The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ว21101

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2021-05-29 22:55:31

แผนการจัดการเรียนรู้ ว21101

แผนการจัดการเรียนรู้ ว21101

ถ่ายเรณู รวมทง้ั บรรยายการ คะแนน

ปฏิสนธขิ องพืชดอกการ ประเมินผลงาน

เกิดผลและเมล็ด การ 13 คะแนนขึน้ ไป

กระจายเมลด็ และการงอก หรือรอ้ ยละ 80

ของเมล็ด ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

- วิธกี ารขยายพันธ์ุพชื ให้

เหมาะสมกับชนิดของพชื

และความต้องการของ

มนษุ ย์

-การใช้เทคโนโลยีเพาะเลีย้ ง

เนื้อเยอ่ื พชื ในการขยายพันธุ์

พชื

2.ทกั ษะกระบวนการคิด - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ -นักเรยี นไดค้ ะแนน

และทักษะกระบวนการกล่มุ ความคิดเหน็ ระบทุ ักษะ อภิปรายแสดง 12 คะแนนขึ้นไป

กระบวน ความ หรอื รอ้ ยละ 80

การทางวิทยาศาสตร์ทไ่ี ด้ปฏิบตั ิ คิดเหน็ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

จากกิจกรรม - แบบประเมิน

- สังเกตพฤติกรรมการ พฤติกรรมการ

ทำงานกล่มุ ทำงานกลมุ่

3. คุณลักษณะที่พงึ - สงั เกตค่านิยมในการ - แบบประเมิน - นกั เรยี นได้

ประสงค์ ทำงานรว่ มกบั ผู้อน่ื และการ คุณลักษณะอันพงึ คะแนน

และสมรรถนะผู้เรียน ทำงานในระบบกลุ่ม ประสงค์ ประเมนิ คณุ ลกั ษณะ

- มีวนิ ยั ในการทำงานกลมุ่ อภิปราย แสดงความคิดเห็น อนั พงึ ประสงค์

- นกั เรยี นเห็นความสำคญั เก่ียวกับผลการทดลอง - แบบประเมนิ 26 คะแนนข้ึนไป

ของการทำงานรว่ มกับผอู้ ื่น สมรรถนะผ้เู รียน หรือร้อยละ 80

และการทำงานในระบบกลมุ่ ถือว่าผ่านเกณฑ์

- ยอมรบั ความคิดเห็นซง่ึ กนั - นกั เรียนได้

และกันมคี วามเสยี สละและ คะแนน

อดทน การประเมนิ

สมรรถนะ

29 คะแนนขึ้นไป

หรือร้อยละ 80

ถือว่าผ่านเกณฑ์

12. กจิ กรรมการเรียนรู้
ชวั่ โมงท่ี 1 (สัปดาห์ท่ี 14)
1. ขนั้ ต้งั ประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)

48

1.1 ครูให้นักเรยี นสงั เกตเหน็ อะไรบา้ งจากภาพในหนงั สอื เรียน(สงั เกตเห็นอุโมงค์ที่มืด มีหลอดไฟใหแ้ สง
สวา่ ง มชี นั้ วางและมีพืชอยบู่ นช้นั )

1.2 ครตู งั้ คำถามในประเด็นต่อไปนี้
• นกั เรยี นคดิ ว่า การปลกู พืชในอโุ มงค์ดงั ภาพ พืชจะเจรญิ เติบโตไดห้ รอื ไม่ เพราะเหตุใด (นักเรียน

ตอบตามความเข้าใจ เช่น พชื เจริญเติบโตไม่ได้เพราะไม่มีดนิ ไมม่ ีแสงอาทิตย์ หรอื พชื เจรญิ เติบโตได้ เพราะ
สามารถปลกู พชื แบบไมใ่ ชด้ นิ ได้และสามารถใช้แสงไฟฟา้ แทนแสงอาทิตย์ได้)

• นักเรียนคดิ ว่าตอ้ งทำอยา่ งไรบ้าง ให้อุโมงค์ใต้ดินมสี ภาพแวดลอ้ มที่สามารถปลูกพชื ได้ (ต้องศกึ ษา
ความตอ้ งการของพชื ปรบั พนื้ ท่ี วางระบบนำ้ ระบบไฟ และระบบระบายอากาศให้เหมาะสมตอ่ การเจริญ
เติบโตของพชื )

1.3 ครนู ำเข้าสู่บทเรียนโดยใช้คำถามวา่ นกั เรียนมีความร้เู กีย่ วกบั การสบื พันธ์ุของพืชดอกหรอื ไม่
1.4 ครูให้นกั เรยี นดูวีดทิ ศั น์ ท่ีเกยี่ วกับปัญหาการเพ่ิมจำนวนของผกั ตบชวาในแหล่งน้ำของประเทศไทย
และร่วมกันอภปิ รายเกีย่ วกับการเพม่ิ จำนวนของผกั ตบชวา โดยอาจใชค้ ำถามดงั น้ี

• นักเรียนคิดว่าผักตบชวาท่แี พรพ่ ันธุ์เต็มผืนน้ำสง่ ผลกระทบตอ่ ส่งิ ใดบ้าง อย่างไร (นักเรียนตอบ
ตามความเขา้ ใจ เชน่ กอ่ ให้เกิดปัญหาการจราจรทางน้ำ ทำให้น้ำเน่าเสยี ซึ่งส่งผลตอ่ การดำรงชวี ติ ของสัตว์นำ้ )

• ผักตบชวาเพ่มิ จำนวนไดอ้ ยา่ งไรบ้าง (นักเรยี นตอบตามความเขา้ ใจ เช่น เพิ่มโดยการสืบพันธุแ์ บบ
อาศัยเพศและแบบไม่อาศยั เพศ)

• พืชชนิดใดบา้ ง ท่ีสามารถเพ่ิมจำนวนไดแ้ บบเดยี วกับผกั ตบชวา และเพ่มิ จำนวนอย่างไร (นกั เรียน
ตอบตามความเขา้ ใจ เช่น บวั สาย)

1.5 นกั เรยี นทำกจิ กรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียน
ช่ัวโมงท่ี 2-3 (สัปดาห์ท่ี 14)
2. ข้ันสบื คน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครูใหน้ กั เรียนทบทวนความรู้เกี่ยวกับสว่ นประกอบของดอก และหนา้ ที่ของแต่ละสว่ นประกอบ โดย
อาจนำดอกพืชมาใหด้ ูและสงั เกตสว่ นประกอบแตล่ ะสว่ น เพอื่ ใหเ้ หน็ อยา่ งชดั เจนว่าเรณูกับถงุ เอม็ บริโออยูค่ น
ละส่วนกนั ครใู ช้คำถามเพ่ือให้นกั เรียนคดิ วเิ คราะห์ ดังน้ี

• สว่ นใดของดอกที่เก่ยี วข้องโดยตรงกบั การสืบพนั ธุ์แบบอาศยั เพศของพืชดอก เพราะเหตใุ ด (ส่วน
เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมยี เพราะวา่ เกสรเพศผ้เู ปน็ ส่วนที่สรา้ งเซลล์สืบพันธเุ์ พศผู้ และเกสรเพศเมียเปน็ ส่วน
ทีส่ ร้างเซลล์สบื พนั ธ์ุเพศเมยี )

• การสืบพนั ธแ์ุ บบอาศัยเพศของพืชมขี นั้ ตอนอย่างไร (การถ่ายเรณู และการผสมกันของเซลล์
สบื พันธ์ุเพศผู้และเซลลส์ ืบพนั ธุ์เพศเมยี )

• การถ่ายเรณูเกิดขน้ึ ได้อย่างไร มีส่ิงใดบา้ งทชี่ ว่ ยในการถ่ายเรณู (นกั เรียนตอบตามความเข้าใจ)
2.2 ร่วมกนั อภิปรายเพ่อื ให้ไดข้ อ้ สรปุ วา่ การสืบพนั ธ์แุ บบอาศัยเพศของพืชจะเกิดขึน้ ทดี่ อก ส่วนของ
ดอกทีท่ ำหน้าทส่ี ร้างเซลล์สืบพันธเุ์ พศผู้ คอื เรณู ซึง่ อยู่ในอบั เรณขู องเกสรเพศผู้ และส่วนที่สร้างเซลลส์ ืบพนั ธ์ุ
เพศเมยี คือ ถงุ เอม็ บรโิ อ ซงึ่ อย่ใู นออวุลของเกสรเพศเมีย การสืบพนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศต้องมกี ารผสมกันของ
เซลล์สืบพันธเุ์ พศผู้และเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียจงึ ต้องมีการเคล่อื นยา้ ยเรณูจากอับเรณไู ปยังยอดเกสรเพศเมีย
เรณูจากอับเรณูจะไปตกบนยอดเกสรเพศเมียได้อยา่ งไรนน้ั จะได้ทราบจากการทำกจิ กรรมที่ 4.1
2.3 นกั เรยี นในกล่มุ สงั เกตดอกพืชทีละชนิดไปพรอ้ มกนั ทั้งกลุ่ม เพ่ือใหม้ กี ารลงความเห็นกนั ในกลุ่ม และ
บนั ทึกผล ครูสงั เกตการบันทึกผลของนักเรยี น ให้ขอ้ แนะนำถ้าเกดิ ขอ้ ผิดพลาดหรือบนั ทกึ ผลไม่ครบถว้ น เพือ่
นำข้อมลู ที่ควรจะปรบั ปรุงและแกไ้ ขมาใช้ประกอบการอภปิ รายหลงั ทำกิจกรรม

49

2.4 นกั เรียนรวบรวมข้อมูลเรื่องการถา่ ยเรณขู องพชื ดอก เชน่ การชมวดี ิทัศน์ และบันทกึ ขอ้ มูล เช่น
ความจำเพาะของลกั ษณะดอกของพืช และส่ิงที่ช่วยในถา่ ยเรณู ส่ิงทพี่ ืชใช้ในการดึงดดู สตั ว์มาถ่ายเรณู และสง่ิ
ที่สัตวไ์ ดร้ บั จากการถ่ายเรณู

2.5 นักเรยี นนำขอ้ มลู วิธีการถา่ ยเรณขู องพชื ดอกแตล่ ะชนดิ มานำเสนอในรปู แบบต่าง ๆ เชน่ การเขียน
แผนภาพ หรอื การทำภาพเคลอ่ื นไหวโดยใชโ้ ปรแกรมสำเรจ็ รปู หรือแอปพลเิ คชนั สำหรับจัดทำงานนำเสนอ

