่ สาระอืน ๆ ได้
) ช่วยอนุรักษส์ ืบทอดศิลปวฒั นธรรมของชาติ

ขันที 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึงเป็ นหลกั ฐานทีแสดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้ตามที
กาํ หนดไว้อย่างแท้จริง

1. ภาระงานทนี ักเรียนต้องปฏิบตั ิ

– ศึกษาและอธิบายรูปแบบการแสดงนาฏศิลป์ ไทย ไดแ้ ก่ การแสดงเป็นหมู่ การแสดงเดียว การแสดงละคร
การแสดงเป็ นชุดเป็ นตอน
– ศึกษาและอธิบายหลกั ทีใชใ้ นการประดิษฐท์ า่ รํา
– สร้างสรรคก์ ารแสดงนาฏศิลป์ โดยใชห้ ลกั สําคญั มาใชใ้ นการประดิษฐ์ท่ารํา
– ออกแบบสร้างสรรคอ์ ุปกรณป์ ระกอบการแสดง
– ออกแบบสร้างสรรคเ์ ครืองแต่งกายประกอบการแสดง
– จดั การแสดงนาฏศิลป์ ไทยในโอกาสตา่ ง ๆ

\

2. วิธีการและเครืองมือประเมินผลการเรียนรู้ เครืองมือประเมินผลการเรียนรู้
วธิ ีการประเมนิ ผลการเรียนรู้ – แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน
– การทดสอบ

– การสนทนาซกั ถามโดยครู – แบบประเมินความสามารถทกั ษะทางนาฏศิลป์

– การแสดงความคิดเห็นและการอภิปราย – แบบบนั ทึกขอ้ มูลการแสดงความคิดเห็น

– การฝึกปฏิบตั ิระหวา่ งเรียน – ใบงาน

– การประเมินผลดา้ นความรู้ – แบบประเมินผลดา้ นความรู้
– การประเมินผลดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และ – แบบประเมินผลดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม

คา่ นิยม และค่านิยม

– การประเมินผลดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ – แบบประเมินผลดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ

3. สิงทีมุ่งประเมิน

– อธิบายรูปแบบของนาฏศิลป์ ไทยแตล่ ะประเภทได้

– อธิบายหลกั ทีใชใ้ นการประดิษฐท์ า่ ราํ ได้

– สร้างสรรคก์ ารแสดงนาฏศลิ ป์ โดยใชห้ ลกั สําคญั มาใชใ้ นการประดิษฐท์ ่ารําได้

– ออกแบบสร้างสรรคอ์ ปุ กรณ์และเครืองแตง่ กายประกอบการแสดงได้

– จดั การแสดงนาฏศิลป์ ไทยในโอกาสตา่ ง ๆ ได้
ขันที 3 แผนการจัดการเรียนรู้
– แผนการจดั การเรียนรู้ที 13 รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์ ไทย 2 ชวั โมง

– แผนการจดั การเรียนรู้ที 14 การประดิษฐท์ ่ารํา ชวั โมง

– แผนการจดั การเรียนรู้ที การออกแบบและสร้างสรรคอ์ ปุ กรณ์และเครืองแต่งกาย
ประกอบการแสดง ชวั โมง

– แผนการจดั การเรียนรู้ที 16 การจดั การแสดงนาฏศิลป์ ในโอกาสตา่ ง ๆ 2 ชวั โมง

หน่วยการเรียนรู้ที 3
นาฏศิลป์ และการละครกบั ชีวิตประจาํ วัน

ผงั มโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้ เวลา ชัวโมง

ความรู้ ทกั ษะ/กระบวนการ
– บทละคร – กระบวนการคดิ
– ละครกบั ชีวติ – การศกึ ษาคน้ ควา้
– ความสาํ คญั และบทบาทของนาฏศิลป์ และ – การวเิ คราะห์
การละครกบั ชีวติ ประจาํ วนั – การสังเกต
– การอนุรักษน์ าฏศิลป์ และการละคร – การนาํ ความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั
– ทกั ษะการปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นรายบุคคล
– ทกั ษะการปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นรายกล่มุ

นาฏศิลป์ และการละคร
กับชีวติ ประจาํ วนั

ภาระงาน/ชินงาน คุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ ม
– การทาํ แบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรียน – มีเจตคติทีดีตอ่ นาฏศลิ ป์ และละครกบั
– ศึกษาองคป์ ระกอบของบทละคร ชีวิตประจาํ วนั
– เขยี นบทละครประกอบการแสดงละคร – เห็นคณุ คา่ และความสาํ คญั ของ
– ศึกษาความหมายของละครกบั ชีวติ นาฏศิลป์ และละครกบั ชีวิตประจาํ วนั
– ศึกษาความสําคญั และบทบาทของนาฏศลิ ป์ และการละคร – ปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นรายบุคคลและ
กบั ชีวติ ประจาํ วนั ปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นกล่มุ ดว้ ยความ
– อธิบายการอนุรักษน์ าฏศิลป์ และการละคร ซือสัตย์ ความรับผดิ ชอบ
– ใบงาน – ปฏิบตั ิตนอยา่ งมีมารยาทในการ
– การจดั ทาํ รายงาน ปฏิบตั ิกิจกรรมร่วมกบั ผอู้ ืน
– การทาํ โครงงาน
– การจดั ทาํ ป้ายนิเทศ

ผังการออกแบบการจดั การเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที 3 นาฏศิลป์ และการละครกบั ชีวติ ประจาํ วนั

ขันที 1 ผลลัพธ์ปลายทางทตี ้องการให้เกิดขึนกับนักเรียน

ตัวชีวัดชันปี
. ระบโุ ครงสร้างของบทละครโดยใชศ้ พั ทท์ างการละคร (ศ . ม. / )

2. นาํ เสนอแนวคดิ จากเนือเรืองของการแสดงทีสามารถนาํ ไปปรับใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั (ศ . ม. / )
. อธิบายความสาํ คญั และบทบาทของนาฏศิลป์ และการละครในชีวติ ประจาํ วนั (ศ . ม. / )

. แสดงความคดิ เห็นในการอนุรักษ์ (ศ . ม. / )

ความเข้าใจทีคงทนของนกั เรียน คาํ ถามสําคญั ทีทาํ ให้เกิดความเข้าใจทคี งทน
นักเรียนจะเข้าใจว่า...
. บทละครหมายถึงอะไร

. บทละคร คือ บทประพนั ธ์ทีนาํ เสนอเรืองราว . บทละครมอี งคป์ ระกอบอะไรบา้ ง
3. ละครกบั ชีวติ มีความหมายว่าอะไร
ความคิด เนือหาสาระและจนิ ตนาการของ
. นาฏศิลป์ และการละครมีความสาํ คญั อยา่ งไร
ผปู้ ระพนั ธ์ เป็นสือระหวา่ งผแู้ สดงกบั ผูช้ ม . นาฏศิลป์ และการละครมบี ทบาทอะไรใน

. บทละครประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบ ดงั นี
โครงเรือง ตวั ละครและการวางลกั ษณะนิสยั ของตวั ชีวิตประจาํ วนั
ละคร ความคดิ หรือแก่นของเรือง บทสนทนา . นาฏศิลป์ และการละครมกี ารอนุรักษอ์ ยา่ งไร

3. ละครเป็นการแสดงทีจาํ ลองมาจากชีวติ จริงของ

มนุษย์ โดยนาํ เอาประสบการณ์ในชีวติ จริงมาผนวก

กบั จินตนาการแลว้ สร้างสรรคเ์ ป็นเรืองราวที

สะทอ้ นภาพชีวติ เพือตอบสนองความตอ้ งการของ

มนุษย์ ดา้ น คือ ดา้ นอารมณ์ ดา้ นสมอง ดา้ น
จิตใจ

4. นาฏศิลป์ และการละครมีความสาํ คญั กบั

ชีวติ ประจาํ วนั ของมนุษยต์ งั แต่เกดิ จนตาย มี

ความสาํ คญั คือ แสดงถึงความเป็นอารยประเทศ

เป็นแหล่งรวมศิลปะแขนงตา่ ง ๆ

5. บทบาทของนาฏศิลป์ และการละครเป็นกิจกรรม

ทีปรากฏอยใู่ นสังคม มีความสัมพนั ธก์ บั
ชีวิตประจาํ วนั เช่น การเล่านิทาน การเลียนแบบ

กิจกรรมเพือความบนั เทิง

6. การอนุรักษน์ าฏศิลป์ และการละครนนั ถือวา่ เป็ น

หนา้ ทีของคนไทยทุกคนทีจะตอ้ งตระหนกั ถึงคุณคา่

ของงานนาฏศิลป์ ทีบรรพบุรุษไดส้ ร้างสรรคข์ ึนมา

ตงั แตอ่ ดีตจนถึงปัจจุบนั อีกทงั ยงั มีการจดั ตงั

หน่วยงานทีมีหนา้ ทีในการชว่ ยส่งเสริมและอนุรักษ์

นาฏศิลป์ ไทย

ความรู้ของนักเรียนทีนาํ ไปสู่ความเข้าใจทคี งทน ทกั ษะ/ความสามารถของนกั เรียนทีนาํ ไปสู่ความ
นักเรียนจะรู้ว่า... เข้าใจทีคงทน
1. คาํ สาํ คญั ทีควรรู้ ไดแ้ ก่ ตวั โกง เทพนิยาย นักเรียนจะสามารถ...

เวนิสวาณิช .อธิบายความหมายของบทละครได้

. บทละคร คือ บทประพนั ธท์ ีนาํ เสนอเรืองราว . อธิบายองคป์ ระกอบของบทละครได้
ความคิด เนือหาสาระและจินตนาการของ
. อธิบายความหมายของละครกบั ชีวติ ได้
ผปู้ ระพนั ธ์ เพอื ใชเ้ ป็นสือระหว่างผแู้ สดงกบั ผชู้ ม . อธิบายความสําคญั ของนาฏศิลป์ และการละครได้
และยงั เป็นตวั กาํ หนดองคป์ ระกอบต่าง ๆ ของการ . อธิบายบทบาทของนาฏศิลป์ และการละครใน
แสดงละครทงั โครงเรือง ฉาก แสง สี เสือผา้ และ ชีวติ ประจาํ วนั ได้
การแสดงออกของผแู้ สดง
. อธิบายการอนุรักษน์ าฏศิลป์ และการละครไทยได้
. บทละครประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบ ดงั นี

) โครงเรือง คือ การลาํ ดบั เหตุการณ์ของการ

แสดงตงั แต่ตน้ จนจบการแสดง กาํ หนดลกั ษณะของ
ตวั ละครในเรืองวา่ ใคร ทาํ อะไร ทีไหน อยา่ งไร

และตวั ละครมีลกั ษณะนิสยั อยา่ งไร ซึงโครงเรืองที

ดีจะตอ้ งมีความเป็นเอกภาพและมคี วามสมบูรณอ์ ยู่

ในตวั เอง จะประกอบดว้ ยตอนตน้ ตอนกลาง และ

ตอนจบอยา่ งชดั เจน

) ตวั ละครและการวางลกั ษณะนิสัยของตวั ละคร

ตวั ละคร คอื ผทู้ ีดาํ เนินเรืองราวต่าง ๆ ของละคร
เป็นผทู้ ีไดร้ บั ผลจากการกระทาํ ในบทละคร

สามารถแบง่ ออกเป็น ประเภท คอื

( ) ตวั ละครทีลกั ษณะแบบตายตวั

( ) ตวั ละครทีมองเห็นไดร้ อบดา้ น

การวางลกั ษณะนิสัยของตวั ละคร คือ การกาํ หนด

ลกั ษณะนิสัยของตวั ละครตามความเหมาะสมของ
เรืองราวในละครทีนาํ เสนอการแสดงของพฤติกรรม

และลกั ษณะนิสยั ของตวั ละครทีจะตอ้ งมีหลกั ของ

เหตผุ ล แบง่ ออกเป็ น

( ) ตวั ละครหลกั หรือตวั ละครสาํ คญั

( ) ตวั ละครรอง

) ความคิดหรือแก่นของเรือง เป็นจดุ มงุ่ หมาย
ของการแสดงละครทีผเู้ ขียนตอ้ งการนาํ เสนอตอ่
ผชู้ มเมือชมการแสดงจบ เป็นสาระสาํ คญั ของละคร
แต่ส่วนใหญ่จะอยใู่ นเรืองราวและบทสนทนา ซึงมี
คุณคา่ ต่อจิตใจและสติปัญญา ผูช้ มสามารถนาํ มา
ปรับใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั ได้

