The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษา หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by arunee920a, 2022-05-30 12:23:59

คู่มือนักศึกษา

คู่มือนักศึกษา หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต

47

สาขาวชิ าเฉพาะ ประกอบดว้ ย การปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษาโดยอสิ ระควบคกู่ บั การนเิ ทศ การบูร
ณาการความรใู้ นการจดั ทาแผนการเรยี นรู้ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ โดยใชส้ อ่ื นวตั กรรม เทคนิค
และยทุ ธวธิ กี ารเรยี นรใู้ นวชิ าเฉพาะหรอื วชิ าเอกไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกบั ผเู้ รยี น การวดั และประเมนิ ผล
การเรยี นรู้ เพอ่ื พฒั นาการจดั การเรยี นรแู้ ละผเู้ รยี น การจดั ทาบนั ทกึ และรายงานผลการจดั การเรยี นรู้
การจดั กจิ กรรมทางวชิ าการ การวจิ ยั ในชนั้ เรยี นเพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี น การปฏบิ ตั งิ านครูนอกเหนือจาก
การสอน การสมั มนาทางการศกึ ษา

4.1 มาตรฐานผลการเรยี นรขู้ องประสบการณ์ภาคสนาม

งานและลกั ษณะการปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา กาหนดโดยเน้นงานทน่ี กั ศกึ ษาครู
ตอ้ งปฏบิ ตั จิ รงิ และเสรมิ สรา้ งสมรรถภาพของนกั ศกึ ษาทพ่ี งึ ประสงคเ์ พอ่ื ให้นกั ศกึ ษาพรอ้ มทจ่ี ะเป็นผู้
เรมิ่ ตน้ วชิ าชพี ครทู ด่ี ี ดงั น้ี

4.1.1 มสี มรรถภาพทางดา้ นความรู้ ไดแ้ ก่ ความรทู้ งั้ ในเน้อื หาทใ่ี ชส้ อนตามหลกั สตู รและ
ความรใู้ นศาสตรส์ าขาต่างๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

4.1.2 มสี มรรถภาพทางดา้ นวธิ วี ทิ ยาการจดั การเรยี นรู้
1) สามารถเลอื กใชป้ รชั ญาตามความเชอ่ื ในการสรา้ งหลกั สตู รรายวชิ า การออกแบบ

เน้อื หาสาระ กจิ กรรมการเรยี นการสอน สอ่ื และเทคโนโลยกี ารสอ่ื สาร การวดั และประเมนิ ผเู้ รยี น การ
บรหิ ารจดั การชนั้ เรยี น การจดั การเรยี นโดยใชแ้ หล่งการเรยี นรใู้ นโรงเรยี นและนอกโรงเรยี น แหล่งการ
เรยี นรแู้ บบเปิดไดอ้ ย่างเหมาะสมกบั สภาพบรบิ ททต่ี า่ งกนั ของผเู้ รยี นและพน้ื ท่ี

2) สามารถนาความรทู้ างจติ วทิ ยาไปใชใ้ นการวเิ คราะหผ์ เู้ รยี นเป็นรายบุคคล
ออกแบบกจิ กรรม การจดั เน้ือหาสาระ การบรหิ ารจดั การ และกลไกการช่วยเหลอื แกไ้ ขและสง่ เสรมิ
พฒั นาผเู้ รยี นทต่ี อบสนองความตอ้ งการ ความสนใจ ความถนดั และศกั ยภาพของผเู้ รยี นท่ีมคี วาม
แตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล ทงั้ ผเู้ รยี นปกตแิ ละผเู้ รยี นทม่ี คี วามตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษหรอื ผเู้ รยี นทม่ี ี
ขอ้ จากดั ทางกาย

3) จดั กจิ กรรมและออกแบบการจดั การเรยี นรใู้ หผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรจู้ ากประสบการณ์
เรยี นรผู้ า่ นการลงมอื ปฏบิ ตั แิ ละการทางานในสถานการณ์จรงิ สง่ เสรมิ การพฒั นาการคดิ การทางาน
การจดั การ การเผชญิ สถานการณ์ ฝึกการปฏบิ ตั ใิ หท้ าได้ คดิ เป็น ทาเป็น โดยบูรณาการการทางาน
กบั
การเรยี นรแู้ ละคุณธรรมจรยิ ธรรม สามารถประยุกตค์ วามรมู้ าใชเ้ พอ่ื ป้องกนั แกไ้ ขปัญหา และพฒั นา
ดว้ ยความซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ มวี นิ ยั และรบั ผดิ ชอบตอ่ ผเู้ รยี นโดยยดึ ผเู้ รยี นสาคญั ทส่ี ุด

