หน่วยที่ 3 หน่วยพืน้ ฐานของสิง่ มีชีวิต
กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟ้าอากาศ
บทท่ี 1 ลมฟา้ อากาศรอบตัว
วิชาวิทยาศาสตร์ 2 ว21102
สอนโดย นางสาวอโนชา อทุ มุ สกลุ รตั น์
ครชู านาญการพิเศษ
สาหรบั นกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม
ช่ือ-สกลุ ..................................................ชนั้ .........เลขท่ี........
สารบญั หน้า
บทนำ................................................................................................................................ ก
คำชแ้ี จงการใช้ชุดกจิ กรรม................................................................................................ ข
แบบประเมนิ ตนเองกอ่ นเรยี น........................................................................................... 1
หนว่ ยกระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟา้ อากาศบทท่ี 1 ลมฟ้าอากาศรอบตวั ..................... 1
7
เรอ่ื งที่ 1 บรรยากาศของเรา................................................................. 11
เรือ่ งที่ 2 อุณหภมู อิ ากาศ....................................................................... 23
เรอ่ื งท่ี 3 ความกดอากาศและลม........................................................... 30
เรือ่ งที่ 4 ความชนื้ .................................................................................. 37
เรอ่ื งท่ี 5 เมฆและฝน.............................................................................. 46
เร่อื งท่ี 6 การพยากรณอ์ ากาศ................................................................ 48
แบบประเมินตนเองหลังเรยี น............................................................................................
อ้างอิง............................................................................................................................
บทนำ
ชุดกิจกรรมท่ีผู้เรียนจะได้ศึกษาน้ีเรียกว่าชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
หน่วยกระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศ บทท่ี 1 ลมฟ้าอากาศรอบตัว เป็นสื่อวิทยาศาสตร์ที่เน้นให้
ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีระบบ พบคำตอบของปัญหาหรือสถานการณ์น้ันด้วยตนเอง
ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ได้คิดและลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ และ เพ่ือให้เกิดประโยชน์
สงู สุดนกั เรยี น
ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการเน้ือหาส่วนใหญ่เน้นการให้นักเรียนสามารถ
นำไปประยุกต์ใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวันเพอื่ ให้นักเรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาได้ด้วยตนเองจึงไดเ้ รียบเรียง
เนอื้ หาใหก้ ระชับและน่าสนใจและนอกจากนี้ยังไดแ้ ทรกรปู ภาพและคำถามชวนคิดไวต้ ลอดทำให้ไม่เบือ่ ในการ
อา่ นและทำกจิ กรรม
ผู้จัดทำชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารชุดนี้จะมี
ประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาตามหลักสตู ร ผู้เรียนมีความร้แู ละความสามารถในการสืบคน้ การจัดระบบสง่ิ ที่
เรียนรู้ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เพื่อสร้างองค์ความรู้ ได้เป็นอย่างดีสามารถนำความรู้ที่ได้จากการ
เรียนร้ไู ปปรับใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ และเป็นประโยชน์สำหรบั ผูท้ ี่สนใจใช้เป็นแนวทาง ในการจัดกระบวนการ
เรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรไ์ ดต้ อ่ ไป
...........................................
( นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรัตน์ )
ผจู้ ัดทำชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์
ก
คำชแี้ จงการใช้ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ แบบโยนิโสมนสกิ าร
หนว่ ยกระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟา้ อากาศ บทที่ 1 ลมฟา้ อากาศรอบตวั
1. สาระที่ 3 วิทยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองคป์ ระกอบและความสัมพนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลง
ภายในโลกและบนผวิ โลก ธรณีพิบัติภยั กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟ้าอากาศและภูมอิ ากาศโลก รวมทงั้
ผลต่อส่งิ มีชวี ติ และส่งิ แวดล้อม
2. มาตรฐานการเรยี นรู้ /ตวั ชว้ี ดั ว 3.2 ม.1/1 ,1/2, 1/3,1/4 , 1/5
3. วธิ ีเรียนรู้จากชุดกจิ กรรมนี้เพื่อใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสดุ นกั เรียนควรปฏบิ ตั ติ าม
คำชแี้ จง ตอ่ ไปน้ี
1. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สองภาษาตามแนวคดิ แบบโยนโิ สมนสกิ าร เร่อื ง ลมฟ้าอากาศรอบตวั
ชุดนี้ ใช้เวลา 20 ชว่ั โมง
2. ให้นักเรยี นจัดกลมุ่ ๆ ละประมาณ 6 คน
3. ให้นักเรยี นศกึ ษามาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวช้วี ดั ของชดุ การเรียน
4. ใหน้ กั เรียนปฏิบัตกิ ิจกรรมในชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ แบบโยนโิ สมนสิการ โดยใช้
รปู แบบการเรียนรูแ้ บบโยนิโสมนสิการตามข้ันตอนดงั น้ี
1. ขนั้ พฒั นาปญั ญา
2. ข้ันนำปญั ญาพฒั นาความคิด
3. ขั้นนำปัญญาพฒั นาตนเอง
4. สาระสำคญั
บรรยากาศทหี่ อ่ หุ้มโลกเรานน้ั มกี ารเปลีย่ นแปลงและพัฒนาตั้งแตเ่ ร่ิมกำเนิดโลกจนกระท่งั ปจั จุบัน
บรรยากาศส่งผลต่อการดำรงชีวิตของมนษุ ยแ์ ละสิ่งแวดลอ้ ม บรรยากาศมสี มบัตแิ ละองคป์ ระกอบแตกต่างกัน
ไปตามระดบั ความสูงจากผิวโลก
นกั วทิ ยาศาสตร์ใช้เกณฑก์ ารเปลยี่ นแปลงอณุ หภมู ิตามความสงู แบ่งบรรยากาศเปน็ 5 ชัน้ ได้แก่ ช้ัน
โทรโพสเฟียร์ ชนั้ สตราโตสเฟียร์ ชน้ั มีโซสเฟียร์ ชัน้ เทอร์โมสเฟียร์ และชน้ั เอกโซสเฟยี ร์ ด้วยสมบัตแิ ละ
องคป์ ระกอบ ทำให้บรรยากาศแต่ละชน้ั เกดิ ปรากฏการณแ์ ละสง่ ผลต่อมนุษยแ์ ละสง่ิ แวดล้อมแตกต่างกัน
มนุษยด์ ำรงชีวติ อยูภ่ ายใตบ้ รรยากาศชน้ั โทรโพสเฟยี ร์ซึ่งเกิดสภาพลมฟ้าอากาศต่าง ๆ เชน่ ลม เมฆ ฝน ฟ้า
แลบ ฟา้ รอ้ ง องคป์ ระกอบของลมฟา้ อากาศ
*** ขอให้นกั เรียนทกุ คนไดเ้ รยี นร้วู ทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งมคี วามสขุ ***
ข
แบบประเมนิ ตนเองกอ่ นเรยี น
คำชแ้ี จง : ให้นกั เรยี นตอบคำถามตอ่ ไปนี้ ใชเ้ วลา 10 นาที
1. ขอ้ ใดเปน็ สาเหตุหลักท่ีทำให้รังสอี ลั ตราไวโอเลตจากดวงอาทติ ย์ผา่ นมายังพนื้ ผิวโลกได้นอ้ ยลง
ก. เมฆในชัน้ โทรโพสเฟียร์ ชว่ ยสะท้อนรงั สีอตั ราไวโอเลต
ข. โอโซนในชนั้ สตราโตสเฟียร์ ช่วยดดู กลืนรังสีอตั ราไวโอเลต
ค. แก๊สออกซิเจนในช้ันโทรโพสเฟียร์ ชว่ ยดูดกลนื รังสีอัตราไวโอเลต
ง. อากาศท่แี ตกตัวเปน็ ประจใุ นชัน้ เทอร์โมสเฟียร์ ช่วยสะท้อนรงั สอี ัตราไวโอเลต
2. บรรยากาศช้นั ใดท่มี แี กส๊ ไนโตรเจนหนาแน่นที่สุด
ก. มีโซสเฟียร์ ข. เทอร์โมสเฟียร์ ค. โทรโพสเฟียร์ ง. สตราโตสเฟียร์
3. “ผวิ โลกที่มลี ักษณะแตกตา่ งกัน สามารถดดู กลืนและสะท้อนรังสีจากดวงอาทิตยไ์ ดแ้ ตกตา่ งกัน”ข้อใดไมใ่ ช่
ปรากฏการณท์ ่ีเกิดจากคำกลา่ ว ขา้ งต้น
ก. ความแตกต่างของอณุ หภมู อิ ากาศในบริเวณต่าง ๆ
ข. ความแตกต่างของความชนื้ ในบริเวณต่าง ๆ
ค. ปรากฏการณเ์ รอื นกระจก ง. การเกดิ ลม
4. สถานการณ์ใดทีแ่ สดงวา่ อากาศมีความดนั
ก. หายใจไม่ออกเม่อื อยใู่ นท่ีสงู ข. การดดู ของเหลวโดยใช้หลอดกาแฟ
ค. เมื่อโยนของขนึ้ ไปในอากาศ ของจะตกลงสูพ่ ้นื เสมอ
ง. บรรยากาศยังคงห่อหมุ้ โลกไมห่ ลุดลอยออกไป
5. นักเรียน 4 คน ทำการทดลอง ณ สถานท่ีตา่ งกนั โดยนำเทอร์มอมเิ ตอร์ 2 อัน อันแรกหมุ้ ดว้ ยสำลีชบุ นำ้
อกี อนั หนง่ึ ไม่หมุ้ นำเทอร์มอมิเตอรท์ ัง้ คูไ่ ปวางไว้ในสถานที่ต่างกัน 4 แหง่ หลังจากนน้ั 3 นาที อ่านอุณหภูมิ
ของเทอร์มอมเิ ตอร์ท้งั สองได้ผลตามตาราง
สถานท่ีทดลอง อุณหภมู ิจากเทอรม์ อมเิ ตอรไ์ มห่ ุ้ม อณุ หภมู จิ ากเทอร์มอมเิ ตอร์
สำลีชุบนำ้ ( ํC) หมุ้ สำลีชุบนำ้ ( ํC)
A 26.0 25.0
B 26.0 24.0
C 28.0 26.5
D 28.0 26.0
จากขอ้ มลู แสดงว่าอากาศที่ใด มีปริมาณไอนำ้ ใกล้ปรมิ าณไอน้ำอิ่มตัวมากท่ีสุด
ก. A ข. B ค. C ง. D
6. นำเครื่องวดั ปรมิ าณฝน 2 อนั ซ่ึงมขี นาดต่างกัน วดั ปรมิ าณฝนในบริเวณเดียวกัน เครือ่ งวดั ปรมิ าณฝน
อนั หนงึ่ วัดปรมิ าณฝนได้ ดังภาพ
เครื่องวัดปรมิ าณฝนอีกอันหนึ่งซ่งึ มขี นาดเส้นผา่ ศูนย์กลางแคบกว่าจะวดั ปริมาณฝนได้ตามภาพใด
ก. ข. ค. ง.