2.6 รว่ มกนั อภิปรายคำตอบเพ่ือให้นักเรียนสรปุ ได้ว่าวิธกี ารถ่ายเรณูของพชื ดอกแตล่ ะชนิดเกยี่ วข้องกบั
ลกั ษณะตา่ ง ๆ ของดอกพชื ท้งั รปู รา่ ง ขนาด สี กลิ่น ตำแหนง่ ของเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย ซงึ่ จะสมั พนั ธ์
กับสิ่งทชี่ ว่ ยในการถา่ ยเรณู เช่น สตั ว์ ลม นำ้

ชว่ั โมงที่ 4 (สัปดาห์ที่ 15)
3. ข้ันสรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ครูเชอื่ มโยงความรู้ของนักเรยี นทไ่ี ด้จากเรื่องวิธกี ารถ่ายเรณูของพืชดอก และตรวจสอบความรู้เดิมใน
เร่ืองการปฏิสนธิของพชื ดอก โดยอาจใชค้ ำถามดังนี้

• การถา่ ยเรณู เรณูจะไปตกทส่ี ว่ นใดของเกสรเพศเมยี (ยอดเกสรเพศเมยี )
• หลังจากถ่ายเรณูแล้ว เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ท่ีอยู่ในเรณูจะเข้าไปผสมกับเซลล์สืบพันธุ์เพศเมียได้
อยา่ งไร (นกั เรยี นตอบตามความเข้าใจ)
3.2 ครูให้นักเรียนให้นักเรียนอ่านจับใจความและสรุปเน้ือหาจากหนังสือเรียนเกี่ยวกับการปฏิสนธขิ อง
พชื ดอก จากนน้ั ซกั ถาม โดยอาจใชค้ ำถามดงั ต่อไปน้ี
• ไซโกตเกิดขึ้นไดอ้ ย่างไร (ไซโกต เกดิ จากการปฏสิ นธิของสเปริ ์มกบั เซลล์ไข)่
• ไซโกตมีความสำคัญอย่างไร (ไซโกตเป็นเซลล์ที่จะพัฒนาไปเป็นเอ็มบริโอ ซึ่งเป็นส่วนท่ีมีลักษณะ
คลา้ ยตน้ ออ่ นอยูใ่ นเมล็ด)
• เอนโดสเปริ ์มเกิดข้ึนได้อย่างไร และสำคัญอย่างไร (เอนโดสเปิร์มเกิดจากการปฏิสนธิของสเปิร์มกับ
โพลาร์นิวคลีไอมีความสำคัญเพราะเป็นแหลง่ สะสมอาหารในเมล็ด)
• ผล และเมล็ดพัฒนามาจากส่วนใด (ผลพัฒนามาจากรังไข่ เมลด็ พฒั นามาจากออวลุ )
3.3 นักเรียนรว่ มกนั อภิปรายและสรปุ เนื้อหาทั้งหมดท่ีได้เรียนรู้จากการทำกิจกรรมและการอา่ นเพ่ิมเติม
โดยอาจให้นักเรียนวาดภาพขัน้ ตอนตงั้ แต่การถ่ายเรณูจนถึงการปฏิสนธิของพืชดอก เพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า การ
สบื พนั ธ์แุ บบอาศัยเพศของพืชดอกเกิดข้นึ ท่ดี อก มีการถ่ายเรณูจากอับเรณูไปยงั ยอดเกสรเพศเมยี โดยมีส่ิง
ตา่ ง ๆ ช่วยในการถ่ายเรณจู ากน้ันสเปิร์มในเรณูจะเข้าไปปฏิสนธิกับเซลล์ไข่และโพลาร์นิวคลีไอในถุงเอ็มบรโิ อ
ได้ไซโกตและเอนโดสเปิร์ม ส่วนออวุลจะพัฒนาและเจรญิ เติบโตไปเป็นเมล็ด รังไข่จะพัฒนาและเจริญเติบโต
เป็นผล
3.4 ครูและนักเรยี นร่วมสนทนากับนักเรยี นเกี่ยวกบั การถ่ายเรณขู องพืชซึง่ เป็นกระบวนการที่นำไปสู่การ
ปฏิสนธิของพืชดอก ทำให้เกิดไซโกตและเอนโดสเปิร์ม ส่วนออวุลจะเจริญเติบโตเป็นเมล็ด และรังไข่จะ
เจริญเติบโตเป็นผลหอ่ หุม้ เมล็ด ครอู าจใชค้ ำถามต่อไปว่าเมลด็ พชื มสี ่วนประกอบใดบ้าง เมลด็ พืชงอกได้อยา่ งไร
เมลด็ มคี วามสำคญั ต่อพชื อย่างไรเพื่อเช่ือมโยงเขา้ สูก่ ิจกรรมท่ี 4.2 เมลด็ งอกไดอ้ ย่างไร
ชั่วโมงท่ี 5-6 (สัปดาหท์ ี่ 15)
4. ข้ันการสอื่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 นักเรยี นทำกิจกรรมตามขัน้ ตอน โดยครเู น้นย้ำในเรือ่ งการใชใ้ บมีดโกนผา่ เมล็ดด้วยความระมดั ระวัง
สังเกตการร่วมมือกันภายในกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลเร่ืองส่วนประกอบและหน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบของ

50

เมล็ดจากแหล่งท่ีน่าเชื่อถือ และเน้นให้นักเรียนบันทึกผลการสังเกตโดยการวาดภาพส่วนประกอบของเมล็ด

4.2 นักเรียนนำเสนอข้อมูลส่วนประกอบและหน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบของเมล็ด โดยวิธีการต่าง ๆ

เช่น นำแผนภาพไปติดท่ีผนังห้องเรียน และให้เพ่ือนร่วมชั้นเรียนศึกษาข้อมูล จากน้ันร่วมกันอภิปราย
เปรียบเทียบข้อมลู ทไ่ี ดจ้ ากการทำกิจกรรมของแตล่ ะกลุ่ม ถ้ามีขอ้ มูลใดคลาดเคลื่อน ควรอภปิ รายเพ่ือแก้ไขให้

ถูกตอ้ ง
ชั่วโมงที่ 7-8 (สปั ดาหท์ ี่ 16)

5. ข้ันการบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)
5.1 นกั เรยี นตอบคำถามท้ายกิจกรรม และรว่ มกันอภปิ รายคำตอบเพอ่ื ใหน้ ักเรียนสรุปได้วา่ เมล็ดถ่ัวแดง
และเมล็ดข้าวโพดมีสว่ นประกอบแตกตา่ งกัน ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเมลด็ ทำหนา้ ที่แตกตา่ งกนั

5.2 นักเรียนอา่ นเนอื้ หาในหนงั สอื รว่ มกนั อภิปรายเพื่อใหไ้ ด้ขอ้ สรปุ เกย่ี วกับส่วนประกอบ และหนา้ ท่ีของ
แต่ละส่วนประกอบของเมล็ด เพอื่ ลงข้อสรุปวา่ เมลด็ พืชแต่ละชนดิ มลี ักษณะและสว่ นประกอบบางอย่าง

แตกตา่ งกัน บางอยา่ งเหมือนกนั ซงึ่ โดยทว่ั ไปเมลด็ พชื ประกอบดว้ ย เปลอื กหุ้มเมล็ดทเี่ ป็นส่วนหอ่ หุ้ม
สว่ นประกอบอ่นื ๆ ของเมลด็ เอม็ บริโอทเี่ ป็นตน้ อ่อนภายในเมล็ด และเอนโดสเปิร์มเป็นอาหารสะสมภายใน
เมลด็

5.3 ครูอาจใช้คำถามตอ่ ไปวา่ ทำอย่างไรเมล็ดจึงจะงอก และเม่อื เมล็ดงอกจะมกี ารเปลี่ยนแปลงอยา่ งไร
เพ่ือเช่อื มโยงเขา้ สู่กิจกรรมที่ 4.2 เมล็ดงอกไดอ้ ย่างไร ตอนท่ี 2

5.4 นักเรยี นวางแผนการเพาะเมล็ดเพอื่ สงั เกตการงอกร่วมกนั ออกแบบตารางบันทกึ ผลการเปลีย่ นแปลง

ของเมลด็ ขณะงอกให้เรียบร้อยก่อนทำกิจกรรม ครตู รวจสอบการออกแบบวิธีการเพาะเมล็ดของนกั เรียนวา่ มี
ปัจจัยใดบา้ งทเี่ ก่ยี วกบั การงอกของเมล็ด ตรวจสอบตารางบันทึกผลของนกั เรียน และให้คำแนะนำปรบั แก้ตาม

ความเหมาะสม
5.5 นักเรยี นตอบคำถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันอภปิ รายคำตอบเพ่ือใหน้ กั เรียนสรุปไดว้ ่าเมล็ดจะงอก

ไดต้ ้องอยใู่ นสภาพทมี่ ีนำ้ หรอื ความช้นื มแี กส๊ ออกซเิ จน และมีอณุ หภูมิที่เหมาะสม ในขณะงอกเมล็ดพชื ที่มี

สว่ นประกอบแตกต่างกัน จะมกี ารเปล่ยี นแปลงขณะงอกท่ีแตกต่างกัน
13. ส่ือการเรยี นรู้/แหลง่ เรยี นรู้

12.1สอ่ื การเรยี นรู้ 2) หนังสือแบบเรียน 3) สอื่ เพาเวอร์พอยต์
1) ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์

12.2แหลง่ เรียนรู้ 2) ห้องสมุด

1) อินเตอร์เน็ต
14. บันทกึ หลงั การจดั การเรยี นรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ดา้ นความรู้ :
- การสืบพันธ์ุแบบอาศยั เพศและไม่อาศัยเพศ ......................................................................................

ของพืชดอก ......................................................................................

- ลักษณะโครงสรา้ งของดอกทมี่ ีส่วนทำให้เกิด ......................................................................................

การถา่ ยเรณู รวมท้งั บรรยายการปฏิสนธิของพืช ......................................................................................

ดอกการเกิดผลและเมล็ด การกระจายเมล็ด และ .....................................................................................

การงอกของเมลด็ ......................................................................................

- วิธีการขยายพนั ธ์พุ ชื ให้เหมาะสมกบั ชนดิ ของ .....................................................................................