4) สรา้ งบรรยากาศ และจดั สภาพแวดลอ้ ม สอ่ื การเรยี น แหลง่ วทิ ยาการ
เทคโนโลยี วฒั นธรรมและภูมปิ ัญญาทงั้ ในและนอกสถานศกึ ษาเพอ่ื การเรยี นรู้ มคี วามสามารถในการ
ประสานงานและสรา้ งความรว่ มมอื กบั บดิ ามารดา ผปู้ กครอง และบคุ คลในชุมชนทุกฝ่าย เพอ่ื อานวย
ความสะดวกและร่วมมอื กนั พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี วามรอบรู้ มปี ัญญารคู้ ดิ และเกดิ การใฝ่รอู้ ยา่ งต่อเน่อื ง
ใหเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ

48

5) สามารถจดั การเรยี นการสอนใหผ้ เู้ รยี นมที กั ษะศตวรรษท่ี 21 เชน่ ทกั ษะการ
เรยี นรู้ ทกั ษะการรเู้ รอ่ื ง ทกั ษะการคดิ ทกั ษะชวี ติ ทกั ษะการทางานแบบรว่ มมอื ทกั ษะการใชภ้ าษา
เพอ่ื การสอ่ื สาร ทกั ษะเทคโนโลยี และการดาเนนิ ชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
สามารถนาทกั ษะเหล่าน้ีมาใชใ้ นการจดั การเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นาผเู้ รยี น และการพฒั นาตนเอง

4.2 ช่วงเวลาที่จดั ประสบการณ์

ใหน้ กั ศกึ ษามโี อกาสฝึกประสบการณ์วชิ าชพี เป็นประจาทุกปี เพอ่ื ใหร้ จู้ กั วชิ าชพี และ
สรา้ งทศั นคตทิ ด่ี ตี อ่ วชิ าชพี ครู โดยเพม่ิ ระดบั ความเขม้ ขน้ ของการฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ใหม้ ากขน้ึ
ตามลาดบั จนถงึ ปีสุดทา้ ย กลา่ วคอื ปีท่ี 1-2 เป็นการสอดแทรกในกจิ กรรมของการเรยี นการสอน
โดยเฉพาะอย่างยงิ่ รายวชิ าในกลุ่มวชิ าชพี ครู สว่ นปีท่ี 3 เป็นการฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ครูระหว่าง
เรยี น รวมเวลา 45 ชวั่ โมง และปีท่ี 4 เป็นการปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา รวมเวลา 1 ปี

4.3 การจดั เวลาและตารางสอน

จดั เตม็ เวลาทก่ี าหนดในแตล่ ะภาคการศกึ ษา
5. ข้อกาหนดเก่ียวกบั การทาโครงงานหรอื วิจยั

5.1 คาอธิบายโดยยอ่

กาหนดใหม้ กี ารศกึ ษา คน้ ควา้ ทดลอง รวบรวมและวเิ คราะหผ์ ลการทดลอง นาเสนอ
ผลงาน เขยี นรายงานการวจิ ยั ซง่ึ มเี น้อื หาทก่ี ่อใหเ้ กดิ ความรใู้ หม่ โดยมรี ะยะเวลาตามทห่ี ลกั สตู ร
กาหนด

5.2 มาตรฐานผลการเรยี นรขู้ องการทาโครงงานหรือวิจยั

5.2.1 มสี มรรถภาพทางดา้ นความรู้ ไดแ้ ก่ ความรทู้ งั้ ในเน้อื หาทใ่ี ชท้ าโครงงานหรอื วจิ ยั
และความรใู้ นศาสตรส์ าขาต่างๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

5.2.2 มสี มรรถภาพทางดา้ นทกั ษะปัญญา
1) คดิ คน้ หา วเิ คราะหข์ อ้ เทจ็ จรงิ และประเมนิ ขอ้ มลู สอ่ื สารสนเทศจาก

