The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษา หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by arunee920a, 2022-05-30 12:23:59

คู่มือนักศึกษา

คู่มือนักศึกษา หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต

คู่มือนักศึกษา

หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2562)

คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

"...เด็ก เป็นผูท้ ่จี ะไดร้ ับชว่ งทกุ ส่งิ ทกุ อยา่ งตอ่ จากผู้ใหญ่ ดงั น้ัน เด็กทุกคนจึง
สมควรและจำเปน็ ท่ีจะต้องได้รบั การอบรมเลยี้ งดูอยา่ ง ถูกต้องเหมาะสม ใหม้ ี
ศรทั ธามน่ั คงใน คุณความดี มคี วามประพฤติเรยี บรอ้ ย สจุ รติ และมปี ญั ญา ฉลาด
แจ่มใสในเหตผุ ล..."

ความตอนหนึ่ง ในพระราชดำรสั
พระราชทานในโอกาสปเี ด็กสากล

วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๒๒

งานครนู ั้นจัดเปน็ งานสำคญั เพราะเทา่ กบั เปน็ การสรา้ งคนให้เปน็ คนโดย
สมบรู ณ์ เยาวชนในปจั จบุ นั เปน็ เยาวชนท่ีอดุ มไปดว้ ยพลงั กายพลงั ใจ และพลงั
อยากรอู้ ยากเหน็ อยากเปลีย่ นแปลง หากเขาได้รับการอบรมกลอ่ มเกลาท่ถี ูกทาง
เขาเหล่าน้ันจะเป็นกำลงั สำคญั ของบ้านเมอื ง สง่ เสรมิ ให้ประเทศชาตริ งุ่ เรืองและมัง่
คง่ั ย่ิง

พระบรมราโชวาทในพิธพี ระราชทานปรญิ ญาบตั รแก่
บณั ฑติ วิทยาลยั วชิ าการศึกษา ประสานมติ ร ๑๓ พฤศจิกายน๒๕๑๖

คำนำ

หลักสูตรสาขาวิชาการศกึ ษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา ได้จัดทำค่มู ือ
นักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ประจำปีการศึกษา 2564 เพื่อให้นักศึกษาได้ใช้เป็นคู่มือประกอบการ
เรียนการสอนและให้ทราบถึงข้อมูลในการศึกษาในระดับปรญิ ญาตรี สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย โดยภายใน
เล่มประกอบด้วย โครงสร้างหลักสูตร กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรสาขาฯ คณาจารย์ แผนการศึกษา
ตลอดหลักสูตร คำอธิบายรายวิชา ฯลฯ ซึ่งนักศึกษาสามารถนำไปใช้ประกอบการวางแผนการเรียนให้ครบ
ตามหลกั สตู ร รวมทั้งเป็นเครือ่ งมอื ในการตดิ ตามนักศกึ ษาของอาจารยท์ ป่ี รึกษาด้วย

หลักสูตรสาขาวิชาการศึกษาปฐมวยั หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายละเอียดในคู่มือเล่มนี้จะช่วยให้นักศึกษา
เกดิ ข้ึนเกดิ ความชัดเจนในการศึกษาในหลกั สูตรสาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั

หลักสูตรสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย

สารบญั 1
1
คำนำ 1
สารบญั 1
ชือ่ หลักสูตร 1
ชื่อปรญิ ญา 2
ปรชั ญา 2
อตั ลักษณ์ 2
เอกลกั ษณ์ 2
วิสัยทัศน์ 3
จำนวนหนว่ ยกติ ทีเ่ รยี นตลอดหลกั สูตร 4
รปู แบบของหลักสูตร 4
อาชีพทส่ี ามารถประกอบไดห้ ลงั สำเร็จการศึกษา 9
ข้อมลู อาจารยผ์ สู้ อนสาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวัย 6
สถานทจี่ ัดการเรียนการสอน 6
ขอ้ มลู เฉพาะหลกั สูตร 6
การพฒั นาคุณลกั ษณะพิเศษของนักศกึ ษา 7
ระบบการจัดการศกึ ษา การดำเนินการ และโครงสรา้ งหลักสูตร 13
14
- ระบบการจัดการศกึ ษา 15
- การดำเนินการหลกั สตู ร 35
- หลกั สูตรและอาจารยผ์ ู้สอน
องค์ประกอบเกยี่ วกบั ประสบการณภ์ าคสนาม 40
ข้อกำหนดเก่ียวกบั การทำโครงงานหรืองานวิจยั 41
คำอธิบายรายวิชา 42
แผนการศกึ ษา 47
ภาคผนวก
จรรยาบรรณวิชาชีพครู
คุณลกั ษณะของครูที่ดี
แบบบันทึกการให้คำปรกึ ษา
บทสวดมนตพ์ ระคาถาชินบญั ชร

1

รายละเอียดของหลกั สตู ร
หลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑิต
สาขาวิชาการศึกษาปฐมวยั
(หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2562)

ช่ือสถาบนั อดุ มศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า
คณะ คณะครศุ าสตร์

หมวดท่ี 1 ข้อมลู ทวั่ ไป

1. รหสั และชื่อหลกั สตู ร
รหสั หลกั สตู ร 25481481102909
ภาษาไทย หลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั
ภาษาองั กฤษ Bachelor of Education Program in Early Childhood Education

2. ช่ือปริญญาและสาขาวิชา
ภาษาไทย ช่อื เตม็ ครุศาสตรบณั ฑติ (การศกึ ษาปฐมวยั )
ช่อื ย่อ ค.บ. (การศกึ ษาปฐมวยั )
ภาษาองั กฤษ ช่อื เตม็ Bachelor of Education (Early Childhood Education)
ช่อื ยอ่ B.Ed. (Early Childhood Education)

3. วิชาเอก
-

4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลกั สูตร
ไมน่ ้อยกว่า 140 หน่วยกติ

5. รปู แบบของหลกั สตู ร
5.1 รปู แบบ
หลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาตรี หลกั สตู ร 4 ปี
5.2 ประเภทของหลกั สตู ร
หลกั สตู รปรญิ ญาตรที างวชิ าชพี
5.3 ภาษาท่ีใช้
จดั การเรยี นการสอนเป็นภาษาไทย

2

5.4 การรบั เข้าศกึ ษา

รบั นกั ศกึ ษาไทย และนกั ศกึ ษาต่างประเทศทส่ี ามารถใชภ้ าษาไทยไดเ้ ป็นอย่างดี
5.5 ความร่วมมอื กบั สถาบนั อื่น

เป็นความรว่ มมอื ทางวชิ าการของกล่มุ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ในการพฒั นาการผลติ ครู
คุณภาพ โดยไดน้ าหลกั สตู รกลางของกลุ่มมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ทไ่ี ดจ้ ดั ทารว่ มกนั มาพฒั นา ปรบั ปรุง
หรอื เพม่ิ เตมิ ใหส้ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า ทงั้ น้ียงั คงสาระเดมิ ไว้
เพอ่ื ใหม้ มี าตรฐานคุณภาพสูง ทดั เทยี มหรอื ใกลเ้ คยี งกนั

5.6 การให้ปริญญาแก่ผสู้ าเรจ็ การศกึ ษา

ใหป้ รญิ ญาเพยี งสาขาวชิ าเดยี ว
5.7 ความพร้อมในการเผยแพร่หลกั สตู รที่มีคณุ ภาพและมาตรฐาน

ปี พ.ศ. 2564 (หลงั เปิดสอน 2 ปี) และเป็นไปตามมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั ปรญิ ญาตรี สาขา
ครศุ าสตรแ์ ละสาขาศกึ ษาศาสตร์ พ.ศ. 2562

6. อาชีพท่ีสามารถประกอบอาชีพได้หลงั สาเรจ็ การศึกษา

8.1 ครสู อนระดบั การศกึ ษาปฐมวยั ในโรงเรยี นทุกสงั กดั
8.2 นกั วชิ าการดา้ นการศกึ ษา
8.3 ธุรกจิ สว่ นตวั ดา้ นการศกึ ษา

7. จานวนอาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลกั สูตร

คณุ วฒุ ิ ศาสตราจารย์ ตาแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ รวม
ปริญญา รอง ผชู้ ่วย
- ศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ 1 1
ปรญิ ญา --
เอก - 3 4
ปรญิ ญาโท - -1 - -
ปรญิ ญาตรี - -- 4 5
-1
รวม

3

8. ข้อมลู อาจารยส์ าขาวิชาการศึกษาปฐมวยั

ชื่อ–สกลุ คณุ วฒุ ิ (สาขาวิชา)
ท่ี เลขบตั รประจาตวั ประชาชน สถาบนั การศกึ ษา (ปี ท่ีสาเรจ็ การศึกษา)

ตาแหน่งทางวิชาการ - ค.ม. (การศกึ ษาปฐมวยั )
1. นางสาวกรกนก ธปู ประสม จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั (2537)
- ค.บ. (การศกึ ษาปฐมวยั )
3 1505 0002X XX X จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั (2529)
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ - ศษ.ม. (ปฐมวยั ศกึ ษา)
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ (2554)
2. นางพทั ธนนั ท์ เกดิ คง - ค.บ. (การศกึ ษาปฐมวยั )
3 4708 0020X XX X สถาบนั ราชภฏั จนั ทรเกษม (2542)
อาจารย์ - ค.ม. (การศกึ ษาปฐมวยั )
จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั (2551)
3. นางสาวสาวติ รี จนั ทรโ์ สภา - ค.บ. (การศกึ ษาปฐมวยั )
3 7201 0081X XX X สถาบนั ราชภฏั จนั ทรเกษม (2546)
อาจารย์ - ศษ.ม. (ปฐมวยั ศกึ ษา)
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ (2554)
4. นางสาวโสภดิ า โคตรโนนกอก - ค.บ. (การศกึ ษาปฐมวยั )
1 3605 0002X XX X มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จนั ทรเกษม (2552)
อาจารย์ - กศ.ด. (การศกึ ษาปฐมวยั )
มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ (2550)
5. นางกาญจนา ท่อแกว้ - ค.ม. (การศกึ ษาปฐมวยั )
3 2604 0029X XX X จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั (2540)
อาจารย์ - ค.บ. (การศกึ ษาปฐมวยั )
จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั (2535)
6. นายอารยี ์ ศรอี านวย Ph.D. (Early Childhood Development)
3 8003 0019X XX X University of Northumbria at Newcastle, UK
อาจารย์ (2012)
M.Ed. Eary Childhood Ed. (USA) (2535)

4

9. สถานท่ีจดั การเรียนการสอน
ในสถานทต่ี งั้ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า อาเภอเมอื ง จงั หวดั นครราชสมี า

10. ความสมั พนั ธ์กบั หลกั สูตรอ่ืนท่ีเปิ ดสอนในคณะ/สาขาวิชาอื่นของมหาวิทยาลยั
10.1 รายวิชาท่ีเปิ ดสอนเพ่ือให้บริการคณะ/สาขาวิชาอ่ืน หรอื ต้องเรียนจากคณะ/

สาขาวิชาอื่น
10.1.1 หลกั สตู รน้ีมรี ายวชิ าทเ่ี ปิดสอนเพอ่ื ใหบ้ รกิ ารคณะ/สาขาวชิ าอ่นื
รายวชิ าทเ่ี ปิดสอนในหลกั สตู รน้ี นกั ศกึ ษาในหลกั สตู รอ่นื ของมหาวทิ ยาลยั ราช

ภฏั นครราชสมี าสามารถเลอื กเรยี นเป็นวชิ าเลอื กเสรไี ด้
10.1.2 หลกั สตู รน้ีมรี ายวชิ าทต่ี อ้ งเรยี นจากคณะ/สาขาวชิ าอน่ื
รายวชิ าทเ่ี ปิดสอนในหลกั สูตรอ่นื ของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า

นกั ศกึ ษาในหลกั สตู รน้สี ามารถเลอื กเรยี นเป็นวชิ าเลอื กเสรไี ด้
10.2 การบริหารจดั การ
10.2.1 แตง่ ตงั้ ผรู้ บั ผดิ ชอบรายวชิ าทกุ วชิ าเพอ่ื ทาหน้าทป่ี ระสานงานกบั สาขา/คณะ

อาจารยผ์ สู้ อนและนกั ศกึ ษาในการพจิ ารณาขอ้ กาหนดรายวชิ า การจดั การเรยี นการสอน และการ
ประเมนิ ผลการดาเนินการ

10.2.2 มคี ณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร ทาหน้าทก่ี ากบั ดแู ล โดยประสานงานกบั สานกั
สง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น เพอ่ื ประสานการจดั ตารางสอน ตารางสอบ ปฏทิ นิ วชิ าการ และ
ควบคุมการดาเนินการเกย่ี วกบั กระบวนการจดั การเรยี นการสอนเพอ่ื ใหเ้ ป็นไปตามขอ้ กาหนด
รายวชิ า

หมวดท่ี 2 ขอ้ มูลเฉพาะของหลกั สูตร

1. ปรชั ญา ความสาคญั และวตั ถปุ ระสงคข์ องหลกั สูตร
1.1 ปรชั ญา
ผลติ ครกู ารศกึ ษาปฐมวยั ทม่ี คี ุณภาพสงู มคี วามรคู้ วามเชย่ี วชาญในศาสตร์ น้อมนา

ศาสตรพ์ ระราชาไปปฏบิ ตั ติ น ปฏบิ ตั งิ าน เก่งวชิ าการ เก่งภาษา เก่งสอน มจี ติ วญิ ญาณความเป็นครู
รทู้ อ้ งถน่ิ สามารถบูรณาการความรู้ ทกั ษะ เจตคติ คุณธรรม และจรยิ ธรรมแหง่ วชิ าชพี ไปสกู่ ารจดั
การศกึ ษา และ
อย่รู ว่ มกบั บุคคลอ่นื ไดอ้ ย่างมคี วามสุข รเู้ ท่าทนั การเปลย่ี นแปลง และสามารถเผชญิ ปัญหาหรอื วกิ ฤติ
ไดด้ ว้ ยสตปิ ัญญา

1.2 ความสาคญั
ปัจจุบนั อาชพี ครถู อื ว่าสาคญั ยงิ่ เพราะครมู บี ทบาทสาคญั ในการพฒั นาประเทศใหเ้ จรญิ

มนั่ คง ใหก้ า้ วทนั ต่อสถานการณ์การเปลย่ี นแปลงของโลกในยุคปัจจุบนั แต่ก่อนทจ่ี ะพฒั นาบา้ นเมอื ง
ใหเ้ จรญิ ไดน้ นั้ จะตอ้ งพฒั นาคน ซ่งึ ไดแ้ ก่ เยาวชนของชาตเิ สยี ก่อน เพ่อื ใหเ้ ยาวชนเตบิ โตเป็นผใู้ หญ่

5

ทด่ี มี คี ุณภาพและมคี วามสมบูรณ์ครบทุกดา้ น จงึ สามารถช่วยกนั สร้างความเจรญิ ใหแ้ ก่ชาตติ ่อไปได้
และหน้าท่ที ่มี คี วามสาคญั ยง่ิ ของครูก็คอื การปลูกฝังความรู้ ความคดิ และจิตใจแก่เยาวชน เพ่อื ให้
เตบิ โตขน้ึ เป็นพลเมอื งทด่ี แี ละมปี ระสทิ ธภิ าพของประเทศชาตใิ นกาลขา้ งหน้า ผเู้ ป็นครจู งึ จดั ไดว้ ่าเป็น
ผทู้ ม่ี บี ทบาทอยา่ งสาคญั ในการสรา้ งสรรคอ์ นาคตของชาตบิ า้ นเมอื ง

หลกั สูตรครุศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั เป็นสาขาวชิ าท่พี ฒั นาครูและ
บุคลากรทางการศกึ ษาปฐมวยั เพอ่ื ทาหน้าทใ่ี นการดแู ล พฒั นา และจดั การเรยี นรใู้ หอ้ ย่รู อดปลอดภยั
ใหแ้ ก่เดก็ ปฐมวยั ซ่งึ หมายถงึ เดก็ ท่มี อี ายุต่ากว่า 8 ขวบ เพ่อื ใหเ้ ดก็ มพี ฒั นาการทด่ี รี อบดา้ นทงั้ ทาง
ร่างกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และปัญญาทด่ี สี มวยั โดยมสี มรรถนะทส่ี าคญั คอื สามารถเรยี นรอู้ ย่าง
สอดคลอ้ งกบั หลกั การพฒั นาศกั ยภาพและความต้องการจาเป็นพเิ ศษ สามารถซึมซบั สุนทรยี ะและ
วฒั นธรรมทห่ี ลากหลายไดม้ อี ุปนิสยั ใฝ่ดี มคี ุณธรรม มวี นิ ัย ใฝ่รู้ มคี วามคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละมจี ติ สานึก
ในความเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก สามารถเช่อื มโยงองคค์ วามรสู้ าหรบั การออกแบบ การวางแผน
หลกั สูตรและการจดั การเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาเดก็ ปฐมวยั แต่ละคนใหป้ ระสบผลสาเรจ็ อย่างเต็มศักยภาพ
พฒั นาทกั ษะชีวิต และทกั ษะการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับธรรมชาติและพฒั นาการของเด็กปฐมวัย
สามารถสรา้ งเสรมิ คุณธรรมจรยิ ธรรม และค่านิยมทพ่ี งึ ประสงคเ์ พอ่ื การปลูกฝังจติ สานึกในความเป็น
พลเมอื งไทยและพลโลกใหแ้ ก่เดก็ ปฐมวยั สามารถบูรณาการองคค์ วามรเู้ พอ่ื สรา้ งสรรคเ์ ป็นวิธจี ดั การ
เรยี นรทู้ ส่ี อดคลอ้ งกบั ธรรมชาตขิ องพฒั นาการและการเรยี นรขู้ องเดก็ ปฐมวยั สามารถนานวตั กรรม
และเทคโนโลยมี าประยุกต์ใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั สภาพบรบิ ทสงั คมชุมชน และทอ้ งถนิ่ สามารถจดั ระบบ
และจดั การสง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี ออ้ื ต่อการเรยี นรขู้ องเดก็ ปฐมวยั ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถตดิ ตามและ
ประเมนิ ผลเพอ่ื สนบั สนุน สง่ เสรมิ พฒั นาการและการเรยี นรขู้ องเดก็ ปฐมวยั ทย่ี งั่ ยนื สามารถจดั ทาวจิ ยั
ในชนั้ เรยี นเพ่อื นาไปปรบั ปรุงพฒั นาหลกั สูตร กระบวนการเรยี นรู้และพฒั นาส่อื การเรยี นรู้ สามารถ
สรา้ งเครอื ข่ายความร่วมมอื ระหว่างสถานศกึ ษากบั พ่อแม่ครอบครวั ชุมชน และทุกฝ่ายทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
เพ่อื สนับสนุนและช่วยเหลือให้เดก็ ปฐมวยั มพี ฒั นาการและการเรยี นรู้อย่างเหมาะสม สามารถจดั
การศกึ ษาสาหรบั เดก็ กลุ่มเป้าหมายเฉพาะให้ได้รบั โอกาสในการพฒั นาการเรยี นรู้ท่เี หมาะสมกับ
ลกั ษณะเฉพาะของเด็กสามารถสร้างสรรค์นวตั กรรมเพ่อื การพฒั นาตนเองให้เป็นครูมอื อาชพี การ
ปฏบิ ตั ติ นเป็นแบบอย่างทด่ี ตี ามแนวปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง มคี ุณลกั ษณะของผใู้ ฝ่รู้ มวี สิ ยั ทศั น์ มี
จติ วญิ ญาณความเป็นครู และมที กั ษะการเป็นพลเมอื งในศตวรรษท่ี 21

1.3 วตั ถปุ ระสงค์
เพ่ือผลิตบัณฑิต หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาป ฐมวัย ให้มี

คุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ ดงั น้ี

6

1.3.1 มีค่านิยมร่วม ตระหนกั และยดึ ผู้เรยี นเป็นศูนยก์ ลางของการทางานของครู การ
พฒั นาความรสู้ กึ ถงึ ตวั ตนความเป็นครแู ละมเี จตคตติ ่อวชิ าชพี ครทู เ่ี ขม้ แขง็ มจี ติ บรกิ ารต่อวชิ าชพี ครู
และชมุ ชน

1.3.2 เป็นคนดี มีคณุ ธรรม จริยธรรม ยึดมนั่ ในวิชาชีพครู มจี ติ วญิ ญาณครูและยดึ
มนั่ ในจรรยาบรรณของวชิ าชีพครู ปฏิบตั หิ น้าท่ตี ามอุดมการณ์ความเป็นครูด้วยความรกั ศรทั ธา
ซ่อื สตั ยส์ ุจรติ รบั ผดิ ชอบต่อวชิ าชพี อุทศิ ตนและทุ่มเทในการเอาใจใส่ สรา้ งแรงบนั ดาลใจ พฒั นาการ
เรยี นรแู้ ละผลประโยชน์สงู สุดแก่ผเู้ รยี น มคี วามพอเพยี งและประพฤตติ นเป็นแบบอย่างทด่ี ที งั้ ทางด้าน
วชิ าการและวชิ าชพี รวมทงั้ มคี ณุ ลกั ษณะเป็นไปตามมาตรฐานวชิ าชพี ครตู ามทค่ี ุรุสภากาหนด

1.3.3 เป็ นผ้เู รียนร้แู ละฉลาดรู้ และมปี ัญญา เป็นผูม้ คี วามรูค้ วามสามารถในการคดิ
วเิ คราะห์ การคดิ ขนั้ สูง มคี วามรอบรู้ด้านการเงนิ สุขภาพ สุนทรยี ภาพ วฒั นธรรม รู้เท่าทนั การ
เปล่ยี นแปลงของสงั คมและของโลก การสร้างสมั มาชพี และความมนั่ คงในคุณภาพชวี ติ ของตนเอง
ครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม มคี วามเพยี ร มงุ่ มนั่ มานะ บากบนั่ ใฝ่เรยี นรู้ มที กั ษะการเรยี นรตู้ ลอด
ชวี ติ และพฒั นาตนเองใหเ้ ป็นบคุ คล ทเ่ี รยี นรแู้ ละรอบรู้ ทนั สมยั ทนั ต่อการเปลย่ี นแปลงตลอดเวลา

