The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ว21101

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2021-05-29 22:55:31

แผนการจัดการเรียนรู้ ว21101

แผนการจัดการเรียนรู้ ว21101

แผนการจดั การเรยี นรู้

รหัสวิชา ว 21101

รายวิชาพ้ืนฐาน วทิ ยาศาสตร์ 1

จำนวน 1.5 หน่วยกิต 3 คาบ/สัปดาห์

ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1

ปีการศกึ ษา 2564

จดั ทำโดย
นางสาวอโนชา อุทมุ สกลุ รตั น์
ตำแหน่ง ครูชำนาญการพเิ ศษ

กลุม่ สาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

โรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม

สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาการมธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานคร เขต 1
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ

แผนการจัดการเรยี นร้เู ล่มนี้ จดั ทำขน้ึ เพ่อื ใช้เปน็ แนวทางในการจดั การเรยี นการสอนรายวิชารายวชิ า
พนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 รหัสวิชา ว21101 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2564 ท่ีเน้นนักเรียนเป็นสำคัญ มีการจัดกิจกรรมและการวัดผลประเมินผลท่ีหลากหลายสอดคล้องกับสาระ
และมาตรฐานการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงประกอบด้วยหนว่ ยการเรียนรู้ จำนวน 4 หน่วย คือ หน่วยท่ี 1 เรา
จะเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร หน่วยท่ี 2 สมบัติของสารและการจำแนกสาร หน่วยท่ี 3 หน่วยพื้นฐานของ
สงิ่ มชี ีวิต และหนว่ ยท่ี 4 การดำรงชวี ิตของพชื แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เล่มนี้ส่งเสริมให้
นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ และสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งเสริมให้นักเรียนเช่ือมโยงความรู้ท้ังในและต่างกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ในเชิงบูรณาการด้วยวิธกี ารทหี่ ลากหลาย สร้างสถานการณ์การเรียนรู้ท้ังในและนอกห้องเรียน
โดยครูมีบทบาทหน้าท่ีในการเอ้ืออ านวยความสะดวกให้แก่นักเรียน เพ่ือให้นักเรียนมีคุณภาพตามสาระ
มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด รวมทั้งพัฒนานักเรียนให้มีสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตามท่ีหลักสูตรกำหนด เพ่ือให้นักเรียนสามารถดำรงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมไทยและสังคมโลกได้อย่างมี
ความสขุ การปฏิบัตงิ านม่งุ ผลสัมฤทธิ์ของผ้เู รยี นได้อย่างเป็นระบบ สง่ ผลให้ผ้เู รียนมีคุณภาพ และสถานศึกษามี
คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาอยา่ งแทจ้ ริง

หวังเป็นอย่างย่ิงว่าแผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ม. 1 เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการนำไป
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจัดการเรยี นร้ใู หเ้ หมาะสมกับสภาพแวดลอ้ มของนกั เรียนตอ่ ไป

......................................................
(นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรัตน์)

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 สารบญั หนา้
 แผนการเรยี นรู้ท่ี 1 1-9
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 2 เราจะเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์อยา่ งไร
 แผนการเรียนรู้ที่ 2 เราจะเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์อยา่ งไร 1
 แผนการเรียนรู้ที่ 3 สมบตั ิของสารและการจำแนกสาร 10- 26
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 สมบตั ิของสารบริสทุ ธิ์
 แผนการเรียนรู้ท่ี 4 การจำแนกและองคป์ ระกอบของสารบรสิ ทุ ธ์ิ 10
 แผนการเรยี นรูท้ ่ี 5 หน่วยพืน้ ฐานของสิ่งมชี ีวติ 18
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4 เซลล์ 27 - 43
 แผนการเรยี นรูท้ ่ี 6 การลำเลยี งสารเขา้ ออกเซลล์ 27
 แผนการเรยี นรู้ท่ี 7 การดำรงชวี ิตของพืช 37
 แผนการเรียนรทู้ ่ี 8 การสบื พนั ธ์แุ ละการขยายพันธุ์พชื ดอก 44 - 69
การสังเคราะหด์ ว้ ยแสง 44
การลำเลยี งนำ้ ธาตุอาหาร และอาหารของพชื 53
62

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี…………...1..............เร่ือง.......................เราจะเรียนรู้วิทยาศาสตร์อยา่ งไร............................
รายวิชา……......วิทยาศาสตร์……..1.......รหัสวิชา…......ว 21101 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลุ่มสาระการเรยี นรู้..วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปีการศึกษา… 2564...ภาคเรียนท.่ี .1...เวลา...9...ชัว่ โมง……
ผ้สู อน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชวี้ ัด/ผลการเรยี นรู้ (รายวิชาพื้นฐานมีทั้งมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชี้วดั
รายวชิ าเพิม่ เติมมเี ฉพาะมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละผลการเรียนรู)้

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ัด
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชวี ติ ในสงั คมที่มีการเปลี่ยน

แปลงอย่างรวดเรว็ ใช้ความรู้และทกั ษะทางดา้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อนื่ ๆ เพ่อื แก้ปญั หา
หรือพฒั นางานอยา่ งมคี วามคดิ สรา้ งสรรคด์ ้วยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เลือกใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ ง
เหมาะสมโดยคำนึงถงึ ผลกระทบต่อชวี ิต สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม

ตวั ชีว้ ัด
ว 4.1 ม.1/2 ระบุปัญหาหรือความต้องการในชวี ิตประจำวนั รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและ
แนวคิดท่ีเก่ยี วขอ้ งกับปญั หา
ว 4.1 ม.1/3 ออกแบบวธิ กี ารแกป้ ญั หา โดยวิเคราะหเ์ ปรยี บเทียบ และตัดสนิ ใจเลอื กข้อมลู ที่
จำเปน็ นำเสนอแนวทางการแกป้ ัญหาให้ผู้อื่นเขา้ ใจ วางแผนและดำเนนิ การแกป้ ญั หา
ว 4.1 ม.1/4 ทดสอบ ประเมนิ ผล และระบุขอ้ บกพรอ่ งทเี่ กดิ ข้นึ พรอ้ มท้งั หาแนวทางการ
ปรับปรุงแกไ้ ขและนำเสนอผลการแก้ปญั หา
มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการแก้ปัญหาทีพ่ บในชีวิตจรงิ อย่างเป็น
ขั้นตอนและเป็นระบบใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารในการเรียนร้กู ารทางานและการแก้ปญั หาได้
อยา่ งมีประสิทธิภาพรู้เทา่ ทนั และมีจริยธรรม
ตวั ชีว้ ัด ว 4.2 ม.1/3, ม.1/4
ว 4.2 ม.1/3 รวบรวมขอ้ มูลปฐมภูมิ ประมวลผล ประเมินผล นำเสนอขอ้ มลู และสารสนเทศ
ตามวัตถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์ หรอื บริการบนอินเทอรเ์ นต็ ทีห่ ลากหลาย
ว 4.2 ม.1/4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภยั ใช้ส่อื และแหลง่ ขอ้ มูลตามข้อกำหนดและ
ข้อตกลง
2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตวั ชว้ี ัดที่ใช้ในหน่วยการเรียนร้นู ้ีเขียนเป็นแบบความเรียง)
องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องนับแต่อดีตยุคโบราณ จนกระทั่งปัจจุบัน
วิทยาศาสตร์เป็นความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติซึ่งสามารถอธิบายได้ด้วยหลักฐานและความเป็นเหตุเป็นผลทาง
วทิ ยาศาสตร์ ความเชื่อ หรอื เรื่องราวท่ีเล่าต่อๆ กันมา โดยไม่สามารถอธิบายได้ด้วยหลักการและเหตุผลทาง
วิทยาศาสตร์ไม่จัดเป็นวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์เป็นจุดเร่ิมต้นของเทคโนโลยีที่อำนวยความสะดวกและ
ตอบสนองความตอ้ งการในดา้ นตา่ ง ๆ ของมนุษย์ วิทยาศาสตร์เก่ียวขอ้ งและสง่ ผลกระทบตอ่ การดำรงชีวติ ของ

1

ทุกคนจึงจำเป็นต้องเรียนรู้วิทยาศาสตร์แม้มิได้ประกอบอาชีพเป็นนักวิทยาศาสตร์ก็ตาม เพ่ือให้สามารถ
ดำรงชวี ิตได้อยา่ งมคี ณุ ภาพและมสี ว่ นรว่ มในสังคมปัจจบุ ันได้อย่างภาคภูมิ

กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์เป็นกระบวนการท่ีกระทำเพ่ือให้ได้มาซ่ึงความรู้ทางวิทยาศาสตรเ์ ป็น
กระบวนการที่ประกอบด้วย การสังเกตและระบุปัญหา การตั้งสมมุติฐาน การวางแผน การสำรวจ หรือการ
ทดลอง รวมทั้งการเก็บข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูลและสร้างคำอธิบาย การสรุปผลและการสื่อสาร โดยข้ันตอน
ต่าง ๆ ดังกล่าวสามารถเพิ่มเติม ลดทอนสลับลำดับ ตามความเหมาะสม ในการทำงานเพื่อให้ได้มาซึ่งองค์
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง แม่นยำ และครอบคลุมต้องอาศัยทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ซึ่งปัจจุบันประกอบด้วย 14 ทักษะ ได้แก่ การสังเกตการวัด การจำแนกประเภท การหา
ความสัมพันธร์ ะหว่างสเปซกับสเปซและสเปซกับเวลา การใชจ้ ำนวน การจดั กระทำ และ สื่อความหมายข้อมูล
การลงความเห็นจากข้อมูล การพยากรณ์ การตั้งสมมุติฐาน การกำหนดนิยามเชิงปฏบิ ตั กิ าร การกำหนด
และควบคุมตวั แปร การทดลอง การตคี วามหมายของขอ้ มูลและลงข้อสรปุ และการสร้างแบบจำลอง
3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนร้แู กนกลาง/สาระการเรียนรูเ้ พิ่มเตมิ (รายวิชาเพิ่มเตมิ )
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
• การแก้ปัญหาจำเปน็ ต้องสบื คน้ รวบรวมขอ้ มลู ความร้จู ากศาสตรต์ ่าง ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง เพอ่ื นำไปสู่

การออกแบบแนวทางการแกป้ ญั หา
• การวเิ คราะห์ เปรียบเทยี บ และตัดสินใจเลอื กข้อมลู ท่จี ำเปน็ โดยคำนึงถงึ เงอ่ื นไข และทรพั ยากรท่มี ี

อยู่ ชว่ ยใหไ้ ด้แนวทางการแก้ปัญหาท่เี หมาะสม
• การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาทำไดห้ ลากหลายวธิ ี เชน่ การร่างภาพ การเขียนแผนภาพ การ

เขยี นผงั งาน
• การกำหนดขน้ั ตอนและระยะเวลาในการทำงานกอ่ นดำเนินการแกป้ ญั หาจะช่วยให้ทำงานสำเรจ็ ได้

ตามเปา้ หมายและลดขอ้ ผิดพลาดของการทำงานที่อาจเกิดขึน้
• การทดสอบ และประเมนิ ผลเป็นการตรวจสอบช้ินงานหรือวธิ ีการว่าสามารถแกป้ ญั หาไดต้ าม

วัตถุประสงคภ์ ายใต้กรอบของปญั หา เพ่ือหาขอ้ บกพร่อง และดำเนนิ การปรับปรุง โดยอาจทดสอบซ้ำเพอ่ื ให้
สามารถแก้ปญั หาได้

• การนำเสนอผลงานเปน็ การถ่ายทอดแนวคิดเพอ่ื ให้ผ้อู น่ื เขา้ ใจเกย่ี วกบั กระบวนการทำงานและ
ชิ้นงานหรอื วธิ ีการท่ีได้ ซ่ึงสามารถทำได้หลายวธิ ี เชน่ การเขยี นรายงาน การทำแผน่ นำเสนอผลงาน การจัด
นทิ รรศการ การนำเสนอผ่านสือ่ ออนไลน์

• การรวบรวมข้อมลู จากแหล่งขอ้ มลู ปฐมภมู ิ ประมวลผล สรา้ งทางเลอื ก ประเมินผล จะทำใหไ้ ด้
สารสนเทศเพือ่ ใช้ในการแก้ปญั หาหรอื การตดั สินใจได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

• การประมวลผลเป็นกำรกระทำกับขอ้ มูล เพอื่ ให้ได้ผลลพั ธท์ ี่มีความหมายและมปี ระโยชนต์ ่อการ
นำไปใชง้ าน สามารถทำได้หลายวธิ ี เชน่ คำนวณอตั ราสว่ น คำนวณค่าเฉล่ยี

• การใชซ้ อฟตแ์ วรห์ รือบริการบนอินเทอร์เนต็ ทหี่ ลากหลายในการรวบรวม ประมวลผล สรา้ ง
ทางเลือก ประเมินผล นำเสนอ จะชว่ ยใหแ้ กป้ ัญหาได้อยา่ งรวดเร็ว ถกู ต้อง และแม่นยำ

• ตัวอย่างปญั หา เนน้ การบูรณาการกับวิชาอน่ื เช่น ต้มไขใ่ หต้ รงกับพฤตกิ รรมการบริโภค ค่าดัชนมี วล
กายของคนในท้องถน่ิ การสร้างกราฟผลกำรทดลองและวิเคราะห์แนวโนม้

• ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย เชน่ การปกป้องความเปน็ ส่วนตัวและอัตลักษณ์
• การจัดการอัตลกั ษณ์ เช่น การต้ังรหัสผ่าน การปกปอ้ งข้อมลู ส่วนตวั

2

• การพิจารณาความเหมาะสมของเน้ือหา เช่น ละเมิดความเปน็ สว่ นตวั ผูอ้ ื่น อนาจาร วจิ ารณ์ผูอ้ ่ืน

อยา่ งหยาบคาย

• ขอ้ ตกลง ข้อกำหนดในการใช้สอ่ื หรอื แหลง่ ข้อมูลตา่ ง ๆ เชน่ Creative commons

3.2 สาระการเรียนร้ทู อ้ งถิน่ (ถา้ ในคำอธบิ ายรายวชิ าพดู ถึงหลักสูตรท้องถ่นิ ให้ใส่ลงไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. บอกความความสำคัญและความหมายของวิทยาศาสตร์ได้

2. อธบิ ายเหตุผลท่ีความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์เปล่ยี นแปลงได้เมอ่ื มขี ้อมูลหรือหลักฐานได้

3. ต้ังคำถามจากสิง่ ทพ่ี บเหน็ ในชีวิตประจำวันได้

4. สบื คน้ เรื่องท่ีสนใจจากแหลง่ เรียนรู้ต่างกนั ได้

5. เหน็ คณุ ค่าของการนำความรทู้ างวิทยาศาสตรม์ าใชเ้ พ่อื อำนวยความสะดวกในชวี ิตประจำวัน

5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น (เลือกเฉพาะข้อท่ีเกิดในหน่วยการเรียนรูน้ ้)ี

 1. ความสามารถในการส่ือสาร  2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (เลอื กเฉพาะขอ้ ท่เี กิดในหน่วยการเรียนรนู้ )้ี

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซื่อสัตย์สจุ ริต

 3. มีวินยั  4. ใฝ่เรยี นรู้
 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน
 7. รักความเปน็ ไทย  8. มีจติ สาธารณะ

7. ด้านคุณลกั ษณะของผูเ้ รียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวิชาการ  2. ส่ือสารสองภาษา  3. ล้ำหนา้ ทางความคิด

 4. ผลิตงานอย่างสรา้ งสรรค์  5. ร่วมกนั รับผิดชอบตอ่ สังคมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 คอื การเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได)้  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น)
 ทักษะด้านการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณและทักษะในการแก้ไขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะด้านการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation) Understanding)
 ทักษะด้านความเข้าใจความตา่ งวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross-cultural

 ทกั ษะดา้ นความรว่ มมือ การทำงานเป็นทมี และภาวะผนู้ ำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะดา้ นการส่ือสาร สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันสอ่ื (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทักษะอาชีพ และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)
ความมีเมตตา (วินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

3

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลมุ่ ใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรยี นคอื

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลักความมเี หตุผล : ใหน้ กั เรียนสรา้ งสรรค์ผลงานและเกดิ ทกั ษะการปฏบิ ัติ , นักเรียนเกดิ ความ

ภาคภมู ใิ จในผลงานของตนและสิ่งที่เรียนรู้

3. หลกั ภูมิคุ้มกนั : ให้นกั เรียนเกดิ ทกั ษะการทำงานกลุ่ม และกลา้ แสดงออก , นักเรียนรู้จักการวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชกิ ภายในกลมุ่ ไดเ้ หมาะสมกับความสามารถของแต่ละบคุ คล

4. เง่ือนไขความรู้ : การวางแผนงานทจ่ี ะทำก่อนแล้วคอ่ ยลงมือทำอย่างระมดั ระวงั

5. เง่ือนไขคุณธรรม : อดทนทจ่ี ะทำงาน และมีความขยันทจ่ี ะทำงานให้ออกมาได้ดีที่สดุ , มีวนิ ัยในการ

ทำงาน

10. ชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ชีว้ ัด ช้ินงาน ภาระงาน

ว 4.1 ม.1/2 - แบบบันทึกการคน้ หาเรือ่ งราว - ก ารอ ภิ ป ราย ค วาม เชื่อ เกี่ ย วกั บ

เกย่ี วกบั “ จนั ทรปุ ราคา ความเชอ่ื จันทรุปราคา เป็นข้อมูลท่ีไม่สามารถหา

เก่ียวกบั ราหอู มจันทร์ของคนสมยั หลักฐานมาพิสูจน์หรืออธิบายได้ ไม่

โบราณ” จดั เปน็ วทิ ยาศาสตร์

ว 4.1 ม.1/3 - ชุดกิจกรรมฯร่วมกันคิด 1 เรื่องตัว - ศึกษา / อภิปรายตามรายละเอียดใน

แปร (ระบุตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และ ชดุ กิจกรรม

ตวั แปรควบคมุ ) - อภปิ รายสรุปเก่ียวกับทกั ษะกระบวน

- ชุดกิจกรรมฯร่วมกันคิด 2 เรื่องทักษะ การทางวิทยาศาสตร์ เพอื่ ให้ได้ข้อสรุปว่า

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์จะ

ช่วยให้การสร้างความรู้ทางวิทยาศาสตร์

เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ว 4.1 ม.1/4 - รายงาน กิจกรรม น้ำสีเคล่ือนที่ -อภิปราย เร่อื ง การพฒั นาทกั ษะกระ

อยา่ งไร บวนการทางวิทยาศาสตร์ให้ดีย่ิงขึ้น

นักเรียนคิดวา่ ควรทำอยา่ งไร

ว 4.2 ม.1/3 - ประดิษฐ์จรวดกระดาษของใครบินได้ -สืบค้นและอภิปรายว่าจรวดกระดาษ

นานทส่ี ุด ลักษณะแบบใดที่น่าจะร่อนอยู่ในอากาศ

ใหน้ านที่สดุ

ว 4.2 ม.1/4 - รายงานกิจกรรม จรวดกระดาษของ - แขง่ ขนั การรอ่ นจรวด

ใครบนิ ได้นานท่ีสุด - จัดแสดงผลงานจรวดรวมทั้งเวลาเฉลี่ย

ทจ่ี รวดแต่ละชน้ิ ใชใ้ นเวลาเคลอ่ื นท่ี

11. การวัดประเมนิ ผล 3.การวัดประเมนิ การปฏิบตั ิ
4
11.1การวดั และประเมินผลช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด
วิธกี าร

1.การสงั เกตการณ์
2.การใชช้ ุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบง่ ช้ี
เครอ่ื งมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมินการปฏบิ ตั ิ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือว่า ผา่ น ผ่าน 1

รายการถอื วา่ ไม่ผ่าน

11.2การวัดและประเมินผลระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรู้ของ

หน่วยการเรียนรนู้ ้ี)

สิ่งท่ตี ้องการวดั วิธีวัดผล เคร่อื งมอื วดั ผล เกณฑ์การประเมนิ
1. ความร้เู ก่ยี วกบั - นักเรียนได้คะแนน
-การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมนิ การ 12 คะแนนขึน้ ไป
- ความสำคญั และความหมาย หรอื ร้อยละ 80
ความคิดเหน็ อภิปรายแสดงความ ถือว่าผา่ นเกณฑ์
ของวิทยาศาสตร์ - นักเรยี นไดค้ ะแนน
- กระบวนการทาง ยกตวั อย่างการใช้ คดิ เหน็ ประเมนิ ผลงาน
วิทยาศาสตร์ 13 คะแนนขน้ึ ไป
- ทักษะกระบวนการทาง ประโยชน์จาก - แบบประเมินการ หรอื ร้อยละ 80
วิทยาศาสตร์ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์
วิทยาศาสตรใ์ นชีวิต ตรวจผลงานผูเ้ รียน -นกั เรยี นไดค้ ะแนน
12 คะแนนขึ้นไป
ประจำวนั หรอื รอ้ ยละ 80 ถอื ว่า
ผา่ นเกณฑ์
-การตรวจผลงาน
- นักเรยี นไดค้ ะแนน
นักเรยี น ประเมนิ คุณลกั ษณะ
อนั พึงประสงค์
2.ทกั ษะกระบวนการคิด และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมินการ 26 คะแนนขน้ึ ไป
หรอื ร้อยละ 80
ทักษะกระบวนการกลุม่ ความคิดเห็นระบุ อภปิ รายแสดงความ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์
- นกั เรยี นได้คะแนน
ทกั ษะกระบวน คดิ เหน็ การประเมินสมรรถนะ
29 คะแนนขน้ึ ไป
การทางวิทยาศาสตร์ท่ี - แบบประเมนิ หรือร้อยละ 80
ถือวา่ ผ่านเกณฑ์
ไดป้ ฏิบตั ิจากกิจกรรม พฤติกรรมการ

- สงั เกตพฤติกรรมการ ทำงานกล่มุ

ทำงานกลุ่ม

3. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ - สังเกตค่านิยมในการ - แบบประเมนิ

และสมรรถนะผ้เู รยี น ทำงานร่วมกบั ผอู้ ืน่ คุณลกั ษณะอันพงึ

- มวี นิ ัยในการทำงานกลมุ่ และการทำงานใน ประสงค์

- นกั เรียนเห็นความสำคญั ระบบกลุ่ม - แบบประเมิน

ของการทำงานรว่ มกบั ผอู้ ื่นและ อภิปราย แสดงความ สมรรถนะผู้เรียน

การทำงานในระบบกลุ่ม คิดเหน็ เก่ยี วกับผลการ

- ยอมรับความคิดเหน็ ซึง่ กัน ทดลอง

และกันมีความเสยี สละและ

อดทน

5

12. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ชั่วโมงที่ 1-2 (สปั ดาห์ท่ี 1)
1. ข้นั ต้ังประเด็นปญั หา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)
1.1 นำเขา้ สหู่ น่วยที่ 1 เรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์อย่างไร โดยใหน้ กั เรียนศึกษาภาพนำหนว่ ยในหนงั สือเรียน