แหลง่ ขอ้ มลู ทห่ี ลากหลายอย่างรเู้ ท่าทนั เป็นพลเมอื งตน่ื รู้ มสี านกึ สากล สามารถเผชญิ และกา้ วทนั กบั
การเปลย่ี นแปลงในโลกยุคดจิ ทิ ลั เทคโนโลยขี า้ มแพลทฟอรม์ (Platform) และโลกอนาคต นาไป
ประยุกตใ์ ชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านและวนิ ิจฉยั แกป้ ัญหาและพฒั นางานไดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์ โดยคานงึ ถงึ
ความรู้ หลกั การทางทฤษฎี ประสบการณ์ภาคปฏบิ ตั ิ คา่ นิยม แนวคดิ นโยบายและยุทธศาสตรช์ าติ
บรรทดั ฐานทางสงั คมและผลกระทบทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ

2) สามารถคดิ รเิ รมิ่ และพฒั นางานอย่างสรา้ งสรรค์
3) สรา้ งและประยกุ ตใ์ ชค้ วามรจู้ ากการทาวจิ ยั และสรา้ งหรอื รว่ มสรา้ งนวตั กรรม
เพอ่ื พฒั นาการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นและพฒั นาผเู้ รยี นใหเ้ ป็นผสู้ รา้ งหรอื ร่วมสร้างนวตั กรรม รวมทงั้ การ
ถ่ายทอดความรแู้ ก่ชมุ ชนและสงั คม
5.3 ช่วงเวลา

ปีท่ี 4 ภาคการศกึ ษาท่ี 1-2
5.4 จานวนหน่วยกิต/ชวั่ โมง

49

จานวนชวั่ โมง 90 ชวั่ โมง โดยใชเ้ วลาทอ่ี ย่รู ะหว่างปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา
5.5 การเตรยี มการ

มกี ารเรยี นรายวชิ า 100309 การวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรมการเรยี นรู้ ในปีท่ี 3 ซง่ึ มกี าร
จดั ทาโครงการวจิ ยั เบอ้ื งตน้ เป็นรายกลุ่มก่อนการทาวจิ ยั เป็นรายบุคคลในปีท่ี 4 โดยมกี ารปฐมนเิ ทศ
นกั ศกึ ษาในเร่อื งการทาวจิ ยั ชนั้ เรยี น มกี ารกาหนดชวั่ โมงการใหค้ าปรกึ ษา จดั ทาบนั ทกึ การให้
คาปรกึ ษาใหข้ อ้ มลู ขา่ วสารเก่ยี วกบั โครงงานทางเวบ็ ไซต์ และปรบั ปรงุ ใหท้ นั สมยั เสมอ อกี ทงั้ มี
ตวั อย่างโครงงานวจิ ยั ใหศ้ กึ ษา

5.6 กระบวนการประเมินผล
ประเมนิ ผลจากความกา้ วหน้าในการทาโครงงาน หรอื วจิ ยั ทบ่ี นั ทกึ ในสมดุ ใหค้ าปรกึ ษา

โดยอาจารยท์ ป่ี รกึ ษา และประเมนิ ผลจากรายงานทไ่ี ดก้ าหนดรปู แบบการนาเสนอตามระยะเวลา
นาเสนอโปรแกรมและการทางานของระบบ โดยโครงงานวจิ ยั ดงั กล่าวตอ้ งสามารถทางานไดใ้ นขนั้ ตน้
โดยเฉพาะการทางานหลกั ของโปรแกรมและการจดั สอบ การนาเสนอทม่ี อี าจารยส์ อบไม่ต่ากว่า 3 คน

6. กิจกรรมเสริมความเป็นครู
หลกั สตู รมกี จิ กรรมเสรมิ ความเป็นครใู นแตล่ ะปี โดยอาจจดั กจิ กรรม/โครงการเป็นการเฉพาะ

หรอื อาจบรหิ ารจดั การใหบ้ รู ณาการกบั การเรยี นการสอนในรายวชิ าต่างๆ เพอ่ื เสรมิ สรา้ งคุณลกั ษณะ
ความเป็นครแู ละเสรมิ สรา้ งความเป็นพลเมอื งทเ่ี ขม้ แขง็ ปีละไม่น้อยกว่าสองกจิ กรรม อาทิ

