The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบบันทึกPLCอโนชาเทอม2_64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2022-08-28 00:44:33

แบบบันทึกPLCอโนชาเทอม2_64

แบบบันทึกPLCอโนชาเทอม2_64

แบบบันทกึ กิจกรรม
ชุมชนแห่งการเรียนร้ทู างวิชาชพี
(Professional Learning Community )

ชื่อกลุม่ PLC
“พัฒนา Self Esteem ผู้เรียนเพอ่ื ก้าวสู่สงั คมแห่งการเรียนรู้

ในยคุ Disruption EP2”
ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

โดย นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์
ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการพเิ ศษ

โรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม
สำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานครเขต 1

สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

1

บันทึกขอ้ ความ

ส่วนราชการ โรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม

ที่ .......................................................... วันที่ 17 พฤษภาคม 2565

เร่ือง แบบรายงานผลการดำเนินงาน PLC (ส้นิ สุดการดำเนินงาน) กลุม่ “พัฒนา Self Esteem ผู้เรียนเพ่ือก้าว

สสู่ ังคมแหง่ การเรยี นรใู้ นยุค Disruption EP2” ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564

เรยี น ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม
ด้วยโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคมได้มีนโยบาย “การขับเคล่ือนกระบวนการ PLC (ชุมชนแห่งการ

เรียนรู้) สู่สถานศึกษา” ข้ึน เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ของครูให้มี
ประสิทธิภาพ ข้าพเจ้านางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ กรรมการกลุ่ม “พัฒนา Self Esteem ผู้เรียนเพ่ือก้าวสู่
สังคมแห่งการเรียนรู้ในยุค Disruption EP2” เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบใหม่ๆ ที่สามารถ
กระตุ้นให้ ผู้เรียนเกิดความต่ืนตัว กระตือรือร้น ใฝ่รู้ในการศึกษาค้นคว้า และมีความพร้อมก้าวสู่สังคมแห่งการ
เรียนรู้ โดยมุ่งเน้นกิจกรรมและกระบวนการการเรียนรู้ ที่กระตุ้นให้เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง (Self-Esteem)
ของผู้เรียน เพ่ือพัฒนาสู่การเป็นพลโลกยุค Disruption ได้อย่างต่อเน่ืองและยั่งยืน โดยการจัดการเรียนรู้แบบ
Hybrid Learning โดยได้ดำเนินการ ระหว่างวันที่ 30 ตุลาคม 2564 – 28 มกราคม 2565 รวมทั้งส้ิน 24 ช่ัวโมง
บดั น้ไี ดด้ ำเนินงาน PLC สิน้ สุดแลว้ จึงขอรายงานการดำเนนิ งาน PLC ดังเอกสารแนบท้ายน้ี

จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดทราบและพจิ ารณา

ลงช่ือ……………………..…………..
(นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรัตน์ )
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชุ ำนาญการพิเศษ

ความเห็นของผู้บรหิ ารโรงเรยี น
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................... .........................................

ลงชื่อ……………………..…………..
(นายสุรยิ นั ต์ เหล่ามะลึก)

ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม

2

แบบบนั ทกึ “พัฒนา Self Esteem ผู้เรียนเพ่ือกา้ วสู่สงั คมแหง่ การเรยี นรู้ในยคุ Disruption EP2”

1. คณะกรรมการ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม ผู้เช่ียวชาญ
1. นายสรุ ยิ นั ต์ เหล่ามะลึก ครผู ู้สอน/ครรู ่วมเรียนรู้
2. นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรตั น์ ครผู สู้ อน/ครรู ่วมเรียนรู้
3. นางสาวขวญั หล้า เกตฉุ ิม ครผู ู้สอน/ครรู ่วมเรียนรู้
4. นางสาวรัศมี กลุ สวุ รรณ ครูผสู้ อน/ครูรว่ มเรยี นรู้
5. นางสาวกาญจนา คงทน ครูผ้สู อน/ครรู ่วมเรียนรู้
6. นายอรรถพล ภูทอง

2. การระดมปัญหา/ความต้องการ
2.1 สถานการณ์โรคระบาด COVID-19 ทำให้สถาบันการศึกษาท่ัวโลกต้องหยุดการเรียนการสอนใน

หอ้ งเรยี น ทำใหก้ ารจัดการเรียนการสอนดำเนนิ ตอ่ ได้ สถานศกึ ษาหยุดได้แต่การเรยี นรู้หยดุ ไมไ่ ด้
การเรียนรู้แบบปรับเปล่ียนได้ Hybrid Learning เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ียืดหยุ่นและปรับเปลี่ยนได้ตาม

สถานการณข์ องชีวิตท่ีเปลย่ี นแปลงไป โดยผสมผสานการเรียนรู้ที่เกิดข้ึนในเวลาเดียวกัน (Synchronous) และคน
ละเวลากัน (Asynchronous) ที่เชื่อมโยงกันด้วยเครือข่ายโทรคมนาคม สามารถเรียนในห้องเรียนก็ได้ ออนไลน์ก็
ได้ คนละทห่ี รือที่เดียวกนั ก็ได้
3. แนวทางแก้ปัญหา

3.1 โดยการจัดการเรยี นการสอนแบบไฮบริด (Hybrid Learning) และร่วมกันพฒั นาสื่อนวตั กรรม ท่ีใช้ใน
การแกป้ ัญหาการเรียนรู้ของนักเรยี นใหด้ ียิ่งขึ้น
4. สาเหตุ

4.1 ด้านครู
4.1.1 ผู้สอนต้องมีทั้งทักษะและคุณลักษณะที่รองรับเข้าถึงเพ่ือสร้างนวัตกรรมบริหารจัดการช้ัน

เรียนแนวใหม่ โดยมุ่งเน้นกิจกรรมและกระบวนการการเรียนรู้ท่ีกระตุ้นให้เกิดการเห็นคุณค่าในตนเอง (Self-
Esteem) ของผู้เรียน

4.1.2 ครูขาดความมัน่ ใจในตวั ผูเ้ รยี นวา่ ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเองได้ และถือ
ว่าผู้เรียนมีความสำคัญท่ีสุด ครูมีหน้าที่กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม
ธรรมชาติและเตม็ ศักยภาพเทา่ นน้ั

4.2 ดา้ นนกั เรียน
4.2.1 ผู้เรียนขาดการเหน็ คุณคา่ ความสำคัญและบทบาทของตนเอง (Self-Esteem)
4.2.2 ผู้เรียนขาดแรงจงู ใจการเห็นคณุ ค่าความสำคัญและบทบาทของตนเอง (Self-Esteem)

4.3 ดา้ นการบรหิ ารจดั การ
4.3.1 ขาดการส่งเสริมและการนเิ ทศตดิ ตามอยา่ งจรงิ จงั

5. วัตถุประสงค์
5.1 เพอ่ื พฒั นาทักษะการเรยี นรู้ของผเู้ รยี น ให้เป็นบุคคลที่มคี ุณภาพดว้ ยกระบวนการเรียนรู้
5.2 เพ่อื พัฒนาผู้เรยี นให้สามารถตอ่ ยอดความรูดว้ ยตนเอง
5.3 เพอ่ื พัฒนาผู้สอนให้มีทักษะในการจดั การเรยี นรู้ มีเจตคติตอ่ วชิ าชีพครูทด่ี ี มแี รงจูงใจใฝส่ ัมฤทธส์ิ ูง

รองรับเขา้ ถึงเพ่ือสร้างนวตั กรรมบรหิ ารจัดการชน้ั เรียนแนวใหม่

6. แนวทางดำเนินงาน

3

ขั้นตอน กจิ กรรม วธิ ีการ ระยะเวลา
1 ข้ันเตรยี มการ (Plan) 2 ชม.
2 1. Community สร้างทมี ครู 1. ประชุมปฏิบตั ิการ 18 ชม.
2. แตง่ ตง้ั คณะกรรมการ และวางแผนการดำเนนิ งาน 2. ออกคำส่ังแต่งตั้งกรรมการ
3 3. วิเคราะหผ์ ้เู รยี น คดั เลอื กปัญหาทจี่ ะพฒั นา 3. วเิ คราะหผ์ ลการเรียนของนกั เรยี น 2 ชม.
4. ศึกษาเทคนิค วิธีการ และส่อื การสอน 4. ประชุมปฏิบตั ิการ
4 ปฏบิ ัติตามแผน (Do) 1 ชม.
5 จดั การเรยี นรู้แบบ Hybrid Learning 1. ระบุปญั หาท่ีพบในกระบวนการจัดการ 1 ชม.
เรยี นรู้
การวัดและประเมินผล (Check) 2. รวบรวมขอ้ มลู และแนวคิดที่เก่ียวข้อง
1. นเิ ทศแผนการจัดการเรียนรู้ กับปัญหาหรอื นำไปสกู่ ารแกป้ ัญหานัน้
2. นิเทศการสอน 3. ออกแบบวธิ กี ารแก้ปัญหาโดยจัดการ
เรียนรู้แบบ Hybrid Learning 4. วางแผน
สะทอ้ นผลเพ่ือปรับปรุง แก้ไขและพฒั นาตอ่ (การ และดำเนินการแกป้ ัญหา
ทบทวนผลการปฏบิ ตั งิ าน Reflection/After 5. ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรบั ปรุงแก้ไข
Action Review: AAR ) วิธีการแก้ปัญหาหรอื พัฒนานวตั กรรมได้
1. อภิปรายผลการสังเกตการสอนและรว่ มกันหาแนว 6. นำเสนอวิธีการแก้ปัญหา ผลการ
ทางแก้ไขและพัฒนาให้ดยี ่งิ ข้ึน แก้ปญั หาหรือผลของนวัตกรรมทพี่ ฒั นาได้
2. ทบทวนเหตุการณ์การกระทำท่เี กิดขน้ึ และควร
เกดิ ขึ้น 1. แบบนเิ ทศการสอน
เผยแพรน่ วัตกรรม 1. คัดเลือกแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่มคี วาม
โดดเด่นในกลุ่มสาระฯ
2. คดั เลือกครูทีม่ รี ูปแบบวธิ ีสอนโดดเดน่ ใน
กลุ่มสาระฯ
3..ใช้ออนไลน์เป็นสื่อกลางในการติดต่อ
แลกเปลยี่ นประสบการณร์ ะหวา่ งครูที่
ทำงานรว่ มกัน เชน่ กลมุ่ Line หรือ
Facebook

แลกเปล่ยี น/อภิปราย/เสนอแนะ (AAR)

1. Page: โรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม
2. Face Book:โรงเรยี นสวุ รรณาราม
วทิ ยาคม

7. การวัดผลและประเมนิ ผล

4

7.1 แผนการจดั การเรียนรู้ พรอ้ มบันทกึ หลังการสอน
7.2 ภาพการพูดคุย ปรกึ ษากับสมาชกิ กลุ่ม PLC
7.3 ภาพกิจกรรมการเรียนการสอน
7.4 แบบสงั เกตการณ์จดั กจิ กรรมการเรียนการสอน
7.5 ภาพการนิเทศการสอน
8. ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะได้รบั
8.1 ครมู คี วามร้เู รอ่ื งเทคนคิ วธิ ีการสอนในจัดการเรียนรู้แบบ Lifelong Learning
8.2 ผเู้ รยี นทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเองได้ ร้อยละ 75

รวม จำนวน......24...ช่วั โมง

ลงชอื่ ...............................................................
(นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์)
ครูผู้รายงาน

ข้นั ตอนการวางแผน

ข้นั ตอนที่ 1 Community สร้างทีมครู
ขนั้ ตอนที่ 2 Practice จดั การเรียนรู้ เช่นการวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ รว่ มกนั ออกแบบกิจกรรมการ
เรียนรู้แบบ Hybrid Learning เพ่ือแก้ปัญหา หรอื พฒั นา และนำสู่การเรียนการสอนแบบยดื หยุ่นและปรบั เปลี่ยน
ไดต้ ามสถานการณข์ องชีวิตทเี่ ปลี่ยนแปลงไป
เคร่ืองมอื ในการประเมิน

- แบบนเิ ทศ แบบสังเกตการณจ์ ัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ข้นั ตอนที่ 3 Reflection สะท้อนคดิ เพื่อการพฒั นาการปฏิบตั ิ
ขน้ั ตอนที่ 4 Evaluation ประเมินเพอ่ื พฒั นาสมรรถนะครู
ขน้ั ตอนท่ี 5 Network Development สร้างเครือข่ายการพัฒนา

5

แบบบันทกึ กิจกรรม
ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 1

ชอื่ กลุ่มกจิ กรรม ครั้งท่ี ...1................................................................
ภาคเรียนที.่ ...2.......ปีการศกึ ษา.....2564........
 วิชาการ  บคุ ลากร วนั เดือนปีทีจ่ ดั กิจกรรม.......30..ต.ค...64................
สถานท.่ี ....ประชุมออนไลน์ผา่ นโปรแกรม Meet....
 งบประมาณ  บรหิ ารท่วั ไป เวลา.......15.10-17.10.น...............................
จำนวน.................2.............................ชัว่ โมง
 กจิ การนักเรยี น  พฒั นาผู้เรยี น

 กิจกรรม Hybrid Learning ในการจัดการ

เรียนรู้ เพอ่ื พฒั นาทักษะการเรยี นรู้ของผู้เรียนแบบ

ยั่งยนื

ช่ือกจิ กรรม
การพฒั นาการจดั การเรยี นรู้โดยใช้การจดั การเรียนรู้แบบ Hybrid Learning

Community ผู้รว่ มอภิปราย

Model Teacher ผู้พบปัญหา นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรัตน์