) บทสนทนา คอื การใชค้ าํ พดู ในการแสดงดว้ ย
การใชถ้ อ้ ยคาํ อยา่ งมีศิลปะ บทสนทนานีจะเป็นร้อย
แกว้ หรือร้อยกรองก็ได้ ซึงผเู้ ขียนบทละครทีดีตอ้ ง
เขียนไดต้ รงตามประเภทของบทละคร ลกั ษณะนิสัย
ของตวั ละคร เหตกุ ารณใ์ นแต่ละตอนของละคร สิง
ทีสาํ คญั ทีสุดของบทสนทนา คอื การแสดงลกั ษณะ
นิสัย ความคิดและอารมณ์ของตวั ละครทีนาํ ไปสู่
การกระทาํ ต่าง ๆ ของตวั ละครทีผลต่อการดาํ เนิน
เรืองราวในละคร
4. ละครเป็นการแสดงทีจาํ ลองมาจากชีวติ จริงของ
มนุษย์ โดยนาํ เอาประสบการณ์ในชีวติ จริงมาผนวก
กบั จินตนาการแลว้ สร้างสรรคเ์ ป็นเรืองราวที
สะทอ้ นภาพชีวติ มีการนาํ เสนอในรูปแบบตา่ ง ๆ มี
ผแู้ สดงเป็นผถู้ า่ ยทอดเรืองราวแก่ผชู้ ม เพอื สร้าง
ความบนั เทิงหรือสอดแทรกคติสอนใจ เพอื
ตอบสนองความตอ้ งการของมนุษย์ ดา้ น คือ

) ดา้ นอารมณ์ เพอื ใหค้ วามบนั เทิง ช่วยผอ่ นคลาย
ความตงึ เครียด ทาํ ใหม้ นุษยม์ ีความสุข

) ดา้ นสมอง ให้คณุ คา่ ทางดา้ นสติปัญญา
สามารถนาํ ขอ้ คิดทีไดจ้ ากการชมละครมาปรับใชใ้ น
การแกป้ ัญหา

) ดา้ นจิตใจ ละครมคี วามสัมพนั ธ์กบั จิตใจของ
มนุษยม์ าเป็ นเวลาชา้ นาน มีส่วนชว่ ยในการกล่อม
เกลาจติ ใจ

. นาฏศิลป์ และการละครมีความสาํ คญั กบั
ชีวิตประจาํ วนั ของมนุษยต์ งั แต่เกดิ จนตาย มี
ความสาํ คญั ดงั นี

) แสดงถึงความเป็นอารยประเทศ เพราะศิลปะ
เป็นสิงทีมีคุณคา่ ต่อจิตใจของมนุษยเ์ ป็นเครืองโนม้
นา้ วอารมณ์ ใหแ้ ง่คดิ และใหก้ าํ ลงั ใจในการทีจะ
สร้างความเจริญรุ่งเรืองในชาติสืบไป

) เป็นแหล่งรวมศิลปะแขนงต่าง ๆ เพราะศิลปะ
แขนงตา่ ง ๆ นนั มีความเชือมโยงเกียวเนืองกนั
ทงั สิน ไดแ้ ก่

( ) วรรณกรรม คือ การแตง่ บทละคร บทร้อง
( ) จิตรกรรม คือ การเขียนฉาก การแต่งหนา้ ตวั
ละคร
( ) ประติมากรรม คือ การปัน การหล่อ การสลกั
รูป
( ) สถาปัตยกรรม คือ การสร้างเวที การสร้างฉาก
( ) ดรุ ิยางคศิลป์ คือ การบรรเลงดนตรี ขบั ร้อง
. บทบาทของนาฏศลิ ป์ และการละครเป็นกจิ กรรม
ทีปรากฏอยใู่ นสังคม มีความสมั พนั ธก์ บั
ชีวติ ประจาํ วนั เช่น
) การเลา่ นิทาน เป็นกิจกรรมทีมีลกั ษณะของการ
ละครผสมอยเู่ พราะเป็นเรืองราวทีเลา่ ตอ่ ๆ กนั มา
หรือเป็นเรืองนิทานพืนบา้ นสอนใจ
) การเลียนแบบ คือ การสมมุติตนเองในการเลน่
ของเด็ก ๆ เช่น การเลน่ ขายของ สมมุติตนเองเป็น
พ่อคา้ แมค่ า้ ลกู คา้ เป็นตน้
) กิจกรรมเพอื ความบนั เทิง เป็นการแสดงเพอื
ผอ่ นคลายความเครียด ความเหนือยลา้ จากการ
ทาํ งาน หรือเป็นการแสดงทีใชแ้ สดงในงานเทศกาล
ต่าง ๆ เพอื สร้างความบนั เทิง

ขันที 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ซึงเป็ นหลกั ฐานทีแสดงว่านกั เรียนมีผลการเรียนรู้ตามที
กําหนดไว้อย่างแท้จริง
1. ภาระงานทนี ักเรียนต้องปฏิบตั ิ
– ศึกษาและอธิบายความหมายของบทละคร

– ศึกษาและอธิบายความหมายองคป์ ระกอบของบทละคร

– ศึกษาและอธิบายความหมายของละครกบั ชีวติ

– ศึกษาและอธิบายความสาํ คญั และบทบาทของนาฏศิลป์ และการละครในชีวติ ประจาํ วนั

– ศึกษาและอธิบายการอนุรักษน์ าฏศิลป์ ไทย

2. วิธีการและเครืองมือประเมนิ ผลการเรียนรู้

วธิ ีการประเมนิ ผลการเรียนรู้ เครืองมือประเมินผลการเรียนรู้
– การทดสอบ – แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน

– การสนทนาซกั ถามโดยครู – แบบบนั ทึกขอ้ มูลการแสดงความคิดเห็นและการ

– การแสดงความคิดเห็นและการอภิปราย อภปิ ราย

– การฝึกปฏิบตั ิระหวา่ งเรียน – ใบงาน
– การประเมินผลดา้ นความรู้ – แบบประเมินผลดา้ นความรู้

– การประเมินผลดา้ นคุณธรรม จริยธรรม และ – แบบประเมินผลดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม

คา่ นิยม และค่านิยม

– การประเมินผลดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ – แบบประเมินผลดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ

3. สิงทีม่งุ ประเมิน

– อธิบายความหมายของบทละครได้

– อธิบายความหมายองคป์ ระกอบของบทละครได้

– อธิบายความหมายของละครกบั ชีวติ ได้

– อธิบายความสาํ คญั และบทบาทของนาฏศลิ ป์ และการละครในชีวติ ประจาํ วนั ได้

– อธิบายการอนุรักษน์ าฏศิลป์ ไทย

ขันที 3 แผนการจดั การเรียนรู้

– แผนการจดั การเรียนรู้ที บทละคร 1 ชวั โมง

– แผนการจดั การเรียนรู้ที ละครกบั ชีวิต 1 ชวั โมง

– แผนการจดั การเรียนรู้ที ความสาํ คญั และบทบาทของนาฏศิลป์ และการละคร

ในชีวติ ประจาํ วนั 1 ชวั โมง
– แผนการจดั การเรียนรู้ที การอนุรกั ษน์ าฏศิลป์ และการละคร ชวั โมง

ผงั การออกแบบการจดั การเรียนรู

หนว ยการเรยี นรทู ี่ 4 พน้ื ฐานความรขู องนาฏศิลปและการละคร

ข้นั ท่ี 1 ผลลัพธป ลายทางท่ีตองการใหเ กดิ ขึ้นกับนกั เรียน

ตวั ชวี้ ดั ชน้ั ป

1. ใชนาฏยศพั ทห รือศัพททางการละครทีเ่ หมาะสมบรรยายเปรียบเทียบการแสดงอากปั กิริยาของ

คนในชวี ติ ประจำวนั และในการแสดง (ศ 3.1 ม. 3/1)

2. วิจารณเปรียบเทยี บงานนาฏศิลปท่มี ีความแตกตา งกนั โดยใชความรูเรอื่ งองคป ระกอบนาฏศิลป

(ศ 3.1 ม. 3/5)

ความเขาใจที่คงทนของนกั เรียน คำถามสำคัญที่ทำใหเ กดิ ความเขา ใจท่ี

นักเรียนจะเขาใจวา ... คงทน

1. ภาษาทาหรอื ภาษาทางนาฏศิลป คือ การแสดง

ทาทางแทนคำพดู ใชส อื่ ถงึ อารมณความรูสกึ รวมถงึ 1. ภาษาทาหรือภาษาทางนาฏศลิ ปคืออะไร

กริ ิยาหรือริ ิยาบถตา ง ๆ โดยสรา งสรรคท า ทางหรือ 2. ภาษาทาหรอื ภาษาทางนาฏศิลปแ บง

ทา รำมาจากธรรมชาตใิ หวิจติ รงดงาม แบง ออกเปน ออกเปน กป่ี ระเภท อะไรบา ง

2 ประเภท คอื ภาษาทา ทมี่ าจากทา ทางธรรมชาติ 3. ภาษาทา ทมี่ าจากทา ทางธรรมชาตแิ บง

และภาษาทา ทม่ี าจากการประดิษฐ ออกเปนกล่ี ักษณะ อะไรบา ง

2. การใชภ าษาทา หรือภาษาทางนาฏศิลป สามารถ 4. การใชภ าษาทาหรอื ภาษาทางนาฏศิลป

แบงตามวิธกี ารใชได 4 ลักษณะ คือ ใชภ าษาทาทาง แบงตามวธิ ีการใชไดก ี่ลกั ษณะ อะไรบาง

ธรรมชาติ ใชภาษาทา เลียนแบบพฤติกรรมทาง 5. องคประกอบของนาฏศลิ ปประกอบดวย

อารมณ ใชภ าษาทา เลยี นแบบสิง่ ทอี่ ยใู นธรรมชาติ อะไรบา ง

คน สตั ว ใชภาษาทา เลยี นแบบสื่อความหมายตาม 6. รำวงมาตรฐานกับรำฉยุ ฉายเบญกายมี

หลกั นาฏศิลปไ ทย ความแตกตา งกันอยางไร

3. องคป ระกอบของนาฏศลิ ปประกอบดว ย จังหวะ

ทำนอง การเคลอ่ื นไหว อารมณและความรสู กึ

นาฏยศพั ทแ ละภาษาทา รปู แบบการแสดง

การแตง กาย

1) ดา นจังหวะทำนอง

(1) รำวงมาตรฐานมีเพลงท่ีใชในการแสดง

ทงั้ หมด 10 เพลง แตละเพลงของการแสดงรำวง

มาตรฐานจะเปน เพลงอัตราจังหวะชั้นเดียวทุกเพลง

และมีเพียงทำนองเดยี วตลอดบทเพลง

(2) บทเพลงรำฉยุ ฉายเบญกายบรรจุเพลงสำหรบั

บทรอง 2 เพลง คือ เพลงฉุยฉายและเพลงแมศรี ซ่งึ

มีอตั ราจงั หวะ 3 ชนั้ และ 2 ชนั้ มกี ารรบั เลียน

ทำนองทกุ ทอน

2) ดา นการเคลื่อนไหว

(1) รำวงมาตรฐานมลี กั ษณะการเคลอื่ นไหวใน
การรา ยรำในลักษณะท่ีผแู สดงจะจับคูรำชาย–หญิง
เดินรำตามกนั เปนวงกลม ในลักษณะทวนเข็ม
นาิกา เนนความพรอมเพรียง

(2) รำฉุยฉายเบญกายเปน การรายรำอวดฝมือใน
การแสดงใชผ ูแสดงเพียงคนเดียว ลีลาทา ทางเปน
การรา ยรำทส่ี อื่ ความหมายตามบทรอง

3) ดานอารมณความรูสกึ
(1) รำวงมาตรฐานเปน การแสดงทีม่ ลี กั ษณะการ
รายรำเพือ่ ความสนกุ สนาน
(2) รำฉยุ ฉายเบญกายเปน การแสดงท่ีผแู สดงตอง
ถายทอดอารมณใหสอดคลองตามบทรองควบคูกบั
การรายรำท่งี ดงามตามหลักนาฏศลิ ป
4) ดานนาฏยศพั ทและภาษาทา
(1) รำวงมาตรฐานเปน การแสดงท่มี ุงเนน ในความ
สวยงามและความถูกตองตามแบบแผนของทารำที่
กำหนดในแตล ะบทเพลง
(2) รำฉุยฉายเบญกายเปนการแสดงที่ใชน าฏย
ศพั ทและภาษาทา ในการรา ยรำสอ่ื ความหมาย
5) ดานรูปแบบการแสดง
(1) รำวงมาตรฐานเปนการแสดงหมูจบั คูระหวาง
ชาย–หญงิ ต้ังแต 3 คูข้ึนไป มีลกั ษณะการรำ
เคล่ือนทเ่ี ปน วงกลม
(2) รำฉุยฉายเบญกายเปนการแสดงเดย่ี วเปน การ
รำทีม่ ีการใชท ิศทางบนเวทีทั้งดา นหนาเวทีและหนั
ดา นขวาและดา นซา ยของเวทีใหส อดคลองกับทา รำ
ทก่ี ำหนด
6) ดา นการแตงกา ย
(1) รำวงมาตรฐานแตง กายไดห ลายแบบ เชน
แบบพืน้ บาน แบบไทยพระราชนิยม แบบไทยสากล
(2) รำฉยุ ฉายเบญกายแตงกายแบบยืนเคร่ือง (ตวั
นาง)

ความรขู องนกั เรียนท่ีนำไปสูความเขา ใจทคี่ งทน ทกั ษะ/ความสามารถของนักเรียนที่นำไปสู

นกั เรียนจะรวู า... ความเขา ใจทคี่ งทน

1. คำสำคญั ทีค่ วรรู ไดแก ภาษาทา ศริ าภรณ รำวง นกั เรยี นจะสามารถ...