6.1 กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งความศรทั ธา ความมุ่งมนั่ และรกั ในอาชพี เป็นครู
6.2 กจิ กรรมจติ อาสาและ/หรอื จติ สาธารณะ/การบาเพญ็ ประโยชน์แกช่ ุมชนและสงั คม
6.3 กจิ กรรมสง่ เสรมิ ความรกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ และความเป็นไทย
6.4 กจิ กรรมตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและ/หรอื ศาสตรพ์ ระราชา
6.5 กจิ กรรมลูกเสอื /เนตรนาร/ี ยุวกาชาด
6.6 กจิ กรรมสรา้ งเสรมิ สขุ ภาวะ การป้องกนั โรค และเพศศกึ ษา
6.7 กจิ กรรมสง่ เสรมิ วถิ ชี วี ติ ประชาธปิ ไตย รวมถงึ การเลอื กตงั้
6.8 กจิ กรรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม ศลิ ปะ ดนตรี นาฏศลิ ป์
6.9 กจิ กรรมสง่ เสรมิ สขุ ภาพ กฬี าและนนั ทนาการ
6.10 กจิ กรรมทางวชิ าการ
6.11 กจิ กรรมอน่ื ๆ ทห่ี ลกั สูตรเหน็ สมควร

50

หมวดท่ี 4 ผลการเรยี นรู้ กลยทุ ธก์ ารสอนและการประเมินผล

1. การพฒั นาคณุ ลกั ษณะพิเศษของนักศึกษา

คณุ ลกั ษณะพิเศษ/คณุ สมบตั ิที่พงึ กลยุทธห์ รือกิจกรรมของนักศกึ ษา

ประสงค์

1. ปฏิบตั ิตนตามศาสตรพ์ ระราชา : 1. โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเสรมิ สรา้ งความรู้

เขา้ ใจหลกั การทรงงาน โครงการ เกย่ี วกบั หลกั การทรงงาน โครงการพระราชดาริ และ

พระราชดาริ และปรชั ญาของเศรษฐกจิ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

พอเพยี ง และน้อมนาไปปฏบิ ตั ติ นและ 2. ศกึ ษาดงู านโครงการพระราชดารใิ นทอ้ งถน่ิ ในชุมชน

ปฏบิ ตั งิ านเพอ่ื พฒั นาสงั คม 3. ปฏบิ ตั ติ นและปฏบิ ตั งิ านตามหลกั การทรงงาน

โครงการพระราชดาริ และปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

3.1 โครงการค่ายอาสา/จติ อาสาเพอ่ื สง่ เสรมิ การ

ปฏบิ ตั ติ นและปฏบิ ตั งิ านตามหลกั การทรงงาน โครงการ

พระราชดาริ และปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

3.2 กจิ กรรมรณรงคก์ ารปฏบิ ตั ติ นและปฏบิ ตั งิ านตาม

หลกั การทรงงาน โครงการพระราชดาริ และปรชั ญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง ไปใชใ้ นทอ้ งถน่ิ /สงั คม

3.3 โครงการบรกิ ารวชิ าการ เชน่ ดแู ลผสู้ งู อายุ ผทู้ ่ี

อยใู่ นเรอื นจา เดก็ กาพรา้ พกิ ารทางสายตา และ

โรงเรยี นขาดแคลน เป็นตน้

3.4 โครงการพฒั นาศกั ยภาพเกย่ี วกบั การปฏบิ ตั ติ น

และปฏบิ ตั งิ านตามหลกั การทรงงาน โครงการ

พระราชดาริ และปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

(ปฏบิ ตั กิ ารนาความรตู้ ามศาสตรส์ ชู่ ุมชน)

4. สรา้ งเสรมิ ใหน้ กั เรยี นปฏบิ ตั ติ นและปฏบิ ตั งิ านตาม

หลกั การทรงงาน โครงการพระราชดาริ และปรชั ญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง

4.1 โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการนาหลกั การทรง

งาน โครงการพระราชดาริ และปรชั ญาของเศรษฐกจิ

พอเพยี งไปใชใ้ นการเรยี นการสอน

4.2 โครงการสง่ เสรมิ อาจารยน์ าหลกั การทรงงาน

โครงการพระราชดาริ และปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ไปใสใ่ น มคอ.3 เพอ่ื สกู่ ารปฏบิ ตั ิ