Buddy Teacher ผูร้ ่วมอภิปราย

1. นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์ ประธานกรรมการ

2. นางสาวรศั มี กุลสุวรรณ กรรมการ

3. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

4. นายอรรถพล ภทู อง กรรมการ

5. นางสาวขวญั หล้า เกตฉุ มิ กรรมการ/เลขานุการ

Mentor Coaching ผู้นำอภปิ ราย นายสุริยนั ต์ เหลา่ มะลึก

Recording ผู้บนั ทึกข้อมูล นางสาวอโนชา อุทมุ สกลุ รัตน์

6

แบบบันทกึ กจิ กรรม
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานครเขต 1

ประเดน็ ปัญหาที่พบ

สถานการณ์โรคระบาด COVID-19 ทำให้สถาบันการศึกษาท่ัวโลกต้องหยุดการเรียนการสอนในห้องเรียน
ทำให้การจัดการเรียนการสอนดำเนินต่อได้ ดังประโยคที่ว่าสถานศึกษาหยุดได้แต่การเรียนรหู้ ยดุ ไม่ได้ การจัดการ
เรียนรู้เชงิ รุกในรูปแบบออนไลน์เป็นส่ิงทีท่ ำให้การเรียนร้ดู ำเนินตอ่ ไปได้ ซงึ่ ต้องมปี ัจจยั ดังนี้ สถานศกึ ษาตอ้ งเตรยี ม
แพล็ตฟอรม์ รองรบั ผู้สอนตอ้ งปรับเปล่ียนวธิ ีการสอน และผู้เรยี นต้องปรบั เปล่ยี นวิธกี ารเรยี น เปน็ ตน้

ในสภาพปัจจุบันน้ัน การเห็นคุณค่าในตนเองเป็นส่วนหน่ึงที่เป็นแรงผลักดันจิตใจให้บุคคลมุ่งสู่การเรียน
และปฏบิ ัติหน้าทีอ่ ย่างมีประสิทธิภาพ แตก่ ารเห็นคณุ คา่ ในตนเองก็สามารถเปล่ียนแปลงได้ตลอดเวลา เกิดจากการ
สะท้อนความร้สู ึกท่ีเปราะบางทางอารมณ์จากเหตุการณ์ท่ีตัวเองเกย่ี วข้องและได้รับรู้ เช่นการโดนตำหนิต่อวา่ หรือ
การได้รับคำชมเชย เพราะการเรียนของนักเรียนในสถานการณ์ โควิด 19 สามารถก่อให้เกิดความเครียดได้ง่าย จึง
ต้องใช้ความอดทนอย่างสูง หากไม่ดูแลรักษาสภาพร่างกายและสภาพจิตใจให้ดีก็ไม่สามารถมีกำลังกายกำลังใจใน
การเรียนและการปฏิบัตหิ น้าที่ ซึง่ เช่ือมโยงกับแรงจูงใจท่ีเป็นสิ่งสำคัญในการเรียนให้ประสบความสำเร็จเพราะเม่ือ
บุคคลมีแรงจูงใจบุคคลจะตั้งเป้าหมายและพยายามสรา้ งโอกาส เพ่ือมุ่งไปสู่การบรรลุเป้าหมายใหส้ ำเร็จ

การเห็นคุณค่าในตนเองมีลักษณะสำคัญท่ีเชื่อมต่อกัน หากทราบระดับการเห็นคุณค่าในตนเองและระดับ
แรงจูงใจท่ีจะเรียนจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อนักเรียนและโรงเรียนเพ่ือการพัฒนาศักยภาพและมุ่งสู่เป้าหมายด้วย
ความสำเรจ็ ต่อไปในอนาคต

ผูค้ ้นพบปัญหาพบว่าเชื่อวา่ การเห็นคุณค่าในตัวเองเป็นสิ่งท่ีฝึกฝนให้เกิดข้ึนได้ ทั้งน้ีมีงานวิจัยที่สะท้อนว่า
แนวทางในการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเอง โดยการสร้างบรรยากาศในห้องเรียนหรือความมั่นคงปลอดภัยให้
เกิดแก่ผู้เรียนไว้คือจะต้องใหค้ วามคาดหวังในตัวผู้เรียนในระดับสงู และช่วยเหลือให้ผู้เรียนได้รับสัมฤทธ์ิผลทางการ
เรยี น ใหข้ อ้ มูลย้อนกลับทางบวกแกผ่ ู้เรียนทุกคน พยายามให้คำอธิบายท่ีเก่ยี วกบั เหตุผลหรอื วัตถุประสงคใ์ นการต้ัง
เกณฑ์มอบหมายงานและกระทำกจิ กรรมทางการเรียน ผสู้ อนจะต้องเรียนรู้ลักษณะพิเศษของผเู้ รียนแต่ละคน และ
ใหค้ วามเอาใจใสใ่ นลักษณะพเิ ศษนั้นๆ เหน็ คุณค่าในความพยายามของผู้เรียนเท่าเทียมกับสัมฤทธผิ์ ลของผเู้ รียนทุก
คนช่วยให้ผู้เรียนรู้จักการยอมรับความผิดพลาดและการประสบความสำเร็จ โดยการให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ด้วย
ตนเองจากประสบการณ์ในความผิดพลาดและประสบความสำเร็จของผู้เรียนเอง ให้การยอมรับคุณค่าที่มีอยู่ในตัว
ของผู้เรียน มองผู้เรียนว่าเป็นมนุษย์ที่มีค่า แม้ว่าจะมีพฤติกรรมอย่างที่ครูไม่เห็นด้วย ต้องแสดงความยินดีและช่ืน
ชมในความสามารถและประสบความสำเร็จของผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการประเมินพฤติกรรมของตนเองตาม
วตั ถุประสงค์ท่ตี ั้งไวแ้ ละบอกระดับความสำเร็จของตนเองได้สร้างบรรยากาศทอี่ บอุ่นและปลอดภัย เมื่อมีการแสดง
ความคิดเห็นที่แตกต่างกันเกิดข้ึนเป็นต้น (แรฟฟีนี อ้างถึงใน กิ่งเพชร ส่งเสริม, 2544 : 12-13) ประสิทธิภาพต
อไป
สาเหตุของปญั หา

การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hybrid Learning จะบรรลุเปา้ หมายการเรียนรู้ได้นั้นผู้เรียนจำเป็นท่ี
จะตอ้ งใชก้ ารกำกับตนเองค่อนข้างสูง เช่น การศึกษาเน้ือหาและเตรียมตัวก่อนเข้าช้ันเรยี น การมรี ะเบยี บวินัย เข้า
ชั้นเรยี นตรงเวลา สง่ งานตรง เวลา รู้จักการทำงานเปน็ ทีม การแสดงความคิดเห็น และการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ การ
มที ักษะดา้ นเทคโนโลยแี ละทักษะด้านภาษาอังกฤษเพมิ่ ข้ึน เป็นตน้ การท่ีผู้เรียนจะการกำกับตนเองได้ดีนั้น
ปัจจัยทีเ่ ก่ียวข้องสมั พนั ธก์ ันคือ ผ้เู รยี นจะต้องมกี ารเห็นคณุ ค่าในตวั เอง มแี นวคิดและวิธีการดำเนินชวี ติ ท่ีสอดคลอ้ ง
เหมาะสม รักตัวเองเป็น กล้าท่ีจะเผชิญหน้ากับความท้าทายใหม่ๆ ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล รับฟัง

7

ความคิดเห็นของผู้อ่ืน มีความสามารถในการปรับตัวได้ดี รวมท้ัง มองโลกในแง่ดีและมีเหตุผล ส่วนผู้ท่ีมีความรู้สึก
เห็นคุณค่าในตวั เองต่ำจะมีทศั นคติเชิงลบต่อตนเองและผอู้ น่ื ขาดความมั่นใจ กลัวความผิดพลาด รู้สึกว่าตวั เองไม่ดี
เปน็ ภาระต่อผ้อู ื่น ไร้คา่ ไม่เปน็ ทร่ี ัก และมพี ฤติกรรมชอบเปรียบเทยี บตวั เองกับผ้อู ื่น เปน็ ตน้
ความรูแ้ ละหลักการทน่ี ำมาใช้

การเรียนรู้ตลอดชีวิตตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 น่ันคือ การเรียนรู้ตลอดชีวิตว่า
หมายถึง การศึกษาท่ีเกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย เพื่อใหส้ ามารถพัฒนาคณุ ภาพชีวิตไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดชีวติ

การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) การ
จดั การเรียนรตู้ ลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) คือ การรบั รู้ความรู้
ทกั ษะ และเจตคติ ของบุคคลจากการเรียนรู้ด้วยวิธีเรียนแบบต่างๆ และสามารรถทำให้บคุ คลน้ันเกดิ การพัฒนา
ตนเองได้

การจัดบรรยากาศทางดา้ นจิตวิทยาหรอื ทางด้านจิตใจ จะชว่ ยสร้างความรสู้ ึกให้นักเรียนเกิดความสบายใจ
ในการเรียน ปราศจากความกลัวและวิตกกังวล มีบรรยากาศของการสร้างสรรค์เร้าความสนใจ ให้นักเรียนร่วม
กจิ กรรมการเรยี นการสอนดว้ ยความสขุ นกั เรียนจะเกดิ ความรู้เชน่ นี้ ขึน้ อยกู่ ับครู เป็นสำคัญ ในข้อเหล่านี้

1.บุคลิกภาพ 2.พฤติกรรมการสอน 3.เทคนิคการปกครองช้ันเรียน 4.ปฏิสมั พันธ์ในห้องเรียน แต่
ละขอ้ มีรายละเอียดดังน้ี

1.บคุ ลิกภาพของครู
สภาพบรรยากาศของห้องเรียนมีส่วนสัมพันธ์กับบุคลิกภาพของครู ครูที่มีบุคลิกภาพดี เช่น การแต่งกาย
การยืน การเดิน ท่าทาง น้ำเสียง การใช้คำพูด การแสดงออกทางสีหน้า แววตา ฯลฯ เหมาะสมกับการเป็นครู จะ
ชว่ ยสง่ เสรมิ บรรยากาศการเรยี นรไู้ ดด้ ี
2.พฤติกรรมการสอนของครู
พฤติกรรมการสอนของครูมีบทบาทในการสร้างความรู้สึกท่ีดใี ห้แก่นักเรียน เช่นเดียวกบั บุคลิกภาพของครู
ในการสอนครูต้องใช้เทคนิคและทักษะการสอนท่ีสอดคล้องเหมาะสมกับนักเรียนและบทเรียน เพื่อให้นักเรียนเกิด
ความรู้ เจตคติ และทกั ษะตามท่หี ลกั สูตรกำหนด พฤตกิ รรมของครูควรเป็นดังนี้
2.1 ตอบสนองพฤติกรรมของนักเรียนโดยใช้เทคนิคการเสริมแรงที่เหมาะสม เช่น ใช้วาจา ใช้ท่าทาง ให้
รางวลั และสญั ลกั ษณต์ า่ ง ๆ ตลอดจนใหท้ ำกิจกรรมทน่ี กั เรยี นชอบ ครูควรเริมแรงใหท้ ั่วถงึ และเหมาะสม

2.2 เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น และยอมรับฟังความคิดเห็นของนักเรียน แสดงให้นักเรียน
เห็นว่าความคิดของเขามีประโยชน์ พยายามนำความคิดเหลา่ น้ันมาใชใ้ ห้เกิดประโยชนใ์ นการเรียนรู้

2.3 ฝกึ การทำงานเปน็ กลุ่ม การให้ทำงานเป็นกล่มุ จะช่วยให้นักเรยี นร้จู กั ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ใช้ความรู้
ความคิดความสามารถท่ีมีอยู่ให้เกิดประโยชน์ ฝึกการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีและได้ผลงานนำมาสู่ความภาคภูมิใจ
ในกลุ่มและตนเอง ในการมอบหมายงานให้กลุ่มทำน้ัน ครูควรคำนึงถึงความยากง่ายของงาน ความรู้และ
ความสามารถของนักเรียนในกลุ่ม เพ่ือให้งานกลุ่มประสบความสำเร็จ เป็นการสร้างความรู้สึกทางบวกให้แก่
นกั เรียน งานใดที่ครูเห็นว่ายาก ครูควรเข้าไปดูแลกระตุ้นให้นักเรียนช่วยกันคิดแก้ปัญหาในกลุ่มของตน ครูจะต้อง
มคี วามอดทนทจี่ ะไม่รบี ช้ีแนะ หรือบอกวธิ ีการแกป้ ัญหาตรง ๆ ตอ้ งฝกึ ใหน้ ักเรยี นใช้วิธีการตา่ ง ๆ หลาย ๆ แบบจน
สามารถแกป้ ญั หาได้สำเรจ็

2.4 ใช้เทคนิคและวิธีสอนท่ีไม่ทำให้นักเรียนเบ่ือหน่ายในการเรียน ครูควรคิดค้นคว้าและแสวงหา
แนวทางวิธีการใหม่ ๆ มาใช้จัดการเรยี นการสอน วิธีการสอนควรเป็นวิธีท่ียึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง หรือนักเรียน
เป็นผู้กระทำกิจกรรม เช่น วิธีการสอนแบบทดลอง แบบแก้ปัญหา แบบแสดงบทบาทสมมุติ แบบสบื สวนสอบสวน

8

แบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม แบบอภิปราย แบบศูนย์การเรียน ตลอดจนนวัตกรรมการสอนที่น่าสนใจ การจะใช้วิธี
สอนแบบใดนน้ั ครตู อ้ งเลอื กใหเ้ หมาะสมกับบทเรยี น ระยะเวลา สตปิ ญั ญา และวัยของนกั เรยี น