51

พชื และความต้องการของมนษุ ย์ .....................................................................................
-การใช้เทคโนโลยีเพาะเลย้ี งเนอื้ เยอ่ื พืชในการ .....................................................................................
ขยายพันธพุ์ ืช
2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................
......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการคิด ......................................................................................
- ทักษะกระบวนการกลมุ่ ......................................................................................
3. ด้านคุณธรรมจริยธรรมและคา่ นิยม ......................................................................................
อันพึงประสงค์ : ......................................................................................
- มวี นิ ยั ......................................................................................
- ใฝเ่ รียนรู้ ...............................................................................
- อยู่อย่างพอเพยี ง ......................................................................................
- รกั ความเป็นไทย ......................................................................................

4. ปญั หาการสอน ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
......................................................................................
5. วิธแี กป้ ญั หา
....................................................................... . ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
......................................................................................
.....................................................................................
......................................................................................

ลงชือ่ ........................................ครูผสู้ อน ลงชื่อ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
( นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรตั น์ ) (นางกณกิ าร์ พฒั รากุล)

ลงชือ่ ........................................... ลงช่ือ...........................................

( นางกณกิ าร์ พัฒรากลุ ) ( นางรพีพร คำบุญมา )
หัวหน้างานนเิ ทศ รองผอู้ ำนวยการกลมุ่ บริหารวชิ าการ

ลงช่ือ ........................................................
( นายจงจัด จนั ทบ )

ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวทิ ยาคม

52

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 7
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่…….4……..การดำรงชีวิตของพืช..........เร่ือง...การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง....

รายวชิ า……......วทิ ยาศาสตร์……..1.......รหสั วิชา…......ว 21101 ..............ชนั้ มัธยมศึกษาปีท.่ี ...1.....
กลมุ่ สาระการเรียนรู้..วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปกี ารศึกษา… 2564...ภาคเรยี นที่..1...เวลา...9...ชั่วโมง……
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกลุ รัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ดั /ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพ้ืนฐานมที ้ังมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ช้วี ดั
รายวชิ าเพม่ิ เติมมเี ฉพาะมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละผลการเรยี นร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด ว 1.2 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8
สาระที่ 1 วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ

มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัตขิ องสิ่งมีชวี ติ หน่วยพน้ื ฐานของสง่ิ มชี ีวิต การลำเลยี งสารเขา้
และออกจากเซลล์ ความสมั พันธข์ องโครงสร้าง และหนา้ ทข่ี องระบบตา่ ง ๆ ของสตั ว์และมนุษย์ท่ที ำงาน
สัมพนั ธ์กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ีของอวยั วะต่าง ๆ ของพชื ที่ทำงานสมั พนั ธ์กนั รวมทัง้ นำ
ความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

ตวั ช้ีวัด
ว 1.2 ม. 1/6 ระบุปจั จยั ท่ีจำเป็นในการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงและผลผลติ ท่ีเกิดขึน้ จากการสงั เคราะห์
ดว้ ยแสง โดยใช้หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์
ว 1.2 ม. 1/7 อธิบายความสำคัญของการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชตอ่ สง่ิ มชี วี ติ และสง่ิ แวดลอ้ ม
ว 1.2 ม. 1/8 ตระหนกั ในคุณคา่ ของพืชทีม่ ตี อ่ สิ่งมีชีวติ และสิ่งแวดลอ้ ม โดยการร่วมกันปลูกและดแู ล
รักษาต้นไมใ้ นโรงเรยี นและชมุ ชน
2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวชวี้ ดั ท่ีใช้ในหน่วยการเรียนรู้นเ้ี ขียนเป็นแบบความเรยี ง)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเกิดขนึ้ ในคลอโรพลาสต์ เป็นกระบวนการท่ีนำพลังงานแสง
มาเปลี่ยนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำให้เป็นน้ำตาล พืชจะเปลี่ยนน้ำตาลเป็นสารประกอบอินทรีย์อ่ืน ๆ
และ เก็บสะสมในโครงสร้างต่าง ๆ ของพืช พืชจึงเป็นแหล่งอาหารและพลังงานท่ีสำคัญของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น
นอกจากนก้ี ารสังเคราะห์ด้วยแสงยงั เป็นกระบวนการผลติ แกส๊ ออกซเิ จนออกสู่บรรยากาศ เพอื่ ใหส้ ิ่งมีชวี ิตชนิด
อื่นนำไปใชใ้ นกระบวนการหายใจ
3. สาระการเรยี นรู้
3.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/สาระการเรยี นรเู้ พิ่มเตมิ (รายวชิ าเพม่ิ เติม)
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
• กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชที่เกิดขึ้นในคลอโรพลาสต์ จำเป็นต้องใช้แสง แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ คลอโรฟิลล์ และน้ำ ผลผลิตที่ได้จาก การสังเคราะห์ด้วยแสง ได้แก่ น้ำตาลและแก๊ส
ออกซิเจน
• การสงั เคราะห์ด้วยแสง เปน็ กระบวนการที่สำคญั ตอ่ สิง่ มชี ีวิต เพราะเป็นกระบวนการเดยี วที่สามารถ
นำพลังงานแสงมาเปล่ยี นเป็นพลังงานในรูปสารประกอบอินทรีย์และเก็บสะสมในรปู แบบต่าง ๆ ในโครงสร้าง
ของพืช พืชจึงเป็นแหล่งอาหารและพลังงานที่สำคัญของสิ่งมีชีวิตอื่น นอกจากน้ีกระบวนการสังเคราะห์ด้วย
แสงยังเป็นกระบวนการหลักในการสร้างแก๊สออกซิเจนให้กับบรรยากาศเพ่ือให้สง่ิ มชี ีวิตอน่ื ใชใ้ นกระบวนการ
หายใจ

53

3.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่น (ถ้าในคำอธิบายรายวชิ าพดู ถงึ หลักสูตรท้องถ่นิ ให้ใส่ลงไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. อธบิ ายปจั จัยท่จี ำเปน็ ในการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพชื และผลผลติ ท่ไี ด้จากการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง

2. อธิบายความสำคญั ของการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืชต่อสงิ่ มีชวี ิตและสิง่ แวดล้อม

3. ตระหนักในคุณค่าของพชื ทม่ี ีตอ่ สิ่งมีชีวติ และสิ่งแวดล้อม โดยการรว่ มกันปลูกและดแู ลรักษาตน้ ไม้ใน

โรงเรียนและชุมชน

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น (เลือกเฉพาะข้อท่เี กิดในหน่วยการเรยี นรู้น้ี)

 1. ความสามารถในการสือ่ สาร  2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (เลือกเฉพาะขอ้ ทเ่ี กิดในหน่วยการเรยี นรนู้ ้)ี

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  2. ซือ่ สัตย์สุจริต

 3. มีวินยั  4. ใฝเ่ รียนรู้
 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุง่ ม่ันในการทำงาน

 7. รักความเป็นไทย  8. มจี ิตสาธารณะ
7. ดา้ นคณุ ลักษณะของผูเ้ รียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวชิ าการ  2. สื่อสารสองภาษา  3. ล้ำหน้าทางความคิด

 4. ผลิตงานอย่างสรา้ งสรรค์  5. รว่ มกนั รับผดิ ชอบต่อสังคมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได้)  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเปน็ )
 ทกั ษะด้านการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะด้านการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
 ทักษะดา้ นความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผูน้ ำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทกั ษะดา้ นการสื่อสาร สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันส่อื (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)
ความมีเมตตา (วนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลมุ่ ใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในห้องเรียนคือ

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมเี หตุผล : ใหน้ ักเรยี นสรา้ งสรรค์ผลงานและเกดิ ทกั ษะการปฏบิ ตั ิ , นักเรยี นเกิดความ

ภาคภมู ิใจในผลงานของตนและส่งิ ทีเ่ รียนรู้

54

3. หลักภมู ิคมุ้ กัน : ใหน้ กั เรียนเกดิ ทักษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก , นกั เรียนรูจ้ กั การวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานใหส้ มาชกิ ภายในกล่มุ ได้เหมาะสมกบั ความสามารถของแต่ละบุคคล

4. เงอ่ื นไขความรู้ : การวางแผนงานทจี่ ะทำกอ่ นแลว้ คอ่ ยลงมือทำอยา่ งระมดั ระวงั

5. เง่ือนไขคุณธรรม : อดทนทจ่ี ะทำงาน และมีความขยันทจ่ี ะทำงานให้ออกมาได้ดีทสี่ ดุ , มวี ินัยในการ

ทำงาน

10. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด

ตัวชว้ี ัด ชิน้ งาน ภาระงาน

ว 1.2 ม.1/6 -รายงานกิจกรรมท่ี 4.4 ปัจจัยใน - อธบิ ายว่าแสงคลอโรฟลิ ล์ แก๊สคาร์บอน

ม.1/7, ม. 1/8 การสร้างอาหารของพชื มอี ะไรบ้าง ไดออกไซด์เปน็ ปจั จยั ทจี่ ำเปน็ ในการสงั เคราะห์

-รายงานกจิ กรรมที่ กจิ กรรมท่ี 4.5 ดว้ ยแสงของพืช

การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงไดผ้ ลผลิต - อธิบายว่าน้ำตาลและแก๊สออกซิเจน เป็น

ใดอกี บ้าง ผลผลิตที่เกดิ ข้ึนจากการสงั เคราะห์ด้วยแสง

- อธบิ ายความสำคัญของการสงั เคราะห์

ดว้ ยแสงของพืชต่อสง่ิ มีชวี ิต และส่งิ แวดล้อม

- รว่ มปลูกและดแู ลรักษาตน้ ไมใ้ นโรงเรียนและ

ชมุ ชน

11. การวัดประเมินผล 3.การวัดประเมนิ การปฏบิ ัติ
3. แบบวดั ประเมนิ การปฏบิ ตั ิ
11.1การวัดและประเมนิ ผลชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด
วธิ ีการ

1.การสังเกตการณ์
2.การใชช้ ุดกิจกรรมวิทยาศาสตรร์ ่องรอยบ่งชี้
เครื่องมือ

1. แบบสังเกตการณ์
2. ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมินพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรม ผา่ นตั้งแต่ 2 รายการ ถอื วา่ ผ่าน ผ่าน 1

