The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยกระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศบทที่ 1 ลมฟ้าอากาศรอบตัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2021-10-25 11:33:38

หน่วยกระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศบทที่ 1 ลมฟ้าอากาศรอบตัว

หน่วยกระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศบทที่ 1 ลมฟ้าอากาศรอบตัว

เกณฑก์ ารประเมิน ดมี าก (5 คะแนน) ดี (3 คะแนน) พอใช้ (1 คะแนน)
รายการประเมนิ
นำเสนอแนวทางใน นำเสนอแนวทางในการ นำเสนอแนวทางในการ
การนำเสนอแบบรา่ ง
การออกแบบโครงสรา้ ง ออกแบบโครงสร้าง การ ออกแบบโครงสรา้ ง การ
ประสทิ ธภิ าพอุปกรณ์
ในการตรวจวัดความ การเลือกใชว้ ัสดุอปุ กรณ์ เลอื กใชว้ ัสดุอุปกรณโ์ ดย เลอื กใชว้ ัสดอุ ุปกรณโ์ ดย
แรงลมและทศิ ทางลม
การปรับปรุงชิน้ งาน โดยใชค้ วามรู้เก่ียวกับ ใช้ความรูเ้ กี่ยวกบั การ ใชค้ วามรเู้ กีย่ วกบั การ

การเคลอื่ นท่ีของลม เคลือ่ นท่ีของลมเนือ่ งจาก เคลอื่ นที่ของลมเน่อื งจาก

เนอื่ งจากความแตกตา่ ง ความแตกต่างของความดัน ความแตกตา่ งของความ

ของความดนั อากาศ อากาศไดถ้ กู ตอ้ งแต่อาจจะ ดนั อากาศได้ถูกตอ้ งบาง

ไมค่ รบถ้วน ส่วนและอาจมแี นวคิด

คลาดเคลือ่ น

อุปกรณ์ในการตรวจวัด อปุ กรณ์ในการตรวจวัดลม อุปกรณ์ในการตรวจวัดลม

ลมเปล่ียนแปลงไปตาม เปลยี่ นแปลงไปตามทศิ ทาง เปลีย่ นแปลงไปตาม

ทศิ ทางตามความแรงลม ตามความแรงลมไดเ้ ปน็ ส่วน ทศิ ทางตามความแรงลม

ใหญ่ ได้บางคร้ัง

วิเคราะห์ขอ้ บกพรอ่ งใน วิเคราะห์ข้อบกพร่องใน วิเคราะห์ขอ้ บกพร่องใน

ช้ินงานได้ พร้อมเสนอวิธี ชิน้ งานได้ พรอ้ มเสนอ ชนิ้ งานได้ แต่ไมน่ ำเสนอ

แกไ้ ขชิ้นงานโดยใชค้ วาม วธิ ีแกไ้ ขช้นิ งานโดยใชค้ วามรู้ วิธแี ก้ไขชิ้นงาน

รู้เกยี่ วกับความแตกต่าง เก่ยี วกบั ความแตกตา่ งของ

ของความดันอากาศหรอื ความดนั อากาศหรือความรู้

ความรูว้ ิทยาศาสตรอ์ ืน่ วิทยาศาสตรอ์ นื่ ๆ ไดโ้ ดย

ๆ ได้อยา่ งมเี หตุผลได้ การช้ีแนะของครู

ดว้ ยตนเอง

45

แบบประเมนิ ตนเองหลังเรยี น

คำชแี้ จง : ใหน้ กั เรียนตอบคำถามตอ่ ไปนี้ ใช้เวลา 10 นาที

1. ขอ้ ใดเปน็ สาเหตุหลักที่ทำให้รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ผ่านมายังพ้นื ผวิ โลกได้นอ้ ยลง

ก. เมฆในชนั้ โทรโพสเฟียร์ ชว่ ยสะท้อนรังสีอัตราไวโอเลต

ข. โอโซนในชั้นสตราโตสเฟียร์ ชว่ ยดดู กลืนรงั สีอัตราไวโอเลต

ค. แกส๊ ออกซเิ จนในช้ันโทรโพสเฟยี ร์ ช่วยดูดกลนื รังสอี ตั ราไวโอเลต

ง. อากาศทแ่ี ตกตัวเปน็ ประจุในชัน้ เทอร์โมสเฟยี ร์ ช่วยสะท้อนรังสอี ตั ราไวโอเลต

2. บรรยากาศชนั้ ใดทีม่ ีแกส๊ ไนโตรเจนหนาแน่นท่ีสดุ

ก. มีโซสเฟยี ร์ ข. เทอร์โมสเฟยี ร์ ค. โทรโพสเฟยี ร์ ง. สตราโตสเฟยี ร์

3. “ผิวโลกท่มี ลี กั ษณะแตกตา่ งกนั สามารถดูดกลืนและสะท้อนรังสีจากดวงอาทิตยไ์ ด้แตกตา่ งกนั ”ขอ้ ใดไม่ใช่