หรือนำขอ้ มลู เกยี่ วกบั ความกา้ วหน้าทางวทิ ยาศาสตร์ให้นักเรียนศึกษา พรอ้ มให้นักเรียนร่วมกับยกตวั อยา่ ง
ความก้าวหน้าทางวทิ ยาศาสตร์ที่นกั เรียนรู้จัก

1.2 ครูใชค้ ำถามนำหน่วยกระตุน้ ความสนใจของนกั เรยี นว่าวทิ ยาศาสตรค์ อื อะไร เราสามารถเรียนรู้
วทิ ยาศาสตร์ได้อย่างไร โดยใหน้ ักเรยี นแสดงความคดิ เหน็ ต่อคำถามดังกล่าวเพอ่ื สร้างความสนใจและมีสว่ นรว่ ม
ตอ่ สงิ่ ท่นี กั เรยี นกำลังจะไดเ้ รียนรู้ ครูไมเ่ ฉลยคำตอบโดยชี้แจงว่านกั เรยี นจะไดเ้ รยี นร้จู ากหนว่ ยการเรียน
ท่ี 1 เรียนรู้วทิ ยาศาสตร์อย่างไร

1.3 ครูและนกั เรยี นรว่ มกันคน้ คว้าเกย่ี วกบั ความเช่อื ของคนสมัยกอ่ นในเร่อื งสรุ ิยุปราคาหรือ ราหอู มดวง
อาทิตย์ และใหน้ กั เรียนตอบคำถามระหวา่ งเรียน

1.4 ครูนำสนทนา ซักถาม เก่ยี วกับการท่นี ักเรยี นได้ค้นคว้าเก่ียวกับการเกดิ สุรยิ ุปราคามาแล้ว ให้
นักเรยี นลองเขียนแผนภาพการเกดิ สุริยุปราคาโดยแสดงตำแหน่งของ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์และโลกดังนี้

1.5 ครูตั้งประเด็นคำถามเพอ่ื กระตุ้นความสนใจใหน้ กั เรยี นคดิ ว่าวทิ ยาศาสตร์คืออะไร นักเรียนสามารถ
แสดงความคิดเหน็ ได้โดยอิสระ

1.6 นกั เรยี นอา่ นเนอ้ื หาในหนงั สือเรยี น/ชดุ กจิ กรรมเกยี่ วกบั ความสำคัญและความหมายของ
วิทยาศาสตร์ และตอบคำถามระหวา่ งเรยี น

- ยกตวั อย่างสง่ิ ทเ่ี ป็นวิทยาศาสตร์มา 2 ตัวอย่าง
แนวคำตอบ ตอบได้หลากหลายคำตอบ เช่น การมองเหน็ สิง่ ตา่ ง ๆ (เรามองเหน็ ไดเ้ พราะแสงจาก
วัตถุสะท้อนเข้าตาเรา) รถยนต์เคลอื่ นท่ีไดเ้ พราะอาศยั เคร่ืองยนต์ และนำ้ มนั ในการขับเคล่ือน การรับประทาน
อาหาร (มนษุ ยต์ ้องการสารอาหารเพื่อการดำรงชวี ติ เราจงึ ต้องรบั ประทานอาหาร)
- ยกตัวอยา่ งการใช้ประโยชนจ์ ากวิทยาศาสตร์ในชีวติ ประจำวนั มา 2 ตัวอย่าง
แนวคำตอบ ตอบไดห้ ลากหลายคำตอบเช่น การเลอื กรับประทานอาหารใหเ้ หมาะกบั เพศและวัย
และได้รบั สารอาหารครบถ้วน อาศยั ความรู้ทางดา้ นสารอาหารท่ีจำเปน็ การใชโ้ ทรศพั ท์เพ่ือการสือ่ สารอาศัย
เทคโนโลยีทางการสื่อสารชว่ ย

1.7 นักเรยี นร่วมกันอภิปรายคำตอบของคำถามระหวา่ งเรียน เพือ่ ใหน้ กั เรียนเขา้ ใจความหมายของ
วิทยาศาสตรแ์ ละความสำคญั ของวิทยาศาสตร์

6

เพ่อื ใหไ้ ด้ข้อสรุปว่า วิทยาศาสตร์เปน็ ความรเู้ ก่ยี วกบั ธรรมชาตซิ ง่ึ สามารถอธิบายได้ดว้ ยหลกั ฐานและ
ความเปน็ เหตุเป็นผลทางวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตรม์ ิใช่ความรู้เกยี่ วกบั ความจรงิ ของธรรมชาตเิ พียงอย่างเดยี ว
แต่ยงั ครอบคลมุ ไปถงึ การเรยี นรู้และทำความเขา้ ใจความรู้นั้นอย่างเป็นระบบและเปน็ เหตุเปน็ ผล วิทยาศาสตร์
มีประโยชน์และเกย่ี วขอ้ งกบั การดำรงชวี ิตของมนษุ ย์

1.8 ครถู ามคำถามเพ่ือสรา้ งความสนใจว่าการสร้างความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ทำได้อย่างไร หรือนัก
วิทยาศาสตร์ทำงานอย่างไร

ชั่วโมงท่ี 3 (สัปดาหท์ ี่ 1)
2. ขน้ั สืบค้นความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครูและนักเรียนร่วมกนั อภปิ รายในประเดน็ ดังต่อไปนี้

• กิจกรรมนี้เกยี่ วกับเร่อื งอะไร (กระบวนการทำงานของนักวิทยาศาสตร์)
• การทำกิจกรรมมีข้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (อา่ นข้อมูลการทำงานของนักวทิ ยาศาสตร์ และวาด
แผนผงั กระบวนการทำงานของนกั วิทยาศาสตร)์
2.2 ให้นกั เรียนตอบคำถามท้ายกิจกรรมจากนน้ั ให้ตัวแทน 3-4 คนนำเสนอแผนผังกระบวนการทำงาน
ของนักวทิ ยาศาสตร์
2.3 ให้นกั เรยี นอา่ นเนือ้ หาในหนงั สอื เรียนเกย่ี วกบั กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จากน้ันตอบคำถาม
ระหวา่ งเรียน
2.4 นักเรยี นรว่ มกันอภปิ รายสรปุ เกย่ี วกบั กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เพ่อื ให้ได้ข้อสรปุ วา่ กระบวน
การทีใ่ ชเ้ พ่ือให้ได้มาซึง่ ความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์เรียกวา่ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การสงั เกตและระบุ
ปญั หา การต้ังสมมตฐิ านการวางแผน การสำรวจ หรอื การทดลอง รวมทั้งการเกบ็ ข้อมูล การวิเคราะหข์ ้อมลู
และสรา้ งคำอธบิ าย การสรปุ ผลและการสื่อสาร โดยกระบวนการทางวิทยาศาสตรส์ ามารถเพม่ิ เตมิ ลดทอน
สลับลำดับได้ ตามความเหมาะสม
ช่ัวโมงที่ 4-5 (สปั ดาห์ท่ี 2)
3. ข้นั สรปุ องคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)
3.1 นำเข้าสกู่ ารเรียนร้ใู นหวั ขอ้ ตอ่ ไปนีว้ า่ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์จำเป็นตอ้ งอาศัยทกั ษะกระ
บวนการทางวิทยาศาสตร์เพือ่ ช่วยให้การทำงานเป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
3.2 นักเรยี นระดมสมองทำกจิ กรรมการเคลอื่ นท่ีของน้ำสี และวิเคราะห์การใช้ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์)
3.3 นกั เรยี นรว่ มกนั ทำกจิ กรรมมีขั้นตอนโดยสรปุ ดงั นี้ (สังเกตการเคลอ่ื นท่ีของน้ำสีเม่อื นำแก้วน้ำรอ้ น
ประกบลงบนแก้วน้ำเย็น
จากนน้ั พยากรณว์ า่ เม่ือนำแก้วน้ำเยน็ ประกบลงบนแก้วน้ำร้อนจะเกิดอะไรขน้ึ จากนนั้ นำแก้วนำ้ เยน็ ประกบลง
บนแกว้ น้ำร้อน)
ชว่ั โมงท่ี 6-7 (สัปดาหท์ ่ี 6-7)
4. ข้นั การสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มทำกิจกรรมจรวดกระดาษของใครบินได้นานทส่ี ุด ตามรปู แบบ วิธกี ารและขัน้ ตอน
ท่ีกำหนดในชดุ กิจกรรม
4.2 นักเรียนตรวจสอบความเรียบรอ้ ยของจรวดกระดาษและนำเสนอผลงาน แข่งขันการรอ่ นจรวด โดย
ร่วมกนั ตกลงกติกาการแขง่ ขัน และวธิ ีการสงั เกตวา่ จรวดใดอยใู่ นอากาศได้นานทส่ี ุด จากนัน้ แขง่ ขันร่อนจรวด

7

3 ครั้ง บันทึกเวลาที่จรวดอยใู่ นอากาศทงั้ 3 คร้งั และหาค่าเฉลยี่ ขอ้ ตกลงรว่ มกันในการสงั เกตวา่ จรวดใดอยใู่ น

อากาศได้นานที่สดุ

4.3 ร่วมกันอภปิ รายและลงข้อสรุป เกย่ี วกับลักษณะร่วมกนั ของจรวดกระดาษท่สี ามารถร่อนอยู่ใน

อากาศได้นานท่ีสุด

- จรวดรูปร่างค่อนขา้ งแบนจะรอ่ นอยู่ในอากาศในนานกว่าจรวดรปู ร่างอืน่ ๆ

5. ขนั้ การบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)

นักเรียนร่วมกนั เม่ือศึกษาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในหนงั สือเรียนแล้ว จากกจิ กรรม

นกั เรียนไดฝ้ ึกทักษะกระบวนการวิทยาศาสตรใ์ ดบ้างในขน้ั ตอนใด

- ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไดแ้ ก่ การสังเกต การวดั การจำแนก ประเภท การหา

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างมติ ิกบั มติ ิและมติ ิกบั เวลาการคำนวณ การจัดกระทำและสื่อความหมายขอ้ มูล การลง

ความเหน็ จากข้อมูล การพยากรณ์ การตง้ั สมมติฐาน การกำหนดนยิ ามเชงิ ปฏิบตั ิการ การกำหนดและ

ควบคมุ ตวั แปร การทดลอง การตีความหมายของขอ้ มลู และลงข้อสรุปและการสร้างแบบจำลอง

13. ส่อื การเรยี นรู้/แหลง่ เรียนรู้

12.1สอื่ การเรยี นรู้

1) ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์เรื่องเรยี นรู้วิทยาศาสตรอ์ ยา่ งไร

2) หนงั สอื แบบเรยี น 3) ส่ือเพาเวอรพ์ อยต์

12.2 แหล่งเรียนรู้

1) อินเตอรเ์ นต็ 2) ห้องสมดุ

14. บนั ทึกหลงั การจดั การเรยี นรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ดา้ นความรู้ : ......................................................................................

- ความหมายและความสำคญั ของ ......................................................................................
วิทยาศาสตร์ ......................................................................................
- กระบวนการทำงานของนักวิทยาศาสตร์ ......................................................................................
- ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
- ตระหนกั ถึงคณุ คา่ ของความรู้ทาง ................................................................................
วิทยาศาสตรใ์ นการดำรงชวี ติ ทำความเข้าใจ ......................................................................................
กระบวนการและทักษะท่ใี ชใ้ นการสร้างองค์ ......................................................................................
.....................................................................................

ความรทู้ างวิทยาศาสตร์

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการคดิ ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการกล่มุ ......................................................................................

3. ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ ม ......................................................................................

อันพงึ ประสงค์ : ......................................................................................

- มีวนิ ยั ......................................................................................

- ใฝเ่ รยี นรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................

8

- รักความเป็นไทย ......................................................................................

4. ปัญหาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

5. วิธีแกป้ ญั หา

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

ลงชื่อ........................................ครูผสู้ อน ลงช่อื ...........................................หวั หน้ากลุ่มสาระฯ
( นางสาวอโนชา อุทมุ สกลุ รตั น์ ) (นางกณิการ์ พัฒรากุล)

ลงชอ่ื ........................................... ลงช่ือ...........................................
( นางกณิการ์ พัฒรากลุ ) ( นางรพีพร คำบญุ มา )
หัวหนา้ งานนิเทศ
รองผ้อู ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ

ลงช่ือ ........................................................
( นายจงจดั จนั ทบ )

ผู้อำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม

9

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี…………...2..............เรื่อง................................สมบตั ิของสารบริสทุ ธ์ิ………….........................
รายวชิ า……......วิทยาศาสตร์……..1.......รหัสวิชา…......ว 21101 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลุม่ สาระการเรยี นรู้..วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปีการศกึ ษา… 2564...ภาคเรียนท.่ี .1...เวลา...9...ชัว่ โมง……
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชวี้ ดั /ผลการเรียนรู้ (รายวชิ าพืน้ ฐานมที ้งั มาตรฐานการเรียนร้แู ละตวั ชีว้ ัด
รายวิชาเพิ่มเตมิ มีเฉพาะมาตรฐานการเรยี นรู้และผลการเรียนร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ัด
สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบัตขิ องสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พันธ์ระหวา่ งสมบัติ

ของสสารกบั โครงสร้างและแรงยดึ เหนยี่ วระหว่างอนภุ าค หลกั และธรรมชาติของการเปลีย่ นแปลงสถานะของ
สสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิรยิ าเคมี

ตัวชีว้ ัด
ว 2.1 ม.1/4 เปรียบเทยี บจุดเดือด จุดหลอมเหลวของสารบรสิ ทุ ธ์แิ ละสารผสม โดยการวัด
อุณหภมู ิ เขยี นกราฟ แปลความหมายขอ้ มลู จากกราฟ หรอื สารสนเทศ
ว 2.1 ม.1/5 อธิบายและเปรยี บเทยี บความหนาแน่นของสารบรสิ ทุ ธ์ิและสารผสม
ว 2.1 ม.1/6 ใช้เคร่ืองมอื เพื่อวัดมวลและปริมาตรของสารบรสิ ุทธิ์และสารผสม
2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวชี้วดั ที่ใช้ในหนว่ ยการเรยี นรนู้ เี้ ขียนเปน็ แบบความเรยี ง)
สารบริสุทธ์ิประกอบด้วยสารเพียงชนิดเดียว ส่วนสารผสมประกอบด้วยสารต้ังแต่ 2 ชนิดข้นึ ไป สาร
บริสุทธิ์แต่ละชนิดมีสมบัติบางประการที่เป็นค่าเฉพาะตัว มีค่าคงที่ เช่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว และความ
หนาแน่น แต่สารผสมมีจุดเดอื ด จุดหลอมเหลว และความหนาแน่นไม่คงที่ ข้ึนอยู่กับชนิดและสัดส่วนของสาร
ทผ่ี สมอยู่ดว้ ยกัน
3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/สาระการเรียนร้เู พมิ่ เตมิ (รายวชิ าเพม่ิ เติม)
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
• สารบริสุทธปิ์ ระกอบดว้ ยสารเพียงชนิดเดียวส่วนสารผสมประกอบดว้ ยสารตงั้ แต่ 2 ชนิดขนึ้ ไป สาร
บริสทุ ธแ์ิ ต่ละชนิดมสี มบตั ิบางประการทเ่ี ป็นค่าเฉพาะตวั เช่น จดุ เดอื ดและจุดหลอมเหลวคงท่ี แต่สารผสมมีจุด
เดอื ดและจุดหลอมเหลวไมค่ งท่ี ขน้ึ อยู่กบั ชนดิ และสดั ส่วนของสารท่ผี สมอยู่ด้วยกนั
• สารบริสทุ ธิ์แต่ละชนดิ มคี วามหนาแน่น หรอื มวลตอ่ หนงึ่ หนว่ ยปริมาตรคงท่ี เป็นค่าเฉพาะของสาร
นั้น ณ สถานะและอุณหภมู ิหน่ึงแต่สารผสมมีความหนาแน่นไมค่ งที่ขนึ้ อยู่กบั ชนดิ และสัดสว่ นของสารท่ผี สมอยู่
ด้วยกัน

3.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่น (ถา้ ในคำอธบิ ายรายวิชาพดู ถงึ หลักสูตรทอ้ งถน่ิ ให้ใส่ลงไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธิบายและเปรยี บเทียบ จุดเดือด จุดหลอมเหลวของสารบรสิ ทุ ธิ์ และสารผสม
2. คำนวณ อธิบายและเปรียบเทียบ ความหนาแน่นของสารบรสิ ทุ ธ์ิ และสารผสม

10

3. ใช้เครอ่ื งมอื เพ่ือวดั มวลและปริมาตรของสารบริสทุ ธิ์และสารผสม

4. เห็นคณุ ค่าของการนำความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์มาใช้เพ่ืออำนวยความสะดวกในชีวติ ประจำวัน

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น (เลอื กเฉพาะข้อทีเ่ กิดในหนว่ ยการเรียนร้นู ้)ี

 1. ความสามารถในการส่ือสาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (เลือกเฉพาะขอ้ ทเ่ี กิดในหนว่ ยการเรียนรนู้ ้)ี

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซ่อื สตั ย์สุจรติ

 3. มีวินยั  4. ใฝเ่ รยี นรู้
 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. ม่งุ มั่นในการทำงาน
 7. รกั ความเปน็ ไทย  8. มจี ติ สาธารณะ
7. ด้านคณุ ลกั ษณะของผู้เรยี นตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวชิ าการ  2. สอ่ื สารสองภาษา  3. ลำ้ หนา้ ทางความคิด

 4. ผลิตงานอยา่ งสร้างสรรค์  5. ร่วมกนั รบั ผดิ ชอบต่อสงั คมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 คอื การเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได้)  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น)
 ทักษะดา้ นการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะด้านการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
 ทกั ษะด้านความเข้าใจความตา่ งวฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะด้านความร่วมมอื การทำงานเป็นทมี และภาวะผนู้ ำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและร้เู ท่าทันสอื่ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)
ความมีเมตตา (วนิ ยั คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

9. บรู ณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลมุ่ ใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรียนคือ

ประมาณกล่มุ ละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตุผล : ใหน้ ักเรียนสรา้ งสรรค์ผลงานและเกดิ ทกั ษะการปฏิบัติ , นักเรียนเกดิ ความ

ภาคภมู ใิ จในผลงานของตนและส่ิงที่เรียนรู้

3. หลักภูมคิ มุ้ กนั : ให้นักเรยี นเกดิ ทักษะการทำงานกลุ่ม และกลา้ แสดงออก , นกั เรยี นร้จู ักการวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานใหส้ มาชกิ ภายในกลมุ่ ได้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคล

4. เง่ือนไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแล้วค่อยลงมือทำอย่างระมัดระวงั

5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยนั ทจ่ี ะทำงานใหอ้ อกมาไดด้ ที ส่ี ดุ , มวี นิ ัยในการ

ทำงาน

10. ชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด

11

ตวั ชี้วัด ชิ้นงาน ภาระงาน
ว 2.1 ม.1/4
- รายงานกิจกรรม จุดเดือดของสาร - อภิปรายคำตอบเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่าอุณหภูมิ
ว 2.1 ม.1/5 บรสิ ทุ ธ์ิและสารผสมเปน็ อยา่ งไร ขณะเดือดของนำ้ กลั่นและสารละลายโซเดียมคลอ
- รายงานกิจกรรม จุดหลอมเหลว ไรดเ์ ป็นอย่างไร
ของสารบริสุทธ์ิและสารผสมเป็น - อภิปรายเปรียบเทียบช่วงอุณหภูมิที่หลอมเหลว
อย่างไร และจุดหลอมเหลวของสารบริสทุ ธ์ิและสารผสม

- อภิปรายร่วมกันเก่ียวกับประโยชน์จากการนำ
ความรู้เรื่องจุดเดือดและจุดหลอมเหลวมาใช้ใน
ชีวติ ประจำวนั

- รายงานกิจกรรม ความหนาแน่น - แบบฝกึ หัดคำนวณความหนาแน่น
ของสารบริสุทธ์ิและสารผสมเป็น - แบบฝึกหัดท้ายบทเรยี น
อยา่ งไร
- ผังมโนทัศน์ การสรุปองค์ความรู้ใน
บทเรยี นสมบตั ิของสารบรสิ ทุ ธ์ิ

11. การวัดประเมนิ ผล

11.1การวดั และประเมนิ ผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ ีการ

1.การสังเกตการณ์

2.การใชช้ ดุ กิจกรรมวิทยาศาสตรร์ อ่ งรอยบง่ ช้ี 3.การวดั ประเมินการปฏิบตั ิ

เครือ่ งมอื

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมนิ การปฏิบตั ิ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรม ผ่านต้งั แต่ 2 รายการ ถอื วา่ ผ่าน ผ่าน 1

รายการถือวา่ ไม่ผา่ น

11.2การวัดและประเมินผลระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรียนรู้ของ

หน่วยการเรยี นรนู้ ้ี)

สง่ิ ที่ต้องการวดั วิธีวดั ผล เครื่องมอื วดั ผล เกณฑก์ ารประเมิน

1. ความรูเ้ กี่ยวกบั -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมนิ การ - นักเรยี นได้คะแนน

- สมบัตบิ างประการของ ความคดิ เหน็ อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนข้นึ ไป

บรสิ ทุ ธิแ์ ละสารผสม ยกตัวอย่างการนำ คดิ เหน็ หรือร้อยละ 80

- กระบวนการทาง ความรู้เร่ืองจุดเดือด ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

วทิ ยาศาสตร์ และจุดหลอมเหลวมา - แบบประเมินการ - นกั เรียนได้คะแนน

- ทกั ษะกระบวนการทาง ใช้ในชวี ติ ประจำวนั ตรวจผลงานผูเ้ รียน ประเมนิ ผลงาน

วิทยาศาสตร์ -การตรวจผลงาน 13 คะแนนขนึ้ ไป

นักเรยี น หรือรอ้ ยละ 80

12

ถือว่าผ่านเกณฑ์

2.ทกั ษะกระบวนการคดิ และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ -นักเรียนได้คะแนน

ทักษะกระบวนการกลมุ่ ความคิดเห็นระบุ อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขึน้ ไป

ทักษะกระบวน คดิ เหน็ หรอื รอ้ ยละ 80 ถือว่า

การทางวทิ ยาศาสตร์ที่ - แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์

ไดป้ ฏบิ ตั ิจากกจิ กรรม พฤติกรรมการ

- สงั เกตพฤติกรรมการ ทำงานกลมุ่

ทำงานกลมุ่

3. คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ - สงั เกตค่านยิ มในการ - แบบประเมิน - นกั เรยี นไดค้ ะแนน