รายการถอื วา่ ไมผ่ ่าน

11.2 การวดั และประเมนิ ผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ประเมินจากแผนการจดั การเรยี นรู้ของ

หน่วยการเรยี นรนู้ ี)้

สง่ิ ทีต่ ้องการวดั วธิ วี ดั ผล เคร่ืองมอื วัดผล เกณฑก์ ารประเมิน

1. ความร้เู กยี่ วกบั -การสอบถาม ซกั ถาม ความ - แบบประเมนิ การ - นักเรยี นได้

- ปัจจัยท่ีสำคัญในการ คิดเหน็ อภปิ รายแสดง คะแนน

สงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพืช -การตรวจผลงานนักเรยี น ความ 12 คะแนนขึ้นไป

และผลผลติ ทไี่ ดจ้ ากการ คิดเหน็ หรือร้อยละ 80

สงั เคราะหด์ ว้ ยแสง - แบบประเมนิ การ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

55

- ความสำคญั ของ ตรวจผลงานผู้เรียน - นกั เรียนได้

การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง คะแนน

ของพชื ต่อส่ิงมชี ีวิตและ ประเมนิ ผลงาน

ส่ิงแวดลอ้ ม 13 คะแนนข้ึนไป

-ตระหนกั ในคุณค่าของพชื ท่ี หรอื รอ้ ยละ 80

มตี อ่ ส่งิ มีชีวิตและสิง่ แวด ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

ล้อมโดยการร่วมกนั ปลูก

และดแู ลรักษาตน้ ไมใ้ น

โรงเรียนและชุมชน

2.ทกั ษะกระบวนการคิด - การอภิปรายแสดง - แบบประเมินการ -นกั เรียนไดค้ ะแนน

และทักษะกระบวนการกล่มุ ความคิดเห็นระบุทักษะ อภปิ รายแสดง 12 คะแนนขึน้ ไป

กระบวน ความ หรอื รอ้ ยละ 80

การทางวทิ ยาศาสตร์ทไ่ี ดป้ ฏิบัติ คดิ เห็น ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

จากกิจกรรม - แบบประเมิน

- สังเกตพฤตกิ รรมการ พฤติกรรมการ

ทำงานกลุ่ม ทำงานกลมุ่

3. คุณลกั ษณะทพี่ ึง - สังเกตค่านิยมในการ - แบบประเมิน - นักเรยี นได้

ประสงค์ ทำงานรว่ มกับผู้อ่นื และการ คุณลักษณะอันพงึ คะแนน

และสมรรถนะผเู้ รยี น ทำงานในระบบกลุม่ ประสงค์ ประเมนิ คณุ ลักษณะ

- มวี นิ ยั ในการทำงานกลุ่ม อภปิ ราย แสดงความคิดเห็น อันพึงประสงค์

- นักเรยี นเห็นความสำคัญ เกยี่ วกับผลการทดลอง - แบบประเมิน 26 คะแนนขึ้นไป

ของการทำงานร่วมกับผ้อู ื่น สมรรถนะผ้เู รยี น หรอื ร้อยละ 80

และการทำงานในระบบกลุ่ม ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

- ยอมรับความคิดเหน็ ซ่งึ กัน - นักเรยี นได้

และกันมีความเสยี สละและ คะแนน

อดทน การประเมนิ

สมรรถนะ

29 คะแนนขึ้นไป

หรือรอ้ ยละ 80

ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

12. กจิ กรรมการเรียนรู้
ช่ัวโมงที่ 9 (สัปดาห์ท่ี 16)

1. ขน้ั ตัง้ ประเด็นปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครูใชค้ ำถามวา่ หลงั จากงอกออกจากเมล็ดแล้วพืชใช้อาหารจากแหล่งใดในการเจรญิ เตบิ โต

56

1.2 ครูให้นักเรียนสังเกต วีดิทัศน์ หรือส่ืออน่ื ๆ ที่เก่ียวกับการงอกของเมล็ดพืชตั้งแต่เริ่มงอก จนใบแท้
เจริญเต็มที่ จากน้ันตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเก่ียวกับอาหารของพืชโดยให้อ่านเน้ือหานำบท และ
ร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับอาหารของพืช โดยอาจใช้คำถามดังน้ี

• สว่ นใดของเมล็ดทเ่ี ปน็ อาหารสำหรบั ใช้ในการงอกของเมลด็ (เอนโดสเปริ ์มหรือใบเลย้ี ง)
• ถ้าอาหารในเอนโดสเปิร์มหรือใบเล้ียงหมดไป พืชจะนำอาหารจากที่ใดมาใช้ในการเจริญเติบโต
(นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจเช่น สรา้ งอาหารข้นึ มาใหมไ่ ดเ้ อง)
1.3 นกั เรยี นทำกจิ กรรมทบทวนความรกู้ อ่ นเรียน
1.4 ครูทบทวนความรู้เก่ียวกับปจั จยั ในการเจรญิ เติบโตของพืช และความสำคัญของโครงสรา้ งในเซลล์พืช
โดยใชค้ ำถามต่อไปนี้
• ปจั จัยในการเจริญเตบิ โตและการดำรงชวี ติ ของพืชมีอะไรบา้ ง
• โครงสรา้ งใดในเซลลข์ องพชื มหี นา้ ทใ่ี นการสรา้ งอาหารของพชื เพราะเหตใุ ด
ช่ัวโมงท่ี 10-11 (สปั ดาห์ที่ 17)
2. ขั้นสบื คน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครูร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่าพืชเป็นสิ่งมีชีวิตท่ีต้องการ น้ำ แสง และอากาศในการ
เจริญเติบโตและการดำรงชีวิต พืชมีคลอโรพลาสต์ซึ่งเป็นโครงสร้างในเซลล์ท่ีมีหน้าท่ีสร้างอาหาร ส่วนพืชจะ
สรา้ งอาหารได้อยา่ งไรและใชป้ จั จัยใดบ้างในการสรา้ งอาหารน้ัน จะไดท้ ราบจากการทำกจิ กรรมที่ 4.4
2.2 นักเรียนอ่านวิธีการดำเนินกิจกรรมตอนท่ี 1 ในหนังสือเรียน และร่วมกันอภิปรายในประเด็น
ดังต่อไปน้ี
• กิจกรรมน้ีเกีย่ วกบั เร่ืองอะไร (ปัจจัยในการสร้างอาหารของพชื )
• กจิ กรรมนี้มจี ุดประสงค์อะไร (นักเรียนตอบตามความคดิ ของตนเอง)
• วิธกี ารดำเนินกจิ กรรมโดยสรปุ เป็นอย่างไร (นำต้นผกั บุ้งไปวางในที่มืดเปน็ เวลา 2 วนั หมุ้ ใบผกั บุ้ง
1 ใบ ด้วยกระดาษทึบแสงสีดำ นำไปวางกลางแดด จากน้ันเด็ดใบผักบุ้งใบที่หุ้มด้วยกระดาษทึบแสงกับใบท่ี
ไมไ่ ด้หมุ้ มาสกัดคลอโรฟิลลอ์ อก แลว้ ทดสอบแป้งดว้ ยสารละลายไอโอดนี )
• สังเกตได้อย่างไรว่าใบผักบุ้งมีการสร้างอาหาร (สังเกตสีของสารละลายไอโอดีนบนใบผักบุ้งท่ี
เปลยี่ นจากสีนำ้ ตาลเป็นสนี ำ้ เงินเข้มถงึ ดำ)
2.3 นำอภิปรายโดยการใชค้ ำถามเพือ่ พัฒนาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข์ องนักเรียน ดงั น้ี
• สมมติฐานของการทดลองนี้ คืออะไร (ถ้าแสงเป็นปัจจัยที่จำเป็นต่อการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของพืช
ดังนั้นเม่ือนำใบผักบุ้งที่ได้รับแสงไปทดสอบด้วยสารละลายไอโอดีน สีของสารละลายไอโอดีนจะเปล่ียนจากสี
นำ้ ตาลเปน็ สีน้ำเงนิ )
• ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรทตี่ ้องควบคุมของการทดลองนี้คืออะไร (ตัวแปรต้น คือ การได้รับ
แสงของใบผักบุ้งตัวแปรตาม คือ การเปล่ียนแปลงสีของสารละลายไอโอดีนเมื่อทดสอบกับใบผักบุ้ง ตัวแปรท่ี
ต้องควบคุม คอื ขนาดและอายุ ของใบผักบุ้ง บรเิ วณท่วี างกระถางผกั บงุ้ )
• นิยามเชิงปฏิบัติการของการทดลองน้ีคืออะไร (การสังเคราะห์ด้วยแสงของใบผักบุ้งตรวจสอบได้
จากแป้งทเ่ี กิดขึ้นที่ใบ)
2.4 ร่วมกันอภิปรายเปรียบเทียบข้อมูลท่ีได้จากการทำกิจกรรม สาเหตุท่ีทำให้ผลการทำกิจกรรม
คลาดเคลื่อน เช่น สกัดคลอโรฟิลลอ์ อกไม่หมด ไม่ได้นำกระถางผกั บุ้งไปไว้ในท่มี ืด หรือในวันที่ทำการทดลอง
ไม่มีแสง หรือได้รบั แสงน้อยไป
2.5 ร่วมกันอภปิ รายคำตอบเพ่ือใหน้ ักเรยี นสรุปได้ว่าแสงเปน็ สง่ิ ทจี่ ำเปน็ ตอ่ การสร้างอาหารของพืช

57

2.6 รว่ มสนทนากบั นักเรยี นเก่ยี วกับเรือ่ งแสงเป็นปัจจัยในการสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพืช และครูอาจใช้
คำถามตอ่ ไปวา่ นอกจากแสงแล้วมีสิ่งใดอีกทีจ่ ำเป็นต่อการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื เพอื่ เชอ่ื มโยงกบั กจิ กรรม
ตอนที่ 2

ชัว่ โมงที่ 12-14 (สัปดาห์ท่ี 17-18)
3. ขัน้ สรปุ องคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)
3.1 นักเรียนอ่านวิธีการดำเนินกิจกรรมตอนที่ 2 ในหนังสือเรียน และร่วมกันอภิปรายในประเด็น
ดงั ตอ่ ไปน้ี