มาตรฐาน 1. อธบิ ายความหมายของภาษาทาหรอื

2. ภาษาทา หรอื ภาษาทางนาฏศิลป คอื การแสดง ภาษาทางนาฏศิลปได

ทา ทางแทนคำพดู ใชส่อื ถึงอารมณ ความรสู กึ รวมถึง 2. บอกช่อื และจำแนกภาษาทาในแตล ะ

กิรยิ าหรอื อริ ิยาบถตาง ๆ โดยสรางสรรคท าทางหรือ ภาพ

ทา รำใหม คี วามวิจิตรงดงาม แบง ออกเปน 2 3. ฝก ปฏิบัตกิ ารใชภาษาทาในการถา ยทอด

ประเภท คือ เร่ืองราวได

1) ภาษาทาที่มาจากทา ทางธรรมชาติ แบง เปน 3 4. อธิบายองคป ระกอบนาฏศิลปไ ด

ลกั ษณะ คอื ภาษาทาที่ใชแทนการพดู ภาษาทาท่ีใช 5. สรา งสรรคก ารแสดงโดยใชองคป ระกอบ

สอื่ ความหมายแทนอารมณค วามรสู ึก ภาษาทา ท่ีใช ของนาฏศลิ ปได

แสดงอิรยิ าบถตาง ๆ 6. เปรยี บเทียบความแตกตา งของการแสดง

2) ภาษาทาท่มี าจากการประดิษฐ รำวงมาตรฐานกับรำฉยุ ฉายกายได

3. การใชภาษาทา หรือภาษาทางนาฏศิลป สามารถ

แบงตามวิธกี ารใชได 4 ลกั ษณะ คือ ใชภาษาทาทาง

ธรรมชาติ ใชภ าษาทา ทางเลยี นแบบพฤติกรรมทาง

อารมณ ใชภ าษาทาเลียนแบบส่งิ ท่ีอยใู นธรรมชาติ

คนและสัตว ใชภาษาทา ส่ือความหมายตามหลัก

นาฏศลิ ปไ ทย

4. องคประกอบการแสดงนาฏศลิ ปป ระกอบดวย

จังหวะทำนอง การเคลื่อนไหว อารมณและ

ความรูสกึ นาฏยศพั ทและภาษาทา รูปแบบของการ

แสดง การแตงกาย

5. รำวงมาตรฐาน ใชเ พลงประกอบบทรอ งเปน เพลง

อตั ราจงั หวะช้นั เดยี ว ใชทำนองเดียวแตล ะบทเพลง

ทงั้ 10 เพลง เปนการรา ยรำท่ีส่ืออารมณส นกุ สนาน

มงุ เนน ในความสวยงามของทา รำแตล ะทาที่กำหนด

เปนการแสดงหมรู ำเปนคชู าย–หญงิ เคลือ่ นท่เี ปน

วงกลม แตง กายไดห ลายแบบ เชน แบบพื้นบาน

แบบไทยพระราชนยิ ม แบบไทยสากล

6. รำฉุยฉายเบญกาย เพลงประกอบในการแสดงมี

2 เพลง คอื เพลงฉุยฉายเปน เพลงท่ีมีอัตราจังหวะ 3

ช้นั และเพลงแมศรเี ปน เพลงซึ่งมอี ัตราจงั หวะ 2 ช้นั

ส่ืออารมณตามบทรอ งของเพลง มงุ เนนการใชภ าษา

ทา ในการสื่อความหมายของทารำตามบทรอง เปน

การแสดงเดยี่ ว อวดฝมอื ใชทิศทางบนเวที 3 ดา น

คือ ดา นหนา เวทีและหันดานซายและขวา แตงกาย
แบบยืนเคร่อื ง (ตวั นาง)

ขัน้ ท่ี 2 ภาระงานและการประเมนิ ผลการเรยี นรซู ่ึงเปน หลักฐานท่ีแสดงวา นักเรยี นมีผลการ

เรียนรตู ามท่ีกำหนดไวอ ยางแทจ รงิ

1. ภาระงานทนี่ กั เรยี นตอ งปฏิบตั ิ

– ศึกษาพ้ืนฐานความรูของนาฏศลิ ปแ ละการละคร ไดแก ภาษาทา หรือภาษาทางนาฏศลิ ป

องคป ระกอบของนาฏศลิ ป

– บอกช่ือภาษาทาหรือภาษาทางนาฏศิลปใ นแตล ะภาพได

– ฝก ปฏิบัตภิ าษาทาหรือภาษาทางนาฏศลิ ป

– ฝก ปฏิบตั ิภาษาทาหรอื ภาษาทางนาฏศลิ ปประกอบการแสดง

– ศกึ ษาองคป ระกอบของนาฏศิลปแ ละนำมาใชประกอบการสรา งสรรคก ารแสดง

– อธบิ ายองคป ระกอบการแสดง

– วิจารณเ ปรียบเทียบความแตกตา งของการแสดงรำวงมาตรฐานกบั การแสดงรำฉยุ ฉายเบญกาย

โดยใชอ งคประกอบของนาฏศิลป

2. วิธีการและเคร่ืองมือประเมินผลการเรียนรู

วิธกี ารประเมินผลการเรยี นรู เครอื่ งมือประเมินผลการเรียนรู

– การทดสอบ - แบบทดสอบกอนเรยี นและหลังเรียน

– การสนทนาซักถามโดยครู - แบบบนั ทกึ ขอมลู การแสดงความคดิ เห็นและ

– การแสดงความคดิ เหน็ และอภิปราย การอภิปราย

– การฝก ปฏิบัติระหวางเรยี น - ใบงาน

– การประเมินตนเองของนกั เรียน - แบบประเมินผลดานความรู

– การประเมินดานความรู - แบบประเมินผลดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม

– การประเมินดานคุณธรรม จรยิ ธรรมและ และคา นยิ ม

คา นยิ ม - แบบประเมินผลดา นทักษะ/กระบวนการ

– การประเมนิ ดานทกั ษะ/กระบวนการ

3. สงิ่ ท่ีมงุ ประเมิน

– ความสามารถในการบอกถึงพ้นื ฐานความรูของนาฏศิลปแ ละการละคร ไดแก ภาษาทาหรือภาษา

ทางนาฏศิลป

– ความสามารถในการใชภาษาทา หรอื ภาษาทางนาฏศลิ ปในการถา ยทอดเร่ืองราว

– ความสามารถในการบอกถึงองคป ระกอบของนาฏศลิ ป

–ความสามารถในการเปรยี บเทยี บการแสดงนาฏศิลปโดยใชอ งคป ระกอบของการแสดง
– ความสามารถในการปฏิบตั กิ ิจกรรมรวมกับผูอื่นดว ยความซอื่ สตั ย ความรับผิดชอบ และความ
ประหยดั

ขนั้ ที่ 3 แผนการจดั การเรียนรู
– แผนการจดั การเรยี นรูที่ 10 ภาษาทาหรอื ภาษาทางนาฏศลิ ป
2 ชวั่ โมง
– แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 11 องคป ระกอบของนาฏศิลป
1 ชัว่ โมง
– แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 12 เปรยี บเทยี บการแสดงนาฏศิลปโ ดย
ใชองคประกอบนาฏศิลป 1 ชัว่ โมง

แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 10

ภาษาทา หรอื ภาษาทางนาฏศิลป

สาระที่ 3 นาฏศิลป ชนั้ มัธยมศึกษาปท ี่ 3

หนว ยการเรยี นรูที่ 4 พ้นื ฐานความรูข องนาฏศลิ ปแ ละการละคร เวลา 2 ชว่ั โมง

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1.หนว ยการเรียนรทู ่ี 4 พืน้ ฐานความรูของนาฏศลิ ปแ ละการละคร
2. มาตรฐานการเรียนรู / ตวั ช้วี ดั

ใชน าฏยศัพทหรือศัพทท างการละครทเี่ หมาะสม บรรยายเปรยี บเทียบการแสดงอากัปกริ ิยา
ของผคู นในชวี ิตประจำวนั และในการแสดง (ศ 3.1 ม. 3/2)
3. สาระสำคัญ

ภาษาทา หรอื ภาษาทางนาฏศิลป คอื การแสดงทาทางแทนคำพดู ใชส อื่ ถงึ อารมณค วามรสู ึก
รวมถึงอริ ิยาบถตาง ๆ โดยสรางสรรคทาทางหรือทารำใหว จิ ิตรงดงาม แบงออกเปน 2 ประเภท คอื
ภาษาทาท่มี าจากทาทางธรรมชาติ ภาษาทา ทีม่ าจากการประดิษฐ
4. สาระการเรียนรู

4.1 สาระการเรยี นรูแ กนกลาง
- ภาษาทา หรือภาษาทางนาฏศลิ ป

4.2 สาระการเรยี นรูทองถน่ิ
-

4.3 สาระการเรยี นรูเ กย่ี วกับอาเซยี น
- การแสดงท่ีเปนเอกลกั ษณข องประเทศอาเซยี น

4.4 สาระการเรยี นรเู ศรษฐกจิ พอเพยี ง
-

5. จุดประสงคก ารเรยี นรู
1. อธบิ ายความหมายของภาษาทาหรอื ภาษาทางนาฏศลิ ปได (K)
2. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมดว ยความสนุกสนานเพลิดเพลนิ (A)
3. ปฏิบตั ิภาษาทาหรอื ภาษาทางนาฏศลิ ปได (P)

6. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู

ดานความรู (K) ดา นคณุ ธรรม จริยธรรม ดา นทกั ษะ/กระบวนการ (P)

1. สงั เกตจากการถามและการ และคานยิ ม (A)
แสดงความคดิ เห็น
2. จากการตรวจการวดั และ 1. สังเกตจากความซอื่ สัตยใ น 1. สังเกตจากการปฏบิ ตั ิ
ประเมนิ ผลการเรียนรูประจำ
หนวย การปฏบิ ัติกิจกรรม นาฏยศพั ทแ ละภาษาทาได
3. จากการตรวจแบบทดสอบ
กอนเรยี น 2. สังเกตจากความมนี ้ำใจและ ถกู ตอง

ความเสียสละในการปฏบิ ตั ิ 2. สังเกตจากการปฏบิ ตั ิ

กจิ กรรมรว มกับผอู น่ื กจิ กรรมกลุมรว มกบั ผูอื่นได

3. สงั เกตจากการปฏบิ ตั ิ อยางคลองแคลว

กิจกรรมดว ยความสนุกสนาน 3. สังเกตจากการนำไปใชใ น

และเพลดิ เพลิน ชวี ติ ประจำวนั

4. สงั เกตจากการยอมรับ

ความคดิ เห็นของผูอนื่ ขณะ

ปฏบิ ตั ิกิจกรรม

7. แนวทางบูรณาการ

ภาษาไทย การพูดอธิบายความหมายของภาษาทา หรือภาษาทางนาฏศิลป
วิทยาศาสตร สังเกตการสาธิตภาษาทา หรือภาษาทางนาฏศลิ ปของครแู ละปฏบิ ัตติ าม
คณติ ศาสตร การนบั จงั หวะ
สังคมศึกษาฯ การปฏบิ ตั ิกิจกรรมเปนกลมุ และการสรา งมนุษยสัมพนั ธ
การงานอาชีพฯ การคน ควา ขอมลู ทางอินเทอรเนต็

8. กจิ กรรมการเรยี นรู
ขั้นที่ 1 ข้ันนำเขาสูบ ทเรียน
1. นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอนเรียนเพ่ือประเมินความรู
2. ครใู หน กั เรยี นดภู าพภาษาทา หรือภาษาทางนาฏศลิ ป พรอ มตั้งคำถามวา ภาษาทา หรอื

ภาษานาฏศิลปใ นภาพมชี ่อื ทา อะไรบาง และมีลักษณะอยางไร โดยใหนกั เรียนแสดงความคิดเหน็ และ
อภปิ รายตามความรู ความเขาใจ และประสบการณของตนเอง