คำพยากรณอ์ ากาศประจำวนั ใหข้ อ้ มลู ดงั นี้
ลมตะวนั ตกเฉียงเหนือในระดบั บนยังคงพดั ผา่ นเทอื กเขาหมิ าลัยเข้ามาปกคลุมภาคเหนอื และมลี ม
ตะวันออกพัดนำความชื้นจากทะเลจีนใต้เขา้ มาปกคลมุ ภาคใต้
7. ขอ้ มลู จากคำพยากรณ์ดังกลา่ ว ไม่ควรเกิดลักษณะอากาศแบบใด
ก. ภาคเหนืออณุ หภมู ิสงู ข้ึน ข. ภาคเหนอื ลมแรง
ค. ภาคใต้มเี มฆมาก ง. ภาคใต้ทะเลมีคลืน่ สงู
คะแนนเตม็ 7 คะแนน
ได้ ........... คะแนน
กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟา้ อากาศ
บทที่ 1 ลมฟ้าอากาศรอบตวั เวลา 20 ช่วั โมง
ข้นั พฒั นาปัญญา กิจกรรม ฝึ กอ่าน : ฝึ กคิด
เรอ่ื งที่ 1 บรรยากาศของเรา
ภาพที่ 1 ช้นั บรรยากาศของโลก
ที่มา หนงั สือแบบเรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 สสวท
ภาพขา้ งต้นคอื คือ ภาพโลกและ
บรรยากาศของโลกโดยปรากฏเมฆ
ลักษณะตา่ ง ๆ และโมเลกุลของ
อากาศสะทอ้ นแสงของดวงอาทิตย์
ทบทวนความรู้ก่อนเรยี น 1
เขียนเครอ่ื งหมาย หนา้ ข้อท่ีถกู ตอ้ ง
1. องค์ประกอบท่วั ไปของอากาศมีอะไรบ้าง
แก๊สออกซเิ จน แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ ฝนุ่ ละออง
แกส๊ ไนโตรเจน แกส๊ คารบ์ อนมอนอกไซด์ นำ้
2. อากาศมีประโยชนต์ อ่ การดำรงชีวติ ของมนุษย์อยา่ งไรบา้ ง
ใช้ในการหายใจ ใช้ในการผลติ พลังงานไฟฟา้
ใช้ในการสูบลมจกั รยาน ช่วยให้เครอ่ื งบินหรือเครอ่ื งรอ่ นลอยได้
1
โลก ของเราเป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวใน ระบบสุริยะท่ีพ บว่ามีอาก าศห่อหุ้ม หรือ บรรยากาศ
เหมาะสมต่อการดารงชีวิตของส่ิงมีชีวิต ในขณะท่ีบรรยากาศของดาวศุกร์พบว่าองค์ประกอบหลักเป็นแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์และไม่พบว่ามีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ ดวงจันทร์ซึ่งเป็นบริวารของโลกพบว่าไม่มีบรรยากาศ
ห่อหุ้มและไม่พบร่องรอยของสิ่งมีชีวิตดวงจันทร์ไททันซึ่งเป็นบริวารของดาวเสาร์มีบรรยากาศห่อหุ้มและมี
องค์ประกอบของบรรยากาศส่วนใหญ่เป็นแก๊สไนโตรเจนเช่นเดียวกบั โลก แตพ่ บวา่ มีแกส๊ ออกซิเจนอยู่น้อยมาก
และยังไม่พบรอ่ งรอยของสง่ิ มชี วี ติ เช่นเดียวกัน บรรยากาศของโลกเป็นอยา่ งไรจึงเอือ้ ใหส้ ง่ิ มชี วี ิตดำรง
ชีวิตอย่ไู ด้
การคน้ พบเกี่ยวกบั การเปลีย่ นแปลงช้นั บรรยากาศของโลกทม่ี ีหลกั ฐานและน่าเช่ือถอื มากทีส่ ุดในปจั จุบนั
เปน็ ดังนี้
➢ เมอื่ โลกเกดิ ขึ้นในชว่ งแรกๆโลกไม่มีบรรยากาศห่อหมุ้
➢ ก ารร ะ เบิ ด ข อ งภู เข าไฟ บ น โล ก ส่งผ ล ให้ เกิ ด ไอ น้ ำ แก๊ ส
คาร์บอนไดออกไซด์ และแก๊สแอมโมเนียเป็นองค์ประกอบของ
บรรยากาศเริม่ แรกของโลก
➢ แบคทเี รียเกิดขึ้นในมหาสมทุ ร ซึง่ ใชแ้ กส๊ คารบ์ อนไดออกไซดใ์ นการ
ดำรงชีวิตและปล่อยแก๊สออกซิเจนสู่บรรยากาศส่วนแอมโมเนียใน
ชั้นบรรยากาศได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์แตกตัวเป็นแก๊ส
ไนโตรเจน และแกส๊ ไฮโดรเจน
➢ ชั้นบรรยากาศบรรยากาศของโลกพัฒนาการอย่างช้าๆเป็นเวลา
หลายพันล้านปีต้ังแต่ยุคแรกเริ่มจนเกิดเป็นบรรยากาศในยุค
ปัจจุบัน โดยมีองค์ประกอบของแก๊สในบรรยากาศประกอบไปด้วย
แก๊สไนโตรเจน 78% แก๊สออกซิเจน 21% แก๊สอาร์กอน แก๊ส
คาร์บอ น ไดอ อกไซ ด์ และแก๊สอ่ื น ๆ (ไม่รวมไอน้ำซึ่งเป็ น
องคป์ ระกอบท่ีเปลย่ี นแปลงตามสภาพแวดลอ้ ม
ภาพที่ 2 การเกดิ บรรยากาศของโลก
ที่มา หนงั สือแบบเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 สสวท
2
จากแผนภาพเหตุการณ์ใดบา้ งท่ีสง่ ผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงสัดสว่ นองคป์ ระกอบของ
แกส๊ ในบรรยากาศ และสง่ ผลอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………….……..………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
ปัจจุบนั เหตกุ ารณใ์ ดบา้ งทส่ี ่งผลต่อการเปลย่ี นแปลงสัดสว่ นองค์ประกอบของแก๊สใน
บรรยากาศ และสง่ ผลอยา่ งไร
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………….……..………………………………………………………………
…………….……..
➢ นักเรยี นคดิ วา่ บรรยากาศทีห่ อ่ ห้มุ โลกมลี ักษณะและสมบัติเหมอื นกันโดยตลอดต้งั แต่ระดับผวิ โลกจนถึง
อวกาศหรือไม่ อยา่ งไร
กิจกรรมท่ี 1 บรรยากาศของโลกเปน็ อย่างไร
จดุ ประสงค์ :
1. วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมลู เพอื่ สร้างแบบจำลองการแบง่ ชน้ั บรรยากาศตามเกณฑข์ องตนเอง และ
เปรยี บเทยี บกบั เกณฑข์ องนกั วทิ ยาศาสตร์
2. อธิบายลักษณะช้ันบรรยากาศของโลก
วสั ดุและอปุ กรณ์ -
วิธกี ารทดลอง
1. ศกึ ษาข้อมูลจากตารางแล้วสร้างแบบจำลองช้นั บรรยากาศของโลก เช่น แผนภาพ หรอื โครงสร้างสามมิติ
โดยแบง่ บรรยากาศเป็นชั้นตามเกณฑ์ของตวั เอง
ตารางสมบตั แิ ละองค์ประกอบของบรรยากาศ ณ ระดบั ความสูงต่างๆ
ความสูงจาก อณุ หภมู ิเฉลี่ย ความหนาแนน่ องค์ประกอบสำคญั
ผวิ โลก
(Km) (K) อากาศเฉลย่ี
0
1 (g/m3)
2
8 288 1225.0 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซเิ จน แกส๊ อาร์กอน
10
20 281 1111.7 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน แก๊สอาร์กอน
25
275 1006.6 แกส๊ ไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน แก๊สอาร์กอน
236 525.8 แกส๊ ไนโตรเจน แก๊สออกซเิ จน แก๊สอาร์กอน
223 413.5 แกส๊ ไนโตรเจน แก๊สออกซเิ จน แกส๊ อารก์ อน
216 88.9 แกส๊ ไนโตรเจน แก๊สออกซเิ จน แก๊สอาร์กอน
221 40.1 แกส๊ ไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน แกส๊ อาร์กอน
3
32 228 13.6 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซเิ จน แกส๊ อารก์ อน
47 270 1.4 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน แกส๊ อารก์ อน
51 270 0.9 แกส๊ ไนโตรเจน แก๊สออกซเิ จน แกส๊ อาร์กอน
71 216 0.7 แกส๊ ไนโตรเจน แก๊สออกซเิ จน แก๊สอาร์กอน
86 186 0.007 แกส๊ ไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน ไอออนของ
ไนโตรเจนไอออนของออกซิเจน
100 195 0.0006 แกส๊ ไนโตรเจน แก๊สออกซเิ จน ไอออนของ
ไนโตรเจนไอออนของออกซเิ จน
200 854 0.0000003 แกส๊ ไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน ไอออนของ
ไนโตรเจนไอออนของออกซิเจน
300 976 0. 00000002 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซเิ จน ไอออนของ
ไนโตรเจนไอออนของออกซิเจน
500 999 0.0000000005 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน ไอออนของ
ไนโตรเจนไอออนของออกซิเจน
ทมี่ า: Schlatter,2009
2. รวบรวมการแบง่ ชน้ั และประโยชน์ของชนั้ บรรยากาศโลกโดยนักวิทยาศาสตร์จากแหลง่ ขอ้ มลู ทเี่ ช่ือถือได้
3. เปรยี บเทียบการแบ่งชน้ั บรรยากาศของโลกตามเกณฑข์ องตนเอง กบั ข้อมูลทีไ่ ด้รวบรวมมา และนำเสนอ
ผลการทำกิจกรรม
คำถามท้ายกิจกรรม
1. สมบัตแิ ละองคป์ ระกอบของอากาศท่ีหอ่ หมุ้ โลกตง้ั แตร่ ะดบั 0-1,000 กโิ ลเมตร เหมือนกันโดยตลอดหรอื ไม่
ทราบไดอ้ ยา่ งไร
คำตอบ………………………………………………………………………………………………………………….………………………..……
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. เกณฑข์ องตนเองท่ใี ช้แบ่งบรรยากาศของโลกมีอะไรบ้าง แบง่ ออกเป็นกี่ชั้น อะไรบา้ ง
คำตอบ………………………………………………………………………………………………………………….…………………..…………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…….
4
3. เกณฑท์ น่ี ักวทิ ยาศาสตร์ใชใ้ นการแบง่ บรรยากาศของโลกมอี ะไรบา้ ง แบ่งออกเป็นกช่ี ้ัน อะไรบ้าง
คำตอบ………………………………………………………………………………………………………………….………………………..……
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………..………………………….……………………………………
……………………………………………………..………………………….…………………………………………………………………………
………………..………………………….…………………………………………………………………………………………..…………………
4. เกณฑข์ องตนเองและเกณฑ์ทนี่ ักวทิ ยาศาสตร์ใชแ้ บง่ บรรยากาศของโลก เหมอื นหรอื ตา่ งกนั อย่างไร
คำตอบ………………………………………………………………………………………………………………….………………………..……
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………..………………………….……………………………………
……………………………………………………..………………………….…………………………………………………………………………
………………..………………………….…………………………………………………………………………………………..…………………
5. จากกจิ กรรม สรุปไดว้ า่ อยา่ งไร
คำตอบ………………………………………………………………………………………………………………….………………………..……
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………..………………………….……………………………………
……………………………………………………..………………………….…………………………………………………………………………
………………..………………………….…………………………………………………………………………………………..…………………
ร่วม กนั คดิ 1
1. บรรยากาศแต่ละช้นั มีประโยชนต์ อ่ การดำรงชีวติ ของมนษุ ย์อยา่ งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. เหตใุ ดจึงเกิดเมฆ ฝน พายฟุ ้าคะนองในบรรยากาศชั้นโทรโพสเฟยี ร์
..............................................................................................................................................................................
...................... .......................................................................................................................................................
ความรเู้ พ่ิมเตมิ
1. ระหว่างบรรยากาศแต่ละชั้นจะมีช้ันบรรยากาศบาง ๆ คั่นอยู่ เช่น ระหว่างชั้นโทรโพสเฟียร์และสตราโตส
เฟียร์มีชั้นโทรโพพอส (Tropopause) ระหว่างชั้นสตราโตสเฟียร์และมีโซสเฟียร์ มีชั้นสตราโตพอส
(Stratopause)ระหว่างช้ันมีโซสเฟียร์และช้ันเทอร์โมสเฟียร์มีชั้นมีโซพอส (Mesopause) โดยช้ันโทรโพพอส
สตราโตพอส และมโี ซพอส อณุ หภมู ิอากาศจะค่อนข้างคงที่ ไม่มีการเปลีย่ นแปลงอณุ หภูมิตามความสงู
2. ไอโอโนสเฟยี ร์ (Ionosphere) เปน็ ขอบเขตของบรรยากาศท่ีมไี อออนปรากฏอยู่เปน็ จำนวนมากโดยเริ่มตน้ ท่ี
ความสูงประมาณ 60 กิโลเมตร ขึ้นไปจนถึงขอบเขตบนสุดของบรรยากาศของโลก ซ่ึงครอบคลุมพื้นท่ีของ