และสมรรถนะผ้เู รียน ทำงานร่วมกับผ้อู นื่ คณุ ลักษณะอันพึง ประเมนิ คุณลกั ษณะ

- มวี นิ ัยในการทำงานกลมุ่ และการทำงานใน ประสงค์ อนั พงึ ประสงค์

- นกั เรียนเหน็ ความสำคัญ ระบบกลมุ่ 26 คะแนนขนึ้ ไป

ของการทำงานรว่ มกับผูอ้ ื่นและ อภิปราย แสดงความ หรือร้อยละ 80

การทำงานในระบบกลุ่ม คดิ เห็นเกี่ยวกับผลการ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

- ยอมรับความคิดเหน็ ซงึ่ กัน ทดลอง - แบบประเมิน - นกั เรียนไดค้ ะแนน

และกันมีความเสยี สละและ สมรรถนะผู้เรยี น การประเมินสมรรถนะ

อดทน 29 คะแนนขน้ึ ไป

หรือร้อยละ 80

ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรียนรู้

ชว่ั โมงที่ 1-2 (สปั ดาห์ท่ี 4)

1. ขนั้ ต้ังประเด็นปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครูใช้คำถามเชื่อมโยงเข้าสู่สมบัติของสารบริสุทธ์ิว่า นักเรียนมีความรเู้ กีย่ วกับสารบรสิ ุทธหิ์ รือไม่ สาร

บริสทุ ธิ์แตกต่างจากสารผสมอย่างไร และสารบริสุทธ์ิมสี มบตั ิอย่างไร

1.2 ครูให้นักเรยี นดูภาพในหนังสอื เรยี น หรือส่อื อ่ืน ๆ ทเ่ี กี่ยวกับทองคำแทง่ และทองรูปพรรณ โดยครูใช้

คำถามใหน้ กั เรยี นอภิปรายวา่ ทองคำแทง่ และทองรปู พรรณเหมอื นหรือต่างกันอยา่ งไร จากนน้ั ให้นกั เรยี น

ตรวจสอบคำตอบของตนเอง โดยอา่ นเน้อื หานำบทและนำอภิปรายโดยอาจใช้คำถามตอ่ ไปนี้

- เพราะเหตุใด ทองคำแท่งจงึ เปน็ สารบรสิ ุทธิแ์ ละทองรูปพรรณจงึ เปน็ สารผสม (ทองคำแทง่ เป็นสาร

บริสุทธ์ิ เนอ่ื งจากเป็นทองคำ 100% ไมม่ ีสว่ นผสมของโลหะชนิดอน่ื ๆ แต่ทองรปู พรรณมีโลหะชนิดอ่ืนผสมอยู่

เชน่ เงิน ทองแดง)

- ทองคำแท่งและทองรปู พรรณมีสมบัติต่างกันอยา่ งไร (ทองคำแทง่ มีความเหนียวสามารถยืดขยาย

ตีหรือรดี แผไ่ ปได้ทุกทิศทางมคี วามออ่ นตัวมากกว่าโลหะชนิดอ่นื ๆ ทำให้ไมส่ ามารถประดิษฐเ์ ป็นรูปทรงต่าง ๆ

ตามทีต่ อ้ งการได้ ส่วนทองรูปพรรณมสี ่วนผสมของโลหะอ่ืนทำใหม้ ีสมบัติแข็งและคงรูปดีข้นึ สามารถประดษิ ฐ์

เปน็ เคร่อื งประดบั ไดง้ า่ ยข้นึ )

1.3 ครทู บทวนความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของสารผสมและสารบริสุทธิ์ โดยใช้คำถามตอ่ ไปน้ี

- สารผสมและสารบรสิ ุทธ์มิ อี งค์ประกอบแตกต่างกนั อย่างไร (สารผสมเปน็ สารทีม่ อี งค์ประกอบ

ตง้ั แต่ 2 ชนดิ ขึ้นไป เช่น ทองรูปพรรณ เปน็ สารผสมระหว่างทองคำและโลหะอนื่ นำ้ เกลอื เปน็ สารผสม

13

ระหว่างนำ้ และเกลือ สว่ นสารบริสุทธิ์เปน็ สารที่มีองคป์ ระกอบเพยี งชนิดเดยี ว เชน่ ทองคำแทง่ น้ำกลัน่
กลูโคส)

1.4 ครนู ำเข้าส่กู ิจกรรมท่ี 2.1 จุดเดือดของสารบรสิ ุทธ์ิและสารผสมเป็นอย่างไร โดยชีแ้ จงวา่ นักเรียนจะ
ไดเ้ รยี นสมบตั ิเกย่ี วกับจุดเดอื ดของสารบริสุทธิแ์ ละสารผสม ต่อไป

ชวั่ โมงท่ี 3-5 (สปั ดาห์ท่ี 4-5)
2. ขั้นสืบค้นความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครูใหน้ กั เรียนอ่านวิธีการดำเนินกิจกรรมในหนังสอื เรยี นครูอธิบายเพ่ิมเตมิ ในประเดน็ ทน่ี ักเรยี นยัง
ตอบไม่ครบถว้ น
2.2 นักเรยี นทำกิจกรรมตามแผนท่วี างไว้ ครูสงั เกตวิธีการจัดอุปกรณ์ การวัดอุณหภมู ิ และการบนั ทึกผล
การสังเกตของนกั เรียนทกุ กลุ่ม เพ่อื ให้คำแนะนำหากเกิดขอ้ ผิดพลาดในขณะทำกิจกรรม รวมท้ังนำข้อมลู ท่ีควร
จะปรบั ปรุงและแก้ไขมาใช้ประกอบการอภปิ รายหลังทำกิจกรรม
2.3 นักเรยี นนำขอ้ มูลเกย่ี วกับการเปลี่ยนแปลงอณุ หภมู ขิ องน้ำกลน่ั และสารละลายโซเดียมคลอไรด์มา
เขยี นกราฟแสดงความสัมพนั ธร์ ะหว่างอณุ หภมู ิกบั เวลา ด้วยวธิ กี ารต่าง ๆ เช่น เขียนลงในกระดาษกราฟ
2.4 นกั เรยี นอา่ นเนือ้ หาในหนงั สือ ร่วมกนั อภิปรายเพื่อใหไ้ ดข้ อ้ สรุปเกย่ี วกบั จุดเดอื ดของสารบรสิ ทุ ธิ์และ
สารผสม ตามประเด็นดังนี้

• สารบริสทุ ธิ์และสารผสมท่ีใช้ในกิจกรรมนี้คือสารใด (น้ำกล่ันและสารละลายโซเดยี มคลอไรด)์
• จดุ เดือดของนำ้ กล่นั และสารละลายโซเดยี มคลอไรด์แตกต่างกนั เพราะเหตใุ ด
• สารบริสทุ ธ์ิและสารผสมจะมจี ุดเดอื ดเชน่ เดียวกับนำ้ กลน่ั และสารละลายโซเดยี มคลอไรดห์ รอื ไม่
ครูเช่ือมโยงความรู้เกี่ยวกับจุดเดือดของสารบริสุทธ์ิและสารผสมเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่าสารบรสิ ุทธมิ์ ีจุด
เดือดคงที่และสารผสมมีจุดเดือดไม่คงท่ี เช่น น้ำกล่ันเป็นสารบรสิ ุทธิ์ มีองค์ประกอบเพียงชนิดเดียว จุดเดือด
คงท่ี สารบริสุทธิ์อ่ืน ๆ ก็มีจุดเดือดคงท่ีเช่นเดียวกับน้ำกล่ัน เช่น ปรอทมีจุดเดือด 356.7 °C กลีเซอรอลมีจุด
เดือด 290 °C ส่วนสารละลายโซเดียมคลอไรด์เป็นสารผสม ประกอบด้วยน้ำกลั่นกับโซเดียมคลอไรด์ มี
องค์ประกอบมากกว่า 1 ชนิด ขณะเดือดอัตราส่วนผสมระหว่างน้ำกล่ันกับโซเดียมคลอไรด์จะเปลี่ยนแปลงไป
ไม่คงที่ จดุ เดอื ดจึงไม่คงที่ สารผสมอืน่ ๆ ก็มีจดุ เดือดไม่คงที่เชน่ กนั เช่นน้ำเชอื่ ม สารละลายเอทานอล
2.5 ครูและนักเรียนร่วมสนทนาเกี่ยวกับสารบริสุทธิ์มีจุดเดือดคงที่ ในขณะที่สารผสมมีจุดเดือดไม่คงที่
ครูอาจใช้คำถามนำต่อไปว่าจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารผสมจะเป็นอย่างไร เพราะเหตุใด เพ่ือ
เชอ่ื มโยงเข้าสกู่ ิจกรรมท่ี 2.2 จุดหลอมเหลวของสารบริสทุ ธ์แิ ละสารผสมเป็นอย่างไร
2.6 ครูให้นักเรียนชมวีดิทัศน์หรือชมการสาธิตของครู และอภิปรายเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า การหาจุด
หลอมเหลวของของแข็งทำโดยบดของแข็งให้ละเอียด บรรจุในหลอดแคปปิลลารีปริมาณเล็กน้อยผูกกับ
เทอร์โมมิเตอร์แล้วให้ความร้อนผ่านน้ำ เม่ือหาจุดหลอมเหลวของแนฟทาลีนและสารผสมของกรดเบนโซอิก
ในแนฟทาลีนทีม่ ีอตั ราส่วนผสมต่าง ๆ จะไดผ้ ลตามทแี่ สดงในหนงั สือเรยี น
2.7 นักเรียนรว่ มกนั อภิปรายโดยใช้ข้อมูลท่ีได้จากการนำเสนอและตอบคำถามท้ายกจิ กรรม จากน้ันครู
และนักเรียนรว่ มกันอภิปรายคำตอบร่วมกันเพื่อให้นักเรียนสรปุ ได้วา่ จดุ หลอมเหลวของแนฟทาลีนทง้ั 3 ครงั้ มี
ค่าใกลเ้ คียงกัน แนฟทาลนี ซ่ึงเป็นสารบรสิ ุทธิไ์ ม่ได้หลอมเหลวจนหมดที่อุณหภมู ิเดียวกัน และมีช่วงอุณหภูมิท่ี
หลอมเหลวค่อนข้างแคบ ส่วนกรดเบนโซอิกในแนฟทาลีนมีช่วงอุณหภูมิที่หลอมเหลวค่อนข้างกว้าง และจุด
หลอมเหลวไม่คงที่ข้นึ อยู่กับอัตราสว่ นของสารผสมน้ัน ๆ
ชัว่ โมงที่ 6-8 (สปั ดาห์ที่ 5-6)

14

3. ขน้ั สรปุ องคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

3.1 นกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายสรปุ เก่ยี วกบั กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เพ่ือให้ได้ขอ้ สรุปว่า กระบวน
การทใ่ี ช้เพ่ือให้ไดม้ าซ่ึงความรู้ทางวิทยาศาสตร์เรียกว่ากระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ได้แก่ การสงั เกตและระบุ
ปัญหา การต้ังสมมติฐานการวางแผน การสำรวจ หรือการทดลอง รวมทั้งการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล
และสรา้ งคำอธบิ าย การสรุปผลและการสื่อสาร

3.2 นักเรียนอภิปรายรว่ มกนั โดยให้พจิ ารณาตาราง 2.1 จุดเดือดของน้ำท่คี วามดันต่าง ๆ ซงึ่ จะเห็นได้ว่า
จดุ เดือดของสารข้ึนอยู่กับความดันบรรยากาศ โดยความดันบรรยากาศ คือ น้ำหนักของอากาศที่กดลงบนพื้น
โลกในแนวตงั้ ฉากต่อหนง่ึ หนว่ ยพื้นท่ี

3.3 นักเรียนอภปิ รายร่วมกันเกย่ี วกับประโยชน์จากการนำความรู้เรอ่ื งจุดเดือดและจุดหลอมเหลวมาใชใ้ น
ชีวิตประจำวัน ครูถามคำถามเพิม่ เติมว่า จดุ เดือดและจดุ หลอมเหลวเปน็ สมบัตซิ ง่ึ สามารถใชจ้ ำแนกสารบริสุทธิ์
และสารผสมแลว้ สารท้งั สองประเภทน้ียงั มีสมบัติอ่ืนอีกหรอื ไมท่ ่ีสามารถนำมาจำแนกสารบรสิ ทุ ธ์แิ ละสารผสม
นกั เรยี นจะได้ศึกษาในรายละเอยี ดเรื่องถดั ไป

3.4 กระตุ้นความสนใจเกี่ยวกบั เร่ืองความหนาแน่นของสารโดยให้ดูวีดิทัศน์เกีย่ วกับการนำของเหลวชนิด
ตา่ ง ๆทไี่ มผ่ สมเป็นเนือ้ เดยี วกนั แล้วมาเทรวมกัน

3.5 นักเรียนร่วมกนั อภปิ รายโดยใชค้ ำถาม ดังนี้
• นักเรียนคิดว่าความหนาแน่นคืออะไร (นักเรียนสามารถตอบได้ตามความเข้าใจของนักเรียนเอง

โดยครยู ังไม่ตอ้ งเฉลยวา่ ความหนาแนน่ คืออะไร)
• ความหนาแน่นมีความเกย่ี วขอ้ งกบั เรือดำน้ำอยา่ งไร(การทเี่ รอื ดำน้ำสามารถดำลงสู่ทะเลลกึ ไดน้ นั้

ต้องทำให้เรือดำน้ำท้ังลำมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำ และหากต้องการให้เรือลอยข้ึนสู่ผิวน้ำต้องทำให้เรือมี
ความหนาแนน่ น้อยกว่าน้ำ)

• ความหนาแน่นของวัตถหุ าได้อยา่ งไร (นกั เรียนสามารถตอบได้ตามความเขา้ ใจของนกั เรียนเอง
โดยครยู ังไม่ต้องเฉลยวา่ ความหนาแน่นของวตั ถุหาไดอ้ ยา่ งไร)

3.6 นักเรียนอ่านทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่อง ทะเลสาปเดดซี (Dead Sea) และร่วมกันอภิปรายถึง
ความหมายของความหนาแนน่ หน่วยความหนาแน่น วิธีการคำนวณความหนาแน่นของสาร จากเร่ืองดังกล่าว
ครใู ห้นกั เรียนอภิปรายตัวอยา่ งโจทยเ์ ก่ยี วกบั การคำนวณความหนาแน่นของสารและตอบคำถามชวนคดิ

3.7 ครูอธิบายว่าในกิจกรรมนี้นักเรียนจะได้ทดลองชั่งมวล และหาปริมาตรของวัตถุ เพื่อนำมา
คำนวณหาความหนาแน่นของสาร และทบทวนวธิ ีการใช้เคร่อื งชัง่ มวล

3.8 นักเรียนอ่านเกร็ดน่ารู้เพ่ือทำความเข้าใจเกี่ยวกับวธิ ีการหาปรมิ าตรของสารโดยใช้ถ้วยยูรกี า ครูสุ่ม
ให้ตัวแทนนกั เรยี นแต่ละกลุ่มอธิบายถึงวธิ กี ารใช้ถว้ ยยูรกี า เพ่ือประเมนิ ความเขา้ ใจการใช้ถว้ ยยรู ีกา

3.9 ครูให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มวางแผนร่วมกันในการทดลองกจิ กรรมท่ี 2.3 ความหนาแนน่ ของสารบริสุทธิ์
เปน็ อยา่ งไร และคำนวณความหนาแน่นของสารแต่ละชนดิ ตามทห่ี นังสือเรียนกำหนด รวมท้ังออกแบบตาราง
บนั ทกึ ผลการทำกจิ กรรมและวิธกี ารคำนวณ

3.10 นักเรียนทำกิจกรรมตามแผนท่ีวางไว้ และสังเกตความถูกต้องในการใช้เคร่ืองมือ ได้แก่ การใช้
เคร่อื งช่งั ถ้วยยูรีกาและกระบอกตวง พร้อมท้งั ใหค้ ำแนะนำเพิ่มเตมิ เมอ่ื พบว่านกั เรียนปฏิบัติไม่ถกู ต้อง

3.11 นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทำกิจกรรม โดยนำผลการทำกิจกรรมมาเขียนในตารางบันทึก
ผลการทำกจิ กรรมทตี่ ดิ หนา้ หอ้ งเรยี นเพ่ือเปรยี บเทียบขอ้ มลู ของแตล่ ะกลมุ่

15

3.12 นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้ข้อมูลท่ีได้จากการนำเสนอและตอบคำถามท้ายกิจกรรมตอนที่ 1

เพื่อให้นักเรยี นสรุปได้ว่า คา่ ความหนาแน่นเฉล่ียของเหล็กกอ้ นท่ี 1 และ 2 ท่ีมขี นาดแตกต่างกนั ของทุกกล่มุ มี

คา่ เท่ากันหรือใกล้เคียงกันส่วนค่าความหนาแน่นเฉลี่ยของทองแดงกอ้ นที่ 1 และ 2 ที่มีขนาดแตกต่างกัน ของ

ทุกกลุ่มก็มีค่าเท่ากันหรือใกล้เคียงกันเช่นกัน เนื่องจากก้อนเหล็กและก้อนทองแดงเป็นสารบริสุทธิ์ที่มีความ

หนาแน่นเปน็ คา่ เฉพาะตัวของสารนน้ั ณ สถานะอณุ หภูมิ และความดันหนึ่ง

ชั่วโมงท่ี 9 (สัปดาห์ท่ี 6)

4. ข้ันการส่ือสารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 ครูเชือ่ มโยงความรขู้ องนักเรยี นทไ่ี ด้จากการอภปิ รายกิจกรรมทัง้ 3 กิจกรรม

4.2 นกั เรียนรว่ มกันอภิปรายเพ่ือให้ไดข้ ้อสรุปว่า โดยส่วนใหญ่แลว้ สารชนดิ เดียวกัน เม่ือมีสถานะต่างกัน

ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน ของแข็งจะมีความหนาแน่นมากกว่าของเหลวและแก๊ส เนื่องจากสารใน

สถานะของแข็งอนุภาคจะเรียงชิดตดิ กันมากกวา่ ของเหลวและแกส๊ แต่ในบางกรณีนำ้ แข็งกับน้ำ พบวา่ น้ำแข็ง

ซ่ึงเป็นของแข็งจะมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำซึ่งเป็นของเหลวสารต่างชนิดกัน สารในสถานะของแข็งไม่

จำเปน็ ตอ้ งมากกว่าของเหลว แต่อย่างไรก็ตามสารในสถานะของแข็งและของเหลวจะมีความหนาแน่นมากกว่า

แกส๊

5. ขน้ั การบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นกั เรียนรว่ มกันเขยี นผงั มโนทัศน์ การสรุปองคค์ วามรู้ในบทเรยี นสมบัตขิ องสารบริสุทธ์ิ

5.2 วิเคราะห์และอธบิ ายแผนผังการจำแนกประเภทพลาสติกโดยใช้สมบัติเกย่ี วกับจดุ เดือดจุดหลอม

เหลว ความหนาแน่น และสมบัตอิ ่นื ๆ เปน็ เกณฑ์

13. สอื่ การเรยี นรู้/แหล่งเรียนรู้

13.1สอ่ื การเรยี นรู้

1) ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 2) หนงั สอื แบบเรยี น 3) สือ่ เพาเวอร์พอยต์

13.2แหลง่ เรียนรู้

1) อินเตอรเ์ น็ต 2) ห้องสมุด

14. บนั ทึกหลงั การจดั การเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ดา้ นความรู้ : ......................................................................................

- บอกความแตกตา่ งของสารบริสุทธิ์และสาร ......................................................................................
......................................................................................
ผสม ได้
......................................................................................
- อธิบายและเปรียบเทียบ จดุ เดอื ด จุด ................................................................................
หลอมเหลวของสารบริสุทธ์แิ ละสารผสม ......................................................................................
- คำนวณ อธิบายและเปรียบเทยี บ ความหนา ......................................................................................
แนน่ ของสารบริสุทธแ์ิ ละสารผสม .....................................................................................

- การใช้เคร่ืองมือเพอ่ื วดั มวลและปรมิ าตร

ของสารบรสิ ทุ ธ์ิและสารผสม

2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการคิด ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการกลมุ่ ......................................................................................

16

......................................................................................

......................................................................................

3. ด้านคณุ ธรรมจริยธรรมและค่านิยม ......................................................................................

อันพงึ ประสงค์ : ......................................................................................

- มีวนิ ยั ......................................................................................

- ใฝ่เรยี นรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................

- รกั ความเปน็ ไทย ......................................................................................

4. ปัญหาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

5. วธิ แี ก้ปญั หา

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

ลงช่อื ........................................ครูผสู้ อน ลงชอ่ื ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
( นางสาวอโนชา อุทมุ สกลุ รัตน์ ) (นางกณกิ าร์ พฒั รากลุ )

ลงชอ่ื ........................................... ลงชอื่ ...........................................
( นางกณิการ์ พฒั รากุล ) ( นางรพีพร คำบุญมา )
หัวหนา้ งานนิเทศ
รองผอู้ ำนวยการกลมุ่ บริหารวิชาการ

ลงช่อื ........................................................
( นายจงจดั จนั ทบ )

ผ้อู ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

17

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 3
หน่วยการเรียนรูท้ ี่…………...2..............เรื่อง.............การจำแนกและองค์ประกอบของสารบริสุทธิ์..............
รายวิชา……......วิทยาศาสตร์……..1.......รหัสวิชา…......ว 21101 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้..วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปกี ารศึกษา… 2564...ภาคเรียนที่..1...เวลา...9...ช่วั โมง……
ผ้สู อน.........................นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกลุ รัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ัด/ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพืน้ ฐานมีทั้งมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชี้วดั
รายวชิ าเพ่ิมเติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนร้แู ละผลการเรียนร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ดั ว2.1ม.1/1,1/2,1/3,1/7 1/8,1/9,1/10
สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พันธร์ ะหว่างสมบตั ิ

ของสสารกบั โครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาตขิ องการเปลย่ี นแปลงสถานะของ
สสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี

ตวั ช้ีวัด
ว 2.1 ม.1/1 อธิบายสมบตั ิทางกายภาพบางประการของธาตโุ ลหะ อโลหะ และก่งึ โลหะ โดยใช้
หลกั ฐานเชิงประจักษท์ ีไ่ ด้จากการสงั เกตและการทดสอบ และใช้สารสนเทศที่ไดจ้ ากแหล่งข้อมลู ต่าง ๆ รวมท้ัง
จดั กลมุ่ ธาตุเป็นโลหะ อโลหะ และก่งึ โลหะ
ว 2.1 ม.1/2 วเิ คราะห์ผลจากการใช้ธาตโุ ลหะ อโลหะ กง่ึ โลหะ และธาตกุ มั มันตรังสี ทมี่ ตี อ่
ส่ิงมีชวี ิต สง่ิ แวดล้อม เศรษฐกิจและสังคม จากข้อมลู ท่รี วบรวมได้
ว 2.1 ม.1/3 ตระหนักถึงคุณค่าของการใชธ้ าตุโลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ ธาตุกัมมนั ตรงั สี โดยเสนอ
แนวทางการใชธ้ าตุอย่างปลอดภยั คุ้มคา่
ว 2.1 ม.1/7 อธบิ ายเกยี่ วกับความสมั พันธร์ ะหวา่ งอะตอม ธาตุ และสารประกอบ โดยใช้
แบบจำลองและสารสนเทศ
ว 2.1 ม.1/8 อธบิ ายโครงสร้างอะตอมทีป่ ระกอบดว้ ยโปรตอน นวิ ตรอน และอิเล็กตรอน โดยใช้
แบบจำลอง
2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวช้ีวัดทใี่ ช้ในหนว่ ยการเรยี นรู้นี้เขียนเปน็ แบบความเรยี ง)
สารบริสุทธิ์สามารถแบ่งออกเป็นธาตุและสารประกอบ ธาตุมีองค์ประกอบเพียงชนิดเดียวและไม่
สามารถแยกสลายเปน็ สารอ่ืนได้ดว้ ยวิธที างเคมี ส่วนสารประกอบธาตอุ งค์ประกอบตั้งแต่ 2 ชนิดขึน้ ไปรวมตัว
กันทางเคมีในอัตราส่วนคงที่มีสมบัติแตกต่างจากธาตุท่ีเป็นองค์ประกอบ สามารถแยกองค์ประกอบของ
สารประกอบออกจากกันได้ด้วยวิธีทางเคมีโดยธาตุแต่ละชนิดประกอบด้วยอนุภาคที่เล็กท่ีสุดเรียกว่าอะตอม
อะตอมประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนซึ่งโปรตอนและนิวตรอนรวมกันตรงกลางอะตอม
เรียกว่า นิวเคลยี ส ส่วนอเิ ล็กตรอนเคลื่อนท่ีรอบนวิ เคลยี ส อะตอมของแตล่ ะธาตแุ ตกต่างกนั ท่ีจำนวนโปรตอน
ธาตุแต่ละชนิดมีสมบัติเฉพาะตัว นักวิทยาศาสตร์ใช้สมบัติทางกายภาพของธาตุเพ่ือจำแนกธาตุเป็นโลหะ
อโลหะและก่ึงโลหะ ธาตุบางชนิดเป็นธาตุกัมมันตรังสี ซึ่งธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะและธาตุกัมมันตรังสีใช้
ประโยชน์ไดแ้ ตกต่างกันการนำธาตมุ าใช้อาจมผี ลกระทบต่อสง่ิ มีชวี ิต สิ่งแวดลอ้ ม เศรษฐกจิ และสังคม
3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง/สาระการเรยี นรเู้ พมิ่ เตมิ (รายวิชาเพ่ิมเตมิ )

18

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
• ธาตแุ ต่ละชนดิ มีสมบัตเิ ฉพาะตัวและมสี มบัติทางกายภาพบางประการเหมือนกันและบางประการ
ต่างกนั ซึง่ สามารถนำมาจดั กลุ่มธาตุเป็นโลหะ อโลหะ และกงึ่ โลหะ ธาตโุ ลหะมจี ุดเดือด จดุ หลอมเหลวสงู มี
ผวิ มนั วาว นำความรอ้ นนำไฟฟ้า ดึงเปน็ เส้นหรอื ตีเป็นแผ่นบาง ๆ ได้ และมคี วามหนาแนน่ ทง้ั สงู และต่ำ ธาตุ
อโลหะมจี ุดเดอื ด จุดหลอมเหลวตำ่ มผี ิวไมม่ ันวาวไม่นำความร้อน ไมน่ ำไฟฟ้า เปราะ แตกหักงา่ ย และมคี วาม
หนาแน่นต่ำ ธาตกุ ่ึงโลหะมีสมบตั ิบางประการเหมือนโลหะ และสมบตั บิ างประการเหมอื นอโลหะ
• ธาตุโลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ ท่ีสามารถแผร่ งั สีได้ จดั เปน็ ธาตกุ ัมมันตรังสี
• ธาตมุ ที งั้ ประโยชน์และโทษ การใชธ้ าตุโลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ ธาตกุ มั มันตรงั สี ควรคำนงึ ถงึ
ผลกระทบตอ่ สงิ่ มชี ีวติ สิ่งแวดล้อม เศรษฐกจิ และสงั คม
• สารบริสทุ ธิแ์ บ่งออกเป็นธาตแุ ละสารประกอบ ธาตปุ ระกอบด้วยอนภุ าคที่เล็กท่ีสุดทยี่ งั แสดงสมบัติ
ของธาตุนน้ั เรยี กว่า อะตอม ธาตแุ ตล่ ะชนดิ ประกอบดว้ ยอะตอมเพยี งชนดิ เดียวและไมส่ ามารถแยกสลายเปน็
สารอืน่ ไดด้ ว้ ยวธิ ีทางเคมี ธาตุเขียนแทนดว้ ยสัญลักษณธ์ าตุ สารประกอบเกดิ จากอะตอมของธาตุตัง้ แต่ ๒ ชนดิ
ขน้ึ ไปรวมตวั กันทางเคมใี นอตั ราสว่ นคงท่ี มีสมบตั ิแตกตา่ งจากธาตุทเ่ี ปน็ องค์ประกอบ สามารถแยกเป็นธาตุได้
ด้วยวธิ ที างเคมี ธาตแุ ละสารประกอบสามารถเขียนแทนได้ด้วยสตู รเคมี
• อะตอมประกอบดว้ ยโปรตอน นิวตรอน และอิเลก็ ตรอน โปรตอนมีประจไุ ฟฟา้ บวก ธาตุชนดิ เดียว
กันมจี ำนวนโปรตอนเท่ากันและเปน็ คา่ เฉพาะของธาตนุ ้ัน นิวตรอนเปน็ กลางทางไฟฟา้ สว่ นอิเล็กตรอนมีประจุ
ไฟฟา้ ลบ เมือ่ อะตอมมีจำนวนโปรตอนเท่ากบั จำนวนอเิ ลก็ ตรอนจะเป็นกลางทางไฟฟ้า โปรตอนและนิวตรอน
รวมกันตรงกลางอะตอมเรียกว่า นิวเคลียสส่วนอิเล็กตรอนเคลื่อนทอ่ี ยู่ในท่วี ่างรอบนวิ เคลียส

3.2 สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่นิ (ถา้ ในคำอธิบายรายวิชาพดู ถงึ หลักสูตรท้องถิ่นให้ใส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหว่างอะตอม ธาตุและสารประกอบ
2. อธบิ ายโครงสร้างอะตอมท่ปี ระกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และอเิ ล็กตรอน
3. อธบิ ายสมบตั ิทางกายภาพบางประการของธาตุโลหะ อโลหะ และกงึ่ โลหะ รวมทัง้ จัดกลมุ่ ธาตุเป็น
โลหะ อโลหะและกึ่งโลหะ
4. วิเคราะห์และสรุปผลจากการใช้ธาตโุ ลหะ อโลหะ ก่งึ โลหะ และธาตุกัมมันตรงั สี
5. นำเสนอแนวทางการใชธ้ าตอุ ย่างปลอดภัย คุ้มค่า

5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน (เลือกเฉพาะข้อทเี่ กิดในหน่วยการเรียนรู้น)ี้

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (เลือกเฉพาะขอ้ ที่เกิดในหน่วยการเรียนรนู้ ้ี)

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซือ่ สตั ยส์ จุ รติ

 3. มวี ินัย  4. ใฝเ่ รยี นรู้
 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุง่ มนั่ ในการทำงาน

 7. รกั ความเปน็ ไทย  8. มีจิตสาธารณะ

19

7. ดา้ นคุณลักษณะของผู้เรยี นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวิชาการ  2. สื่อสารสองภาษา  3. ลำ้ หน้าทางความคิด

 4. ผลติ งานอย่างสร้างสรรค์  5. รว่ มกนั รบั ผิดชอบต่อสงั คมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได้)  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเปน็ )
 ทักษะด้านการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณและทกั ษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)
 ทกั ษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะด้านความรว่ มมอื การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผูน้ ำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะดา้ นการส่ือสาร สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันส่อื (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
ความมีเมตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

9. บรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลุ่มใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชิกในหอ้ งเรียนคือ

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมเี หตุผล : ให้นักเรียนสร้างสรรคผ์ ลงานและเกดิ ทักษะการปฏิบัติ , นกั เรยี นเกดิ ความ
ภาคภูมิใจในผลงานของตนและสง่ิ ท่ีเรียนรู้

3. หลกั ภมู คิ ้มุ กนั : ใหน้ ักเรยี นเกดิ ทักษะการทำงานกล่มุ และกล้าแสดงออก , นักเรยี นรู้จักการวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานใหส้ มาชกิ ภายในกลุ่มได้เหมาะสมกบั ความสามารถของแต่ละบุคคล

4. เง่อื นไขความรู้ : การวางแผนงานทีจ่ ะทำก่อนแล้วค่อยลงมือทำอยา่ งระมัดระวงั

5. เง่อื นไขคุณธรรม : อดทนทจี่ ะทำงาน และมคี วามขยนั ทีจ่ ะทำงานให้ออกมาไดด้ ีท่สี ุด , มีวินยั ในการ

ทำงาน

10. ชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตัวชวี้ ัด ช้นิ งาน ภาระงาน

ว 2.1 ม.1/7, - รายงานกิจกรรม สารบริสทุ ธมิ์ ี - อธิบายความสมั พันธร์ ะหว่างอะตอม ธาตุ

ม.1/8 องค์ประกอบอะไรบ้าง และสารประกอบ โดยใชแ้ ผนภาพหรอื สารสนเทศ

- รายงานกจิ กรรม โครงสรา้ งอะตอม - อธิบายโครงสร้างอะตอมโดยใชแ้ บบจำลอง

เปน็ อย่างไร

ว 2.1 ม.1/1 - รายงานกจิ กรรม เราจำแนกธาตุได้ - อธบิ ายสมบัติทางกายภาพบางประการ

ม.1/2 ม.1/3 อย่างไร ของธาตุโลหะ อโลหะและกง่ึ โลหะ โดยใช้

หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษท์ ี่ไดจ้ ากการ สงั เกต ทดสอบ

และใช้สารสนเทศที่ไดจ้ ากแหล่งขอ้ มูลตา่ ง ๆ

- จดั กลุ่มธาตุเปน็ โลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ

- วเิ คราะห์และสรปุ ผลจากการใช้ธาตโุ ลหะ

20

อโลหะ ก่ึงโลหะ และธาตกุ มั มันตรงั สี
- อภปิ รายนำเสนอแนวทางการใช้ธาตุอยา่ ง
ปลอดภัย

11. การวัดประเมนิ ผล

11.1การวัดและประเมินผลชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ กี าร

1.การสังเกตการณ์

2.การใช้ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ร่องรอยบง่ ช้ี 3.การวดั ประเมินการปฏบิ ตั ิ

เครื่องมือ

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมนิ การปฏิบัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผา่ นต้ังแต่ 2 รายการ ถอื วา่ ผา่ น ผ่าน 1

รายการถอื วา่ ไมผ่ า่ น

11.2การวดั และประเมินผลระหวา่ งการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจดั การเรยี นร้ขู อง

หน่วยการเรยี นรนู้ ้ี)

ส่งิ ท่ีต้องการวดั วิธีวดั ผล เคร่ืองมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน

1. ความรเู้ ก่ยี วกับ -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมินการ - นักเรยี นไดค้ ะแนน 12

- ประเภทของสารบรสิ ทุ ธิ์ ความคดิ เหน็ อภิปรายแสดง คะแนนขึ้นไป หรอื รอ้ ยละ

- องค์ประกอบของสาร ยกตวั อย่างการนำ ความ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์

บรสิ ุทธ์ิ ความรเู้ รือ่ งการจำแนก คิดเห็น - นักเรยี นไดค้ ะแนน

- โครงสรา้ งอะตอม ธาตุมาใช้ประโยชน์ใน ประเมินผลงาน

- การจำแนกธาตุและการใช้ ชีวติ ประจำวนั - แบบประเมนิ การ 13 คะแนนข้ึนไป หรือรอ้ ย

ประโยชน์ -การตรวจผลงาน ตรวจผลงานผเู้ รยี น ละ 80 ถือว่าผา่ นเกณฑ์

นักเรียน

2.ทกั ษะกระบวนการคดิ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมินการ -นักเรียนได้คะแนน 12

และทักษะกระบวนการกลมุ่ ความคิดเหน็ ระบุ อภปิ รายแสดง คะแนนขึ้นไป หรือรอ้ ยละ

ทกั ษะกระบวนการทาง ความคิดเห็น 80 ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

วิทยาศาสตร์ที่ได้ - แบบประเมนิ

ปฏิบตั จิ ากกิจกรรม พฤตกิ รรมการ

- สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม

ทำงานกลุ่ม

3. คณุ ลักษณะทพ่ี ึง - สังเกตค่านยิ มในการ - แบบประเมิน - นกั เรยี นไดค้ ะแนน

ประสงค์ ทำงานรว่ มกับผู้อืน่ และ คุณลกั ษณะอันพึง ประเมินคุณลกั ษณะ

และสมรรถนะผู้เรียน การทำงานในระบบ ประสงค์ อนั พงึ ประสงค์

- มวี ินยั ในการทำงานกลมุ่ กล่มุ 26 คะแนนข้นึ ไป

21

- นกั เรยี นเหน็ ความสำคัญ อภปิ ราย แสดงความ - แบบประเมนิ หรอื รอ้ ยละ 80
ของการทำงานร่วมกับผอู้ น่ื คิดเหน็ เก่ยี วกับผลการ สมรรถนะผเู้ รยี น ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์
และการทำงานในระบบกลมุ่ ทดลอง - นกั เรยี นไดค้ ะแนน

- ยอมรับความคิดเหน็ ซ่งึ กัน การประเมินสมรรถนะ
และกนั มคี วามเสยี สละและ 29 คะแนนขนึ้ ไป

อดทน หรือร้อยละ 80
ถือว่าผา่ นเกณฑ์

12. กจิ กรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 10 (สัปดาห์ที่ 7)
1. ขน้ั ต้งั ประเด็นปญั หา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครูใหน้ ักเรียนดูภาพเพชรกับแกรไฟต์ ในหนังสือเรยี น อภปิ รายโดยอาจใช้คำถามต่อไปน้ี
• เพชรกับแกรไฟตม์ ลี ักษณะเหมือนหรอื แตกตา่ งกันอยา่ งไร (เพชรและแกรไฟต์เปน็ ของแขง็

เหมอื นกัน เพชรและแกรไฟตม์ ีลกั ษณะแตกต่างกัน คอื เพชรโปร่งใสและมีความแขง็ แต่แกรไฟต์
ทบึ แสงและเปราะ)

• อนุภาคทีเ่ ล็กท่ีสุดของเพชรและแกรไฟต์เหมอื นหรอื แตกตา่ งกันอยา่ งไร (อนภุ าคทเี่ ลก็ ท่สี ุดของ
เพชรและแกรไฟต์เหมอื นกัน แต่มีการจัดเรยี งตวั ของอนภุ าคแตกตา่ งกัน)

• สารบริสทุ ธิ์อืน่ ๆ ยงั มอี ีกหรอื ไม่ และจะจำแนกสารบริสุทธเ์ิ หลา่ นนั้ ไดอ้ ยา่ งไร (นักเรยี นตอบตาม
ความเขา้ ใจ เช่น นำ้ ตาล น้ำ เกลอื แกง)

1.2 ครูให้นักเรยี นทำกจิ กรรมทบทวนความรู้กอ่ นเรยี น
1.3 ครูทบทวนความรู้เก่ียวกับสารบริสุทธิ์และสารผสม โดยนำตัวอย่างสารผสมจากกิจกรรมทบทวน
ความรู้ก่อนเรียน เชน่ พริกกับเกลือ นำ้ ปลา นำ้ เกลือ ใหน้ ักเรียนพิจารณาวา่ จะแยกสารผสมออกจากกนั ได้
อยา่ งไร (การร่อน การระเหยแหง้ การตกผลึก) และใหน้ ักเรยี นพจิ ารณาว่าสารบริสุทธ์ เช่น เกลอื แกง นำ้
นำ้ ตาล จะแยกต่อไปได้อกี หรือไม่ อย่างไร (สารบรสิ ทุ ธแ์ิ ยกตอ่ ไปด้วยวิธีการทใ่ี ชก้ บั สารผสมไมไ่ ด)้
1.4 ครูนำเข้าส่กู ิจกรรมที่ 2.4 สารบริสุทธ์ิมอี งคป์ ระกอบอะไรบ้าง โดยร่วมกันอภิปรายในประเดน็
ดงั ต่อไปน้ี

• กิจกรรมนเี้ กี่ยวกบั เรื่องอะไร (การแยกองค์ประกอบของสารบริสุทธิ์)
• สารบริสทุ ธ์ิท่ีใชเ้ ปน็ สารตัวอย่างในกิจกรรมนี้คอื สารใด (สารบริสุทธ์คิ ือนำ้ )
• จุดประสงค์ของกิจกรรมนเี้ ป็นอย่างไร (จุดประสงค์เพื่อแยกน้ำดว้ ยไฟฟ้า และอธบิ ายผลทีไ่ ด้จาก
การแยกนำ้ ดว้ ยไฟฟา้ )
• กิจกรรมนี้มีวิธีการดำเนินกจิ กรรมโดยสรปุ อย่างไร (เติมนำ้ และเบคกงิ้ โซดาในเคร่ืองแยกนำ้ ดว้ ย
ไฟฟ้า ตอ่ วงจรเครื่องแยกน้ำดว้ ยไฟฟา้ กับแบตเตอร่ี สังเกตการเปล่ยี นแปลงทีเ่ กดิ ขึน้ ทดสอบสารท่ีเกดิ ขน้ึ จาก
การแยกน้ำด้วยไฟฟา้ จากขัว้ บวกและขวั้ ลบโดยใช้ธูปท่ลี ุกเป็นเปลว บันทกึ ผล ทำซ้ำการแยกน้ำด้วยไฟฟ้าและ
ทดสอบสารท่ีเกดิ ขึน้ จากข้ัวบวกและขัว้ ลบโดยใชธ้ ูปที่เปน็ ถา่ นแดง บันทกึ ผล)
• ขอ้ ควรระวงั ในการทำกจิ กรรมมหี รอื ไม่อยา่ งไร (1.ควรใชไ้ ฟแชก็ ดว้ ยความระมดั ระวัง อยา่ ใหเ้ ปลว
ไฟเขา้ ใกล้ส่งิ ทอี่ าจเปน็ เชื้อเพลิง เชน่ เสน้ ผม เสื้อผ้า กระดาษ 2.ทดสอบสารท่ีเก็บได้ในหลอดทั้งสองด้วยความ
ระมดั ระวงั เนื่องจากสารเหล่านั้นอาจทำให้เกดิ เสียงหรือเกิดเปลวไฟ)

22

ชว่ั โมงที่ 11-12 (สัปดาห์ที่ 7)
2. ขนั้ สืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครูให้นกั เรยี นอา่ นวธิ ีการดำเนินกิจกรรมในหนังสอื เรียนครูอธบิ ายเพ่มิ เติมในประเด็นทนี่ กั เรยี นยัง
ตอบไมค่ รบถ้วน
2.2 ครูให้นักเรียนวางแผนการทำงานรว่ มกัน พร้อมทงั้ ออกแบบตารางบนั ทึกผลให้เรยี บรอ้ ยก่อนทำ
กจิ กรรม และตรวจสอบการออกแบบตารางบันทึกผลของนักเรียนแต่ละกลมุ่ โดยอาจใหบ้ างกลุม่ นำเสนอ แล้ว
ครใู ห้คำแนะนำปรับแกต้ ารางตามความเหมาะสม
2.3 ครูอาจมอบหมายใหน้ กั เรียนบันทกึ ผลการทดสอบแก๊สเปน็ ภาพเคล่ือนไหวโดยใช้โทรศัพทม์ ือถอื
ประกอบกบั การบันทึกผลในตารางที่นกั เรียนออกแบบ
2.4 นักเรยี นทำกิจกรรมตามวิธกี ารในหนงั สือเรยี น โดยครูสงั เกตการเปลีย่ นแปลงเม่ือใช้เครื่องแยกน้ำ
ด้วยไฟฟา้ การเกบ็ สารจากหลอดแกว้ และการทดสอบสารเพอ่ื ใหค้ ำแนะนำนกั เรียน รวมทง้ั นำข้อมลู มาใช้
ประกอบการอภปิ รายหลังกิจกรรมเน้นให้นักเรียนทำการทดสอบสารและสงั เกตการเปลีย่ นแปลงท่ีเกิดขนึ้ อยา่ ง
ละเอียด และวเิ คราะห์ชนดิ ของสารท่ีเก็บไดจ้ ากข้ัวบวกและขั้วลบจากสมบตั ขิ องสาร
2.5 นักเรียนรว่ มกนั อภปิ รายผลจากการทำกิจกรรมและเพอื่ ใหไ้ ดข้ อ้ สรุปวา่ สารบรสิ ุทธ์ิเมอ่ื ได้รบั
พลงั งานอาจแยกสลายให้องค์ประกอบย่อยมากกว่า 1 ชนดิ เช่น น้ำมอี งค์ประกอบย่อย 2 ชนดิ คอื ออกซเิ จน
และไฮโดรเจนรวมตัวกนั สารบริสทุ ธ์ทิ ม่ี อี งค์ประกอบยอ่ ยมากกว่า 1 ชนดิ เรียกวา่ สารประกอบ
(compound) สว่ นสารบรสิ ุทธ์ิทีม่ อี งค์ประกอบย่อยเพียงชนิดเดียว เรียกว่า ธาตุ (element)
2.6 ร่วมกนั อภปิ รายเพื่อให้ไดข้ ้อสรปุ เกย่ี วกับองคป์ ระกอบของสารบริสทุ ธ์ิ ตามประเด็น ดังน้ี