ขัน้ ท่ี 2 ข้นั สอน
1. ครอู ธิบายความหมายของภาษาทา หรือภาษาทางนาฏศิลป พรอ มทั้งยกตวั อยาง
ประกอบการอธิบาย โดยการแสดงภาษาทาหรือภาษาทางนาฏศลิ ปใหด ทู ลี ะทา
2. ครใู หน กั เรยี นศึกษาตัวอยา งภาษาทา หรอื ภาษาทางนาฏศลิ ปในหนังสอื เรยี น รายวชิ า
พื้นฐาน ดนตร–ี นาฏศิลป ม. 3 ซ่ึงไดแก ภาษาทาทีม่ าจากธรรมชาติ ภาษาทา ทม่ี าจากการประดิษฐ
และการใชภ าษาทาหรือภาษาทางนาฏศลิ ป พรอมกับทดลองปฏิบัติตามทลี ะทา โดยครจู ะคอยให
คำแนะนำ

3. นักเรยี นแบง กลมุ กลมุ ละ 6 คน รวมกันสรา งสรรคช ุดการแสดงโดยใชภ าษาทา หรือภาษา
ทางนาฏศิลป และนำเสนอหนา ชั้นเรียนใหครเู พ่ือน ๆ ชม

ขั้นท่ี 3 ข้ันสรุป
นักเรยี นรว มกันแสดงความคิดเห็นและอภปิ รายสรุปเรือ่ ง ภาษาทาหรือภาษาทางนาฏศิลป
เปน ความคดิ ของช้ันเรยี น โดยครูคอยใหค วามรเู สรมิ ในสวนทนี่ กั เรยี นไมเขาใจหรอื สรปุ ไมตรงกนั

ขั้นท่ี 4 ฝกฝนผเู รยี น
1. ใหนักเรยี นสงั เกตภาพทา รำทก่ี ำหนดใหวา มชี ่ือเรยี กตามภาษาทา หรอื ภาษาทางนาฏศิลป
วา อะไร และเขยี นคำตอบลงใตภาพ
2. ใหนกั เรียน ฝกปฏบิ ตั ิภาษาทา หรือภาษาทางนาฏศิลป โดยใหน ักเรยี นแบง กลุม กลุม ละ 5
คน รว มกนั ฝกปฏบิ ตั ภิ าษาทา หรอื ภาษาทางนาฏศลิ ปท่ีชอบกลุม ละ 3 ทา และเขยี นบรรยายชอื่ ทา
และวธิ กี ารปฏบิ ตั ิ จากนั้นใหนกั เรยี นแตละกลมุ ออกมาแสดงการปฏิบตั ิทา รำใหครแู ละเพื่อน ๆ ชม

ขั้นท่ี 5 การนำไปใช
1. นักเรยี นสามารถนำความรูเรือ่ ง ภาษาทา หรอื ภาษาทางนาฏศิลป ไปใชเปน พ้นื ฐานในการ
นาฏศิลปในระดับสงู ตอ ไป
2. นกั เรยี นสามารถนำภาษาทา หรือภาษาทางนาฏศิลปไปสรา งสรรคช ดุ การแสดงตา ง ๆ ตาม
จนิ ตนาการและความคิดสรา งสรรค แลว ใชแสดงในโอกาสตาง ๆ เพ่ือแสดงความสามารถดาน
นาฏศิลปไ ทย

9. กจิ กรรมเสนอแนะ
1. กจิ กรรมสำหรบั กลุมสนใจพิเศษ
นักเรียนแบง กลุม กลมุ ละ 4–5 คน รวมกนั จัดทำสมดุ ภาพภาษาทาหรอื ภาษาทางนาฏศิลป

จากบทเรียนและคนหาเพ่มิ เติมจากแหลง การเรียนรูต า ง ๆ เชน อนิ เทอรเ น็ต ผูเชย่ี วชาญ หรอื ผรู ูด าน
นาฏศิลปใ นชมุ ชน เปนตน

2. กจิ กรรมสำหรบั ฝก ทักษะเพม่ิ เติม
นักเรียนแบง กลุม กลมุ ละ 4–5 คน เลอื กเพลงลูกทุงทีช่ น่ื ชอบกลมุ ละ 1 เพลง และนำภาษา
ทาหรือภาษาทางนาฏศลิ ปมาแสดงประกอบเพลงตามจินตนาการความคดิ สรางสรรค แลว ใหแตละ
กลมุ ออกมานำเสนอหนาชัน้ เรยี น

10. สื่อ/แหลง การเรียนรู
1. หองสมดุ
3. อนิ เทอรเน็ต
4. หนังสือเรยี น รายวชิ าพืน้ ฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป ชัน้ ม. 3

แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 11
องคป ระกอบของนาฏศิลป

สาระที่ 3 นาฏศลิ ป ช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 3

หนวยการเรียนรูท ่ี 4 พ้ืนฐานความรขู องนาฏศิลปแ ละการละคร เวลา 1 ช่ัวโมง

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. หนว ยการเรยี นรูที่ 4 พนื้ ฐานความรขู องนาฏศลิ ปและการละคร

2. มาตรฐานการเรียนรู / ตวั ชว้ี ัด

วิจารณเ ปรียบเทียบงานนาฏศิลปท ม่ี ีความแตกตา งกันโดยใชความรเู ร่อื งองคป ระกอบ

นาฏศลิ ป (ศ 3.1 ม. 3/5)

3. สาระสำคัญ

การแสดงนาฏศลิ ปจ ะประกอบดวยองคป ระกอบตาง ๆ ท่ีชวยใหการแสดงนน้ั ดสู มบรู ณ

สวยงาม ไดแก จังหวะทำนอง การเคลือ่ นไหว อารมณแ ละความรสู กึ นาฏยศพั ทและภาษาทา

รปู แบบของการแสดง การแตงกาย

4. สาระการเรียนรู

 องคป ระกอบนาฏศลิ ป

5. จุดประสงคก ารเรียนรู

1. อธิบายองคป ระกอบของการแสดงนาฏศลิ ป จังหวะทำนอง การเคลือ่ นไหว อารมณและ

ความรูส ึก นาฏยศพั ทและภาษาทา รปู แบบของการแสดง การแตงกาย (K)

2. ปฏิบัติกจิ กรรมดว ยความสนกุ สนานเพลดิ เพลิน (A)

3. สรปุ องคประกอบของการแสดงนาฏศิลปได (P)

4. จัดการแสดงนาฏศิลปโ ดยใชองคป ระกอบการแสดงนาฏศลิ ป (P)

6. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู

ดา นความรู (K) ดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม ดา นทกั ษะ/กระบวนการ (P)

และคา นยิ ม (A)

1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากการปฏบิ ัติ 1. สังเกตจากการพูดสรปุ

แสดงความคดิ เหน็ กิจกรรมดว ยความสนุกสนาน เกีย่ วกับองคประกอบของการ

2. จากการตรวจการวดั และ และเพลดิ เพลิน แสดงนาฏศิลปไ ดถกู ตอ ง

ประเมินผลการเรยี นรูประจำ 2. สงั เกตจากการปฏิบัติ 2. สังเกตจากการจัดการแสดง

หนวย กจิ กรรมอยา งเปนข้ันตอนและ นาฏศลิ ปโดยใชอ งคประกอบ

3. จากการตรวจใบงาน เปนระเบียบ ของการแสดงนาฏศิลปได

3. สงั เกตจากการยอมรับ ถูกตอง

ความคดิ เหน็ ของผูอน่ื ขณะ 3. สังเกตจากการปฏบิ ัติ

ปฏบิ ตั กิ ิจกรรม กิจกรรมกลมุ รว มกับผอู ื่นได

อยางคลองแคลว

7. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การพูดถึงองคป ระกอบการแสดงนาฏศลิ ป การแสดงความคดิ เหน็ การถามและ

การตอบขอสงสัยตาง ๆ
คณิตศาสตร การนับจงั หวะ
สังคมศกึ ษาฯ การศกึ ษาองคป ระกอบของการแสดงนาฏศลิ ป การปฏบิ ัติกิจกรรมเปน กลมุ

และการสรางมนุษยสัมพันธ
การงานอาชีพ การคน ควาขอมูลทางอนิ เทอรเนต็

8. กระบวนการจดั การเรยี นรู
ขั้นที่ 1 ขัน้ นำเขา สบู ทเรยี น
ครเู ปดวีดทิ ศั นก ารแสดงนาฏศิลปไทยใหนักเรียนชม และต้ังคำถามถามวาการแสดงนาฏศิลป

ไทยชดุ นมี้ ีชอ่ื ชดุ การแสดงวาอยางไร และมีองคประกอบในการแสดงอะไรบา ง
ข้ันท่ี 2 ข้นั สอน
1. ครนู ำเสนอเนอื้ หาเรือ่ ง องคประกอบของการแสดงนาฏศลิ ป โดยการบรรยายและ

ยกตวั อยางประกอบ
2. ใหนักเรยี นแบงออกเปน 5 กลมุ และแจกใบงานที่ 9 เรอื่ ง องคประกอบของนาฏศลิ ป ให

รวมกันศึกษาวา องคป ระกอบของการแสดงนาฏศลิ ปโดยศกึ ษาขอมลู เพิ่มเตมิ จากหนังสือเรียน
รายวิชาพืน้ ฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป ช้ัน ม. 3 บริษัท สำนกั พมิ พว ฒั นาพานิช จำกดั อินเทอรเน็ต
หนังสอื นาฏศลิ ปไ ทยในหองสมุด

3. นักเรยี นแตละกลมุ นำใบงานสง ครู
ขน้ั ท่ี 3 ข้ันสรุป
นกั เรียนรว มกันแสดงความคิดเหน็ และอภิปรายสรุป เร่อื ง องคประกอบของนาฏศิลป เปน
ความคดิ ของชน้ั เรียน โดยครคู อยใหความรเู สริมในสว นท่นี ักเรียนไมเ ขา ใจหรือสรปุ ไมต รงกบั เน้ือหา
ขน้ั ท่ี 4 ฝกฝนผเู รยี น
1. ใหน กั เรยี นปฏิบตั ิ กจิ กรรม องคป ระกอบของนาฏศิลป โดยใหน ักเรยี นชมการแสดง
นาฏศลิ ปไทยจากวดี ทิ ศั นและรวมกนั สรุปวาใชองคป ระกอบใดบางในการแสดง
2. ใหน กั เรียนฝกฝนเพมิ่ เตมิ โดยใชกจิ กรรมที่ 26 และกจิ กรรมที่ 27 ในแบบฝก ทกั ษะ
รายวิชาพื้นฐาน ดนตรี–นาฏศิลป ม. 3 บริษัท สำนกั พิมพวัฒนาพานชิ จำกัด
ขน้ั ที่ 5 การนำไปใช
1. นักเรียนสามารถนำความรูเ ร่อื ง องคประกอบของนาฏศลิ ป ไปเปนพื้นฐานในการเรยี น
นาฏศิลปใ นระดับสงู ตอ ไป
2. นกั เรียนสามารถนำความรูท่ีไดไปใชป ระกอบในการชมการแสดงนาฏศิลปไทย และอธิบาย
ใหกับบุคคลตา ง ๆ ฟง

9. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสำหรบั กลุมสนใจพเิ ศษ
นักเรยี นแบง กลมุ กลมุ ละ 5–6 คน แลวใหแตละกลุมสรางสรรคช ดุ การแสดงนาฏศิลป โดยใช

องคป ระกอบของการแสดงนาฏศลิ ป จากน้ันใหน กั เรียนแตละกลมุ ออกมาแสดงใหค รูและเพ่ือน ๆ ชม
2. กิจกรรมสำหรับฝก ทักษะผเู รยี น
นักเรยี นศึกษาองคป ระกอบของการแสดงนาฏศิลปเ พ่มิ เตมิ ทางอินเทอรเ น็ต หรือสมั ภาษณ

ผูเชย่ี วชาญหรือผูร ูในชุมชน แลวจัดทำเปนรายงานสงครู
10. สื่อ/แหลงการเรียนรู

1. ใบงาน
2. หอ งสมุด
3. วดี ทิ ศั นก ารแสดงนาฏศลิ ปไทย
4. อนิ เทอรเน็ต
5. ผเู ชีย่ วชาญ หรอื ผรู ดู า นนาฏศลิ ปใ นชมุ ชน
6. หนงั สอื เรยี น รายวิชาพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป ชั้น ม. 3

แผนการจดั การเรียนรูท ี่ 12
เปรียบเทยี บการแสดงนาฏศิลปโ ดยใชอ งคประกอบนาฏศิลป

สาระท่ี 3 นาฏศลิ ป ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ 3

หนว ยการเรยี นรูที่ 4 พน้ื ฐานความรูของนาฏศิลปและการละคร เวลา 1 ชว่ั โมง

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. หนวยการเรียนรูท ี่ 4 พื้นฐานความรขู องนาฏศลิ ปแ ละการละคร

2. มาตรฐานการเรยี นรู / ตวั ชว้ี ัดชัน้
วิจารณเปรยี บเทียบงานนาฏศิลปท ี่มคี วามแตกตางกนั โดยใชความรเู รอ่ื งองคป ระกอบ

นาฏศลิ ป (ศ 3.1 ม. 3/5)