บรรยากาศช้นั เทอร์โมสเฟียรเ์ ปน็ สว่ นใหญ่
3. องค์ประกอบหลกั ของบรรยากาศของดาวเคราะห์ในระบบสรุ ิยะ แสดงดังตาราง
5
ตารางองค์ประกอบหลักของบรรยากาศของดาวเคราะห์ตา่ ง ๆ
ดาวเคราะห์ องค์ประกอบหลักของบรรยากาศ ไอออนคืออะไร
ดาวพุธ O2 เม่ืออะตอมได้รับหรือ
ดาวศกุ ร์ CO2 สญู เสียอิเล็กตรอน ทำ
โลก ให้ อ ะ ต อ ม มี ป ร ะ จุ
ดาวองั คาร N2, O2 ไฟฟ้า เรียกอะตอมที่มี
CO2 ประจไุ ฟฟ้านว้ี ่าไอออน
ดาวพฤหัสบดี H2,He
ดาวเสาร์ H2,CH4
ดาวยูเรนสั H2
ดาวเนปจนู CH4
บรรยากาศของโลก ประกอบด้วยส่วนผสมของแกส๊ ตา่ งๆ ที่อยูร่ อบโลกสูงขึน้ ไปจากพืน้ ผวิ โลกหลาย
กโิ ลเมตรจากพนื้ ดิน บรรยากาศ แบ่งเปน็ ชั้นตามอุณหภูมแิ ละการเปลี่ยนแปลงอณุ หภูมิตามความสูง
ลกั ษณะของชน้ั บรรยากาศท่ีแบง่ ตามเกณฑ์การเปลี่ยนแปลงอณุ หภูมติ ามความสงู
1. โทรโพสเฟยี ร์ (troposphere)
เป็นชั้นบรรยากาศท่ีอยู่ถัดจากพ้ืนผิวโลกข้ึนไป 0-10 กิโลเมตร มีความหนาแน่นของอากาศและไอน้ำมาก
ท่ีสุด ปรากฏการณ์ท่ีสำคญั เช่น เมฆ หมอก ฝน หิมะ ลม พายุต่างๆ ล้วนเกิดในบรรยากาศชัน้ นี้ อุณหภูมขิ อง
อากาศลดลงตามระดับความสูง โดยจะลดลง 6-8 องศาเซลเซยี สตอ่ 1 กิโลเมตร ทำให้ขอบบนของบรรยากาศ
ช้ันนีม้ ีอุณหภูมิ -50 ถึง -60 องศาเซลเซยี ส เม่อื ความสงู เพิ่มขึน้ อณุ หภูมลิ ดลง 6.5 C ต่อทกุ ๆ 1 กิโลเมตร
2. สตราโทสเฟียร์ (Stratosphere)
อยูถ่ ัดจากชัน้ โทรโพสเฟียรข์ ้ึนไปถึงระดบั ความสูงประมาณ 50 กโิ ลเมตร ขอบล่าของช้ันจะมีอุณหภูมิคงทแี่ ละ
จะเพ่ิมขน้ึ ตามระดับความสงู บรรยากาศชั้นนี้ไมม่ ีไอน้ำอยเู่ ลย อากาศไม่แปรปรวน ดังนนั้ เครื่องบนิ จึงมัก
บินอย่ใู นระดบั น้ี บรรยากาศช้ันนจ้ี ะมีแกส๊ โอโซน ซ่งึ มสี มบัตดิ ดู กลืนรงั สีอลั ตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์
3. มโี ซสเฟยี ร์ (mesosphere)
เปน็ ช้ันที่อย่สู ูงจากผวิ โลกประมาณ 50-80 กิโลเมตร อุณหภมู ิในชั้นน้ีจะลดลงตามลำดับความสูง ตอนบนสุดมี
อณุ หภูมิตำ่ ถงึ -120 องศาเซลเซียส วัตถุตา่ งๆ จากนอกโลกที่ถูกแรงโน้มถ่วงของโลกดึงดูดเข้าสู่บรรยากาศ
จะถกู เผาไหมท้ ี่บรรยากาศชัน้ นี้
4. เทอร์โมสเฟยี ร์ (thermosphere)
อยถู่ ัดจากช้นั มโี ซสเฟียรข์ ้นึ ไปถงึ ระดับความสูง 480 กโิ ลเมตร อณุ หภมู ิของบรรยากาศชั้นนีป้ ระมาณ 1,500-
1,700 องศาเซลเซยี ส เนอื่ งจากแรงดงึ ดูดของโลกน้อยและแสงอาทติ ย์ท่ีสอ่ งมายงั ช้ันนีม้ พี ลงั งานมากจนทำให้
โมเลกลุ ของแก๊สตา่ งๆ แตกตวั เปน็ ไอออน และมปี ระจุไฟฟา้ ดงั น้ันบรรยากาศชัน้ นี้จงึ มชี ื่อเรียกอกี อยา่ งหนึง่
ว่า ไอโอโนสเฟียร์ (ionosphere) ซ่งึ สามารถสะท้อนคล่ืนวทิ ยุทม่ี คี วามถี่ไมม่ ากได้
5. เอกโซเฟยี ร์ (exosphere)
ช้ันน้ีเป็นชั้นขอบเขตสูงสุดของบรรยากาศของโลกเชื่อมต่อกับอวกาศบรรยากาศเบาบางมากจนแทบไม่มี
อนภุ าคอากาศ อาจพบอนุภาคอากาศ 1 อนภุ าคในระยะ 10 กิโลเมตร
6
การแบง่ ชน้ั บรรยากาศโดยใชแ้ กส๊ เปน็ เกณฑ์แบง่ ได้ 4 ชั้น คือ
1. โทรโพสเฟียร์ เป็นชัน้ บรรยากาศท่อี ยู่ตดิ กับพ้ืนโลก สงู 0-10 กม. มีก๊าซที่สำคญั คือ ไอนำ้
2. โอโซโนสเฟยี ร์ เปน็ ชนั้ บรรยากาศสูง10-50 กม. มีกา๊ ซท่ีสำคัญ คอื โอโซน
3. ไอโอโนสเฟยี ร์ เป็นช้ันบรรยากาศสงู 80-600 กม. มสี งิ่ ทีส่ ำคัญ คอื ออิ อน
4. เอกโซเฟยี ร์ เปน็ ชน้ั บรรยากาศซ่ึงสงู ต้ังแต่ 600 กม. ขึ้นไป โดยความหนาแนน่ ของอะตอมตา่ งๆ มคี ่า
น้อยลง
➢ มนุษย์ดำรงชีวิตอยู่บนผิวโลกในบรรยากาศช้ันโทรโพสเฟียร์ ซ่ึงสภาพลมฟ้าอากาศมีความแปรปรวน
นักเรียนจะได้ศกึ ษาเกย่ี วกบั องคป์ ระกอบของลมฟา้ อากาศทสี่ ง่ ผลตอ่ สภาพลมฟ้าอากาศในเรื่องตอ่ ไป
เรอ่ื งที่ 2 อณุ หภูมิอากาศ
ภาพที่ 3 พ้นื ทเ่ี ดียวกันในเวลากลางวนั และกลางคนื
ทม่ี า หนงั สือแบบเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 สสวท
ภาพข้างต้นคือ คือ ภาพกราฟฟกิ พ้ืนท่ีเดียวกันใน
เวลากลางวนั และกลางคนื
ทบทวนความรู้ก่อนเรยี น 2
จงลากเสน้ จับคขู่ อ้ ความทางด้านซา้ ยและขวาที่มีความสัมพนั ธ์กันมากทีส่ ุด
• อุปกรณ์ในการวดั อณุ หภมู ิ การพาความรอ้ น
• ระดบั ของพลังงานความร้อน การแผร่ ังสคี วามร้อน
• การถา่ ยโอนความรอ้ นผา่ นของแขง็ อณุ หภูมิ
• การถ่ายโอนความร้อนผ่านอากาศ เทอรม์ อมเิ ตอร์
• การถา่ ยโอนความรอ้ นจากดวง การนำความร้อน
อาทิตย์มายังโลก
7
กจิ กรรมท่ี 2 อณุ หภมู ิอากาศเปล่ยี นแปลงอย่างไร
จดุ ประสงค์ :
- ตรวจวดั อุณหภูมิอากาศและวิเคราะหก์ ารเปลยี่ นแปลงอุณหภูมิอากาศในรอบวัน
วสั ดุและอปุ กรณ์
รายการ ปริมาณ/กลมุ่
1. เทอร์มอมิเตอร์ 1 อัน
2. เทอร์มอมเิ ตอรร์ ปู ตัวยู 1 อัน
วิธกี ารทดลอง
1. ศกึ ษาข้อมูลและอภปิ รายวิธีการใช้เทอร์มอมิเตอรร์ ปู ตัวยู
2. วางแผนรว่ มกันท้งั ห้องเรียนเพอื่ เลอื กสถานทภ่ี ายในโรงเรียนไมใ่ หซ้ ้ำกันในการวดั อณุ หภมู อิ ากาศโดยการวดั
อุณหภูมิในเวลาเดยี วกนั และวดั อุณหภมู ติ ลอดทงั้ วัน ไม่น้อยกวา่ 5 ครัง้ ครอบคลุมทงั้ ชว่ งเชา้ สาย บา่ ย และ
เย็น เชน่ 8.30 น 10.30 น 12.30 น 16.30 น
3. วางแผนตรวจวดั อณุ หภูมิอากาศสูงสดุ และตำ่ สุดในแตล่ ะวัน ในรอบ 1 สัปดาห์
4. สงั เกตลักษณะทางกายภาพของสิง่ แวดลอ้ มในพื้นที่ทเี่ ลอื กวดั อุณหภูมอิ ากาศตามแผนที่วางไว้ บันทึกผล
5. นำข้อมูลทีต่ รวจวัดมาเขียนกราฟเส้นแสดงการเปล่ยี นแปลงอณุ หภมู ิอากาศในเวลาต่างๆ ของพ้นื ที่ทไ่ี ด้เลอื ก
ไว้ และกราฟอณุ หภมู ิอากาศสูงสุดและต่ำสดุ ในรอบ1 สปั ดาหแ์ ละนำเสนอ
ผลการทำกจิ กรรม
พนื้ ท่ี 1 ในเรือนเพาะชำ
สภาพแวดลอ้ มบริเวณทีต่ รวจวดั
พื้นทีท่ ี่ตรวจวัดอยู่ในเรือนเพาะชำ มตี นั ไม้มาก แสงแดดรำไร และมกี ารรดน้ำต้นไมเ้ กอื บตลอดเวลา
ตารางอุณหภมู ิอากาศในเรือนเพาะชำในเวลาตา่ งๆ
เวลา (นาฬกิ า) อณุ หภูมิอากาศ ( Cํ )
8.00
10.00
12.00
14.00
16.00
8
พ้ืนที่ 2 บรเิ วณกลางแจ้ง ภายนอกอาคารเรียน
สภาพแวดลอ้ มบรเิ วณที่ตรวจวดั
พ้นื ทที่ ี่ตรวจวดั เปน็ บริเวณกลางแจ้ง พืน้ ปนู ซีเมนตไ์ ด้รบั แสงตลอดเวลา
ตารางอณุ หภูมอิ ากาศบริเวณกลางแจ้งในเวลาต่างๆ
เวลา (นาฬกิ า) อณุ หภูมอิ ากาศ ( Cํ )
8.00
10.00
12.00
14.00
16.00
9
คำถามทา้ ยกิจกรรม
1. อณุ หภูมิอากาศในพ้ืนที่เดียวกัน ชว่ งเวลาทแ่ี ตกต่างกนั ในรอบวนั มกี ารเปลีย่ นแปลงอย่างไรเพราะเหตุใด
คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………….………………………………
………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………
2. อุณหภมู ิอากาศ ในแต่ละพ้ืนท่ี ในเวลาเดียวกนั แตกต่างกนั อย่างไร เพราะเหตุใด
คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………….………………………………
………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………
3. อุณหภมู อิ ากาศในแต่ละพื้นที่ ในรอบวนั มีแบบรปู การเปล่ยี นแปลงเหมอื นหรือแตกต่างกันอย่างไรเพราะเหตุ
ใด
คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………….………………………………
………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………
4. จากกราฟ อุณหภมู ิอากาศตามสถานที่ต่าง ๆ มีค่าสูงสุดในช่วงเวลาใด เพราะเหตุใด
คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………….………………………………
………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………
5. อุณหภมู ิอากาศตำ่ สดุ ของวนั ตามสถานที่ตา่ งๆ นา่ จะเกิดขึ้นในชว่ งเวลาใด เพราะเหตใุ ด
คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………….………………………………
………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………
6. อณุ หภูมอิ ากาศสูงสุด และตำ่ สดุ ในรอบ 1 สปั ดาห์มกี ารเปลีย่ นแปลงอย่างไร
คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………….………………………………
7. จากกจิ กรรม สรปุ ได้ว่าอยา่ งไร
คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………….………………………………
………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………
10
แหล่งพลังงานความร้อนท่ีสำคัญของโลก คือ ดวงอาทิตย์ ซึ่ง
ก่อให้เกิดกระบวนการต่างๆ มากมาย รวมถึงการเกิดฤดูกาลบนพื้นโลกด้วย
โลกเอียงทำมุม 23.5 องศา และโคจรรอบดวงอาทิตย์ตลอดเวลา โดยหันข้ัว
โลกเหนือและใต้เข้าหาดวงอาทิตย์สลับกันทำให้แต่ละพื้นท่ีบนผิวโลกรับ
พลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ได้ไม่เท่ากัน จึงเกิดฤดูกาลทำให้เกิดความ
แตกตา่ งของอณุ หภมู ิ ค่าที่บอกถึงระดับความร้อน-เย็นของอากาศหรือ
วัตถุ โดยใชเ้ ครือ่ งมอื ทเี่ รียกวา่ วา่ เทอรโ์ มมิเตอร์
ผลของรังสจี ากดวงอาทิตย์ต่อบรรยากาศ
โลกได้รับพลังงานจากรงั สีของดวงอาทิตยท์ ่ีแผม่ ายังโลกซึ่งรงั สีบางส่วนจะมกี าร
สะท้อนกลับ สู่อวกาศ บางส่วนจะถกู ดูดกล่นื โดยแก๊สตา่ ง ๆ ในบรรยากาศและสว่ นทเี่ หลือจะลงมาถงึ ผิวโลก
ภาพแสดงการดูดกลนื และสะท้อนรงั สจี ากดวงอาทิตยท์ ี่แผ่มายงั โลก
➢ อากาศทป่ี กคลุมโลกเราเปน็ ชน้ั ๆ เรยี กวา่ ชน้ั บรรยากาศ บรรยากาศแต่ละชน้ั มีส่วนประกอบและปรมิ าณ
ของแกส๊ แตกตา่ งกนั เนื่องจากอากาศเป็นสารซ่งึ มีมวล จึงถูกแรงโน้มถว่ งของโลกดึงดดู เช่นเดียวกับที่
กระทำต่อวตั ถอุ ่ืน ๆ นำ้ หนักของอากาศท่กี ดลงบนพืน้ โลกเน่อื งจากแรงดึงดูดของโลกในแนวตัง้ ฉากต่อ
หนึง่ หนว่ ยพนื้ ทเี่ รยี กว่า ความดนั อากาศ หรอื ความดันบรรยากาศ
เรื่องที่ 3 ความกดอากาศและลม
ภาพท่ี 4 วา่ วแบบตา่ งๆ
ทมี่ า หนังสือแบบเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 สสวท
11
วา่ วท่ีมนี ำ้ หนักมากสามารถลอยขนึ้
ไปในอากาศไดอ้ ยา่ งไร
วา่ วทีม่ นี ้ำหนกั มากสามารถลอยข้ึนไปในอากาศได้ อกี ทงั้ ลมยังสามารถพดั พาว่าวทีม่ นี ้ำน้ำหนักมากกวา่ อากาศ
ให้เคล่ือนท่ไี ปยงั ทศิ ทางต่างๆได้ เหตใุ ดจงึ เปน็ เช่นน้นั อากาศมีสมบัตอิ ย่างไร ปจั จยั ใดทท่ี ำให้อากาศมีสมบตั ิ
เชน่ นน้ั
ทบทวนความรู้ก่อนเรยี น 3
เขียนเครื่องหมาย หนา้ ขอ้ ทถ่ี กู ตอ้ ง
อากาศมีนำ้ หนัก ลมคืออากาศที่เคลื่อนท่ี