4.3 โครงการค่ายอาสาตา่ งๆ เช่น ค่ายอาสาพาน้อง

เรยี นรทู้ กั ษะดนตรี ค่ายอาสาพาน้องเรยี นรศู้ าสตร์

51

คณุ ลกั ษณะพิเศษ/คณุ สมบตั ิที่พงึ กลยุทธห์ รือกิจกรรมของนักศึกษา

ประสงค์

พระราชา คา่ ยอาสา ณ โรงเรยี นทข่ี าดแคลน และ

โครงการ EDU Give a Life การใหไ้ ม่มที ส่ี น้ิ สดุ เป็นต้น

2. เก่งวิชาการ : มคี วามรู้ 1. กจิ กรรมปรบั ความรพู้ น้ื ฐานใหแ้ น่นและสรา้ งแรง
บนั ดาลใจใฝ่รใู้ ฝ่เรยี น
ความสามารถเป็นเลศิ ทางวชิ าการใน 2. กจิ กรรมถงึ แก่นความรู้
ศาสตรท์ ศ่ี กึ ษาและสามารถนามาใชส้ ู่
การปฏบิ ตั ไิ ดเ้ ป็นอย่างดแี ละมี 2.1 จดั คา่ ยวชิ าการแบบเขม้
ประสทิ ธภิ าพ 2.2 ศกึ ษาดงู าน Benchmark และต่อยอด
2.3 สรา้ งเครอื ขา่ ยเพอ่ื พฒั นาวชิ าการเชงิ รุก เช่น จดั

แขง่ ขนั วชิ าการระดบั ภายในมหาวทิ ยาลยั ระดบั ชาติ
และนานาชาติ จดั สมั มนาวชิ าการ/ประกวดนวตั กรรม

สดุ ยอดผลงานนกั ศกึ ษา และสรา้ งระบบนิเทศการสอน

อาจารยผ์ สู้ อน เป็นตน้
3. กจิ กรรมสคู่ รมู อื อาชพี

3.1 สรา้ งระบบการสอบสอนกอ่ นออกฝึก

ประสบการณ์ เชน่ ใหร้ ุ่นพม่ี าเป็นพเ่ี ลย้ี งกอ่ นสอบและให้

คาปรกึ ษา และเชญิ ผทู้ รงคุณวฒุ ภิ ายนอกเป็นกรรมการ

ร่วม เป็นตน้

3.2 ทาวจิ ยั คนละ 1 โครงการ

3.3 ทาหอ้ งเรยี นตน้ แบบการสอน
3.4 เชญิ ครตู วั อย่างมาเล่าประสบการณ์ทุกภาค

การศกึ ษา

3. เก่งภาษา : สามารถใชภ้ าษาองั กฤษ 1. โครงการอบรมปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาทกั ษะการสอ่ื สาร

ในการสอ่ื สาร และมที กั ษะทาง ดว้ ยภาษาองั กฤษ

ภาษาองั กฤษตามเกณฑท์ ดสอบ 2. โครงการอบรมดา้ นภาษาและวฒั นธรรม

มาตรฐาน 3. โครงการคา่ ยอาสาบูรณาการวชิ าการและ

ภาษาองั กฤษเพอ่ื บรกิ ารวชิ าการสชู่ ุมชน

4. โครงการพฒั นาความรภู้ าษาองั กฤษเพอ่ื ทดสอบ

มาตรฐาน

4. เก่งสอน : มกี ลวธิ กี ารสอน และการ 1. โครงการอบรมปฏบิ ตั กิ าร ใชก้ ลวธิ กี ารสอนและการ

วดั ประเมนิ ผลทท่ี นั สมยั และหลากหลาย วดั ประเมนิ ผลทท่ี นั สมยั และหลากหลาย
สอนไดท้ งั้ เดก็ ปกตแิ ละเดก็ ทม่ี คี วาม 2. โครงการอบรมปฏบิ ตั กิ ารออกแบบการสอนชนั้ เรยี น
ตอ้ งการจาเป็นพเิ ศษ สามารถสอนโดย รวม

52

คณุ ลกั ษณะพิเศษ/คณุ สมบตั ิท่ีพึง กลยทุ ธห์ รือกิจกรรมของนักศึกษา

ประสงค์

บูรณาการเน้อื หาและภาษา (CLIL) 3. โครงการอบรมปฏบิ ตั กิ ารออกแบบการจดั การเรยี นรู้

บรู ณาการเทคโนโลยกี ารสอน โดยบูรณาการ CLIL+TPACK+PBL+CBL

เน้อื หาวชิ าเฉพาะ (TPACK) การ 4. โครงการพฒั นาอาจารยผ์ สู้ อนเพอ่ื การสอ่ื สาร

จดั การเรยี นรแู้ บบโครงงาน (PBL) และ ภาษาองั กฤษในชนั้ เรยี น

การจดั การเรยี นรแู้ บบชุมชนเป็นฐาน

(CBL)