1.3.4 เป็ นผ้รู ่วมสร้างสรรค์นวตั กรรม เป็นผู้มีทกั ษะศตวรรษท่ี 21 มคี วามฉลาด
ดจิ ทิ ลั ทกั ษะการทางานเป็นทมี มที กั ษะขา้ มวฒั นธรรม รเู้ ท่าทนั ส่อื เทคโนโลยี สารสนเทศสมยั ใหม่
มีส่วนร่วมในการพัฒนาความก้าวหน้าให้กับวชิ าชีพครู สามารถแสวงหาความรู้ พัฒนาความรู้
งานวิจยั และสร้างนวตั กรรม เพ่อื พฒั นา ตนเองผู้เรยี นให้เต็มตามศกั ยภาพตามความแตกต่าง
ระหวา่ งบคุ คล

1.3.5 เป็นผ้มู ีความสามารถสูงในการจดั การเรียนรู้ เป็นผมู้ คี วามสามารถในการจดั
เน้ือหาสาระ ออกแบบกิจกรรม วางแผนและจดั การเรยี นรู้ทางการศกึ ษาปฐมวยั ถ่ายทอดความรู้
สรา้ งแรงบนั ดาลใจและสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรแู้ ละมคี วามสุขในการเรยี น โดยใชศ้ าสตรก์ าร
สอน เทคนิค วธิ กี ารจดั การเรยี นรู้ สอ่ื กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลาย เหมาะสมกบั พฒั นาการของ
เดก็ ปฐมวยั และความแตกต่างกนั ของผู้เรยี น สามารถบูรณาการความรู้ข้ามศาสตร์ ขา้ มวฒั นธรรม
และนามาประยุกต์ใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้แบบบูรณาการศาสตร์การสอน ความรู้ เน้ือหาสาระ และ
เทคโนโลยี (TPACK) ตลอดจนการวจิ ยั ไปใช้ในการจดั การเรียนรู้ แก้ไขปัญหาและพฒั นาตนเอง
ผเู้ รยี นและสงั คม

1.3.6 เป็นพลเมืองท่ีเขม้ แขง็ และใสใ่ จสงั คม มคี วามรกั ชาติ รกั ทอ้ งถนิ่ มจี ติ สานกึ ไทย
และจติ สานึกสากล รคู้ ุณค่าและสว่ นร่วมในการพฒั นา อนุรกั ษ์สงิ่ แวดลอ้ ม วฒั นธรรมและภูมปิ ัญญา
ไทยและทอ้ งถ่นิ มจี ติ อาสา และดาเนินชวี ติ ตามวถิ ีประชาธิปไตย มคี วามยุตธิ รรมและมคี วามกล้า
หาญทางจรยิ ธรรม ยดึ มนั่ ในความถูกตอ้ ง รถู้ ูก รผู้ ดิ รชู้ อบ ชวั่ ดี กลา้ ปฏเิ สธและตอ่ ตา้ นการกระทาท่ี
ไมถ่ กู ตอ้ ง เคารพสทิ ธิ เสรภี าพ และศกั ดศิ ์ รคี วามเป็นมนุษย์ มจี ติ สานึกเป็นพลเมอื งไทยและพลเมอื ง
โลก

7

หมวดท่ี 3 ระบบการจดั การศึกษา การดาเนินการ และโครงสรา้ งของหลกั สูตร

1. ระบบการจดั การศึกษา
1.1 ระบบการจดั การศึกษาในหลกั สูตร
ระบบทวภิ าค 1 ปีการศกึ ษา มี 2 ภาคการศกึ ษา หน่งึ ภาคการศกึ ษามรี ะยะเวลาไมน่ ้อย

กวา่ 15 สปั ดาห์ ไดแ้ ก่
- ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ตงั้ แตเ่ ดอื นมถิ นุ ายน ถงึ เดอื นตลุ าคม
- ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ตงั้ แตเ่ ดอื นพฤศจกิ ายน ถงึ เดอื นมนี าคม

1.2 การจดั การศกึ ษาภาคฤดรู อ้ น
เป็นไปตามขอ้ บงั คบั ของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า ว่าดว้ ยการจดั การศกึ ษาระดบั

ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2560
1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค
เป็นไปตามขอ้ บงั คบั ของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า ว่าดว้ ยการจดั การศกึ ษา

ระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2560

2. การดาเนินการหลกั สตู ร
2.1 วนั เวลาในการดาเนินการเรยี นการสอน
ภาคปกติ วนั จนั ทร-์ วนั ศกุ ร์ เวลาราชการปกติ
2.2 คณุ สมบตั ิของผเู้ ข้าศึกษา
2.2.1 ตอ้ งสาเรจ็ การศกึ ษาไม่ต่ากวา่ มธั ยมศกึ ษาตอนปลายหรอื เทยี บเท่า มคี า่ นิยมเจต

คตทิ ด่ี แี ละมคี ุณลกั ษณะทเ่ี หมาะสมกบั วชิ าชพี ครู
2.2.2 มคี ณุ สมบตั คิ รบถว้ นตามระเบยี บและประกาศของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั

นครราชสมี า

2.3 ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า
2.3.1 การปรบั ตวั ในการเรยี นระบบอุดมศกึ ษา ซ่งึ เป็นระบบเน้นการเรยี นรแู้ ละควบคุม

ตนเอง
2.3.2 นกั ศกึ ษาแรกเขา้ มคี วามรพู้ น้ื ฐานในระดบั ทแ่ี ตกต่างกนั อาจเกดิ การไดเ้ ปรยี บ

เสยี เปรยี บทางการศกึ ษา
2.4 กลยทุ ธใ์ นการดาเนินการเพอ่ื แก้ไขปัญหา/ขอ้ จากดั ของนักศึกษาในข้อ 2.3
2.4.1 จดั ปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษาใหม่ทงั้ ในระดบั มหาวทิ ยาลยั คณะ และสาขาวชิ า จดั

ประชมุ ผปู้ กครอง จดั ระบบการปรกึ ษา แนะแนว โดยมอี าจารยท์ ป่ี รกึ ษาและฝ่ายกจิ การนกั ศกึ ษาดแู ล
ประสานงานกบั คณาจารยผ์ สู้ อน และผปู้ กครองในกรณีทม่ี ปี ัญหา

8

2.4.2 จดั ใหม้ กี ารปรบั ความรพู้ น้ื ฐานใหเ้ หมาะสมกบั การศกึ ษาตอ่ สาหรบั นกั ศกึ ษาแรก
เขา้ ทุกคน

2.5 ระบบการศึกษา

เป็นการศกึ ษาในระบบ
2.6 การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชา และการลงทะเบียนขา้ มมหาวิทยาลยั

1) การโอนยา้ ยหลกั สตู รหรอื สาขาวชิ า ระหวา่ งหลกั สตู รในมหาวทิ ยาลยั ใหเ้ ป็นไปตาม
ระเบยี บมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า วา่ ดว้ ยการโอนยา้ ยหลกั สตู รหรอื สาขาวชิ า ระดบั ปรญิ ญา
ตรี พ.ศ. 2558

2) การเทยี บโอนผลการเรยี น หน่วยกติ รายวชิ า เปิดใหเ้ ฉพาะหลกั สตู รทด่ี าเนินการตาม
มาตรฐานคุณวฒุ ริ ะดบั ปรญิ ญาตรี สาขาครุศาสตรแ์ ละสาขาศกึ ษาศาสตร์ พ.ศ. 2562 โดยตอ้ งเป็นไป
ตามระเบยี บมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า วา่ ดว้ ยการโอนผลการเรยี น การเทยี บโอนผลการเรยี น
และ การเทยี บโอนความรู้ ทกั ษะ และประสบการณ์เขา้ สกู่ ารศกึ ษาในระบบ ระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ.
2560

3. หลกั สตู รและอาจารยผ์ ้สู อน

3.1 หลกั สูตร

หลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั ใชร้ ะยะเวลาในการสาเรจ็

การศกึ ษา ไมเ่ กนิ 8 ปี

3.1.1 จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลกั สตู รไม่น้อยกวา่ 140 หน่วยกิต

3.1.2 โครงสร้างหลกั สตู ร

1) หมวดวิชาศกึ ษาทวั่ ไป 30 หน่วยกิต

2) หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 104 หน่วยกิต

2.1) กลมุ่ วชิ าชพี ครู 28 หน่วยกติ

2.2) กลุ่มวชิ าปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา 13 หน่วยกติ

2.3) กลุ่มวชิ าเอก ไมน่ ้อยกวา่ 63 หน่วยกติ

- วชิ าเอกบงั คบั 42 หน่วยกติ

- วชิ าเอกเลอื ก ไม่น้อยกวา่ 21 หน่วยกติ

3) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

3.1.3 รายวิชาในหลกั สูตร
1) ความหมายของเลขประจาวิชา

เลขประจาวชิ าในหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั
ประกอบดว้ ยเลข 6 หลกั มคี วามหมายดงั น้ี

ลาดบั เลขตาแหน่งท่ี 1-3 หมายถงึ หมวดวชิ า/กลุ่มวชิ า/สาขาวชิ า
เลข 062 หมายถงึ หมวดวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป

9

เลข 100 หมายถงึ กล่มุ วชิ าชพี ครู
เลข 101 หมายถงึ กลมุ่ วชิ าปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา
เลข 107 หมายถงึ กลุม่ วชิ าเอก สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั
ลาดบั เลขตาแหน่งท่ี 4 หมายถงึ ชนั้ ปี
เลข 0 หมายถงึ ไม่ระบชุ นั้ ปี
เลข 1 หมายถงึ ปีท่ี 1
เลข 2 หมายถงึ ปีท่ี 2
เลข 3 หมายถงึ ปีท่ี 3
เลข 4 หมายถงึ ปีท่ี 4
ลาดบั เลขตาแหน่งท่ี 5-6 หมายถงึ ลาดบั วชิ าในหมวดวชิ า/กล่มุ วชิ า/

สาขาวชิ า 2) รายวิชาตามโครงสร้างหลกั สูตร
หลกั สตู ร ดงั น้ี หลกั สตู รครุศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั มรี ายวชิ าตามโครงสรา้ ง

2.1) หมวดวิชาศกึ ษาทวั่ ไป เรยี น 30 หน่วยกติ 3(2-2-5) หน่วย
062101 ทกั ษะการพูดและการฟังภาษาองั กฤษ 3(2-2-5) กติ
3(2-2-5) หน่วย
062102 พลเมอื งทเ่ี ขม้ แขง็ 3(2-2-5) กติ
3(2-2-5) หน่วย
062203 ทกั ษะภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร 3(2-2-5) กติ
3(2-2-5) หน่วย
062204 ศาสตรพ์ ระราชาเพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถน่ิ 3(2-2-5) กติ
3(2-2-5) หน่วย
062205 ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 เพอ่ื ชวี ติ และอาชพี กติ
หน่วย
062306 การใชภ้ าษาองั กฤษและการสอ่ื สาร กติ
หน่วย
062307 สนุ ทรยี ะ กติ
หน่วย
062308 การรเู้ ทา่ ทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงทาง กติ
การศกึ ษา หน่วย
กติ
062309 การสรา้ งเสรมิ และดแู ลสุขภาวะ

10

062310 ภาษาองั กฤษเพอ่ื วชิ าชพี 3(2-2-5) หน่วย
กติ

2.2) หมวดวิชาเฉพาะ เรยี นไม่น้อยกว่า 104 หน่วยกติ

2.2.1) กล่มุ วิชาชีพครู เรยี น 28 หน่วยกติ

100101 ภาษาเพอ่ื การสอ่ื สารสาหรบั ครู 3(2-2-5) หน่วย
กติ

100102 จติ วญิ ญาณความเป็นครู 3(2-2-5) หน่วย

กติ

100103 นวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่อื การเรยี นรู้ 3(2-2-5) หน่วย
กติ

100104 การพฒั นาหลกั สตู ร 3(2-2-5) หน่วย
กติ

100205 จติ วทิ ยาสาหรบั ครู 3(2-2-5) หน่วย
กติ

100206 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 3(2-2-5) หน่วย
กติ

100207 วธิ วี ทิ ยาการจดั การเรยี นรู้ 3(2-2-5) หน่วย
กติ

100208 การบรหิ ารการศกึ ษาและการประกนั คณุ ภาพ 3(2-2-5) หน่วย
กติ

100309 การวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรมการเรยี นรู้ 3(2-2-5) หน่วย
กติ

100310 ครนุ พิ นธ์ 1(0-2-1) หน่วย
กติ

2.2.2) กลมุ่ วิชาปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา เรยี น 13 หน่วยกติ

101301 ฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ครรู ะหวา่ งเรยี น 1(45) หน่วย

กติ

101402 ปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา 1 6(270) หน่วย

กติ

101403 ปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา 2 6(270) หน่วย

กติ

11

2.2.3) กลุ่มวิชาเอก เรยี นไมน่ ้อยกวา่ 63 หน่วยกติ
- วชิ าเอกบงั คบั เรยี น 42 หน่วยกติ

107101 สมองกบั การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็ ปฐมวยั 3(2-2-5) หน่วย
107102 3(2-2-5) กติ
107103 การอบรมเลย้ี งดแู ละสง่ เสรมิ การเรยี นรสู้ าหรบั 3(2-2-5) หน่วย
107104 เดก็ ปฐมวยั 3(2-2-5)
107105 การศกึ ษาปฐมวยั 3(2-2-5) กติ
107106 3(2-2-5) หน่วย
107207 การจดั กจิ กรรมทางภาษาและการสอ่ื สาร 3(2-2-5) กติ
107208 สาหรบั เดก็ ปฐมวยั 3(2-2-5) หน่วย
107209 การจดั กจิ กรรมความฉลาดทางอารมณ์และ 3(2-2-5) กติ
107210 สงั คมสาหรบั เดก็ ปฐมวยั 3(2-2-5) หน่วย
107311 การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ความพรอ้ มทางดา้ น 3(2-2-5) กติ
107312 ร่างกายสาหรบั เดก็ ปฐมวยั 3(2-2-5) หน่วย
107313 การจดั กจิ กรรมทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละ 3(2-2-5) กติ
107314 คณติ ศาสตรส์ าหรบั เดก็ ปฐมวยั 3(2-2-5) หน่วย
การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ทกั ษะการคดิ สาหรบั กติ
107015 เดก็ ปฐมวยั 3(2-2-5) หน่วย
สอ่ื และของเลน่ สาหรบั เดก็ ปฐมวยั กติ
การจดั กจิ กรรมการเล่นเพอ่ื การเรยี นรสู้ าหรบั หน่วกติ
เดก็ ปฐมวยั หน่วย
การจดั ประสบการณ์การเรยี นรแู้ บบบูรณาการ กติ
สาหรบั เดก็ อายุ 0-3 ปี หน่วย
การตอ่ ยอดองคค์ วามรเู้ พอ่ื พฒั นานวตั กรรม กติ
หน่วย
การจดั ประสบการณ์การเรยี นรแู้ บบบูรณาการ กติ
สาหรบั เดก็ อายุ 3-6 ปี หน่วย
สมั มนาปัญหาและแนวโน้มในการพฒั นา กติ
การศกึ ษาปฐมวยั ในอนาคต หน่วย
- วชิ าเอกเลอื ก เรยี นไม่น้อยกวา่ 21 หน่วย กติ
กติ
การพฒั นาสขุ ภาวะและความปลอดภยั สาหรบั หน่วย
เดก็ ปฐมวยั กติ

12

107016 การช่วยเหลอื และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ทม่ี ี 3(2-2-5) หน่วย
107017 ความตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ กติ
107018 การจดั กจิ กรรมทางศลิ ปะระดบั การศกึ ษา
107019 ปฐมวยั 3(2-2-5) หน่วย
107020 วรรณกรรมสาหรบั เดก็ ปฐมวยั กติ
107021
107022 การจดั กจิ กรรมเพอ่ื สง่ เสรมิ การเรยี นรสู้ าหรบั 3(2-2-5) หน่วย
107023 เดก็ กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ กติ
การมสี ว่ นร่วมของครอบครวั และชุมชนในการ
จดั การศกึ ษาปฐมวยั 3(2-2-5) หน่วย
สนั ตศิ กึ ษาสาหรบั เดก็ ปฐมวยั กติ

ลลี า จงั หวะและการเคลอ่ื นไหวสาหรบั เดก็ 3(2-2-5) หน่วย
ปฐมวยั กติ
การบรหิ ารและการประกนั คุณภาพการศกึ ษา
ปฐมวยั 3(2-2-5) หน่วย
กติ

3(2-2-5) หน่วย
กติ

3(2-2-5) หน่วย
กติ

2.3) หมวดวิชาเลือกเสรี เรยี นไม่น้อยกวา่ 6 หน่วยกติ

ใหเ้ ลอื กเรยี นรายวชิ าใดๆ ในหลกั สตู รมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า
โดยไม่ซา้ กบั รายวชิ าทเ่ี คยเรยี นมาแลว้ และตอ้ งไม่เป็นรายวชิ าทก่ี าหนดใหเ้ รยี นโดยไม่นบั หน่วย
กติ รวมในเกณฑก์ ารสาเรจ็ หลกั สตู รของสาขาวชิ าน้ี

3.1.4 แผนการศึกษา ภาคปกติ 13

หมวดวิชา ปี ท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 1 หน่วย
รหสั ช่ือวิชา กิต
ศกึ ษาทวั่ ไป วิชา 3(2-2-5)
เฉพาะ (กล่มุ วชิ าชพี คร)ู 3(2-2-5)
062101 ทกั ษะการพดู และการฟังภาษาองั กฤษ 3(2-2-5)
เฉพาะ (กลุ่มวชิ าเอก) 100101 ภาษาเพอ่ื การสอ่ื สารสาหรบั ครู 3(2-2-5)
100102 จติ วญิ ญาณความเป็นครู 3(2-2-5)
107101 สมองกบั การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็ ปฐมวยั
107102 การอบรมเลย้ี งดแู ละสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ 3(2-2-5)
3(2-2-5)
สาหรบั เดก็ ปฐมวยั
107103 การศกึ ษาปฐมวยั 21
1070xx วชิ าเอกเลอื ก (1)

รวมหน่วยกิต

ปี ที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2

หมวดวิชา รหสั ชื่อวิชา หน่วย
วิชา กิต
ศกึ ษาทวั่ ไป 3(2-2-5)
เฉพาะ (กล่มุ วชิ าชพี คร)ู 062102 พลเมอื งทเ่ี ขม้ แขง็ 3(2-2-5)
100103 นวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่อื การเรยี นรู้ 3(2-2-5)
เฉพาะ (กลมุ่ วชิ าเอก) 100104 การพฒั นาหลกั สตู ร 3(2-2-5)
107104 การจดั กจิ กรรมทางภาษาและการสอ่ื สาร
3(2-2-5)
สาหรบั เดก็ ปฐมวยั
107105 การจดั กจิ กรรมความฉลาดทางอารมณ์และ 3(2-2-5)

สงั คมสาหรบั เดก็ ปฐมวยั 3(2-2-5)
107106 การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ความพรอ้ มทางดา้ น 21

รา่ งกายสาหรบั เดก็ ปฐมวยั
1070xx วชิ าเอกเลอื ก (2)

รวมหน่วยกิต

หมวดวิชา ปี ท่ี 2 ภาคการศึกษาที่ 1 14
ศกึ ษาทวั่ ไป
เฉพาะ (กล่มุ วชิ าชพี ครู) รหสั ชื่อวิชา หน่วย
เฉพาะ (กลุ่มวชิ าเอก) วิชา กิต
062203 ทกั ษะภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอ่ื สาร 3(2-2-5)
062204 ศาสตรพ์ ระราชาเพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถน่ิ 3(2-2-5)
100205 จติ วทิ ยาสาหรบั ครู 3(2-2-5)
100206 การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 3(2-2-5)
107207 การจดั กจิ กรรมทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละ 3(2-2-5)

คณติ ศาสตรส์ าหรบั เดก็ ปฐมวยั 3(2-2-5)
1070xx วชิ าเอกเลอื ก (3) 3(2-2-5)
1070xx วชิ าเอกเลอื ก (4)
21
รวมหน่วยกิต

ปี ท่ี 2 ภาคการศึกษาท่ี 2

หมวดวิชา รหสั ช่ือวิชา หน่วย
วิชา กิต
ศกึ ษาทวั่ ไป 3(2-2-5)
เฉพาะ (กล่มุ วชิ าชพี ครู) 062205 ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 เพอ่ื ชวี ติ และอาชพี 3(2-2-5)
100207 วธิ วี ทิ ยาการจดั การเรยี นรู้ 3(2-2-5)
เฉพาะ (กล่มุ วชิ าเอก) 100208 การบรหิ ารการศกึ ษาและการประกนั คณุ ภาพ 3(2-2-5)
107208 การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ทกั ษะการคดิ สาหรบั
3(2-2-5)
เดก็ ปฐมวยั 3(2-2-5)
107209 สอ่ื และของเล่นสาหรบั เดก็ ปฐมวยั
3(2-2-5)
107210 การจดั กจิ กรรมการเลน่ เพอ่ื การเรยี นรู้ 21
สาหรบั เดก็ ปฐมวยั

1070xx วชิ าเอกเลอื ก (5)
รวมหน่วยกิต

15

ปี ที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1

หมวดวิชา รหสั ชื่อวิชา หน่วย
วิชา กิต
ศกึ ษาทวั่ ไป 062306 การใชภ้ าษาองั กฤษและการสอ่ื สาร 3(2-2-5)
062307 สุนทรยี ะ 3(2-2-5)
เฉพาะ (กลมุ่ วชิ าชพี คร)ู 100309 การวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรมการเรยี นรู้ 3(2-2-5)
เฉพาะ (กลุ่มวชิ าปฏบิ ตั กิ าร 101301 ฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ครรู ะหว่างเรยี น 1(45)
สอนในสถานศกึ ษา)
เฉพาะ (กล่มุ วชิ าเอก) 107311 การจดั ประสบการณ์การเรยี นรแู้ บบบรู ณา 3(2-2-5)
การ การศกึ ษาปฐมวยั สาหรบั เดก็ อายุ 0 - 3
ปี 3(2-2-5)
3(2-2-5)
107312 การตอ่ ยอดองคค์ วามรเู้ พอ่ื พฒั นานวตั กรรม 3(x-x-x)
1070xx วชิ าเอกเลอื ก (6)
xxxxxx วชิ าเลอื กเสรี (1) 22