• กจิ กรรมนเ้ี ก่ียวกับเร่อื งอะไร (ปัจจยั สำหรับการสร้างอาหารของพืช)
• กิจกรรมน้มี จี ุดประสงคอ์ ะไร (นักเรียนตอบตามความคดิ ของตนเอง)
• วิธีการดำเนนิ กิจกรรมโดยสรุปเป็นอยา่ งไร
• ใบชบาดา่ งสว่ นทม่ี ีสีเขยี ว แสดงว่าสว่ นน้มี ีส่ิงใดอยูใ่ นเซลล์ (มีคลอโรพลาสตท์ ี่มีคลอโรฟลิ ล)์
• สังเกตได้อย่างไรว่าใบชบาด่างมีการสร้างอาหาร (สังเกตสีของสารละลายไอโอดีนบนใบชบาด่างจะ
เปล่ยี นจากสีน้ำตาลเป็นสีน้ำเงนิ เขม้ ถึงดำ)
3.2 นักเรียนทำกิจกรรมตามข้ันตอน โดยครสู ังเกตการบันทึกลักษณะของใบชบาด่างกอ่ นนำไปต้ม การ
จัดและใช้อุปกรณ์สำหรบั การสกัดคลอโรฟิลล์ออกจากใบ การทดสอบแป้ง ด้วยสารละลายไอโอดีนการสังเกต
และการบันทึกผลการสังเกตของนักเรียนทุกกลุ่ม เพ่ือให้ข้อแนะนำถ้าเกิดข้อผิดพลาดในขณะทำ รวมท้ังนำ
ข้อมูลทคี่ วรจะปรบั ปรงุ และแก้ไขมาใช้ประกอบการอภิปรายหลงั การทำกิจกรรม
3.3 นำเสนอข้อมูลการเปลี่ยนแปลงของสีของสารละลายไอโอดีนหลังจากทดสอบกับใบชบาด่างใน
รปู แบบทน่ี า่ สนใจ เชน่ วาดภาพและระบายสีโดยใช้โปรแกรมสำเรจ็ รปู ต่าง ๆ
3.4 นกั เรียนตอบคำถามท้ายกจิ กรรม และร่วมกันอภปิ รายคำตอบเพื่อใหน้ ักเรียนสรุปได้ว่าส่วนทีม่ สี ีเขียว
ของพืชเป็นส่วนท่ีมีการสร้างอาหาร และสีเขียวท่ีพบในพืช เรียกว่า คลอโรฟิลล์ ซ่ึงเปน็ สารสเี ขยี วที่อยูใ่ นคลอ
โรพลาสต์
3.5 ร่วมสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับเรื่องแสงและคลอโรฟิลล์เป็นปัจจัยสำคัญในการสังเคาะห์ด้วยแสง
ของพืช ครูอาจใช้คำถามต่อไปว่า นอกจากแสงและคลอโรฟิลล์แล้วยังมีส่ิงใดอีกที่จำเป็นต้องใช้ในการ
สงั เคราะห์ด้วยแสงของพชื เพือ่ เช่อื มโยงไปสกู่ จิ กรรมตอนท่ี 3
3.6 นักเรียนอ่านวิธีการดำเนินกิจกรรมตอนท่ี 3 ในหนังสือเรียน และร่วมกันอภิปรายในประเด็น
ดงั ตอ่ ไปน้ี
• กิจกรรมน้เี กยี่ วกับเร่ืองอะไร (ปัจจยั ในการสร้างอาหารของพืช)
• กจิ กรรมนม้ี จี ดุ ประสงคอ์ ะไร (นกั เรียนตอบตามความคดิ ของตนเอง)
• วิธีการดำเนินกิจกรรมโดยสรุปเป็นอย่างไร (อ่านวิธีการทดลองและวิเคราะห์ผลการทดลองจาก
วิธีการทดลองหาปัจจัยในการสังเคราะห์ด้วยแสงท่ีกำหนดให้ และลงข้อสรุปว่าในการทดลองนี้มีสิ่งใดเป็น
ปัจจัยในการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื )
3.7 นกั เรยี นทำกจิ กรรมตามขั้นตอน โดยสงั เกตการร่วมกันวิเคราะหว์ ิธีการทดลอง การต้ังสมมติฐานการ
ทดลอง นิยามเชิงปฏิบัติการ ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม และการวิเคราะห์ผลการทดลองเพ่ือลง
ข้อสรุปรว่ มกัน
3.8 ร่วมกันอภิปรายคำตอบเพ่ือให้นักเรียนสรปุ ได้ว่าแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นปัจจัยที่จำเป็นต่อการ
สร้างอาหารของพืช
ชวั่ โมงท่ี 15 (สัปดาหท์ ี่ 18)

58

4. ขน้ั การส่ือสารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 รว่ มกนั อภิปรายเก่ยี วกับปัจจัยในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเพื่อให้ไดข้ ้อสรุปว่าปัจจัยทจ่ี ำเป็นใน

การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ได้แก่ แสง สารสีเขียวหรือคลอโรฟิลล์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ ส่ิงที่

สามารถระบุได้ว่ามกี ารสังเคราะห์ด้วยแสงเกิดขึ้น คือ เมื่อทดสอบใบของพืชด้วยสารละลายไอโอดีน พบว่าสี

ของสารละลายไอโอดีนจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงินเข้ม แสดงว่ามีแป้งเกิดขึ้นในใบพืชโดยแป้งเป็นสารท่ีเปล่ียนมา

จากน้ำตาลซ่ึงเป็นผลผลิตชนิดแรกของการสังเคราะห์ดว้ ยแสง และครูควรเน้นย้ำกับนักเรียนในการอภิปราย

หลงั จากอ่านเนื้อเร่ืองวา่ ผลผลิตชนดิ แรกทีไ่ ด้จากการสงั เคราะห์ด้วยแสง คอื น้ำตาล

4.2 ร่วมสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับปัจจัยในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชว่าประกอบด้วยแสง

คลอโรฟิลล์แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และน้ำ และการสังเคราะห์ดว้ ยแสงได้ผลผลิต คอื น้ำตาล และครูอาจใช้

คำถามต่อไปว่านอกจากน้ำตาลแล้ว ผลผลิตของการสังเคราะห์ด้วยแสงยังมีอะไรอีกบ้าง เพื่อเช่ือมโยงเข้าสู่

กิจกรรมที่ 4.5 การสงั เคราะหด์ ้วยแสงไดผ้ ลผลติ ใดอีกบ้าง

4.3 นักเรียนอา่ นวธิ ีการดำเนนิ กิจกรรมในหนงั สอื เรียน และรว่ มกันอภปิ รายในประเด็นดังตอ่ ไปนี้

• กจิ กรรมนเ้ี กี่ยวกบั เรื่องอะไร (ผลผลิตจากการสงั เคราะหด์ ้วยแสงของพืช)

• กจิ กรรมนีม้ ีจดุ ประสงค์อะไร (นกั เรียนตอบตามความคิดของตนเอง)

• วิธีการดำเนินกิจกรรมโดยสรุปเป็นอย่างไร (นำสาหร่ายหางกระรอกบรรจุในกรวยแก้วแล้วนำไป

ควำ่ ใส่ในบกี เกอร์ที่มีน้ำ ครอบก้านกรวยแกว้ ดว้ ยหลอดทดลองท่ีมีน้ำเต็ม ทำ 2 ชุด ชุดหน่งึ นำไปวางกลางแดด

และอีกชุดนำไปวางในกล่องทึบ สังเกตสิ่งที่เกิดข้ึนในหลอดทดลองท้ัง 2 ชุด เม่ือครบ 90 นาที(ครูจัดชุด

อุปกรณไ์ ว้ล่วงหน้า) ยกหลอดทดลองขึน้ โดยใช้น้วิ ปิดปากหลอดไว้และแหย่ธปู ท่ตี ดิ ไฟแต่ไม่มีเปลวไฟเข้าไปใน

หลอดทดลอง)

5. ขนั้ การบรกิ ารสงั คมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นักเรียนนำผลการสังเกตท่ีบันทกึ ไวม้ านำเสนอ รว่ มกนั อภิปรายเปรยี บเทยี บขอ้ มูลที่ได้ สาเหตุทที่ ำ

ให้ผลการทำกจิ กรรมคลาดเคล่อื น เช่น ไมส่ ามารถสงั เกตเห็นการเปล่ยี นแปลงของปลายธูปเม่ือทดสอบแกส๊

ออกซิเจนหรือเห็นผลการทดสอบไม่ชัดเจน ครูอาจถามคำถามเพ่ิมเตมิ หรืออาจเปรยี บเทียบผลจากกล่มุ อืน่

หรอื อาจเปดิ วีดิทศั น์การทดลองท่ีคลา้ ยคลึงกันให้นกั เรียนชม

5.2 นักเรียนร่วมกันอภิปรายคำตอบเพ่ือให้นักเรียนสรุปได้ว่าชุดการทดลองท่ีวางกลางแดดมีฟองแก๊ส

เกดิ ขนึ้ ในหลอดทดลอง เมื่อทดสอบสรุปได้ว่าแก๊สที่เกิดขึ้นคือแก๊สออกซิเจน ดังนั้นผลผลิตของการสงั เคราะห์

ด้วยแสงของพชื คือ น้ำตาลและแกส๊ ออกซเิ จน

5.3 ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่ากระบวนการสังเคราะห์

ด้วยแสงมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของพืชและส่ิงมีชีวิตชนิดอื่นรวมท้ังต่อสิ่งแวดล้อมเพราะเป็น

กระบวนการเดียวท่ีนำพลงั งานแสงมาเปล่ียนใหเ้ ป็นพลงั งานเคมเี ก็บไว้ในรปู ของสารประกอบอินทรีย์

ที่เป็นอาหารให้กับส่ิงมีชีวิตทุกชนิดบนโลก และเป็นกระบวนการท่ีมีการผลิตแก๊สออกซิเจนสำหรับให้พืชเอง

และสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ ใช้ในการหายใจ รวมท้ังยังมีส่วนช่วยรักษาสมดลุ ของปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์

และแกส๊ ออกซเิ จนในอากาศ ทำใหส้ ่ิงมชี ีวติ ชนดิ ต่างๆ สามารถดำรงชวี ติ อยู่ได้

13. สอ่ื การเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้

13.1 ส่ือการเรียนรู้

1) ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนังสือแบบเรียน 3) สอ่ื เพาเวอรพ์ อยต์