5. มีจิตวิญญาณความเป็นครู : เอาใจ 1. โครงการค่ายคุณธรรมจรยิ ธรรมเพอ่ื สง่ เสรมิ จติ

ใสผ่ เู้ รยี น มวี นิ ยั พากเพยี รในการ วญิ ญาณความเป็นครู

แสวงหาความรู้ เชดิ ชคู ณุ ธรรม และเป็น 2. โครงการพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ และจดั ประกวดมารยาท

ผนู้ าจติ อาสาในการพฒั นางานและ และบคุ ลกิ ภาพ

ทอ้ งถนิ่ 3. โครงการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นการสอดแทรก

คุณธรรมและจติ วญิ ญาณสาหรบั ครู

4. โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารเสรมิ สรา้ งความมวี นิ ยั

ภาวะผนู้ า และจติ อาสา

5. โครงการค่ายอาสาพฒั นาชมุ ชน

6. โครงการครศุ าสตรร์ าชภฏั วชิ าการ

7. โครงการสง่ เสรมิ จติ วญิ ญาณความเป็นครู

8. กจิ กรรมของสโมสรนกั ศกึ ษา

6. รทู้ ้องถิ่น : รจู้ กั และเขา้ ใจชุมชน 1. โครงการเตมิ ฝัน พนั ธหุ์ ว่าน สรา้ งสรรคท์ อ้ งถน่ิ

ทอ้ งถน่ิ ของตน สามารถนาองคค์ วามรู้ 2. โครงการเรยี นรทู้ อ้ งถนิ่ ผ่านการฝึกประสบการณ์
จากชุมชนมาใชใ้ นการสอน และใชอ้ งค์ วชิ าชพี ครู
ความรใู้ นศาสตรข์ องตนไปพฒั นา 3. กจิ กรรมศกึ ษาบรบิ ทชุมชน ประเพณี วฒั นธรรมและ
ทอ้ งถนิ่ ได้ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่
4. กจิ กรรมจติ อาสาเพอ่ื พฒั นาทอ้ งถน่ิ

5. กจิ กรรมสง่ เสรมิ การพฒั นานวตั กรรม เพอ่ื แกป้ ัญหา

และพฒั นาทอ้ งถน่ิ

.. ..
/
()( )()
.. .. ”
“ ..

.. ..



“”

..
“”

“”

“”
“”

“”

..

ภาคผนวก

จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู

จรรยาบรรณวชิ าชีพครู คอื กฎแหง่ ความประพฤตสิ ำหรับสมาชิกวิชาชีพครู ซึ่ง
องคก์ รวิชาชีพครูเปน็ ผกู้ ำหนด และสมาชิกในวิชาชีพทุกคนต้องถือปฏบิ ตั โิ ดยเครง่ ครัด หากมี
การละเมดิ จะมีการลงโทษจรรยาบรรณวชิ าชีพครู มีความสำคญั ต่อวชิ าชีพครูเชน่ เดียวกบั ที่
จรรยาบรรณวชิ าชีพ มีความสำคัญต่อวิชาชีพอ่นื ๆ

กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดจรรยาบรรณวชิ าชีพครู พ.ศ.2539 เพอ่ื ใหค้ รูได้
ยึดถือเป็นแนว ทางการปฏิบตั ิ ความรู้เปรียบเสมือนครูคนหน่ึง จึงควรท่ีจะต้องยึดถือแนว
ทางการปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณครทู ก่ี ำหนดไวด้ ังน้ี

1. ครตู อ้ งรักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใสช่ ว่ ยเหลอื สง่ เสรมิ ให้กำลงั ใจใน
การศกึ ษา เล่าเรียนแกศ่ ิษย์โดยเสมอหน้า

2. ครตู ้องอบรม ส่ังสอน ฝึกฝนสร้างเสริมความรู้ ทกั ษะและนสิ ยั ทถ่ี กู ต้องดีงาม ให้
เกดิ แก่ศษิ ย์ อยา่ งเตม็ ความสามารถ

3. ครตู อ้ งประพฤติ ปฏิบตั ิตน เปน็ แบบอย่างท่ีดแี ก่ศิษย์ ท้ังทางกาย วาจา และ
จิตใจ