รวมหน่วยกิต

ปี ท่ี 3 ภาคการศึกษาท่ี 2

หมวดวิชา รหสั ชื่อวิชา หน่วย
ศกึ ษาทวั่ ไป วิชา กิต
062308 การรเู้ ท่าทนั ต่อการเปลย่ี นแปลงทางการศกึ ษา 3(2-2-5)
เฉพาะ (กลุ่มวชิ าชพี คร)ู 062309 การสรา้ งเสรมิ และดแู ลสุขภาวะ 3(2-2-5)
เฉพาะ (กลุ่มวชิ าเอก) 062310 ภาษาองั กฤษเพอ่ื วชิ าชพี 3(2-2-5)
100310 ครุนิพนธ์ 1(0-2-1)
107313 การจดั ประสบการณ์การเรยี นรแู้ บบบูรณา 3(2-2-5)
การ การศกึ ษาปฐมวยั สาหรบั เดก็ อายุ 3 - 6
107314 ปี 3(2-2-5)
สมั มนาปัญหาและแนวโน้มในการพฒั นา
1070xx การศกึ ษาปฐมวยั ในอนาคต 3(2-2-5)
xxxxxx วชิ าเอกเลอื ก (7) 3(x-x-x)
วชิ าเลอื กเสรี (2)

หมวดวิชา รหสั ชื่อวิชา 16
วิชา
หน่วย
รวมหน่วยกิต กิต
22

ปี ท่ี 4 ภาคการศึกษาท่ี 1

หมวดวิชา รหสั ชื่อวิชา หน่วย
วิชา กิต
เฉพาะ (กลมุ่ วชิ าปฏบิ ตั กิ าร 101402 ปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา 1 6(270)
สอนในสถานศกึ ษา)
รวมหน่วยกิต 6

ปี ท่ี 4 ภาคการศึกษาท่ี 2

หมวดวิชา รหสั ช่ือวิชา หน่วย
วิชา กิต
เฉพาะ (กลุ่มวชิ าปฏบิ ตั กิ าร 101403 ปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา 2 6(270)
สอนในสถานศกึ ษา)
รวมหน่วยกิต 6

3.1.5 สมรรถนะและคาอธิบายรายวิชา

1) หมวดวิชาศกึ ษาทวั่ ไป

1.1) สมรรถนะ

สมรรถนะหลกั สมรรถนะรอง รายวิชา

1. มที กั ษะการ 1.1 Overall Listening Comprehension 062101 ทกั ษะการพดู และการ
ฟังภาษาองั กฤษ
ฟัง การพดู การ 1.2 Spoken Interaction 062203 ทกั ษะภาษาองั กฤษ
เพ่อื การสอ่ื สาร
อ่าน และการ 1.3 Spoken Production 062306 การใชภ้ าษาองั กฤษ
และการส่อื สาร
เขยี น 1.4 Overall Reading Comprehension 062310 ภาษาองั กฤษเพอ่ื
วชิ าชพี
1.5 Written Interaction

1.6 Written Production

17

สมรรถนะหลกั สมรรถนะรอง รายวิชา

2. เคารพศกั ดศิ ์ รี 2.1 รแู้ ละเขา้ ใจเกย่ี วกบั ศกั ดศิ ์ รคี วามเป็นมนุษย์ ยอมรบั 062102 พลเมอื งทเ่ี ขม้ แขง็

ความเป็นมนุษย์ ความแตกต่าง โดยไม่รงั เกยี จ กดี กนั เลอื กปฏบิ ตั ใิ นเรอ่ื ง

สทิ ธิ เสรภี าพ เพศ ความคดิ เหน็ ศาสนาและวฒั นธรรม ชาตกิ าเนดิ

กฎ กตกิ าของ ร่างกาย สถานภาพ ทางเศรษฐกจิ และสงั คม และความ

สงั คม กฎหมาย เสมอภาค

และการอยู่ 2.2 แสดงออกถงึ ความเคารพและยอมรบั ศกั ดศิ ์ รคี วามเป็น

รว่ มกนั ใน มนุษย์ ยอมรบั ความแตกต่าง โดยไม่รงั เกยี จ กดี กนั เลอื ก

สงั คมไทยและ ปฏบิ ตั ใิ นเรอ่ื ง เพศ ความคดิ เหน็ ศาสนาและวฒั นธรรม ชาติ

ประชาคมโลก กาเนิด รา่ งกาย สถานภาพ ทางเศรษฐกจิ และสงั คม และ

อยา่ งสนั ติ ความเสมอภาค

ตลอดจนมี 2.3 รแู้ ละเขา้ ใจในสทิ ธเิ สรภี าพของตนเองและผอู้ น่ื สทิ ธิ

จติ อาสาและ ชุมชน และการอย่รู ว่ มกนั ในสงั คมไทยและประชาคมโลก

จติ สาธารณะ อย่างสนั ติ

2.4 ยอมรบั และปกป้องสทิ ธิ และเสรภี าพของตนเอง ผอู้ ่นื

และสทิ ธชิ มุ ชน

2.5 รแู้ ละเขา้ ใจเกย่ี วกบั กฎ กตกิ าของสงั คม ขอ้ บญั ญตั ิ

และกฎหมาย

2.6 ปฏบิ ตั ติ ามกฎ กตกิ าของสงั คม และขอ้ บญั ญตั ิ ชมุ ชน

และสงั คมของตนเอง

2.7 ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย

2.8 รแู้ ละเขา้ ใจเกย่ี วกบั การมจี ติ อาสา และจติ สาธารณะ

2.9 ปฏบิ ตั ติ นทแ่ี สดงออกถงึ การมจี ติ อาสา โดยการ

ชว่ ยเหลอื ผอู้ ่นื โดยไม่หวงั ผลตอบแทน

2.10 ปฏบิ ตั ติ นทแ่ี สดงออกถงึ การมจี ติ สาธารณะ

3. มคี วามรู้ 3.1 เรยี นรโู้ ครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดาริ 062204 ศาสตรพ์ ระราชาเพอ่ื

เกย่ี วกบั แนวคดิ 3.2 รแู้ ละเขา้ ใจหลกั การของโครงการอนั เน่อื งมาจาก การพฒั นาทอ้ งถน่ิ

และหลกั การของ พระราชดาริ

โครงการอนั เน่อื ง 3.3 ปฏบิ ตั ติ ามหลกั การทรงงาน หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ

มาจาก พอเพยี ง และแนวคดิ การพฒั นาแบบยงั ่ ยนื

พระราชดาริ

สามารถประยกุ ต์

ใชห้ ลกั การทรง

งาน

หลกั ปรชั ญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง

และแนวคดิ การ

พฒั นาแบบยงั ่ ยนื

ในชวี ติ ประจาวนั

18

สมรรถนะหลกั สมรรถนะรอง รายวิชา

4. มคี วามรแู้ ละ 4.1 รแู้ ละเขา้ ใจแนวคดิ ของทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 062205 ทกั ษะในศตวรรษท่ี 21

สามารถพฒั นา 4.2 รแู้ ละเขา้ ใจแนวคดิ ของทกั ษะ 5Cs เพอ่ื ชวี ติ และอาชพี

ทกั ษะทส่ี าคญั 4.3 เรยี นรแู้ ละพฒั นาทกั ษะทส่ี าคญั ตามแนวคดิ ของทกั ษะใน

ตามแนวคดิ ทกั ษะ ศตวรรษท่ี 21 และทกั ษะ 5Cs

ในศตวรรษท่ี 21

และทกั ษะ 5Cs

เพ่อื การดาเนิน

ชวี ติ และการ

ทางานอย่างมี

คณุ ภาพ

5. มที กั ษะในการ 5.1 มที กั ษะในการขบั รอ้ งเพลง 062307 สนุ ทรยี ะ

จดั กจิ กรรมดนตรี 5.2 มที กั ษะในการเลน่ เคร่อื งดนตรที ใ่ี ชใ้ นการจดั กจิ กรรมเพ่อื

นาฏศลิ ป์ และ สนุ ทรยี ะ

ศลิ ปะเพอ่ื 5.3 รแู้ ละเขา้ ใจในการจดั กจิ กรรมเพ่อื สุนทรยี ะ

สนุ ทรยี ะ ตลอดจน 5.4 รแู้ ละเขา้ ใจในทา่ ราวงมาตรฐาน

ประยกุ ต์ ใชเ้ พอ่ื 5.5 มที กั ษะในการราวงมาตรฐาน

สง่ เสรมิ และ 5.6 รแู้ ละเขา้ ใจในการจดั การแสดง

พฒั นาการเรยี นรู้ 5.7 มที กั ษะในการจดั การแสดง

ของผเู้ รยี น 5.8 รแู้ ละเขา้ ใจในหลกั ทางสนุ ทรยี ศาสตรใ์ นงานทศั นศลิ ป์

5.9 สามารถสรา้ งสรรคผ์ ลงานโดยใชห้ ลกั การทางทศั นธาตุ

5.10 สามารถสรา้ งสรรคผ์ ลงานโดยใชห้ ลกั การจดั

องคป์ ระกอบศลิ ป์

6. มคี วามสามารถ 6.1 รแู้ ละเขา้ ใจความหมาย ทม่ี า การจดั ทา การใชแ้ ละการ 062308 การรเู้ ท่าทนั ต่อการ

ในการวเิ คราะห์ ตดิ ตามประเมนิ ผล นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ แผนงานและ เปลย่ี นแปลงทางการศกึ ษา

นโยบาย โครงการ การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาและการพฒั นาทอ้ งถนิ่

ยทุ ธศาสตร์ 6.2 สามารถวเิ คราะหแ์ ผนงานและโครงการ ดา้ นการศกึ ษา

แผนงาน และ และการพฒั นาทอ้ งถน่ิ ในระดบั ชาติ กระทรวง จงั หวดั และ

โครงการ ลงส่กู าร สถานศกึ ษา

ปฏบิ ตั ิ 6.3 สามารถจดั ทาแผนงานและโครงการพฒั นาสถานศกึ ษา

และชมุ ชน แบบมสี ว่ นรวมใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบายและ

ยุทธศาสตรท์ เ่ี กย่ี วขอ้ ง

6.4 สามารถตดิ ตามและประเมนิ ผลแผนงานและโครงการ

พฒั นาสถานศกึ ษาและชมุ ชน

6.5 สามารถจดั ทารายงานการตดิ ตามและประเมนิ ผลพรอ้ ม

ทงั้ ขอ้ เสนอแนะในการพฒั นาปรบั ปรุงแผนงานและโครงการ

พฒั นาสถานศกึ ษาและชมุ ชน

7. มคี วามรแู้ ละมี 7.1 มคี วามสามารถในการอภปิ รายและสรุปความรู้ ความ 062309 การสรา้ งเสรมิ และดแู ล

ความพรอ้ มในการ เขา้ ใจเกย่ี วกบั สขุ ภาวะ ไดแ้ ก่ ทางร่างกาย จติ ใจ ปัญญา และ สขุ ภาวะ

19

สมรรถนะหลกั สมรรถนะรอง รายวิชา

สรา้ งเสรมิ และ สงั คม รวมทงั้ 4 กลยทุ ธใ์ นการจดั การ ไดแ้ ก่ การสรา้ งเสรมิ

ดแู ลสขุ ภาวะ เหน็ สุขภาวะ การป้องกนั โรคและภยั สขุ ภาพ การดแู ลรกั ษา และ

ความสาคญั ของ การฟ้ืนฟู สุขภาวะ

กฬี าและ 7.2 มคี วามสามารถในการออกแบบและจดั กจิ กรรมดา้ นสขุ

นนั ทนาการ และ ภาวะ 4 มติ ิ ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน

สามารถนาไป 7.3 มคี วามพรอ้ มในการป้องกนั และเขา้ ถงึ บรกิ ารเกย่ี วกบั โรค

ออกแบบและจดั และภยั สขุ ภาพทส่ี าคญั ของเดก็ และเยาวชน โดยเฉพาะอย่าง

กจิ กรรมในการ ยงิ่

จดั การเรยี นรู้ การทอ้ งไมพ่ รอ้ ม ยาเสพตดิ โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธแ์ ละ

เอดส์ สภาวะอว้ น และสขุ ภาพจติ

7.4 เหน็ ความสาคญั ของกฬี าและนนั ทนาการ

7.5 มคี วามสามารถในการออกแบบและจดั กจิ กรรมกฬี าและ

นนั ทนาการในสถานศกึ ษาและชมุ ชน

7.6 มคี วามสามารถในการปรบั ใช้ “การมนี ้าใจเป็นนักกฬี า”

(รแู้ พ้ รชู้ นะ รอู้ ภยั ) ในชวี ติ ประจาวนั

1.2) คาอธิบายรายวิชา

รหสั วิชา ชื่อและคาอธิบายรายวิชาน(ท-ป-ศ)

062101 ทกั ษะการพดู และการฟังภาษาองั กฤษ 3(2-2-5)

(English Speaking and Listening Skills)

พดู บอกรายละเอยี ดและสรุปประเดน็ สาคญั ฟังบทสนทนาและขอ้ ความสนั้ ๆ

แลว้ จบั ใจความ ใชป้ ระโยคและสานวนเกย่ี วกบั สง่ิ รอบตวั (เชน่ ขอ้ มลู พน้ื ฐานและขอ้ มลู ของครอบครวั

การซอ้ื ของ ภูมศิ าสตรท์ อ้ งถนิ่ การจา้ งงาน) สอ่ื สารเรอ่ื งทง่ี า่ ยและเป็นกจิ วตั รทต่ี อ้ งมกี ารแลกเปลย่ี น

ขอ้ มลู โดยตรงและไม่ยุ่งยากเกย่ี วกบั สงิ่ ทค่ี ุน้ เคยหรอื ทาเป็นประจา ใชภ้ าษาและโครงสรา้ งทาง

ไวยากรณ์ในการพดู โตต้ อบในสถานการณ์ทแ่ี ตกต่างหลากหลาย โดยใชภ้ าษา น้าเสยี ง กริ ยิ าท่าทาง

ทเ่ี หมาะสมตามมารยาททางสงั คม และรถู้ งึ วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา โดยเน้นกระบวนการทาง

ภาษา คอื พดู ฟัง อ่าน เขยี น การสอ่ื สาร การสบื เสาะหาความรู้ การสบื คน้ ขอ้ มลู และการฝึกปฏบิ ตั ิ

ทกั ษะการสอ่ื สารตามสถานการณ์ตา่ งๆ (สมรรถนะ 1.1-1.3)

062102 พลเมืองที่เข้มแขง็ 3(2-2-5)

(Active Citizen)

วเิ คราะห์ ออกแบบการปฏบิ ตั ิ จดั ทาโครงการ และปฏบิ ตั ติ นทแ่ี สดงออกถงึ

การเคารพศกั ดศิ ์ รคี วามเป็นมนุษย์ ยอมรบั ความแตกต่างของบคุ คล ความเสมอภาคและความเท่า

เทยี ม เคารพสทิ ธิ เสรภี าพ และการอย่รู ว่ มกนั ในสงั คมไทยและประชาคมโลกอย่างสนั ตติ ามหลกั ขนั ติ

ธรรม การสรา้ งและปฏบิ ตั ติ าม กฎ กตกิ าของสงั คม และกฎหมายเบอ้ื งตน้ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง รปู แบบการ

ปกครอง อุดมการณ์ และวถิ ชี วี ติ ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข หน้าทข่ี องตนเอง

20

ในฐานะของพลเมอื งไทยในระบอบประชาธปิ ไตย มคี วามเป็นพลเมอื งทเ่ี ขม้ แขง็ และเคารพสทิ ธผิ อู้ ่นื

อยา่ งมเี หตผุ ล มจี ติ สานึก รบั ผดิ ชอบต่อหน้าทข่ี องตนเอง มจี ติ อาสาและจติ สาธารณะ (สมรรถนะ

2.1-2.10)

062203 ทกั ษะภาษาองั กฤษเพอ่ื การส่ือสาร 3(2-2-5)

(English Communication Skills)

อ่านจบั ใจความสาคญั ของขอ้ ความทวั่ ๆ ไป อา่ นรายงานอย่างง่ายสาหรบั

หวั ขอ้ ทค่ี ุน้ เคยและเขยี นในประเดน็ ทค่ี ุน้ เคยหรอื มคี วามสนใจ บรรยายประสบการณ์ เหตกุ ารณ์

ความคดิ ฝัน ความหวงั พรอ้ มใหเ้ หตุผลสนั้ ๆ ได้ โตต้ อบกบั ผทู้ พ่ี ดู ภาษาองั กฤษเกย่ี วกบั หวั ขอ้ ท่ี

คุน้ เคย การสอ่ื สารในสถานทท่ี างาน (สมรรถนะ 1.1-1.5)

062204 ศาสตรพ์ ระราชาเพื่อการพฒั นาท้องถิ่น 3(2-2-5)

(King Bhumibol's Philosophy for Local Development)

ศกึ ษาแนวคดิ และหลกั การของโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดาริ

ประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั การทรงงาน หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และแนวคดิ การพฒั นาแบบยงั่ ยนื ใน

ชวี ติ ประจาวนั ได้ วเิ คราะหย์ ุทธศาสตรฉ์ ลาดรเู้ พอ่ื การพฒั นาชุมชนตน้ แบบตามศาสตรพ์ ระราชาสกู่ าร

พฒั นาอยา่ งเป็นรปู ธรรม และรว่ มมอื กนั ทางานโดยบรู ณาการแบบองคร์ วมกบั ทมี ภาคเี ครอื ขา่ ย

(สมรรถนะ 3.1-3.3)

062205 ทกั ษะในศตวรรษที่ 21 เพ่ือชีวิตและอาชีพ 3(2-2-5)

(21st Century Skills for Life and Career)

สบื คน้ วเิ คราะห์ แนวคดิ ทฤษฏเี กย่ี วกบั ทกั ษะ 5Cs โดยบูรณาการการ

ประยุกตเ์ พอ่ื พฒั นาทกั ษะทส่ี าคญั ต่อการดาเนนิ ชวี ติ และการประกอบอาชพี อย่างมคี ณุ ภาพใน

ศตวรรษท่ี 21 (สมรรถนะ 4.1-4.3)

062306 การใช้ภาษาองั กฤษและการส่ือสาร 3(2-2-5)

(English Usage and Communication)

ใชภ้ าษาองั กฤษในการสอ่ื สารและการนาเสนอ โดยเช่อื มโยงหวั ขอ้ ทค่ี ุน้ เคย

หรอื หวั ขอ้ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ความสนใจได้ บรรยายความรสู้ กึ ทม่ี ตี อ่ หวั ขอ้ เหล่านนั้ และถามความคดิ เหน็

ของผอู้ ่นื เขยี นเกย่ี วกบั หวั ขอ้ ทค่ี ุน้ เคยไดห้ ลากหลาย เช่น ประสบการณ์ เหตกุ ารณ์ ความคดิ ความ

ฝัน และเขยี นจดหมายทเ่ี ป็นรปู แบบมาตรฐานเกย่ี วขอ้ งกบั เร่อื งทส่ี นใจ (สมรรถนะ 1.1-1.5)

062307 สนุ ทรยี ะ 3(2-2-5)

(Aesthetics)

ขบั รอ้ งเพลงตามจงั หวะ ทานอง และเน้อื หาของเพลงไทยสากลแต่ละประเภท

และเพลงราวงมาตรฐาน เล่นเคร่อื งดนตรปี ระกอบจงั หวะ ออกแบบและจดั กจิ กรรมเพอ่ื สนุ ทรยี ะ

ปฏบิ ตั กิ ารราวงในเพลงมาตรฐาน ออกแบบการแสดง จดั การแสดง วเิ คราะหห์ ลกั ทางสุนทรยี ศาสตร์

ในงานทศั นศลิ ป์ หลกั การทางทศั นธาตุ หลกั การจดั องคป์ ระกอบศลิ ป์ หลกั การออกแบบป้ายนเิ ทศ

21

ออกแบบฉาก เวที สอ่ื การเรยี นรู้ และแฟ้มผลงาน จดั ทาผลงานทางศลิ ปะ นาเสนอผลงาน และ
วพิ ากษผ์ ลงานศลิ ปะ (สมรรถนะ 5.1-5.10)

062308 การรเู้ ท่าทนั ต่อการเปล่ียนแปลงทางการศึกษา 3(2-2-5)

(Knowingly the Educational Change)

สบื คน้ วเิ คราะห์ แนวคดิ ดา้ นนโยบาย ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน โครงการ เพอ่ื

พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา และพฒั นาทอ้ งถนิ่ (สมรรถนะ 6.1-6.5)

062309 การสร้างเสริมและดแู ลสุขภาวะ 3(2-2-5)

(Health Promotion and Care)

สบื คน้ วเิ คราะห์ สรุปการสรา้ งเสรมิ และดแู ลสุขภาวะ ความสาคญั ของกฬี า

และนนั ทนาการ และนโยบายสาธารณะเพอ่ื การสง่ เสรมิ สุขภาพ การออกแบบและจดั กจิ กรรมการ

สรา้ งเสรมิ และดแู ลสขุ ภาวะทางกาย จติ สงั คมและปัญญา การออกแบบกฬี าและนนั ทนาการในการ

จดั การเรยี นรู้ ความพรอ้ มในสรา้ งเสรมิ และดแู ลสขุ ภาวะในดา้ นทส่ี าคญั (สมรรถนะ 7.1-7.6)

062310 ภาษาองั กฤษเพ่อื วิชาชีพ 3(2-2-5)

(English for Professional Purposes)

พดู คุยเชงิ เทคนคิ ในเร่อื งทม่ี คี วามเชย่ี วชาญ โตต้ อบอย่างคล่องแคล่วและเป็น

ธรรมชาตโิ ตต้ อบกบั ผพู้ ดู ทเ่ี ป็นเจา้ ของภาษาไดโ้ ดยไม่มคี วามเคร่งเครยี ด สรา้ งถอ้ ยคาทช่ี ดั เจนและมี

ความละเอยี ดในหวั ขอ้ ทห่ี ลากหลาย โดยมคี วามเขา้ ใจจุดประสงคข์ องประเดน็ ทม่ี คี วามซบั ซอ้ นทงั้