13.2 แหล่งเรียนรู้

1) อนิ เตอร์เน็ต 2) ห้องสมุด

59

14. บันทึกหลงั การจัดการเรยี นรู้ รายละเอยี ด
ผลการสอน
......................................................................................
1. ดา้ นความรู้ : ......................................................................................
- ปัจจยั ที่สำคญั ในการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของ ......................................................................................
พชื และผลผลิตท่ีได้จากการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง ......................................................................................
- ความสำคัญของการสังเคราะห์ด้วยแสง .....................................................................................
ของพืชต่อส่งิ มชี วี ติ และสิ่งแวดล้อม ......................................................................................
-ตระหนักในคุณค่าของพืชท่ีมีตอ่ สิ่งมีชวี ิตและ .....................................................................................
สิ่งแวดล้อมโดยการร่วมกนั ปลูกและดูแลรกั ษา
ตน้ ไมใ้ นโรงเรยี นและชมุ ชน ......................................................................................
2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการคิด ......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ......................................................................................
3. ดา้ นคุณธรรมจริยธรรมและค่านยิ ม ...............................................................................
อนั พึงประสงค์ : ......................................................................................
- มีวินยั
- ใฝ่เรยี นรู้ ......................................................................................
- อยู่อย่างพอเพียง ......................................................................................
- รกั ความเปน็ ไทย ......................................................................................
4. ปัญหาการสอน ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
......................................................................................
5. วิธีแกป้ ัญหา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

60

ลงช่ือ........................................ครูผู้สอน ลงชือ่ ...........................................หวั หน้ากลุ่มสาระฯ
( นางสาวอโนชา อุทมุ สกลุ รตั น์ ) (นางกณิการ์ พัฒรากลุ )

ลงชื่อ........................................... ลงชอ่ื ...........................................
( นางกณิการ์ พัฒรากลุ ) ( นางรพีพร คำบญุ มา )
หัวหน้างานนเิ ทศ
รองผอู้ ำนวยการกล่มุ บริหารวชิ าการ

ลงช่อื ........................................................
( นายจงจัด จันทบ )

ผ้อู ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

61

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 8
หน่วยการเรียนรู้ที่…….4……..การดำรงชวี ิตของพืช......เรอื่ ง...การลาเลียงนา้ ธาตอุ าหาร และอาหารของพชื ....

รายวิชา……......วทิ ยาศาสตร์……..1.......รหัสวิชา…......ว 21101 ..............ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที.่ ...1.....
กลุ่มสาระการเรยี นรู้..วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปกี ารศึกษา… 2564...ภาคเรยี นท.่ี .1...เวลา...9...ชัว่ โมง……
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกุลรัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชี้วดั /ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพน้ื ฐานมีทั้งมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้วี ดั
รายวชิ าเพม่ิ เตมิ มีเฉพาะมาตรฐานการเรยี นรู้และผลการเรยี นร้)ู

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั ว 1.2 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8
สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชีวิต หน่วยพืน้ ฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียงสารเข้าและ
ออกจากเซลล์ ความสัมพันธข์ องโครงสร้าง และหน้าที่ของระบบตา่ ง ๆ ของสัตว์และมนุษยท์ ่ีทำงานสมั พนั ธก์ ัน
ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ีของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้
ประโยชน์

ตวั ช้ีวัด
ว 1.2 ม. 1/9 บรรยายลักษณะและหนา้ ท่ขี องไซเล็มและโฟลเอ็ม
ว 1.2 ม. 1/10 เขยี นแผนภาพทีบ่ รรยายทศิ ทางการลำเลยี งสารในไซเล็มและโฟลเอม็ ของพชื
ว 1.2 ม. 1/14 อธบิ ายความสำคัญของธาตอุ าหารบางชนดิ ที่มผี ลตอ่ การเจริญเตบิ โตและการดำ
รงชีวิตของพชื
ว 1.2 ม. 1/15 เลอื กใชป้ ุย๋ ทมี่ ีธาตุอาหารเหมาะสมกับพืชในสถานการณท์ ่ีกำหนด
2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวช้ีวัดทใ่ี ช้ในหน่วยการเรียนรนู้ เี้ ขยี นเปน็ แบบความเรียง)
พืชตอ้ งการอากาศ น้ำ แสง และธาตุอาหารในการเจรญิ เติบโตและการดำรงชีวิต พืชดูดน้ำและธาตุ
อาหารจากดินเข้าสู่รากและลำเลียงผ่านทางไซเล็มไปสู่ลำต้น ใบ และส่วนอ่ืน ๆ ของพืช เพื่อใช้ในการ
สังเคราะห์ดว้ ยแสงรวมถึงกระบวนการอ่ืน ๆ และมีโฟลเอ็มลำเลียงอาหารทไ่ี ด้จากการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงไปสู่
สว่ นตา่ ง ๆ ของพชื
3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนร้แู กนกลาง/สาระการเรียนรเู้ พิม่ เติม (รายวิชาเพิ่มเตมิ )
สาระการเรียนร้แู กนกลาง
• พชื ต้องการธาตุอาหารที่จำเป็นหลายชนิดในการเจริญเตบิ โตและการดำรงชีวิต
• พืชต้องการธาตุอาหารบางชนิดในปริมาณมาก ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรสั โพแทสเซียม แคลเซยี ม
แมกนีเซียม และกำมะถนั ซ่ึงในดนิ อาจมีไมเ่ พียงพอ สำหรบั การเจริญเติบโตของพืช จึงตอ้ งมีการใหธ้ าตุอาหาร
ในรปู ของปุ๋ยกับพชื อยา่ งเหมาะสม
• พืชมีไซเลม็ และโฟลเอ็ม ซง่ึ เป็นเน้อื เย่อื มีลักษณะคล้ายท่อ เรียงตัวกนั เปน็ กลุ่มเฉพาะที่โดยไซเล็มทำ
หน้าที่ลำเลียงน้ำและธาตุอาหารมีทิศทางลำเลียงจากรากไปส่ลู ำตน้ ใบ และส่วนต่าง ๆ ของพืช เพ่ือใช้ในการ
สงั เคราะห์ด้วยแสงรวมถึงกระบวนการอนื่ ๆ ส่วนโฟลเอ็มทำหน้าที่ลำเลียงอาหารทไี่ ดจ้ ากการสงั เคราะหด์ ้วย
แสงมีทศิ ทางลำเลยี งจากบริเวณท่ีมกี ารสังเคราะหด์ ้วยแสงไปสสู่ ่วนต่าง ๆ ของพชื
3.2 สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถ่ิน (ถา้ ในคำอธบิ ายรายวชิ าพดู ถึงหลักสตู รทอ้ งถนิ่ ให้ใส่ลงไปดว้ ย
...............................................................-...........................................................................................

62

4. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อธบิ ายความสำคญั ของธาตอุ าหารบางชนิดที่มีผลตอ่ การเจริญเติบโตและการดำรงชีวิตของพืช

2. เลอื กใช้ปยุ๋ ที่มีธาตอุ าหารเหมาะสมกับพชื ในสถานการณท์ กี่ ำหนด

3. บรรยายลักษณะและหน้าท่ีของไซเล็มและโฟลเอ็ม

4. เขียนแผนภาพท่อี ธิบายทศิ ทางการลำเลียงสารในไซเล็มและโฟลเอม็ ของพืช

5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น (เลือกเฉพาะขอ้ ที่เกิดในหน่วยการเรยี นรู้น)้ี

 1. ความสามารถในการสอื่ สาร  2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (เลอื กเฉพาะขอ้ ที่เกิดในหน่วยการเรียนรนู้ ้)ี

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  2. ซอื่ สัตย์สจุ ริต

 3. มีวินยั  4. ใฝเ่ รียนรู้
 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุง่ ม่นั ในการทำงาน

 7. รักความเป็นไทย  8. มีจิตสาธารณะ
7. ดา้ นคณุ ลักษณะของผู้เรียนตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวิชาการ  2. สอ่ื สารสองภาษา  3. ลำ้ หนา้ ทางความคดิ

 4. ผลิตงานอยา่ งสร้างสรรค์  5. ร่วมกันรับผิดชอบตอ่ สังคมโลก
8. ทักษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได)้  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเป็น)
 ทกั ษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทกั ษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) Understanding)
 ทกั ษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural

 ทกั ษะด้านความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะด้านการสอ่ื สาร สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันสือ่ (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทักษะอาชีพ และทกั ษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
ความมีเมตตา (วนิ ยั คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

9. บรู ณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกล่มุ ใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชิกในหอ้ งเรียนคอื

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมีเหตผุ ล : ใหน้ กั เรียนสรา้ งสรรค์ผลงานและเกิดทกั ษะการปฏิบตั ิ , นักเรยี นเกดิ ความ

ภาคภูมิใจในผลงานของตนและสงิ่ ทเี่ รียนรู้

3. หลักภมู ิคุ้มกนั : ใหน้ ักเรยี นเกดิ ทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นักเรยี นร้จู กั การวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานใหส้ มาชิกภายในกลุ่มไดเ้ หมาะสมกบั ความสามารถของแต่ละบคุ คล

63

4. เง่อื นไขความรู้ : การวางแผนงานทจี่ ะทำกอ่ นแล้วค่อยลงมือทำอย่างระมดั ระวงั

5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนทจ่ี ะทำงาน และมคี วามขยนั ที่จะทำงานใหอ้ อกมาได้ดีท่ีสุด , มวี นิ ยั ในการ

ทำงาน

10. ชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ช้วี ัด ช้นิ งาน ภาระงาน

ว 1.2 ม. 1/9 -รายงานกิจกรรมท่ี 4.6 ธาตุอาหาร - อธบิ ายความสำคญั ของธาตอุ าหารบาง

ม.1/10 ม.1/14 พชื สำคญั ตอ่ พืชอยา่ งไร ชนดิ ท่ีมีผลตอ่ การเจริญเตบิ โตของพืช

ม.1/15 -รายงานกิจกรรมท่ี 4.7 พืชลำเลียง และผลจากการขาดธาตอุ าหารนั้น

น้ำและธาตุอาหารอย่างไร - บอกวิธกี ารแก้ไขอาการผิดปกติของพชื ท่ีเกิด

-เขียนแผนภาพท่บี รรยายทิศางการ จากการขาดธาตอุ าหารพชื โดยการเลือกใช้ปยุ๋ ท่ี

ลำเลยี งสารในไซเล็มและโฟลเอม็ เหมาะสม

ของพืช

11. การวัดประเมินผล

11.1การวัดและประเมนิ ผลช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ กี าร