อากาศในทุกพื้นทีม่ คี วามหนาแนน่ เทา่ กัน อากาศในทกุ พน้ื ที่มีอณุ หภูมิเท่ากัน
ลมพดั จากบริเวณท่มี ีอุณหภมู ิสงู กวา่ ไปยงั ท่ที ี่มอี ุณหภมู ติ ่ำกวา่
กิจกรรมท่ี 3 อากาศมีแรงกระทำตอ่ วัตถุหรอื ไมอ่ ย่างไร
จดุ ประสงค์ : สังเกตและอธบิ ายแรงและทิศทางของแรงที่อากาศกระทำตอ่ วตั ถุ
วสั ดุและอปุ กรณ์
รายการ ปริมาณ/กลุม่
1. ถงุ พลาสตกิ ใส 1 ถงุ
2. ขวดโหลก้นลกึ 1 ขวด
3. ยางรดั 1 วง
วิธีการดำเนินกิจกรรม
1. ใสถ่ งุ พลาสติกลงในขวดโหล พับปากถุงสว่ นทเี่ ลยพน้ ปากขวดโหลลงมาดา้ นขา้ งขวด
2. ดึงถงุ พลาสตกิ ขนึ้ จากกน้ ขวดโหล สงั เกตวา่ ดงึ ออกงา่ ยหรอื ยาก บันทกึ ผล
3. รดี ถงุ พลาสติกให้แนบกับด้านขา้ งและก้นขวดโหลให้มากทส่ี ุด แลว้ ใชย้ างรดี ปากขวดโหลกับถงุ พลาสตกิ ให้
แน่น
12
4. คาดคะเนวา่ ถา้ ดงึ ถงุ พลาสตกิ ในขอ้ 3 ให้ขึ้นจากก้นขวดโหลจะดึงได้ง่ายหรอื ยากเม่ือเทยี บกบั การดงึ ในข้อ 2
บนั ทึกผลการคาดคะเน5. ดึงถุงพลาสติกขนึ้ จากก้นขวดโหลเมือ่ วางขวดแนบกบั พนื้ ผิว สังเกตวา่ ดึงงา่ ยหรอื
ยากบันทึกผล
6. จดั ขวดโหลให้อยู่ในลกั ษณะต่างๆดงั รปู สังเกตวา่ ดึงงา่ ยหรือยากบันทกึ ผล
ผลการทำกจิ กรรม
กิจกรรม ผลการทำกิจกรรม/การคาดคะเน
การดึงถุงพลาสตกิ ขนึ้ จากก้นขวดโดยไม่รีดถุงให้แนบ
สนิทกบั ด้านในของขวด
การคาดคะเนเม่อื รีดถุงพลาสติกให้แนบสนิทกบั ด้านใน
ของขวดแลว้ ดึงถงุ พลาสตกิ ขึน้ จากก้นขวด
การดงึ ถุงพลาสติกขน้ึ จากกน้ ขวดโหลโดยรดี ถุงให้แนบ
สนทิ กบั ดา้ นในของขวด
การดงึ ถุงพลาสติกขน้ึ จากกน้ ขวดโหลโดยรดี ถงุ ให้แนบ
สนิทกบั ด้านในของขวดและจัดขวดโหลใหอ้ ยใู่ น
ลักษณะต่าง ๆ
• เมื่อเอยี งขวดโหล
• เมอ่ื คว่ำขวดโหล
• เมื่อวางขวดโหลในแนวระดบั
คำถามทา้ ยกจิ กรรม
1. แรงท่ีใช้ในการดึงถุงพลาสติกขึ้นจากก้นขวดโหลก่อนและหลังการรีดถุงพลาสติกให้แนบไปกับขวดโหล มี
ความแตกต่างกันอยา่ งไร เพราะเหตใุ ด
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………
2. เมอื่ จัดขวดโหลใหอ้ ยู่ในลกั ษณะตา่ ง ๆ แรงทใี่ ช้ในการดงึ ถงุ พลาสตกิ ออกจากขวดโหลเหมือนหรือแตกตา่ ง
กนั อย่างไร
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
13
3. จากกจิ กรรม สรุปไดว้ ่าอย่างไร
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
การวัดความดนั ของอากาศ
การวัดความดนั ของอากาศ มนี กั วิทยาศาสตร์ได้ทำการศกึ ษาคน้ คว้าไว้จนสามารถสรา้ งเคร่อื งวัดความ
ดันของอากาศได้ นักวิทยาศาสตร์ท่ศี กึ ษาเรื่องความดนั ของอากาศท่ีควรรู้จกั มี 2 ท่านด้วยกนั คือ กาลิเลโอ
(Galileo) และเทอริเชลลี (Torricelli) โดยศึกษาพบว่า อากาศสามารถดนั ของเหลว เชน่ น้ำหรอื ปรอทให้เข้า
ไปอย่ใู นหลอดแก้วทีเ่ ป็นสุญญากาศได้ จงึ นำความร้ดู ังกล่าวมาประยุกต์ใช้สรา้ งเคร่อื งวดั ความดนั บรรยากาศที่
มีชอ่ื เรียกว่า บารอมิเตอร์ (barometer) บารอมิเตอร์จะใช้ปรอทบรรจุไวภ้ ายในหลอดแก้วเน่ืองจากมี
คุณสมบัติท่ีดีกวา่ ของเหลวอืน่ ๆ
เครอื่ งมือวดั ความดันอากาศ
เคร่อื งมือท่ีใชว้ ดั ความดันของอากาศเราเรียกวา่ บารอมิเตอร์ (barometer) เปน็ เครื่องมอื ทที่ ำให้ทราบ
ว่า ณ บริเวณหนึง่ บรเิ วณใดมคี วามกดของอากาศมากน้อยเทา่ ไร ซง่ึ เปน็ ประโยชน์ตอ่ การทำงานของ
อุตุนยิ มวทิ ยาชนิดของบารอมเิ ตอรม์ ีดงั ตอ่ ไปนี้
1. บารอมิเตอร์แบบปรอท (barometer) ประกอบด้วยหลอดแก้วยาวที่ปิดปลายด้านหนึ่งไว้ และทำให้เปน็
สญุ ญากาศ นำไปคว่ำลงในอา่ งท่ีบรรจปุ รอทไว้ อากาศภายนอกจะกดดนั ใหป้ รอทเขา้ ไปอยใู่ นหลอดแก้วใน
ระดบั หน่ึงของหลอดแก้ว ระดบั ของปรอทจะเปลี่ยนแปลงไปตามความกดดนั ของอากาศ โดยความดัน 1
บรรยากาศจะดนั ปรอทให้สงู ขึน้ ไปได้ 76 เซนติเมตร หรือ 760 มลิ ลเิ มตร
2. แอนนิรอยดบ์ ารอมเิ ตอร์ (aneriod barometer) ชนดิ ไมใ่ ช้ปรอทหรอื ของเหลวแบบอื่นๆ เปน็
บารอมิเตอรท์ ี่จะทำเป็นตลับโลหะแล้วนำเอาอากาศออก จนเหลือจะทำให้ตลบั โลหะมกี ารเคลอื่ นไหว ทำให้
เข็มท่ีติดไว้กับตัวตลบั ชี้บอกความกดดันของอากาศโดยทำสเกลบอกระดับความดันของอากาศไว้แอนนริ อยด์
บารอมเิ ตอรป์ ระดิษฐ์โดยวีดี (Vidi) ในปพี .ศ. 2388 มีขนาดเล็กพกพาไปไดส้ ะดวก
รูปแสดงแอนนริ อยด์ บารอมเิ ตอร์
14
3. บารอกราฟ (barograph) เปน็ เคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นการวดั ความดนั อากาศท่ีใช้หลักการเดยี วกบั แอนนริ อยด์
บารอมิเตอร์ แต่จะบันทกึ ความกดดนั อากาศแบบต่อเน่ืองลงบนกระดาษตลอดเวลาในลกั ษณะเปน็ เส้นกราฟ
รูปแสดงแอลตมิ เิ ตอร์ รูปแสดงบารอกราฟ
4. แอลติมิเตอร์ (altimeter) เป็นเคร่ืองวัดความสูงที่ใช้ในเครื่องบิน ใช้หลักการเดียวกับแอนิรอยด์
บารอมเิ ตอร์แตห่ น้าปัดบอกความสูงจากระดับน้ำทะเลแทนความดนั อากาศ
จงยกตัวอย่างของเลน่ หรอื เครือ่ งใช้ทใ่ี ช้สมบตั ิความดันอากาศ
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
- ทค่ี วามสูงระดับเดยี .ว..ก..ัน....ค...ว..า..ม......................................................................
ดนั อากาศทคี ่าเท่า กัน....ห..ล..กั...ก..า..ร.น...ี้...................................................................
ได้นำไปใชท้ ำเครื่องมอื ..ว..ัด..แ..น...ว...........................................................................
ระดบั ในการก่อสรา้ ง ......................................................................................
- เมื่อความสูงเพิ่มข้นึ ..ค...ว..า..ม..ด...ัน........................................................................
ของอากาศมคี ่าลดลง..ห...ล..ัก..ก..า..ร..น..ี้.....................................................................
นำไปใช้ทำเครอื่ งมือวดั..ค..ว..า..ม...ส..งู .........................................................................
เรยี กวา่ แอลตมิ ิเตอร์ ......................................................................................
......................................................................................
m1.ทm่รี ะหดรับอื น3้ำค0ทวะนาเมิ้วลสคมั วพานัม....ธด........์รนั........ะ....อ....ห....า....ว....ก........า่า........งศ....ค....ป........ว....ก....า....ต....ม....ิม....ด.......ีค.....นั ....่า....อ....เ....ท....า....า่....ก....ก....า....ั..บ..ศ........คก........วบั........า....ค....ม....ว....ด........า....ัน..ม......อ....ส....า....ูง....ก....จ....า....า....ศ....ก.......ท....ร.....ีส่..ะ......า...ด.....ม....บั ......า...น...ร........ำ้ถ........ทด..........ะัน.......เ...ป...ล.......ร..สอรทปุ ใไหด้ส้ดูงงั น7้ี6 cm หรือ 760
......................................................................................
...................................................................................... 15
......................................................................................
......................................................................................
2.เมือ่ ระดบั ความสูงเพม่ิ ขึ้น ความกดของอากาศจะลดลงทุกๆ ระยะความสงู 11 เมตรระดบั ปรอทจะลดลง 1
มิลลิเมตร
ตวั อยา่ งที่ 1 เมอื่ อยู่บนยอดเขาแหง่ หน่งึ วดั ความดันอากาศได้ 600 มิลลเิ มตรของปรอท ยากทราบว่ายอดเขา
แหง่ นอ้ี ยสู่ งู จากระดบั น้ำทะเลเท่าใด
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
......................................................................................
ตวั อยา่ งท่ี.2.....บ..อ..ล..ล..นู...ล..อ..ย..อ..ย..ู่ส..งู...5..,.5..0..0...เ.ม..ต..ร..จ..า..ก..ร..ะ..ด..ับ..น...ำ้ .ท...ะ..เ.ล...ค..ว..า..ม..ด..ันบรรยากาศขณะนัน้ จะมีค่าเท่าใด
......................................................................................
.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. 16
ปัจจัยท่ีมีผลต่อความกดอากาศ (Factors Affecting Barometric Pressure)
1. อณุ หภูมิของอากาศทม่ี สี งู ขึ้นจะขยายตัวและมีความดนั อากาศต่ำ
2. ยงิ่ สูงข้นึ ไป อากาศย่งิ บาง อุณหภูมิย่ิงต่ำ ความกดอากาศยงิ่ ลดนอ้ ยตามไปด้วย เพราะฉะนั้น ความกด
อากาศบนยอดเขา จงึ น้อยกว่าความกดอากาศที่เชงิ เขา
3. ความชน้ื อากาศชนื้ มไี อนำ้ มากจงึ เบากกว่าอากาศแหง้ ทมี่ ีปรมิ าตรเทา่ กนั เพราะโมเลกุลของน้ำเบากวา่
โมเลกลุ ของออกซเิ จนหรือไนโตรเจน ดงั นนั้ อากาศช้ืนจงึ มคี วามดันอากาศตำ่ กวา่ อากาศแห้ง
กิจกรรมท่ี 4 เหตใุ ดลมจึงเคล่อื นที่เร็วต่างกนั ปรมิ าณ/ห้อง
จุดประสงค์ : ทดลอง วเิ คราะหแ์ ละอธิบายปจั จัยท่มี ีผลตอ่ อตั ราเรว็ ลม 1 อัน
วัสดแุ ละอปุ กรณ์
ปริมาณ/ กลุ่ม
วัสดทุ ีใ่ ช้ตอ่ ห้อง 4 ใบ
รายการ อยา่ งละ 500 cm3
เทอร์มอมเิ ตอร์
6 แผ่น
วัสดุท่ีใชต้ ่อกล่มุ 1 อัน
4 ใบ
รายการ 1 กล่อง
1. ขวดพลาสตกิ ขนาด 1,500 cm3 1 มว้ น
2. น้ำเย็นจัดอณุ หภูมิประมาณ 10 Cํ น้ำอุณหภมู ิห้องและน้ำ 1 อัน
ร้อนจดั อณุ หภมู ปิ ระมาณ 70 cํ
3. แผน่ ใส
4. ธูป
5. ขนั พลาสตกิ
6. ไม้ขดี ไฟ
7 เทปใส
8. คัตเตอร์
วธิ กี ารดำเนนิ กจิ กรรม ตอนที่ 1
1. จดั อุปกรณด์ ังภาพ
แผ่นใส 1 แผน่ มว้ นเป็นท่อและ นำทอ่ แผ่นใสสอดเขา้ ไปในขวด นำชดุ อปุ กรณ์ไปวางไว้ในขัน
เจาะรูตรงกลาง ทำเคร่อื งหมายที่ พลาสตกิ 2 ใบ
ระยะ 10 cm จากรูตรงกลางทั้งสองด้าน
2. รนิ นำ้ อุณหภมู ิหอ้ งและนำ้ ร้อนจัดลงในขนั ใบท่ี 1 และ 2 ตามลำดับ จัดเปน็ ชดุ ทดลองที่ 1 โดยให้ระดบั นำ้ ใน
ขันสงู ประมาณ 5 cm ตง้ั ชดุ ทดลองไว้ 20 วนิ าที
3. จุดธปู และแหย่ก้านธูปเข้าไปในรูท่ีเจาะไวต้ รงกลางของทอ่ แผ่นใส เพื่อให้ควนั เข้าไปในทอ่
17
4. บันทึกเวลาท่ีควันธูปเคลอื่ นทจ่ี ากจุดกงึ่ กลางไปยงั เครื่องหมายท่ีระยะ 10 cm.