รปู ธรรมและนามธรรม อธบิ ายมุมมองเกย่ี วกบั ปัญหาเฉพาะทม่ี คี วามไดเ้ ปรยี บและเสยี เปรยี บ ฝึก

ปฏบิ ตั ทิ กั ษะภาษาองั กฤษผ่านกจิ กรรมค่ายภาษาองั กฤษ (สมรรถนะ 1.1-1.4, 1.6)

สถานศกึ ษา) 2) หมวดวิชาเฉพาะ (กลุ่มวิชาชีพครู และกลุม่ วิชาปฏิบตั ิการสอนใน
2.1) สมรรถนะ

สมรรถนะหลกั สมรรถนะรอง รายวิชา

1. มคี วามรแู้ ละ 1.1 ตดิ ตามการเปลย่ี นแปลงบรบิ ทโลก รเู้ ท่าทนั 100101 ภาษาเพ่อื การสอ่ื สารสาหรบั
ประสบการณ์ สงั คมและสามารถนาแนวคดิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ ครู
วชิ าชพี ครู พอเพยี งสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ใหผ้ เู้ รยี น 100103 นวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่อื
1.2 ประยกุ ตใ์ ชจ้ ติ วทิ ยาพฒั นาการ จติ วทิ ยา การเรยี นรู้
การศกึ ษา และจติ วทิ ยาใหค้ าปรกึ ษาในการ 100205 จติ วทิ ยาสาหรบั ครู
วเิ คราะหแ์ ละพฒั นาผเู้ รยี นตามศกั ยภาพ 100206 การวดั และประเมนิ ผลการ
1.3 บูรณาการความรู้ เน้อื หาวชิ า หลกั สตู ร ศาสตร์ เรยี นรู้
การสอน และเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในการจดั การเรยี นรู้ 100207 วธิ วี ทิ ยาการจดั การเรยี นรู้

22

สมรรถนะหลกั สมรรถนะรอง รายวิชา

1.4 ใชค้ วามรกู้ ารวดั ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ และการ 100208 การบรหิ ารการศกึ ษาและการ
วจิ ยั เพ่อื แกป้ ัญหาและพฒั นาผเู้ รยี น ประกนั คุณภาพ
1.5 สามารถใชภ้ าษาไทยเพอ่ื การสอ่ื สารและใช้ 100309 การวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรม
เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพอ่ื การศกึ ษา การเรยี นรู้
1.6 ออกแบบ ดาเนินการเกย่ี วกบั งานประกนั 100310 ครนุ ิพนธ์
คณุ ภาพการศกึ ษา

2. มคี วามสามารถ 2.1 ม่งุ มนั ่ พฒั นาผเู้ รยี นดว้ ยจติ วญิ ญาณความเป็น 100102 จติ วญิ ญาณความเป็นครู
100103 นวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่อื
ในการปฏบิ ตั ิ ครู การเรยี นรู้
100205 จติ วทิ ยาสาหรบั ครู
หน้าทค่ี รู 2.2 ประพฤตติ นแบบอย่างทด่ี ี มคี ณุ ธรรม 100206 การวดั และประเมนิ ผลการ
เรยี นรู้
จรยิ ธรรมและเป็นพลเมอื งทเ่ี ขม้ แขง็ 100207 วธิ วี ทิ ยาการจดั การเรยี นรู้
100208 การบรหิ ารการศกึ ษาและการ
2.3 สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ เอาใจใส่ และยอมรบั ความ ประกนั คุณภาพ
100310 ครนุ พิ นธ์
แตกต่างของผเู้ รยี นแต่ละบุคคล 101301 ฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ครู
ระหวา่ งเรยี น
2.4 สรา้ งแรงบนั ดาลใจ และพฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ ป็น 101402 ปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา
1
ผใู้ ฝ่เรยี นรแู้ ละสรา้ งนวตั กรรม 101403 ปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา
2
2.5 พฒั นาตนเองใหม้ คี วามรอบรู้ ทนั สมยั และทนั
100103 นวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่อื
ต่อการเปลย่ี นแปลง การเรยี นรู้
100104 การพฒั นาหลกั สตู ร
3. มคี วามสามารถ 3.1 พฒั นาหลกั สตู รการจดั การเรยี นรู้ สอ่ื การวดั 100206 การวดั และประเมนิ ผลการ
ในการจดั การ และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เรยี นรู้
เรยี นรู้ 3.2 วางแผนและจดั การเรยี นรทู้ ส่ี ามารถพฒั นา 100207 วธิ วี ทิ ยาการจดั การเรยี นรู้
100309 การวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรม
ผเู้ รยี นใหม้ ปี ัญญารคู้ ดิ และมคี วามเป็นนวตั กร การเรยี นรู้
3.3 ดแู ล ชว่ ยเหลอื และพฒั นาผเู้ รยี นเป็น 101301 ฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ครู
รายบคุ คล สามารถรายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพ ระหว่างเรยี น
ผเู้ รยี นไดอ้ ย่างเป็นระบบ 101402 ปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา
3.4 จดั กจิ กรรมและสรา้ งบรรยากาศการเรยี นรใู้ ห้ 1
ผเู้ รยี นมคี วามสุขในการเรยี นโดยตระหนกั ถงึ สขุ 101403 ปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา
ภาวะของผเู้ รยี น 2
3.5 วจิ ยั สรา้ งนวตั กรรม และประยกุ ตใ์ ช้
เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อการเรยี นรู้
ของผเู้ รยี น
3.6 ปฏบิ ตั งิ านรว่ มกบั ผอู้ น่ื อย่างสรา้ งสรรคแ์ ละมี
สว่ นร่วมในกจิ กรรมการพฒั นาวชิ าชพี

23

สมรรถนะหลกั สมรรถนะรอง รายวิชา

4. มคี วามสามารถ 4.1 ร่วมมอื กบั ผปู้ กครองในการพฒั นาและ 100205 จติ วทิ ยาสาหรบั ครู
100208 การบรหิ ารการศกึ ษาและการ
ในการสรา้ ง แกป้ ัญหาผเู้ รยี นใหค้ ุณลกั ษะทพ่ี งึ ประสงค์ ประกนั คุณภาพ
101301 ฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ครู
ความสมั พนั ธก์ บั 4.2 สรา้ งเครอื ขา่ ยความร่วมมอื กบั ผปู้ กครองและ ระหวา่ งเรยี น
101402 ปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา
ผปู้ กครองและ ชุมชนเพ่อื สนบั สนุนการเรยี นรทู้ ม่ี คี ุณภาพของ 1
101403 ปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา
ชุมชน ผเู้ รยี น 2

4.3 ศกึ ษา เขา้ ถงึ บรบิ ทชมุ ชน และสามารถอยู่

รว่ มกนั บนพน้ื ฐานความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม

4.4 ส่งเสรมิ อนุรกั ษว์ ฒั นธรรม และภมู ปิ ัญญา

ทอ้ งถนิ่

5. ปฏบิ ตั ติ นตาม 5.1 ประพฤติ ปฏบิ ตั ติ นตามจรรยาบรรณของ 100102 จติ วญิ ญาณความเป็นครู
จรรยาบรรณ วชิ าชพี 100310 ครุนิพนธ์
วชิ าชพี ครู 101301 ฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ครู
ระหว่างเรยี น
101402 ปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา
1
101403 ปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา
2

2.2) คาอธิบายรายวิชา

รหสั วิชา ชื่อและคาอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ)

100101 ภาษาเพ่ือการส่ือสารสาหรบั ครู 3(2-2-5)

(Language for Teachers’ Communication)

วเิ คราะหว์ าทวทิ ยาสาหรบั ครู หลกั การ และเทคนิควธิ กี ารใชภ้ าษาไทย และ

ฝึกปฏบิ ตั กิ ารฟัง การพูด การอา่ น การเขยี น และภาษาทา่ ทาง เพอ่ื การสอ่ื ความหมายในการเรยี น

การสอนและการสอ่ื สาร สบื คน้ สารนเิ ทศเพอ่ื พฒั นาตนใหร้ อบรู้ ทนั สมยั และทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง

สาหรบั ฝึกการใชภ้ าษาและวฒั นธรรมเพอ่ื การอย่รู ว่ มกนั อย่างสนั ตแิ ละออกแบบการจดั การเรยี นรู้

ทกั ษะการฟัง การพดู การอา่ น การเขยี น และภาษาท่าทาง เพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี น (สมรรถนะ 1.5)

100102 จิตวิญญาณความเป็ นครู 3(2-2-5)

(Teachers’ Spirituality)

ประพฤติ ปฏบิ ตั ติ นตามจรรยาบรรณของวชิ าชพี มุ่งมนั่ พฒั นาผเู้ รยี นดว้ ย

จติ วญิ ญาณความเป็นครู เป็นแบบอย่างทด่ี ี มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และเป็นพลเมอื งทเ่ี ขม้ แขง็ ดารงตน

ใหเ้ ป็นทเ่ี คารพศรทั ธาของผเู้ รยี นและสมาชกิ ในชมุ ชน โดยการวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ บรู ณาการองค์

24

ความรเู้ กย่ี วกบั ค่านิยมของครู จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู คุณธรรม จรยิ ธรรมสาหรบั ครู จติ วญิ ญาณ

ความเป็นครู กฎหมายสาหรบั ครู สภาพการณ์การพฒั นาวชิ าชีพครู โดยใชก้ ารจดั การเรยี นรทู้ เ่ี น้น

ประสบการณ์ กรณีศกึ ษา การฝึกปฏบิ ตั ใิ ชก้ ารสะทอ้ นคดิ เพอ่ื นาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพฒั นา

ตนเองในการเป็นครูทด่ี ี มคี วามรอบรู้ ทนั สมยั และทนั ต่อการเปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ 2.1, 2.2, 2.5,

5.1)

100103 นวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่ือการเรยี นรู้ 3(2-2-5)

(Innovation and Technology for Learning)

ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในการออกแบบการจดั การเรยี นรตู้ ามธรรมชาติ

ของสาขาวชิ าเอกเพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ปี ัญญารคู้ ดิ และมคี วามเป็นนวตั กร ทส่ี อดคลอ้ งกบั บรบิ ทและ

ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลของผเู้ รยี น ผเู้ รยี นทม่ี คี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ โดยการวเิ คราะห์

หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎที เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การสอ่ื สารการศกึ ษา

และการเรยี นรู้ กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ ง จรรยาบรรณในการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพอ่ื ใหส้ ามารถเลอื กและ

ประยกุ ตใ์ ชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การสอ่ื สารการศกึ ษาและการจดั การเรยี นรไู้ ด้

อย่างเหมาะสมมปี ระสทิ ธภิ าพ และไม่ละเมดิ ทรพั ยส์ นิ ทางปัญญาและใชก้ ารสะทอ้ นคดิ ไปประยุกตใ์ ช้

ในการพฒั นาตนเองในการเป็นครทู ด่ี ี มคี วามรอบรู้ และทนั สมยั ต่อการเปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ 1.2,

2.5, 3.5)

100104 การพฒั นาหลกั สตู ร 3(2-2-5)

(Curriculum Development)

ออกแบบและพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา หลกั สตู รรายวชิ าตามธรรมชาตขิ อง

สาขาวชิ าเอกทส่ี อดคลอ้ งกบั บรบิ ทสถานศกึ ษาและชุมชน นาหลกั สตู รไปใชแ้ ละประเมนิ หลกั สตู ร โดย

ประยุกตใ์ ชห้ ลกั การ แนวคดิ ทฤษฎกี ารพฒั นาหลกั สตู ร พน้ื ฐานทางปรชั ญาการศกึ ษา จติ วทิ ยา

สงั คม วฒั นธรรม และเทคโนโลยี หลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน การนาหลกั สตู รไปใช้ การประเมนิ

หลกั สตู ร ปัญหาและแนวโน้มในการพฒั นาหลกั สตู ร เพอ่ื ใหม้ ที กั ษะในการสรา้ ง การใช้ และการ

ประเมนิ หลกั สตู ร ใชก้ ารสะทอ้ นคดิ เพอ่ื นาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการพฒั นาตนเองในการเป็นครทู ด่ี ี มคี วาม

รอบรู้ ทนั สมยั และทนั ต่อการเปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ 3.1)

100104 การพฒั นาหลกั สตู ร 3(2-2-5)

(Curriculum Development)

ออกแบบและพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา หลกั สตู รรายวชิ าตามธรรมชาตขิ อง

สาขาวชิ าเอกทส่ี อดคลอ้ งกบั บรบิ ทสถานศกึ ษาและชุมชน นาหลกั สตู รไปใชแ้ ละประเมนิ หลกั สตู ร โดย

ประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั การ แนวคดิ ทฤษฎกี ารพฒั นาหลกั สตู ร พน้ื ฐานทางปรชั ญาการศกึ ษา จติ วทิ ยา

สงั คม วฒั นธรรม และเทคโนโลยี หลกั สตู รการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน การนาหลกั สตู รไปใช้ การประเมนิ

หลกั สตู ร ปัญหาและแนวโน้มในการพฒั นาหลกั สตู ร เพอ่ื ใหม้ ที กั ษะในการสรา้ ง การใช้ และการ

25

ประเมนิ หลกั สตู ร ใชก้ ารสะทอ้ นคดิ เพอ่ื นาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพฒั นาตนเองในการเป็นครูทด่ี ี มคี วาม
รอบรู้ ทนั สมยั และทนั ต่อการเปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ 3.1)

100205 จิตวิทยาสาหรบั ครู 3(2-2-5)

(Psychology for Teachers)

วเิ คราะห์ แกป้ ัญหา ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรทู้ างจติ วทิ ยาสาหรบั การจดั การเรยี นรู้

เพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี นตามศกั ยภาพและช่วงวยั ผเู้ รยี นทม่ี คี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ โดยใชห้ ลกั การ

แนวคดิ ทฤษฎที างจติ วทิ ยาพฒั นาการ จติ วทิ ยาการศกึ ษา และจติ วทิ ยาใหค้ าปรกึ ษา ทกั ษะทาง

สมองเพอ่ื การบรหิ ารจดั การชวี ติ (Executive Function: EF) การสง่ เสรมิ พฒั นาการและการเรยี นรู้

ของผเู้ รยี นตามชว่ งวยั

เดก็ ทม่ี คี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ แนวทางการใหค้ าแนะนากบั ผปู้ กครองเกย่ี วกบั การสง่ เสรมิ

พฒั นาการ

ของผเู้ รยี น การศกึ ษารายกรณี การสะทอ้ นคดิ เพอ่ื ใหส้ ามารถออกแบบดแู ลชว่ ยเหลอื และพฒั นา

ผเู้ รยี นเป็นรายบคุ คลตามศกั ยภาพ มงุ่ มนั่ พฒั นาผเู้ รยี นดว้ ยจติ วญิ ญาณความเป็นครู รายงานผลการ

พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นไดอ้ ย่างเป็นระบบ ใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั แกผ่ ปู้ กครองและผเู้ กย่ี วขอ้ งเพอ่ื สรา้ ง

ความรว่ มมอื ในการพฒั นาผเู้ รยี น และใชก้ ารสะทอ้ นคดิ เพอ่ื นาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพฒั นาตนเองใน

การเป็นครูทด่ี ี มคี วามรอบรู้ ทนั สมยั และทนั ต่อการเปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ 1.2, 2.5, 4.1)

100206 การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ 3(2-2-5)

(Learning Measurement and Evaluation)

วดั และประเมนิ ผลการเรยี นรดู้ ว้ ยวธิ กี ารทเ่ี หมาะสมและสอดคลอ้ งกบั ลกั ษณะ

ของสาระสาคญั ในเรอ่ื งทป่ี ระเมนิ บรบิ ทและความแตกต่างระหว่างบุคคลของผเู้ รยี น สะทอ้ นผลการ

ประเมนิ เพอ่ื พฒั นาการของผเู้ รยี นและพฒั นาคณุ ภาพการจดั การเรยี นรู้ โดยใชห้ ลกั การ แนวคดิ การ

ประเมนิ ตามสภาพจรงิ การออกแบบและสรา้ งเคร่อื งมอื วดั และประเมนิ ผล การใหข้ อ้ มลู ป้อนกลบั ท่ี

สง่ เสรมิ การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น แนวทางการใชผ้ ลการวดั และประเมนิ ผลผเู้ รยี นในการปรบั ปรุง

พฒั นาการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น เพอ่ื ใหส้ ามารถวดั และประเมนิ ผลเพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี นอยา่ งเหมาะสมและ

สรา้ งสรรค์ และใชก้ ารสะทอ้ นคดิ ไปประยุกตใ์ ชใ้ นการพฒั นาตนเองในการเป็นครทู ด่ี ี มคี วามรอบรู้

และทนั สมยั ต่อการเปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ 1.4, 2.3, 2.5, 3.1)

100207 วิธีวิทยาการจดั การเรยี นรู้ 3(2-2-5)

(Learning Management Methodology)

วางแผนและจดั การเรยี นรตู้ ามธรรมชาตสิ าขาวชิ าเอกทส่ี ามารถพฒั นาผเู้ รยี น

ใหม้ ปี ัญญารคู้ ดิ และมคี วามเป็นนวตั กร สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ เอาใจใส่ และยอมรบั ความแตกตา่ งของ

ผเู้ รยี นแตล่ ะบุคคล จดั กจิ กรรมและสรา้ งบรรยากาศการเรยี นรใู้ หผ้ เู้ รยี นมคี วามสุขในการเรยี น

26

ตระหนกั ถงึ สขุ ภาวะของผเู้ รยี น บูรณาการความรู้ เน้อื หาวชิ า หลกั สตู ร ศาสตรก์ ารสอน และ
เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในการจดั การเรยี นรู้ โดยใชค้ วามรเู้ กย่ี วกบั ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ นวตั กรรมการจดั การ
เรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาทกั ษะในศตวรรษท่ี 21
การจดั การเรยี นรแู้ บบบูรณาการ การบูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การบรู ณาการเน้อื หา
และภาษา การบูรณาการสอ่ื และแหล่งเรยี นรใู้ นชมุ ชนทอ้ งถนิ่ สอ่ื เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั การศกึ ษา
แบบเรยี นรวม
การชแ้ี นะผเู้ รยี น การบรหิ ารจดั การชนั้ เรยี น การออกแบบและเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ การ
ปฏบิ ตั กิ ารสอนแบบจุลภาค การทดลองจดั การเรยี นรใู้ นสถานศกึ ษา ใชก้ ารสะทอ้ นคดิ เพอ่ื ใหม้ ที กั ษะ
ในการออกแบบและจดั การเรยี นรู้ เพอ่ื ใหม้ คี วามสามารถในการออกแบบการเรยี นรู้ มที กั ษะในการ
จดั การเรยี นรู้ และใช้ การสะทอ้ นคดิ ไปประยุกตใ์ ชใ้ นการพฒั นาตนเองในการเป็นครทู ด่ี ี มคี วามรอบรู้
และทนั สมยั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ 1.3, 2.3, 2.5, 3.2, 3.4)

100208 การบริหารการศึกษาและการประกนั คณุ ภาพ 3(2-2-5)

(Educational Administration and Quality Assurance)

บูรณาการองคค์ วามรทู้ างการบรหิ ารการศกึ ษา ระบบสารสนเทศเพอ่ื การ

บรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษา ในการทาความเขา้ ใจบรบิ ทการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นแต่

ละระดบั การศกึ ษาและประเภทการศกึ ษา ออกแบบนวตั กรรมการดาเนินการเกย่ี วกบั งานประกนั

คณุ ภาพการศกึ ษา ทส่ี อดคลอ้ งกบั สถานศกึ ษาแต่ละระดบั และประเภทการศกึ ษา ฝึกปฏบิ ตั ิ

ดาเนินการจดั กจิ กรรมประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาและการจดั การเรยี นรู้ โดยใชห้ ลกั การ แนวคดิ

ทฤษฎี แนวปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การจดั การคณุ ภาพการศกึ ษาและกฎหมายทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง และใชก้ ารสะทอ้ น

คดิ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพฒั นาตนเองใน การเป็นครทู ด่ี ี มคี วามรอบรู้ และทนั สมยั ตอ่ การ

เปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ 1.6, 2.5, 4.2)

100309 การวิจยั และพฒั นานวตั กรรมการเรยี นรู้ 3(2-2-5)

(Research and Development of Learning Innovation)

วจิ ยั แกป้ ัญหาเพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี น สรา้ งนวตั กรรมเพอ่ื พฒั นาการเรยี นรขู้ อง

ผเู้ รยี น

ทส่ี อดคลอ้ งกบั ธรรมชาตขิ องสาขาวชิ าเอก บรบิ ทความแตกต่างหลากหลายของผเู้ รยี น โดย

การศกึ ษา วเิ คราะหส์ ภาพปัญหาและความตอ้ งการในการพฒั นาของผเู้ รยี นในชนั้ เรยี น ออกแบบการ

วจิ ยั โดยประยุกตใ์ ชห้ ลกั การ แนวคดิ จรรยาบรรณของนักวจิ ยั การสรา้ งและหาคณุ ภาพเคร่อื งมอื วจิ ยั

ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ในการสรา้ งนวตั กรรมในการวจิ ยั เพอ่ื แกป้ ัญหาและพฒั นาผเู้ รยี น เพอ่ื ให้

สามารถนาผลการวจิ ยั ไปใชใ้ นการพฒั นาการจดั การเรยี นรแู้ ละพฒั นาผเู้ รยี น และใชก้ ารสะทอ้ นคดิ ไป

ประยุกตใ์ ช้

ในการพฒั นาตนเองในการเป็นครทู ด่ี ี มคี วามรอบรู้ และทนั สมยั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ 1.4,

3.5)

27

100310 ครนุ ิพนธ์ 1(0-2-1)

(Individual Development Plan)

จดั ทาครนุ ิพนธ์ (แผนพฒั นาตนเองรายบุคคล) โดยการรวบรวม วเิ คราะห์

สงั เคราะหส์ มรรถนะการปฏบิ ตั หิ น้าทค่ี รู คณุ ลกั ษณะของความเป็นครผู ่านกระบวนการถอดบทเรยี น

จากการปฏบิ ตั กิ ารสอนและการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง เขา้ ร่วมกจิ กรรมเพอ่ื เตมิ เตม็ สมรรถนะ สะทอ้ นกลบั

(AAR) เป็นรายบคุ คลและร่วมแลกเปลย่ี นเรยี นรใู้ นรปู แบบชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (PLC) เพอ่ื นาไปใชใ้ น

การพฒั นาตนเองใหม้ คี วามรอบรู้ ทนั สมยั และทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง ตลอดจนเป็นครขู องพระราชาท่ี

น้อมนาศาสตรพ์ ระราชาไปปฏบิ ตั ติ น ปฏบิ ตั งิ าน เก่งวชิ าการ เก่งภาษา เกง่ สอน มจี ติ วญิ ญาณความเป็น

ครู รทู้ อ้ งถนิ่ (สมรรถนะ 1.1, 2.1, 2.2, 2.5, 5.1)

รหสั วิชา ชื่อและคาอธิบายรายวิชา น(ชม.)