3. สาระสำคัญ
การแสดงรำวงมาตรฐานกับรำฉุยฉายเบญกายมีความแตกตา งกนั ในดานจังหวะทำนอง การ

เคล่ือนไหว อารมณและความรูส กึ นาฏยศพั ทและภาษาทา รปู แบบการแสดง และการแตง กาย

4. สาระการเรยี นรู

 องคป ระกอบนาฏศิลป

5. จดุ ประสงคการเรียนรู

1. อธบิ ายความแตกตางของการแสดงรำวงมาตรฐานกับรำฉยุ ฉายเบญกายได (K)

2. ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมดวยความสนุกสนานเพลิดเพลิน (A)

3. สรุปความแตกตางของการแสดงรำวงมาตรฐานกับรำฉยุ ฉายเบญกายได (P)

6. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู

ดานความรู (K) ดา นคณุ ธรรม จริยธรรม ดา นทักษะ/กระบวนการ (P)

และคา นิยม (A)

1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากการปฏิบตั ิ 1. สังเกตจากการพดู สรปุ

แสดงความคดิ เห็น กิจกรรมดว ยความสนุกสนาน เก่ียวกับความแตกตา งของการ

2. จากการตรวจการวดั และ และเพลดิ เพลนิ แสดงรำวงมาตรฐานกับรำ

ประเมนิ ผลการเรยี นรปู ระจำ 2. สังเกตจากการปฏิบตั ิ ฉยุ ฉายเบญกายไดถกู ตอง

หนว ย กิจกรรมอยา งเปน ข้ันตอนและ 2. สังเกตจากการปฏบิ ตั ิ

3. จากการตรวจแบบทดสอบ เปน ระเบียบ กิจกรรมกลุมรว มกับผอู ่ืนได

หลังเรียน 3. สังเกตจากการยอมรับ อยางคลองแคลว

4. จากการตรวจใบงาน ความคดิ เห็นของผูอนื่ ขณะ 3. ประเมนิ พฤตกิ รรมตามแบบ

ปฏบิ ตั ิกจิ กรรม การประเมินผลดา นทกั ษะ/

4. ประเมินพฤติกรรมตาม กระบวนการ

แบบการประเมินผลดาน

คุณธรรม จรยิ ธรรม และ

คา นิยม

7. แนวทางบูรณาการ
ภาษาไทย การพูดอธบิ ายถึงความแตกตางของการแสดงรำวงมาตรฐานกบั รำฉุยฉาย

เบญกาย
วิทยาศาสตร สงั เกตความแตกตางของการแสดงรำวงมาตรฐานกับการแสดงรำฉยุ ฉาย

เบญกาย
สงั คมศกึ ษาฯ การปฏิบัติกิจกรรมเปน กลมุ และการสรา งมนษุ ยสัมพนั ธ
การงานอาชีพฯ การคน ควาขอมลู ทางอินเทอรเนต็

8. กระบวนการจดั การเรียนรู
ขนั้ ท่ี 1 ขั้นนำเขา สบู ทเรยี น
ครเู ปด วีดทิ ศั นก ารแสดงรำวงมาตรฐานกับรำฉยุ ฉายเบญกายใหนักเรยี นชม และต้ังคำถาม

ถามวา การแสดงนาฏศิลปไทยท้งั 2 ชุดน้มี ีช่ือชุดการแสดงวาอยางไร และมีความแตกตา งกนั อยา งไร
ใหนกั เรียนชวยกนั แสดงความคิดเหน็

ขนั้ ท่ี 2 ขั้นสอน
1. ครนู ำเสนอเนื้อหาเร่อื ง เปรยี บเทียบการแสดงนาฏศิลปโดยใชองคป ระกอบของนาฏศิลป
โดยการบรรยายและยกตัวอยางประกอบ
2. ครเู ปด วีดิทศั นก ารแสดงรำวงมาตรฐานและรำฉุยฉายเบญกายใหนกั เรยี นชม พรอ มทง้ั
อธิบายถงึ องคป ระกอบของการแสดงรำวงมาตรฐานและรำฉุยฉายเบญกายใหนกั เรยี นฟง
3. ครใู หน ักเรยี นแบงกลุม กลุมละ 4 คน แจกใบงานที่ 10 เรื่อง เปรยี บเทียบความแตกตาง
ของการแสดงรำวงมาตรฐานกับรำฉุยฉายเบญกาย
4. ครใู หน กั เรยี นสงตัวแทนกลมุ ออกมาออกมาวจิ ารณเ ปรียบเทียบการแสดงนาฏศิลปไ ทยท้งั
2 ชุดวา มคี วามแตกตางกนั อยางไรบา ง
5. นกั เรยี นแตล ะกลมุ นำใบงานสง ครู
6. ใหนักเรียนศึกษาขอมลู เพ่ิมเตมิ จากหนงั สือเรยี น รายวชิ าพนื้ ฐาน ดนตร–ี นาฏศิลป ม. 3
บริษทั สำนกั พิมพวัฒนาพานิช จำกัด
7. ใหน กั เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรยี น
8. ใหนักเรียนทำโครงงานตามความสนใจ
ขน้ั ที่ 3 ขน้ั สรุป
นักเรยี นรวมกนั แสดงความคดิ เหน็ และอภิปรายสรปุ เรอ่ื ง เปรยี บเทยี บการแสดงนาฏศิลป
โดยใชองคประกอบของการแสดง เปนความคดิ ของชั้นเรยี นโดยครูคอยใหความรเู สริมในสว นท่ี
นกั เรยี นไมเขาใจหรอื สรปุ ไมตรงกบั เนอ้ื หา
ขน้ั ที่ 4 ฝกฝนผเู รียน
1. ใหน กั เรยี นปฏิบัติ กิจกรรม เปรยี บเทียบการแสดงรำวงมาตรฐานกับรำฉยุ ฉายเบญกาย

โดยใหนกั เรยี นเขียนเครื่องหมาย ✓ลงในชองความเหมือนและความแตกตางของการแสดงรำวง
มาตรฐานกบั รำฉยุ ฉายเบญกาย

2. ใหนกั เรยี นฝก ฝนเพิม่ เตมิ โดยใชก ิจกรรมที่ 28 ในแบบฝกทักษะ รายวิชาพน้ื ฐาน ดนตร–ี
นาฏศลิ ป ม. 3 บริษทั สำนักพมิ พว ัฒนาพานิช จำกดั

ขั้นที่ 5 การนำไปใช
นกั เรยี นสามารถนำความรูเร่อื ง เปรยี บเทียบการแสดงนาฏศิลปโดยใชอ งคป ระกอบของการ
แสดง ไปประยุกตใชใ นการเรียนนาฏศิลปใ นระดับสงู ตอ ไป

9. กจิ กรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสำหรับกลุมสนใจพเิ ศษ
ใหนักเรยี นปฏิบัติ กิจกรรม เปรียบเทยี บการแสดงนาฏศลิ ปโดยใชอ งคป ระกอบของนาฏศิลป

โดยใหนกั เรียนชมวดี ทิ ศั นก ารแสดงระบำดอกบัวกบั ระบำเทพบันเทิงและรวมกันสรุปวา การแสดง
นาฏศลิ ปไทยทั้ง 2 ชุดการแสดงนี้มคี วามแตกตางกนั อยา งไร

2. กิจกรรมสำหรบั ฝก ทักษะผูเ รียน
นกั เรยี นจดั ทำสมดุ ภาพเปรยี บการแสดงนาฏศลิ ปไทยระหวางรำพลายชมุ พลกับระบำนกเขา
มะราป ศึกษาเพิม่ เตมิ ทางอินเทอรเ นต็ หรือสัมภาษณผเู ชี่ยวชาญหรือผรู ูในชุมชน แลวจดั ทำเปน
รายงานสง ครู

10. สื่อ/แหลง การเรยี นรู
1. ใบงาน
2. หอ งสมุด
3. วีดิทศั นการแสดงนาฏศลิ ปไทย
4. อินเทอรเ น็ต
5. หนังสือเรยี น รายวชิ าพ้ืนฐาน ดนตร–ี นาฏศลิ ป ชน้ั ม. 3

หนวยการเรยี นรทู ่ี 5
ทกั ษะการแสดงนาฏศิลปไทย

ผงั มโนทศั นเ ปาหมายการเรยี นรู เวลา 10 ช่วั โมง

ความรู้ ทักษะ/กระบวนการ
– รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์ – กระบวนการคิด – การสงั เกต
ไทย – การศกึ ษาคน้ ควา้ – การเคลือนไหวร่างกาย
– การประดิษฐ์ท่าราํ – การคิดวิเคราะห์
– ออกแบบสร้างสรรคอ์ ปุ กรณ์ – การปฏบิ ตั ิ
และเครืองแต่งกาย – การนาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจาํ วนั
– การจดั การแสดงนาฏศิลป์ ไทย – ทกั ษะการปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นกลุ่ม
ในโอกาสตา่ ง ๆ – ทกั ษะการปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นรายบุคคล

ทักษะการแสดง
นาฏศิลป์ ไทย

ภาระงาน/ชินงาน คณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยม
– ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน – มีเจตคติทีดีตอ่ การแสดง
– ศึกษารูปแบบการแสดงนาฏศิลป์ ไทย ไดแ้ ก่
การแสดงเป็นหมู่ การแสดงเดียว การแสดงละคร นาฏศิลป์ และการละคร
การแสดงเป็ นชุดเป็ นตอน – เหน็ คณุ คา่ และความสาํ คญั
– ศึกษาหลกั ทีใชใ้ นการประดิษฐท์ ่ารํา
– สร้างสรรคก์ ารแสดงนาฏศิลป์ โดยใชห้ ลกั ของการแสดงนาฏศิลป์ และ
สาํ คญั มาใชใ้ นการประดษิ ฐท์ า่ รํา การละคร
– ออกแบบสร้างสรรคอ์ ุปกรณ์ประกอบการแสดง – ปฏิบตั ิกิจกรรมเป็นรายบุคคล
– ออกแบบสร้างสรรคเ์ ครืองแต่งกาย และปฏิบตั กิ ิจกรรมเป็นกลุ่ม
ประกอบการแสดง ดว้ ยความซือสตั ย์ มีความ
– จดั การแสดงนาฏศิลป์ ไทยในโอกาสตา่ ง ๆ รบั ผิดชอบ
– การทาํ รายงาน – ปฏิบตั ิตนอยา่ งมีมารยาทใน
– การทาํ โครงงาน การปฏิบตั ิกิจกรรมร่วมกบั
ผอู้ ืน

ผงั การออกแบบการจดั การเรียนรู

หนวยการเรียนรูท่ี 5 ทักษะการแสดงนาฏศิลปไ ทย

ขั้นท่ี 1 ผลลัพธป ลายทางทีต่ องการใหเกดิ ขึ้นกบั นักเรียน

ตวั ชีว้ ัดชั้นป

1. มีทักษะในการใชค วามคดิ ในการพฒั นารูปแบบการแสดง (ศ 3.1 ม. 3/3)

2. มีทักษะในการแปลความและการสื่อสารผา นการแสดง (ศ 3.1 ม. 3/4)

3. รวมจัดงานการแสดงในบทบาทหนาที่ตา ง ๆ (ศ 3.1 ม. 3/6)

4. ออกแบบสรา งสรรคอปุ กรณแ ละเครอ่ื งแตง กาย เพื่อแสดงนาฏศลิ ปแ ละละครท่ีมาจากวัฒนธรรม

ตา ง ๆ (ศ 3.2 ม. 3/1)