ปรากฏการณท์ ่เี กิดจากคำกลา่ ว ขา้ งต้น

ก. ความแตกต่างของอุณหภมู อิ ากาศในบริเวณต่าง ๆ

ข. ความแตกตา่ งของความชน้ื ในบรเิ วณต่าง ๆ

ค. ปรากฏการณ์เรือนกระจก ง. การเกิดลม

4. สถานการณ์ใดท่แี สดงวา่ อากาศมีความดัน

ก. หายใจไมอ่ อกเม่ืออยู่ในท่ีสงู ข. การดูดของเหลวโดยใช้หลอดกาแฟ

ค. เมอ่ื โยนของขน้ึ ไปในอากาศ ของจะตกลงสู่พื้นเสมอ

ง. บรรยากาศยังคงห่อหมุ้ โลกไมห่ ลุดลอยออกไป

5. นกั เรยี น 4 คน ทำการทดลอง ณ สถานท่ีต่างกัน โดยนำเทอรม์ อมเิ ตอร์ 2 อัน อนั แรกห้มุ ดว้ ยสำลีชบุ น้ำ

อีกอนั หนง่ึ ไมห่ ุ้ม นำเทอรม์ อมิเตอร์ทง้ั คู่ไปวางไว้ในสถานที่ต่างกนั 4 แหง่ หลังจากนน้ั 3 นาที อา่ นอุณหภมู ิของ

เทอรม์ อมเิ ตอร์ท้งั สองไดผ้ ลตามตาราง

สถานทีท่ ดลอง อุณหภูมจิ ากเทอรม์ อมิเตอรไ์ ม่หมุ้ อณุ หภูมจิ ากเทอรม์ อมิเตอร์

สำลีชุบน้ำ ( ํC) หมุ้ สำลีชบุ นำ้ ( ํC)

A 26.0 25.0

B 26.0 24.0

C 28.0 26.5

D 28.0 26.0

จากขอ้ มลู แสดงวา่ อากาศทใ่ี ด มีปริมาณไอนำ้ ใกล้ปรมิ าณไอน้ำอ่ิมตวั มากทีส่ ุด

ก. A ข. B ค. C ง. D

6. นำเครื่องวดั ปรมิ าณฝน 2 อนั ซงึ่ มขี นาดตา่ งกัน วัดปรมิ าณฝนในบรเิ วณเดียวกนั เครอ่ื งวดั ปรมิ าณฝน

อนั หนง่ึ วดั ปรมิ าณฝนได้ ดงั ภาพ

เครื่องวัดปรมิ าณฝนอกี อันหน่งึ ซ่งึ มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางแคบกวา่ จะวดั ปริมาณฝนไดต้ ามภาพใด

46

ก. ข. ค. ง.

คำพยากรณ์อากาศประจำวนั ใหข้ อ้ มูลดงั นี้

ลมตะวันตกเฉียงเหนอื ในระดับบนยังคงพดั ผา่ นเทือกเขาหิมาลัยเข้ามาปกคลมุ ภาคเหนือ และมลี ม

ตะวนั ออกพัดนำความชื้นจากทะเลจีนใต้เข้ามาปกคลมุ ภาคใต้

7. ขอ้ มลู จากคำพยากรณ์ดังกลา่ ว ไม่ควรเกิดลักษณะอากาศแบบใด

ก. ภาคเหนอื อุณหภมู ิสูงข้ึน ข. ภาคเหนอื ลมแรง

ค. ภาคใต้มีเมฆมาก ง. ภาคใต้ทะเลมีคลน่ื สงู

คะแนนเต็ม 7 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

47

เอกสารอา้ งองิ
ศรลี กั ษณ์ ผลวฒั นะ และ คณะ . (2551). ส่อื การเรียนร้แู ละเสรมิ สรา้ งทักษะตามมาตรฐานและ

ตัวชี้วดั ชนั้ ปกี ลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ เลม่ 1. กรุงเทพฯ.นยิ มวทิ ยา.
ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ,สถาบัน. คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 1 ช้ัน

มัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1. (2553). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพค์ ุรสุ ภาลาดพร้าว.
สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี , (2553). สถาบนั .หนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ 1 ช้ัน

มธั ยมศกึ ษา ปที ่ี 1 เลม่ 1 .กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์ครุ สุ ภาลาดพร้าว.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี , (2561). สถาบัน.หนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ เลม่ 2 ช้ัน

มธั ยมศกึ ษา ปที ่ี 1 เลม่ 2 .กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พ์คุรสุ ภาลาดพรา้ ว.

48


Click to View FlipBook Version