กิจกรรมที่ทำ/ปฏิบัติ
กิจกรรม Share ครูแลกเปลี่ยนประสบการณใ์ นการจดั การเรียนร้ซู ึ่งกนั และกนั
-มีสือ่ นวัตกรรม (เทคนิคการสอน/วธิ กี ารสอน/รปู แบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครเู รยี นรปู้ ระสบการณ์ในการจดั การเรียนรูร้ ว่ มกนั
-พิจารณา ส่ือ นวัตกรรม ที่มีความสอดคล้องกับการแก้ปัญหา
กิจกรรม Grow ทมี ครู PLC มีแนวทางทีด่ ีในการแก้ปัญหาคุณภาพผเู้ รียนรว่ มกัน
-เลือก สือ่ นวตั กรรม ทีม่ ีความสอดคลอ้ งกบั การแก้ปัญหา

ผลทไี่ ดร้ บั จากกจิ กรรม
1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (รูปแบบกิจกรรมและกระบวนการเรียนการสอนที่ส่งเสริมผู้เรียนให้

เหน็ คุณค่าในตนเอง)
2. ได้แนวทางทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน โดยใช้แนวทางการเพ่ิมประสบการณ์ท่ีประสบ

ความสำเร็จให้กับวัยรุ่น การใช้ตัวแบบ การใช้คำพูดชักจูงและการกระตุ้นทางอารมณ์ จึงสามารถนำมาใช้เป็นแนว
ทางการพัฒนาการเหน็ คณุ คา่ ในตนเองของผู้เรียนได้

การนำผลทีไ่ ด้ไปใช้
1. มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่ีน่าสนใจ ท่ีเกิดขึ้นจากการแลกเปลยี่ นเรียนร้ขู องสมาชิก

เครือข่าย ท่ีเป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รูปธรรม (สมาชิกเครือขา่ ยมีการนำไปใชไ้ ด้อย่างชัดเจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ท่ีเกิดขึ้นของ
สมาชกิ เครอื ขา่ ยไปใชต้ ลอดระยะทด่ี ำเนนิ โครงการทุกคร้งั ที่มีการแลกเปล่ียนเรียนรโู้ ดยสมาชิกทกุ คน

3. ผูส้ อนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจดั กิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปรายเพ่ือ
แลกเปล่ียนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสำเร็จ จุดเด่นและจุดท่ีต้องพัฒนาใน
การจัดการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

ปัญหา/อุปสรรคทพี่ บ
-

กิจกรรม/ขนั้ ตอน/งานที่ปฏิบัติไดด้ ี
ร่วมศึกษาปัญหา แนวทางแกไ้ ขปญั หา หรือกระบวนการทจี่ ะใช้ในการแก้ไขปญั หา ดังน้ี

1) นางสาวขวญั หล้า เกตุฉิม กล่าวว่าการสร้างบรรยากาศในห้องเรยี นเพื่อเอ้ือต่อการเรียนรู้และเสริมสร้าง
พัฒนาการทางบุคลิกภาพนักเรียนบรรยากาศในชั้นเรียนต้องมีลักษณะทางกายภาพท่ีอำนวยความสะดวกต่อ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สร้างความสนใจใฝ่รู้และศรัทธาต่อการเรียน นอกจากน้ีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่ม
นักเรยี นและระหว่างครูกบั นกั เรียน ความรักและศรัทธาท่ีครูและนักเรียนมีต่อกัน การเรยี นที่ร่นื รมย์ปราศจาก
ความกลัวและวิตกกังวล ส่ิงเหล่านี้จะช่วยสร้างบรรยากาศการเรียนได้ดี ดังน้ันจึงสามารถแบ่งประเภทของ
บรรยากาศในชั้นเรียนได้ 2 ประเภทคอื 1.บรรยากาศทางกายภาพ 2.บรรยากาศทางจิตวิทยา
บรรยากาศท้ัง 2 ประเภทนี้ มีส่วนส่งเสริมการเรียนรู้ทงั้ สน้ิ

2) นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ เสนอวา่ บรรยากาศทางด้านจิตใจที่นักเรียนรู้สึกสบายใจ มีความอบอุ่น มีความ
เป็นกันเอง มีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน และมีความรักความศรัทธาต่อผู้สอน ตลอดจนมีอิสระในความกล้า
แสดงออกอย่างมีระเบยี บวนิ ยั ในชน้ั เรียน

9

3) นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม กล่าวเพมิ่ ว่าการจัดการศึกษาในโลกยุคไทยแลนด์ 4.0 ควรมุ่งไปในทิศทางของ
ความสุขในการเรียนการสอนอย่างมีเป้าหมาย เน้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
อย่างต่อเน่ืองและตลอดชีวิต โดยยึดหลัก “สอนน้อย เรียนมาก / Teach Less Learn More.” เพื่อให้
การศกึ ษาไทยกา้ วไปสู่เปา้ หมายในยุคความรู้ จึงเป็นการเปล่ียนวธิ ีการศึกษาเปล่ยี นแปลงเป้าหมายจากความรู้
(Knowledge) ไปสู่ทักษะ (Skill or practices) การเรียนรู้เนื้อหาหลายส่วนท่ีไม่จำเป็นต้องสอน ผู้เรียน
สามารถเรียนรู้ได้เอง จึงเป็นเรื่องสำคัญในการสร้างเสริมด้านทักษะและเจตคติในการเรียนรู้ให้เกิดข้ึนกับตัว
ผู้เรียนให้ได้ ในด้านพลังสมอง 5 ด้าน(Cognitive mind) ของผู้เรียนท่ีจำเป็นต้องพัฒนา หมายถึง สมองด้าน
วิชาและวินัย (Disciplined mind) สมองด้านสังเคราะห์ (Synthesizing mind) สมองด้านสร้างสรรค์
(Creating mind) สมองด้านเคารพให้เกียรติ (Respectful mind) และสมองด้านจริยธรรม (Ethical mind)
การจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาสมองท้ัง 5 นี้ต้องเรียนรู้ทุกด้านไปพร้อมๆกัน จึงต้องเป็นการเรียนรู้แบบบูรณา
การท่ีไม่ใช่เรียนจากการสอน แต่สามารถเรียนรู้ได้จากการลงมือปฏิบัติเอง ดังน้ัน ผู้สอนจึงมีความสำคัญใน
การออกแบบการเรียนรู้ กำหนดรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มย่อยโดยคละ
ความสามารถดา้ นต่างๆ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน และเพศ เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นทุกคนได้
ทำกจิ กรรมการเรียนรู้ร่วมกัน ผู้สอนออกแบบกจิ กรรมส่งเสริมให้มีการแลกเปลย่ี นความคิดเห็น การช่วยเหลือ
และการสร้างความคิดเร่ืองความรับผิดชอบร่วมกัน เพื่อให้สมาชิกทุกคนประสบความสำเร็จตามเป้าหมายท่ี
กำหนดรว่ มกนั

4) นางสาวรัศมี กุลสุวรรณ เสนอว่าสภาพบรรยากาศของห้องเรียนมีส่วนสัมพันธ์กับบุคลิกภาพของครู ครูที่มี
บุคลกิ ภาพดี เชน่ การแตง่ กาย การยืน การเดิน ท่าทาง นำ้ เสยี ง การใชค้ ำพูด การแสดงออกทางสหี น้า แววตา
ฯลฯเหมาะสมกบั การเป็นครู จะช่วยส่งเสริมบรรยากาศการเรยี นรไู้ ด้ดี

5) นายอรรถพล ภูทอง กล่าวว่าถ้าครูปกครองช้ันเรียนด้วยความยุติธรรม ยึดหลักประชาธิปไตย ใช้ระเบียบ
กฎเกณฑ์ท่ีทุกคนยอมรับ ยินดีปฏิบัติ นักเรียนก็จะอยู่ในห้องเรียนอย่างมีความสุข เกิดความรู้สึกอบอุ่นพอใจ
และสบายใจ ในทางตรงกันข้าม ถ้าครูโลเล ไม่ยุติธรรม เลือกที่รักมักท่ีชัง ปกครองช้ันเรียนแบบเผด็จการ
นักเรียนจะเกิดความรู้สึกไม่ศรัทธาครู ไม่เห็นคุณค่าของระเบียบกฎเกณฑ์ ส่งผลให้นักเรียนไม่สนใจเรียน ไม่
อยากมาโรงเรยี นในท่ีสุด ดังนั้นเทคนิควิธีการปกครองช้ันเรียนของครูจึงมีความสำคัญต่อการสร้างบรรยากาศ
ทางจิตวทิ ยาดว้ ย

6) นางสาวกาญจนา คงทน กล่าวว่าครูจะต้องรู้จักนักเรียนในช้ันทุกคน รู้จักช่ือจริง ช่ือเล่น ความสนใจของเด็ก
แต่ละคน เป็นต้นว่า งานอดิเรก มีพ่ีน้องก่ีคน จุดเด่น จุดด้อย ของนักเรียนแต่ละคน ครูจะต้องแสดงความ
สนใจในสารทุกข์สุขดิบของเด็กแต่ละคน เช่น หม่ันถามความเป็นไปของพ่ีน้อง ความคืบหน้าของการสะสม
แสตมป์ คอื ไมเ่ พยี งรู้แตว่ า่ เดก็ เป็นอะไรในแต่รขู้ ่าวคราวเคลอื่ นไหวของส่ิงเหลา่ น้ันดว้ ย

ส่ิงทตี่ ้องพัฒนาต่อไป
1.สร้างปฏิสัมพนั ธ์ในหอ้ งเรยี นในรายวชิ าทต่ี นเองรับผิดชอบ

ผลการประเมนิ การแกป้ ญั หา

 กระบวนการแก้ไขปัญหา ประสบความสำเร็จ
 กระบวนการแกไ้ ขปัญหา ไมป่ ระสบความสำเร็จ
เนอ่ื งจาก –

10

ข้อเสนอแนะผูร้ ายงานการบันทึกกิจกรรม
....................................................นดั หมายครั้งตอ่ ไป วนั ท่ี 5..พ.ย...64..................................

ลงช่ือ...............................................................ผู้รายงาน
(นางสาวอโนชา อทุ ุมสกลุ รัตน์)

ความคดิ เห็น / ข้อเสนอแนะ ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา
....................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................ ....................................

ลงช่อื ผรู้ บั รองกิจกรรมชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ (Professional Learning Community
ลงชอ่ื ...............................................................................
(นายสุริยนั ต์ เหลา่ มะลึก)
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม

ภาพการมสี ว่ นร่วม

11

แบบบันทกึ กจิ กรรม
ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ชอ่ื กลุ่มกิจกรรม คร้งั ท่ี ...2................................................................
ภาคเรยี นท.ี่ ...2.......ปีการศกึ ษา.....2564........
 วชิ าการ  บุคลากร วันเดอื นปีท่จี ัดกจิ กรรม.......5..พ.ย...64................
สถานท.ี่ ....ประชุมออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet....
 งบประมาณ  บรหิ ารทว่ั ไป เวลา.......15.10-17.10.น...............................
จำนวน.................2.............................ช่วั โมง
 กจิ การนกั เรียน  พฒั นาผู้เรียน

 กจิ กรรม Hybrid Learning ในการจัดการ

เรียนรู้ เพ่ือพฒั นาทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียนแบบ

ย่ังยนื

ชือ่ กิจกรรม
การพฒั นาการจัดการเรยี นรู้โดยใช้การจดั การเรยี นรู้แบบ Hybrid Learning

Community ผู้ร่วมอภิปราย

Model Teacher ผู้พบปัญหา นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรัตน์

Buddy Teacher ผ้รู ว่ มอภปิ ราย

1. นางสาวอโนชา อทุ มุ สกุลรัตน์ ประธานกรรมการ

2. นางสาวรศั มี กุลสุวรรณ กรรมการ

3. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

4. นายอรรถพล ภทู อง กรรมการ

5. นางสาวขวญั หลา้ เกตฉุ มิ กรรมการ/เลขานุการ

Mentor Coaching ผนู้ ำอภปิ ราย นายสุริยันต์ เหล่ามะลึก

Recording ผูบ้ นั ทึกข้อมูล นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรัตน์

12

แบบบันทกึ กิจกรรม
ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 1

ประเด็นปัญหาท่ีพบ

สถานการณ์โรคระบาด COVID-19 ทำให้สถาบันการศึกษาทั่วโลกต้องหยุดการเรียนการสอนในห้องเรียน
ทำให้การจัดการเรียนการสอนดำเนินต่อได้ ดังประโยคท่ีว่าสถานศึกษาหยุดได้แต่การเรียนรูห้ ยดุ ไม่ได้ การจัดการ
เรียนรู้เชงิ รุกในรปู แบบออนไลน์เป็นส่งิ ที่ทำใหก้ ารเรยี นรู้ดำเนนิ ต่อไปได้ ซ่งึ ต้องมปี ัจจยั ดังนี้ สถานศกึ ษาตอ้ งเตรียม
แพล็ตฟอรม์ รองรบั ผสู้ อนตอ้ งปรบั เปลีย่ นวิธกี ารสอน และผูเ้ รียนตอ้ งปรบั เปลีย่ นวิธีการเรียน เปน็ ต้น

ในสภาพปัจจุบันนั้น การเห็นคุณค่าในตนเองเป็นส่วนหนึ่งท่ีเป็นแรงผลักดันจิตใจให้บุคคลมุ่งสู่การเรียน
และปฏบิ ตั ิหน้าทอี่ ย่างมีประสทิ ธิภาพ แต่การเห็นคุณคา่ ในตนเองก็สามารถเปลยี่ นแปลงได้ตลอดเวลา เกิดจากการ
สะท้อนความรู้สึกท่ีเปราะบางทางอารมณ์จากเหตุการณ์ท่ีตัวเองเกยี่ วข้องและได้รับรู้ เช่นการโดนตำหนิต่อวา่ หรือ
การได้รับคำชมเชย เพราะการเรียนของนักเรียนในสถานการณ์ โควดิ 19 สามารถก่อให้เกิดความเครียดได้ง่าย จึง
ต้องใช้ความอดทนอย่างสูง หากไม่ดูแลรักษาสภาพร่างกายและสภาพจิตใจให้ดีก็ไม่สามารถมีกำลังกายกำลังใจใน
การเรียนและการปฏิบัตหิ นา้ ที่ ซ่ึงเช่ือมโยงกบั แรงจูงใจที่เป็นสิ่งสำคัญในการเรยี นใหป้ ระสบความสำเร็จเพราะเม่ือ
บุคคลมีแรงจูงใจบุคคลจะตงั้ เป้าหมายและพยายามสรา้ งโอกาส เพือ่ มุง่ ไปสกู่ ารบรรลเุ ปา้ หมายใหส้ ำเรจ็