• สารบริสทุ ธ์ทิ ม่ี ีองค์ประกอบมากกว่า 1 ชนิด ในอัตราส่วนคงท่ี เป็น สารประกอบ
• สารบรสิ ทุ ธิ์ทมี่ อี งค์ประกอบเพียง 1 ชนิด เป็น ธาตุ
• อะตอม เป็น องค์ประกอบของธาตุและสารประกอบ อะตอมคอื อนภุ าคทเี่ ล็กท่สี ดุ ของธาตุ
2.7 ครูใหน้ กั เรียนสืบค้นจากแหลง่ ข้อมูลท่เี ชอื่ ถอื ได้เกี่ยวกับช่อื ธาตอุ นื่ ๆ และนำเสนอช่ือธาตุ และทมี่ า
ของชื่อธาตุ เชน่ ทมี่ าจากชอื่ นักวทิ ยาศาสตร์ ประเทศ ลักษณะของธาตใุ นภาษาละติน และครูอาจเสนอแนะ
การอ่านออกเสียงชอ่ื ธาตทุ นี่ กั เรยี นสนใจทีม่ าจากภาษาอังกฤษหรอื ละติน เช่น โครเมียม โพแทสเซียม
กำมะถนั (Sulphur ซลั -เฟอร์) ทองแดง (copperคอป-เปอร)์ โดยใช้แหลง่ เรียนรู้ เชน่ ราชบัณฑิตยสถาน
http://www.royin.go.th/?page_id=637 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2550/E
/134/2.PDF หรือพจนานกุ รมตา่ ง ๆ
2.8 ครูเชอื่ มโยงไปส่กู ารเรยี นเร่อื งต่อไปวา่ อะตอมของธาตุต่าง ๆ มีองคป์ ระกอบที่แยกยอ่ ยลงไปอกี ซ่ึง
นักเรียนจะได้เรียนรู้จากแบบจำลองโครงสรา้ งอะตอมของธาตตุ า่ ง ๆ
ช่วั โมงที่ 13-15 (สัปดาห์ที่ 8)
3. ขั้นสรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ครทู บทวนความรู้เกี่ยวกับอะตอม โดยใช้คำถาม เช่น อะตอมคืออะไร สารชนิดใดบ้างที่ประกอบไป
ดว้ ยอะตอม แล้วอธบิ ายเพ่ิมเตมิ วา่ อะตอมมีองค์ประกอบแยกยอ่ ยลงไปอีก นักวทิ ยาศาสตร์สร้างแบบจำลอง
อะตอมเพ่อื ใช้ในการอธิบายโครงสร้างภายในของอะตอม
3.2 ให้นักเรียนอ่านเน้ือหาในหนังสือเรียน ดูวีดิทัศน์ท่ีแสดงโครงสร้างอะตอม แล้วร่วมกันอภิปราย
เพื่อให้ได้ข้อสรุปเกย่ี วกบั โครงสร้างอะตอม ตามประเดน็ ดงั น้ี
• อะตอมของธาตุแต่ละชนดิ ประกอบด้วยอนภุ าคอะไรบ้าง

23

• โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน มีจำนวน การเรียงตัวและประจุไฟฟ้า เหมือนหรือแตกต่างกัน
อยา่ งไร

3.3 นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปสงิ่ ท่ีเรียนรู้จากการทำกิจกรรมและการอ่านเรอื่ งโครงสรา้ งอะตอม
โดยใชค้ ำถาม เชน่ อะตอมประกอบดว้ ยอนุภาคอะไรบา้ ง อะตอมของแตล่ ะธาตุเหมอื นหรือแตกตา่ งกันอย่างไร
นวิ เคลียสประกอบด้วยอนภุ าคอะไรบ้าง ครอู าจวาดแบบจำลองอะตอมของธาตตุ า่ ง ๆ เพอื่ ให้นักเรยี นระบุชนิด
และจำนวนของอนภุ าคในแบบจำลอง

3.4 ครูเชื่อมโยงไปสู่การเรียนเร่ืองต่อไปว่า แม้จะมีธาตุแตกต่างกันถึง 118 ชนิด แต่นักวิทยาศาสตร์
สามารถจัดธาตุเป็นหมวดหมู่ใหญ่ ๆ การจัดหมวดหมู่ธาตุยังสัมพันธ์กับการใช้ประโยชน์จากธาตุและ
สารประกอบอีกด้วย นกั เรยี นจะไดเ้ รยี นรู้เก่ยี วกบั การจำแนกธาตแุ ละการนำธาตุและสารประกอบไปใชใ้ นเรื่อง
ต่อไป

ชวั่ โมงท่ี 16-17 (สปั ดาหท์ ่ี 9)
4. ขั้นการสือ่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาในหนังสือเรียนเรือ่ งการจำแนกธาตเุ ป็น โลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ และเรื่องธาตุ
กมั มันตรังสี แลว้ รว่ มกนั อภิปรายเพอื่ ใหไ้ ด้ข้อสรปุ เกีย่ วกบั การจำแนกธาตุ ตามประเด็น ดังนี้

• ธาตุจำแนกได้อย่างไรบ้าง ใช้สมบัติใดบ้างเป็นเกณฑ์ในการจำแนก (ธาตุสามารถจำแนกได้เป็น
โลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ โดยใช้สมบัตทิ างกายภาพเป็นเกณฑ์ ไดแ้ ก่ ความมนั วาว การนำไฟฟา้ และนำความ
ร้อน จุดเดอื ดและจุดหลอมเหลว ความเหนยี ว นอกจากน้ีสามารถจำแนกธาตุกัมมนั ตรังสี โดยใช้สมบัติการแผ่
รังสีเป็นเกณฑ)์

• ธาตุแต่ละกลุ่มมสี มบัติอยา่ งไร มีธาตุใดบ้างเปน็ ตวั แทนในแต่ละกลมุ่ (ธาตุโลหะมีพืน้ ผวิ มันวาว นำ
ไฟฟา้ และนำความรอ้ นไดด้ ี จุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง ไม่เปราะ เหนยี ว เช่น อะลมู ิเนยี ม ทองแดง สังกะสี
ธาตอุ โลหะมีพื้นผิวด้าน ไม่มันวาว นำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ไม่ดี จุดเดือดและจดุ หลอมเหลวต่ำ เปราะ ไม่
เหนียว เชน่ โบรมนี กำมะถัน คาร์บอน ธาตุกงึ่ โลหะมีสมบัติบางอย่างเหมือนโลหะและสมบตั ิบางอย่างเหมอื น
อโลหะ นำไฟฟ้าได้ดีกว่าอโลหะ อโลหะ แต่ไม่ดีเท่าโลหะ เช่น พลวง โบรอน ซิลิคอนส่วนธาตุกัมมันตรังสีแผ่
รงั สไี ดเ้ ช่น เรดอน พอโลเนยี ม)

4.2 ร่วมกันอภปิ รายเพือ่ ให้ไดข้ อ้ สรุปเกีย่ วกบั การใช้ประโยชนธ์ าตุ ตามประเดน็ ดงั นี้
• ธาตุโลหะนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งไรบ้าง (ธาตุโลหะใชใ้ นเคร่อื งจักร เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า ภาชนะหงุ ตม้
• ธาตุอโลหะนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไรบ้าง (ธาตอุ โลหะเป็นองค์ประกอบของปยุ๋ )
• ธาตุกึ่งโลหะนำไปใชป้ ระโยชน์ได้อย่างไรบ้าง (ธาตุกึ่งโลหะใช้ในอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นสารกึ่ง

ตวั นำ แบตเตอรร่ี ถยนต์ แผงเซลลแ์ สงอาทิตย์ แผ่นซีด)ี
• ธาตุกัมมันตรังสีนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไรบ้าง (ธาตุกัมมันตรังสีใช้ในการแพทย์ การเกษตร

อุตสาหกรรม เชน่ การรกั ษาโรคมะเร็ง การฉายรังสีอาหาร การตรวจสอบรอยรา้ วในโลหะ)
• ธาตุโลหะ อโลหะ กงึ่ โลหะ และธาตุกมั มนั ตรงั สีอาจก่ออันตรายไดอ้ ย่างไรบ้าง (โลหะบางชนิดทีใ่ ช้

ในอุตสาหกรรมอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อตับ หัวใจ ไต ธาตุก่ึงโลหะบางชนิดเป็นพิษต่อร่างกาย เช่น สารหนู
ซลิ คิ อน)

ชวั่ โมงที่ 18 (สัปดาหท์ ี่ 9)
5. ขนั้ การบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)

24

5.1 สบื คน้ การใช้ประโยชนจากธาตุโลหะ อโลหะ ก่งึ โลหะและธาตกุ ัมมันตรงั สี อยา่ งละ 1 ชนดิ

วิเคราะหผ์ ลจากการใช้ธาตุเปล่านั้นท่ีมตี ่อสงิ่ มีชวี ิต สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคม นำเสนอผลการวเิ คราะห์

ในรูปแบบตา่ ง ๆ ทนี่ ่าสนใจ เช่น การ์ตนู อนิ โฟกราฟิก ผังมโนทศั น์ บทความ

13. สื่อการเรียนรู้/แหลง่ เรยี นรู้

12.1ส่ือการเรยี นรู้

1) ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนังสอื แบบเรียน 3) สอื่ เพาเวอร์พอยต์

12.2 แหล่งเรียนรู้

1) อนิ เตอร์เน็ต 2) หอ้ งสมุด

14. บนั ทึกหลังการจัดการเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- บอกประเภทของสารบรสิ ทุ ธิ์ ......................................................................................

- บอกองคป์ ระกอบของสารบรสิ ุทธิ์ ......................................................................................

- โครงสร้างอะตอม ......................................................................................

- การจำแนกธาตุและการใชป้ ระโยชน์ ................................................................................
......................................................................................

......................................................................................

.....................................................................................

2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการคิด ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการกล่มุ ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

3. ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ ม ......................................................................................

อนั พึงประสงค์ : ......................................................................................

- มวี นิ ัย ......................................................................................

- ใฝ่เรยี นรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................
- รกั ความเป็นไทย
......................................................................................

...............................................................................

......................................................................................

......................................................................................

4. ปญั หาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

5. วธิ แี ก้ปัญหา

25

....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................

ลงชือ่ ........................................ครูผสู้ อน ลงช่อื ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
( นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รัตน์ ) (นางกณกิ าร์ พฒั รากลุ )

ลงชื่อ........................................... ลงชื่อ...........................................
( นางกณิการ์ พัฒรากุล ) ( นางรพีพร คำบญุ มา )
หัวหน้างานนเิ ทศ
รองผู้อำนวยการกลุม่ บรหิ ารวชิ าการ

ลงชื่อ ........................................................
( นายจงจดั จนั ทบ )

ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวทิ ยาคม

26

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 4
หน่วยการเรียนรู้ที่…………...3....หน่วยพนื้ ฐานของสิ่งมชี ีวติ ..........เร่อื ง.............เซลล.์ .............
รายวิชา……......วิทยาศาสตร์……..1.......รหัสวิชา…......ว 21101 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กล่มุ สาระการเรียนรู้..วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปีการศกึ ษา… 2564...ภาคเรียนท่ี..1...เวลา...9...ชวั่ โมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชว้ี ดั /ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพน้ื ฐานมที ง้ั มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชี้วัด
รายวชิ าเพิ่มเตมิ มเี ฉพาะมาตรฐานการเรยี นรู้และผลการเรียนรู)้

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ดั ว 1.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/4
สาระท่ี ๑ วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัตขิ องสิ่งมีชีวิต หนว่ ยพน้ื ฐานของสิง่ มชี วี ติ การลำเลยี งสารเขา้
และออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหนา้ ที่ของระบบตา่ ง ๆ ของสตั วแ์ ละมนุษย์ทีท่ ำงาน
สัมพันธก์ ัน ความสมั พันธ์ของโครงสรา้ ง และหน้าท่ีของอวัยวะต่าง ๆ ของพชื ท่ที ำงานสมั พันธก์ นั รวมทั้งนำ
ความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

ตัวช้ีวัด
ว 1.2 ม.1/1 เปรียบเทยี บรูปรา่ ง ลักษณะ และโครงสรา้ งของเซลล์พชื และเซลล์สตั ว์ รวมทง้ั
บรรยายหนา้ ท่ีของผนงั เซลล์ เย่ือหมุ้ เซลล์ ไซโทพลาซึม นิวเคลยี ส แวคิวโอล ไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต์
ว 1.2 ม.1/2 ใชก้ ลอ้ งจุลทรรศนใ์ ช้แสงศกึ ษาเซลลแ์ ละโครงสรา้ งต่าง ๆ ภายในเซลล์
ว 1.2 ม.1/4 อธบิ ายการจดั ระบบของสิ่งมีชีวิต โดยเร่ิมจากเซลล์ เน้ือเยอ่ื อวัยวะ ระบบอวัยวะ
จนเปน็ ส่งิ มีชีวิต
2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวชว้ี ัดท่ีใช้ในหน่วยการเรยี นรนู้ ี้เขยี นเปน็ แบบความเรียง)
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีเซลล์เป็นส่วนประกอบ บางชนิดประกอบด้วยเซลล์ 1 เซลล์ บางชนิด
ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ เซลล์ของสิ่งมีชีวิตจะมีขนาดเล็กมากจนไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจึง
ต้องใชก้ ล้องจุลทรรศนใ์ ช้แสงเป็นเครือ่ งมือช่วยในการศึกษาเซลล์พชื และเซลล์สัตว์มีโครงสรา้ งพื้นฐานเหมือน
กัน คือ มีเย่ือหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียสซ่ึงโครงสร้างพื้นฐานนี้จะทำหน้าท่ีแตกต่างกันไป แต่เซลล์
พืชมีโครงสร้างบางอย่างท่ีไม่พบในเซลล์สัตว์ ได้แก่ผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์เซลล์มีรูปร่างลักษณะท่ี
หลากหลายเพื่อให้เหมาะสมกับหน้าที่ของเซลล์น้ัน ๆ โดยเซลล์ชนิดเดียวกันหรือหลายชนิดจะทำงานร่วมกัน
เป็นเน้อื เย่ือ เนอื้ เยือ่ หลายชนิดรวมกันเป็นอวัยวะ อวัยวะทำงานรว่ มกันจดั เป็นระบบอวยั วะ และระบบอวยั วะ
ทุกระบบทำงานรว่ มกนั จนเป็นสิ่งมชี ีวิต
3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรยี นร้แู กนกลาง/สาระการเรียนรเู้ พิม่ เติม (รายวชิ าเพ่ิมเติม)
สาระการเรียนร้แู กนกลาง
• เซลล์เป็นหนว่ ยพ้นื ฐานของส่ิงมีชวี ติ สิ่งมชี วี ติ บางชนดิ มีเซลล์เพียงเซลลเ์ ดียว เช่น อะมีบา
พารามเี ซียม ยสี ต์ บางชนดิ มีหลายเซลล์ เช่น พชื สตั ว์
• โครงสร้างพน้ื ฐานท่พี บทั้งในเซลลพ์ ืชและเซลล์สัตว์ และสามารถสังเกตได้ดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศนใ์ ช้
แสง ได้แก่ เยื่อห้มุ เซลล์ ไซโทพลาซึม และนวิ เคลียส โครงสร้างท่พี บในเซลลพ์ ืชแตไ่ ม่พบในเซลล์สัตว์ ได้แก่
ผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์
• โครงสร้างตา่ ง ๆ ของเซลลม์ ีหน้าทแ่ี ตกต่างกัน

27

- ผนังเซลล์ ทำหน้าท่ีให้ความแข็งแรงแกเ่ ซลล์

- เย่ือหมุ้ เซลล์ ทำหนา้ ทหี่ อ่ ห้มุ เซลล์และควบคมุ การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์

- นิวเคลียส ทำหน้าท่คี วบคมุ การทำงานของเซลล์

- ไซโทพลาซึม มีออร์แกเนลล์ที่ทำหนา้ ที่แตกต่างกัน

- แวคิวโอล ทำหน้าทเ่ี กบ็ นำ้ และสารตา่ ง ๆ

- ไมโทคอนเดรยี ทำหน้าทเ่ี กย่ี วกบั การสลายสารอาหารเพือ่ ให้ได้พลังงานแกเ่ ซลล์

- คลอโรพลาสต์ เปน็ แหลง่ ที่เกิดการสังเคราะหด์ ้วยแสง

• พชื และสัตวเ์ ป็นสงิ่ มีชีวิตหลายเซลล์มกี ารจดั ระบบ โดยเรม่ิ จากเซลล์ไปเปน็ เนื้อเยือ่ อวยั วะ ระบบ

อวยั วะ และส่ิงมีชีวิตตามลำดบั เซลลห์ ลายเซลลม์ ารวมกันเป็นเนื้อเยอ่ื เนื้อเย่อื หลายชนิดมารวมกนั และ

ทำงานรว่ มกันเป็นอวัยวะ อวัยวะตา่ ง ๆ ทำงานร่วมกนั เปน็ ระบบอวัยวะ ระบบอวยั วะทกุ ระบบทำงานรว่ มกัน

เป็นสิ่งมีชีวิต

3.2 สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถน่ิ (ถา้ ในคำอธิบายรายวชิ าพดู ถงึ หลกั สตู รท้องถิ่นให้ใส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. ใชก้ ล้องจุลทรรศน์ใช้แสงศกึ ษาเซลลแ์ ละโครงสร้างตา่ ง ๆ ภายในเซลล์

2. เปรยี บเทียบรูปรา่ ง ลกั ษณะ และโครงสร้างของเซลล์พชื และเซลลส์ ตั ว์ รวมทั้งบรรยายหน้าที่ของผนัง

เซลล์เยื่อหมุ้ เซลล์ ไซโทพลาซมึ นิวเคลียส แวคิวโอล ไมโทคอนเดรีย และคลอโรพลาสต์

3. อธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหว่างรูปร่างกบั การทำหน้าท่ีของเซลล์

4. อธบิ ายการจดั ระบบของสิง่ มชี วี ติ โดยเริ่มจากเซลล์ เน้ือเยื่อ อวยั วะ ระบบอวัยวะ จนเปน็ ส่ิงมีชวี ิต

5. เหน็ คุณค่าของการนำความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์มาใช้เพอื่ อำนวยความสะดวกในชีวิตประจำวัน

5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน (เลอื กเฉพาะขอ้ ท่เี กิดในหน่วยการเรยี นรูน้ ี้)

 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (เลอื กเฉพาะขอ้ ทเี่ กิดในหนว่ ยการเรยี นรนู้ ้ี)

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  2. ซ่อื สัตยส์ จุ รติ

 3. มีวินยั  4. ใฝเ่ รียนรู้
 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. ม่งุ มั่นในการทำงาน

 7. รักความเปน็ ไทย  8. มีจติ สาธารณะ

7. ดา้ นคุณลักษณะของผ้เู รยี นตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวชิ าการ  2. ส่ือสารสองภาษา  3. ลำ้ หนา้ ทางความคดิ

 4. ผลิตงานอยา่ งสรา้ งสรรค์  5. รว่ มกนั รับผดิ ชอบตอ่ สงั คมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได)้  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )
 ทักษะดา้ นการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะด้านการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)
 ทกั ษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 28

 ทักษะดา้ นความรว่ มมอื การทำงานเป็นทมี และภาวะผนู้ ำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทกั ษะด้านการส่ือสาร สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันสือ่ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทกั ษะอาชีพ และทกั ษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
ความมเี มตตา (วินยั คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

9. บูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรยี นคอื

ประมาณกลมุ่ ละ 4 – 6 คน

2. หลักความมเี หตุผล : ให้นกั เรยี นสรา้ งสรรคผ์ ลงานและเกดิ ทักษะการปฏิบตั ิ , นกั เรยี นเกิดความ

ภาคภูมใิ จในผลงานของตนและสงิ่ ทีเ่ รียนรู้

3. หลกั ภูมิค้มุ กัน : ใหน้ ักเรียนเกิดทกั ษะการทำงานกลุ่ม และกลา้ แสดงออก , นักเรยี นรู้จกั การวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานใหส้ มาชิกภายในกลุ่มไดเ้ หมาะสมกับความสามารถของแต่ละบคุ คล

4. เง่อื นไขความรู้ : การวางแผนงานทจ่ี ะทำก่อนแล้วค่อยลงมอื ทำอยา่ งระมัดระวงั

5. เง่อื นไขคณุ ธรรม : อดทนท่จี ะทำงาน และมคี วามขยันทจ่ี ะทำงานให้ออกมาได้ดที ส่ี ุด , มีวนิ ยั ในการ

ทำงาน

10. ช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

ตัวชี้วัด ชิ้นงาน ภาระงาน

ว 1.2 ม.1/1 -รายงานกิจกรรมท่ี 3.1 โลกใต้กล้อง - ใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงสังเกตสไลด์ถาวรของ

ม.1/2 จุลทรรศนเ์ ป็นอยา่ งไร เนื้อเยอื่ พืชเนอื้ เยือ่ สัตว์ และสง่ิ มชี ีวติ เซลลเ์ ดยี ว

-รายงานกิจกรรมท่ี 3.2 เซลล์พืชและ - วาดภาพเซลล์และโครงสร้างภายในเซลล์ตามที่

เซลล์ สงั เกตเหน็ โดยการใชก้ ล้องจุลทรรศนใ์ ชแ้ สง

สัตวแ์ ตกตา่ งกนั อยา่ งไร

ว 1.2 ม.1/4 - เขียนแผนภาพแสดงการจัดระบบ - อธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหว่างรูปรา่ งกับการทำ

ของส่ิงมีชวี ิต โดยแสดงความสมั พันธ์ หน้าที่ของเซลล์ เชน่ เซลลป์ ระสาท เซลลค์ ุม

ระหว่างเซลล์ เน้ือเยื่ออวัยวะ ระบบ เซลลเ์ มด็ เลือดแดง

อวัยวะและสง่ิ มชี ีวิต

11. การวัดประเมินผล 3.การวดั ประเมนิ การปฏิบัติ
11.1การวัดและประเมนิ ผลช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด
วธิ กี าร 3. แบบวดั ประเมนิ การปฏบิ ัติ

1.การสงั เกตการณ์
2.การใชช้ ุดกิจกรรมวิทยาศาสตรร์ ่องรอยบ่งช้ี

เคร่ืองมอื
1. แบบสังเกตการณ์
2. ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์

เกณฑ์

29

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผา่ นตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1

รายการถอื ว่า ไมผ่ า่ น

11.2 การวดั และประเมนิ ผลระหวา่ งการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรขู้ อง

หน่วยการเรยี นรนู้ ้)ี

สิ่งทีต่ อ้ งการวดั วิธวี ดั ผล เคร่อื งมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน

1. ความรเู้ กยี่ วกับ -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมินการ - นกั เรยี นได้คะแนน

- ใชก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ใชแ้ สง ความคิดเหน็ อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขนึ้ ไป

สงั เกตสไลด์ถาวรของเนือ้ เย่ือ -การตรวจผลงาน คิดเห็น หรือรอ้ ยละ 80

พืชเนื้อเยอ่ื สตั ว์ และส่ิงมชี วี ติ นักเรยี น ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

เซลล์เดยี ว - แบบประเมินการ - นกั เรียนไดค้ ะแนน

- เซลล์และโครงสร้างภายใน ตรวจผลงานผู้เรยี น ประเมินผลงาน

เซลล์ 13 คะแนนข้นึ ไป

- ความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่าง หรือร้อยละ 80

กับการทำหน้าที่ของเซลล์ เช่น ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