1.การสังเกตการณ์

2.การใช้ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์รอ่ งรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมนิ การปฏบิ ตั ิ

เคร่ืองมือ

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมนิ การปฏิบัติ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรม ผ่านต้งั แต่ 2 รายการ ถือว่า ผา่ น ผ่าน 1

รายการถอื วา่ ไมผ่ ่าน

11.2 การวัดและประเมนิ ผลระหว่างการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจดั การเรียนรู้ของ

หน่วยการเรียนรนู้ ้)ี

สง่ิ ที่ต้องการวัด วธิ ีวัดผล เครอ่ื งมอื วัดผล เกณฑก์ ารประเมนิ

1. ความรู้เกีย่ วกับ -การสอบถาม ซักถาม ความ - แบบประเมินการ - นกั เรียนได้

- ธาตอุ าหารบางชนิดท่ีมี คดิ เหน็ อภิปรายแสดง คะแนน

ผลต่อการเจริญเตบิ โต -การตรวจผลงานนักเรยี น ความ 12 คะแนนขน้ึ ไป

และการดำรงชีวิตของ คดิ เห็น หรอื ร้อยละ 80

พชื - แบบประเมนิ การ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

- เลอื กใชป้ ยุ๋ ท่มี ธี าตุอาหาร ตรวจผลงานผู้เรียน - นกั เรียนได้

เหมาะสมกับพืชในสถานการณ์ คะแนน

ทก่ี ำหนด ประเมนิ ผลงาน

-หน้าทีข่ องไซเลม็ และ 13 คะแนนข้นึ ไป

โฟลเอม็ หรอื รอ้ ยละ 80

64

- ทิศทางการลำเลียงสาร ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

ในไซเลม็ และโฟลเอม็ ของพชื

2.ทกั ษะกระบวนการคดิ และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ -นักเรียนได้คะแนน

ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ความคดิ เห็นระบทุ กั ษะ อภิปรายแสดง 12 คะแนนขนึ้ ไป

กระบวน ความ หรือรอ้ ยละ 80

การทางวทิ ยาศาสตรท์ ่ีได้ คิดเหน็ ถือว่าผา่ นเกณฑ์

ปฏิบตั จิ ากกิจกรรม - แบบประเมิน

- สงั เกตพฤตกิ รรมการ พฤตกิ รรมการ

ทำงานกลุ่ม ทำงานกลมุ่

3. คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ - สงั เกตค่านิยมในการ - แบบประเมนิ - นกั เรยี นได้

และสมรรถนะผูเ้ รยี น ทำงานร่วมกับผู้อน่ื และการ คณุ ลักษณะอันพึง คะแนน

- มวี ินัยในการทำงานกลุ่ม ทำงานในระบบกลมุ่ ประสงค์ ประเมนิ คณุ ลักษณะ

- นกั เรียนเหน็ ความสำคญั อภปิ ราย แสดงความคิดเห็น อันพงึ ประสงค์

ของการทำงานรว่ มกับผู้อื่นและ เกยี่ วกบั ผลการทดลอง - แบบประเมิน 26 คะแนนข้ึนไป

การทำงานในระบบกล่มุ สมรรถนะผเู้ รียน หรือร้อยละ 80

- ยอมรบั ความคิดเหน็ ซ่ึงกัน ถือว่าผา่ นเกณฑ์

และกนั มคี วามเสยี สละและ - นักเรยี นได้

อดทน คะแนน

การประเมิน

สมรรถนะ

29 คะแนนขึ้นไป

หรอื ร้อยละ 80

ถือว่าผา่ นเกณฑ์

12. กจิ กรรมการเรียนรู้
ชว่ั โมงท่ี 16 (สปั ดาห์ที่ 19)
1. ข้ันต้ังประเด็นปญั หา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครูเชอ่ื มโยงเนื้อหา การสังเคราะหด์ ้วยแสงของพชื เข้าส่บู ทเรียนน้ี โดยอาจใช้คำถามว่า พชื ใชส้ ิง่

ใดบ้างในการสงั เคราะห์ด้วยแสง และได้ส่งิ เหล่านนั้ จากแหล่งใด (แสงจากดวงอาทิตย์ คลอโรฟิลล์ในเซลลพ์ ืช
แก๊สคาร์บอนไดออกไซดจ์ ากอากาศ และน้ำจากดิน)

1.2 ครูให้นกั เรียนสังเกต วีดิทศั น์ หรอื สื่ออนื่ ๆ ท่เี ก่ียวกบั เกี่ยวกบั ขนรากของพชื พรอ้ มทั้งให้นกั เรียน
อา่ นเนอื้ หานำบท จากนน้ั ร่วมกันอภปิ รายเกี่ยวกบั การลำเลียงในพชื โดยอาจใช้คำถามดงั นี้

• พชื ไดร้ บั น้ำ ธาตอุ าหารและอาหารจากแหลง่ ใด(นักเรยี นตอบตามความเข้าใจ เช่น พืชจะดูดนำ้
และธาตุอาหารจากดนิ และไดร้ บั อาหารโดยการสรา้ งขึน้ เอง)

• พชื นำน้ำจากดิน และอาหารท่ีสรา้ งขนึ้ ทีใ่ บไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช ได้อย่างไร (นักเรียนตอบตาม
ความเขา้ ใจ เชน่ ลำเลียงผ่านลำตน้ )

1.3 นักเรียนทำกจิ กรรมทบทวนความรกู้ ่อนเรียน

65

1.4 ครูทบทวนความรเู้ ก่ียวกบั การสังเคราะหด์ ้วยแสงของพืช โดยนำใบพชื ทปี่ กติและใบพชื ท่ีมอี าการ
ผดิ ปกติท่เี กิดจากการขาดธาตอุ าหารมาใหน้ กั เรยี นดแู ละ ใช้คำถามตอ่ ไปน้ี

• ส่วนที่สงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพืชต้องมสี ิง่ ใดในเซลล์
• ใบพชื ที่มอี าการซดี เหลืองจะสงั เคราะหด์ ้วยแสงไดด้ หี รือไม่
• อาการซีดเหลืองของใบ เกดิ เพราะอะไร และจะแก้ปญั หาได้อย่างไร
ชว่ั โมงท่ี 17 (สปั ดาห์ท่ี 19)
2. ขัน้ สืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 ร่วมกนั อภปิ รายเพ่ือให้ไดข้ อ้ สรปุ วา่ พืชต้องการ น้ำ แสง แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ และคลอโรฟิลล์ใน
การสงั เคราะห์ดว้ ยแสงแลว้ ไดผ้ ลผลติ เปน็ นำ้ ตาลซึ่งเปน็ อาหารของพชื นอกจากน้ีพชื ยังตอ้ งการธาตอุ าหารเพื่อ
ใช้เปน็ องค์ประกอบของน้ำตาลและสารต่าง ๆ ทีพ่ ืชสร้างข้นึ แล้วพชื จะใช้นำ้ ตาลและสารเหล่าน้ันเพอื่ ให้การ
เจรญิ เตบิ โตเปน็ ไปอยา่ งปกตธิ าตุอาหารของพชื มีอะไรบ้าง แตล่ ะชนิดมคี วามสำคัญอยา่ งไรตอ่ พืช จะได้ทราบ
จากการทำกิจกรรมท่ี 4.6
2.2 นักเรียนอา่ นวธิ กี ารดำเนินกจิ กรรม ในหนังสือเรียน และรว่ มกันอภิปรายในประเด็นดังต่อไปน้ี
• กจิ กรรมนเี้ กย่ี วกบั เร่อื งอะไร (ธาตอุ าหารของพชื และอาการผดิ ปกตขิ องพืชที่เกิดจากการขาดธาตุ
อาหารพืช)
• กิจกรรมนี้มีจุดประสงค์อะไร (นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง)
• วิธกี ารดำเนินกิจกรรมโดยสรุปเป็นอย่างไร (อา่ นและอภปิ รายความสำคญั ของธาตุอาหาร และ
แนวทางการแก้ปญั หาการขาดธาตุอาหาร จากนั้นรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับธาตุอาหารของพืชและวิธีแก้ปญั หา
จากการขาดธาตุอาหารของพชื )
• นักเรียนเลอื กใชเ้ ทคโนโลยใี ดในการนำเสนอผลงานได้บา้ ง (Microsoft powerpoint
แอปพลเิ คชั่นต่าง ๆ)
2.3 นักเรยี นนำข้อมูลเกี่ยวกบั ชนิดและความสำคัญของธาตุอาหารพืชแต่ละชนิด รวมทงั้ การแก้ปัญหาการ
ขาดธาตุอาหารของพืช มานำเสนอในรปู แบบต่าง ๆ เช่น ตาราง หรอื แผนภาพพร้อมคำอธบิ าย
2.4 รว่ มกนั อภปิ รายเปรยี บเทียบขอ้ มูลทไ่ี ดจ้ ากการทำกจิ กรรม และสาเหตทุ ่ที ำให้ผลการทำกิจกรรม
คลาดเคล่อื น เชน่ นักเรียนสบื ค้นขอ้ มูลและไดข้ ้อมูลว่า ธาตุอาหารท่จี ำเป็นตอ่ พชื มีเพยี ง 16 ธาตุ ซึ่งปจั จุบนั มี
การเพมิ่ เป็น 17 ธาตุแลว้
2.5 ร่วมกนั อภปิ รายคำตอบเพ่ือให้นกั เรียนสรุปไดว้ า่ ในดนิ มีธาตุอาหารท่พี ชื ใชใ้ นการเจรญิ เตบิ โตและ
ดำรงชีวติ ธาตุอาหารทพี่ ืชขาดไม่ได้มี 17 ชนดิ ถ้าพชื ขาดธาตุอาหารพืชจะแสดงอาการผิดปกตคิ วรแก้ไขโ้ ดย
การวเิ คราะห์ดินเพ่อื หาชนิดและปรมิ าณของธาตอุ าหารที่เป็นประโยชนต์ ่อพืช และเพอ่ื หาสาเหตุวา่ ดินขาดธาตุ
อาหารหรอื มธี าตุอาหารแต่อยู่ในรูปท่ีพชื ไม่สามารถนำไปใชไ้ ด้ วิเคราะห์เนื้อเยื่อพืช เพอื่ ประเมินระดับความ
ขาดธาตอุ าหารของพืช ซ่ึงถา้ ดนิ ขาดธาตอุ าหารของพืชสามารถทำการเพิ่มธาตุอาหารของพืชในดนิ โดยการใส่
ปยุ๋
2.6 ใหน้ กั เรียนอา่ นเนอ้ื หาในหนังสือและรว่ มกันอภิปรายเกี่ยวกับธาตุอาหารของพชื เพ่อื ให้ไดข้ ้อสรุปว่า
ธาตุอาหารในดินมคี วามสำคญั ตอ่ การเจริญเตบิ โตของพชื ถา้ พชื ขาดธาตุอาหารพชื จะแสดงอาการผิดปกติ จึง
จำเปน็ ต้องให้พชื ไดร้ บั ธาตุอาหารของพชื อยา่ งเพียงพอ ถ้าในดินไมม่ หี รือมีธาตุอาหารของพชื น้อยตอ้ งเพมิ่ ธาตุ
อาหารลงในดินในปรมิ าณที่เหมาะสม
ช่วั โมงท่ี 18 (สปั ดาห์ที่ 19)
3. ขั้นสรปุ องค์ความรู้ (Knowledge Formation)