ความเขา ใจที่คงทนของนักเรียน คำถามสำคญั ที่ทำใหเ กิดความเขา ใจท่ี

นักเรียนจะเขาใจวา ... คงทน

1. รปู แบบของการแสดงนากศลิ ปไ ทย แบง ออกเปน

4 ประเภท คือ การแสดงเปนหมู การแสดงเดย่ี ว 1. รปู แบบการแสดงนาฏศิลปไทยแบง

การแสดงละคร การแสดงเปนชดุ เปนตอน ออกเปนกี่ประเภท อะไรบาง

2. หลกั สำคัญของการประดษิ ฐท า รำ คือ 2. การประดษิ ฐท ารำประกอบการแสดงมี

1) ทาทางที่ใชในการแสดงจะตอ งแสดงออกถึงทา หลักสำคญั อะไร

สำคัญ ๆ ในบทเพลงวรรคนน้ั ๆ โดยตัดทา ทไ่ี ม 3. ขัน้ ตอนในการประดิษฐทารำมีอะไรบา ง

สำคัญออก 4. การออกแบบสรางสรรคอุปกรณแ ละ

2) ทารำตอ งสื่อความหมายท่ีชัดเจน เครอื่ งแตงกายประกอบการแสดงจะตอง

3) การประดิษฐท ารำตองคำนึงถึงความถกู ตอง คำนงึ ถงึ อะไร

ตรงตามแบบแผนของนาฏศลิ ปไ ทย 5. ประเภทของงานที่จัดการแสดงนาฏศิลป

4) หลีกเลี่ยงการใชท ารำซำ้ กันในการสื่อ ไทยแบง ออกไดก ลี่ กั ษณะ อะไรบา ง

ความหมาย 6. ขน้ั ตอนในการดำเนินการจดั การแสดงมี

5) การประดิษฐท า รำตองคำนงึ ถึงวัยของเดก็ ใน อะไรบา ง

แตล ะระดับชน้ั เพราะจะมีความยากงายไม 7. ประโยชนและคณุ คาของการแสดงมี

เหมอื นกนั อะไรบา ง

3. ขั้นตอนในการประดิษฐท ารำ มขี ้ันตอนดังน้ี

1) การเคลอ่ื นไหวรางกาย

2) การใชภาษาทาในการสือ่ ความหมาย

3) การใชทา ทางแทนคำพดู ประกอบการแสดง

4. การออกแบบสรา งสรรคอุปกรณแ ละเครื่องแตง

กายประกอบการแสดงจะตองคำนึงถงึ ความ

ประหยดั

ใชวสั ดใุ นทอ งถน่ิ ใชหลกั เรยี บงา ย ใชค วามคดิ

สรา งสรรค

5. ประเภทของงานท่จี ัดการแสดงนาฏศลิ ปไ ทยแบง

ออกได 4 ลักษณะ คอื งานพระราชพิธี งานมงคล

งานอวมงคล งานเทศกาลตา ง ๆ

6. ขน้ั ตอนในการดำเนนิ การจัดการแสดงมีดงั น้ี

1) การจัดการแสดงจำเปนตอ งแบง หนาที่

ผูรับผิดชอบออกเปน 3 ฝา ย คอื ฝา ยอำนวยการ

แสดง ฝายจัดการแสดง และฝายธรุ การ

2) คดั เลือกผูแ สดง ควรพจิ ารณาจาก

บุคลกิ ลกั ษณะของผูแ สดงใหมีความสอดคลองกบั

บทบาทของตวั ละครน้นั ๆ

3) ประชมุ เพ่ือมอบหมายงานใหก บั เจา หนาที่ฝา ย

ตาง ๆ เพ่ือเตรยี มการในงานสว นตาง ๆ

4) จัดการประชดุ ตดิ ตามผลการทำงานของแตละ

ฝา ย

5) ฝก ซอมการแสดง

6) จดั การแสดงจรงิ

7) การสรุปและประเมนิ ผลการแสดง

7. ประโยชนแ ละคุณคา ของการแสดง เชน

ชวยใหผ ูแ สดงมคี วามกลาแสดงออกทำใหเ กดิ ความ

สามัคคี รว มแรงรว มใจในการทำงาน เกิดความคิด

ริเร่ิมสรา งสรรคในการคิดประดษิ ฐช ดุ การแสดง

เปน ตน

ความรขู องนกั เรียนทีน่ ำไปสูความเขา ใจท่คี งทน ทักษะ/ความสามารถของนักเรียนท่ีนำไปสู

นกั เรียนจะรูวา... ความเขาใจที่คงทน

1. คำสำคญั ที่ควรรู ไดแ ก ระบำ ฟอ นที โขนหลวง นักเรียนจะสามารถ...

สวงิ สมโภช โสกันต โสมนสั เหรญั ญกิ หุน ละคร 1. อธบิ ายรูปแบบการแสดงนาฏศลิ ปไ ทยได

หลวง องคป ะตาระกาหลา 2. อธบิ ายหลกั สำคัญในการประดิษฐทา รำ

2. นาฏศลิ ปไ ทย คือ ศลิ ปะการฟอนรำทม่ี นุษย ได

สรา งสรรค และประดิษฐข ้นึ มคี วามงดงามประณตี 3. อธบิ ายขัน้ ตอนในการประดิษฐทารำได

และใหค วามบันเทิงใจแกผ ชู ม มรี ปู แบบการแสดง 4. ประดิษฐทา รำประกอบการแสดง

นาฏศิลปไทย ดงั น้ี นาฏศลิ ปไ ทยได

1) การแสดงเปนหมู คอื การแสดงทม่ี ีผูแสดง 5. ออกแบบสรา งสรรคอุปกรณป ระกอบการ

ตั้งแต 2 คนขนึ้ ไปใชเ พลงบรรเลงประกอบการแสดง แสดงได

ทัง้ มเี นอื้ รองและไมม เี นือ้ รอ ง เนนความพรอมเพรยี ง 6. ออกแบบสรางสรรคเคร่ืองแตงกาย

ความสมดุลในการแสดง หรอื ท่ีเรยี กวา ระบำ ซงึ่ ยัง ประกอบการแสดงได

รวมความหมายไปถงึ ฟอ นและเซ้งิ 7. อธบิ ายประเภทของงานในการจัดการ

2) การแสดงเดีย่ ว คอื การแสดงทผ่ี แู สดงเพียงคน แสดงนาฏศลิ ปไทยได

เดียว มงุ เนนในความสวยงามของการเคลื่อนไหว 8. จัดการแสดงนาฏศลิ ปไทยไดต รงตาม

รางกาย เปน การแสดงฝม ือของผแู สดง เนนการใช ลกั ษณะของงาน

มอื และแขนเปนหลัก 9. อธบิ ายขน้ั ตอนการดำเนนิ การจดั การ

3) การแสดงละคร คอื การแสดงทีด่ ำเนนิ เปน แสดงได
เรอ่ื งราว ใชผ ูแสดงในการถา ยทอดเรื่องราวตาง ๆ 10. อธบิ ายประโยชนแ ละคณุ คาของการ
โดยใชการรอ ง การแสดงออกของลีลาทารำและการ แสดงได
ใชเพลงประกอบ

4) การแสดงเปน ชุดเปนตอน คอื การแสดงที่
สอดแทรกอยใู นการแสดงละคร มีจุดประสงคเพื่อ
เปน การรายรำอวดฝม ือของผูแสดง อาจเปนการ
แสดงประเภทรำเด่ยี ว รำคู หรือระบำ
3. การประดิษฐทารำ คอื การนำพนื้ ฐานความรูด าน
นาฏยศพั ท ภาษาทา มาประดษิ ฐสรางสรรคเปนทา
รำประกอบการแสดง หรอื ประกอบเพลงตาง ๆ
4. การประดิษฐทารำประกอบการแสดงจะตอ ง
คำนงึ ถึงหลักสำคญั ในการประดษิ ฐท ารำ ดงั น้ี

1) ทา ทางท่ีใชป ระกอบการแสดงจะตอง
แสดงออกถึงทา สำคญั ๆ ในบทเพลงวรรคนั้น ๆ
โดยตดั ทาทีไ่ มส ำคัญหรือทา ยอยออก

2) ทา รำทปี่ ระดิษฐห รอื สรา งสรรคจ ะตองสอ่ื
ความหมายไดอยางชดั เจน

3) ในการประดิษฐท ารำประกอบการแสดง
จะตอ งคำนึงถึงความถกู ตอง ตรงตามแบบแผนของ
นาฏศิลปไทย

4) ควรหลกี เลี่ยงการใชท า รำทซี่ ้ำกันในการส่ือ
ความหมาย

5) การประดษิ ฐท ารำประกอบการแสดงนนั้ ตอ ง
คำนึงถงึ วยั ของเด็กในแตล ะระดับชนั้ เพราะจะมี
ความยากงา ยไมเหมือนกนั
5. ขนั้ ตอนในการประดิษฐท ารำ มขี น้ั ตอนดังน้ี

1) การเคลอ่ื นไหวรางกาย เปนการประดิษฐทารำ
อยางอสิ ระ โดยเร่ิมจากการฟงเพลงแลวใช
จนิ ตนาการในการสรา งสรรคทารำคำนึงถงึ จงั หวะ
เปน สำคญั ทา รำที่ใชใ นการแสดงน้นั จะสือ่
ความหมายตรงตามเน้ือเพลงหรอื ไมก็ได เพื่อเปน
การชว ยพัฒนาในดานการฟง ความคดิ สรา งสรรคใน
การแสดงและความกลา แสดงออก

2) การใชภ าษาทา ในการสอื่ ความหมาย แทนการ
พดู ระหวา งผูแ สดงกบั ผชู ม อาจเปน ทาทางท่ี
เลยี นแบบมาจากธรรมชาติ สัตวหรือส่ิงของ ซ่ึงมี

การประดิษฐป รบั ปรุงใหมีความสวยงาม เหมาะสม
กับการแสดง

3) การใชท า ทางแทนคำพูดประกอบการแสดง
โดยนำหลกั ของนาฏศิลปม าใชในการประดิษฐทา รำ
ผูทจี่ ะประดษิ ฐทา รำไดด นี น้ั จะตองมคี วามเขาใจ
นาฏยศพั ท ภาษาทา ภาษานาฏศลิ ปซ ง่ึ เปนพ้ืนฐาน
สำคัญในการประดิษฐทารำ
6. การออกแบบสรา งสรรคอุปกรณและเครือ่ งแตง
กายประกอบการแสดงจะตองคำนึงถึงหลักตาง ๆ
ดงั นี้

1) ความประหยดั คอื การนำเอาวสั ดเุ หลอื ใช
เชน ขวดพลาสติก เศษผา เชือก เปนตน มาใชใน
การประดิษฐสรางสรรคอ ปุ กรณประกอบการแสดง

2) ใชวัสดุในทองถ่ิน การแสดงพ้นื บา นบางชดุ
สามารถนำเอาวัสดุพน้ื บา นของทอ งถิน่ นนั้ ๆ มา
ประกอบการแสดง เชน การนำสวงิ มาใชในการ
แสดงเซิง้ สวงิ เปนตน

3) ใชหลกั เรยี บงาย การประดิษฐอ ุปกรณ
ประกอบการแสดงตอ งคำนงึ ถึงวยั ของผูเรยี น ไม
ควรใชวิธที ยี่ ากจนเกินไป เนน วา เปน อุปกรณท่ีใช
ประกอบการเรยี นผเู รียนสามารถประดิษฐไดเอง
และใชประกอบการเรียนได ไมตองซื้อหาให
ส้ินเปลือง

4) ใชค วามคิดสรา งสรรค เปน การเปดโอกาสให
ผูเ รยี นเกดิ จินตนาการและความคดิ สรา งสรรคใน
การประดิษฐอุปกรณแ ละเครอ่ื งแตงกาย
7. ประเภทของงานท่จี ัดการแสดงนาฏศลิ ปไ ทยแบง
ออกได 4 ลกั ษณะ คือ

1) งานพระราชพิธี คอื งานทพ่ี ระบาทสมเด็จพระ
เจา อยูหวั ทรงพระกรุณาโปรดเกลากำหนดไวเปน
ประจำทุกป ซงึ่ พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหัวหรอื
พระบรมวงศานุวงศจ ะเสด็จพระราชดำเนินไปทรง
ประกอบพธิ ี เชน งานพระราชพิธีสมโภช พระราช
พิธีโสกนั ต เปนตน การแสดงทนี่ ำมาจดั การแสดง
จะตอ งมแี บบแผนขนบธรรมเนยี มอยา งเครงครดั
และมีความงดงานในทารำ เครือ่ งแตง กาย และ
ความไพเราะของบทเพลง

2) งานมงคล คือ งานทีส่ ่ือความหมายถึงความ

เปน สิริมงคล การแสดงที่นำมาแสดงจะตองส่อื ความ
หมายถงึ ความเปน สริ ิมงคล มีความสนกุ สนาน

3) งานอวมงคล คือ งานที่สอื่ ถึงความเศราโศก
เสียใจ ควรใชการแสดงท่ีมีจังหวะชา ๆ มาจัดในการ
แสดง

4) งานเทศกาลตา ง ๆ คือ งานท่ีภาครัฐและ
เอกชนจัดขนึ้ เพ่ือชวยอนรุ ักษสืบสานนาฏศิลปไ ทย
แลเปน การชว ยสง เสรมิ การทองเท่ียวใหเ ปนผลดีกับ
เศรษฐกจิ การแสดงท่นี ำมาแสดงตอ งเลือกให
เหมาะสมกับเทศกาลตาง ๆ
8. ข้ันตอนในการดำเนนิ การจัดการแสดงมีดงั น้ี

1) การจัดการแสดงจำเปน ตองแบง หนาที่
ผรู บั ผิดชอบออกเปน 3 ฝาย คอื ฝา ยอำนวยการ
แสดง ฝา ยจัดการแสดง และฝายธรุ การ

2) คัดเลือกผแู สดง ควรพจิ ารณาจาก
บุคลกิ ลักษณะของผแู สดงใหม ีความสอดคลองกบั
บทบาทของตัวละครนัน้ ๆ

3) ประชมุ เพื่อมอบหมายงานใหก ับเจาหนาที่ฝาย
ตา ง ๆ เพื่อเตรียมการในงานสว นตา ง ๆ

4) จดั การประชุดติดตามผลการทำงานของแตละ
ฝาย ซึ่งหวั หนา จะเปนผรู ายงานความคืบหนา
อุปสรรค และปญหาตา ง ๆ ใหก ับผกู ำกับการแสดง
และหัวหนาแตละฝา ยรับรูและรว มกนั หาแนว
ทางแกไข