4. ครูตอ้ งไมก่ ระทำตนเป็นปฏปิ กั ษต์ อ่ ความเจรญิ ทางกาย สตปิ ัญญา จติ ใจ
อารมณแ์ ละสังคม ของศิษย์

5. ครูตอ้ งไม่แสวงหาประโยชน์ อนั เป็นอามิสสินจ้างจากศิษยใ์ นการปฏิบตั ิหนา้ ท่ี
ตามปกติ และไมใ่ ช้ ให้ศษิ ยก์ ระทำการใดๆ อนั เป็นการหาประโยชน์แก่ตนโดยมชิ อบ

6. ครูยอ่ มพัฒนาตนเองท้ังในด้านวิชาชพี ดา้ นบุคลิกภาพ และวิสัยทศั น์ ให้ทนั ต่อ
การพฒั นาทาง วทิ ยาการเศรษฐกจิ สังคม และการเมืองอย่เู สมอ

7. ครูยอ่ มรักและศรัทธาในวิชาชพี ครู และเป็นสมาชิกที่ดขี ององค์กรวิชาชีพ
8. ครพู งึ ช่วยเหลอื เก้อื กลู ครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์
9. ครพู ึงประพฤติปฏบิ ัตติ นเปน็ ผนู้ ำในการอนรุ กั ษ์และพฒั นาภูมิปญั ญาและ
วัฒนธรรมไทย

1

คณุ ลักษณะของครูปฐมวยั ทีด่ ี

ครปู ฐมวัยเปน็ บุคคลทม่ี ีความสำคญั อย่างยงิ่ ในการอบรมเลี้ยงดูเด็กให้มีความปลอดภยั
และเจรญิ เติบโตอยา่ งสมบูรณต์ ามวยั เป็นผมู้ ีหน้าทใี่ นการถา่ ยทอดความรู้ ความดี และ
ประสบการณ์อนั เปน็ ประโยชนต์ อ่ เด็กตลอดจนดูแลสง่ เสริม พัฒนาการของเดก็ ทั้งด้านร่างกาย
อารมณ์-จิตใจ สงั คมและสติปัญญาใหม้ ีความเจรญิ งอกงามเตม็ ศักยภาพ ทั้งเป็นคนดี คนเกง่
และมคี วามสุขกับการอยรู่ ่วมในสงั คม

คุณหญิงเบญจา แสงมะลิ ได้ใหข้ ้อคดิ ในการเตรยี มตนเองให้เปน็ ครูท่ดี ี ซงึ่ ต้องมี
คุณลกั ษณะ เป็น 9 นัก ดงั นี้

1. นักรกั : รักเดก็ ในเวลาเดยี วกนั ต้องรูจ้ กั ทำตัวใหเ้ ดก็ รกั
2. นกั เลน่ : เป็นคนยมิ้ งา่ ย หัวเราะงา่ ย รว่ มตืน่ เตน้ ร่วมเลน่ กบั เดก็
3. นักร้อง : ร้องเพลงเด็กง่ายๆได้ มีอารมณ์ร่วมขณะร้องเพลงกับเด็ก
4. นกั รำ : ทำทา่ ประกอบจงั หวะเพลง รู้จักดดั แปลงทา่ รำให้เหมาะกับวยั และ
ความสามารถของเดก็
5. นักเล่า : เลา่ นิทานใหเ้ ด็กฟังได้ เพราะนิทานเปน็ สง่ิ ท่เี ดก็ ชอบ
6. นักคดิ : คิดหาวิธีเรา้ ความสนใจ คดิ กจิ กรรมที่สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ เกิดการเรียนรู้
7. นักทำ : ทำส่ือการเรียนการสอน ทำของเล่นสำหรบั กิจกรรมตา่ งๆ
8. นกั ฝนั : จัดสภาพแวดลอ้ ม หาสื่อทส่ี ่งเสรมิ ให้เดก็ เกิดความฝัน จินตนาการ ให้เดก็
ได้เล่นสมมติ
9. นักแต่ง : เดก็ มีความอยากรอู้ ยากเหน็ อยากสัมผสั สง่ิ ต่างๆ ครูจงึ ต้องรจู้ ักตกแต่ง
สถานทีส่ งิ่ ของเคร่อื งใช้ ให้ทุกอย่างสวยงามน่าดู น่าใช้ นา่ สนใจ นา่ ฟงั และนา่ สมั ผสั ให้เหมาะ
กับสภาพและความสนใจ ของเด็กและนอกจากนน้ั จะต้องเปน็ ผมู้ คี วามคดิ สรา้ งสรรค์ เปน็ นัก
แตง่ เพลงแตง่ นิทาน