101301 ฝึ กประสบการณ์วิชาชีพครรู ะหว่างเรียน 1(45)

(Practicum)

สรุปคณุ ลกั ษณะของตนเองและครทู แ่ี สดงออกถงึ ความรกั และศรทั ธาในวชิ าชพี

ครู ระบุจรรยาบรรณต่อตนเองและต่อวชิ าชพี รอบรบู้ ทหน้าทค่ี รผู สู้ อนและครูประจาชนั้ ในสถานศกึ ษา

เขา้ ใจบรบิ ทชุมชน รว่ มมอื กบั ผปู้ กครองในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เพอ่ื ใชใ้ นการพฒั นา ดแู ล ชว่ ยเหลอื

ผเู้ รยี นใหม้ คี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคร์ วมทงั้ รายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นไดอ้ ย่างเป็นระบบ

ในรปู แบบของการศกึ ษารายกรณี (Case Study) โดยการประยุกตใ์ ชค้ วามรทู้ างจติ วทิ ยา เทคโนโลยี

ดจิ ทิ ลั การพฒั นาหลกั สตู รเพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี นตามศกั ยภาพสรุปแนวทางและลกั ษณะกจิ กรรมการ

พฒั นาวชิ าชพี ของครทู งั้ ในและนอกสถานศกึ ษา ผ่านกระบวนการสงั เกตและวเิ คราะหก์ ารปฏบิ ตั ิ

หน้าทค่ี รถู อดบทเรยี นจากประสบการณ์การเรยี นรใู้ นสถานศกึ ษา สงั เคราะหอ์ งคค์ วามรแู้ ละนาผล

จากการเรยี นรใู้ นสถานศกึ ษาไปประเมนิ สะทอ้ นกลบั (AAR) เป็นรายบคุ คลและร่วมแลกเปลย่ี นเรยี นรู้

ในรปู แบบชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ (PLC) เพอ่ื นาไปใชใ้ นการพฒั นาตนเองใหม้ คี วามรอบรู้ ทนั สมยั และ

ทนั ต่อการเปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ 2.1, 2.5, 3.1, 3.3, 3.5, 3.6, 4.1, 4.3, 5.1)

101402 ปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา 1 6(270)

(Internship 1)

พืน้ ความรู้ : สอบผ่านรายวิชา 101301 ฝึ กประสบการณ์วิชาชีพครรู ะหวา่ ง

เรยี น

ปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา ประพฤตติ นเป็นแบบอย่างทด่ี มี คี ุณธรรมและ

จรยิ ธรรมตามจรรยาบรรณวชิ าชพี ออกแบบการจดั บรรยากาศชนั้ เรยี นทส่ี ง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามสขุ

จดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ส่ี ง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ กระบวนการคดิ ขนั้ สงู โดยประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ลั

หรอื นวตั กรรมทางการศกึ ษาทท่ี นั สมยั ร่วมมอื กบั ผปู้ กครองในการพฒั นาและม่งุ มนั่ ในการแกป้ ัญหา

ผเู้ รยี นใหม้ คี ุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคด์ ว้ ยกระบวนการวจิ ยั ทถ่ี ูกตอ้ งตามระเบยี บวธิ วี จิ ยั สะทอ้ นผลการ

28

เปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ตนเองไดอ้ ยา่ งชดั เจนจากการเขา้ ร่วมกจิ กรรมทส่ี ง่ เสรมิ ให้เกดิ
ความกา้ วหน้าทางวชิ าชพี โครงการทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การสง่ เสรมิ อนุรกั ษว์ ฒั นธรรมและภูมปิ ัญญา
ทอ้ งถน่ิ และนาผลจากการเรยี นรใู้ นสถานศกึ ษาไปประเมนิ สะทอ้ นกลบั (AAR) เป็นรายบุคคลและ
รว่ มแลกเปลย่ี นเรยี นรูร้ ่วมกนั ในรูปแบบชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (PLC) เพอ่ื นาไปใชใ้ นการพฒั นาตนเอง
ใหม้ คี วามรอบรู้ ทนั สมยั และทนั ต่อการเปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ 2.1-2.5, 3.1-3.6, 4.2-4.4, 5.1)

101403 ปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา 2 6(270)

(Internship 2)

พนื้ ความรู้ : สอบผา่ นรายวิชา 101402 ปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา 1

ปฏบิ ตั งิ านในหน้าทค่ี รู ประพฤตติ นเป็นแบบอย่างทด่ี มี คี ุณธรรมและจรยิ ธรรม

ตามจรรยาบรรณวชิ าชพี ออกแบบและจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ผ่ี เู้ รยี นมคี วามสุข เกดิ กระบวนการคดิ

ขนั้ สงู และนาไปสกู่ ารเป็นนวตั กร โดยออกแบบนวตั กรรมทางการศกึ ษาทท่ี นั สมยั บูรณาการบรบิ ท

ชุมชนเขา้ กบั การจดั กจิ กรรมการเรยี นรูท้ งั้ ในและนอกหอ้ งเรยี น สรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื กบั

ผปู้ กครองและชุมชนในการพฒั นาและแกป้ ัญหาผเู้ รยี นใหม้ คี ุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคด์ ว้ ย

กระบวนการวจิ ยั ทถ่ี ูกตอ้ งตามระเบยี บวธิ วี จิ ยั สะทอ้ นผลการเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ตนเองไดอ้ ยา่ ง

ชดั เจนจากการเขา้ ร่วมกจิ กรรมทส่ี ง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ความก้าวหน้าทางวชิ าชพี โครงการทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การ

สง่ เสรมิ อนุรกั ษว์ ฒั นธรรม และภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ และนาผลจากการเรยี นรใู้ นสถานศกึ ษาไปประเมนิ

สะทอ้ นกลบั (AAR) เป็นรายบคุ คลและรว่ มแลกเปลย่ี นเรยี นรรู้ ว่ มกนั ในรูปแบบชุมชนแหง่ การเรยี นรู้

(PLC) เพอ่ื นาไปใชใ้ นการพฒั นาตนเองใหม้ คี วามรอบรู้ ทนั สมยั และทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง

(สมรรถนะ 2.1-2.5, 3.1-3.6, 4.2-4.4, 5.1)

3) หมวดวิชาเฉพาะ (กลุ่มวิชาเอก)

3.1) สมรรถนะ

สมรรถนะหลกั สมรรถนะรอง รายวิชา

1. สามารถดแู ล/ 1.1. สามารถดแู ลและสง่ เสรมิ 107101 สมองกบั การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็ ปฐมวยั

พฒั นาการเรยี นรู้ สุขภาวะในดา้ นสุขภาพ ความ 107102 การอบรมเลย้ี งดแู ละส่งเสรมิ การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็

สาหรบั เดก็ ปลอดภยั โภชนาการ และ ปฐมวยั

ปฐมวยั สมรรถภาพทางรา่ งกายและ 107103 การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ความพรอ้ มทางดา้ นรา่ งกาย

จติ ใจสาหรบั เดก็ ปฐมวยั ได้ สาหรบั เดก็ ปฐมวยั

1.2 สามารถดแู ลและส่งเสรมิ 107104 การจดั กจิ กรรมทางภาษาและการส่อื สารสาหรบั เดก็

พฒั นาการและการเรยี นรู้ ปฐมวยั

สาหรบั เดก็ ปฐมวยั ไดต้ ามชว่ ง 107105 การจดั กจิ กรรมความฉลาดทางอารมณ์และสงั คม

วยั สาหรบั เดก็ ปฐมวยั

107206 การศกึ ษาปฐมวยั

107207 ส่อื และของเล่นสาหรบั เดก็ ปฐมวยั

29

สมรรถนะหลกั สมรรถนะรอง รายวิชา

2. สามารถ 2.1 ออกแบบการจดั 107309 การจดั กจิ กรรมการเล่นเพ่อื การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็
วางแผน ออกแบบ ประสบการณ์แบบบรู ณาการ ปฐมวยั
จดั ประสบการณ์ ตามหลกั การการเรยี นรขู้ อง 107310 การจดั กจิ กรรมทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์
การเรยี นรู้ สาหรบั สมอง สอดคลอ้ งกบั หลกั การ สาหรบั เดก็ ปฐมวยั
เดก็ ปฐมวยั การจดั การศกึ ษาปฐมวยั 107311 การจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ ทกั ษะการคดิ สาหรบั เดก็
ปฐมวยั
2.2 สามารถสรา้ งส่อื อย่าง 107313 สมั มนาปัญหาและแนวโน้มในการพฒั นาการศกึ ษา
สรา้ งสรรคส์ าหรบั การจดั การ ปฐมวยั ในอนาคต
การเรยี นรู้ ตามหลกั การการ 107314 การต่อยอดองคค์ วามรเู้ พ่อื พฒั นานวตั กรรม
เรยี นรขู้ องสมอง สอดคลอ้ ง 107015การพฒั นาสขุ ภาวะและความปลอดภยั สาหรบั เดก็
กบั หลกั การการจดั การศกึ ษา ปฐมวยั
ปฐมวยั 107016 การชว่ ยเหลอื พฒั นาเดก็ ปฐมวยั ทม่ี คี วามตอ้ งการ
2.3 สามารถออกแบบการ จาเป็นพเิ ศษ
วดั ผล ประเมนิ ผล สะทอ้ นผล 107017 การจดั กจิ กรรมทางศลิ ปะระดบั การศกึ ษาปฐมวยั
และพฒั นาผเู้ รยี นระดบั 107018 วรรณกรรมสาหรบั เดก็ ปฐมวยั
ปฐมวยั ดว้ ยวธิ กี ารท่ี 107019 การจดั กจิ กรรมเพ่อื ส่งเสรมิ การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็
หลากหลาย กลมุ่ เป้าหมายเฉพาะ
107020 การมสี ่วนรว่ มของครอบครวั และชุมชนในการจดั
การศกึ ษาปฐมวยั
107022 ลลี า จงั หวะและการเคลอ่ื นไหวสาหรบั เดก็ ปฐมวยั
107023 การบรหิ ารและการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา
ปฐมวยั

107103 การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ความพรอ้ มทางดา้ นร่างกาย
สาหรบั เดก็ ปฐมวยั
107104 การจดั กจิ กรรมทางภาษาและการสอ่ื สารสาหรบั เดก็
ปฐมวยั
107105 การจดั กจิ กรรมความฉลาดทางอารมณ์และสงั คม
สาหรบั เดก็ ปฐมวยั
107207 สอ่ื และของเลน่ สาหรบั เดก็ ปฐมวยั

107208 การจดั ประสบการณ์การเรยี นรแู้ บบบูรณาการสาหรบั
เดก็ อายุต่ากวา่ 3 ปี
107309 การจดั กจิ กรรมการเล่นเพอ่ื การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็
ปฐมวยั
107311 การจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ ทกั ษะการคดิ สาหรบั เดก็
ปฐมวยั
107312 การจดั ประสบการณ์การเรยี นรแู้ บบบูรณาการ
การศกึ ษาปฐมวยั สาหรบั เดก็ อายุ 3-6 ปี

30

สมรรถนะหลกั สมรรถนะรอง รายวิชา

107016 การชว่ ยเหลอื พฒั นาเดก็ ปฐมวยั ทม่ี คี วามตอ้ งการ

จาเป็นพเิ ศษ

107017 การจดั กจิ กรรมทางศลิ ปะระดบั การศกึ ษาปฐมวยั

107018 วรรณกรรมสาหรบั เดก็ ปฐมวยั

107019 การจดั กจิ กรรมเพอ่ื ส่งเสรมิ การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็

กล่มุ เป้าหมายเฉพาะ

107021 สนั ตศิ กึ ษาสาหรบั เดก็ ปฐมวยั

107022 ลลี า จงั หวะและการเคล่อื นไหวสาหรบั เดก็ ปฐมวยั

3. สามารถบรหิ าร 3.1 สรา้ งและออกแบบ 107208 การจดั ประสบการณ์การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ

จดั การชนั้ เรยี นได้ บรรยากาศในชนั้ เรยี นดา้ น สาหรบั เดก็ อายุต่ากว่า 3 ปี

เหมาะสมกบั ช่วง กายภาพทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ 107312 การจดั ประสบการณ์การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ

วยั สาหรบั เดก็ ปฐมวยั ได้ ตาม การศกึ ษาปฐมวยั สาหรบั เดก็ อายุ 3-6 ปี

หลกั การทางานของสมอง 107021 สนั ตศิ กึ ษาสาหรบั เดก็ ปฐมวยั

3.2 สรา้ งและออกแบบ

บรรยากาศในชนั้ เรยี นดา้ นจติ

ภาพทเ่ี ออ้ื ต่อการเรยี นรสู้ าหรบั

เดก็ ปฐมวยั ตามหลกั การ

ทางานของสมอง

4. สามารถใชว้ จิ ยั 4.1 สามารถประยกุ ตใ์ ช้ 107101 สมองกบั การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็ ปฐมวยั

เป็นฐานในการ ผลงานวจิ ยั ในการแกป้ ัญหา 107102 การอบรมเลย้ี งดแู ละส่งเสรมิ การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็

พฒั นาเดก็ ปฐมวยั ช่วยเหลอื สง่ เสรมิ ออกแบบ ปฐมวยั

ปรบั ปรงุ กจิ กรรมเพ่อื 107103 การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ความพรอ้ มทางดา้ นร่างกาย

พฒั นาการจดั การเรยี นรู้ สาหรบั เดก็ ปฐมวยั

สาหรบั เดก็ ปฐมวยั 107104 การจดั กจิ กรรมทางภาษาและการส่อื สารสาหรบั เดก็

4.2 สามารถออกแบบวจิ ยั ใน ปฐมวยั

ชนั้ เรยี นระดบั ปฐมวยั 107105 การจดั กจิ กรรมความฉลาดทางอารมณ์และสงั คม

สาหรบั เดก็ ปฐมวยั

107206 การศกึ ษาปฐมวยั

107207 ส่อื และของเลน่ สาหรบั เดก็ ปฐมวยั

107208 การจดั ประสบการณ์การเรยี นรแู้ บบบูรณาการ

สาหรบั เดก็ อายุต่ากว่า 3 ปี

107309 การจดั กจิ กรรมการเลน่ เพอ่ื การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็

ปฐมวยั

107310 การจดั กจิ กรรมทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์

สาหรบั เดก็ ปฐมวยั

107311 การจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ ทกั ษะการคดิ สาหรบั เดก็

ปฐมวยั

31

สมรรถนะหลกั สมรรถนะรอง รายวิชา

107312 การจดั ประสบการณ์การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ
การศกึ ษาปฐมวยั สาหรบั เดก็ อายุ 3-6 ปี
107313 สมั มนาปัญหาและแนวโน้มในการพฒั นาการศกึ ษา
ปฐมวยั ในอนาคต
107314 การต่อยอดองคค์ วามรเู้ พ่อื พฒั นานวตั กรรม
107015 การพฒั นาสุขภาวะและความปลอดภยั สาหรบั เดก็
ปฐมวยั
107016 การชว่ ยเหลอื พฒั นาเดก็ ปฐมวยั ทม่ี คี วามตอ้ งการ
จาเป็นพเิ ศษ
107017 การจดั กจิ กรรมทางศลิ ปะระดบั การศกึ ษาปฐมวยั
107018 วรรณกรรมสาหรบั เดก็ ปฐมวยั
107019 การจดั กจิ กรรมเพอ่ื สง่ เสรมิ การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็
กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
107020 การมสี ว่ นรว่ มของครอบครวั และชมุ ชนในการจดั
การศกึ ษาปฐมวยั
107021 สนั ตศิ กึ ษาสาหรบั เดก็ ปฐมวยั
107022 ลลี า จงั หวะและการเคลอ่ื นไหวสาหรบั เดก็ ปฐมวยั
107023 การบรหิ ารและการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา
ปฐมวยั

5. สามารถทางาน 5.1 ออกแบบกจิ กรรม/ 107102 การอบรมเลย้ี งดแู ละสง่ เสรมิ การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็

ร่วมกบั ครอบครวั ขนั้ ตอนการทางานระหว่าง ปฐมวยั

ชมุ ชน และ สถานศกึ ษา ผปู้ กครอง 107103 การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ความพรอ้ มทางดา้ นรา่ งกาย

ทอ้ งถน่ิ ครอบครวั ชมุ ชน ทอ้ งถน่ิ เพอ่ื สาหรบั เดก็ ปฐมวยั

พฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตาม 107104 การจดั กจิ กรรมทางภาษาและการสอ่ื สารสาหรบั เดก็

หลกั การการเรยี นรขู้ องสมอง ปฐมวยั

สอดคลอ้ งกบั หลกั การการจดั 107105 การจดั กจิ กรรมความฉลาดทางอารมณ์และสงั คม

การศกึ ษาปฐมวยั สาหรบั เดก็ ปฐมวยั

107207 ส่อื และของเล่นสาหรบั เดก็ ปฐมวยั

107208 การจดั ประสบการณ์การเรยี นรแู้ บบบูรณาการ

สาหรบั เดก็ อายุต่ากวา่ 3 ปี

107309 การจดั กจิ กรรมการเลน่ เพ่อื การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็

ปฐมวยั

1073010 การจดั กจิ กรรมทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์

สาหรบั เดก็ ปฐมวยั

107311 การจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ทกั ษะการคดิ สาหรบั เดก็

ปฐมวยั

32

สมรรถนะหลกั สมรรถนะรอง รายวิชา

107312 การจดั ประสบการณ์การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ

การศกึ ษาปฐมวยั สาหรบั เดก็ อายุ 3-6 ปี

107015 การพฒั นาสุขภาวะและความปลอดภยั สาหรบั เดก็

ปฐมวยั

107016 การชว่ ยเหลอื พฒั นาเดก็ ปฐมวยั ทม่ี คี วามตอ้ งการ

จาเป็นพเิ ศษ

107017 การจดั กจิ กรรมทางศลิ ปะระดบั การศกึ ษาปฐมวยั

107018 วรรณกรรมสาหรบั เดก็ ปฐมวยั

107019 การจดั กจิ กรรมเพ่อื สง่ เสรมิ การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็

กลุ่มเป้าหมายเฉพาะ

107020 การมสี ่วนร่วมของครอบครวั และชมุ ชนในการจดั

การศกึ ษาปฐมวยั

107021 สนั ตศิ กึ ษาสาหรบั การศกึ ษาปฐมวยั

107022 ลลี า จงั หวะและการเคลอ่ื นไหวสาหรบั เดก็ ปฐมวยั

6. สะทอ้ นคดิ ผล 6.1. สามารถนาผลการปฏบิ ตั ิ 107101 สมองกบั การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็ ปฐมวยั

การปฏบิ ตั งิ านได้ กจิ กรรมมาสะทอ้ นคดิ ในการ 107102 การอบรมเลย้ี งดแู ละสง่ เสรมิ การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็

ดว้ ยตนเอง พฒั นาตนเองใหเ้ ป็นผมู้ คี วามรู้ ปฐมวยั

ทท่ี นั สมยั และทนั ต่อการ 107103 การจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ ความพรอ้ มทางดา้ นร่างกาย

เปลย่ี นแปลง สาหรบั เดก็ ปฐมวยั

6.2 สามารถนาผลการปฏบิ ตั ิ 107104 การจดั กจิ กรรมทางภาษาและการสอ่ื สารสาหรบั เดก็

กจิ กรรมมาสะทอ้ นคดิ ในการ ปฐมวยั

พฒั นางานใหด้ ขี น้ึ 107105 การจดั กจิ กรรมความฉลาดทางอารมณ์และสงั คม

6.3 สามารถนาผลการสะทอ้ น สาหรบั เดก็ ปฐมวยั

คดิ มาพฒั นาเจตนคตทิ ด่ี ตี อ่ 107206 การศกึ ษาปฐมวยั

วชิ าชพี 107207 สอ่ื และของเล่นสาหรบั เดก็ ปฐมวยั

107208 การจดั ประสบการณ์การเรยี นรแู้ บบบูรณาการ

สาหรบั เดก็ อายุต่ากว่า 3 ปี

107309 การจดั กจิ กรรมการเลน่ เพ่อื การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็

ปฐมวยั

107310 การจดั กจิ กรรมทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์

สาหรบั เดก็ ปฐมวยั

107311 การจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ ทกั ษะการคดิ สาหรบั เดก็

ปฐมวยั

107312 การจดั ประสบการณ์การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ

การศกึ ษาปฐมวยั สาหรบั เดก็ อายุ 3-6 ปี

107313 สมั มนาปัญหาและแนวโน้มในการพฒั นาการศกึ ษา

ปฐมวยั ในอนาคต

107314 การตอ่ ยอดองคค์ วามรเู้ พอ่ื พฒั นานวตั กรรม

สมรรถนะหลกั สมรรถนะรอง 33

รายวิชา
107015 การพฒั นาสุขภาวะและความปลอดภยั สาหรบั เดก็
ปฐมวยั
107016 การชว่ ยเหลอื พฒั นาเดก็ ปฐมวยั ทม่ี คี วามตอ้ งการ
จาเป็นพเิ ศษ
107017 การจดั กจิ กรรมทางศลิ ปะระดบั การศกึ ษาปฐมวยั
107018 วรรณกรรมสาหรบั เดก็ ปฐมวยั
107020 การมสี ว่ นร่วมของครอบครวั และชุมชนในการจดั
การศกึ ษาปฐมวยั
107021 สนั ตศิ กึ ษาสาหรบั เดก็ ปฐมวยั
107022 ลลี า จงั หวะและการเคล่อื นไหวสาหรบั เดก็ ปฐมวยั
107023 การบรหิ ารและการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา
ปฐมวยั