เซลล์ประสาท เซลล์คุมเซลลเ์ ม็ด

เลือดแดง

2.ทกั ษะกระบวนการคดิ และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมินการ -นกั เรยี นได้คะแนน

ทักษะกระบวนการกลุ่ม ความคิดเห็นระบุ อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขึ้นไป

ทักษะกระบวน คดิ เหน็ หรือร้อยละ 80 ถอื วา่

การทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่ - แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์

ได้ปฏบิ ัตจิ ากกิจกรรม พฤติกรรมการ

- สังเกตพฤตกิ รรมการ ทำงานกลุม่

ทำงานกลมุ่

3. คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ - สังเกตค่านิยมในการ - แบบประเมนิ - นกั เรียนได้คะแนน

และสมรรถนะผู้เรยี น ทำงานรว่ มกบั ผอู้ ่ืน คณุ ลักษณะอันพงึ ประเมินคณุ ลกั ษณะ

- มวี นิ ัยในการทำงานกลุ่ม และการทำงานใน ประสงค์ อันพึงประสงค์

- นกั เรยี นเหน็ ความสำคัญ ระบบกล่มุ 26 คะแนนข้ึนไป

ของการทำงานรว่ มกบั ผอู้ ่ืนและ อภิปราย แสดงความ หรอื ร้อยละ 80

การทำงานในระบบกล่มุ คดิ เหน็ เกยี่ วกับผลการ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

- ยอมรับความคิดเหน็ ซ่งึ กนั ทดลอง - แบบประเมิน - นักเรยี นได้คะแนน

และกนั มีความเสียสละและ สมรรถนะผูเ้ รยี น การประเมนิ สมรรถนะ

อดทน 29 คะแนนขน้ึ ไป

หรือร้อยละ 80

ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรยี นรู้

ช่วั โมงท่ี 1 (สัปดาห์ท่ี 10)

1. ข้นั ต้งั ประเด็นปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)

30

1.1 ครูใหน้ ักเรียนดูภาพในหนังสือเรยี น ร่วมกนั อภิปรายและตอบคำถามดงั ตอ่ ไปน้ี
• นกั เรยี นสงั เกตเหน็ สง่ิ มีชวี ติ อะไรบ้าง (เปด็ ใบบัว)
• นกั เรียนคดิ วา่ ในน้ำมสี ่งิ มีชวี ิตเล็ก ๆ ท่ีเรามองไมเ่ ห็นหรอื ไม่ เช่นอะไรบ้าง (นักเรยี นสามารถตอบ

ได้ตามความเข้าใจของตนเองแต่ครูควรอธิบายเพ่ิมเติมว่าในแหล่งนำ้ ทุกท่ีจะมีส่งิ มีชวี ิตขนาดเลก็ อาศัยอยู่ เชน่
พารามเี ซียม สาหร่ายบางชนิด)

• นักเรียนคดิ ว่าส่งิ ทอ่ี ยภู่ ายในวงกลม 3 วงนี้คืออะไร เก่ยี วขอ้ งกับสิง่ มชี ีวติ ในภาพอยา่ งไร
(นกั เรียนสามารถตอบไดต้ ามความเข้าใจของตนเอง แต่ครอู ธบิ ายเพิ่มเตมิ ว่า ภายในวงกลม 2 วง ด้านบน คอื
ส่วนประกอบยอ่ ย ๆของพชื และสัตว์ เรียกว่า เซลล์ ส่วนวงกลมดา้ นลา่ งเป็นสง่ิ มีชวี ิตเซลล์เดยี วคอื พารามี
เซียม)

1.2 ครูเช่ือมโยงเข้าสู่บทเรียน โดยใช้คำถามวา่ จากทเ่ี รียนมาแลว้ ว่าธาตปุ ระกอบด้วยหน่วยย่อยทเี่ ลก็
ทสี่ ุดทแ่ี สดงสมบตั ิของธาตุเรียกวา่ อะตอม นกั เรยี นคิดวา่ สง่ิ มชี วี ิตจะมีหน่วยยอ่ ยทเี่ ลก็ ทีส่ ุดทีแ่ สดง
สมบตั ิของการมชี วี ิตหรอื ไม่ หน่วยยอ่ ยทีเ่ ล็กทส่ี ุดนั้นเรียกวา่ อะไร และมรี ูปร่างลกั ษณะอย่างไร

1.3 ครูใหน้ กั เรียนสังเกตภาพจากหนังสือเรยี นซ่ึงเป็นภาพเลือดทีก่ ำลังแขง็ ตัวภายใตก้ ล้องจุลทรรศน์ท่มี ี
กำลงั ขยายสูงและอา่ นเน้ือหานำบท จากนน้ั อภปิ รายโดยใช้คำถามต่อไปน้ี

• เลือดทก่ี ำลงั แข็งตัวประกอบด้วยอะไรบา้ ง(เซลล์เมด็ เลือดแดง เซลล์เม็ดเลอื ดขาว และ
เสน้ ใยไฟบรนิ )

• รูปรา่ งลกั ษณะของเซลลแ์ ต่ละชนดิ มคี วามเหมือนหรือตา่ งกันหรอื ไมอ่ ยา่ งไร (ตา่ งกนั โดยเซลล์เม็ด
เลือดแดง มีลกั ษณะเปน็ ทรงกลมสแี ดง เว้าสว่ นกลาง เซลล์เมด็ เลือดขาวมีลักษณะเป็นทรงกลมสีขาว สว่ น
ไฟบรินเป็นสารประกอบประเภทโปรตีน)

• เซลล์แตล่ ะชนิดมหี น้าทีแ่ ตกต่างกันอย่างไร (เซลล์เมด็ เลอื ดแดงทำหน้าท่ีลำเลียงแก๊สไปยงั สว่ น
ตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย เซลลเ์ ม็ดเลือดขาวทำหนา้ ท่ีกำจัดเชอ้ื โรค)

• เราสามารถสงั เกตลกั ษณะของเซลล์เหลา่ นั้นไดโ้ ดยวธิ กี ารใด (สามารถสังเกตไดโ้ ดยใชก้ ลอ้ ง
จุลทรรศน์ทม่ี ีกำลังขยายสงู )

1.4 ครูนำเข้าสู่บทเรยี นโดยแจง้ ให้นักเรียนทราบวา่ นักเรยี นจะไดฝ้ กึ การใช้กลอ้ งจุลทรรศนใ์ ช้แสงสงั เกต
เซลล์ เปรียบเทียบรปู ร่างลกั ษณะและโครงสรา้ งของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ อธิบายความสัมพันธร์ ะหวา่ ง
รูปร่างกับหน้าที่ของเซลล์ และอธิบายการจัดระบบของสิ่งมีชีวติ

1.5 ครูตรวจสอบความรเู้ ดิมของนกั เรียนเก่ียวกับกลอ้ งจลุ ทรรศน์และเซลล์โดยให้ทำกจิ กรรมรู้อะไรบ้าง
ก่อนเรียน

ชั่วโมงที่ 2-5 (สัปดาห์ที่ 10-11)

31

2. ข้ันสืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครใู ห้นกั เรยี นเขา้ สกู่ ิจกรรม 3.1 โดยนำน้ำ 1-2 หยด จากแหล่งน้ำบรเิ วณรอบ ๆ โรงเรยี นมาให้
นักเรียนสงั เกตดว้ ยกล้องจลุ ทรรศน์ใชแ้ สง ซงึ่ ครคู วรตรวจสอบหยดนำ้ กอ่ นนำมาใหน้ กั เรียนสังเกต จากนั้นใช้
คำถามเพ่อื เชอ่ื มโยงเขา้ สกู่ ิจกรรม เช่น

• ก่อนสงั เกตด้วยกล้องจลุ ทรรศน์ใช้แสง นักเรียนสังเกตเหน็ อะไรในหยดน้ำบ้าง (นกั เรียนตอบได้
ตามทส่ี งั เกตเหน็ จรงิ เชน่ ไมเ่ ห็น)

• หลังจากสังเกตด้วยกลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ช้แสง นักเรียนสงั เกตเห็นอะไรในหยดนำ้ บ้าง (นักเรยี นตอบได้
ตามทส่ี งั เกตเหน็ จรงิ เชน่ เห็นสงิ่ มชี วี ติ ขนาดเลก็ )

• นกั เรยี นสังเกตเหน็ ส่ิงตา่ ง ๆ ในหยดน้ำได้อยา่ งไร (ใช้กลอ้ งจุลทรรศน์ใช้แสง)
• นกั เรียนทราบหรอื ไมว่ ่ากลอ้ งจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงมวี ิธีการใช้งานอย่างไร และถ้านำไปสงั เกตช้ินสว่ น
ของสิง่ มีชีวิตจะเป็นอย่างไร (นกั เรียนตอบได้ตามความเขา้ ใจ โดยครอู ธบิ ายวา่ นกั เรยี นจะไดเ้ รียนรสู้ ิง่ ต่าง ๆ น้ี
ในกจิ กรรมต่อไป)
2.2 ครูอธิบายการใช้กลอ้ งจุลทรรศนใ์ ช้แสง (นักเรยี นสงั เกตสว่ นประกอบ อ่านวธิ กี ารใช้ และฝกึ การ
ใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์ใชแ้ สงเพ่อื ให้สามารถใชไ้ ด้อยา่ งถูกตอ้ ง จากน้ันทำสไลด์ตวั อักษร สังเกตสไลดต์ วั อกั ษรดว้ ย
แว่นขยายและกล้องจลุ ทรรศน์ใชแ้ สงโดยเปล่ียนกำลังขยายจาก 4 10 และ 40 เทา่ ตามลำดบั เล่ือนสไลดไ์ ป
ทางซา้ ย ขวา บน และลา่ ง จากน้ันบันทกึ ผลการทำกิจกรรม)
2.3 นักเรยี นทำกิจกรรมกจิ กรรมท่ี 3.1 โลกใตก้ ลอ้ งจุลทรรศน์เป็นอย่างไรตามวิธีการในหนังสือเรยี น
นักเรยี นออกแบบวธิ กี ารบันทึกผลกิจกรรมตอนที่ 1เพอ่ื เปรียบเทียบตัวอักษรทีเ่ ห็นจากแวน่ ขยายและจาก
กล้องจุลทรรศนใ์ ช้แสงเมอื่ มีการปรับ กำลงั ขยาย รวมท้ัง การเปล่ยี นตำแหน่ง ของภาพเมอ่ื มกี ารเลือ่ นสไลด์
โดยครสู ังเกตวธิ กี ารใช้กลอ้ งจุลทรรศนใ์ ช้แสง เน้นใหน้ ักเรียนทุกคนไดม้ ีโอกาสฝึกใชก้ ลอ้ งจุลทรรศนใ์ ชแ้ สงให้
ถกู ต้อง และสงั เกตการบันทกึ ผลการเปล่ียนแปลงของภาพจากการใช้แวน่ ขยายและการเปล่ียนแปลงของภาพ
จากการใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์ใชแ้ สง เมื่อมกี ารปรบั กำลงั ขยาย และเลอื่ นแทน่ วางสไลด์ไปทางซ้ายขวา บน และ
ลา่ ง เพ่อื ให้ข้อแนะนำหากเกดิ ขอ้ ผิดพลาดในการทำกิจกรรม ณ ขณะนน้ั รวมท้งั นำขอ้ มลู ท่คี วรจะปรบั ปรงุ
และแกไ้ ขมาใชป้ ระกอบการอภปิ รายหลงั ทำกิจกรรม
2.4 นกั เรียนรว่ มกนั อ่านวิธกี ารดำเนินกจิ กรรมตอนท่ี 2 จากหนังสือเรียนวางแผนการทำงานร่วมกัน
พรอ้ มทงั้ ออกแบบวิธกี ารบันทึกผลใหเ้ รยี บร้อยก่อนทำกิจกรรมตรวจสอบการออกแบบวิธีบันทึกผลของ
นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ โดยอาจใหบ้ างกล่มุ นำเสนอแล้วครใู ห้คำแนะนำเพอ่ื ปรบั แกว้ ิธีการบันทึกผลตามความ
เหมาะสม
2.5 นกั เรียนตอบคำถามทา้ ยกิจกรรม และรว่ มกันอภปิ รายคำตอบเพอ่ื ให้นกั เรยี นสรปุ ไดว้ า่ เนอ้ื เยื่อของ
พืช สัตว์ และสงิ่ มีชีวติ เซลล์เดียว มีลกั ษณะที่สำคัญเหมือนกนั คอื ประกอบดว้ ยหนว่ ยยอ่ ย ๆ ซ่งึ มีลกั ษณะเปน็
ห้อง มีขอบเขตชัดเจนเรยี กวา่ เซลล์
2.6 ครูใหน้ กั เรียนอ่านเพมิ่ เติมเพ่อื ให้ไดข้ อ้ สรปุ วา่ สิง่ มีชวี ติ ทกุ ชนิดประกอบดว้ ยเซลล์ สิ่งมีชีวติ บางชนดิ
ทมี่ ีกระบวนการต่าง ๆ ของการดำรงชวี ติ เกิดขน้ึ ภายในเซลลเ์ พียงเซลล์เดียว เรียกว่า สง่ิ มีชีวิตเซลล์เดียว เช่น
แบคทีเรยี ยีสต์ พารามีเซียม ส่วนสงิ่ มีชีวิตทีม่ กี ระบวนการดำรงชวี ิตทซ่ี ับซอ้ น ประกอบด้วยเซลลห์ ลายเซลล์ท่ี
ทำงานร่วมกันเพ่ือการดำรงชวี ติ เรียกว่า สิ่งมีชีวติ หลายเซลล์ เชน่ พชื สัตว์ เห็ด
2.7 ครูเช่ือมโยงองคค์ วามรู้ทไี่ ด้ไปยังเรือ่ งโครงสรา้ งและหนา้ ทข่ี องเซลลท์ ี่จะเรยี นในเรอื่ งถัดไป โดยครู
อาจใช้คำถาม เช่น จากที่ทราบมาแลว้ ว่าสิ่งมีชีวิตทกุ ชนิดมเี ซลล์เปน็ หนว่ ยพื้นฐาน นักเรยี นคดิ วา่ เซลล์พชื และ

32

เซลล์สัตวม์ ีลักษณะเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร และโครงสร้างภายในของเซลลด์ ังกล่าวประกอบดว้ ย
อะไรบ้าง

2.8 ครูตรวจสอบความร้เู ดิมของนกั เรียนเกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าท่ขี องเซลลโ์ ดยใหท้ ำกจิ กรรม รู้
อะไรบ้างกอ่ นเรยี น

2.9 ครูนำเข้าส่กู ิจกรรมที่ 3.2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แตกตา่ งกนั อย่างไรไร โดยการต้งั คำถามสรา้ ง
ความสนใจวา่ เซลล์สัตว์มีรปู ร่างลกั ษณะเหมือนหรือแตกตา่ งกนั หรอื ไม่ และโครงสรา้ งภายในของเซลล์
ประกอบด้วยอะไรบา้ ง

2.10 ครูใหน้ กั เรยี นทำกจิ กรรมที่ 3.2 ตามรายละเอียดในแบบเรยี นและทำกิจกกรรมตามแผนที่วางไว้ ครู
สงั เกตวธิ ีการเตรียมสไลด์ตัวอย่าง การวางกระจกปิดสไลด์ การเลือกใบสาหร่ายหางกระรอก การย้อมสีเยอ่ื
หอมดว้ ยสารละลายไอโอดนี การลา้ งสีสารละลายไอโอดีน การซับของเหลวส่วนเกิน รวมไปถงึ การใชก้ ลอ้ ง
จุลทรรศน์ใชแ้ สงอยา่ งถกู วธิ ีและการบนั ทึกผลการสังเกตของนกั เรยี นทุกกลมุ่ เพอ่ื ให้คำแนะนำถา้ เกิดขอ้ ผดิ
พลาดในขณะทำกจิ กรรม รวมท้ังนำขอ้ มูลทคี่ วรปรบั ปรุงและแก้ไขมาประกอบการอภปิ รายภายหลัง
การทำกิจกรรม

ชัว่ โมงที่ 6 (สัปดาห์ท่ี 11)
3. ขน้ั สรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ให้นักเรยี นตอบคำถามท้ายกิจกรรม และรว่ มกันอภิปรายคำตอบเพื่อให้นักเรียนสรุปได้ว่าเซลล์พืช
และเซลล์สัตว์มีรูปร่างลักษณะแตกต่างกัน เซลล์พืชมีรูปร่างเป็นเหล่ียม เซลล์สัตว์มีรูปร่างค่อนข้างกลม
โครงสร้างของเซลล์ท่ีพบได้ทั้งเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ได้แก่ เย่ือหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส ส่วน
โครงสร้างท่พี บเฉพาะเซลล์พชื ได้แกผ่ นังเซลล์และคลอโรพลาสต์ สำหรับเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลลพ์ ชื อาจเห็นไม่
ชัดเจน เพราะเบียดชิดกบั ผนังเซลล์ แต่จะเหน็ ได้ชดั เจนเม่อื เซลล์เห่ยี ว
3.2 ร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับรูปร่างและโครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ตาม
ประเดน็ ตอ่ ไปน้ี

• ภายในไซโทพลาซึมของเซลล์จะมีโครงสร้างท่ีทำหน้าท่ีเฉพาะ โครงสร้างเหล่านั้นคืออะไร (ออร์
แกเนลล์)

• จากการทำกจิ กรรมนี้ โครงสรา้ งใดของเซลล์ท่ไี มพ่ บ (ไมโทคอนเดรยี และแวคิวโอล)
• นอกจากโครงสร้างที่นักเรียนสังเกตเหน็ จากกิจกรรมและเน้ือหาในหนังสือเรียน นักเรียนคิดว่าจะมี
โครงสร้างอนื่ อีกหรอื ไม่ (มี ซึ่งนักเรียนจะได้เรียนในระดับที่สูงขน้ึ เช่น ไรโบโซม เอนโดพลาสมกิ เรติคูลมั ไลโซ
โซม เปน็ ตน้ ครูอาจมีรูปเพมิ่ เตมิ ให้นักเรียนดู)
• เซลลส์ าหร่ายหางกระรอกและเซลล์เยื่อหอมมีโครงสร้างเหมือนหรือแตกตา่ งกนั อยา่ งไร และมีผลต่อ
หน้าท่ีของเซลลอ์ ยา่ งไร (มีโครงสร้างท่ีเหมือนกนั คือมีผนังเซลล์ เยอื่ หุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึมและนิวเคลียส แต่มี
โครงสร้างท่ีต่างกันคือพบคลอโรพลาสต์ในเซลล์สาหร่ายหางกระรอก แต่ไม่พบในเซลล์เยื่อหอม ซึ่งมีผลต่อ
หน้าที่ต่างกันคือเซลล์สาหร่ายหางกระรอกมีคลอโรพลาสต์จึงทำหน้าที่สังเคราะห์ด้วยแสงได้ ส่วนเซลล์เย่ือ
หอมไม่มีคลอโรพลาสต์ จงึ ทำหนา้ ทีส่ ังเคราะหด์ ้วยแสงไม่ได้ แต่ทำหน้าท่ีปอ้ งกันเนื้อเยื่อทอ่ี ยภู่ ายใน)
3.3 ครูสรุปข้อมูลเพอ่ื เชือ่ มโยงความรู้เกยี่ วกบั รปู ร่างลกั ษณะและโครงสร้างของเซลล์พืช และเซลล์สตั ว์ว่า
ท้ังเซลล์พืช และเซลล์สัตว์มีโครงสร้างพ้ืนฐานเหมือนกัน นักเรียนจะได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่าง
ลักษณะของเซลลก์ บั หนา้ ท่ขี องเซลลต์ ่อไป
ชวั่ โมงท่ี 7 (สปั ดาหท์ ่ี 12)
4. ข้ันการสอื่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)

33

4.1 ใหน้ ักเรยี นอ่านเนอื้ หาในหนงั สือ ตอบคำถามระหว่างเรยี น และร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า

รปู ร่างลักษณะของเซลลม์ ีความสมั พันธก์ ับหน้าที่ของเซลล์น้ัน ๆ โดยอาจใชค้ ำถามดงั นี้

• ตัวอยา่ งเซลล์สัตวม์ ีอะไรบา้ ง (เซลลป์ ระสาท เซลลเ์ มด็ เลอื ดแดง และเซลลส์ เปิรม์ )

• เซลล์สัตว์แต่ละชนิดมีรูปร่างลักษณะอย่างไร (เซลล์ประสาทมีรูปร่างลักษณะเป็นเส้นยาว มีก้อน

กลมอยู่บรเิ วณคอ่ นไปทางส่วนปลาย มีแขนงเป็นเส้นยาว เซลล์เม็ดเลือดแดงมีรูปร่างลักษณะกลม ส่วนกลาง

เซลลท์ ้ังสองดา้ นเว้าเข้าหากันทำให้แบน สว่ นเซลล์สเปริ ม์ มีรูปร่างลักษณะกลม มีหางยาวเรยี ว)

• รูปร่างลักษณะของเซลล์สัตว์แต่ละชนิดสัมพันธ์กับหน้าท่ีอย่างไร (เซลล์ประสาทมีแขนงเป็นเส้น

ยาว เพอ่ื นำกระแสประสาทไปยังเซลล์อ่ืนที่อยูไ่ กลออกไป เซลลเ์ มด็ เลือดแดงมรี ูปร่างกลมแบน เพ่ือให้เคลอื่ นที่

ไปในหลอดเลือดได้ง่ายมีลักษณะเว้ากลางเซลล์ท้ังสองด้านเพ่ือช่วยเพ่ิมพื้นท่ีในการลำเลียงออกซิเจน ส่วน

เซลล์สเปริ ์มมีหางเพ่ือชว่ ยในการเคลื่อนทไี่ ปหาเซลลไ์ ข)่

• ตวั อยา่ งเซลลพ์ ชื มอี ะไรบา้ ง (เซลล์ขนราก เซลล์ในเน้อื เยอื่ ลำเลียงน้ำ เซลลค์ มุ )

• เซลล์พืชแต่ละชนิดมีรูปร่างลักษณะอย่างไร (เซลล์ขนรากมีผนังเซลล์ด้านท่ีสัมผัสกับดินย่ืนยาว

ออกมาเป็นหลอดคล้ายเส้นขนเล็ก ๆ เซลล์ในเน้ือเยื่อลำเลียงน้ำมีรูปร่าง เป็นท่อกลวงยาว และเซลล์คุมมี

รูปร่างลกั ษณะคลา้ ยเมลด็ ถ่วั หรอื รปู ไต)

• รูปร่างลักษณะของเซลล์พืชแต่ละชนิดสัมพันธ์กับหน้าที่อย่างไร (เซลล์ขนรากมีรูปร่างลักษณะ