5. ทำซ้ำตอนท่ี 2-4 อีกคร้ังโดยเปล่ียนอุณหภูมิของน้ำในขันใบท่ี 1 และ 2 เป็นน้ำเย็นจัดและน้ำร้อนจัด
ตามลำดบั จัดเป็นชดุ ทดลองที่ 2 โดยก่อนการทดลองใหค้ าดคะเนวา่ ควันธปู จะเคล่ือนทเ่ี รว็ ข้ึนหรือชา้ ลง
ผลการทำกจิ กรรม เวลาทค่ี วนั ธูปเคลื่อนที่จากจุดกึง่ กลางไปยังระยะ 10 cm. (วนิ าที)
ชดุ ทดลอง
ชุดทดลองที่ 1
ชุดทดลองที่ 2
คำถามท้ายกจิ กรรม
1. อากาศในท่อใสมที ิศทางการเคล่ือนที่อย่างไร ทราบไดอ้ ย่างไร
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
2. ความดันอากาศในขวดใบใดมีค่าสูงกวา่ เพราะเหตุใด
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
3. การเคลอ่ื นทข่ี องอากาศในท่อใสมีความสัมพันธ์กบั ความดันอากาศอย่างไร
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
4. อตั ราเร็วลมในชุดทดลองใดมคี ่ามากกว่า เพราะเหตใุ ด
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
5. จากกิจกรรม สรุปไดว้ ่าอยา่ งไร
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
วิธีการดำเนนิ กิจกรรม ตอนที่ 2
ทำการทดลองเช่นเดยี วกบั ข้ันตอนที่ 5 ของตอนที่ 1 โดยเปลี่ยนทอ่ แผ่นใสเปน็ ใช้แผ่นใส 3 แผ่น มว้ นเปน็ ทอ่
เจาะรตู รงกลาง ทำเครอ่ื งหมายทร่ี ะยะ 10 cm. เชน่ เดิมจดั เปน็ ชุดทดลองท่ี 3 โดยก่อนการทดลองให้คาดคะเน
วา่ ควนั ธปู จะเคลอื่ นที่เร็วขึน้ หรอื ชา้ ลง เมอื่ เทยี บกบั ชดุ ทดลองที่ 2
18
ผลการทำกิจกรรม
คาดคะเนว่าควนั ธูปจะเคลอ่ื นทชี่ ้าลง เมือ่ เทียบกับชดุ ทดลองที่ 2
ชุดทดลอง เวลาท่คี วันธปู เคลือ่ นที่จากจุดกึ่งกลางไปยงั ระยะ 10 cm. (วนิ าท)ี
ชดุ ทดลองท่ี 2
ชดุ ทดลองท่ี 3
คำถามทา้ ยกิจกรรม
1. หากพจิ ารณาเฉพาะชุดทดลองที่ 2 และ 3 การทดลองนม้ี ตี ัวแปรตน้ ตัวแปรตาม และตวั แปรควบคุม คือ
อะไร
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
2. อัตราเร็วลมในชดุ ทดลองใดมีคา่ มากกว่า เพราะเหตใุ ด
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
3. จากกจิ กรรมสรปุ ได้วา่ อยา่ งไร
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
4. จากกิจกรรมท้งั 2 ตอนสรปุ ไดว้ า่ อย่างไร
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
➢ ลมและการเกดิ ลม
ลม (wind) คือ มวลอากาศที่เกิดการเคล่ือนที่ในทิศทางใดทิศทางหน่ึงตามแนวระดับ ในธรรมชาติลมจะเกิด
จากความแตกต่างของอุณหภมู ิและความกดอากาศของบริเวณตา่ ง ๆ
สาเหตกุ ารเกดิ ลม
1. ความแตกต่างของอณุ หภูมิ อากาศร้อนจะมีอุณหภมู ิสูง ความหนาแน่นอากาศจะนอ้ ย และ ลอยตัวสูงขึ้น
ส่วนอากาศเย็นจะมีอณุ หภมู ติ ่ำกว่า และมีความหนาแน่นอากาศมากกว่า จะเคล่ือนที่เข้ามาแทนท่ีทำใหเ้ กิดลม
2. ความแตกตา่ งของความกดอากาศ อากาศร้อนมีความกดอากาศต่ำ และมคี วามหนาแน่นต่ำ อากาศ
ร้อนจึงลอยสูงข้ึน ส่วนอากาศเย็นมีความกดอากาศสูงและมีความหนาแน่นมากกว่าจะ เคล่ือนที่เข้าหา
บรเิ วณท่ีมอี ากาศรอ้ น ลมจงึ พัดจากบริเวณทมี่ ีความกดอากาศสงู ไปสบู่ ริเวณที่มี ความกดอากาศต่ำกว่า
➢ ความกดอากาศแบง่ เป็น 2 ประเภท
ความกดอากาศสูง (H) หมายถึง บริเวณที่มีความกดอากาศสูงกว่าบริเวณข้างเคียง ทอ้ งฟ้าแจม่ ใสและอากาศ
หนาวเย็น
ความกดอากาศตำ่ (L) หมายถงึ บรเิ วณที่มคี วาม กดอากาศต่ำกว่าบริเวณขา้ งเคียง ท้องฟ้ามเี มฆมาก
19
➢ ความเร็วของลม
ลมส่วนใหญ่พัดในทิศทางเดยี ว เม่ือมีสิ่งกดี ขวางทิศทางของกระแสลม เช่น ต้นไม้ ภูเขาเตี้ยๆ อาคาร
บา้ นเรอื น หรอื ส่ิงก่อสร้างตา่ งๆ จะทำใหท้ ิศทางการเคล่อื นทีข่ องลมเปลีย่ นไปได้ โดยท่ัวไปเราจะบอก
ความเร็วของลมเป็นกิโลเมตรต่อช่ัวโมง (km/hr) เคร่ืองมือตรวจสอบทิศทางลมอย่างง่ายท่ีเรียกว่า ศรลม
และ เครอ่ื งมอื ใช้ในการตรวจสอบความเร็วของลมท่เี รียกวา่ มาตรวดั ความเร็วลม
ศรลม อะนโิ มมิเตอร์
ร่วม กนั คดิ 2
จงตอบคำถาม ตวั ติดผนงั ติดกับผนังดังภาพไดอ้ ย่างไร
1. ……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...
2. ทิศทางของแรงที่อากาศกระทำในล้อรถเป็นอยา่ งไร
……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...
3. ความดนั อากาศ ณ ระดบั ความสงู ต่าง ๆ จากผิวโลกมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. ความสมั พนั ธ์ระหว่างความดันอากาศกับความสงู จากพื้นโลกควรเป็นอย่างไร ให้สรา้ งแบบจำลองหรอื เขยี น
แผนภาพอธบิ ายความสมั พนั ธด์ งั กลา่ ว
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
20
5.นกั เรียนคดิ ว่าความดนั อากาศเกี่ยวขอ้ งอยา่ งไรกับ อาการหอู ้ือเมอื่ ขน้ึ ลิฟทไ์ ปยงั ชั้นสูง ๆ ของตกึ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
6.
ภาพชดุ ทดลองผลของอุณหภูมิตอ่ อากาศ
ความดันอากาศภายในลกู โปง่ ในภาพชดุ ทดลองผลของอุณหภูมติ ่ออากาศภาพใดมีค่าสูงกวา่ เพราะเหตใุ ด
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
7. ในระบบปิดและระบบเปิดอุณหภูมมิ ีผลต่อความดันเหมือนหรือแตกตา่ งกนั อยา่ งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
8.
ภาพบริเวณท่มี มี คี วามหนาแน่นของอนภุ าคอากาศ
จากภาพ ความดนั อากาศในบริเวณใดมีค่าสูงกวา่ เพราะเหตุใด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
9.
ภาพบอลลนู ลอยอยูใ่ นอากาศ
บอลลนู ลอยอยู่ในอากาศไดอ้ ย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
10. ปจั จัยใดบา้ งที่สง่ ผลตอ่ ความดนั อากาศ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
21
11 มขี อ้ แนะนำสำหรับนักปีนเขาว่าไม่ควรเปลยี่ นแปลงระดบั ความสูงเกิน 500 เมตร ต่อวัน เหตุใดจงึ เป็น
เชน่ นั้น.
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
12. บคุ คลกลุ่มใดบ้างได้รบั ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงความดันอากาศ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
13.
30 km/hr
5 km/hr 10 km/hr
จากภาพอตั ราเร็วลมในแตล่ ะบริเวณเป็นอย่างไร เพราะอะไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
14. มนุษย์มีวธิ ปี ้องกนั บ้านเรอื นและทรัพย์สนิ ไม่ใหไ้ ดร้ บั ความเสยี หายจากลมที่มอี ัตราเรว็ มากได้อย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
15. นกั เรยี นรู้จักอุปกรณ์แบบอื่นที่ใชใ้ นการตรวจวัดลมหรือไม่ อยา่ งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
16. ลมสง่ ผลตอ่ สภาพแวดลอ้ มและสง่ิ มีชวี ติ อย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
องคป์ ระกอบของลมฟา้ อากาศมคี วามสัมพันธ์กนั เช่น ความกดอากาศและลมมีความ สัมพนั ธก์ นั ความกด
อากาศมีความสมั พันธ์กบั อุณหภมู ิอากาศ ความกดอากาศ และลมเปน็ องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศซ่งึ สง่ ผล
ตอ่ สภาพอากาศ ของพนื้ ทนี่ ั้น ๆ เช่นความแตกต่างของความกดอากาศ ทำให้เกดิ ลมแรงและอาจเกิดเปน็ พายุ
ได้
กเรียนคิดวา่ มีปจั จัยใดบ้างที่สง่ ผลต่อความชน้ื และความช้นื มคี วามสำคญั อย่างไร ต่อสภาพลมฟา้
อากาศอย่างไร
22
เร่อื งที่ 4 ความชนื้
ภาพท่ี 5 ทะเลหมอก
ท่มี า หนงั สอื แบบเรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 สสวท
นักเรยี นเคยเห็นทะเลหมอกหรอื ไม่ ทะเลหมอก
เกิดข้ึนช่วงไหน และเกิดขนึ้ ไดอ้ ย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
ทบทวนความรู้ก่อนเรยี น 4
จงเขียนเครอ่ื งหมาย หน้าข้อความทถี่ ูกตอ้ ง
น้ำระเหยได้เมือ่ เดือดเทา่ นั้น
เมอื่ นำ้ ระเหยจะกลายเปน็ ไอนำ้ อย่ใู นอากาศ
เราสามารถมองเห็นไอน้ำเป็นควันสขี าวลอยอยู่ได้
เมฆ และฝนเป็นรูปแบบหนง่ึ ของหยาดนำ้ ฟา้
ไอน้ำในอากาศทำใหอ้ ากาศมีความช้ืน ค่าความช้ืนสัมบูรณ์แสดงปริมาณไอท่ีมีอยู่จรงิ ใน
อากาศโดยมีหน่วยเป็นกรัมตอ่ ลูกบาศก์เมตร ณ อุณหภูมิใดอณุ หภมู ิหนึ่ง อากาศสามารถรับไอนำ้ ได้ในปริมาณ
จำกัดโดยปริมาณไอน้ำอิ่มตัวหรือปริมาณไอน้ำสูงสุดที่อากาศรับได้ข้ึนอยู่กับอุณหภูมิอากาศ ค่าความชื้น
สัมพัทธ์แสดงความสามารถของอากาศในการรับปริมาณไอน้ำ ณ ขณะน้ันว่าอากาศมีปริมาณไอน้ำในอากาศ
เท่าไร เทียบกับความสามารถท่ีจะรบั ไดท้ งั้ หมด และจะสามารถรบั ได้อกี เทา่ ไรโดยแสดงค่าเปน็ เปอร์เซ็นต์
การบอกค่าความช้ืนของอากาศ สามารถบอกได้ 2 วธิ ี คอื
1. ความชนื้ สัมบูรณ์ (Absolute Humidity) คอื อัตราสว่ นระหวา่ งมวลของไอนำ้ ในอากาศกับปริมาตรของ
อากาศขณะนัน้
2. ความช้นื สมั พัทธ์ (Relative Humidity) คอื ปรมิ าณเปรยี บเทียบระหวา่ งมวลของไอนำ้ ที่มีอยู่จริงในอากาศ
ขณะนั้นกับมวลของไอน้ำอ่ิมตวั ทอ่ี ุณหภมู ิและปรมิ าตรเดยี วกนั มีหนว่ ยเป็นเปอร์เซ็นต์
23
สตู ร
ร่วม กนั คดิ 3
1.ในหอ้ งขนาด 250 ลูกบาศกเ์ มตร มีความช้ืนสัมบรู ณ์ 30 กรัมตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร ในหอ้ งนัน้ จะมมี วลของไอน้ำ
ในอากาศเท่าใด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
24