5) ฝกซอ มการแสดง จะมกี ารกำหนดการซอม
ยอยและซอมใหญ

6) จดั การแสดงจริง เปน ข้ันตอนที่มีความสำคัญ
มากทีส่ ุด เพราะทกุ ฝา ยจะตองทำหนา ท่ีของตนเอง
อยางเตม็ ความสามารถ

7) การสรุปและประเมินผลการแสดง เปน
ข้ันตอนสดุ ทายทท่ี ุกฝา ยจะมาประชมุ สรุปและ
ประเมนิ ผลการจัดการแสดง และนำขอมลู ที่ไดม า
ปรบั ปรงุ แกไขใหด ีย่งิ ขึน้ สำหรับในการจดั การแสดง
ครัง้ ตอไป
9. ประโยชนและคณุ คาของการแสดงมีมากมาย
เชน

1) ชวยใหผูแสดงมีความกลาแสดงออก
2) ทำใหเกิดความสามคั คี รวมแรงรวมใจในการ

ทำงาน

3) เกดิ ความคิดริเรมิ่ สรา งสรรคในการคิด

ประดษิ ฐช ุดการแสดง

4) เปนการใชเ วลาวางใหเกิดประโยชน

5) ผอนคลายความเครยี ด เกิดความสนกุ สนาน

เพลิดเพลนิ

6) รูจกั การคดิ วิเคราะห วจิ ารณอ ยา งมีเหตผุ ล

7) นำไปบูรณาการกับกลุม สาระอนื่ ๆ ได

8) ชว ยอนรุ ักษส บื ทอดศลิ ปวัฒนธรรมของชาติ

ขัน้ ท่ี 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรูซึง่ เปน หลักฐานที่แสดงวา นกั เรยี นมีผลการ

เรียนรูตามท่กี ำหนดไวอยางแทจ ริง

1. ภาระงานท่ีนกั เรยี นตองปฏิบัติ

– ศกึ ษาและอธิบายรูปแบบการแสดงนาฏศิลปไ ทย ไดแก การแสดงเปนหมู การแสดงเด่ียว การ

แสดงละคร การแสดงเปน ชดุ เปนตอน

– ศึกษาและอธบิ ายหลักทใี่ ชใ นการประดิษฐทารำ

– สรา งสรรคการแสดงนาฏศิลปโ ดยใชหลักสำคญั มาใชใ นการประดิษฐทารำ

– ออกแบบสรางสรรคอุปกรณป ระกอบการแสดง

– ออกแบบสรา งสรรคเ ครื่องแตง กายประกอบการแสดง

– จดั การแสดงนาฏศลิ ปไ ทยในโอกาสตาง ๆ

2. วิธกี ารและเครือ่ งมอื ประเมินผลการเรยี นรู

วิธกี ารประเมนิ ผลการเรยี นรู เครอ่ื งมอื ประเมินผลการเรยี นรู

– การทดสอบ – แบบทดสอบกอ นเรียนและหลังเรียน

– การสนทนาซกั ถามโดยครู – แบบประเมนิ ความสามารถทักษะทาง

– การแสดงความคดิ เห็นและการอภิปราย นาฏศลิ ป

– การฝก ปฏิบัติระหวา งเรียน – แบบบนั ทกึ ขอมูลการแสดงความคิดเห็น

– การประเมินผลดา นความรู – ใบงาน

– การประเมินผลดานคุณธรรม จริยธรรม และ – แบบประเมินผลดานความรู

คานยิ ม – แบบประเมินผลดานคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

– การประเมินผลดา นทกั ษะ/กระบวนการ และคานยิ ม

– แบบประเมินผลดานทักษะ/กระบวนการ

3. สิง่ ที่มงุ ประเมนิ

– อธิบายรปู แบบของนาฏศิลปไ ทยแตล ะประเภทได

– อธบิ ายหลักทใี่ ชใ นการประดิษฐท ารำได

– สรา งสรรคก ารแสดงนาฏศิลปโ ดยใชห ลกั สำคัญมาใชในการประดิษฐท า รำได

– ออกแบบสรางสรรคอปุ กรณและเครอ่ื งแตงกายประกอบการแสดงได

– จดั การแสดงนาฏศลิ ปไทยในโอกาสตาง ๆ ได

ขนั้ ท่ี 3 แผนการจดั การเรียนรู
– แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 13 รปู แบบการแสดงนาฏศิลปไทย
2 ช่ัวโมง
– แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ 14 การประดษิ ฐทา รำ
3 ชวั่ โมง
– แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 15 การออกแบบและสรา งสรรคอุปกรณแ ละเคร่อื งแตงกาย
ประกอบการแสดง 3 ช่ัวโมง
– แผนการจดั การเรียนรูท่ี 16 การจดั การแสดงนาฏศลิ ปใ นโอกาสตา ง ๆ
2 ชวั่ โมง

แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 13
รูปแบบการแสดงนาฏศิลปไ ทย

สาระท่ี 3 นาฏศลิ ป ช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 3

หนว ยการเรียนรูท่ี 5 ทกั ษะการแสดงนาฏศลิ ปไทย เวลา 2 ช่วั โมง

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. หนวยการเรียนรทู ี่ 5 ทกั ษะการแสดงนาฏศิลปไทย

2. มาตรฐานการเรยี นรู / ตัวชว้ี ัดช้ัน
มที ักษะในการใชความคดิ ในการพัฒนารปู แบบการแสดง (ศ 3.1 ม. 3/3)

3. สาระสำคญั
นาฏศลิ ปไ ทย คือ ศิลปะการฟอนรำท่ีมนุษยสรางสรรคและปะดษิ ฐขน้ึ มีความงดงามประณีต

และใหความบันเทิงใจแกผูชม ซ่งึ มีรูปแบบการแสดง คือ การแสดงเปนหมู การแสดงเด่ียว การแสดง
ละคร และการแสดงเปนชุดเปน ตอน

4. สาระการเรียนรู
 รปู แบบการแสดง

5. จุดประสงคก ารเรียนรู
1. รแู ละเขา ใจสามารถอธิบายรปู แบบของการแสดงนาฏศิลปไทยได (K)
2. รูและเขา ใจสามารถอธบิ ายความหมายของการแสดงเปน หมู การแสดงเดี่ยว การแสดง

ละคร การแสดงเปนชดุ เปนตอนได (K)
3. การปฏิบัตกิ จิ กรรมดวยความสนกุ สนานและเพลิดเพลิน (A)
4. สรปุ รูปแบบของการแสดงนาฏศิลปไ ทยได (P)
5. สรุปความหมายของการแสดงเปนหมู การแสดงเด่ยี ว การแสดงละคร การแสดงเปนชุด

เปน ตอนได (P)

6. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู

ดานความรู (K) ดานคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ดา นทักษะ/กระบวนการ (P)

และคา นิยม (A)

1. สังเกตจากการถามและการ 1. สงั เกตจากความซ่อื สัตยใ น 1. สังเกตจากการศกึ ษาและ

แสดงความคิดเห็น การปฏบิ ตั ิกจิ กรรม สรปุ รปู แบบของการแสดง

2. จากการตรวจการวดั และ 2. สังเกตจากความมนี ้ำใจและ นาฏศลิ ปไทย

ประเมนิ ผลการเรียนรูประจำ ความเสยี สละในการปฏิบัติ 2. สังเกตจากการปฏิบัติ

หนว ย กจิ กรรมรว มกับผอู น่ื กิจกรรมรายบุคคลและปฏิบตั ิ

3. จากการตรวจแบบทดสอบ 3. สงั เกตจากการปฏบิ ตั ิ กจิ กรรมรวมกับผอู ่ืนไดอยาง

กอ นเรยี น กจิ กรรมดวยความสนุกสนาน คลอ งแคลว

ดา นความรู (K) ดา นคุณธรรม จริยธรรม ดานทกั ษะ/กระบวนการ (P)
4. จากการตรวจใบงาน และคา นิยม (A)

และเพลดิ เพลิน
4. สงั เกตจากการยอมรับ
ความคิดเห็นของผูอ่นื ขณะ
ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม

7. แนวทางบรู ณาการ
ภาษาไทย การอธบิ ายความหมายและรูปแบบของการแสดงนาฏศลิ ปไทย

การแสดงความคิดเห็น การถามและการตอบขอสงสัยตาง ๆ
วิทยาศาสตร สงั เกตการแสดงนาฏศลิ ปไ ทยรูปแบบตาง ๆ
สังคมศกึ ษาฯ การปฏบิ ตั ิกจิ กรรมเปนกลุมและการสรางมนุษยสัมพนั ธ
การงานอาชีพฯ การใชคอมพวิ เตอรในคน หาขอมลู ทางอนิ เทอรเนต็ และจากการชมส่ือโทรทศั น

8. กระบวนการจัดการเรยี นรู
ขน้ั ท่ี 1 ขั้นนำเขา สบู ทเรียน
1. นักเรียนทำแบบทดสอบกอนเรียนเพอื่ ประเมินความรู
2. ครูใหน กั เรยี นชมภาพการแสดงนาฏศิลปไทยประเภทตา ง ๆ แลวถามนกั เรยี นวา การแสดง

ท่นี ักเรยี นไดชมน้นั มลี กั ษณะการแสดงอยางไร โดยใหนักเรยี นแสดงความคิดเห็นและอภปิ รายตาม
ความรู ความเขาใจ และประสบการณตนเอง

ข้นั ที่ 2 ขัน้ สอน
1. ครนู ำเสนอเนือ้ หาเร่ือง รูปแบบการแสดงนาฏศิลปไทย วามลี ักษณะอยางไรบา ง
2. ครแู บงนกั เรยี นออกเปน 4 กลุม ใหแ ตล ะกลุม ไปศึกษาวารปู แบบของการแสดงนาฏศิลป
ไทยมลี ักษณะอยา งไร พรอมกับแจกใบงาน เร่ือง รูปแบบของการแสดงนาฏศลิ ปไทย ใหน ักเรียนดังนี้
ใบงานท่ี 11 การแสดงเปน หมู
ใบงานที่ 12 การแสดงเด่ยี ว
ใบงานท่ี 13 การแสดงละคร
ใบงานที่ 14 การแสดงเปน ชุดเปนตอน
3. ใหน กั เรยี นเขยี นสรปุ ลงในใบงาน ใหแตละกลุมออกมาอธบิ ายถึงความสำคญั ของเร่ืองท่ีตน
ไปศึกษาคน ควา มาใหครูและเพ่อื น ๆ ฟง พรอมทั้งรว มกนั แสดงความคิดเห็น
ขั้นท่ี 3 ขน้ั สรุป
นกั เรยี นรวมกนั แสดงความคิดเห็นและอภิปรายสรุปเรื่อง รปู แบบการแสดงนาฏศิลปไ ทย
เปนความคิดของชัน้ เรียน โดยครคู อยใหความรเู สริมในสว นท่ีนกั เรียนไมเ ขา ใจหรือสรปุ ไมต รงเน้อื หา

ขนั้ ที่ 4 ฝกฝนผเู รยี น
1. ใหนกั เรยี นปฏิบตั ิ กจิ กรรม รูปแบบการแสดงนาฏศิลปไทย โดยใหน กั เรียนบรรยายสรปุ
รูปแบบของการแสดงนาฏศิลปไทย พรอมทั้งยกตวั อยา งประกอบ
2. ใหนักเรียนฝกฝนเพมิ่ เติมโดยใชกจิ กรรมที่ 29 ใบแบบฝกทกั ษะ รายวชิ าพื้นฐาน ดนตร–ี
นาฏศลิ ป ม. 3 บรษิ ทั สำนกั พมิ พวฒั นาพานิช จำกัด
ข้ันท่ี 5 การนำไปใช
นกั เรียนสามารถนำความรูเ รอ่ื ง รูปแบบการแสดงนาฏศิลปไทย ไปเปนพน้ื ฐานในการเรียน
นาฏศิลปใ นระดบั สูงตอ ไป

9. กจิ กรรมเสนอแนะ
1. กิจกรรมสำหรับกลุมสนใจพเิ ศษ
นกั เรียนอธบิ ายรปู แบบของการแสดงนาฏศลิ ปไ ทยแลว สรปุ เปนรายงานพรอมภาพประกอบ
2. กิจกรรมสำหรบั ฝก ทักษะเพมิ่ เตมิ
นกั เรียนศกึ ษาคน ควา ลักษณะรปู แบบของการแสดงนาฏศลิ ปไ ทยเพม่ิ เติมทางอนิ เทอรเน็ต

หรือสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ หรือผูรใู นชมุ ชน แลวจัดทำเปน รายงานสงครู