3.2) คาอธิบายรายวิชา

รหสั วิชา ช่ือและคาอธิบายรายวิชา น(ท-ป-ศ)

107101 สมองกบั การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็ ปฐมวยั 3(2-2-5)

(Brain and Learning for Early Childhood)

ธรรมชาตแิ ละพฒั นาการ กระบวนการทางาน สมรรถนะและวธิ เี รยี นรขู้ อง

สมอง ปัจจยั สงิ่ แวดลอ้ มและการเลย้ี งดทู ม่ี ผี ลตอ่ การทางานของสมอง การพฒั นาทกั ษะทางสมองเพอ่ื

การบรหิ ารจดั การชวี ติ (Executive Function: EF) แต่ละดา้ น วธิ กี ารจดั ประสบการณ์ วธิ กี าร

ตอบสนองการประยกุ ต์ ใชค้ วามรแู้ ละการออกแบบกจิ กรรมเพอ่ื สง่ เสรมิ ทกั ษะทางสมองเพอ่ื การ

บรหิ ารจดั การชวี ติ ในเบอ้ื งตน้

ดว้ ยกระบวนการวเิ คราะห์ ประเมนิ ออกแบบและทดลองจดั ประสบการณ์เบอ้ื งตน้ กบั เดก็ ปฐมวยั

(สมรรถนะ 1.1, 1.2, 4.1, 6.1-6.3)

34

107102 การอบรมเลี้ยงดแู ละส่งเสริมการเรยี นรสู้ าหรบั เดก็ ปฐมวยั

3(2-2-5)

(Care and Enhance Learning for Early Childhood)

ออกแบบการอบรมเลย้ี งดแู ละสง่ เสรมิ การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็ ปฐมวยั อายุต่ากว่า

8 ปี โดยประยกุ ตใ์ ชค้ วามรเู้ ร่อื งความสมั พนั ธข์ องสมองและระบบประสาทวทิ ยา (Neuroscience:

NS) และพฒั นาภาษาและการสอ่ื สารโดยยดึ ศาสตรส์ าขาภาษาศาสตรป์ ระสาทวทิ ยา

(Neurolinguistics Science Process: NLSP) และการสรา้ งกลา้ มเน้อื มดั เลก็ และใหญ่ตามระบบ

ประสาทวทิ ยาของซรี เี บลลมั (Cerebellum) หรอื สมองน้อยกบั พฒั นาการ 4 ดา้ นของเดก็ ปฐมวยั อายุ

ต่ากว่า 8 ปี ศกึ ษา/วเิ คราะหอ์ ทิ ธพิ ลของการอบรมเลย้ี งดเู ดก็ ปฐมวยั บทบทผปู้ กครองในการอบรม

เลย้ี งดเู ดก็ จติ วทิ ยาเดก็ ปฐมวยั ถอดบทเรยี นการอบรมเลย้ี งดเู ดก็ ปฐมวยั และผลงานวจิ ยั ท่ี

เกย่ี วขอ้ งในประเทศและตา่ งประเทศ โดยใชก้ รณศี กึ ษา การเรยี นรเู้ ชงิ ประสบการณ์ หรอื วธิ กี ารอน่ื ๆ

เพอ่ื วเิ คราะห์ วางแผน ออกแบบการจดั กจิ กรรมการอบรมเลย้ี งดเู ดก็ ปฐมวยั อย่างรอบดา้ นตามหลกั

เศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยทางานรว่ มกบั ผปู้ กครอง ครอบครวั ชุมชน ทอ้ งถนิ่ ใหถ้ กู ตอ้ งตรงหลกั การ

เรยี นรขู้ องสมอง สอดคลอ้ งกบั พฒั นาการ และความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล ภายใตบ้ รบิ ทเศรษฐกจิ

สงั คม และวฒั นธรรม ทดลองกจิ กรรมทอ่ี อกแบบไวก้ บั กลุ่มใหญ่ กลุ่มย่อย หรอื รายบคุ คล เพอ่ื

แกป้ ัญหา ชว่ ยเหลอื สง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ เป็นรายบคุ คลอย่างรอบดา้ น สะทอ้ นคดิ เพอ่ื ใหม้ ที กั ษะ

ในการออกแบบโปรแกรมเพ่อื สรา้ งรอยเช่อื มตอ่ ในการจดั กจิ กรรมการอบรมเล้ยี งดเู ดก็ ปฐมวยั ได้

อย่างต่อเน่อื งสาหรบั เดก็ ปฐมวยั อายตุ ่ากว่า 8 ปี และสะทอ้ นคดิ ประยุกตใ์ ชค้ วามรใู้ นการอบรมเลย้ี งดู

เดก็ ปฐมวยั ทท่ี นั สมยั เพอ่ื พฒั นาตนเองใหเ้ ป็นครทู ด่ี ี มคี วามรอบรู้ ทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง

(สมรรถนะ 1.1, 1.2, 4.1, 5.1, 6.1-6.3)

107103 การศึกษาปฐมวยั 3(2-2-5)

(Early Childhood Education)

การประยกุ ตใ์ ชค้ วามรเู้ กย่ี วกบั ปรชั ญา แนวคดิ ทฤษฎแี ละหลกั การท่ี

เกย่ี วขอ้ งกบั การศกึ ษาปฐมวยั นโยบายของการศกึ ษาปฐมวยั นกั การศกึ ษาทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ การจดั

การศกึ ษาปฐมวยั กบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ศกึ ษา ประวตั คิ วามเป็นมาของการศกึ ษาปฐมวยั ใน

ต่างประเทศและของไทย ตลอดจนรปู แบบการจดั การศกึ ษาปฐมวยั ของไทย พรอ้ มทงั้ หน่วยงานทจ่ี ดั

การดาเนินงานและแนวโน้มการจดั การศกึ ษาทางการศกึ ษาปฐมวยั รวมทงั้ ศกึ ษา วเิ คราะห์ ประเมนิ

วางแผนเกย่ี วกบั นวตั กรรมทางการศกึ ษาปฐมวยั การออกแบบนวตั กรรมทางการศกึ ษาทส่ี อดคลอ้ ง

กบั การเรยี นรขู้ องเดก็ ปฐมวยั ในศตวรรษท่ี 21 (สมรรถนะ 1.1, 4.1, 6.1-6.3)

107104 การจดั กิจกรรมทางภาษาและการสื่อสารสาหรบั เดก็ ปฐมวยั
3(2-2-5)
(Language and Communication Activity for Early Childhood)

35

ออกแบบการจดั กจิ กรรมทางภาษาและการสอ่ื สารสาหรบั เดก็ ปฐมวยั อายตุ ่ากวา่

8 ปี โดยประยุกตใ์ ชค้ วามรเู้ รอ่ื งความสมั พนั ธข์ องศาสตรส์ าขาภาษาศาสตรป์ ระสาทวทิ ยา

(Neurolinguistics Science Process: NLSP) กบั การพฒั นาภาษาและการสอ่ื สารสาหรบั เดก็ ปฐมวยั

อายตุ ่ากวา่ 8 ปี ศกึ ษา/วเิ คราะหท์ ฤษฎแี ละแนวคดิ ในการพฒั นาภาษาและการสอ่ื สารสาหรบั เดก็

ปฐมวยั รูปแบบ/อทิ ธพิ ลของบรบิ ทครอบครวั ชุมชน ทอ้ งถนิ่ ทส่ี ง่ ผลต่อการพฒั นาภาษาและการสอ่ื สาร

สาหรบั เดก็ ปฐมวยั ถอดบทเรยี นโปรแกรมการพฒั นาภาษาและการสอ่ื สารสาหรบั เดก็ ปฐมวยั และ

ผลงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในประเทศและตา่ งประเทศ โดยใชก้ รณตี วั อย่าง การเรยี นรเู้ ชงิ ประสบการณ์

หรอื วธิ กี ารอน่ื ๆ เพอ่ื วเิ คราะห์ การวดั และประเมนิ ผล วางแผน ออกแบบกจิ กรรม/สอ่ื การสอนในการ

สรา้ งภาษาแม่ ภาษาทส่ี อง ฟัง พดู อา่ น เขยี น และการสอ่ื สารตามบรบิ ท สงั คม วฒั นธรรม และความ

ต่างระหว่างบุคคลโดยทางานรว่ มกบั ผปู้ กครอง ชุมชน ทอ้ งถน่ิ ทาการทดลองกจิ กรรมทอ่ี อกแบบ

ใหก้ บั เดก็ ปฐมวยั กลุม่ ใหญ่ กลุ่มย่อย หรอื รายบคุ คล เพอ่ื แกป้ ัญหา ชว่ ยเหลอื สง่ เสรมิ พฒั นาการทาง

ภาษาและสอ่ื สารสาหรบั เดก็ ปฐมวยั ทถ่ี กู ตอ้ งตรงหลกั การเรยี นรูข้ องสมอง สะทอ้ นความคดิ เพอ่ื ใหม้ ี

ทกั ษะในการออกแบบโปรแกรมการเพอ่ื สรา้ งรอยเชอ่ื มต่อในการจดั กจิ กรรม/สอ่ื การสอนในการพฒั นา

ภาษาและการสอ่ื สารสาหรบั เดก็ ปฐมวยั อายุต่ากวา่ 8 ปี ไดอ้ ยา่ งต่อเน่อื ง และสะทอ้ นคดิ เพอ่ื การ

ประยุกตใ์ ชค้ วามรทู้ ท่ี นั สมยั ในการพฒั นาตนเองใหเ้ ป็นครทู ด่ี ี มคี วามรอบรู้ ทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง

(สมรรถนะ 1.1, 2.2, 4.1, 5.1, 6.1-6.3)

107105 การจดั กิจกรรมความฉลาดทางอารมณ์และสงั คมสาหรบั เดก็ ปฐมวยั

3(2-2-5)

(Emotional and Social Intelligence Activity for Early Childhood)

ออกแบบกจิ กรรมการจดั กจิ กรรมทกั ษะทางสงั คมและความฉลาดทางอารมณ์

สาหรบั เดก็ ปฐมวยั โดยประยุกตใ์ ชค้ วามรเู้ ร่อื งความสมั พนั ธข์ องสมองและระบบประสาทวทิ ยา

(Neuroscience: NS) การพฒั นาภาษาและการสอ่ื สารโดยยดึ ศาสตรส์ าขาภาษาศาสตรป์ ระสาทวทิ ยา

(Neurolinguistics Science Process: NLSP) กบั การพฒั นาทกั ษะทางสงั คมและความฉลาดทาง

อารมณ์สาหรบั เดก็ ปฐมวยั ศกึ ษา/วเิ คราะหท์ ฤษฎแี ละแนวคดิ การพฒั นาความฉลาดทางอารมณ์และ

สงั คมสาหรบั เดก็ ปฐมวยั อทิ ธพิ ลของบรบิ ทสงั คมครอบครวั สงั คมโรงเรยี น สงั คมชุมชน และท้องถนิ่

ทส่ี ง่ ผลการพฒั นาความฉลาดทางอารมณ์และสงั คมสาหรบั เดก็ ปฐมวยั ฝึกปฏบิ ตั กิ ารใชแ้ บบประเมนิ

ความฉลาดทางอารมณ์และสงั คมของกระทรวงสาธารณะสขุ ถอดบทเรยี นโปรแกรมการการพฒั นา

ความฉลาดทางอารมณ์และสงั คม และการพฒั นาทกั ษะทางสมองเพอ่ื การบรหิ ารจดั การชวี ติ

(Executive Function: EF) และผลงาน วจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในประเทศและต่างประเทศ โดยใชก้ รณศี กึ ษา

การเรยี นรเู้ ชงิ ประสบการณ์ หรอื วธิ อี ่นื ๆ เพอ่ื วเิ คราะห์ และการวดั ประเมนิ ผล วางแผน ออกแบบ

กจิ กรรม/สอ่ื การสอนเพอ่ื พฒั นาความฉลาดทางอารมณ์และสงั คมสาหรบั เดก็ ปฐมวยั โดยทางาน

ร่วมกบั ผปู้ กครองและครอบครวั ชุมชน ทอ้ งถนิ่ ทถ่ี ูกตอ้ งตรงหลกั การเรยี นรขู้ องสมอง บรบิ ททาง

สงั คม วฒั นธรรม และทอ้ งถนิ่ ตามหลกั การปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ออกแบบการประเมนิ เพอ่ื ใชใ้ น

การจดั กจิ กรรม ทดลองใชก้ จิ กรรมทอ่ี อกแบบไวก้ บั กลมุ่ ใหญ่ กลมุ่ ยอ่ ย และรายบุคคล เพอ่ื สะทอ้ นคดิ

36

ในการพฒั นาปรบั ปรุงออกแบบกจิ กรรมเพอ่ื แกป้ ัญหา ช่วยเหลอื สง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ให้

ตรงวตั ถปุ ระสงค์ และสะทอ้ นความคดิ เพอ่ื ใหม้ ที กั ษะในการออกแบบโปรแกรมเพอ่ื สรา้ งรอยเช่อื มต่อ

ความฉลาดทางอารมณ์และสงั คมสาหรบั เดก็ ปฐมวยั ทม่ี อี ายุต่ากว่า 8 ปีไดอ้ ย่างต่อเน่อื ง และ

ประยุกตใ์ ชค้ วามรทู้ ท่ี นั สมยั เพอ่ื พฒั นาตนเองใหเ้ ป็นครูทด่ี ี มคี วามรอบรู้ ทนั ตอ่ ความเปลย่ี นแปลง

(สมรรถนะ 1.1, 2.2, 4.1, 5.1, 6.1-6.3)

107106 การจดั กิจกรรมส่งเสริมความพร้อมทางด้านร่างกายสาหรบั เดก็ ปฐมวยั

3(2-2-5)

(Physical Readiness Activity for Early Childhood)

ออกแบบการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ ความพรอ้ มทางดา้ นร่างกายสาหรบั เดก็

ปฐมวยั สาหรบั เดก็ ปฐมวยั อายุต่ากวา่ 8 ปี โดยประยุกตใ์ ชค้ วามรเู้ ร่อื งความสมั พนั ธ์ของการพฒั นา

กลา้ มเน้อื มดั เลก็ และกลา้ มเน้อื มดั ใหญข่ องสมองและระบบประสาทวทิ ยาของซรี เี บลลมั (Cerebellum)

หรอื สมองน้อยกบั การจดั ประสบการณ์การพฒั นาสมรรถภาพและความพรอ้ มทางดา้ นร่างกายสาหรบั

เดก็ ปฐมวยั ศกึ ษา/วเิ คราะหท์ ฤษฎแี ละแนวคดิ เกย่ี วกบั การพฒั นาทางดา้ นร่างกายแบบองคร์ วม

สาหรบั เดก็ ปฐมวยั รปู แบบ/กจิ กรรม/สอ่ื ทส่ี ะทอ้ นการพฒั นาสมรรถภาพและความพรอ้ มทางดา้ น

รา่ งกายแบบองคร์ วม รูปแบบและวธิ กี ารวดั สมรรถภาพและความพรอ้ มของกลา้ มเน้ือมดั เลก็ และ

กลา้ มเน้อื มดั ใหญ่ ฝึกปฏบิ ตั กิ ารใชเ้ ครอ่ื งมอื ถอดบทเรยี นโปรแกรมการพฒั นาสมรรถภาพและความ

พรอ้ มทางดา้ นร่างกายสาหรบั เดก็ ปฐมวยั และงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในประเทศและต่างประเทศ เพอ่ื

วเิ คราะห์ ประเมนิ วางแผน ออกแบบการจดั กจิ กรรม/สอ่ื การสอนเพอ่ื พฒั นาสมรรถภาพและความ

พรอ้ มทางดา้ นร่างกายแบบองคร์ วม โดยทางานร่วมกบั ครอบครวั ชุมชน ทอ้ งถนิ่ ใหถ้ ูกตอ้ งตรง

หลกั การเรยี นรขู้ องสมอง และศกั ยภาพของเดก็ ปฐมวยั เป็นรายบคุ คล พรอ้ มออกแบบประเมนิ เพอ่ื ใช้

ในการจดั กจิ กรรม นากจิ กรรมทอ่ี อกแบบไวไ้ ปทดลองใชก้ บั เดก็ ปฐมวยั กลมุ่ ใหญ่ กลมุ่ ยอ่ ย หรอื

รายบุคคล สะทอ้ นคดิ ในการพฒั นาปรบั ปรงุ การออกแบบกจิ กรรม เพอ่ื แกป้ ัญหา ช่วยเหลอื สง่ เสรมิ

พฒั นาเดก็ ปฐมวยั ใหต้ รงวตั ถุประสงค์ และสะทอ้ นความคดิ เพอ่ื ใหม้ ที กั ษะในการออกแบบโปรแกรม

เพอ่ื สรา้ งรอยเช่อื มต่อในการพฒั นากจิ กรรมทางดา้ นร่างกายสาหรบั เดก็ ปฐมวยั ทม่ี อี ายุต่ากว่า 8 ปีได้

อยา่ งต่อเน่อื ง ประยุกตใ์ ชค้ วามรเู้ รอ่ื งการจดั ประสบการณ์ทางดา้ นรา่ งกายสาหรบั เดก็ ปฐมวยั ท่ี

ทนั สมยั เพอ่ื พฒั นาตนเองใหเ้ ป็นครทู ด่ี ี มคี วามรอบรู้ ทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ 1.1, 2.2,

4.1, 5.1, 6.1-6.3)

107207 การจดั กิจกรรมทางวิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตรส์ าหรบั เดก็ ปฐมวยั
3(2-2-5)
(Science and Mathematical Activities for Early childhood)

ออกแบบกจิ กรรมวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตรส์ าหรบั เดก็ อายตุ ่ากวา่ 8 ปี
โดยประยกุ ตใ์ ชค้ วามรเู้ ร่อื งความสมั พนั ธข์ องสมองและระบบประสาทวทิ ยา (Neuroscience: NS)
ศาสตรส์ าขาภาษาศาสตรป์ ระสาทวทิ ยา (Neurolinguistics Science Process: NLSP) และระบบ

37

ประสาทวทิ ยาของ ซรี เี บลลมั หรอื สมองน้อย (Cerebellum) ศกึ ษา/วเิ คราะหแ์ นวคดิ ทฤษฎที ่ี
เกย่ี วขอ้ ง และถอดบทเรยี นการจดั การเรยี นการสอนแบบ STEM และบา้ นวทิ ยาศาสตรน์ ้อย เพอ่ื
วเิ คราะห์ ประเมนิ วางแผน ออกแบบกจิ กรรมวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตรส์ าหรบั เดก็ ปฐมวยั ท่ี
ถกู ตอ้ งตามหลกั การทางานของสมอง ตามแนวคดิ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ทส่ี อดคลอ้ งกบั
บรบิ ททางสงั คม วฒั นธรรม และทอ้ งถนิ่ โดยทางานรว่ มกบั ผปู้ กครอง ครอบครวั ชุมชน ทอ้ งถนิ่
พรอ้ มออกแบบประเมนิ เพอ่ื ใชใ้ นการจดั กจิ กรรม ทดลองใชก้ บั กลมุ่ ใหญ่ กลุ่มยอ่ ย และรายบุคคล เพอ่ื
สะทอ้ นคดิ ในการพฒั นาปรบั ปรุงออกแบบกจิ กรรมวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ เพอ่ื แกป้ ัญหา
ช่วยเหลอื สง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ใหต้ รงวตั ถุประสงค์ สะทอ้ นคดิ เพอ่ื ปรบั ปรุงกจิ กรรมท่ี
ทนั สมยั และประยุกตใ์ ชใ้ นการพฒั นาตนเองใหเ้ ป็นครทู ด่ี ี มคี วามรอบรู้ ทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง
(สมรรถนะ 1.1, 4.1, 5.1, 6.1-6.3)

107208 การจดั กิจกรรมส่งเสริมทกั ษะการคิดสาหรบั เดก็ ปฐมวยั

3(2-2-5)

(Thinking Skill Activity for Early Childhood)

ออกแบบกจิ กรรมเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการคดิ สาหรบั เดก็ ปฐมวยั อายุต่ากวา่ 8 ปี

โดยประยกุ ตใ์ ชค้ วามรเู้ ร่อื งสมองและระบบประสาทวทิ ยา (Neuroscience: NS) และพฒั นาภาษาและ

การสอ่ื สารโดยยดึ ศาสตรส์ าขาภาษาศาสตรป์ ระสาทวทิ ยา (Neurolinguistics Science Process:

NLSP) ศกึ ษา/วเิ คราะหแ์ นวคดิ ทฤษฎเี กย่ี วกบั ทกั ษะการคดิ ในรูปแบบต่างๆ และถอดบทเรยี นการ

พฒั นาทกั ษะทางสมองเพอ่ื การบรหิ ารจดั การชวี ติ (Executive Function: EF) และโปรแกรมการ

พฒั นาทกั ษะการคดิ ผลงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในและนอกประเทศ โดยใชก้ รณศี กึ ษา การเรยี นรเู้ ชงิ

ประสบการณ์ หรอื วธิ กี ารอ่นื ๆ เพอ่ื วเิ คราะห์ วางแผน ออกแบบกจิ กรรม/สอ่ื การสอน ทถ่ี กู ตอ้ งตาม

หลกั การทางานของสมอง เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการคดิ ตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง พรอ้ มออกแบบ

ประเมนิ เพอ่ื ใชใ้ นการจดั กจิ กรรม โดยทางานร่วมกบั ผปู้ กครอง ครอบครวั ชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ ให้

สอดคลอ้ งกบั พฒั นาการและความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลของเดก็ ปฐมวยั ตามบรบิ ททางสงั คม

วฒั นธรรม และทอ้ งถน่ิ ทดลองใชก้ จิ กรรมกบั กลุ่มใหญ่ กลมุ่ ย่อย และรายบคุ คล เพอ่ื สะทอ้ นคดิ ใน

การพฒั นาปรบั ปรงุ ออกแบบกจิ กรรมการคดิ สาหรบั เดก็ ปฐมวยั เพอ่ื แกป้ ัญหา ชว่ ยเหลอื สง่ เสรมิ

พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ใหต้ รงวตั ถปุ ระสงค์ และสะทอ้ นความคดิ เพอ่ื ใหม้ ที กั ษะในการออกแบบ

กจิ กรรมและโปรแกรมกจิ กรรมเพอ่ื พฒั นาทกั ษะการคดิ เพอ่ื สรา้ งรอยเช่อื มต่อสาหรบั เดก็ ปฐมวยั ทม่ี ี

และประยกุ ตใ์ ช้ เพอ่ื พฒั นาตนเองใหเ้ ป็นครทู ด่ี ี มคี วามรอบรู้ ทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ 1.2,

2.2, 4.1, 5.1, 6.1-6.3)

107209 สื่อและของเลน่ สาหรบั เดก็ ปฐมวยั
3(2-2-5)
(Media and Toys for Early Childhood)

38

ออกแบบสอ่ื และของเล่นสาหรบั เดก็ ปฐมวยั สาหรบั เดก็ อายุต่ากว่า 8 ปี
โดยประยุกตใ์ ชค้ วามรเู้ รอ่ื งความสมั พนั ธข์ องสมองและระบบประสาทวทิ ยา (Neuroscience: NS)
และพฒั นาภาษาและการสอ่ื สารโดยยดึ ศาสตรส์ าขาภาษาศาสตรป์ ระสาทวทิ ยา (Neurolinguistics
Science Process: NLSP) และการสรา้ งกลา้ มเน้อื มดั เลก็ และใหญ่ตามระบบประสาทวทิ ยาไขสนั หลงั
ทค่ี วบคุมกลา้ มเน้อื เลก็ และกลา้ มเน้อื มดั ใหญข่ องซรี เี บลลมั (Cerebellum) หรอื สมองน้อย กบั การ
พฒั นาสอ่ื และของเลน่ สาหรบั เดก็ ปฐมวยั แบบรอบดา้ น ศกึ ษา/วเิ คราะหแ์ นวคดิ ทฤษฎที เ่ี กย่ี วขอ้ ง
ถอดบทเรยี นการใชข้ องเลน่ ในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั และงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในประเทศและ
ต่างประเทศ เพอ่ื วเิ คราะห์ ประเมนิ วางแผน ออกแบบสอ่ื และของเลน่ สาหรบั เดก็ ปฐมวยั ทถ่ี กู ตอ้ ง
ตามหลกั การทางานของสมอง ตามแนวคดิ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยทางานรว่ มกบั
ครอบครวั ชุมชน ทอ้ งถน่ิ ทส่ี อดคลอ้ งกบั บรบิ ททางสงั คม วฒั นธรรม และทอ้ งถนิ่ พรอ้ มออกแบบ
ประเมนิ เพอ่ื ใชใ้ นการจดั กจิ กรรม ทดลองใชส้ อ่ื ทอ่ี อกแบบไวก้ บั กลมุ่ ใหญ่ กลมุ่ ยอ่ ย และรายบคุ คล
เพอ่ื สะทอ้ นคดิ ในการพฒั นาปรบั ปรุงออกแบบสอ่ื และของเลน่ เพอ่ื แกป้ ัญหา ช่วยเหลอื สง่ เสรมิ
พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ใหต้ รงวตั ถปุ ระสงค์ และสะทอ้ นคดิ ประยุกตใ์ ชค้ วามรใู้ นการพฒั นาสอ่ื และของ
เลน่ ทท่ี นั สมยั เพอ่ื พฒั นาตนเองใหเ้ ป็นครูทด่ี ี มคี วามรอบรู้ ทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ 1.1,
2.2, 4.1, 5.1, 6.1-6.3)

107210 การจดั กิจกรรมการเล่นเพ่อื การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็ ปฐมวยั

3(2-2-5)

(Playing Activity for Early Childhood)

ออกแบบการจดั กจิ กรรมการเล่นเพอ่ื การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็ ปฐมวยั อายุต่ากว่า

8 ปี โดยประยกุ ตใ์ ชค้ วามรเู้ รอ่ื งความสมั พนั ธข์ องสมองและระบบประสาทวทิ ยา (Neuroscience:

NS) และพฒั นาภาษาและการสอ่ื สารโดยยดึ ศาสตรส์ าขาภาษาศาสตรป์ ระสาทวทิ ยา

(Neurolinguistics Science Process: NLSP) และการสรา้ งกลา้ มเน้อื มดั เลก็ และใหญต่ ามระบบ

ประสาทวทิ ยาของซรี เี บลลมั หรอื สมองน้อย (Cerebellum) กบั การพฒั นาการเล่นสาหรบั เดก็ ปฐมวยั

ศกึ ษา/วเิ คราะหแ์ นวคดิ ทฤษฎี รปู แบบการเล่นเพอ่ื พฒั นาการเรยี นรสู้ าหรบั เดก็ ปฐมวยั ถอด

บทเรยี นการการเรยี นปนเล่นและงานวจิ ยั ทเี กย่ี วขอ้ งในประเทศและต่างประเทศ โดยใชก้ รณศี กึ ษา

การเรยี นรเู้ ชงิ ประสบการณ์ หรอื วธิ กี ารอ่นื ๆ เพอ่ื วเิ คราะห์ ประเมนิ วางแผน ออกแบบกจิ กรรมการ

เรยี นปนเล่นเพอ่ื พฒั นาการเรยี นรสู้ าหรบั เดก็ ปฐมวยั ตามแนวคดิ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ให้

ถกู ตอ้ งตรงหลกั การเรยี นรูข้ องสมอง ทส่ี อดคลอ้ งกบั บรบิ ททางสงั คม วฒั นธรรม และทอ้ งถน่ิ โดย

ทางานรว่ มกบั ครอบครวั ชุมชน ทอ้ งถน่ิ นากจิ กรรมทอ่ี อกแบบไวไ้ ปทดลองใชก้ บั เดก็ ปฐมวยั กลุ่ม

ใหญ่ กลมุ่ ยอ่ ย และรายบุคคล เพอ่ื สะทอ้ นคดิ ในการพฒั นาปรบั ปรุงออกแบบกจิ กรรมการเรยี นปน

เลน่ เพอ่ื แกป้ ัญหา ช่วยเหลอื สง่ เสรมิ พฒั นาเดก็ ปฐมวยั ใหต้ รงวตั ถปุ ระสงค์ และสะทอ้ นความคดิ เพอ่ื

นาความรทู้ ท่ี นั สมยั ไปประยุกตใ์ ช้ และพฒั นาตนเองใหเ้ ป็นครูทด่ี ี มคี วามรอบรู้ ทนั ตอ่ การ

เปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ 1.1, 2.2, 4.1, 5.1, 6.1-6.3)

39

107311 การจดั ประสบการณ์การเรียนรแู้ บบบูรณาการสาหรบั เดก็ อายุตา่ กว่า 3 ปี

3(2-2-5)

(Integrated Learning Experience for Children under 3 Years)

ออกแบบแผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการโดยใชว้ จิ ยั เป็น

ฐานสาหรบั เดก็ อายุต่ากว่า 3 ปี โดยประยุกตใ์ ชค้ วามรเู้ ร่อื งความสมั พนั ธข์ องสมองและระบบประสาท

วทิ ยา (Neuroscience: NS) ศาสตรส์ าขาภาษาศาสตรป์ ระสาทวทิ ยา (Neurolinguistics Science

Process: NLSP) และระบบประสาทวทิ ยาของซรี เี บลลมั หรอื สมองน้อย (Cerebellum) ทส่ี อดคลอ้ ง

กบั หลกั การการศกึ ษาปฐมวยั ศกึ ษา/วเิ คราะห์ ปรชั ญา แนวคดิ ทฤษฎที เ่ี กย่ี วขอ้ ง การบรหิ าร การ

นเิ ทศ ตามระบบประกนั คณุ ภาพในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั อายุต่ากว่า 3 ปี หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ

พอเพยี ง ถอดบทเรยี นจดั ประสบการณ์โดยใชว้ จิ ยั เป็นฐานตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ท่ี

สอดคลอ้ งกบั บรบิ ท สงั คม ชุมชน และทอ้ งถนิ่ และงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในประเทศและต่างประเทศ ฝึก

ใชแ้ บบประเมนิ ตามตวั ชว้ี ดั ในระบบประกนั คณุ ภาพ โดยใชก้ รณีศกึ ษา การเรยี นรเู้ ชงิ ประสบการณ์

หรอื วธิ กี ารอ่นื ๆ เพอ่ื วเิ คราะห์ ประเมนิ วางแผน ออกแบบหอ้ งเรยี นใหเ้ ออ้ื ต่อการเรียนรู้ ทถ่ี ูกตอ้ ง

ตามหลกั การทางานของสมอง สาหรบั เดก็ อายตุ ่ากวา่ 3 ปี การจดั ระบบนิเวศน์ของการเรยี นรทู้ เ่ี ออ้ื

ตอ่ การเรยี นรูข้ องเดก็ ปฐมวยั ออกแบบแผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรแู้ บบบูรณาการโดยใชว้ จิ ยั

เป็นฐานสาหรบั เดก็ อายตุ ่ากวา่ 3 ปี ตามแนวคดิ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ทส่ี อดคลอ้ งกบั บรบิ ท

สงั คม ชุมชน และทอ้ งถน่ิ ทต่ี รงกบั ตวั ช้วี ดั ในระบบประกนั คณุ ภาพ โดยทางานร่วมกบั ครอบครวั

ชมุ ชน และทอ้ งถน่ิ ทดลองใชก้ จิ กรรมกบั กลุ่มยอ่ ยหรอื รายบคุ คล เพอ่ื แกป้ ัญหา ช่วยเหลอื สง่ เสรมิ

เดก็ ปฐมวยั จากการออกแบบการจดั ประสบการณ์เพอ่ื พฒั นาเดก็ ปฐมวยั อายุต่ากวา่ 3 ปี และ

ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรทู้ ท่ี นั สมยั เพอ่ื พฒั นาตนเองใหเ้ ป็นครูทด่ี ี มคี วามรอบรู้ ทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง

(สมรรถนะ 2.1-2.3, 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 5.1, 6.1-6.3)

107312 การต่อยอดองคค์ วามรเู้ พื่อพฒั นานวตั กรรม

3(2-2-5)

(Knowledge Extension for Innovation Development)

ตอ่ ยอดองคค์ วามรสู้ กู่ ารพฒั นานวตั กรรม โดยประยุกตใ์ ชค้ วามรดู้ า้ นงานวจิ ยั

ใน

ชนั้ เรยี น ศกึ ษา/วเิ คราะหแ์ นวคดิ และทฤษฎี รปู แบบการพฒั นานวตั กรรม ทบทวน ขนั้ ตอนในการทา

วจิ ยั

ชนั้ เรยี น การสรา้ งและการหาคณุ ภาพของเครอ่ื งมอื ใชร้ ูปแบบการสะทอ้ นคดิ แบบเพอ่ื นชว่ ยเพอ่ื น

ศกึ ษารปู แบบนวตั กรรมร่วมสมยั ในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ถอดรปู แบบผลงานวจิ ยั ทใ่ี กลเ้ คยี งของ

ตนเองในประเทศและตา่ งประเทศ โดยใชก้ รณีศกึ ษา การเรยี นรเู้ ชงิ ประสบการณ์ หรอื วธิ กี ารอน่ื ๆ

เพอ่ื วเิ คราะห์ ประเมนิ วางแผนพฒั นานวตั กรรม และยกระดบั รปู แบบวจิ ยั เพอ่ื แกป้ ัญหา ช่วยเหลอื

40

สง่ เสรมิ เดก็ ปฐมวยั ตามบรบิ ทของงานวจิ ยั ของตนเอง และสะทอ้ นความคดิ เพอ่ื ใหม้ ที กั ษะในการ
ออกแบบนวตั กรรมเพอ่ื สรา้ งรอยเชอ่ื มตอ่ ในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ทพ่ี บปัญหาแบบเดยี วกนั ไดอ้ ยา่ ง
ต่อเน่อื งและมคี ุณภาพ ประยุกตใ์ ชค้ วามรทู้ ท่ี นั สมยั เพอ่ื แกป้ ัญหาและพฒั นานวตั กรรมไดอ้ ยา่ ง
ต่อเน่อื ง และพฒั นาตนเอง ใหเ้ ป็นครทู ด่ี ี มคี วามรอบรู้ ทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ 1.1, 4.1,
6.1-6.3)

107313 การจดั ประสบการณ์การเรยี นรแู้ บบบูรณาการสาหรบั เดก็ อายุ 3-6 ปี

3(2-2-5)

(Integrated Learning Experience for Children 3-6 Years)

ออกแบบแผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการสาหรบั เดก็ อายุต่า

กวา่

3-6 ปี พรอ้ มออกแบบการประเมนิ ตามแนวคดิ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ทส่ี อดคลอ้ งกบั บรบิ ท

สงั คม ชุมชน และทอ้ งถนิ่ โดยประยกุ ตใ์ ชค้ วามรเู้ รอ่ื งความสมั พนั ธข์ องสมองและระบบประสาทวทิ ยา

(Neuro-science: NS) และพฒั นาภาษาและการสอ่ื สารโดยยดึ ศาสตรส์ าขาภาษาศาสตรป์ ระสาทวทิ ยา

(Neuro-linguistics Science Process: NLSP) และการสรา้ งกลา้ มเน้อื มดั เลก็ และใหญต่ ามระบบ

ประสาทวทิ ยาของ

ซรี เี บลลมั หรอื สมองน้อย (Cerebellum) ทส่ี อดคลอ้ งกบั หลกั การการศกึ ษาปฐมวยั กบั การพฒั นา

หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั อย่างรอบดา้ น และวทิ ยาการการจดั การเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาเดก็ เล็ก ถอด

บทเรยี นหลกั สตู รและการจดั ประสบการณ์ในประเทศและตา่ งประเทศ การบรหิ าร การนเิ ทศ ศกึ ษา/

วเิ คราะหต์ วั ชว้ี ดั ในระบบประกนั คณุ ภาพ เพอ่ื วเิ คราะห์ ประเมนิ วางแผน ออกแบบหอ้ งเรยี นใหเ้ ออ้ื ต่อ

การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็ อายุ 3-6 ปี

การจดั ระบบนิเวศน์ของการเรยี นรทู้ เ่ี ออ้ื ต่อการเรยี นรขู้ องเดก็ ปฐมวยั ออกแบบแผนการจดั ประสบการณ์

การเรยี นรแู้ บบบูรณาการสาหรบั เดก็ อายตุ ่ากว่า 3-6 ปี พรอ้ มออกแบบการประเมนิ ตามแนวคดิ หลกั

ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ทส่ี อดคลอ้ งกบั บรบิ ท สงั คม ชมุ ชน และทอ้ งถน่ิ โดยทางานรว่ มกบั ครอบครวั

และชุมชน ทอ้ งถนิ่ ทดลองใชก้ จิ กรรมแบบจุลภาค เพอ่ื สะทอ้ นคดิ ในการพฒั นาปรบั ปรงุ การออกแบบ

กจิ กรรมเพอ่ื แกป้ ัญหา ชว่ ยเหลอื สง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ใหต้ รงวตั ถุประสงค์ และสะทอ้ น

ความคดิ เพอ่ื ใหม้ ที กั ษะในการออกแบบกจิ กรรมและโปรแกรมเพอ่ื สรา้ งรอยเชอ่ื มตอ่ สาหรบั เดก็ ปฐมวยั ท่ี

มอี ายุต่ากว่า 8 ปี และประยุกตใ์ ชเ้ พอ่ื พฒั นาตนเองใหเ้ ป็นครทู ด่ี ี มคี วามรอบรู้ ทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง

(สมรรถนะ 2.1-2.3, 3.1, 4.1, 5.1, 6.1-6.3)

107314 สมั มนาปัญหาและแนวโน้มในการพฒั นาการศึกษาปฐมวยั ในอนาคต

3(2-2-5) (Seminar in Future Education for Early Childhood

Education)

ออกแบบการจดั กจิ กรรมสมั มนาตามหวั ขอ้ ทเ่ี ลอื ก โดยประยกุ ตใ์ ชค้ วามรเู้ ร่อื ง

ความสมั พนั ธข์ องสมองและระบบประสาทวทิ ยา (Neuroscience: NS) และพฒั นาภาษาและการ

41

สอ่ื สารโดยยดึ ศาสตรส์ าขาภาษาศาสตรป์ ระสาทวทิ ยา (Neurolinguistics Science Process: NLSP)
และการสรา้ งกลา้ มเน้อื มดั เลก็ และใหญต่ ามระบบประสาทวทิ ยาของซรี เี บลลมั (Cerebellum) หรอื
สมองน้อย กบั พฒั นาการ 4 ดา้ นของเดก็ ปฐมวยั อายตุ ่ากว่า 8 ปี เพอ่ื เตรยี มสมองเดก็ สโู่ ลกอนาคต
ศกึ ษายุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี แนวโน้มเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื งในประเทศและต่างประเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยี ดจิ ทิ ลั และเทคโนโลยอี ุบตั ใิ หม่ ในการดาเนนิ ชวี ติ ในอนาคตสาหรบั เดก็
ปฐมวยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลต่อวถิ ชี วี ติ และการศกึ ษาของเดก็ ปฐมวยั คุณสมบตั ขิ องพลเมอื งไทย พลเมอื งโลก
ในอนาคต เพอ่ื การเตรยี มคนสโู่ ลกอนาคตตามบรบิ ทประเทศไทย ศกึ ษาผลงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั
การพฒั นาทุนมนุษยใ์ นโลกอนาคตในประเทศและต่างประเทศ โดยใชก้ รณศี กึ ษา การเรยี นรเู้ ชงิ
ประสบการณ์ หรอื วธิ กี ารอ่นื ๆ เพอ่ื วเิ คราะห์ วางแผน ออกแบบการจดั กจิ กรรมสมั มนาตามหวั ขอ้ ท่ี
เลอื ก ออกแบบประเมนิ เพอ่ื ใชใ้ นการจดั กจิ กรรม ทดลองจดั สมั มนา เพอ่ื คน้ หาคาตอบของทนุ มนุษย์
ในโลกอนาคต วางแผน ทบทวน และออกแบบการดูแลและพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ในการเตรยี มสโู่ ลก
อนาคต และออกแบบการสอนของครตู ามการเปลย่ี นแปลงของวถิ โี ลกอนาคต สะทอ้ นคดิ เพอ่ื ใหม้ ี
ทกั ษะในการออกแบบโปรแกรมการดแู ลและพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ร่วมกบั ครอบครวั ชุมชน สงั คม และ
ทอ้ งถนิ่ ในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั สโู่ ลกอนาคตไดอ้ ย่างรอบดา้ นและต่อเน่อื ง สะทอ้ นคดิ ประยุกตใ์ ช้
ความรหู้ ลกั การทางานเชงิ อนาคตในการสรา้ งทุนมนุษยส์ าหรบั เดก็ ปฐมวยั สโู่ ลกอนาคตทท่ี นั สมยั
และสะทอ้ นคดิ เพอ่ื พฒั นาตนเองใหเ้ ป็นครทู ด่ี ี มคี วามรอบรู้ ทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ 1.1,
4.1, 6.1-6.3)

107015 การพฒั นาสุขภาวะและความปลอดภยั สาหรบั เดก็ ปฐมวยั

3(2-2-5)

(Health and Safety Development for Early Childhood)

ออกแบบการพฒั นาสขุ ภาวะและความปลอดภยั สาหรบั เดก็ ปฐมวยั อายตุ ่ากว่า

8 ปี โดยประยกุ ตใ์ ชค้ วามรเู้ รอ่ื งการพฒั นาสุขภาวะสาหรบั เดก็ ปฐมวยั ศกึ ษา/วเิ คราะหท์ ฤษฎแี ละ

แนวคดิ ในการพฒั นาสุขภาวะ โรคทพ่ี บบ่อยในเดก็ ปฐมวยั ตามชว่ งวยั อุบตั เิ หตใุ นบา้ น นอกบา้ นและ

ในโรงเรยี น ฝึกปฏบิ ตั เิ คร่อื งมอื วดั ภาวะพฒั นาการ ภาวะโภชนาการและการจดั โภชนาการสาหรบั เดก็

ภาวะสุขภาพและอนามยั สาหรบั เดก็ ปฐมวยั ฝึกปฏบิ ตั กิ ารปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้ ถอดบทเรียนการ

พฒั นาสุขภาวะและความปลอดภยั และผลงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในประเทศและตา่ งประเทศ โดยใช้

กรณีศกึ ษา การเรยี นรเู้ ชงิ ประสบการณ์ หรอื วธิ อี น่ื ๆ เพอ่ื วเิ คราะห์ ประเมนิ วางแผน ออกแบบการ

พฒั นาสุขภาวะและความปลอดภยั อยา่ งรอบดา้ นโดยผปู้ กครอง ชุมชน ทอ้ งถน่ิ มสี ว่ นรว่ ม ให้

สอดคลอ้ งกบั พฒั นาการและความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลตามฐานะเศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม

ทดลองทากจิ กรรมทอ่ี อกแบบไวก้ บั กลมุ่ ใหญ่ กลุม่ ยอ่ ย หรอื รายบคุ คล เพอ่ื แกไ้ ข สง่ เสรมิ และ

พฒั นาสขุ ภาวะสาหรบั เดก็ ปฐมวยั เป็นรายบคุ คลและรายกล่มุ สะทอ้ นความคดิ เพอ่ื ใหม้ ที กั ษะในการ

ออกแบบโปรแกรมเพอ่ื สรา้ งรอยเชอ่ื มตอ่ ในการจดั กจิ กรรมพฒั นาสุขภาวะและความปลอดภยั ทงั้ ใน

บา้ นและโรงเรยี นอยา่ งรอบดา้ นสาหรบั เดก็ ปฐมวยั อายุต่ากว่า 8 ไดอ้ ย่างต่อเน่อื ง และสะทอ้ นคดิ เพอ่ื

42

ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรเู้ รอ่ื งการพฒั นาสุขภาวะทท่ี นั สมยั เพอ่ื พฒั นาตนเองใหเ้ ป็นครูทด่ี ี มคี วามรอบรู้ ทนั
ต่อการเปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ 1.1, 4.1, 5.1, 6.1-6.3)