การเห็นคุณค่าในตนเองมีลักษณะสำคัญที่เชื่อมต่อกัน หากทราบระดับการเห็นคุณค่าในตนเองและระดับ
แรงจูงใจท่ีจะเรียนจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อนักเรียนและโรงเรียนเพื่อการพัฒนาศักยภาพและมุ่งสู่เป้าหมายด้วย
ความสำเรจ็ ตอ่ ไปในอนาคต

ผู้ค้นพบปัญหาพบว่าเชื่อวา่ การเห็นคุณค่าในตัวเองเป็นส่ิงที่ฝึกฝนให้เกิดขึ้นได้ ท้ังน้ีมีงานวิจัยท่ีสะท้อนว่า
แนวทางในการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเอง โดยการสร้างบรรยากาศในห้องเรียนหรือความม่ันคงปลอดภัยให้
เกิดแก่ผู้เรียนไว้คือจะต้องใหค้ วามคาดหวังในตวั ผู้เรียนในระดับสูงและช่วยเหลือให้ผู้เรียนได้รบั สัมฤทธ์ิผลทางการ
เรยี น ใหข้ อ้ มูลย้อนกลับทางบวกแกผ่ ู้เรียนทกุ คน พยายามให้คำอธิบายท่ีเกยี่ วกับเหตุผลหรือวตั ถุประสงค์ในการตั้ง
เกณฑ์มอบหมายงานและกระทำกจิ กรรมทางการเรียน ผู้สอนจะตอ้ งเรียนรู้ลักษณะพิเศษของผเู้ รียนแต่ละคน และ
ให้ความเอาใจใสใ่ นลักษณะพิเศษน้ันๆ เห็นคุณค่าในความพยายามของผ้เู รียนเท่าเทียมกับสมั ฤทธ์ผิ ลของผเู้ รียนทุก
คนช่วยให้ผู้เรียนรู้จักการยอมรับความผิดพลาดและการประสบความสำเร็จ โดยการให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ด้วย
ตนเองจากประสบการณ์ในความผิดพลาดและประสบความสำเร็จของผู้เรียนเอง ให้การยอมรับคุณค่าที่มีอยู่ในตัว
ของผู้เรียน มองผู้เรียนว่าเป็นมนุษย์ที่มีค่า แม้ว่าจะมีพฤติกรรมอย่างที่ครูไม่เห็นด้วย ต้องแสดงความยินดีและช่ืน
ชมในความสามารถและประสบความสำเร็จของผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการประเมินพฤติกรรมของตนเองตาม
วตั ถปุ ระสงค์ที่ตั้งไว้และบอกระดับความสำเร็จของตนเองได้สร้างบรรยากาศทีอ่ บอุน่ และปลอดภัย เม่ือมีการแสดง
ความคิดเห็นที่แตกต่างกันเกิดขึ้นเป็นต้น (แรฟฟีนี อ้างถึงใน ก่ิงเพชร ส่งเสริม, 2544 : 12-13) ประสิทธิภาพต
อไป
สาเหตุของปญั หา

การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hybrid Learning จะบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ได้นั้นผู้เรียนจำเป็นท่ี
จะต้องใช้การกำกับตนเองค่อนขา้ งสูง เช่น การศึกษาเน้ือหาและเตรียมตวั ก่อนเข้าช้ันเรียน การมรี ะเบยี บวินัย เข้า
ชั้นเรียนตรงเวลา ส่งงานตรง เวลา รู้จักการทำงานเป็นทีม การแสดงความคิดเห็น และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การ
มีทกั ษะดา้ นเทคโนโลยแี ละทกั ษะดา้ นภาษาอังกฤษเพม่ิ ขนึ้ เป็นตน้ การที่ผู้เรียนจะการกำกับตนเองได้ดีน้ัน
ปจั จยั ที่เก่ียวขอ้ งสัมพันธ์กนั คือ ผู้เรยี นจะตอ้ งมกี ารเหน็ คุณค่าในตัวเอง มแี นวคดิ และวิธกี ารดำเนินชวี ติ ที่สอดคลอ้ ง
เหมาะสม รักตัวเองเป็น กล้าที่จะเผชิญหน้ากับความท้าทายใหม่ๆ ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล รับฟัง

13

ความคิดเห็นของผู้อ่ืน มีความสามารถในการปรับตัวได้ดี รวมทั้ง มองโลกในแง่ดีและมีเหตุผล ส่วนผู้ท่ีมีความรูส้ ึก
เหน็ คุณค่าในตัวเองต่ำจะมีทศั นคติเชิงลบต่อตนเองและผอู้ ื่น ขาดความม่ันใจ กลัวความผดิ พลาด รู้สึกว่าตัวเองไม่ดี
เปน็ ภาระตอ่ ผูอ้ ่ืน ไรค้ า่ ไม่เป็นที่รกั และมีพฤตกิ รรมชอบเปรียบเทยี บตวั เองกบั ผู้อื่น เปน็ ตน้
ความรู้และหลกั การทน่ี ำมาใช้

การเรียนรู้ตลอดชีวิตตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 น่ันคือ การเรียนรู้ตลอดชีวิตว่า
หมายถึง การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย เพื่อใหส้ ามารถพฒั นาคุณภาพชวี ติ ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชวี ติ

การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) การ
จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) คือ การรบั รู้ความรู้
ทักษะ และเจตคติ ของบุคคลจากการเรยี นรดู้ ้วยวิธีเรียนแบบตา่ งๆ และสามารรถทำให้บุคคลน้ันเกิดการพัฒนา
ตนเองได้

การจัดบรรยากาศทางด้านจิตวิทยาหรือทางด้านจิตใจ จะชว่ ยสร้างความร้สู ึกให้นักเรียนเกิดความสบายใจ
ในการเรียน ปราศจากความกลัวและวิตกกังวล มีบรรยากาศของการสร้างสรรค์เร้าความสนใจ ให้นักเรียนร่วม
กิจกรรมการเรียนการสอนดว้ ยความสขุ นักเรยี นจะเกดิ ความรเู้ ช่นน้ี ขนึ้ อย่กู ับครู เปน็ สำคัญ ในข้อเหลา่ นี้

1.บุคลิกภาพ 2.พฤติกรรมการสอน 3.เทคนิคการปกครองชั้นเรียน 4.ปฏิสมั พันธ์ในห้องเรียน แต่
ละขอ้ มรี ายละเอียดดงั นี้

1.บคุ ลกิ ภาพของครู
สภาพบรรยากาศของห้องเรียนมีส่วนสัมพันธ์กับบุคลิกภาพของครู ครูท่ีมีบุคลิกภาพดี เช่น การแต่งกาย
การยืน การเดิน ท่าทาง น้ำเสียง การใช้คำพูด การแสดงออกทางสีหน้า แววตา ฯลฯ เหมาะสมกับการเป็นครู จะ
ช่วยส่งเสรมิ บรรยากาศการเรยี นร้ไู ดด้ ี
2.พฤตกิ รรมการสอนของครู
พฤตกิ รรมการสอนของครูมีบทบาทในการสร้างความรูส้ ึกท่ีดใี หแ้ ก่นักเรียน เช่นเดยี วกับบคุ ลิกภาพของครู
ในการสอนครูต้องใช้เทคนิคและทักษะการสอนท่ีสอดคล้องเหมาะสมกับนักเรียนและบทเรียน เพื่อให้นักเรียนเกิด
ความรู้ เจตคติ และทักษะตามทีห่ ลักสูตรกำหนด พฤติกรรมของครูควรเปน็ ดังนี้
2.1 ตอบสนองพฤติกรรมของนักเรียนโดยใช้เทคนิคการเสริมแรงที่เหมาะสม เช่น ใช้วาจา ใช้ท่าทาง ให้
รางวลั และสัญลกั ษณ์ต่าง ๆ ตลอดจนให้ทำกิจกรรมทีน่ กั เรียนชอบ ครูควรเริมแรงให้ทั่วถงึ และเหมาะสม

2.2 เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น และยอมรบั ฟังความคิดเห็นของนักเรยี น แสดงให้นักเรียน
เห็นว่าความคดิ ของเขามปี ระโยชน์ พยายามนำความคิดเหลา่ นน้ั มาใชใ้ หเ้ กิดประโยชนใ์ นการเรยี นรู้

2.3 ฝึกการทำงานเป็นกล่มุ การให้ทำงานเป็นกลุ่มจะชว่ ยใหน้ ักเรยี นรจู้ กั ทำงานรว่ มกบั ผู้อนื่ ได้ใช้ความรู้
ความคิดความสามารถที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ ฝึกการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีและได้ผลงานนำมาสู่ความภาคภูมิใจ
ในกลุ่มและตนเอง ในการมอบหมายงานให้กลุ่มทำน้ัน ครูควรคำนึงถึงความยากง่ายของงาน ความรู้และ
ความสามารถของนักเรียนในกลุ่ม เพ่ือให้งานกลุ่มประสบความสำเร็จ เป็นการสร้างความรู้สึกทางบวกให้แก่
นักเรยี น งานใดท่ีครูเห็นว่ายาก ครูควรเข้าไปดูแลกระตุ้นให้นักเรียนช่วยกันคิดแก้ปัญหาในกลุ่มของตน ครูจะต้อง
มีความอดทนท่ีจะไม่รบี ชแ้ี นะ หรือบอกวธิ ีการแกป้ ญั หาตรง ๆ ต้องฝึกให้นักเรยี นใช้วิธกี ารต่าง ๆ หลาย ๆ แบบจน
สามารถแกป้ ัญหาได้สำเรจ็

2.4 ใช้เทคนิคและวิธีสอนท่ีไม่ทำให้นักเรียนเบ่ือหน่ายในการเรียน ครูควรคิดค้นคว้าและแสวงหา
แนวทางวิธีการใหม่ ๆ มาใช้จัดการเรยี นการสอน วิธีการสอนควรเป็นวิธีท่ียึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง หรือนักเรียน
เป็นผู้กระทำกิจกรรม เช่น วธิ ีการสอนแบบทดลอง แบบแก้ปัญหา แบบแสดงบทบาทสมมตุ ิ แบบสบื สวนสอบสวน

14

แบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม แบบอภิปราย แบบศูนย์การเรียน ตลอดจนนวัตกรรมการสอนที่น่าสนใจ การจะใช้วิธี
สอนแบบใดนั้นครตู ้องเลอื กให้เหมาะสมกับบทเรยี น ระยะเวลา สตปิ ัญญา และวยั ของนกั เรยี น

กิจกรรมทท่ี ำ/ปฏบิ ตั ิ
กจิ กรรม Share ครูแลกเปลย่ี นประสบการณ์ในการจดั การเรยี นรู้ซง่ึ กนั และกนั
-มีสอ่ื นวตั กรรม (เทคนิคการสอน/วธิ กี ารสอน/รูปแบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครเู รยี นรปู้ ระสบการณ์ในการจัดการเรียนรรู้ ว่ มกนั
-พิจารณา ส่ือ นวตั กรรม ท่ีมคี วามสอดคล้องกับการแก้ปัญหา
กจิ กรรม Grow ทีมครู PLC มีแนวทางท่ดี ีในการแก้ปัญหาคุณภาพผ้เู รยี นรว่ มกัน
-เลอื ก สอ่ื นวตั กรรม ท่มี ีความสอดคลอ้ งกบั การแก้ปัญหา

ผลท่ีได้รบั จากกิจกรรม
1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (รูปแบบกิจกรรมและกระบวนการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมผู้เรียนให้

เห็นคณุ ค่าในตนเอง)
2. ได้แนวทางทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน โดยใช้แนวทางการเพิ่มประสบการณ์ท่ีประสบ

ความสำเร็จให้กับวัยร่นุ การใช้ตัวแบบ การใช้คำพูดชักจูงและการกระตุ้นทางอารมณ์ จึงสามารถนำมาใช้เป็นแนว
ทางการพัฒนาการเห็นคณุ ค่าในตนเองของผ้เู รียนได้

การนำผลที่ได้ไปใช้
1. มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ที่เกิดข้ึนจากการแลกเปล่ยี นเรียนรูข้ องสมาชิก

เครือข่าย ท่ีเป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รปู ธรรม (สมาชกิ เครอื ขา่ ยมีการนำไปใช้ไดอ้ ยา่ งชดั เจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ที่เกิดขึ้นของ
สมาชิกเครือขา่ ยไปใชต้ ลอดระยะที่ดำเนนิ โครงการทุกครั้งท่ีมีการแลกเปลี่ยนเรยี นรโู้ ดยสมาชกิ ทกุ คน

3. ผู้สอนหลักและสมาชกิ ในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจดั กจิ กรรมการเรียนรมู้ าอภิปรายเพ่ือ
แลกเปล่ียนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเก่ียวกับความสำเร็จ จุดเด่นและจุดท่ีต้องพัฒนาใน
การจดั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ปัญหา/อุปสรรคที่พบ
-

กิจกรรม/ข้ันตอน/งานทีป่ ฏิบัติได้ดี
ร่วมศึกษาปัญหา แนวทางแก้ไขปญั หา หรือกระบวนการทจี่ ะใชใ้ นการแก้ไขปัญหา ดังนี้

1) นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม กล่าวว่าเร่ิมการเรียนการสอนกับนักเรียนม.6 ท่ีได้รับมอบหมายการสอนเร่ิม
จัดบรรยากาศช้ันเรียนให้สอดคล้องกับวิชาที่เรียนเพื่อช่วยเสริมบรรยากาศการเรียนให้น่าสนใจและจูงใจให้
นกั เรียนไมเ่ บอ่ื หน่ายตอ่ การเรียนโดยมวี ตั ถุประสงคค์ ือ
-สง่ เสรมิ การอยู่ร่วมกันของผูส้ อนและนักเรียนใหด้ ีข้ึน
-ส่งเสริมการจัดสภาพแวดล้อมที่ดี ทั้งทางรา่ งกายอารมณ์ สงั คม และสตปิ ญั ญาใหเ้ ด็ก
-สง่ เสรมิ วนิ ัยในตวั นักเรียน
-ส่งเสรมิ การวางแผนงานร่วมกัน ทง้ั ครูและนักเรยี นภายในชั้นเรยี น
-ส่งเสรมิ ความคิดริเรมิ่ สร้างสรรค์

2) นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ เสนอว่าได้กระตุ้นวินัยนักเรียนโดยใช้การรู้จักวิธีรับผิดชอบต่อหมู่คณะ ให้
นักเรียนปกครองกันเอง โดยมกี ารใชค้ วามคดิ รว่ มกันเร่ิมจากการแบ่งกลุ่ม

15

3) นางสาวรศั มี กลุ สุวรรณ เสนอว่าไดจ้ ดั บรรยากาศทางสงั คม สร้างบรรยากาศใหเ้ ป็นประชาธิปไตย ใหร้ ักเรยี น
สามารถสอบถามแลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ ได้

4) นายอรรถพล ภูทอง กล่าวว่าพบว่าเทอมที่ผ่านมาพบปัญหาการปกครองชั้นเรียนละแนวทางในการแก้ไข
ปัญหาเด็กชอบหนีในช่ัวโมงเรียน มีสาเหตุคือ ไม่ชอบครูผู้สอน ไม่ชอบวิชาที่เรียน ทำงานไม่เสร็จตามที่ครู
กำหนดแก้ไข คือ เรียกพบนักเรียนมาพบเป็นการส่วนตัวเพ่ือให้เกิดความเข้าใจท่ีถูกต้อง ส่งเสริมตาม
ความสามารถของนกั เรยี น

5) นางสาวกาญจนา คงทน กล่าวว่าครูใช้วิธีสร้างวินัยในชั้นเรียน การรู้จักปกครองตนเอง การกระทำตาม
ระเบียบหรือข้อบังคับตามความสมัครใจ เพ่ือความสงบสุขและความเรียบร้อย ครูและนักเรียนเป็นผู้กำหนด
ร่วมกัน ซ่ึงเป็นส่วนสำคัญให้นักเรียนยอมรับ ไม่มีระเบียบท่ีหยุบหยิบมากเกินไป ใช้ภาษาท่ีง่ายๆและมี
บทลงโทษไว้ชัดเจนและสมเหตสุ มผล

ส่งิ ทต่ี ้องพัฒนาต่อไป
1.สรา้ งปฏิสมั พนั ธ์ในหอ้ งเรียนในรายวิชาท่ตี นเองรับผิดชอบ
2.คิดหาแนวทางและทฤษฎรี องรับเพ่ือการพัฒนา

ผลการประเมินการแก้ปัญหา
 กระบวนการแกไ้ ขปญั หา ประสบความสำเร็จ
 กระบวนการแกไ้ ขปญั หา ไม่ประสบความสำเรจ็
เนอ่ื งจาก –

ข้อเสนอแนะผู้รายงานการบันทึกกิจกรรม
....................................................นดั หมายคร้งั ตอ่ ไป วนั ที่ 12..พ.ย...64..................................

ลงชอ่ื ...............................................................ผู้รายงาน
(นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรตั น์)

ความคดิ เห็น / ข้อเสนอแนะ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงช่อื ผู้รบั รองกิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (Professional Learning Community

ลงชอ่ื ...............................................................................
(นายสรุ ิยันต์ เหลา่ มะลกึ )

ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม

16

ภาพการมสี ่วนรว่ ม

17

แบบบันทกึ กิจกรรม
ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานครเขต 1

ชอื่ กลุ่มกิจกรรม คร้ังที่ ...3................................................................
ภาคเรยี นท่.ี ...2.......ปีการศกึ ษา.....2564........
 วิชาการ  บคุ ลากร วันเดอื นปีท่ีจัดกจิ กรรม.......12..พ.ย...64................
สถานท.ี่ ....ประชมุ ออนไลน์ผา่ นโปรแกรม Meet....
 งบประมาณ  บริหารทั่วไป เวลา.......15.10-18.10.น...............................
จำนวน.................3.............................ช่วั โมง
 กจิ การนักเรียน  พฒั นาผู้เรียน

 กจิ กรรม Hybrid Learning ในการจดั การ

เรยี นรู้ เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนร้ขู องผ้เู รยี นแบบ

ยั่งยนื

ชอ่ื กิจกรรม
การพฒั นาการจดั การเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ Hybrid Learning

Community ผู้ร่วมอภปิ ราย

Model Teacher ผู้พบปัญหา นางสาวอโนชา อทุ ุมสกลุ รตั น์

Buddy Teacher ผรู้ ่วมอภปิ ราย

1. นางสาวอโนชา อทุ มุ สกุลรตั น์ ประธานกรรมการ

2. นางสาวรัศมี กลุ สวุ รรณ กรรมการ

3. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

4. นายอรรถพล ภทู อง กรรมการ

5. นางสาวขวญั หล้า เกตุฉิม กรรมการ/เลขานุการ

Mentor Coaching ผู้นำอภิปราย นายสรุ ิยนั ต์ เหลา่ มะลึก

Recording ผู้บันทึกข้อมลู นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รัตน์

18

แบบบันทึกกิจกรรม
ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ประเด็นปัญหาที่พบ

สถานการณ์โรคระบาด COVID-19 ทำให้สถาบันการศึกษาท่ัวโลกต้องหยุดการเรียนการสอนในห้องเรียน
ทำให้การจัดการเรียนการสอนดำเนินต่อได้ ดังประโยคที่ว่าสถานศึกษาหยุดได้แต่การเรียนรู้หยดุ ไม่ได้ การจัดการ
เรียนรู้เชิงรกุ ในรปู แบบออนไลน์เป็นส่งิ ทที่ ำให้การเรียนรู้ดำเนินตอ่ ไปได้ ซึ่งต้องมีปัจจัยดังน้ี สถานศึกษาต้องเตรยี ม
แพล็ตฟอรม์ รองรบั ผู้สอนตอ้ งปรับเปลี่ยนวธิ กี ารสอน และผู้เรยี นต้องปรับเปล่ียนวิธกี ารเรยี น เปน็ ต้น

ในสภาพปัจจุบันน้ัน การเห็นคุณค่าในตนเองเป็นส่วนหน่ึงท่ีเป็นแรงผลักดันจิตใจให้บุคคลมุ่งสู่การเรียน
และปฏิบตั ิหน้าทีอ่ ย่างมีประสิทธิภาพ แตก่ ารเห็นคุณคา่ ในตนเองก็สามารถเปลีย่ นแปลงได้ตลอดเวลา เกิดจากการ
สะท้อนความรสู้ ึกที่เปราะบางทางอารมณ์จากเหตุการณ์ที่ตัวเองเกี่ยวข้องและได้รบั รู้ เช่นการโดนตำหนิต่อวา่ หรือ
การได้รับคำชมเชย เพราะการเรียนของนักเรียนในสถานการณ์ โควดิ 19 สามารถก่อให้เกิดความเครียดได้ง่าย จึง
ต้องใช้ความอดทนอย่างสูง หากไม่ดูแลรักษาสภาพร่างกายและสภาพจิตใจให้ดีก็ไม่สามารถมีกำลังกายกำลังใจใน
การเรียนและการปฏิบัตหิ น้าที่ ซ่งึ เชื่อมโยงกับแรงจูงใจที่เป็นสิ่งสำคัญในการเรียนใหป้ ระสบความสำเร็จเพราะเมื่อ
บุคคลมีแรงจูงใจบุคคลจะต้งั เป้าหมายและพยายามสรา้ งโอกาส เพอ่ื มงุ่ ไปสู่การบรรลุเป้าหมายให้สำเรจ็

การเห็นคุณค่าในตนเองมีลักษณะสำคัญที่เชื่อมต่อกัน หากทราบระดับการเห็นคุณค่าในตนเองและระดับ
แรงจูงใจที่จะเรียนจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อนักเรียนและโรงเรียนเพ่ือการพัฒนาศักยภาพและมุ่งสู่เป้าหมายด้วย
ความสำเรจ็ ต่อไปในอนาคต

ผู้ค้นพบปัญหาพบว่าเชื่อวา่ การเห็นคุณค่าในตัวเองเป็นสิ่งที่ฝึกฝนให้เกิดขึ้นได้ ทั้งนี้มีงานวิจัยที่สะท้อนว่า
แนวทางในการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเอง โดยการสร้างบรรยากาศในห้องเรียนหรือความม่ันคงปลอดภัยให้
เกิดแก่ผู้เรียนไวค้ ือจะต้องให้ความคาดหวังในตวั ผู้เรียนในระดับสงู และช่วยเหลือให้ผู้เรียนได้รับสัมฤทธิ์ผลทางการ
เรียน ใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั ทางบวกแกผ่ ู้เรียนทกุ คน พยายามให้คำอธิบายที่เก่ียวกบั เหตุผลหรือวตั ถุประสงคใ์ นการต้ัง
เกณฑ์มอบหมายงานและกระทำกิจกรรมทางการเรียน ผ้สู อนจะต้องเรียนรลู้ ักษณะพิเศษของผู้เรียนแตล่ ะคน และ
ใหค้ วามเอาใจใส่ในลักษณะพเิ ศษน้ันๆ เหน็ คุณคา่ ในความพยายามของผู้เรียนเท่าเทียมกับสัมฤทธ์ผิ ลของผู้เรียนทุก
คนช่วยให้ผู้เรียนรู้จักการยอมรับความผิดพลาดและการประสบความสำเร็จ โดยการให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ด้วย
ตนเองจากประสบการณ์ในความผิดพลาดและประสบความสำเร็จของผู้เรยี นเอง ให้การยอมรับคุณค่าท่ีมีอยู่ในตัว
ของผู้เรียน มองผู้เรียนว่าเป็นมนุษย์ท่ีมีค่า แม้ว่าจะมีพฤติกรรมอย่างที่ครูไม่เห็นด้วย ต้องแสดงความยินดีและช่ืน
ชมในความสามารถและประสบความสำเร็จของผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการประเมินพฤติกรรมของตนเองตาม
วตั ถปุ ระสงค์ทตี่ ้ังไว้และบอกระดับความสำเร็จของตนเองได้สร้างบรรยากาศท่อี บอนุ่ และปลอดภัย เมื่อมีการแสดง
ความคิดเห็นท่ีแตกต่างกันเกิดข้ึนเป็นต้น (แรฟฟีนี อ้างถึงใน กิ่งเพชร ส่งเสริม, 2544 : 12-13) ประสิทธิภาพต
อไป
สาเหตขุ องปญั หา

การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hybrid Learning จะบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ได้นั้นผู้เรียนจำเป็นท่ี
จะต้องใช้การกำกับตนเองค่อนขา้ งสูง เช่น การศึกษาเน้ือหาและเตรียมตัวก่อนเข้าชั้นเรยี น การมีระเบยี บวินัย เข้า
ช้นั เรยี นตรงเวลา สง่ งานตรง เวลา รู้จักการทำงานเปน็ ทีม การแสดงความคิดเห็น และการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ การ
มีทักษะด้านเทคโนโลยีและทกั ษะด้านภาษาอังกฤษเพม่ิ ขึน้ เปน็ ตน้ การท่ีผู้เรียนจะการกำกับตนเองได้ดีน้ัน
ปจั จัยทีเ่ ก่ียวขอ้ งสมั พนั ธ์กันคือ ผเู้ รียนจะตอ้ งมกี ารเหน็ คุณค่าในตวั เอง มแี นวคิดและวิธีการดำเนินชวี ติ ที่สอดคล้อง
เหมาะสม รักตัวเองเป็น กล้าท่ีจะเผชิญหน้ากับความท้าทายใหม่ๆ ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล รับฟัง

19

ความคิดเห็นของผู้อื่น มีความสามารถในการปรับตัวได้ดี รวมทั้ง มองโลกในแง่ดีและมีเหตุผล ส่วนผู้ท่ีมีความรสู้ ึก
เหน็ คุณค่าในตัวเองต่ำจะมีทัศนคติเชงิ ลบต่อตนเองและผู้อนื่ ขาดความมั่นใจ กลวั ความผดิ พลาด รู้สกึ ว่าตัวเองไมด่ ี
เปน็ ภาระต่อผู้อน่ื ไร้คา่ ไมเ่ ปน็ ทร่ี กั และมีพฤติกรรมชอบเปรียบเทยี บตวั เองกบั ผู้อ่ืน เป็นต้น
ความรู้และหลักการทน่ี ำมาใช้

การเรียนรู้ตลอดชีวิตตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 น่ันคือ การเรียนรู้ตลอดชีวิตว่า
หมายถึง การศึกษาท่ีเกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย เพ่ือให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวติ ไดอ้ ย่างต่อเนื่องตลอดชวี ิต

การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) การ
จัดการเรียนรตู้ ลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) คือ การรับรู้ความรู้
ทักษะ และเจตคติ ของบุคคลจากการเรียนรูด้ ้วยวธิ ีเรียนแบบตา่ งๆ และสามารรถทำให้บุคคลน้ันเกิดการพัฒนา
ตนเองได้

การจัดบรรยากาศทางด้านจิตวิทยาหรอื ทางด้านจิตใจ จะชว่ ยสร้างความรสู้ ึกให้นักเรียนเกิดความสบายใจ
ในการเรียน ปราศจากความกลัวและวิตกกังวล มีบรรยากาศของการสร้างสรรค์เร้าความสนใจ ให้นักเรียนร่วม
กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยความสขุ นกั เรยี นจะเกดิ ความร้เู ช่นน้ี ขน้ึ อยกู่ ับครู เปน็ สำคัญ ในข้อเหลา่ น้ี

1.บุคลิกภาพ 2.พฤติกรรมการสอน 3.เทคนิคการปกครองช้ันเรียน 4.ปฏิสมั พันธ์ในห้องเรยี น แต่
ละขอ้ มีรายละเอียดดงั น้ี

1.บคุ ลิกภาพของครู
สภาพบรรยากาศของห้องเรียนมีส่วนสัมพันธ์กับบุคลิกภาพของครู ครูท่ีมีบุคลิกภาพดี เช่น การแต่งกาย
การยืน การเดิน ท่าทาง น้ำเสียง การใช้คำพูด การแสดงออกทางสีหน้า แววตา ฯลฯ เหมาะสมกับการเป็นครู จะ
ช่วยส่งเสรมิ บรรยากาศการเรยี นรู้ไดด้ ี
2.พฤตกิ รรมการสอนของครู
พฤตกิ รรมการสอนของครูมีบทบาทในการสร้างความรสู้ ึกที่ดใี หแ้ ก่นกั เรียน เช่นเดียวกบั บุคลิกภาพของครู
ในการสอนครูต้องใช้เทคนิคและทักษะการสอนท่ีสอดคล้องเหมาะสมกบั นักเรียนและบทเรียน เพื่อให้นักเรียนเกิด
ความรู้ เจตคติ และทักษะตามทหี่ ลักสูตรกำหนด พฤติกรรมของครูควรเปน็ ดังน้ี
2.1 ตอบสนองพฤติกรรมของนักเรียนโดยใช้เทคนิคการเสริมแรงที่เหมาะสม เช่น ใช้วาจา ใช้ท่าทาง ให้
รางวลั และสัญลักษณ์ต่าง ๆ ตลอดจนใหท้ ำกิจกรรมท่นี กั เรียนชอบ ครคู วรเรมิ แรงให้ทัว่ ถงึ และเหมาะสม

2.2 เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น และยอมรับฟังความคิดเห็นของนักเรยี น แสดงให้นักเรียน
เห็นว่าความคดิ ของเขามปี ระโยชน์ พยายามนำความคดิ เหลา่ นั้นมาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนใ์ นการเรียนรู้

2.3 ฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม การให้ทำงานเป็นกลุม่ จะชว่ ยใหน้ ักเรยี นรจู้ ักทำงานรว่ มกับผู้อ่ืนได้ใช้ความรู้
ความคิดความสามารถที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ ฝึกการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ท่ีดีและได้ผลงานนำมาสู่ความภาคภูมิใจ
ในกลุ่มและตนเอง ในการมอบหมายงานให้กลุ่มทำน้ัน ครูควรคำนึงถึงความยากง่ายของงาน ความรู้และ
ความสามารถของนักเรียนในกลุ่ม เพ่ือให้งานกลุ่มประสบความสำเร็จ เป็นการสร้างความรู้สึกทางบวกให้แก่
นักเรยี น งานใดท่ีครูเห็นว่ายาก ครูควรเข้าไปดูแลกระตุ้นให้นักเรียนช่วยกันคิดแก้ปัญหาในกลุ่มของตน ครูจะต้อง
มีความอดทนที่จะไมร่ บี ชีแ้ นะ หรือบอกวิธีการแก้ปญั หาตรง ๆ ตอ้ งฝึกให้นักเรยี นใชว้ ิธีการตา่ ง ๆ หลาย ๆ แบบจน
สามารถแก้ปัญหาได้สำเรจ็

2.4 ใช้เทคนิคและวิธีสอนท่ีไม่ทำให้นักเรียนเบ่ือหน่ายในการเรียน ครูควรคิดค้นคว้าและแสวงหา
แนวทางวิธีการใหม่ ๆ มาใช้จัดการเรยี นการสอน วิธีการสอนควรเป็นวิธีที่ยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง หรือนักเรียน
เป็นผู้กระทำกิจกรรม เช่น วิธีการสอนแบบทดลอง แบบแก้ปัญหา แบบแสดงบทบาทสมมตุ ิ แบบสืบสวนสอบสวน

20

แบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม แบบอภิปราย แบบศูนย์การเรียน ตลอดจนนวัตกรรมการสอนที่น่าสนใจ การจะใช้วิธี
สอนแบบใดน้ันครูต้องเลือกให้เหมาะสมกบั บทเรียน ระยะเวลา สติปัญญา และวยั ของนักเรียน

กิจกรรมท่ที ำ/ปฏบิ ัติ
กิจกรรม Share ครแู ลกเปลย่ี นประสบการณ์ในการจัดการเรยี นรซู้ ่ึงกันและกนั
-มีส่อื นวตั กรรม (เทคนิคการสอน/วธิ ีการสอน/รปู แบบการสอน)
กจิ กรรม Learn ครเู รียนรู้ประสบการณ์ในการจัดการเรยี นรรู้ ว่ มกัน
-พิจารณา ส่ือ นวตั กรรม ที่มีความสอดคลอ้ งกับการแกป้ ัญหา
กจิ กรรม Grow ทีมครู PLC มแี นวทางทีด่ ีในการแก้ปญั หาคุณภาพผู้เรยี นรว่ มกัน
-เลอื ก ส่อื นวตั กรรม ทม่ี ีความสอดคลอ้ งกบั การแก้ปญั หา

ผลทไ่ี ด้รับจากกจิ กรรม
1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (รูปแบบกิจกรรมและกระบวนการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมผู้เรียนให้

เห็นคุณคา่ ในตนเอง)
2. ได้แนวทางทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน โดยใช้แนวทางการเพ่ิมประสบการณ์ที่ประสบ

ความสำเร็จให้กับวัยรนุ่ การใช้ตัวแบบ การใช้คำพูดชักจูงและการกระตุ้นทางอารมณ์ จึงสามารถนำมาใช้เป็นแนว
ทางการพัฒนาการเห็นคณุ คา่ ในตนเองของผู้เรยี นได้

การนำผลทไี่ ดไ้ ปใช้
1. มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ท่ีเกิดข้ึนจากการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ของสมาชิก

เครือข่าย ท่ีเป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รปู ธรรม (สมาชิกเครอื ขา่ ยมกี ารนำไปใช้ไดอ้ ย่างชัดเจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ที่เกิดขึ้นของ
สมาชกิ เครอื ข่ายไปใช้ตลอดระยะท่ีดำเนนิ โครงการทุกคร้ังท่ีมีการแลกเปล่ียนเรยี นร้โู ดยสมาชิกทกุ คน

3. ผู้สอนหลักและสมาชกิ ในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบตั ิการจัดกิจกรรมการเรียนรมู้ าอภิปรายเพ่ือ
แลกเปล่ียนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสำเร็จ จุดเด่นและจุดท่ีต้องพัฒนาใน
การจัดการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

ปญั หา/อุปสรรคที่พบ
-

กิจกรรม/ขน้ั ตอน/งานท่ปี ฏิบตั ไิ ด้ดี
รว่ มศึกษาปัญหา แนวทางแก้ไขปญั หา หรือกระบวนการท่จี ะใชใ้ นการแก้ไขปญั หา ดังน้ี

1. นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม เปิดประเด็นเก่ียวกับการสอนทักษะที่จำเป็นกับอนาคต ดังนี้ 1. growth
mindset ความคิดนำไปสคู่ วามสำเร็จ 2. self esteem การเห็นคุณค่าในตนเอง 3. ความมั่นใจในตนเอง และ
การกล้าแสดงออก 4. แสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสม 5. ควบคุมตนเองให้ทำส่ิงท่ีควรทำในสถานการณ์
ต่างๆ 6. ความรบั ผดิ ชอบ 7. การอดทนจนกวา่ จะสำเรจ็

2. นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ เสนอว่าสรุปแล้วเรากำลังอยู่ในสังคมโลกยุคดิจิทัลท่ีไม่เหมือนเดิม เพราะระบบ
ข้อมูลข่าวสารที่ทันสมัย รับ-ส่งข่าวสารกันได้สะดวก รวดเร็วและกว้างไกลการดำเนินชีวิตและการประกอบ
กจิ การงานของคนเราทุกคน ทุกระดับ เพื่อให้ก้าวทันโลกด้วยความสุขและสำเร็จอยา่ งมีความสุข จึงควรเริ่มท่ี
ตวั เราในการปรบั แนวคดิ ใหเ้ ปน็ ระบบแบบ Growth Mindset และต่อด้วยการพฒั นา self esteem

3. ครูนางสาวรัศมี กุลสุวรรณ นำเสนอเรื่องราวผ่านคลิปวิดีโอเรื่อง SELF ESTEEM การเห็นคุณค่าในตนเองท่ี
สร้างได้ (https://www.youtube.com/watch?v=gY4SDt5cugw)

21

4. นายอรรถพล ภูทอง นำเสนอเร่ืองราวผ่านคลิปวิดีโอเรื่อง Psychology of Self-Esteem (จิตวิทยาเกี่ยวกับ
การเห็นคุณคา่ ในตวั เอง) https://www.youtube.com/watch?v=F6qTYPkjGWY

5. นางสาวกาญจนา คงทน นำเสนอเร่อื งราวผา่ นคลปิ วดิ โี อเร่อื ง Self-worth — เพราะอะไรเราถึงควรเติมคุณค่า
ใหก้ ับตวั เอง https://www.youtube.com/watch?v=-OAKClhlv8o

22

6. นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ สรุปว่า การเห็นคุณค่าในตัวเองเป็นส่ิงท่ีฝึกฝนให้เกิดขึ้นได้ ท้ังน้ีมีงานวิจัยท่ี
สะทอ้ นวา่ แนวทางในการพัฒนาการเหน็ คณุ คา่ ในตนเอง โดยการสร้างบรรยากาศในหอ้ งเรยี นหรือความมั่นคง
ปลอดภัยให้เกิดแก่ผู้เรียนไว้คือจะต้องให้ความคาดหวังในตัวผู้เรียนในระดับสูงและช่วยเหลือให้ผู้เรียนได้รับ
สัมฤทธิ์ผลทางการเรียน ให้ข้อมูลย้อนกลับทางบวกแก่ผู้เรียนทุกคน พยายามให้คำอธิบายท่ีเก่ียวกับเหตุผล
หรอื วตั ถปุ ระสงคใ์ นการต้ังเกณฑม์ อบหมายงานและกระทำกจิ กรรมทางการเรียน ผู้สอนจะต้องเรียนรู้ลักษณะ
พิเศษของผู้เรยี นแต่ละคน และให้ความเอาใจใส่ในลักษณะพิเศษนั้นๆ เห็นคุณค่าในความพยายามของผู้เรียน
เท่าเทียมกับสัมฤทธิ์ผลของผู้เรียนทุกคนช่วยให้ผู้เรียนรู้จักการยอมรับความผิดพลาดและการประสบ
ความสำเร็จ โดยการให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ด้วยตนเองจากประสบการณ์ในความผิดพลาดและประสบ
ความสำเร็จของผูเ้ รียนเอง ใหก้ ารยอมรับคณุ คา่ ท่มี ีอยูใ่ นตัวของผเู้ รยี น มองผู้เรยี นวา่ เปน็ มนุษย์ท่ีมคี ่า แม้วา่ จะ
มีพฤติกรรมอย่างท่ีครูไม่เห็นด้วย ต้องแสดงความยินดีและชื่นชมในความสามารถและประสบความสำเร็จของ
ผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการประเมินพฤติกรรมของตนเองตามวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้และบอกระดับ
ความสำเร็จของตนเองได้สร้างบรรยากาศที่อบอุ่นและปลอดภัย เมื่อมีการแสดงความคิดเห็นท่ีแตกต่างกัน
เกิดข้ึนเป็นตน้

ส่ิงทต่ี อ้ งพฒั นาตอ่ ไป
1.สรา้ งปฏสิ มั พันธ์ในหอ้ งเรียนในรายวชิ าทต่ี นเองรบั ผดิ ชอบ
2.ติดตามการพฒั นา

ผลการประเมนิ การแก้ปญั หา

 กระบวนการแก้ไขปัญหา ประสบความสำเร็จ
 กระบวนการแกไ้ ขปญั หา ไมป่ ระสบความสำเร็จ
เนื่องจาก –
ข้อเสนอแนะผูร้ ายงานการบันทึกกิจกรรม

....................................................นัดหมายครั้งตอ่ ไป วันที่ 19..พ.ย...64..................................