10. ส่ือ/แหลงการเรียนรู
1. ภาพการแสดงนาฏศิลปไทยประเภทตา ง ๆ
2. ใบงาน
3. หอ งสมดุ
4. สถานที่ตาง ๆ เชน โรงละคร ศนู ยวัฒนธรรม สถานทจ่ี ดั การแสดงวฒั นธรรมทองถน่ิ

มหาวิทยาลยั ท่เี ปด สอนดานนาฏศลิ ปและการละคร เปน ตน
5. ผูเชี่ยวชาญ หรือผูร ดู า นนาฏศลิ ปใ นชุมชน
6. อินเทอรเน็ต
7. หนังสือเรียน รายวชิ าพนื้ ฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป ชัน้ ม. 3

แผนการจัดการเรียนรทู ่ี 14
การประดิษฐทารำ

สาระที่ 3 นาฏศิลป ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ 3

หนวยการเรียนรทู ่ี 5 ทักษะการแสดงนาฏศิลปไ ทย เวลา 3 ชว่ั โมง

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. หนวยการเรยี นรูท ่ี 5 ทกั ษะการแสดงนาฏศิลปไทย

2. มาตรฐานการเรยี นรู / ตวั ชีว้ ัด
มีทักษะในการแปลความและส่อื สารผา นการแสดง (ศ 3.1 ม. 3/4)

3. สาระสำคญั
การประดิษฐทา รำ คือ การนำเอาพน้ื ฐานความรูดา นนาฏยศพั ท ภาษาทา มาประดษิ ฐ

สรางสรรคเ ปน ทารำประกอบการแสดง หรอื ประกอบเพลงตาง ๆ

4. สาระการเรยี นรู
 การประดิษฐท ารำและทา ทางประกอบการแสดง

5. จดุ ประสงคก ารเรียนรู
1. อธบิ ายหลักสำคัญในการประดษิ ฐท ารำได (K)
2. อธิบายขน้ั ตอนในการประดษิ ฐท ารำได (K)
3. ฝก ปฏบิ ัติกจิ กรรมดวยความสนกุ สนานเพลิดเพลนิ (A)
4. สรุปหลกั สำคัญในการประดษิ ฐท า รำได (P)
5. สรุปขั้นตอนในการประดิษฐทารำได (P)
6. ประดษิ ฐท ารำประกอบการแสดงนาฏศิลปไทยได (P)

6. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู

ดานความรู (K) ดา นคุณธรรม จรยิ ธรรม และ ดา นทกั ษะ/กระบวนการ (P)

คานิยม (A)

1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สังเกตจากการปฏบิ ัติ 1. สงั เกตจากการศกึ ษาและ

แสดงความคดิ เห็น กิจกรรมดวยความสนุกสนาน สรุปหลกั สำคัญในการประดิษฐ

2. จากการตรวจการวัดและ และเพลดิ เพลนิ ทารำ

ประเมนิ ผลการเรยี นรูป ระจำ 2. สงั เกตจากการชว ยเหลือ 2. สังเกตจากการปฏิบัติ

หนวย และการมีความรบั ผิดชอบใน กิจกรรม

3. จากการตรวจใบงาน การปฏบิ ัตกิ ิจกรรมรว มกบั ผอู ื่น 3. สังเกตจากการปฏิบตั ิ

3. สงั เกตการปฏิบัติกจิ กรรม กจิ กรรมรายบุคคลและปฏบิ ัติ

อยางเปนขน้ั ตอนและมรี ะเบยี บ กิจกรรมรว มกับผอู ่นื ไดอ ยาง

4. สังเกตจากการยอมรบั ความ คลอ งแคลว

คิดเห็นของผอู ่ืน ขณะปฏบิ ตั ิ 4. ประเมนิ พฤติกรรมจากแบบ

กิจกรรม ประเมินความสามารถทกั ษะ

ทางนาฏศิลป

7. แนวทางบรู ณาการ
ภาษาไทย การพูดถงึ หลกั สำคัญในการประดิษฐท ารำ และข้นั ตอนในการประดษิ ฐทา รำ

ประกอบการแสดงนาฏศลิ ป
คณติ ศาสตร การนบั จงั หวะ
วิทยาศาสตร สังเกตสิง่ ตาง ๆ ที่อยูร อบตัวแลวนำมาประดษิ ฐเปน ทาทางตา ง ๆ ประกอบการ

แสดง
สงั คมศึกษาฯ การปฏิบัติกจิ กรรมเปน กลมุ และการสรา งมนุษยสมั พนั ธ

8. กระบวนการจัดการเรียนรู
ข้นั ที่ 1 ข้ันนำเขาสบู ทเรียน
ครูสนทนาซักถามนักเรยี นวา การประดิษฐทารำประกอบการแสดงมหี ลกั สำคัญและข้นั ตอน

ในการประดษิ ฐท า รำอยางไรบา ง แลวใหนกั เรยี นชว ยตอบพรอมทงั้ ชว ยแสดงความคิดเห็น
ข้นั ท่ี 2 ขั้นสอน
1. ครูนำเสนอเนอื้ หาเร่ือง การประดิษฐท ารำ เกย่ี วกับหลกั สำคญั ในการประดิษฐท า รำ และ

ข้ันตอนในการประดิษฐท ารำประกอบการแสดง
2. ครใู หนักเรยี นแบงกลมุ กลุมละ 5 คนและแจกใบงานที่ 15 เรอื่ ง หลักสำคัญในการ

ประดษิ ฐทารำ ใหรว มกนั ศึกษาวาหลกั สำคญั ในการประดิษฐทารำและข้นั ตอนในการประดษิ ฐทารำมี
อะไรบา ง และมคี วามสำคญั อยา งไร โดยศึกษาขอมูลเพิม่ เติมจาก หนังสอื เรียนรายวชิ าพื้นฐาน ดนตร-ี
นาฏศลิ ป ชั้น ม. 3 บรษิ ทั สำนักพิมพวัฒนาพานชิ จำกัด อินเทอรเ น็ต หนงั สือนาฏศลิ ปไทยใน
หองสมุด

3. ใหแ ตละกลุมนำใบงานมาสง ครู

4. ครเู ปด เพลงฟอ นมาลัย ระบำดอกบวั ระบำเริงอรณุ ใหนกั เรยี นฟง
5. ครใู หนักเรียนแบงกลมุ กลุมละ 8 คน ใหแตละกลมุ เลอื กเพลงท่ีครเู ปดใหฟงมา 1 เพลง
แลว รว มกนั คดิ ประดิษฐท ารำประกอบใหส วยงาม
6. ใหแตละกลุมออกมานำเสนอผลงานท่ีกลมุ ของตนเองไดร ว มกันสรา งสรรคข ึน้ มาใหค รูและ
เพ่ือน ๆ ชมหนาช้ันเรียน

ขน้ั ท่ี 3 ข้นั สรุป
นักเรียนรวมกนั แสดงความคดิ เหน็ และอภปิ รายสรปุ เรือ่ ง การประดษิ ฐท ารำ เปนความคดิ
ของชนั้ เรยี น โดยครคู อยใหค วามรูเสริมในสว นทนี่ กั เรียนไมเ ขาใจหรือสรุปไมตรงกบั เนือ้ หา
ขั้นท่ี 4 ฝกฝนผเู รยี น
1. ใหน ักเรียนปฏิบตั กิ ิจกรรม หลกั สำคญั และขัน้ ตอนในการประดษิ ฐท า รำ โดยใหน ักเรยี น
อธบิ ายถึงหลกั สำคญั ในการประดษิ ฐทารำ และขั้นตอนในการประดษิ ฐท ารำ
2. ใหน กั เรียนปฏบิ ัติกจิ กรรม การประดิษฐทา รำ โดยใหนกั เรียนแบงกลุม กลมุ ละ 6 คน
รวมกันแตงกลอนมา 1 บทพรอมท้งั คิดทา รำประกอบบทกลอน และออกมานำเสนอหนาช้นั เรียนให
ครูและเพ่อื น ๆ ชม
3. ใหนักเรียนฝกฝนเพิม่ เตมิ ใชก ิจกรรมท่ี 30 กจิ กรรมที่ 31 และกจิ กรรมท่ี 32 ในแบบฝก
ทักษะรายวชิ าพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศลิ ป ม. 3 บริษทั สำนักพมิ พวัฒนาพานิช จำกัด
ขั้นที่ 5 การนำไปใช
นกั เรยี นสามารถนำความรูเรอื่ ง การประดิษฐท า รำ ไปเปนพ้ืนฐานในการเรยี นนาฏศลิ ปใน
ระดบั สูงตอ ไป และสามารถนำไปประดิษฐเ ปนทา รำแสดงในโอกาสตา ง ๆ เพื่อแสดงทักษะ
ความสามารถดานนาฏศิลป

9. กิจกรรมเสนอแนะ
1. กจิ กรรมสำหรบั กลุมสนใจพิเศษ
นักเรยี นอธิบายหลักสำคญั ในการประดิษฐทารำประกอบการแสดง แลวชว ยกันจัดบอรด

ความรู
2. กิจกรรมสำหรับฝกทักษะเพิ่มเตมิ
นักเรียนศกึ ษาหลักสำคัญในการประดษิ ฐทา รำ และขน้ั ตอนในการประดษิ ฐท ารำเพม่ิ เติมทาง

อินเทอรเน็ต หรือหองสมดุ หรือสัมภาษณผ เู ชีย่ วชาญ แลวจัดทำเปนรายงานสงครู

10. ส่ือ/แหลง การเรยี นรู
1. แถบบันทึกเสยี งเพลงฟอนมาลยั ระบำดอกบัว ระบำเริงอรณุ
2. ใบงาน
3. หองสมุด
4. อินเทอรเ นต็
5. หนังสือเรยี น รายวิชาพ้นื ฐาน ดนตรี–นาฏศิลป ชน้ั ม. 3

แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 15

การออกแบบและสรา งสรรคอปุ กรณแ ละเครอ่ื งแตง กาย

ประกอบการแสดง

สาระท่ี 3 นาฏศิลป ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ่ี 3

หนวยการเรยี นรูที่ 5 ทกั ษะการแสดงนาฏศลิ ปไ ทย 2 ช่ัวโมง

......................................................................................................................................................

1. หนวยการเรยี นรูที่ 5 ทกั ษะการแสดงนาฏศิลปไ ทย

2. มาตรฐานการเรียนรู / ตวั ช้ีวดั

ออกแบบสรางสรรคอุปกรณและเครอื่ งแตงกาย เพื่อแสดงนาฏศลิ ปและละครท่มี าจาก

วัฒนธรรมตา ง ๆ (ศ 3.2 ม. 3/1)

3. สาระสำคญั
อุปกรณและเคร่ืองแตงกายในการแสดงนาฏศลิ ปไทยนั้นเปนองคป ระกอบท่ีมคี วามสำคัญตอ

การแสดงเปนอยางยง่ิ อปุ กรณป ระกอบการแสดงเปนส่งิ ทช่ี ว ยใหก ารแสดงนนั้ ดูสมบูรณ สว นเครื่อง
แตงกายเปนตัวกำหนดรปู แบบและลักษณะการแสดง ซึ่งตองคำนึงถึงหลกั สำคัญไดแ ก การประหยัด
ใชวสั ดใุ นทองถิ่น ใชหลกั เรียบงาย และมีความคิดรเิ ร่ิมสรางสรรค

4. สาระการเรียนรู
 การออกแบบ และสรางสรรคอปุ กรณและเครอื่ งแตงกาย เพอ่ื การแสดงนาฏศลิ ป

5. จุดประสงคการเรียนรู
1. อธบิ ายหลักสำคญั ที่ใชในการออกแบบสรางสรรคอุปกรณแ ละเครือ่ งแตงกายประกอบการ

แสดงได (K)
2. ฝก ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมดวยความสนุกสนานเพลิดเพลิน (A)
3. สรุปหลกั สำคัญทใ่ี ชในการออกแบบสรา งสรรคอปุ กรณแ ละเคร่อื งแตง กายประกอบการ

แสดงได (P)
4. ออกแบบสรางสรรคอปุ กรณแ ละเครือ่ งแตงกายประกอบการแสดงได (P)

6. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู

ดานความรู (K) ดานคณุ ธรรม จริยธรรม และ ดานทักษะ/กระบวนการ (P)

คานยิ ม (A)

1. สงั เกตจากการถามและการ 1. สังเกตจากการปฏิบัติ 1. สังเกตจากการศกึ ษาและ

แสดงความคิดเหน็ กจิ กรรมดวยความสนุกสนาน สรปุ หลักสำคญั ที่ใชในการ

2. จากการตรวจการวัดและ และเพลดิ เพลิน ออกแบบสรางสรรคอุปกรณ

ประเมินผลการเรียนรปู ระจำ 2. สังเกตจากการชว ยเหลอื และเคร่อื งแตง กาย

หนว ย และการมคี วามรับผดิ ชอบใน ประกอบการแสดงไดถูกตอง


Click to View FlipBook Version