คล้ายเส้นขนเล็กๆยื่นยาวออกมาเพ่ือเพิ่มพ้ืนท่ีผิวในการดูดน้ำและธาตุอาหาร เซลล์ในเน้ือเย่ือลำเลียงน้ำ มี

ลกั ษณะเป็นท่อกลวงยาวเพื่อใช้ในการลำเลียงน้ำจากรากไปยังส่วนต่าง ๆ ของพชื และเซลล์คุมมีรูปร่างคล้าย

เมลด็ ถวั่ หรือรปู ไต มีผนังเซลล์หนาบางไม่เท่ากัน ทำหน้าทคี่ วบคุมการปดิ เปิดปากใบ

4.2 สรุปข้อมูลเพ่ือเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับการจัดระบบภายในของสิ่งมีชีวิตว่า สิ่งมีชีวิตประกอบด้วย

เซลล์เป็นหน่วยพ้ืนฐานบางชนิดมีเซลล์เดียว บางชนิดมีหลายเซลล์ มีการจัดระบบของเซลล์อย่างไรจนเป็น

อวัยวะและรา่ งกายของสิ่งมชี วี ติ

ชวั่ โมงที่ 8 (สปั ดาห์ที่ 12)

5. ข้ันการบรกิ ารสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นักเรยี นอา่ นหนังสือเรยี น ตอบคำถามระหว่างเรยี น และร่วมกนั อภปิ รายเพอ่ื ให้ได้ขอ้ สรปุ ว่าสงิ่ มี

ชีวิตหลายเซลล์ ท้ังพืชและสัตว์ ประกอบด้วยเซลลท์ มี่ กี ารจดั ระบบเป็นเน้อื เย่อื อวัยวะ ทำงานรว่ มกันเปน็

ระบบอวยั วะต่าง ๆ จนเปน็ สิง่ มชี ีวติ โดยครอู าจใช้คำถามดังต่อไปน้ี

• การจดั ระบบภายในของสิ่งมชี ีวติ เรียงลำดับจากหนว่ ยเลก็ ไปหาหน่วยใหญ่อย่างไร

เซลล์ → เนื้อเย่อื → อวัยวะ → ระบบอวยั วะ → สิ่งมีชวี ติ

5.2 นกั เรียนรว่ มกนั สรปุ หัวขอ้ เร่ืองการศึกษาเซลล์ดว้ ยกล้องจลุ ทรรศน์ จากนัน้ นกั เรียนทำกจิ กรรม

ตรวจสอบตนเองเพ่ือสรปุ องค์ความรู้ทไี่ ด้เรยี นรู้จากบทเรียน ด้วยการเขียนบรรยาย วาดภาพ หรือเขยี นผงั มโน

ทัศน์ สงิ่ ท่ไี ดเ้ รียนรจู้ ากบทเรียนเร่ืองการศึกษาเซลล์ดว้ ยกล้องจุลทรรศน์

13. สื่อการเรยี นรู้/แหล่งเรียนรู้

12.1 ส่ือการเรียนรู้

1) ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนังสอื แบบเรยี น 3) สอ่ื เพาเวอร์พอยต์

12.2แหล่งเรยี นรู้

1) อินเตอร์เนต็ 2) หอ้ งสมดุ

34

14. บันทึกหลงั การจดั การเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- การใช้กล้องจุลทรรศนใ์ ช้แสงศกึ ษาเซลล์ ......................................................................................
......................................................................................
และโครงสรา้ งตา่ ง ๆ ภายในเซลล์
......................................................................................
- เปรยี บเทียบรปู ร่าง ลกั ษณะ และโครงสร้าง ................................................................................
ของเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ัตว์ รวมทงั้ บรรยาย ......................................................................................
หน้าทข่ี องผนงั เซลล์เยื่อหุม้ เซลล์ ไซโทพลาซมึ ......................................................................................
นวิ เคลยี ส แวคิวโอล ไมโทคอนเดรีย และคลอ
......................................................................................
โรพลาสต์
......................................................................................
- อธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งรปู ร่างกบั การ ................................................................................
ทำหนา้ ท่ีของเซลล์
......................................................................................
- อธบิ ายการจดั ระบบของสิง่ มชี ีวิต โดยเร่ิม .....................................................................................
จากเซลล์ เน้ือเย่ือ อวยั วะ ระบบอวัยวะ จน

เปน็ ส่ิงมชี ีวติ

2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการคิด ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

3. ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นิยม ......................................................................................

อันพงึ ประสงค์ : ......................................................................................

- มวี ินยั ......................................................................................

- ใฝเ่ รียนรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................
- รักความเป็นไทย
......................................................................................

4. ปัญหาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

5. วิธีแก้ปัญหา

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

35

ลงชื่อ........................................ครูผ้สู อน ลงชอ่ื ...........................................หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ
( นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ ) (นางกณกิ าร์ พฒั รากลุ )

ลงชื่อ........................................... ลงชื่อ...........................................
( นางกณิการ์ พัฒรากุล ) ( นางรพีพร คำบุญมา )
หวั หนา้ งานนิเทศ
รองผอู้ ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ

ลงชื่อ ........................................................
( นายจงจัด จันทบ )

ผู้อำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม

36

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 5
หน่วยการเรียนรู้ท่ี…….3....หน่วยพ้ืนฐานของสง่ิ มชี วี ิต..........เรื่อง.............การลำเลยี งสารเขา้ ออกเซลล์..............
รายวชิ า……......วิทยาศาสตร์……..1.......รหัสวิชา…......ว 21101 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลุ่มสาระการเรียนรู้..วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี.. ปีการศกึ ษา… 2564...ภาคเรยี นท่.ี .1...เวลา...9...ช่ัวโมง……
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชวี้ ัด/ผลการเรยี นรู้ (รายวชิ าพน้ื ฐานมที ัง้ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ช้วี ัด
รายวชิ าเพ่ิมเติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรแู้ ละผลการเรียนรู้)

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวดั ว 1.2 ม.1/5
สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบตั ิของส่ิงมีชวี ิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชวี ิต การลำเลียงสารเข้าและ
ออกจากเซลล์ ความสมั พนั ธ์ของโครงสร้าง และหน้าทข่ี องระบบตา่ ง ๆ ของสัตว์และมนษุ ยท์ ท่ี ำงานสมั พนั ธก์ ัน
ความสัมพันธข์ องโครงสร้าง และหน้าท่ีของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ีทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้
ประโยชน์

ตวั ชวี้ ัด
ว 1.2 ม.1/5 อธบิ ายกระบวนการแพรแ่ ละออสโมซสิ จากหลักฐานเชิงประจักษ์ และยกตัวอยา่ ง
การแพรแ่ ละออสโมซสิ ในชีวติ ประจำวัน
2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวชวี้ ดั ทีใ่ ช้ในหน่วยการเรียนรู้น้ีเขยี นเป็นแบบความเรยี ง)
เซลล์มีกระบวนการต่าง ๆ ในการนำสารเข้าออกเซลล์ การนำสารเข้าและออกจากเซลล์มีหลายวิธี
เช่น การแพร่เป็นวธิ ีการที่สารจะเคล่ือนท่ีจากบริเวณท่ีมีความเข้มข้นของสารมากไปสู่บริเวณทีม่ีความเข้มข้น
ของสารน้อย ส่วนการออสโมซิสเป็นการแพร่ของน้ำผ่านเยื่อหุ้มเซลล์จากด้านที่มคี วามเข้มข้นของสารละลาย
ต่ำไปยังด้านท่ีมีความเขม้ ข้นของสารละลายสงู กวา่
3. สาระการเรยี นรู้
3.1 สาระการเรียนร้แู กนกลาง/สาระการเรียนรเู้ พิ่มเติม (รายวชิ าเพ่ิมเติม)
สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
เซลล์มีการนำสารเข้าสู่เซลล์ เพ่ือใช้ในกระบวนการต่าง ๆ ของเซลล์ และมีการขจัดสารบางอย่างที่
เซลล์ไม่ต้องการออกนอกเซลล์ การนำสารเข้าและออกจากเซลลม์ ีหลายวิธี เชน่ การแพรเ่ ป็นการเคลือ่ นที่ของ
สารจากบริเวณท่ีมีความเข้มข้นของสารสูงไปสู่บริเวณที่มีความเขม้ ขน้ ของสารต่ำ ส่วนออสโมซิส เป็นการแพร่
ของน้ำ ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ จากด้านที่มีความเขม้ ข้นของสารละลายตำ่ ไปยังด้านท่ีมคี วามเข้มข้นของสารละลาย
สงู กวา่
3.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่ิน (ถา้ ในคำอธิบายรายวิชาพูดถงึ หลกั สตู รท้องถน่ิ ให้ใส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายกระบวนการแพรแ่ ละการออสโมซสิ จากหลกั ฐานเชงิ ประจักษ์
2. ยกตวั อย่างการแพร่และการออสโมซสิ ที่พบในชีวิตประจำวนั
3. เหน็ คณุ ค่าของการนำความรู้ทางวทิ ยาศาสตรม์ าใช้เพอ่ื อำนวยความสะดวกในชีวิตประจำวัน

37

5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน (เลอื กเฉพาะขอ้ ท่ีเกิดในหน่วยการเรียนร้นู )ี้

 1. ความสามารถในการส่ือสาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (เลือกเฉพาะขอ้ ทีเ่ กิดในหน่วยการเรียนรนู้ ี้)

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซื่อสตั ย์สจุ รติ

 3. มวี ินยั  4. ใฝ่เรียนรู้
 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน

 7. รักความเป็นไทย  8. มีจิตสาธารณะ
7. ดา้ นคณุ ลักษณะของผเู้ รียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวิชาการ  2. สือ่ สารสองภาษา  3. ลำ้ หน้าทางความคิด

 4. ผลติ งานอยา่ งสรา้ งสรรค์  5. ร่วมกันรบั ผิดชอบต่อสังคมโลก
8. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได)้  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )
 ทักษะดา้ นการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ไขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) Understanding)
 ทักษะด้านความเข้าใจความตา่ งวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural

 ทักษะดา้ นความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะด้านการสอ่ื สาร สารสนเทศและรู้เทา่ ทันส่อื (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทักษะอาชีพ และทกั ษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)
ความมเี มตตา (วนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

9. บรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลมุ่ ให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในหอ้ งเรียนคอื

ประมาณกล่มุ ละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตผุ ล : ใหน้ กั เรียนสรา้ งสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏบิ ตั ิ , นักเรียนเกดิ ความ

ภาคภมู ิใจในผลงานของตนและสิ่งทเ่ี รียนรู้
3. หลักภมู ิคมุ้ กัน : ใหน้ ักเรยี นเกิดทกั ษะการทำงานกลุม่ และกล้าแสดงออก , นกั เรียนรู้จกั การวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกลมุ่ ได้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคล

4. เงือ่ นไขความรู้ : การวางแผนงานท่จี ะทำกอ่ นแลว้ คอ่ ยลงมือทำอย่างระมัดระวงั

5. เง่อื นไขคณุ ธรรม : อดทนทจ่ี ะทำงาน และมคี วามขยนั ทีจ่ ะทำงานใหอ้ อกมาไดด้ ีท่สี ุด , มวี นิ ัยในการ

ทำงาน

10. ช้นิ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ชีว้ ัด ชน้ิ งาน ภาระงาน

ว 1.2 ม.1/5 -รายงานกิจกรรมท่ี 3.3 อนุภาคของ - อธิบายกระบวนการแพร่

38

สารมกี ารเคลื่อนทอ่ี ย่างไร - อธิบายกระบวนการออสโมซิส

-รายงานกิจกรรมที่ 3.4 น้ำเคล่ือนท่ี - ยกตัวอย่างการแพร่และการออสโมซิสใน

ผ่านเย่ือเลอื กผ่านไดอ้ ยา่ งไร ชวี ิตประจำวนั

11. การวัดประเมินผล

11.1การวัดและประเมินผลชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ กี าร

1.การสังเกตการณ์

2.การใชช้ ุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบง่ ช้ี 3.การวัดประเมนิ การปฏบิ ตั ิ

เคร่ืองมือ

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมินการปฏิบัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรม ผ่านต้งั แต่ 2 รายการ ถอื วา่ ผ่าน ผ่าน 1

รายการถอื ว่า ไม่ผา่ น

11.2 การวัดและประเมนิ ผลระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (ประเมนิ จากแผนการจดั การเรียนรู้ของ

หน่วยการเรียนรนู้ )้ี

สง่ิ ท่ีต้องการวัด วิธวี ดั ผล เครื่องมอื วัดผล เกณฑ์การประเมิน

1. ความรเู้ กีย่ วกับ -การสอบถาม ซกั ถาม ความ - แบบประเมินการ - นกั เรียนได้

- การนำสารเข้าสู่เซลล์ คดิ เหน็ อภปิ รายแสดง คะแนน

เพอื่ ใช้ในกระบวนการต่าง ๆ -การตรวจผลงานนักเรียน ความ 12 คะแนนขึ้นไป

ของเซลล์ และขจดั สาร คิดเห็น หรอื ร้อยละ 80

บางอย่างที่เซลล์ไมต่ อ้ งการ - แบบประเมนิ การ ถือว่าผ่านเกณฑ์

ออกนอกเซลล์ ตรวจผลงานผเู้ รยี น - นักเรยี นได้

- การแพร่เป็นการ คะแนน

เคลอื่ นท่ขี องสารจากบริเวณ ประเมนิ ผลงาน

ท่มี ีความเขม้ ขน้ ของสารสูง 13 คะแนนข้นึ ไป

ไปสูบ่ รเิ วณท่ีมีความเข้มข้น หรือร้อยละ 80

ของสารต่ำ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

- การออสโมซสิ เป็นการแพร่

ของน้ำผา่ นเยอ่ื หุ้มเซลล์จาก

ด้านทีม่ ีความเขม้ ข้นของสาร

ละลายตำ่ ไปยังด้านท่มี ีความ

เขม้ ขน้ ของสารละลายสงู

กวา่

2.ทกั ษะกระบวนการคิด - การอภิปรายแสดง - แบบประเมนิ การ -นกั เรยี นได้คะแนน

และทักษะกระบวนการกลุ่ม ความคิดเหน็ ระบุทกั ษะ อภิปรายแสดง 12 คะแนนขน้ึ ไป

39

กระบวน ความ หรือร้อยละ 80
ถอื ว่าผ่านเกณฑ์
การทางวทิ ยาศาสตร์ท่ไี ดป้ ฏิบัติ คดิ เหน็
- นกั เรยี นได้
จากกิจกรรม - แบบประเมนิ คะแนน
ประเมนิ คณุ ลกั ษณะ
- สงั เกตพฤติกรรมการ พฤตกิ รรมการ อนั พึงประสงค์
26 คะแนนข้นึ ไป
ทำงานกลุ่ม ทำงานกลมุ่ หรือรอ้ ยละ 80
ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์
3. คุณลกั ษณะทีพ่ ึง - สงั เกตค่านยิ มในการ - แบบประเมนิ - นกั เรยี นได้
คะแนน
ประสงค์ ทำงานร่วมกับผู้อ่นื และการ คณุ ลกั ษณะอันพงึ การประเมนิ
สมรรถนะ
และสมรรถนะผู้เรยี น ทำงานในระบบกลุ่ม ประสงค์ 29 คะแนนข้ึนไป
หรือร้อยละ 80
- มีวินัยในการทำงานกลุ่ม อภิปราย แสดงความคดิ เหน็ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

- นกั เรียนเห็นความสำคญั เกี่ยวกบั ผลการทดลอง - แบบประเมิน

ของการทำงานร่วมกับผ้อู ่ืน สมรรถนะผเู้ รียน

และการทำงานในระบบกลุม่

- ยอมรบั ความคิดเห็นซงึ่ กนั

และกันมีความเสียสละและ

อดทน

12. กจิ กรรมการเรียนรู้
ชว่ั โมงท่ี 9 (สัปดาห์ที่ 12)
1. ขนั้ ต้ังประเดน็ ปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครูใหน้ กั เรียนดภู าพการชงน้ำกระเจ๊ียบ อ่านเน้ือหานำบท จากนน้ั อภิปรายโดยอาจใช้

คำถามนำ ดงั นี้
• สีแดงมาจากไหน (สารสแี ดงมาจากกลีบเลี้ยงกระเจีย๊ บ)
• ทำไมน้ำในแก้วจึงมสี ีแดง (เพราะสารสแี ดงจากกลีบเลี้ยงกระเจ๊ยี บละลายออกมาผสมกบั น้ำใน

แกว้ )
• นำ้ กระเจ๊ียบเม่ือตัง้ ทิ้งไวส้ กั พักทำไมนำ้ ทัง้ แกว้ จึงมสี แี ดง (นกั เรียนสามารถตอบได้ตามความเข้าใจ

ของตนเอง)
1.2 ครูตรวจสอบความรเู้ ดมิ ของนักเรยี นเก่ยี วกับการแพร่โดยใหท้ ำกิจกรรม รอู้ ะไรบ้างกอ่ นเรียน

นักเรียนสามารถเขียนไดต้ ามความเขา้ ใจของนกั เรยี น ครไู ม่เฉลยคำตอบแต่นำขอ้ มูลจากการตรวจสอบความ
รู้เดมิ ของนกั เรยี นไปใชใ้ นการวางแผนการจดั การเรียนรวู้ า่ ควรเน้นยำ้ หรอื อธิบายเร่อื งใดเปน็ พิเศษเมอื่ นกั เรยี น
เรียนจบเร่ืองนี้แล้ว นกั เรียนจะมีความรูค้ วามเขา้ ใจครบถว้ น ตามจุดประสงคข์ องบทเรียน

1.3 ครนู ำเข้าส่กู ิจกรรมท่ี 3.3 อนภุ าคของสารมกี ารเคลอื่ นทอ่ี ย่างไร โดยแจง้ วา่ นกั เรียนจะได้เรียนรู้
เก่ยี วกับการแพร่และกระบวนการแพร่ของสารต่อไป

ชั่วโมงท่ี 10 (สปั ดาห์ท่ี 13)

40

2. ข้นั สบื ค้นความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครูใหน้ กั เรียนเข้าสู่กิจกรรมท่ี 3.3 อนุภาคของสารมกี ารเคลือ่ นทอี่ ย่างไร ตามรายละเอียดใน
แบบเรยี น
2.2 นักเรยี นทำกิจกรรมตามแผนท่ีวางไว้ ครูสงั เกตวิธีการจดั อปุ กรณ์ การสังเกตการเคลอ่ื นท่ขี องอนุภาค
ด่างทับทมิ และการบนั ทึกผลการสังเกตของนกั เรยี นทุกกลมุ่ เพ่ือใหข้ อ้ แนะนำถ้าเกดิ ข้อผิดพลาดขณะทำ
กจิ กรรม โดยอาจจะให้นกั เรยี นบนั ทึกภาพหรือบันทึกวดี โิ อเพ่มิ เติมเพื่อใชใ้ นการอธบิ ายและนำเสนอ รวมท้ังนำ
ข้อมูลท่ีควรปรับปรุงและแกไ้ ขมาใช้ประกอบการอภปิ รายหลังการทำกิจกรรม
2.3 นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มนำเสนอผลการทำกจิ กรรม รวบรวมขอ้ มลู นำเสนอโดยใช้โปรแกรมพาวเวอรพ์ อยด์
แสดงรูปหรอื วดี โิ อการทำกิจกรรม
2.4 ใหน้ ักเรียนตอบคำถามทา้ ยกจิ กรรม และรว่ มกนั อภปิ รายคำตอบเพอื่ ให้นักเรียนสรุปไดว้ า่ เม่ือหยอ่ น
เกลด็ ด่างทับทิมลงในน้ำ เกลด็ ด่างทับทมิ จะคอ่ ย ๆ ละลายเห็นเปน็ เส้นสีมว่ ง และจมลงก้นบกี เกอร์ บรเิ วณก้น
บีกเกอรจ์ ะเห็นสมี ่วงเขม้ ล้อมรอบเกลด็ ดา่ งทับทิม จากนัน้ สมี ว่ งเขม้ รอบเกล็ดด่างทับทิมจะคอ่ ย ๆ เคลอ่ื นที่
จากบริเวณก้นบกี เกอร์ไปสบู่ รเิ วณอน่ื ของบกี เกอร์ จนสีม่วงกระจายทัว่ ท้ังบีกเกอร์ และจะเหน็ สีม่วงอ่อนจางลง
กว่าเดิม
2.5 ครูและนักเรยี นรว่ มกันอภิปราย สรุปเน้ือหาท้งั หมดท่ีได้เรยี นรู้จากกจิ กรรมและการศกึ ษาเพ่ิมเติม
จากหนงั สือเรียน เพอ่ื ให้ได้ข้อสรุปวา่ การแพรเ่ กดิ ขนึ้ เม่ือมีความแตกตา่ งของความเขม้ ขน้ ของสารละลาย
ระหวา่ งสองบรเิ วณ โดยมที ศิ ทางการเคลอ่ื นที่ของตวั ละลายจากบริเวณทม่ี ีความเข้มขน้ มากไปยงั บริเวณทีม่ ี
ความเข้มขน้ นอ้ ย จนความเขม้ ขน้ ของสารละลายโดยเฉล่ียเท่ากันทุกบรเิ วณ เรยี กว่าเกดิ สมดลุ ของการแพร่
การแพร่นอกจากแพรใ่ นตัวกลางทีเ่ ปน็ ของเหลวดังกิจกรรมแลว้ การแพร่สามารถแพร่ผ่านตัวกลางท่เี ปน็ แกส๊
ได้ เชน่ การแพรข่ องน้ำมันหอมระเหยหรอื กลิน่ ดอกไม้กลิน่ อาหารผ่านอากาศ เป็นตน้ ซึ่งเซลลข์ องสิ่งมีชวี ติ ก็มี
การแพร่ของสารเขา้ ออกเซลล์เช่นเดยี วกนั เช่นการแพร่เขา้ ออกของแก๊สออกซเิ จนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
บริเวณถงุ ลมปอด การแพรเ่ ข้าออกของแกส๊ ออกซิเจนและแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์บรเิ วณปากใบ เปน็ ต้น
2.6 ครูเชื่อมโยงไปสู่การเรียนเร่ืองต่อไป โดยกล่าวว่า การแพร่มีกระบวนการดังที่เรียนมาแล้ว ซ่ึงใช้ใน
การนำสารที่มีขนาดเล็กเช่น แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เข้าและออกจากเซลล์ ถ้าร่างกาย
ตอ้ งการนำน้ำเขา้ และออกจากเซลล์จะมีกระบวนการอยา่ งไร นักเรียนจะไดศ้ ึกษาในเร่ืองต่อไป