ลงชื่อ...............................................................ผูร้ ายงาน
(นางสาวอโนชา อทุ มุ สกลุ รตั น์)

ความคดิ เห็น / ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารสถานศกึ ษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ผรู้ ับรองกจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (Professional Learning Community

ลงช่อื ...............................................................................
(นายสุริยนั ต์ เหล่ามะลกึ )

ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

23

ภาพการมสี ่วนรว่ ม

24

แบบบันทกึ กิจกรรม
ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานครเขต 1

ชอื่ กลุ่มกจิ กรรม คร้ังที่ ...4................................................................
ภาคเรยี นท่.ี ...2.......ปีการศกึ ษา.....2564........
 วิชาการ  บคุ ลากร วันเดือนปีท่ีจัดกจิ กรรม.......19..พ.ย...64................
สถานท.ี่ ....ประชมุ ออนไลน์ผา่ นโปรแกรม Meet....
 งบประมาณ  บริหารทั่วไป เวลา.......15.10-17.10.น...............................
จำนวน.................2.............................ช่วั โมง
 กจิ การนักเรียน  พฒั นาผู้เรียน

 กจิ กรรม Hybrid Learning ในการจดั การ

เรยี นรู้ เพ่ือพัฒนาทักษะการเรียนร้ขู องผ้เู รยี นแบบ

ยั่งยนื

ชอ่ื กิจกรรม
การพฒั นาการจดั การเรยี นรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ Hybrid Learning

Community ผู้ร่วมอภปิ ราย

Model Teacher ผู้พบปัญหา นางสาวอโนชา อทุ มุ สกลุ รตั น์

Buddy Teacher ผรู้ ่วมอภปิ ราย

1. นางสาวอโนชา อทุ มุ สกุลรตั น์ ประธานกรรมการ

2. นางสาวรัศมี กลุ สวุ รรณ กรรมการ

3. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

4. นายอรรถพล ภทู อง กรรมการ

5. นางสาวขวญั หล้า เกตุฉิม กรรมการ/เลขานุการ

Mentor Coaching ผู้นำอภิปราย นายสรุ ยิ นั ต์ เหล่ามะลึก

Recording ผู้บันทึกข้อมลู นางสาวอโนชา อุทมุ สกลุ รัตน์

25

แบบบันทกึ กจิ กรรม
ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ประเดน็ ปญั หาท่ีพบ

สถานการณ์โรคระบาด COVID-19 ทำให้สถาบันการศึกษาท่ัวโลกต้องหยุดการเรียนการสอนในห้องเรียน
ทำให้การจัดการเรียนการสอนดำเนินต่อได้ ดังประโยคท่ีว่าสถานศึกษาหยุดได้แต่การเรียนรู้หยดุ ไม่ได้ การจัดการ
เรยี นรู้เชงิ รุกในรูปแบบออนไลน์เป็นสิ่งทท่ี ำให้การเรยี นรดู้ ำเนนิ ตอ่ ไปได้ ซ่งึ ต้องมีปัจจยั ดังน้ี สถานศกึ ษาต้องเตรยี ม
แพลต็ ฟอรม์ รองรับ ผู้สอนต้องปรับเปล่ยี นวิธกี ารสอน และผูเ้ รียนตอ้ งปรบั เปลีย่ นวิธกี ารเรียน เปน็ ตน้

ในสภาพปัจจุบันนั้น การเห็นคุณค่าในตนเองเป็นส่วนหน่ึงท่ีเป็นแรงผลักดันจิตใจให้บุคคลมุ่งสู่การเรียน
และปฏิบตั ิหน้าท่ีอย่างมีประสทิ ธิภาพ แต่การเห็นคุณคา่ ในตนเองก็สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา เกิดจากการ
สะท้อนความรสู้ ึกที่เปราะบางทางอารมณ์จากเหตุการณ์ที่ตัวเองเกย่ี วข้องและได้รับรู้ เช่นการโดนตำหนิต่อวา่ หรือ
การได้รับคำชมเชย เพราะการเรียนของนักเรียนในสถานการณ์ โควดิ 19 สามารถก่อให้เกิดความเครียดได้ง่าย จึง
ต้องใช้ความอดทนอย่างสูง หากไม่ดูแลรักษาสภาพร่างกายและสภาพจิตใจให้ดีก็ไม่สามารถมีกำลังกายกำลังใจใน
การเรียนและการปฏิบัตหิ น้าท่ี ซ่ึงเชอ่ื มโยงกับแรงจูงใจท่ีเป็นส่ิงสำคัญในการเรียนใหป้ ระสบความสำเร็จเพราะเมื่อ
บคุ คลมแี รงจูงใจบคุ คลจะต้ังเป้าหมายและพยายามสร้างโอกาส เพอ่ื มุ่งไปส่กู ารบรรลุเปา้ หมายให้สำเร็จ

การเห็นคุณค่าในตนเองมีลักษณะสำคัญท่ีเช่ือมต่อกัน หากทราบระดับการเห็นคุณค่าในตนเองและระดับ
แรงจูงใจที่จะเรียนจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อนักเรียนและโรงเรียนเพ่ือการพัฒนาศักยภาพและมุ่งสู่เป้าหมายด้วย
ความสำเร็จตอ่ ไปในอนาคต

ผู้ค้นพบปัญหาพบว่าเชื่อว่าการเห็นคุณค่าในตัวเองเป็นส่ิงที่ฝึกฝนให้เกิดข้ึนได้ ทั้งนี้มีงานวิจัยท่ีสะท้อนว่า
แนวทางในการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเอง โดยการสร้างบรรยากาศในห้องเรียนหรือความม่ันคงปลอดภัยให้
เกิดแก่ผู้เรียนไว้คือจะต้องใหค้ วามคาดหวังในตวั ผู้เรียนในระดับสงู และช่วยเหลือให้ผู้เรียนได้รับสัมฤทธ์ิผลทางการ
เรียน ให้ขอ้ มูลยอ้ นกลบั ทางบวกแกผ่ ู้เรยี นทกุ คน พยายามให้คำอธิบายท่ีเก่ียวกับเหตุผลหรอื วัตถุประสงคใ์ นการตั้ง
เกณฑ์มอบหมายงานและกระทำกิจกรรมทางการเรียน ผ้สู อนจะตอ้ งเรียนรูล้ ักษณะพิเศษของผเู้ รียนแต่ละคน และ
ให้ความเอาใจใส่ในลักษณะพเิ ศษน้ันๆ เห็นคุณคา่ ในความพยายามของผูเ้ รียนเท่าเทียมกับสัมฤทธผิ์ ลของผู้เรียนทุก
คนช่วยให้ผู้เรียนรู้จักการยอมรับความผิดพลาดและการประสบความสำเร็จ โดยการให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ด้วย
ตนเองจากประสบการณ์ในความผิดพลาดและประสบความสำเร็จของผู้เรียนเอง ให้การยอมรับคุณค่าท่ีมีอยู่ในตัว
ของผู้เรียน มองผู้เรียนว่าเป็นมนุษย์ที่มีค่า แม้ว่าจะมีพฤติกรรมอย่างที่ครูไม่เห็นด้วย ต้องแสดงความยินดีและช่ืน
ชมในความสามารถและประสบความสำเร็จของผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการประเมินพฤติกรรมของตนเองตาม
วตั ถปุ ระสงค์ทตี่ ั้งไว้และบอกระดับความสำเร็จของตนเองได้สร้างบรรยากาศทอ่ี บอุน่ และปลอดภัย เม่ือมีการแสดง
ความคิดเห็นที่แตกต่างกันเกิดขึ้นเป็นต้น (แรฟฟีนี อ้างถึงใน ก่ิงเพชร ส่งเสริม, 2544 : 12-13) ประสิทธิภาพต
อไป
สาเหตุของปัญหา

การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hybrid Learning จะบรรลุเปา้ หมายการเรียนรู้ได้นั้นผู้เรียนจำเป็นท่ี
จะตอ้ งใชก้ ารกำกับตนเองค่อนขา้ งสูง เช่น การศึกษาเน้ือหาและเตรียมตัวก่อนเข้าช้ันเรียน การมรี ะเบียบวินัย เข้า
ชั้นเรยี นตรงเวลา สง่ งานตรง เวลา รู้จักการทำงานเป็นทีม การแสดงความคิดเห็น และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การ
มที กั ษะด้านเทคโนโลยแี ละทกั ษะดา้ นภาษาอังกฤษเพม่ิ ขน้ึ เป็นต้น การที่ผู้เรียนจะการกำกับตนเองได้ดีนั้น
ปัจจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งสัมพนั ธก์ ันคือ ผ้เู รยี นจะต้องมกี ารเห็นคณุ คา่ ในตวั เอง มีแนวคิดและวิธีการดำเนนิ ชีวิตท่ีสอดคล้อง
เหมาะสม รักตัวเองเป็น กล้าท่ีจะเผชิญหน้ากับความท้าทายใหม่ๆ ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล รับฟัง

26

ความคิดเห็นของผู้อื่น มีความสามารถในการปรับตัวได้ดี รวมทั้ง มองโลกในแง่ดีและมีเหตุผล ส่วนผู้ท่ีมีความรู้สึก
เหน็ คุณค่าในตัวเองต่ำจะมีทัศนคติเชิงลบต่อตนเองและผูอ้ ่ืน ขาดความม่ันใจ กลัวความผิดพลาด รู้สึกว่าตัวเองไม่ดี
เปน็ ภาระต่อผู้อน่ื ไร้คา่ ไมเ่ ปน็ ท่ีรกั และมีพฤติกรรมชอบเปรียบเทียบตวั เองกบั ผอู้ ่นื เปน็ ตน้
ความรู้และหลักการทน่ี ำมาใช้

การเรียนรู้ตลอดชีวิตตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 น่ันคือ การเรียนรู้ตลอดชีวิตว่า
หมายถึง การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย เพ่ือให้สามารถพัฒนาคณุ ภาพชีวิตไดอ้ ย่างตอ่ เนื่องตลอดชวี ิต

การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) การ
จัดการเรียนรตู้ ลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) คือ การรับรู้ความรู้
ทักษะ และเจตคติ ของบุคคลจากการเรียนรู้ด้วยวิธีเรียนแบบต่างๆ และสามารรถทำให้บคุ คลนั้นเกิดการพัฒนา
ตนเองได้

การจัดบรรยากาศทางดา้ นจติ วิทยาหรือทางด้านจิตใจ จะชว่ ยสร้างความรสู้ ึกให้นักเรียนเกิดความสบายใจ
ในการเรียน ปราศจากความกลัวและวิตกกังวล มีบรรยากาศของการสร้างสรรค์เร้าความสนใจ ให้นักเรียนร่วม
กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยความสขุ นกั เรยี นจะเกิดความรเู้ ช่นน้ี ขนึ้ อยู่กับครู เปน็ สำคญั ในขอ้ เหลา่ น้ี

1.บุคลิกภาพ 2.พฤติกรรมการสอน 3.เทคนิคการปกครองช้ันเรยี น 4.ปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียน แต่
ละขอ้ มีรายละเอียดดงั น้ี

1.บคุ ลิกภาพของครู
สภาพบรรยากาศของห้องเรียนมีส่วนสัมพันธ์กับบุคลิกภาพของครู ครูที่มีบุคลิกภาพดี เช่น การแต่งกาย
การยืน การเดิน ท่าทาง น้ำเสียง การใช้คำพูด การแสดงออกทางสีหน้า แววตา ฯลฯ เหมาะสมกับการเป็นครู จะ
ช่วยส่งเสรมิ บรรยากาศการเรยี นรไู้ ดด้ ี
2.พฤตกิ รรมการสอนของครู
พฤตกิ รรมการสอนของครูมีบทบาทในการสร้างความรสู้ ึกท่ีดีใหแ้ ก่นักเรียน เช่นเดยี วกบั บุคลิกภาพของครู
ในการสอนครูต้องใช้เทคนิคและทักษะการสอนที่สอดคล้องเหมาะสมกบั นักเรียนและบทเรียน เพ่ือให้นักเรียนเกิด
ความรู้ เจตคติ และทักษะตามท่ีหลักสตู รกำหนด พฤติกรรมของครคู วรเปน็ ดงั น้ี
2.1 ตอบสนองพฤติกรรมของนักเรียนโดยใช้เทคนิคการเสริมแรงที่เหมาะสม เช่น ใช้วาจา ใช้ท่าทาง ให้
รางวลั และสัญลักษณ์ต่าง ๆ ตลอดจนให้ทำกิจกรรมทีน่ ักเรียนชอบ ครูควรเรมิ แรงให้ทวั่ ถงึ และเหมาะสม

2.2 เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น และยอมรบั ฟังความคิดเห็นของนักเรียน แสดงให้นักเรียน
เห็นว่าความคดิ ของเขามปี ระโยชน์ พยายามนำความคิดเหลา่ นั้นมาใชใ้ ห้เกิดประโยชนใ์ นการเรียนรู้

2.3 ฝกึ การทำงานเป็นกลุ่ม การให้ทำงานเป็นกลุ่มจะชว่ ยใหน้ ักเรียนรจู้ กั ทำงานร่วมกับผู้อน่ื ได้ใชค้ วามรู้
ความคิดความสามารถที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ ฝึกการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีและได้ผลงานนำมาสู่ความภาคภูมิใจ
ในกลุ่มและตนเอง ในการมอบหมายงานให้กลุ่มทำน้ัน ครูควรคำนึงถึงความยากง่ายของงาน ความรู้และ
ความสามารถของนักเรียนในกลุ่ม เพื่อให้งานกลุ่มประสบความสำเร็จ เป็นการสร้างความรู้สึกทางบวกให้แก่
นักเรยี น งานใดท่ีครูเห็นว่ายาก ครูควรเข้าไปดูแลกระตุ้นให้นักเรียนช่วยกันคิดแก้ปัญหาในกลุ่มของตน ครูจะต้อง
มีความอดทนทจี่ ะไมร่ บี ชแ้ี นะ หรอื บอกวธิ กี ารแก้ปญั หาตรง ๆ ตอ้ งฝกึ ใหน้ ักเรยี นใชว้ ิธกี ารต่าง ๆ หลาย ๆ แบบจน
สามารถแก้ปัญหาได้สำเรจ็