2. ณ อณุ หภมู ิ 40 องศาเซลเซยี ส อากาศท่ีมคี ่าความชื้นสัมพทั ธ์ 70 เปอรเ์ ซนต์ มีปรมิ าณไอน้ำจรงิ เทา่ ใด และ
จะสามารถรับไปนำ้ ไดอ้ กี เท่าใด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
กิจกรรมท่ี 5 ปจั จยั ทีม่ ีผลตอ่ ความชนื้ สมั พัทธ์มีอะไรบ้าง ปริมาณ/กลมุ่
จดุ ประสงค์ : วัดความชื้นสัมพทั ธ์และอธบิ ายปัจจัยที่มีผลต่อความชน้ื สัมพทั ธ์
วสั ดุและอุปกรณ์
รายการ
ไซครอมเิ ตอร์ 1 อัน
วิธีการดำเนินกิจกรรม
1. อ่านขอ้ มลู และอภปิ รายวิธีการใช้ไซครอมเิ ตอรเ์ พอ่ื วัดความช้นื สัมพทั ธ์ ในหัวขอ้ เกร็ดความรู้
2. วางแผนรว่ มกันท้ังห้องเรยี นเพอ่ื เลอื กสถานท่ีภายในโรงเรียนในการวดั ความชน้ื สมั พทั ธ์ และอณุ หภมู อิ ากาศ
ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ เลอื กสถานท่ไี มซ่ ำ้ กัน และกำหนดเวลาเดียวกนั ในการวัด โดยวดั ไม่นอ้ ยกว่า 5 คร้งั เชน่ เวลา
ก่อนเขา้ เรียน เวลาพัก และหลังเขา้ เรียน พรอ้ มท้ังออกแบบวธิ กี ารบนั ทึกผลที่สงั เกตได้
3. สังเกตลกั ษณะทางกายภาพของส่ิงแวดลอ้ มในพ้นื ที่ท่เี ลือกวดั อณุ หภูมิอากาศตามแผนท่วี างไว้ และบนั ทึกผล
4. นำข้อมลู ท่ตี รวจวัดมาเขียนกราฟเส้นแสดงการเปลย่ี นแปลงความชน้ื สมั พัทธ์ และอุณหภมู ิอากาศในเวลา
ต่างๆและนำเสนอ
ผลการทำกจิ กรรม
พน้ื ท่ี 1 ในเรอื นเพาะชำ
สภาพแวดลอ้ มบรเิ วณทต่ี รวจวดั
พื้นทท่ี ีต่ รวจวดั อยู่ในเรือนเพาะชำ มีต้นไม้มาก มีแสงแดดรำไร และมีการรดน้ำต้นไมเ้ กือบตลอดเวลา
ตารางอุณหภมู ิจากเทอร์มอมเิ ตอรก์ ระเปาะแหง้ กระเปาะเปียกและความชนื้ สมั พัทธบ์ ริเวณในเรอื นเพาะชำ
อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส) ความช้นื สมั พทั ธ์
เวลา เทอร์มอมิเตอร์ เทอร์มอมเิ ตอร์ เทอรม์ อมเิ ตอรก์ ระเปาะแห้ง
(นาฬิกา) กระเปาะแห้ง กระเปาะเปียก
เทอรม์ อมเิ ตอรก์ ระเปาะเปยี ก
(เปอรเ์ ซนต์)
8.00
10.00
12.00
14.00
16.00
25
พนื้ ท่ี 2 บริเวณกลางแจ้ง
สภาพแวดล้อมบรเิ วณท่ีตรวจวดั
พ้นื ท่ที ต่ี รวจวดั เป็นบรเิ วณกลางแจ้ง พื้นปูนซเี มนต์ ไดร้ ับแสงตลอดเวลา
ตารางอุณหภูมจิ ากเทอร์มอมเิ ตอรก์ ระเปาะแหง้ กระเปาะเปยี กและความชื้นสัมพัทธบ์ ริเวณกลางแจ้ง
ภายนอกอาคารเรียน
อุณหภูมิ (องศาเซลเซยี ส) ความช้นื สัมพทั ธ์
เทอรม์ อมเิ ตอรก์ ระเปาะแห้ง เทอร์
เวลา เทอรม์ อมเิ ตอร์ เทอร์มอมิเตอรก์ ระเปาะ
(นาฬิกา) กระเปาะแห้ง เปยี ก มอมิเตอร์กระเปาะเปยี ก
(เปอรเ์ ซนต์)
8.00
10.00
12.00
14.00
16.00
26
คำถามท้ายกิจกรรม
1. อุณหภูมิอากาศ และความชน้ื สมั พัทธใ์ นช่วงเวลาต่าง ๆ ในพื้นทเี่ ดียวกันเปลยี่ นแปลงไปอยา่ งไร(ตอบตาม
ข้อมูลจรงิ ที่ได้จากการตรวจวดั )
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. อุณหภูมิอากาศ และความช้ืนสัมพทั ธ์มคี วามสัมพนั ธก์ นั หรือไม่ อยา่ งไร เพราะเหตุใด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. อณุ หภมู อิ ากาศ และความชื้นสัมพทั ธม์ ีความสัมพนั ธ์กนั หรือไม่ อย่างไร เพราะเหตใุ ด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. ความชืน้ สัมพทั ธ์กับพื้นท่ตี รวจวัดมีความสมั พนั ธก์ นั หรอื ไม่ อย่างไร เพราะเหตุใด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
5. จากกจิ กรรมสรปุ ไดว้ า่ อยา่ งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
➢ ในสภาวะทอ่ี ากาศน่งิ ไม่คอ่ ยมีลมพัดปรมิ าณไอนำ้ ในอากาศในพนื้ ทีไ่ มเ่ ปลยี่ นแปลงมาก ความชน้ื สัมพัทธ์
จะขึ้นอย่กู ับอณุ หภมู อิ ากาศ เมื่ออุณหภมู อิ ากาศต่ำในชว่ งเชา้ ความชืน้ สมั พทั ธม์ ีค่าสงู และเมอื่ อณุ หภมู ิ
อากาศสูงในช่วงกลางวนั หรือบ่ายความชื้นสัมพัทธ์จะมีค่าต่ำ เนอ่ื งจากอุณหภูมิอากาศมีผลต่อปริมาณไอนำ้
อ่มิ ตวั
➢ ความชน้ื สัมพทั ธ์ ในสภาวะปกติมคี ่าสงู สดุ 100 เปอรเ์ ซนต์ แต่ในบางสภาวะอาจพบค่าความชนื้ สมั พทั ธ์สงู
กวา่ 100 เปอรเ์ ซนต์ เราเรียกสภาวะนัน้ ว่าสภาวะอากาศอ่ิมตวั ด้วยไอนำ้ ยง่ิ ยวด (supersaturated) ซง่ึ อาจ
เกิดได้จากการทอี่ ากาศไม่มีตัวกลางให้ไอน้ำเกาะตัวเพื่อ ควบแนน่
➢ อุปกรณ์ท่ใี ช้ในการตรวจวัดความชน้ื สัมพัทธ์ มีหลากหลาย เช่น ไซครอมิเตอร์ ไฮโกรมิเตอร์
เคร่อื งมอื วดั ความชน้ื สัมพทั ธ์ เรยี กว่า ไฮกรอมิเตอร์ ท่นี ิยมใช้มี 2 ชนิด คือ
1. ไฮกรอมเิ ตอร์แบบกระเปาะเปียก-กระเปาะแหง้ จะประกอบด้วยเทอรม์ อเตอร์ 2 อัน โดยอนั หนึ่งวัดณหภูมิ
ตามปกติ อกี อันหนง่ึ วัดอณุ หภูมใิ นลกั ษณะที่เอาผ้ามาหุ้มกระเปาะ โดยให้ผ้าเปียกนำ้ อยตู่ ลอดเวลาเพ่ือให้มกี าร
ระเหยของนำ้ จากผ้า ทำให้ไดอ้ ุณหภมู ิตำ่ กวา่ จากนนั้ นำเอาอุณหภมู ไิ ปใชห้ าคา่ ความช้นื สมั พทั ธ์
จากคา่ ความตา่ งของระดบั อุณหภมู ิของเทอรม์ อมิเตอร์ทงั้ สองโดยการอ่านค่าจากตารางสำเร็จรปู
27
วิธหี าคา่ ความชืน้ สมั พทั ธ์จากไฮกรอมิเตอรแ์ บบกระเปาะเปยี ก-กระเปาะแหง้ จากตารางแสดงคา่ ความชืน้ สัม
พทั ธเ์ ปน็ เป็นเปอรเ์ ซนต์
อา่ นอุณหภมู จิ าก อา่ นอุณหภูมจิ าก
กระเปาะแหง้ ได้ 27qc กระเปาะเปียกได้ 23qc
ไฮกรอมิเตอร์แบบกระเปาะเปยี ก-กระเปาะแหง้
2. ไฮกรอมิเตอรแ์ บบเส้นผม ทำจากสมบตั ิของเสน้ ผมท่ีข้นึ อยู่กบั ความชน้ื ถา้ มีความชืน้ มากเสน้ ผมจะยดื ตัว
ออกไป ถ้ามคี วามชื้นนอ้ ยเสน้ ผมจะหดตัว
ไฮกรอมิเตอร์แบบเสน้ ผม
28
ร่วม กนั คดิ 4
1.ถ้าค่าความชืน้ สมั พทั ธ์ร้อยละ 85 อุณหภูมิกระเปาะแหง้ เป็น 30 องศาเซลเซยี ส อณุ หภูมกิ ระเปาะเปยี กเป็น
เท่าใด
..............................................................................................................................................................................
2.ถา้ อากาศมีความช้นื สัมพทั ธ์ตำ่ น้ำจะระเหยได้มากข้ึนหรอื นอ้ ยลงเปน็ เพราะเหตุใด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. ถ้าอุณหภูมิจากเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะแห้ง และเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะเปยี กไมต่ ่างกัน ความช้ืนสัมพัทธ์
ในอากาศควรมคี ่าเทา่ ใด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4.หากปริมาณไอนำ้ จรงิ ในอากาศมคี า่ คงท่ี เมอื่ อุณหภูมลิ ดลง ความช้นื สัมพัทธจ์ ะมีคา่ เพมิ่ ข้นึ หรือลดลง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
5.เหตใุ ดบริเวณท่ีอยู่ใกล้แหลง่ น้ำจงึ มีความช้นื สมั พทั ธส์ ูงกวา่ บรเิ วณที่อยูไ่ กลแหล่งนำ้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
6. พ้ืนท่สี องบริเวณมคี วามช้ืนสัมพัทธ์เท่ากนั จะสามารถสรุปไดห้ รือไม่ว่าอากาศทั้งสองบริเวณมคี วามชน้ื
เทา่ กัน เพราะเหตุใด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
7. เหตุใดทะเลหมอกจึงมักพบในชว่ งเชา้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
8. เหตใุ ดผา้ ทต่ี ากไว้ในบางวนั จงึ แหง้ ชา้ กวา่ ปกติ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
29
9.เหตใุ ดจงึ พบหยดน้ำเกาะบรเิ วณขา้ งแก้วน้ำเยน็
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
10. เหตุใดความชื้นสัมพัทธ์เฉลีย่ ในฤดรู อ้ น จงึ ตำ่ กวา่ ฤดูหนาว
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
เรือ่ งที่ 5 เมฆและฝน
ภาพที่ 6 ข้อมลู ดาวเทยี ม Himawari ประเทศญ่ปี ่นุ
ท่มี า หนงั สือแบบเรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 สสวท
ภาพนำเรอ่ื ง คอื ภาพถา่ ยผา่ นดาวเทียมเหนือน่านฟ้า
ประเทศไทย โดยแสดงปรมิ าณเมฆที่ปกคลมุ
30
ทบทวนความรู้ก่อนเรยี น 5
จงเขียนเครือ่ งหมาย หน้าข้อความทีถ่ กู ต้อง
1. ขอ้ ใดบ้างตอ่ ไปนที้ จ่ี ดั เปน็ หยาดนำ้ ฟา้
น้ำคา้ ง น้ำคา้ งแข็ง ฝน หมอก
เมฆ หมิ ะ ลูกเหบ็
2. ขอ้ ความต่อไปนีข้ ้อใดถูกต้องบา้ ง
เมฆเป็นไอน้ำ การควบแนน่ ของเมฆทำใหเ้ กดิ ฝน
เมฆเป็นกลมุ่ ของละอองนำ้ ละอองน้ำทร่ี วมตวั กนั จนมนี ้ำหนกั มากทำใหเ้ กิดฝน
กิจกรรมท่ี 6 เมฆทเ่ี ห็นเปน็ อยา่ งไร
จดุ ประสงค์ :
1. สังเกต อธิบายลักษณะ และจำแนกประเภทของเมฆ
2. ตรวจวัดปริมาณเมฆปกคลุมบนท้องฟ้า
วัสดุและอุปกรณ์
แผนภาพเมฆ
วิธีการดำเนินกจิ กรรม
1. รว่ มกันอภปิ รายเกี่ยวกบั วิธสี ังเกตเมฆในท้องฟา้ ข้อมูลท่คี วรจะไดจ้ ากการสังเกตเมฆ
2. สงั เกตวาดภาพเมฆ จำแนกเมฆทพ่ี บตามเกณฑ์ของตนเอง บอกปริมาณเมฆในทอ้ งฟา้ ตามวิธกี ารท่ไี ด้
อภิปรายรว่ มกันจากข้อ 1 และนำเสนอ
3. ศกึ ษาวธิ ีการสงั เกตเมฆ แผนภาพเมฆ อภปิ รายเก่ียวกบั วิธกี ารสังเกตลักษณะและปริมาณเมฆปกคลมุ ตาม
วิธีการในเกล็ดนา่ รู้ รวมท้ังวางแผนการสงั เกตลักษณะของเมฆและปรมิ าณเมฆปกคลุมทอ้ งฟ้าในเวลาเข้า
กลางวัน และเย็น
4. สังเกตเมฆอีกครง้ั หนึ่งตามวธิ ีการจากขอ้ 3 และบนั ทกึ ข้อมลู โดยการวาดภาพหรอื ถา่ ยภาพ และบรรยาย
ลักษณะเมฆที่พบ รวมทั้งปริมาณเมฆปกคลุม
5. ระบุซ่อื เมฆท่ีพบโดยใช้แผนภาพเมฆ
ผลการทำกิจกรรม
เชา้ พบเมฆลกั ษณะ…………………………………………………………………………………………………………………….