2

แบบบันทึกการให้คำปรกึ ษา

ชื่อ-นามสกลุ .......................................................ชัน้ ปีท่ี............รหสั นักศึกษา ……………………………

ท่ี ว/ด/ป รายละเอยี ดการขอรับคำปรกึ ษา ลายมือชื่อ สรุปการให้คำปรกึ ษา/คำแนะนำ ลายมอื ช่อื อาจารย์ หมายเหตุ

นกั ศกึ ษา ที่ให้คำปรึกษา

แบบบันทึกการให้คำปรกึ ษา

ชื่อ-นามสกลุ .......................................................ชัน้ ปีท่ี............รหสั นักศึกษา ……………………………

ท่ี ว/ด/ป รายละเอยี ดการขอรับคำปรกึ ษา ลายมือชื่อ สรุปการให้คำปรกึ ษา/คำแนะนำ ลายมอื ช่อื อาจารย์ หมายเหตุ

นกั ศกึ ษา ที่ให้คำปรึกษา

แบบบันทึกการให้คำปรกึ ษา

ชื่อ-นามสกลุ .......................................................ชัน้ ปีท่ี............รหสั นักศึกษา ……………………………

ท่ี ว/ด/ป รายละเอยี ดการขอรับคำปรกึ ษา ลายมือชื่อ สรุปการให้คำปรกึ ษา/คำแนะนำ ลายมอื ช่อื อาจารย์ หมายเหตุ

นกั ศกึ ษา ที่ให้คำปรึกษา

แบบบันทึกการให้คำปรกึ ษา

ชื่อ-นามสกลุ .......................................................ชัน้ ปีท่ี............รหสั นักศึกษา ……………………………

ท่ี ว/ด/ป รายละเอยี ดการขอรับคำปรกึ ษา ลายมือชื่อ สรุปการให้คำปรกึ ษา/คำแนะนำ ลายมอื ช่อื อาจารย์ หมายเหตุ

นกั ศกึ ษา ที่ให้คำปรึกษา

แบบบันทึกการให้คำปรกึ ษา

ชื่อ-นามสกลุ .......................................................ชัน้ ปีท่ี............รหสั นักศึกษา ……………………………

ท่ี ว/ด/ป รายละเอยี ดการขอรับคำปรกึ ษา ลายมือชื่อ สรุปการให้คำปรกึ ษา/คำแนะนำ ลายมอื ช่อื อาจารย์ หมายเหตุ

นกั ศกึ ษา ที่ให้คำปรึกษา

แบบบันทึกการให้คำปรกึ ษา

ชื่อ-นามสกลุ .......................................................ชัน้ ปีท่ี............รหสั นักศึกษา ……………………………

ท่ี ว/ด/ป รายละเอยี ดการขอรับคำปรกึ ษา ลายมือชื่อ สรุปการให้คำปรกึ ษา/คำแนะนำ ลายมอื ช่อื อาจารย์ หมายเหตุ

นกั ศกึ ษา ที่ให้คำปรึกษา

แบบบันทึกการให้คำปรกึ ษา

ชื่อ-นามสกลุ .......................................................ชัน้ ปีท่ี............รหสั นักศึกษา ……………………………

ท่ี ว/ด/ป รายละเอยี ดการขอรับคำปรกึ ษา ลายมือชื่อ สรุปการให้คำปรกึ ษา/คำแนะนำ ลายมอื ช่อื อาจารย์ หมายเหตุ

นกั ศกึ ษา ที่ให้คำปรึกษา

แบบบันทึกการให้คำปรกึ ษา

ชื่อ-นามสกลุ .......................................................ชัน้ ปีท่ี............รหสั นักศึกษา ……………………………

ท่ี ว/ด/ป รายละเอยี ดการขอรับคำปรกึ ษา ลายมือชื่อ สรุปการให้คำปรกึ ษา/คำแนะนำ ลายมอื ช่อื อาจารย์ หมายเหตุ

นกั ศกึ ษา ที่ให้คำปรึกษา



อัตลักษณ์ของบัณฑิตมหาวิทยาลัย



" สำนึกดี มีความรู้ พร้อมสู้งาน "

การศึกษาปฐมวัย
Early Childhood Education


Click to View FlipBook Version