ช่วั โมงท่ี 11 (สัปดาห์ที่ 13)
3. ขนั้ สรปุ องคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ครูนำนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมท่ี 3.4 น้ำเคล่ือนท่ีผ่านเย่ือเลือกผ่านได้อย่างไร ซ่ึงอาจใช้คำถามว่า

นอกจากการแพร่ของสารเข้าออกเซลล์ เช่น การแพร่ของแก๊สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์แล้ว
เซลล์มีการลำเลียงสารอื่น ๆ เช่นน้ำ เข้าและออกจากเซลล์หรือไม่ และเซลล์จะมีวิธีการในการลำเลียงน้ำเข้า
และออกจากเซลลอ์ ย่างไร

3.2 ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมตามแผนทีวางแผนไว้ ครูสังเกตุวิธีการจัดชุดอุปกรณ์การเทสารละลาย
น้ำตาลลงในเซลโลเฟน การมัดปากถุงเซลโลเฟน เตือนให้นักเรียนทำเครื่องหมายแสดงระดับของเหลวใน
หลอดแก้วก่อนท่ีจะใส่น้ำลงในบีกเกอร์ และการบันทกึ ผลการเปลี่ยนแปลงของของเหลวในหลอดแก้ว เพื่อใ่ ห้
ข้อแนะนำหากเกิดข้อผิดพลาดในขณะทำกิจกรรม รวมทั้งนำข้อมูลที่ควรจะปรับปรุงและแก้ไขมาใช้
ประกอบการอภิปรายหลังทำกจิ กรรม

41

3.3 ร่วมกันอภิปรายคำตอบเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า น้ำเคล่ือนที่ผ่านเซลโลเฟนเข้าไปภายในถุงท่ีบรรจุ

สารละลายนำ้ ตาลได้ แต่สารละลายน้ำตาลไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านเซลโลเฟนออกมานอกถงุ ทีบ่ รรจุอยู่ได้ โดย

อาจใช้คำถามดังตอ่ ไปน้ี

• ระดบั ของเหลวในหลอดแกว้ มกี ารเปลี่ยนแปลงอยา่ งไร (ระดับของเหลวในหลอดแก้วสงู ขึ้น)

• เพราะเหตุใดระดับของเหลวในหลอดแก้วจึงสูงขึ้น (ระดับของเหลวในหลอดแก้วสูงขึ้นเพราะน้ำ

เคลื่อนท่ีเข้าไปในถุงเซลโลเฟน ผสมกับสารละลายน้ำตาล ทำให้มีปริมาณสารละลายมากข้ึน ของเหลวใน

หลอดแก้วจึงสูงขน้ึ )

ช่วั โมงท่ี 12 (สัปดาหท์ ี่ 13)

4. ขนั้ การสอ่ื สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 ใหน้ ักเรียนอา่ นเน้ือหาในหนังสือ ตอบคำถามระหว่างเรียน และร่วมกนั อภิปรายเพ่ือให้ได้ขอ้ สรุปว่า

ออสโมซสิ เปน็ การเคลื่อนที่สทุ ธิของโมเลกุลน้ำจากบริเวณท่ีมีความเข้มข้นของสารละลายต่ำ (มโี มเลกลุ

ของนำ้ มาก) ผา่ นเยือ่ เลือกผา่ นไปยังบรเิ วณท่ีมคี วามเข้มขน้ ของสารละลายสงู (มีโมเลกุลของน้ำน้อย)

4.2 ให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบตนเอง เพื่อสรุปองค์ความรู้ที่ได้เรียนรู้จากบทเรียน โดยการเขียน

บรรยาย วาดภาพหรอื เขยี นผงั มโนทัศนส์ ่ิงทไ่ี ดเ้ รียนรู้จากบทเรยี นเร่อื ง การลำเลียงสารเข้าออกเซลล์

5. ขน้ั การบรกิ ารสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 ใหน้ กั เรียนนำเสนอผลงาน โดยการอภิปรายภายในกลุม่ อภปิ รายรว่ มกนั ในชนั้ เรยี น หรือติดแสดง

ผลงานบนผนังหอ้ งเรยี นและให้นักเรียนในหอ้ งร่วมชมผลงานและแสดงความคิดเหน็ จากน้ันครูและนักเรยี น

อภปิ รายสรุปองค์ความรูท้ ีไ่ ด้จากบทเรียนร่วมกัน

5.2 เชอื่ มโยงองค์ความรู้ท่ไี ดจ้ ากหน่วยการเรียนรู้น้ไี ปยงั หนว่ ยที่ 4 การดำรงชีวติ ของพืช โดยครอู าจให้

แนวคดิ ว่า สงิ่ มชี ีวิตทุกชนดิ มเี ซลล์เปน็ หนว่ ยพน้ื ฐาน เซลลแ์ ต่ละชนดิ มีโครงสร้างและหน้าทแ่ี ตกตา่ งกัน และ

เซลล์มีการลำเลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์เพ่อื การดำรงชวี ิต แลว้ พืชซึ่งเป็นสง่ิ มีชีวิตท่ีเกย่ี วข้องกบั การ

ดำรงชวี ิตของนักเรยี นนน้ั มกี ระบวนการในการดำรงชวี ติ อย่างไร

5.3 รว่ มกันเฉลยแบบฝึกหัดทา้ ยบท

12. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรยี นรู้

12.1สอ่ื การเรยี นรู้

1) ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนงั สือแบบเรียน 3) ส่ือเพาเวอร์พอยต์

12.2แหล่งเรยี นรู้

1) อินเตอรเ์ นต็ 2) หอ้ งสมดุ

13. บนั ทกึ หลังการจดั การเรยี นรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- การนำสารเข้าสูเ่ ซลล์ และขจดั สาร ......................................................................................

บางอยา่ งทเ่ี ซลล์ไม่ตอ้ งการออกนอกเซลล์ ......................................................................................

- การแพร่ของสาร ......................................................................................

- การออสโมซสิ .....................................................................................

.....................................................................................

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการคดิ ......................................................................................

42

- ทักษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................
......................................................................................
3. ดา้ นคุณธรรมจริยธรรมและคา่ นิยม ......................................................................................
อันพงึ ประสงค์ :
- มวี นิ ยั ......................................................................................
- ใฝเ่ รยี นรู้ ......................................................................................
- อยู่อยา่ งพอเพยี ง ......................................................................................
- รักความเปน็ ไทย ......................................................................................
...............................................................................
......................................................................................

4. ปญั หาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

5. วธิ แี ก้ปัญหา
....................................................................... . ......................................................................................
....................................................................... .....................................................................................

......................................................................................

ลงชื่อ........................................ครูผสู้ อน ลงชื่อ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
( นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ ) (นางกณกิ าร์ พัฒรากุล)

ลงชื่อ........................................... ลงช่อื ...........................................
( นางกณกิ าร์ พฒั รากลุ ) ( นางรพีพร คำบุญมา )
หวั หน้างานนเิ ทศ
รองผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ

ลงช่อื ........................................................
( นายจงจดั จนั ทบ )

ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม

43

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 6
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่…….4……..การดำรงชีวิตของพชื ..........เร่ือง...การสบื พันธุ์และการขยายพันธพ์ุ ืชดอก....
รายวชิ า……......วิทยาศาสตร์……..1.......รหสั วิชา…......ว 21101 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลมุ่ สาระการเรียนรู้..วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปีการศึกษา… 2564...ภาคเรียนที่..1...เวลา...9...ชั่วโมง……
ผูส้ อน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชว้ี ดั /ผลการเรยี นรู้ (รายวชิ าพื้นฐานมที งั้ มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชว้ี ัด
รายวิชาเพิม่ เติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละผลการเรยี นรู้)

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ดั ว 1.2 ม.1/11 ม.1/12 ม.1/13 ม.1/16 ม.1/17 ม.1/18
สาระที่ 1 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้า
และออกจากเซลล์ ความสัมพนั ธข์ องโครงสรา้ ง และหนา้ ท่ีของระบบต่าง ๆ ของสตั ว์และมนษุ ยท์ ่ีทำงาน
สมั พันธ์กัน ความสัมพันธข์ องโครงสร้าง และหน้าทข่ี องอวยั วะตา่ ง ๆ ของพชื ที่ทำงานสัมพันธก์ นั รวมทั้งนำ
ความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

ตัวชวี้ ัด
ว 1.2 ม. 1/11 อธิบายการสืบพนั ธ์แุ บบอาศัยเพศ และไม่อาศัยเพศของพชื ดอก
ว 1.2 ม. 1/12 อธบิ ายลกั ษณะโครงสร้างของดอกท่ีมสี ่วนทำให้เกิดการถ่ายเรณู รวมทัง้ บรรยายการ
ปฏิสนธิของพืชดอก การเกิดผลและเมลด็ การกระจายเมล็ด และการงอกของเมลด็
ว 1.2 ม. 1/13 ตระหนกั ถึงความสำคัญของสตั ว์ท่ีชว่ ยในการถ่ายเรณูของพชื ดอก โดยการไม่ทำลาย
ชวี ติ ของสตั ว์ที่ชว่ ยในการถ่ายเรณู
ว 1.2 ม. 1/16 เลือกวิธีการขยายพนั ธพ์ุ ชื ให้เหมาะสมกบั ความตอ้ งการของมนุษย์ โดยใช้ความรู้
เกยี่ วกับการสบื พนั ธุข์ องพืช
ว 1.2 ม. 1/17 อธบิ ายความสำคัญของเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเน้ือเย่อื พืชในการใชป้ ระโยชนด์ า้ น
ตา่ ง ๆ
ว 1.2 ม. 1/18 ตระหนกั ถึงประโยชน์ของการขยายพันธุพ์ ืช โดยการนำความรไู้ ปใช้ในชีวิตประจำวัน
2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวชว้ี ดั ทใ่ี ช้ในหนว่ ยการเรยี นรนู้ ีเ้ ขียนเปน็ แบบความเรียง)
พืชดอกทุกชนิดสามารถสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศได้ นอกจากน้ันบางชนิดยังพบการสืบพันธ์ุแบบไม่
อาศัยเพศด้วยการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพชื ดอกเกดิ ขน้ึ ท่ดี อก โดยทั่วไปดอกประกอบด้วย กลีบเล้ยี ง กลีบ
ดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย ภายในอับเรณูของเกสรเพศผู้มเี รณูทำหนา้ ท่สี รา้ งสเปิร์ม ภายในออวุลของ
เกสรเพศเมียมีถุงเอ็มบริโอทำหน้าที่สร้างเซลล์ไข่ ซึ่งต้องมีการถ่ายเรณูจากอับเรณูไปยังยอดเกสรเพศเมีย
นำไปสู่การปฏิสนธิระหว่างสเปิรม์ กับเซลล์ไข่ และระหว่างสเปิร์มกับโพลาร์นิวคลีไอในถุงเอ็มบริโอ หลังการ
ปฏิสนธิจะได้ไซโกตและเอนโดสเปริ ม์ ไซโกตจะพัฒนาตอ่ ไปเป็นเอม็ บรโิ อ โดยมีเอนโดสเปิร์มเปน็ อาหารสะสม
สำหรบั เลีย้ งเอ็มบริโอ สว่ นออวุลพฒั นาไปเปน็ เมล็ด และรงั ไขพ่ ฒั นาไปเปน็ ผล ผลและเมล็ดเม่อื เจริญเตบิ โต
เตม็ ทีจ่ ะกระจายออกจากต้นโดยวิธีการต่าง ๆ เมื่อเมลด็ ไปตกในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมจะงอกเป็นตน้ ใหม่
ส่วนการสบื พนั ธ์แุ บบไม่อาศยั เพศ เปน็ การสืบพนั ธุ์ท่พี ืชตน้ ใหมพ่ ัฒนาและเจรญิ เติบโตมาจากเน้อื เยอ่ื ส่วน
ต่าง ๆ ของพืชต้นเดิมมนุษย์นำความรู้เรื่องการสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศของพืชมาใช้ในการ
ขยายพนั ธพุ์ ชื ซ่งึ การเลอื กวิธกี ารขยายพนั ธุ์พชื ควรเลอื กใหเ้ หมาะสมกับชนิดพืชและความต้องการของมนุษย์

44

3. สาระการเรยี นรู้
3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/สาระการเรยี นรเู้ พมิ่ เติม (รายวชิ าเพ่ิมเตมิ )
สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
• พชื ดอกทุกชนิดสามารถสืบพันธ์แุ บบอาศัยเพศได้ และบางชนดิ สามารถสบื พนั ธ์ุแบบไมอ่ าศยั เพศได้
• การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศเป็นการสืบพันธุ์ที่มีการผสมกันของสเปิร์มกับเซลล์ไข่ การสืบพันธ์ุแบบ

อาศัยเพศของพืชดอกเกิดข้ึนที่ดอก โดยภายในอับเรณูของส่วนเกสรเพศผู้มีเรณู ซ่ึงทำหน้าท่ีสร้างสเปิร์ม
ภายในออวุลของสว่ นเกสรเพศเมียมีถุงเอ็มบริโอ ทำหน้าทสี่ รา้ งเซลล์ไข่

• การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เป็นการสืบพันธุ์ทพี่ ืชต้นใหม่ไม่ได้เกิดจากการปฏิสนธริ ะหว่างสเปิร์ม
กับเซลล์ไข่ แต่เกิดจากส่วนต่าง ๆ ของพืช เช่น ราก ลำตน้ ใบ มีการเจริญเติบโตและพัฒนาข้ึนมาเป็นต้นใหม่
ได้

• การถ่ายเรณู คอื การเคล่ือนย้ายของเรณูจากอับเรณูไปยังยอดเกสรเพศเมีย ซ่ึงเก่ียวข้องกับลกั ษณะ
และโครงสร้างของดอก เช่น สีของกลีบดอก ตำแหน่งของเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย โดยมีส่ิงที่ช่วยในการ
ถา่ ยเรณู เช่น แมลง ลม

• การถ่ายเรณูจะนำไปสกู่ ารปฏิสนธิ ซงึ่ จะเกิดขน้ึ ทีถ่ ุงเอ็มบริโอภายในออวลุ หลังการปฏิสนธิจะไดไ้ ซ
โกต และเอนโดสเปิร์ม ไซโกตจะพัฒนาต่อไปเป็นเอ็มบริโอ ออวลุ พัฒนาไปเปน็ เมลด็ และรงั ไขพ่ ัฒนาไปเป็นผล

• ผลและเมล็ดมีการกระจายออกจากต้นเดิม โดยวิธีการต่าง ๆ เมื่อเมล็ดไปตกในสภาพแวดล้อมท่ี
เหมาะสมจะเกิดการงอกของเมล็ด โดยเอ็มบริโอภายในเมล็ดจะเจริญออกมา โดยระยะแรกจะอาศยั อาหารที่
สะสมภายในเมล็ด จนกระท่ังใบแท้พัฒนา จนสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้เต็มที่ และสร้างอาหารได้เอง
ตามปกติ

• มนุษยส์ ามารถนำความรู้เร่ืองการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ มาใช้ในการขยายพันธเ์ุ พื่อ
เพ่ิมจำนวนพืช เช่น การใชเ้ มลด็ ที่ได้จากการสบื พันธ์ุแบบอาศัยเพศมาเพาะเล้ียง วิธีการนี้จะได้พืชในปริมาณ
มาก แต่อาจมลี ักษณะท่ีแตกตา่ งไปจากพ่อแม่ ส่วนการตอนกง่ิ การปกั ชำการตอ่ กงิ่ การติดตา การทาบกิ่ง การ
เพาะเลีย้ งเนื้อเย่ือ เป็นการนำความรเู้ รื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชมาใช้ในการขยายพันธุเ์ พ่ือให้ได้
พืชที่มีลักษณะเหมือนต้นเดิม ซ่ึงการขยายพันธุ์แต่ละวิธี มีขั้นตอนแตกต่างกัน จึงควรเลือกให้เหมาะสมกับ
ความตอ้ งการของมนษุ ย์ โดยตอ้ งคำนงึ ถงึ ชนิดของพืชและลักษณะการสบื พันธุ์ของพืช

• เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือพืช เป็นการนำความรู้เกี่ยวกับปัจจัยท่ีจำเป็นต่อการเจริญเติบโต
ของพืชมาใชใ้ นการเพม่ิ จำนวนพืช และทำใหพ้ ืชสามารถเจริญเติบโตไดใ้ นหลอดทดลอง ซงึ่ จะได้พืชจำนวนมาก
ในระยะเวลาสั้น และสามารถนำเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือมาประยุกต์เพ่ือการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช
ปรับปรุงพันธ์ุพืชท่มี ีความสำคญั ทางเศรษฐกิจ การผลติ ยาและสารสำคัญในพชื และอ่ืน ๆ

3.2 สาระการเรียนรทู้ อ้ งถิ่น (ถา้ ในคำอธิบายรายวิชาพดู ถงึ หลักสูตรท้องถิน่ ให้ใส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายการสืบพันธแุ์ บบอาศัยเพศและไมอ่ าศยั เพศของพชื ดอก
2. อธบิ ายลกั ษณะโครงสรา้ งของดอกทีม่ ีสว่ นทำใหเ้ กดิ การถ่ายเรณู รวมทั้งบรรยายการปฏสิ นธิของพืช

ดอกการเกดิ ผลและเมล็ด การกระจายเมล็ด และการงอกของเมลด็
3. ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของสตั วท์ ่ีชว่ ยในการถ่ายเรณขู องพชื ดอก โดยการไมท่ ำลายชวี ิตของสตั ว์ทช่ี ่วย

ในการถา่ ยเรณู

45

4. เลือกวธิ กี ารขยายพนั ธ์พุ ืชใหเ้ หมาะสมกบั ชนดิ ของพชื และความต้องการของมนษุ ย์ และเสนอแนว

ทางการนำความรู้เร่ืองการขยายพันธุ์พชื ไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน

5. อธบิ ายความสำคัญของการใช้เทคโนโลยีเพาะเลย้ี งเนอื้ เยือ่ พืชในการขยายพนั ธ์ุพืชเพื่อใช้ประโยชนด์ ้าน

ต่าง ๆ

5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น (เลอื กเฉพาะขอ้ ทีเ่ กิดในหน่วยการเรียนรนู้ ี)้

 1. ความสามารถในการสือ่ สาร  2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (เลอื กเฉพาะข้อทเ่ี กิดในหน่วยการเรยี นรนู้ )้ี

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซื่อสัตยส์ ุจรติ

 3. มวี นิ ยั  4. ใฝเ่ รียนรู้
 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุง่ ม่ันในการทำงาน

 7. รกั ความเป็นไทย  8. มจี ิตสาธารณะ
7. ดา้ นคณุ ลกั ษณะของผู้เรยี นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวชิ าการ  2. สอ่ื สารสองภาษา  3. ล้ำหนา้ ทางความคดิ

 4. ผลิตงานอยา่ งสร้างสรรค์  5. รว่ มกนั รับผิดชอบต่อสงั คมโลก
8. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได้)  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเป็น)
 ทกั ษะด้านการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
 ทกั ษะด้านความเข้าใจความตา่ งวฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทกั ษะดา้ นการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสอ่ื (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทักษะอาชพี และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
ความมเี มตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

9. บรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกล่มุ ใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในหอ้ งเรยี นคอื

ประมาณกลมุ่ ละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมีเหตุผล : ให้นกั เรียนสรา้ งสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏบิ ตั ิ , นักเรยี นเกิดความ

ภาคภมู ใิ จในผลงานของตนและสงิ่ ที่เรยี นรู้

3. หลกั ภูมิค้มุ กนั : ใหน้ กั เรียนเกิดทกั ษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก , นักเรียนรจู้ ักการวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชกิ ภายในกลมุ่ ไดเ้ หมาะสมกับความสามารถของแต่ละบคุ คล

4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานทจี่ ะทำกอ่ นแล้วค่อยลงมือทำอย่างระมดั ระวงั

46

5. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม : อดทนท่ีจะทำงาน และมีความขยันท่ีจะทำงานให้ออกมาไดด้ ีท่ีสุด , มีวนิ ยั ในการ

ทำงาน

10. ชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตัวชว้ี ัด ช้นิ งาน ภาระงาน

ว 1.2 ม.1/11 -รายงานกิจกรรมที่ 4.1การถ่าย - อธิบายการสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศและไมอ่ าศยั

ว 1.2 ม.1/12 เรณูเกิดขน้ึ ไดอ้ ย่างไร เพศของพชื ดอก

ว 1.2 ม.1/13 -รายงานกิจกรรมท่ี 4.2 เมล็ดงอก - อธิบายลักษณะโครงสรา้ งของดอกทมี่ ีส่วนทำให้

ได้อย่างไร เกดิ การถา่ ยเรณู รวมท้ังบรรยายการปฏิสนธิ

ของพชื ดอก การเกิดผลและเมล็ด การ กระจาย

เมล็ด และการงอกของเมลด็

ว 1.2 ม.1/16 กิ จ ก ร ร ม ที่ 4 .3 เลื อ ก วิ ธี ก า ร - บอกความสำคญั ของการขยายพนั ธ์ุพชื
ว 1.2 ม. 1/17 ขยายพนั ธ์ุพชื อย่างไรให้เหมาะสม - อ ธิบ ายความส ำคัญ ขอ งเท คโน โลยีก าร
ว 1.2 ม. 1/18
เพาะเลย้ี งเนอ้ื เย่อื พชื ในการใช้ประโยชน์ด้าน
ต่าง ๆ

11. การวัดประเมินผล 3.การวัดประเมนิ การปฏิบัติ
3. แบบวดั ประเมนิ การปฏิบัติ
11.1การวัดและประเมนิ ผลชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด
วิธีการ

1.การสังเกตการณ์
2.การใช้ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตรร์ ่องรอยบ่งช้ี
เครื่องมอื

1. แบบสังเกตการณ์
2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรม ผ่านตงั้ แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน ผ่าน 1

รายการถือวา่ ไม่ผา่ น

11.2 การวัดและประเมินผลระหวา่ งการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรียนรู้ของ

หนว่ ยการเรยี นรนู้ )้ี

ส่ิงทีต่ ้องการวดั วิธวี ดั ผล เครื่องมอื วดั ผล เกณฑ์การประเมิน

1. ความรู้เกีย่ วกบั -การสอบถาม ซกั ถาม ความ - แบบประเมินการ - นกั เรยี นได้

- การสบื พันธแุ์ บบอาศัย คิดเหน็ อภิปรายแสดง คะแนน

เพศและไมอ่ าศัยเพศของพืช -การตรวจผลงานนักเรียน ความ 12 คะแนนข้ึนไป

ดอก คิดเห็น หรือรอ้ ยละ 80

- ลกั ษณะโครงสรา้ งของ - แบบประเมินการ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

ดอกทีม่ ีสว่ นทำให้เกิดการ ตรวจผลงานผ้เู รียน - นกั เรยี นได้

47


Click to View FlipBook Version