66

3.1 ร่วมสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับธาตุอาหารของพืช ว่าพืชดูดธาตุอาหารจากดินเพ่ือใช้ในการ
เจริญเติบโตให้เป็นไปอย่างปกติ และครอู าจใช้คำถามตอ่ ไปว่า พืชนำธาตุอาหารไปใช้ประโยชน์ในส่วนต่าง ๆ
ของตน้ ได้อยา่ งไร เพอื่ เชื่อมโยงกับเนอ้ื หาเร่อื งการลำเลียงในพืช

3.2 นักเรยี นอา่ นวธิ ีการดำเนนิ กิจกรรม 4.7 ในหนังสอื เรยี น และรว่ มกนั อภิปรายในประเดน็ ตอ่ ไปน้ี
• กิจกรรมนเ้ี ก่ียวกับเร่ืองอะไร (การลำเลียงน้ำและธาตอุ าหารในพืช)
• กจิ กรรมน้ีมจี ุดประสงคอ์ ะไร (นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง)
• วิธีการดำเนินกิจกรรมโดยสรุปเป็นอย่างไร (สังเกตลักษณะภายนอกของต้นเทียนท่ียังมีราก นำต้น

เทียนไปแช่น้ำสีสังเกตและเขียนแผนภาพทิศทางการลำเลียงน้ำสีในรากและลำต้นเทียน ตัดรากและลำต้น
เทียนที่ผ่านการแช่น้ำสีตามยาวและตามขวางหนาประมาณ 0.5 เซนติเมตร สังเกตการติดสีของเน้ือเย่ือ ตัด
รากและลำต้นเทยี นท่ีผ่านการแช่น้ำสีตามยาวและตามขวางบาง ๆ แช่เน้อื เยื่อในสารละลายซาฟรานินทำสไลด์
สดเนื้อเย่ือ และสังเกตเน้ือเย่ือภายใต้กล้องจุลทรรศน์ รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับการลำเลียงน้ำและธาตุอาหาร
ของพืช)

3.3 ครูสาธิตการตัดเนื้อเย่ือรากและลำต้นตามยาวและตามขวางแบบบาง เพ่ือให้นักเรียนทำได้อย่าง
ถูกตอ้ งและปลอดภยั

3.4 นักเรียนทำกิจกรรมตามข้ันตอน โดยครูสังเกตการตัดเน้ือเยื่อพืช การเตรียมสไลด์ การใช้กล้อง
จุลทรรศน์ การสืบค้นข้อมูล การสังเกตและการบันทึกผลการสังเกตของนักเรียนทุกกลุ่ม เพ่ือให้ข้อแนะนำถ้า
เกิดข้อผิดพลาดขณะทำกิจกรรมรวมท้ังนำข้อมูลที่ควรจะปรับปรุงและแก้ไขมาใช้ประกอบการอภิปรายหลัง
การทำกจิ กรรม

3.5 นักเรียนนำข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะเนื้อเยื่อและทิศทางการเคล่ือนที่ของน้ำและธาตุอาหารในพืชมา
นำเสนอในรูปแบบต่าง ๆ เชน่ นำเสนอโดยใชโ้ ปรแกรมหรอื แอปพลเิ คชัน่ ทที่ ันสมยั

ชวั่ โมงท่ี 19 (สัปดาห์ท่ี 20)
4. ขัน้ การสือ่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 ร่วมกันอภิปรายเปรียบเทียบข้อมูลที่ได้จากการทำกิจกรรม และอภิปรายถึงสาเหตุที่ผลการทำ
กิจกรรมคลาดเคลื่อนเช่น ไม่เห็นการเคล่ือนท่ีของน้ำสี อาจเนื่องจากต้นเทียนยังสดเกินไปจึงดูดน้ำสีได้น้อย
หรอื ดดู ได้ชา้ หรือไมส่ ามารถตดั เนื้อเยื่อบรเิ วณปลายรากได้เน่ืองจากรากเกิดความเสียหาย หรือไม่เห็นการติด
สีในเนอ้ื เยื่อเน่ืองจากไมไ่ ดแ้ ช่เนื้อเยอ่ื ในสารละลายซาฟรานนิ
4.2 นกั เรียนตอบคำถามทา้ ยกิจกรรม และร่วมกนั อภิปรายคำตอบเพอื่ ให้นักเรียนสรุปไดว้ ่าน้ำสเี คล่ือนท่ี
เข้าสู่รากต้นเทียนและเคลื่อนต่อเนื่องข้ึนไปยังส่วนต่าง ๆ ของต้น เน่ืองจากรากและลำต้นมีกลุ่มเซลล์หรือ
เน้ือเยื่อที่เรียงต่อกนั เป็นท่อ ซึ่งเปน็ ชอ่ งทางสำหรบั การลำเลียงน้ำสีไปสสู่ ่วนตา่ ง ๆ ของตน้ เทียน
4.3 นักเรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับการลำเลียงสารในพืช เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่าน้ำเข้าสู่รากพืชโดยการ
ออสโมซิส ส่วนธาตุอาหารเข้าสู่รากพืชโดยการแพร่หรือการลำเลียงแบบต้องใช้พลังงาน พืชมีไซเล็มทำหน้าท่ี
ลำเลียงนำ้ และธาตอุ าหารจากรากข้นึ ไปส่ทู กุ ส่วนของพชื และมีโฟลเอ็มทำหนา้ ที่ลำเลียงอาหารท่ีพืชสร้างขนึ้
ทีบ่ ริเวณท่ีมสี ีเขยี วไปสู่ทกุ สว่ นของพืช
ช่ัวโมงท่ี 20 (สัปดาหท์ ่ี 20)
5. ขั้นการบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)
5.1 นักเรียนทำกิจกรรมเสรมิ นอกเวลาเรยี น โดยให้ออกแบบสวนแนวตัง้ ในโรงเรียน โดยเลือกชนิดพืช
วัสดปุ ลูกภาชนะท่ีใชป้ ลกู การดแู ลรกั ษา และบอกประโยชน์ของสวนแนวตง้ั ของตนเอง

67

5.2 ครูสนทนากับนกั เรียนเก่ียวกบั เรอ่ื งในบทเรียนการลำเลียงน้ำ ธาตุอาหาร และอาหารของพชื จากน้ัน

ให้นักเรยี นทำกิจกรรมตรวจสอบตนเอง เพือ่ สรุปองค์ความรู้ทไี่ ดจ้ ากบทเรยี น โดยการเขยี นบรรยาย วาดภาพ

หรือเขยี นผังมโนทัศน์สิง่ ทไ่ี ดไ้ ดเ้ รียนรจู้ ากบทเรยี นนี้ ใหน้ กั เรียนนำเสนอผลงาน โดยอาจออกแบบให้นกั เรยี น

นำเสนอและอภิปรายภายในกลมุ่ หรืออภปิ รายร่วมกันในชน้ั เรียน หรือตดิ แสดงผลงานบนผนงั ห้องเรียน และ

ใหน้ ักเรยี นรว่ มพิจารณาผลงาน จากน้ันครูและนักเรยี นอภิปรายสรปุ องคค์ วามรทู้ ่ไี ด้จากบทเรยี นรว่ มกนั

13. สอ่ื การเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้

13.1ส่อื การเรยี นรู้

1) ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนังสอื แบบเรยี น 3) สอ่ื เพาเวอร์พอยต์

13.2 แหล่งเรียนรู้

1) อินเตอร์เนต็ 2) ห้องสมุด

14. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ดา้ นความรู้ :

1. ความรเู้ กี่ยวกับ ......................................................................................

- ธาตุอาหารบางชนิดท่ีมผี ลต่อการเจรญิ เตบิ โต ......................................................................................

และการดำรงชวี ติ ของพืช ......................................................................................

- เลือกใช้ปุ๋ยที่มธี าตุอาหารเหมาะสมกับพืชใน ......................................................................................

สถานการณท์ ี่กำหนด-หนา้ ท่ีของไซเลม็ และ .....................................................................................

โฟลเอ็ม ......................................................................................

- ทศิ ทางการลำเลียงสารในไซเลม็ และโฟลเอ็ม .....................................................................................

ของพืช

2. ดา้ นกระบวนการ :

- ทักษะกระบวนการคิด ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................

3. ด้านคุณธรรมจริยธรรมและคา่ นิยม

อนั พงึ ประสงค์ :

- มีวินยั ......................................................................................

- ใฝเ่ รยี นรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ......................................................................................

- รักความเป็นไทย ......................................................................................

4. ปัญหาการสอน ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
......................................................................................
5. วธิ ีแก้ปญั หา ......................................................................................

68

....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................

......................................................................................

ลงชือ่ ........................................ครูผ้สู อน ลงช่ือ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
( นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รัตน์ ) (นางกณกิ าร์ พฒั รากลุ )

ลงช่ือ........................................... ลงชื่อ...........................................
( นางกณกิ าร์ พัฒรากลุ ) ( นางรพีพร คำบญุ มา )
หัวหนา้ งานนเิ ทศ
รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ

ลงชอ่ื ........................................................
( นายจงจดั จนั ทบ )

ผู้อำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม

69


Click to View FlipBook Version