107016 การช่วยเหลอื และพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ

3(2-2-5)

(Supporting Early Childhood with Special Needs)

ออกแบบกจิ กรรมใหค้ วามช่วยเหลอื เดก็ ปฐมวยั ทม่ี คี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ

อายุ

ต่ากวา่ 8 ปี โดยประยกุ ตใ์ ชค้ วามรเู้ รอ่ื งความสมั พนั ธข์ องสมองและระบบประสาทวทิ ยา

(Neuroscience: NS) ภาษาศาสตรป์ ระสาทวทิ ยา (Neurolinguistics Science Process: NLSP) และ

การสรา้ งกลา้ มเน้อื

มดั เลก็ และใหญต่ ามระบบประสาทวทิ ยาของซรี เี บลลมั (Cerebellum) หรอื สมองน้อย กบั การพฒั นา

ช่วยเหลอื เดก็ ทม่ี คี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ ศกึ ษา/วเิ คราะหท์ ฤษฎแี ละแนวคดิ เกย่ี วกบั การช่วยเหลอื

เดก็ ปฐมวยั ทม่ี คี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ คุณธรรมในการดแู ลเดก็ ทม่ี คี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ ฝึกใช้

เคร่อื งมอื

ในการสงั เกตเดก็ ปฐมวยั ทม่ี คี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ถอดบทเรยี นการ

ชว่ ยเหลอื เดก็ ปฐมวยั ทม่ี คี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ และผลงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งในประเทศและ

ต่างประเทศ โดยใชก้ รณีศกึ ษา การเรยี นรเู้ ชงิ ประสบการณ์ หรอื วธิ อี น่ื ๆ เพอ่ื วเิ คราะห์ ประเมนิ

วางแผน ออกแบบกจิ กรรมใหค้ วามช่วยเหลอื เดก็ ปฐมวยั ท่มี คี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ อายุต่ากวา่ 8 ปี

ทถ่ี กู ตอ้ งตามหลกั การทางานของสมอง สอดคลอ้ งกบั ฐานะทางเศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม โดย

ทางานร่วมกบั ผปู้ กครองและครอบครวั ผเู้ ชย่ี วชาญ และแพทยเ์ ฉพาะทาง ทดลองกจิ กรรมทอ่ี อกแบบ

ไวก้ บั กลมุ่ ใหญ่ กลุม่ ย่อย หรอื รายบุคคล เพอ่ื สะทอ้ นคดิ ในการพฒั นาปรบั ปรงุ ออกแบบ เพอ่ื แกป้ ัญหา

ช่วยเหลอื สง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ใหต้ รงวตั ถุประสงค์ และประยกุ ตใ์ ชค้ วามรเู้ ร่อื งการพฒั นาเดก็

ปฐมวยั ทม่ี คี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษทท่ี นั สมยั เพอ่ื พฒั นาตนเองใหเ้ ป็นครทู ด่ี ี มคี วามรอบรู้ ทนั ตอ่ การ

เปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ 1.1, 2.1- 2.3, 4.1, 5.1, 6.1-6.3)

107017 การจดั กิจกรรมทางศิลปะระดบั การศึกษาปฐมวยั

3(2-2-5)

(Art Activity for Early Childhood Education)

ออกแบบกจิ กรรมศลิ ปะสาหรบั เดก็ ปฐมวยั อายุต่ากว่า 8 ปี โดยประยกุ ตใ์ ช้

ความรเู้ รอ่ื งความสมั พนั ธข์ องสมองและระบบประสาทวทิ ยา (Neuroscience: NS) และพฒั นาภาษา

และการสอ่ื สารโดยยดึ ศาสตรส์ าขาภาษาศาสตรป์ ระสาทวทิ ยา (Neurolinguistics Science Process:

NLSP) และการสรา้ งกลา้ มเน้อื มดั เลก็ และใหญต่ ามระบบประสาทวทิ ยาของซรี เี บลลมั (Cerebellum)

หรอื สมองน้อย กบั การการจดั กจิ กรรมทางศลิ ปะทส่ี ง่ ผลตอ่ การทางานของสมองสาหรบั เดก็ ปฐมวยั

43

ทฤษฎแี ละแนวคดิ ในการพฒั นาศลิ ปะ เพอ่ื สง่ เสรมิ ความคดิ สรา้ งสรรคแ์ ละกลา้ มเน้ือมดั เลก็ ภาษา
และการสอ่ื สารผา่ นงานศลิ ปะทห่ี ลากหลาย ถอดบนเรยี นการจดั กจิ กรรมศลิ ปะและรูปแบบกจิ กรรม
การพฒั นาความคดิ สรา้ งสรรคเ์ พอ่ื พฒั นากลา้ มเน้อื มดั เลก็ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ภาษา ทห่ี ลากหลาย
ถอดบทเรยี นโปรแกรมการพฒั นาศลิ ปะเพอ่ื กลา้ มเน้อื มดั เลก็ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ภาษาและการ
สอ่ื สาร ในประเทศและตา่ งประเทศ ฝึกการใชแ้ บบประเมนิ ทกั ษะการใชก้ ลา้ มเน้อื มดั เลก็ ความคดิ
สรา้ งสรรค์ ภาษาและการสอ่ื สาร โดยใชก้ รณศี กึ ษา การเรยี นรเู้ ชงิ ประสบการณ์ หรอื วธิ กี ารอน่ื ๆ เพอ่ื
วเิ คราะห์ วางแผน ออกแบบกจิ กรรมศลิ ปะเพอ่ื พฒั นากลา้ มเน้อื มดั เลก็ ความคดิ สรา้ งสรรค์ และ
ภาษาและการสอ่ื สาร ถูกตอ้ งตามหลกั การทางานของสมอง สาหรบั เดก็ ปฐมวยั ทส่ี อดคลอ้ งกบั แนวคดิ
หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและการทางานของสมองโดยทางานรว่ มกบั กบั ผปู้ กครองและ
ครอบครวั ชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ พรอ้ มออกแบบประเมนิ เพอ่ื ใชใ้ นการจดั กจิ กรรม ทดลองใชก้ จิ กรรมท่ี
ออกแบบไวก้ บั กลมุ่ ใหญ่ กลมุ่ ย่อย และรายบคุ คล เพอ่ื แกป้ ัญหา ชว่ ยเหลอื สง่ เสรมิ และพฒั นาเดก็
ปฐมวยั เป็นรายบคุ คลและรายกลุ่ม สะทอ้ นคดิ เพอ่ื ใหม้ ที กั ษะในการออกแบบโปรแกรมเพอ่ื สรา้ งรอย
เช่อื มต่อการจดั กจิ กรรมศลิ ปะและความคดิ สรา้ งสรรคแ์ บบองคร์ วมสาหรบั เดก็ ปฐมวยั ทม่ี อี ายุต่ากวา่
8 ปี อย่างตอ่ เน่อื ง และสะทอ้ นคดิ ประยุกตใ์ ชค้ วามรเู้ ร่อื งการจดั กจิ กรรมศลิ ปะและความคดิ
สรา้ งสรรคท์ ท่ี นั สมยั เพอ่ื พฒั นาตนเองใหเ้ ป็นครทู ด่ี ี มคี วามรอบรู้ ทนั ต่อการเปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ
1.1, 2.2, 4.1, 5.1, 6.1-6.3)

44

107018 วรรณกรรมสาหรบั เดก็ ปฐมวยั 3(2-2-5)

(Literature for Early Childhood)

ออกแบบวรรณกรรมสาหรบั เดก็ ปฐมวยั อายตุ ่ากวา่ 8 ปี โดยประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้

เรอ่ื งความสมั พนั ธข์ องสมองและระบบประสาทวทิ ยา (Neuroscience: NS) และพฒั นาภาษาและการ

สอ่ื สารโดยยดึ ศาสตรส์ าขาภาษาศาสตรป์ ระสาทวทิ ยา (Neurolinguistics Science Process: NLSP)

กบั การสรา้ งวรรณกรรมเพอ่ื พฒั นาเดก็ ปฐมวยั แบบองคร์ วม ศกึ ษา/วเิ คราะหแ์ นวคดิ ทฤษฎที ่ี

เกย่ี วขอ้ ง ถอดบทเรยี น

การใชว้ รรณกรรมในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ในรปู แบบต่างๆ และงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง โดยใชก้ รณี

ตวั อยา่ ง

คาคลอ้ งจอง เพลง นทิ าน เพอ่ื วเิ คราะห์ ประเมนิ วางแผน ออกแบบวรรณกรรมสาหรบั เดก็ อายุ

ปฐมวยั

ทถ่ี ูกตอ้ งตามหลกั การทางานของสมอง ตามแนวคดิ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยทางาน

ร่วมกบั ผปู้ กครอง ครอบครวั ชุมชน ทส่ี อดคลอ้ งกบั บรบิ ท สงั คม วฒั นธรรม และทอ้ งถนิ่ พรอ้ ม

ออกแบบประเมนิ เพอ่ื ใชใ้ นการจดั กจิ กรรม ทดลองใชก้ จิ กรรมทอ่ี อกแบบไวก้ บั กลุ่มใหญ่ กลุ่มยอ่ ย

และรายบคุ คล เพอ่ื สะทอ้ นคดิ ในการพฒั นาปรบั ปรงุ วรรณกรรม เพอ่ื แกป้ ัญหา ชว่ ยเหลอื สง่ เสรมิ

พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ใหต้ รงวตั ถุประสงค์ และสะทอ้ นความคดิ ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรใู้ นการพฒั นา

วรรณกรรมทท่ี นั สมยั เพอ่ื พฒั นาเดก็ ปฐมวยั และตนเองใหเ้ ป็นครูทด่ี ี มคี วามรอบรู้ ทนั ตอ่ การ

เปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ 1.1, 2.2, 4.1, 5.1, 6.1-6.3)

107019 การจดั กิจกรรมเพอื่ ส่งเสริมการเรยี นรสู้ าหรบั เดก็ กล่มุ เป้าหมายเฉพาะ

3(2-2-5)

(Providing Experience to Promote Learning for Specific Target Children)

ออกแบบการจดั กจิ กรรมเพ่อื สง่ เสรมิ การเรยี นรสู้ าหรบั เดก็ กล่มุ เป้าหมาย

เฉพาะ โดยการประยุกตใ์ ชค้ วามรเู้ รอ่ื งนโยบาย ปัญหา และโอกาสทางสงั คมของเดก็ กลมุ่ เป้าหมาย

เฉพาะ วธิ กี ารดแู ลและใหค้ วามช่วยเหลอื รปู แบบการจดั กจิ กรรม บทบาทผปู้ กครองและครอบครวั ใน

การอบรมเลย้ี งดเู ดก็ ทบ่ี า้ น เพอ่ื นามาใชใ้ นการออกแบบการจดั กจิ กรรมเพอ่ื สง่ เสรมิ การเรยี นรสู้ าหรบั

เดก็ กลุ่มเป้าหมายเฉพาะโดยทางานรว่ มกบั ผปู้ กครองและครอบครวั ชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ ตามหลกั การ

ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ทส่ี อดคลอ้ งกบั บรบิ ท สงั คม ชุมชน และทอ้ งถน่ิ พรอ้ มออกแบบประเมนิ เพอ่ื ใชใ้ นการจดั กจิ กรรม

ทดลองใชก้ จิ กรรมทอ่ี อกแบบไวก้ บั กลุ่มใหญ่ กล่มุ ย่อย และรายบุคคล การประเมนิ การเรยี นรเู้ ดก็

กลมุ่ เป้าหมายเฉพาะ เพอ่ื แกป้ ัญหา ช่วยเหลอื สง่ เสรมิ โดยใชก้ รณศี กึ ษา การเรยี นรเู้ ชงิ

ประสบการณ์ หรอื วธิ กี ารอ่นื ๆ และสะทอ้ นความคดิ เพ่อื ใหม้ ที กั ษะในการออกแบบกจิ กรรมและ

โปรแกรมเพอ่ื สรา้ งรอยเชอ่ื มตอ่ สาหรบั เดก็ กลุ่มเป้าหมายเฉพาะทม่ี อี ายตุ ่ากว่า 8 ปี และประยกุ ตใ์ ช้

ความรใู้ นการพฒั นาเดก็ กลุ่มเป้าหมายเฉพาะทท่ี นั สมยั เพอ่ื พฒั นาตนเองใหเ้ ป็นครูทด่ี ี มคี วามรอบรู้

ทนั ต่อการเปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ 1.1, 2.1-2.3, 4.1, 5.1)

45

107020 การมสี ่วนร่วมของครอบครวั และชุมชนในการจดั การศึกษาปฐมวยั

3(2-2-5)

(Family and Community Involvement in Early Childhood Education)

ออกแบบกจิ กรรมการทางานรว่ มกบั ครอบครวั ชุมชน และทอ้ งถนิ่ ในการ

พฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ฐานะทางเศรษฐกจิ สงั คม โดยประยุกตใ์ ชค้ วามรเู้ รอ่ื ง

ความสมั พนั ธข์ องสมองและระบบประสาทวทิ ยา (Neuroscience: NS) และพฒั นาภาษาและการ

สอ่ื สารโดยยดึ ศาสตรส์ าขาภาษาศาสตรป์ ระสาทวทิ ยา (Neurolinguistics Science Process: NLSP)

และการสรา้ งกลา้ มเน้อื มดั เลก็ และใหญ่ตามระบบประสาทวทิ ยาของซรี เี บลลมั (Cerebellum) หรอื

สมองน้อย กบั พฒั นาการ 4 ดา้ นของเดก็ ปฐมวยั อายุต่ากว่า 8 ปี อทิ ธพิ ลของครอบครวั ชุมชน

ทอ้ งถนิ่ ทส่ี ง่ ผลต่อวถิ ชี วี ติ ของเดก็ ปฐมวยั ในปัจจุบนั และอนาคต บทบาทผปู้ กครองและชมุ ชน

ทอ้ งถน่ิ ในการดแู ลพฒั นาเดก็ ปฐมวยั และปกป้องสทิ ธเิ ดก็ ตามกฎหมาย ถอดบทเรยี นวถิ ชี ุมชนกบั

การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั และผลงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในประเทศและต่างประเทศ โดยใชก้ รณศี กึ ษา การ

เรยี นรเู้ ชงิ ประสบการณ์ หรอื วธิ กี ารอ่นื ๆ เพอ่ื วเิ คราะห์ วางแผน ออกแบบกจิ กรรมการทางานร่วมกบั

ครอบครวั ชมุ ชน และทอ้ งถนิ่ ในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง ฐานะทาง

เศรษฐกจิ บรบิ ททางสงั คม วฒั นธรรมในทอ้ งถนิ่ ออกแบบประเมนิ เพอ่ื ใชใ้ นการจดั กจิ กรรม ทดลอง

กจิ กรรมทอ่ี อกแบบไวก้ บั กลุม่ ใหญ่ กลมุ่ ยอ่ ย หรอื รายบุคคล เพอ่ื แกป้ ัญหา ช่วยเหลอื สง่ เสรมิ

พฒั นาการเดก็ เป็นรายบคุ คลอยา่ งรอบดา้ นโดยใชค้ วามรว่ มมอื กบั ครอบครวั ชุมชน และทอ้ งถน่ิ

สะทอ้ นคดิ เพอ่ื ใหม้ ที กั ษะในการออกแบบโปรแกรมเพอ่ื สรา้ งรอยเช่อื มตอ่ ในทางานรว่ มกบั ครอบครวั

ชมุ ชน สงั คม และทอ้ งถนิ่ ในการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั อยา่ งรอบดา้ นและต่อเน่อื ง และสะทอ้ นคดิ

ประยุกตใ์ ชค้ วามรหู้ ลกั การทางานกบั ผปู้ กครอง ชุมชน ทอ้ งถน่ิ ทท่ี นั สมยั เพอ่ื พฒั นาตนเองใหเ้ ป็นครู

ทด่ี ี มคี วามรอบรู้ ทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ 1.1, 4.1, 5.1, 6.1-6.3)

107021 สนั ติศึกษาสาหรบั การศึกษาปฐมวยั 3(2-2-5)

(Peace Education for Early Childhood Education)

ออกแบบสนั ตศิ กึ ษาระดบั ปฐมวยั อายุต่ากวา่ 8 ปี โดยประยกุ ตใ์ ชค้ วามรเู้ ก่ยี วกบั

ความหมาย ความเป็นมา และความสาคญั รวมทงั้ ทฤษฎแี ละองคค์ วามรเู้ กย่ี วกบั สนั ตศิ กึ ษา หลกั การ

จดั การศกึ ษาเพอ่ื สนั ตภิ าพ ขอบขา่ ยเน้อื หาและวธิ กี ารสอนสนั ตศิ กึ ษาในระดบั ปฐมวยั คุณลกั ษณะของ

ครปู ฐมวยั ทเ่ี หมาะสมกบั การสอนสนั ตศิ กึ ษา บทบาทขององคก์ รต่างๆ สถานศกึ ษาและครใู นการ

เสรมิ สรา้ งสนั ตภิ าพภายในและสนั ตภิ าพภายนอกแก่เดก็ ปฐมวยั การประเมนิ ผลทส่ี อดคลอ้ งกบั สนั ติ

ศกึ ษา (สมรรถนะ 2.1, 2.2, 3.1, 3.2, 4.1, 5.1, 6.1-6.3)

46

107022 ลีลา จงั หวะและการเคล่ือนไหวสาหรบั เดก็ ปฐมวยั

3(2-2-5)

(Rhythm and Movement for Early Childhood)

ออกแบบการจดั กจิ กรรมลลี า จงั หวะและการเคล่อื นไหวสาหรบั เดก็ ปฐมวยั โดย

ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรเู้ ร่อื งความสมั พนั ธข์ องสมองและระบบประสาทวทิ ยาของซรี เี บลลมั หรอื สมองน้อย

(Cerebellum) กบั การพฒั นากลา้ มเน้อื มดั ใหญ่และกลา้ มเน้อื มดั เลก็ สาหรบั เดก็ ปฐมวยั ศกึ ษา/วเิ คราะห์

แนวคดิ ทฤษฎเี กย่ี วกบั กจิ กรรมเคล่อื นไหวและจงั วะสาหรบั เดก็ ปฐมวยั ถอดบทเรยี นกจิ กรรมการจดั

กจิ กรรมการเคลอ่ื นไหวผ่านการรอ้ งเพลง เล่นเครอ่ื งดนตรี เพอ่ื พฒั นา ลลี า จงั หวะ และการเคล่อื นไหว

ทางดา้ นรา่ งกายสาหรบั เดก็ ปฐมวยั อายุต่ากวา่ 8 ปี โดยคลปิ วดิ โี อและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในประเทศและ

ต่างประเทศ ฝึกปฏบิ ตั ลิ ลี า จงั หวะ และการเคลอ่ื นไหว ทางดา้ นรา่ งกายเบอ้ื งตน้ ผ่านศลิ ปะการแสดงท่ี

หลากหลาย

เพอ่ื วเิ คราะห์ การวดั และประเมนิ ผล วางแผน ออกแบบการจดั กจิ กรรมลลี า จงั หวะและการเคล่อื นไหว/

สอ่ื อุปกรณ์ ทถ่ี ูกตอ้ งตามหลกั การทางานของสมองสาหรบั เดก็ ปฐมวยั โดยทางานร่วมกบั ครอบครวั

ชมุ ชน ทอ้ งถน่ิ พรอ้ มออกแบบประเมนิ เพอ่ื ใชใ้ นการจดั กจิ กรรม นากจิ กรรมทอ่ี อกแบบไวไ้ ปทดลองกบั

กลุ่มใหญ่ กลมุ่ ยอ่ ย หรอื รายบุคคล เพอ่ื สะทอ้ นคดิ ในการพฒั นาปรบั ปรุงการออกแบบกจิ กรรมเพอ่ื

แกป้ ัญหา ช่วยเหลอื สง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ใหต้ รงวตั ถุประสงค์ และสะทอ้ นความคดิ เพอ่ื ใหม้ ี

ทกั ษะในการออกแบบโปรแกรมเพอ่ื สรา้ งรอยเช่อื มต่อการจดั กจิ กรรมเพอ่ื พฒั นา ลลี า จงั หวะและการ

เคล่อื นไหวสาหรบั เดก็ ปฐมวยั สาหรบั เดก็ ปฐมวยั ทม่ี อี ายุต่ากว่า 8 ปีไดอ้ ย่างตอ่ เน่อื ง และประยุกตใ์ ช้

ความรทู้ ท่ี นั สมยั เพอ่ื พฒั นาตนเองใหเ้ ป็นครทู ด่ี ี มคี วามรอบรู้ ทนั ตอ่ การเปลย่ี นแปลง (สมรรถนะ 1.1,

2.2, 4.1, 5.1, 6.1-6.3)

107023 การบริหารและการประกนั คณุ ภาพการศึกษาปฐมวยั 3(2-2-5)

(Early Childhood Administration and Quality Assurance)

ออกแบบการบรหิ ารและการจดั การสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั โดยประยุกตใ์ ช้

ความรเู้ กย่ี วกบั การบรหิ าร การนเิ ทศ และการประกนั คุณภาพการศกึ ษาปฐมวยั บทบาทหน้าทข่ี อง

ผบู้ รหิ าร การดาเนนิ การจดั ตงั้ สถานศกึ ษาปฐมวยั การนเิ ทศ ตดิ ตาม การปฏบิ ตั งิ านของบคุ ลากร

ศกึ ษา วเิ คราะห์ มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั การประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในและภายนอก

การเขยี นรายงานการศกึ ษาตนเอง (SAR) และการฝึกปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การเตรยี มการเพอ่ื รองรบั การ

ประเมนิ คณุ ภาพภายนอกของสถานศกึ ษาระดบั ปฐมวยั (สมรรถนะ 1.1, 4.1, 6.1-6.3)

4. องคป์ ระกอบเกี่ยวกบั การฝึ กภาคสนาม การฝึ กงาน หรอื สหกิจศึกษา

การปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา มกี ารฝึกปฏบิ ตั กิ ารวชิ าชพี ประกอบดว้ ย การสงั เกต การ
บรหิ ารในสถานศกึ ษา และการทดลองสอนในชนั้ เรยี น และมกี ารปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา ใน


Click to View FlipBook Version