อยใู่ นทอ้ งฟา้ ประมาณ ………………………………………………………………………………………………………………….
31
กลางวนั พบเมฆลกั ษณะ…………………………………………………………………………………………………………………
อยู่ในทอ้ งฟ้าประมาณ ……………………………………………………………………………………………………………………
เย็น พบเมฆลักษณะ………………………………………………………………………………………………………………………
อยู่ในทอ้ งฟา้ ประมาณ …………………………………………………………………………………………………………………..
คำถามทา้ ยกิจกรรม
1. จากการสังเกตเมฆครั้งแรก เมฆทพ่ี บมลี ักษณะเป็นอย่างไรบา้ ง สามารถจำแนกเมฆท่ีพบตามเกณฑ์ของ
ตนเองไดเ้ ปน็ กี่ประเภท อยา่ งไรบ้าง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. เมื่อศกึ ษาวิธีการสังเกตเมฆ และแผนภาพเมฆ และออกไปสังเกตเมฆอกี คร้ังหนึ่ง ไดข้ อ้ มลู เพ่มิ เติมจากการ
สงั เกตดว้ ยวธิ ีการของตนเองหรอื ไม่ อย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. เมฆท่พี บในแต่ละชว่ งเวลา เช้า กลางวัน และเย็น มลี กั ษณะและปริมาณแตกตา่ ง กนั หรือไม่ อย่างไร
และพบเมฆชนดิ ใดมากท่ีสดุ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. จากกจิ กรรมสรุปไดว้ ่าอยา่ งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
32
เมฆและฝน
นำ้ ในธรรมชาติทำให้เกดิ ปรากฏการณธ์ รรมชาติบางอยา่ ง เช่น เมฆ หมอก ฝน น้ำค้าง ลูกเหบ็ และหิมะ
เมฆ (cloud) เมฆเกดิ จากการรวมตัวของไอน้ำในอากาศเกาะกล่มุ จับตวั กันเปน็ ละอองน้ำลอยอยใู่ นระดบั สงู
เมฆในแตล่ ะวนั จะมีปรมิ าณไมเ่ ท่ากันขึ้นกบั สภาพบรรยากาศในแต่ละวนั
ตาราง ลักษณะของเมฆชนดิ ตา่ ง ๆ
ช่อื เมฆ ลกั ษณะของเมฆ
สเตรโตควิ มูลสั สเี ทามีลกั ษณะออ่ นน่มุ และนนู ออกเปน็ สัน เมื่อรวมกันจะเป็นคลน่ื สว่ นมากไมม่ ฝี น
นมิ โบสเตรตัส
สเี ทาดำ ไม่เป็นรูปรา่ ง ฐานต่ำใกล้พ้ืนดนิ ไมเ่ ป็นระเบียบ คล้ายผ้าขีร้ ว้ิ
ควิ มลู สั
ควิ มโู ลนิมบัส หนา ก่อตวั ในทางตั้ง ไม่เห็นแสงอาทิตย์หรือแสงจันทร์
เป็นเมฆหนา มฟี ้าแลบฟ้ารอ้ ง ทบึ มืด มรี ปู ท่งั
เซอร์รัส บาง ๆ ละเอียดสขี าวและฝอยหรือปุยคลา้ ยขนนก อาจมวี งแสง โปร่งแสง
เซอรโ์ รสเตรตัส บาง ๆ โปรง่ แสงเหมอื นม่าน มสี ีขาวหรอื นำ้ เงนิ จาง อาจมีวงแสงได้
เซอรโ์ รควิ มูลสั บางๆ สขี าวเปน็ ก้อนเลก็ ๆ เหมอื นคลนื่ และเกล็ด โปรง่ และมองเหน็ ดวงอาทติ ย์
หรือดวงจันทร์ได้
อลั โตควิ มลู ัส สขี าว บางครั้งสเี ทา มีลกั ษณะเปน็ ก้อนกลมใหญ่และแบน มีการจดั ตวั กันเปน็ แถว
ๆ หรือคล่นื อาจมีแสงทรงกลม
อลั โตสเตรตสั ม่านสีเทาและสีฟา้ แผเ่ ปน็ บริเวณกวา้ ง มองดูเรยี บเปน็ ปุยหรือฝอยละเอยี ด อาจมี
แสงทรงกลด
สเตรตัส เหมือนหมอกแต่อยสู่ งู จากพื้นดินเปน็ ช้นั และแผน่ มสี ีเทา มองไม่เหน็ ดวงอาทิตย์
หรอื ดวงจนั ทร์
33
ตารางการแปลผลปรมิ าณเมฆปกคลมุ จากคา่ ประมาณปรมิ าณเมฆปกคลมุ ท่ีตรวจวดั
ปริมาณเมฆปกคลมุ ค่าประมาณปรมิ าณเมฆปกคลุมของพืน้ ทท่ี ั้งหมด
ไม่มีเมฆ ทอ้ งฟ้าไมม่ เี มฆปกคลมุ หรอื ไมส่ ามารถมองเหน็ เมฆ
(No clouds) ได้
ท้องฟา้ แจม่ ใส (Clear clouds) ปริมาณเมฆปกคลมุ ทอ้ งฟ้านอ้ ยกว่า 10%
เมฆบางสว่ น (Isolated clouds) ปรมิ าณเมฆปกคลมุ ทอ้ งฟ้า 10% - 25%
เมฆกระจดั กระจาย ปริมาณเมฆปกคลมุ ท้องฟ้า 25% - 50%
(Scattered clouds)
เมฆเป็นหย่อมๆ (Broken clouds) ปรมิ าณเมฆปกคลุมท้องฟ้า 50% - 90%
เมฆครึม้ (Overcast clouds) เมฆปกคลมุ ท้องฟา้ มากกวา่ 90%
ฝน (rain) เปน็ หยาดน้ำฟา้ ชนดิ หนงึ่ ท่ี
อยู่ในสถานะของเหลว เกดิ จากหยด
น้ำทรี่ วมกันเปน็ เมฆมขี นาดใหญข่ ึ้น
เร่ือยๆ จนอากาศอมุ้ ไวไ้ ม่ได้จงึ ตกลง
มาเปน็ ฝนฝนแบง่ ออกเปน็ ฝน ละออง
ฝน ฝนซู่ พายุฝนฟ้าคะนอง ลูกเหบ็
การวัดปริมาณน้ำฝนจะใช้เคร่อื งมอื วัดปรมิ าณฝนทเ่ี รยี กว่า rain gauge ซ่งึ ประกอบด้วยกระบอก
ด้านนอกทำด้วยโลหะ กระบอกดา้ นในทำด้วยแกว้ หรือโลหะสำหรบั เก็บนำ้ ฝน ดา้ นบนมีกรวยสำรองรบั นำ้ ฝน
ให้ไหลลงถว้ ยหรือขวดแก้วด้านล่าง ควรวางเครอ่ื งมือวดั ปริมาณน้ำฝนไวใ้ นทโ่ี ล่งหา่ งจากอาคารและต้นไม้ และ
ตงั้ ใหส้ งู จากพ้ืนดนิ ประมาณครึง่ เมตร
34
เกณฑป์ ริมาณฝนรายวนั ปริมาณฝนทต่ี รวจวดั ได้
ปริมาณฝน 0.1 มิลลเิ มตร ถึง 10.0 มลิ ลเิ มตร
10.1 มิลลิเมตร ถงึ 35.0 มิลลเิ มตร
ฝนเล็กนอ้ ย (Light Rain) 35.1 มิลลเิ มตร ถงึ 90.0 มลิ ลิเมตร
ฝนปานกลาง (Moderate Rain) 90.1 มลิ ลเิ มตร ข้ึนไป
ฝนหนัก (Heavy Rain)
ฝนหนักมาก (Very Heavy Rain)
เกณฑป์ ริมาณฝนเพอ่ื เตอื นภยั
เกณฑก์ ารเตือนภยั ดนิ ถลม่ และน้ำปา่ ไหลหลากในพนื้ ทเี่ ส่ียงภยั สามารถใช้ปริมาณฝนเปน็ เกณฑ์หน่ึงใน
การเตอื นภยั หากปรมิ าณฝนตกเกินกว่า 100 มลิ ลิเมตรตอ่ วนั จะถือว่าอย่ใู นระดับเสีย่ งภยั ต่อการเกิดดนิ ถล่มและ
นำ้ ป่าไหลหลาก
ทมี่ า : กลุ่มวางแผนการจัดการท่ีดนิ ในพ้นื ทีเ่ สยี่ งภัยทางการเกษตร , กรมพัฒนาท่ีดิน
ขนาดละอองน้ำและหยดนำ้
ละอองน้ำในเมฆมขี นาดเส้นผ่านศนู ย์กลางประมาณ 20 ไมโครเมตร หยดนำ้ ฝนมีเส้นผา่ นศูนย์กลาง
ประมาณ 2,000 ไมโครเมตร
ร่วม กนั คดิ 5
1.เหตใุ ดเมฆทีอ่ ยู่ระดบั สูงจึงประกอบไปดว้ ยผลึกนำ้ แขง็ เกือบท้ังหมด
..............................................................................................................................................................................
2.ในวนั ทป่ี รมิ าณไอนำ้ ในอากาศสูง เมฆท่พี บน่าจะมีลักษณะอย่างไร
..............................................................................................................................................................................
3. ในวันทมี่ ีลมแรง ปริมาณเมฆปกคลมุ นา่ จะเปน็ อย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4.เหตใุ ดจงึ บอกปริมาณฝนโดยใช้หน่วยวดั ความยาว เช่น มิลลเิ มตร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
35
5. จากภาพ ปริมาณฝนเฉลีย่ รายเดอื นของประเทศไทยมคี า่ มากที่สดุ และนอ้ ยทสี่ ดุ มีค่าเทา่ ใดและตรงกับเดอื น
อะไร เหตใุ ดจงึ เปน็ เช่นน้ัน
ภาพ ปรมิ าณฝนเฉล่ียรายเดือนของประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2524 -2553
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
6. จากภาพ ปรมิ าณฝนเฉลี่ยมากที่สดุ และนอ้ ยท่สี ุดในรอบปเี กิดในภาคใด เหตุใดจงึ เป็นเชน่ นัน้
ภาพ ปริมาณฝนเฉลี่ยรายภูมภิ าคของประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2524 -2553
ทีม่ า : กรมอตุ นุ ยิ มวิทยา, 2560
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
7.ปจั จยั ใดบ้างทีม่ ผี ลตอ่ ปริมาณฝน
..............................................................................................................................................................................
36
8. พ้นื ท่ที ่ีนักเรียนอาศยั อยู่มีปริมาณฝนมากท่ีสุดในช่วงเดอื นใด เหตใุ ดจึงเปน็ เชน่ นน้ั
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ปริมาณน้ำฝนเฉล่ียนอ้ ยท่ีสุดในรอบปี คอื ภาคเหนือ เพราะเป็นพ้ืนที่อยู่หา่ งทะเล ทำให้มีความชน้ื ใน
อากาศต่ำและเกิดเมฆฝนได้ยาก รวมท้ังได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้น้อย จึงทำให้เกิดฝนน้อยกว่า
ภาคอ่ืน ๆ ถึงแม้ภาคเหนือจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมะวันออกเฉียงเหนอื แต่มรสมุ ดังกล่าวเป็นมรสุมท่ีพัดพามา
จากพ้นื ทวปี จงึ ไมไ่ ดน้ ำความชืน้ มาดว้ ย
เรอ่ื งที่ 6 การพยากรณ์อากาศ
ภาพท่ี 7 ภาพระบบเกบ็ ข้อมูลลมฟ้าอากาศ
ท่มี า หนงั สอื แบบเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 สสวท
ภาพนำเร่ือง คือ ภาพกราฟฟกิ แสดงระบบเก็บ
ขอ้ มลู ลมฟ้าอากาศ ครอบคลมุ ทุกแหลง่ เชน่ การเกบ็
ข้อมลู ภาคพ้ืนดนิ ภาคอากาศ และภาคพ้ืนนำ้
37
ทบทวนความรู้ก่อนเรยี น 6
เขยี นเครอื่ งหมาย หนา้ ขอ้ ความทเี่ ปน็ องคป์ ระกอบของลมฟ้าอากาศ
อุณหภูมอิ ากาศ ความกดอากาศ ความช้นื ปรมิ าณฝุน่
กจิ กรรมท่ี 7 การพยากรณ์อากาศทำไดอ้ ย่างไร
จุดประสงค์ :
รวบรวมขอ้ มลู และวเิ คราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของลมฟา้ อากาศเพอ่ื พยากรณอ์ ากาศอยา่ งงา่ ย
วสั ดุและอุปกรณ์
ข้อมูลองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ 7 วัน
วธิ กี ารดำเนินกจิ กรรม
1. รวบรวมข้อมูลองค์ประกอบลมฟ้าอากาศย้อนหลังเป็นเวลา 6 วัน จากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น เว็บไซต์กรม
อตุ ุนยิ มวิทยา และเว็บไซตอ์ ่ืนๆ
2. นำขอ้ มลู ท่ีรวบรวมได้ต้ังแตว่ นั ท่ี 1-6 มาจัดกระทำในรูปแบบตา่ งๆเชน่ กราฟเส้น แผนภูมิแท่ง ตาราง
และรูปแบบอน่ื ๆ ตามความเหมาะสมโดยอาจใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรูปต่างๆ
3. วิเคราะหแ์ นวโนม้ การเปล่ียนแปลงความสัมพันธ์ขององคป์ ระกอบลมฟา้ อากาศจากข้อมูลทไี่ ดจ้ ัดกระทำ เพื่อ
สร้างคำพยากรณอ์ ากาศในวันถัดไป โดยพยากรณอ์ ุณหภูมิอากาศต่ำสุด อุณหภูมิอากาศสูงสุด และปริมาณฝน
จากนัน้ นำเสนอการพยากรณอ์ ากาศต่อชนั้ เรยี น
4. ตรวจสอบความถูกต้องของคำพยากรณ์กับสิ่งท่ีเกิดขึ้นจริงในวันท่ี 7 โดยเปรียบเทียบพยากรณ์อากาศ
อุณหภูมิอากาศต่ำสุด อุณหภูมิอากาศสูงสุด และปริมาณฝนกับข้อมูลลมฟ้าอากาศท่ีสืบค้นเพ่ิมเติมจาก
แหล่งขอ้ มูลเดียวกันจากนั้นอภิปรายร่วมกันในชั้นเรยี นเก่ียวกับปจั จยั ท่ีส่งผลต่อความแม่นยำของการพยากรณ์
อากาศ
ผลการทำกิจกรรม
ตัวอยา่ งที่ 1
ข้อมลู อุณหภูมิต่ำสุด อณุ หภมู ิสงู สุด ปริมาณฝน และความเรว็ ลม ระหวา่ งวนั ที่ 21 - 26 ก.พ. 2560 ในพืน้ ที่
หนึ่งแสดงดังตาราง
การวเิ คราะห์
คาดวา่ ในวันท่ี 27 ก.พ. 2560 อุณหภูมิอากาศต่ำสุดจะลดลงเปน็ 24.0 องศาเซลเซยี สอณุ หภมู ิอากาศ
สงู สุดเป็น 30.0 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ำฝนจะเพม่ิ มากขนึ้ เปน็ 3 มลิ ลเิ มตร
ขอ้ มลู จริง ขอ้ มูลอณุ หภมู ิตำ่ สุด อณุ หภูมสิ ูงสุด ปรมิ าณฝน และความเรว็ ลม ในวนั ท่ี 27 ก.พ. 2560 แสดงดงั
ตาราง
38
วันท่ี อุณหภมู ติ ่ำสุด อุณหภมู ิสงู สุด ปริมาณน้ำฝน ความเร็วลม
(ºC) (ºC) (mm.) (km/hr)
21/2/2560 23.5 31.8 0
22/2/2560 23.2 31.5 0 22.2
23/2/2560 24.2 31.7 0 24.1
24/2/2560 24.0 32.1 0 24.1
25/2/2560 23.8 31.6 0.8 22.2
26/2/2560 25.0 31.5 2.5 24.1
27/2/2560 24.4 30.8 3.1 37.1
44.5
ข้อมูลสภาพลมฟา้ อากาศที่สืบคน้ ได้ ในพืน้ ที่หน่งึ ระหว่างวนั ที่ 23 ก.พ.- 1 ม.ี ค. 2560 แสดงดงั ตาราง
อุณหภูมิอากาศ (˚C) ลมสงู สุด ปรมิ าณ
ฝน
วันเดือนปี สงู สดุ ตำ่ สดุ ทศิ ทาง ความเร็ว mm. หมายเหตุ
(มุมทิศ) (km/hr) 0 ท้องฟา้ มเี มฆเล็กนอ้ ย-ส่วนมาก
0 ทอ้ งฟ้ามเี มฆบางสว่ น
1/3/60 26.6 36.5 120 7.4 0 ท้องฟา้ มีเมฆบางสว่ น
0
28/2/60 26.2 35.8 90 20.4 0 ท้องฟ้ามีเมฆเลก็ นอ้ ย-สว่ นมาก
0 ทอ้ งฟา้ มเี มฆเล็กน้อย-ส่วนมาก
27/2/60 27.0 35.0 120 7.4 0 ท้องฟา้ มีเมฆเล็กน้อย-ส่วนมาก
ทอ้ งฟา้ มเี มฆเลก็ น้อย-ปานกลาง
26/2/60 26.8 34.3 240 7.4
25/2/60 27.3 34.8 120 13.0
24/2/60 27.2 35.0 150 9.3
23/2/60 27.0 35.8 140 9.3
นำขอ้ มูลมาจัดกระทำ
39
การวเิ คราะหข์ ้อมูล อณุ หภูมติ ำ่ สุด ยอ้ นหลงั 6 วนั พบว่าอุณหภูมิมแี นวโน้มเปลีย่ นแปลงลดต่ำลงกอ่ นท่ี
จะเพมิ่ ข้นึ ข้อมลู อณุ หภมู ิสูงสุด ย้อนหลงั 6 วัน พบว่าอณุ หภมู มิ แี นวโนม้ เปล่ียนแปลงลดต่ำลงกอ่ นทจ่ี ะเพิ่มข้ึน
ขอ้ มลู ปรมิ าณนำ้ ฝนพบวา่ ตลอดชว่ ง 6 วันท่ีผ่านมาไม่มีการเกิดฝนตก ขอ้ มูลความเรว็ ลมพบว่าลมมีความเร็ว
เพ่มิ ขนึ้ สงู กอ่ นลดลง ดงั น้นั ในวนั ที่ 2 มีนาคม คาดว่าอุณหภมู ิอากาศต่ำและสงู สุดของวันจะมคี า่ เพิ่มขนึ้ เป็น 27
และ 37 องศาเซลเซียสตามลำดับ และจะไมม่ ฝี นตกในวนั นั้น
ขอ้ มูลจรงิ สภาพอากาศพ้ืนทเี่ ดยี วกนั ของวนั ที่ 2 มี.ค. 2560
เพ่ือให้มขี ้อมลู เพียงพอทีจ่ ะดแู นวโน้มของสภาพอากาศ โดยที่ลกั ษณะอากาศยังไมม่ ีการเปลีย่ นแปลงไปมากนักจึง
ใชข้ ้อมลู ประมาน 6 วัน
คำถามทา้ ยกิจกรรม
1. กิจกรรมน้มี ีขัน้ ตอนในการพยากรณ์อากาศอยา่ งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. จากกจิ กรรมน้ี เหตใุ ดจึงตอ้ งเกบ็ รวบรวมข้อมลู องค์ประกอบของลมฟา้ อากาศ 6 วัน เพ่อื ใช้ในการพยากรณ์
อากาศ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. คำพยากรณ์ อุณหภูมิสงู สุด อณุ หภูมิตำ่ สดุ และปรมิ าณฝน ตรงกับขอ้ เท็จจริงทีเ่ กดิ ขนึ้ ในวันพยากรณห์ รอื ไม่
อย่างไร
..............................................................................................................................................................................
4. จากกิจกรรมสรปุ ไดว้ ่าอย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
➢การพยากรณ์อากาศ หมายถึง การคาดหมายสภาวะของลมฟ้าอากาศรวมท้ังปรากฏการณ์ธรรมชาติท่ีจะ
เกิดขึ้นล่วงหน้า โดยใช้สภาวะอากาศ ปัจจุบันเปน็ ข้อมูลเรม่ิ ต้นหน่วยงานของประเทศไทยที่ทำหน้าท่ีในการตรวจ
สภาพอากาศและปรากฏการณ์ธรรมชาติเพื่อการพยากรณ์อากาศและเตือนภัยท่ีเกิดจากธรรมชาติ คือ กรม
อตุ ุนิยมวิทยา
ข้นั ตอนการพยากรณอ์ ากาศ มีดังน้ี
1. ตรวจสภาพอากาศ โดยสถานตี รวจอากาศบนบกหรือทะเล จะตรวจวัดอณุ หภมู ิของอากาศ ความช้นื ความกด
อากาศ ลม เมฆ หยาดน้ำฟ้า ทัศนวิสัย บอลลนู ตรวจสภาพอากาศจะนำเครอ่ื งมอื ทจ่ี ะทำการวดั อุณหภูมิ ความกด
อากาศ และความชนื้ ไปสู่ชั้นโทรโพสเฟียรแ์ ละสตราโตสเฟยี ร์ ดาวเทยี มตรวจสภาพอากาศจะอยใู่ นช้ันเอกโซส
เฟียร์ และสามารถถา่ ยภาพพ้ืนผวิ โลก เมฆ และพายุ สง่ ขอ้ มูลมายงั สถานีรวบรวมข้อมลู ได้
2. ส่ือสารขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการตรวจสภาพอากาศจากสถานตี ่างๆ ไปยังศนู ย์พยากรณ์อากาศ
3. เขียนแผนที่อากาศ วิเคราะห์ข้อมูล และพยากรณ์อากาศ โดยใช้ระบบคอมพิวเตอรช์ ่วยในการคำนวณแล้วส่ง
ข้อมูลการพยากรณอ์ ากาศไปยังหนว่ ยงานส่อื สารมวลชน
40
การอ่านแผนทอ่ี ากาศ
แผนทอ่ี ากาศ คือ แผนที่ที่แสดงองค์ประกอบทางอตุ นุ ิยมวทิ ยา ณ เวลาใดเวลาหน่ึง ข้อมูลต่างๆ ใน
แผนที่อากาศไดร้ บั มาจากสถานตี รวจอากาศ แลว้ นำข้อมลู มาเขียนเปน็ ตวั เลข รหัส และสัญลักษณ์ต่างๆ ทาง
อุตุนิยมวิทยา ข้อมลู ทอ่ี ย่ใู นแผนท่อี ากาศจะนำไปใชใ้ นการคาดหมายการเปล่ยี นแปลงลักษณะอากาศท่ีจะเกดิ
ขนึ้
ตวั อย่างสญั ลกั ษณท์ างอตุ นุ ิยมวทิ ยาบนแผนที่อากาศ มดี งั นี้
1. เสน้ โคง้ ทเี่ ชอ่ื มต่อระหวา่ งบรเิ วณทีม่ คี วามกดอากาศเท่ากนั เรยี กวา่ เสน้ ไอโซบาร์ (Isobar)
ตวั เลขบนเสน้ ไอโซบารแ์ สดงค่าความกดอากาศที่อา่ นได้ ซึง่ อาจอยใู่ นหน่วยมิลลิบาร์ หรือนิว้ ของปรอท
2. เสน้ โคง้ ที่เชือ่ มต่อระหวา่ งบรเิ วณทมี่ อี ณุ หภมู ขิ องอากาศเท่ากนั เรยี กว่า เสน้ ไอโซเทอรม์
(Isotherm) คา่ อณุ หภมู อิ าจบอกในหน่วยองศาเซลเซียส หรือองศาฟาเรนไฮต์ หรอื ทงั้ สองหนว่ ย
3. อกั ษร H คือ ศนู ยก์ ลางของบรเิ วณทม่ี คี วามกดอากาศสงู
4. อกั ษร L คอื ศนู ยก์ ลางของบริเวณท่มี คี วามกดอากาศตา่
ภาพตวั อย่างแผนท่อี ากาศ
41
ความสำคัญของการพยากรณอ์ ากาศ
ช่วยให้บุคคลทุกอาชีพมีการเตรียมพร้อมที่จะป้องกันแก้ไขภัยอันตรายหรือความสูญเสียอันเกิดจาก
ปรากฏการณท์ างลมฟา้ อากาศได้
ร่วม กนั คดิ 6
1.การทส่ี ถานอี ุตนุ ิยมวิทยามกี ารใชเ้ ครื่องมือตรวจวัดองคป์ ระกอบของลมฟา้ อากาศ จัดว่าอยู่ในขั้นตอนใดของ
การพยากรณอ์ ากาศ
..............................................................................................................................................................................
2.บคุ คลกลุ่มใดทคี่ วรติดตามข่าวสารการพยากรณ์อากาศอย่างสมำ่ เสมอ เพราะเหตุใด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
42
ขนั้ นำปัญญำพฒั นำควำมคดิ คดิ แบบนกั วิทย์
กิจกรรม ฝึ กทา : ฝึ กสร้าง
ให้นกั เรยี นนำเสนอผังมโนทัศนส์ รปุ องคค์ วามรใู้ นบทเรยี นลม
ฟ้าอากาศรอบตวั
43
กิจกรรม คิดดี ผลงำนดี มีควำมสขุ
ขน้ั นำปัญญำพฒั นำตนเอง
จากสถานการณ์ “สำรวจความแรงลมและทิศทางลมภายในโรงเรยี น” (10 คะแนน)
จดุ ประสงค์ ออกแบบและสรา้ งอุปกรณใ์ นการตรวจวดั ความแรงลมและทิศทางลม
วัสดแุ ละอปุ กรณ์
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ผลการทำกิจกรรม
ภาพร่าง
รปู ช้ินงาน
องค์ความรแู้ ละทกั ษะทีไ่ ด้จากกิจกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
44