2.4 ใช้เทคนิคและวิธีสอนท่ีไม่ทำให้นักเรียนเบื่อหน่ายในการเรียน ครูควรคิดค้นคว้าและแสวงหา
แนวทางวิธีการใหม่ ๆ มาใช้จัดการเรียนการสอน วิธีการสอนควรเป็นวิธีที่ยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง หรือนักเรยี น
เป็นผู้กระทำกิจกรรม เช่น วิธีการสอนแบบทดลอง แบบแก้ปัญหา แบบแสดงบทบาทสมมตุ ิ แบบสืบสวนสอบสวน

27

แบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม แบบอภิปราย แบบศูนย์การเรียน ตลอดจนนวัตกรรมการสอนที่น่าสนใจ การจะใช้วิธี
สอนแบบใดน้ันครูตอ้ งเลอื กให้เหมาะสมกบั บทเรยี น ระยะเวลา สติปัญญา และวัยของนักเรียน

กิจกรรมทท่ี ำ/ปฏบิ ตั ิ
กจิ กรรม Share ครูแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ซ่งึ กนั และกนั
-มสี ือ่ นวัตกรรม (เทคนิคการสอน/วิธีการสอน/รูปแบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครูเรยี นรปู้ ระสบการณ์ในการจดั การเรยี นรู้รว่ มกนั
-พิจารณา สื่อ นวตั กรรม ที่มคี วามสอดคล้องกับการแกป้ ัญหา
กจิ กรรม Grow ทีมครู PLC มแี นวทางที่ดีในการแก้ปัญหาคุณภาพผู้เรียนร่วมกัน
-เลือก สอื่ นวัตกรรม ที่มีความสอดคลอ้ งกบั การแก้ปัญหา

ผลท่ไี ด้รับจากกจิ กรรม
1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (รูปแบบกิจกรรมและกระบวนการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมผู้เรียนให้

เห็นคุณค่าในตนเอง)
2. ได้แนวทางทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน โดยใช้แนวทางการเพิ่มประสบการณ์ที่ประสบ

ความสำเร็จให้กับวัยรุน่ การใช้ตัวแบบ การใชค้ ำพูดชักจูงและการกระตุ้นทางอารมณ์ จึงสามารถนำมาใช้เป็นแนว
ทางการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้เรยี นได้

การนำผลทไ่ี ดไ้ ปใช้
1. มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ท่ีเกิดข้ึนจากการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ของสมาชิก

เครือข่าย ท่ีเป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รปู ธรรม (สมาชิกเครือข่ายมกี ารนำไปใชไ้ ด้อยา่ งชดั เจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่ีน่าสนใจ ท่ีเกิดขึ้นของ
สมาชิกเครอื ขา่ ยไปใช้ตลอดระยะที่ดำเนนิ โครงการทุกครั้งที่มีการแลกเปล่ียนเรยี นรูโ้ ดยสมาชิกทกุ คน

3. ผสู้ อนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจดั กิจกรรมการเรียนรูม้ าอภิปรายเพื่อ
แลกเปล่ียนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสำเร็จ จุดเด่นและจุดท่ีต้องพัฒนาใน
การจดั การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

ปญั หา/อุปสรรคทพ่ี บ
-

กิจกรรม/ข้นั ตอน/งานที่ปฏิบัตไิ ด้ดี
รว่ มศึกษาปัญหา แนวทางแกไ้ ขปญั หา หรอื กระบวนการทจ่ี ะใชใ้ นการแก้ไขปัญหา ดังน้ี

1. นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม กล่าวว่านักเรียนและครูเร่ิมมีความคุ้นเคยกันมากข้ึน ซ่ึงเกิดข้ึนได้ด้วย
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ระหว่างครูและนักเรียน คือการติดต่อสื่อสาร ทำความรู้จักกันต้ังแต่ระยะเริ่มแรกของ
การจดั การเรียนการสอน การทำความรู้จักนักเรียนเป็นรายบคุ คล จากการให้นักเรียนเล่าเรื่อง เกี่ยวกับตัวเอง
การสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นเป็นรายบุคคล การศึกษาจากรายงานหรือบันทึกของ นักเรียนในด้านต่าง ๆ
และการสอบถามจากบุคคลที่ใกล้ชิดนักเรียน เช่น เพ่ือนนักเรียน ผู้ปกครอง ครูประจำช้ันและครูแนะแนว
เปน็ ต้น

2. นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ กล่าวว่านักเรียนมีความรู้สึกผ่อนคลายเป็นอิสระ เป็นสิ่งที่ทำให้เกิดขึ้นได้โดย
เปิดโอกาสให้ นักเรียนมีอิสระในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ครูยอมรับฟังความคิดเห็นของนักเรียน ครูใช้
วาจา ทางบวกกับนักเรียน ไม่ดุด่าว่ากล่าวโดยไร้เหตุผล ทำให้นักเรียนกล้าคิด กล้าแสดงออกและเกิดคว าม
มน่ั ใจในตนเอง (ครูใชช้ ดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ โยนิโสมนสกิ ารประกอบการสอน)

28

3. ครนู างสาวรัศมี กุลสวุ รรณ กลา่ ววา่ นักเรียนได้รบั ความสำเรจ็ ในการเรียน ครูจดั ให้นักเรียน รว่ มมือช่วยเหลือ
กันในการเรียนรูเ้ ป็นกลุ่มเล็ก ๆ ส่งเสริมให้นักเรยี นรู้วิธีการทำงานเป็นกลุ่มและได้ฝึกทักษะการทำงาน โดยครู
ไม่เร่งรัดเวลามากจนเกินไป ให้นักเรียนมีเวลาเพียงพอสำหรับปรึกษาหารือกัน และช่วยกันทำงานให้บรรลุ
เป้าหมาย

4. นายอรรถพล ภูทอง กล่าวว่า นักเรียนได้รับการยอมรับและมีความรู้สึกทางบวก หลังจากท่ีครูปรับเปลี่ยน
บทบาทและทศั นคตทิ ่ีมีตอ่ นกั เรยี นและการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ การสนับสนนุ ใหน้ กั เรียน กำหนดความ
คาดหวังของตนเองให้สูงตามท่ีควรจะเป็น ครูส่งเสริมวิธีการเรียนรู้ให้กับนักเรียนเพ่ือให้ นักเรียนประสบ
ความสำเร็จตามเป้าหมายท่ีวางไว้ ครูให้ความเชื่อมั่นและยอมรับความแตกต่างของนักเรียน ครูให้ความ
ยุติธรรมแก่นักเรียนโดยเท่าเทียมกัน ครูทำให้การเรียนเป็นส่ิงสนุกสนาน ท้าทาย และ ยอมรับความผิดพลาด
ของนักเรียน มีอารมณ์ขันและมองโลกในแง่ดี ครูรู้วิธีให้การเสริมแรงแก่นักเรียน อย่างเหมาะสมเพ่ือส่งเสริม
พฤตกิ รรมของนกั เรยี น

5. นางสาวกาญจนา คงทน กล่าวว่า การรู้จัก หน้าที่ ความรับผิดชอบและยึดถือกติกาที่นักเรียนช่วยกันกำหนด
ขึ้น เพ่ือให้การดำเนินการในห้องเรียน เป็นไปด้วยความเรียบร้อยราบรื่น เช่น การตรงต่อเวลาในการเข้าช้ัน
เรียน การส่งงาน การแต่งกาย การใช้วาจา สุภาพ มารยาทในในห้องเรียน มารยาทในการใช้ห้อง มารยาทใน
การถาม-ตอบ เป็นต้น

ส่ิงทตี่ อ้ งพัฒนาตอ่ ไป
1.สรา้ งปฏิสัมพนั ธ์ในห้องเรียนในรายวิชาทตี่ นเองรบั ผิดชอบ
2.ตดิ ตามการพฒั นา

ผลการประเมินการแก้ปญั หา

 กระบวนการแกไ้ ขปญั หา ประสบความสำเรจ็
 กระบวนการแก้ไขปญั หา ไมป่ ระสบความสำเร็จ
เนื่องจาก –
ขอ้ เสนอแนะผูร้ ายงานการบันทกึ กจิ กรรม

....................................................นดั หมายครั้งตอ่ ไป วนั ท่ี 3..ธ.ค...64..................................

ลงช่ือ...............................................................ผ้รู ายงาน
(นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรตั น์)

ความคดิ เห็น / ข้อเสนอแนะ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ผู้รบั รองกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ (Professional Learning Community

ลงช่ือ...............................................................................
(นายสรุ ิยนั ต์ เหล่ามะลึก)

ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวทิ ยาคม

29

ภาพการมสี ่วนรว่ ม

30

แบบบันทึกกจิ กรรม
ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ชอื่ กลุ่มกิจกรรม คร้ังท่ี ...5................................................................
ภาคเรยี นที่....2.......ปีการศกึ ษา.....2564........
 วิชาการ  บคุ ลากร วนั เดือนปีทจี่ ัดกิจกรรม....... 3..ธ.ค...64................
สถานท.่ี ....ประชุมออนไลน์ผา่ นโปรแกรม Meet....
 งบประมาณ  บรหิ ารทั่วไป เวลา.......15.10-17.10.น...............................
จำนวน.................2.............................ชัว่ โมง
 กจิ การนกั เรยี น  พฒั นาผู้เรยี น

 กิจกรรม Hybrid Learning ในการจัดการ

เรยี นรู้ เพ่อื พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ของผู้เรียนแบบ

ยงั่ ยืน

ช่ือกจิ กรรม
การพัฒนาการจดั การเรยี นรู้โดยใช้การจดั การเรียนรู้แบบ Hybrid Learning

Community ผู้รว่ มอภปิ ราย

Model Teacher ผู้พบปญั หา นางสาวอโนชา อทุ ุมสกลุ รตั น์

Buddy Teacher ผู้รว่ มอภปิ ราย

1. นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ ประธานกรรมการ

2. นางสาวรัศมี กุลสุวรรณ กรรมการ

3. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

4. นายอรรถพล ภทู อง กรรมการ

5. นางสาวขวัญหล้า เกตฉุ ิม กรรมการ/เลขานุการ

Mentor Coaching ผู้นำอภปิ ราย นายสรุ ยิ นั ต์ เหลา่ มะลกึ

Recording ผูบ้ นั ทกึ ข้อมลู นางสาวอโนชา อุทมุ สกลุ รัตน์

31

แบบบันทกึ กิจกรรม
ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ประเดน็ ปญั หาที่พบ

สถานการณ์โรคระบาด COVID-19 ทำให้สถาบันการศึกษาทั่วโลกต้องหยุดการเรียนการสอนในห้องเรียน
ทำให้การจัดการเรียนการสอนดำเนินต่อได้ ดังประโยคที่ว่าสถานศึกษาหยุดได้แต่การเรียนรู้หยุดไม่ได้ การจัดการ
เรียนรู้เชิงรกุ ในรปู แบบออนไลน์เป็นส่ิงท่ที ำให้การเรียนรู้ดำเนนิ ตอ่ ไปได้ ซ่งึ ต้องมีปัจจัยดังนี้ สถานศกึ ษาตอ้ งเตรยี ม
แพลต็ ฟอรม์ รองรบั ผสู้ อนตอ้ งปรับเปลยี่ นวธิ กี ารสอน และผู้เรียนตอ้ งปรบั เปลี่ยนวธิ กี ารเรียน เป็นตน้

ในสภาพปัจจุบันน้ัน การเห็นคุณค่าในตนเองเป็นส่วนหนึ่งท่ีเป็นแรงผลักดันจิตใจให้บุคคลมุ่งสู่การเรียน
และปฏิบัติหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพ แต่การเห็นคุณค่าในตนเองก็สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา เกิดจากการ
สะท้อนความรู้สึกที่เปราะบางทางอารมณ์จากเหตุการณ์ท่ีตัวเองเกย่ี วข้องและได้รบั รู้ เช่นการโดนตำหนิต่อวา่ หรือ
การได้รับคำชมเชย เพราะการเรียนของนักเรียนในสถานการณ์ โควดิ 19 สามารถก่อให้เกิดความเครียดได้ง่าย จึง
ต้องใช้ความอดทนอย่างสูง หากไม่ดูแลรักษาสภาพร่างกายและสภาพจิตใจให้ดีก็ไม่สามารถมีกำลังกายกำลังใจใน
การเรียนและการปฏิบัตหิ น้าท่ี ซ่งึ เช่อื มโยงกับแรงจูงใจที่เป็นสิ่งสำคัญในการเรียนใหป้ ระสบความสำเร็จเพราะเม่ือ
บุคคลมีแรงจูงใจบุคคลจะตง้ั เป้าหมายและพยายามสร้างโอกาส เพื่อม่งุ ไปส่กู ารบรรลุเป้าหมายใหส้ ำเร็จ

การเห็นคุณค่าในตนเองมีลักษณะสำคัญท่ีเช่ือมต่อกัน หากทราบระดับการเห็นคุณค่าในตนเองและระดับ
แรงจูงใจท่ีจะเรียนจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อนักเรียนและโรงเรียนเพื่อการพัฒนาศักยภาพและมุ่งสู่เป้าหมายด้วย
ความสำเร็จตอ่ ไปในอนาคต

ผคู้ ้นพบปัญหาพบว่าเชื่อวา่ การเห็นคุณค่าในตัวเองเป็นส่ิงที่ฝึกฝนให้เกิดขึ้นได้ ท้ังนี้มีงานวิจัยที่สะท้อนว่า
แนวทางในการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเอง โดยการสร้างบรรยากาศในห้องเรียนหรือความม่ันคงปลอดภัยให้
เกิดแก่ผู้เรียนไวค้ ือจะต้องให้ความคาดหวังในตัวผู้เรียนในระดับสูงและช่วยเหลือให้ผู้เรียนได้รบั สัมฤทธ์ิผลทางการ
เรยี น ใหข้ ้อมูลย้อนกลับทางบวกแกผ่ ู้เรยี นทกุ คน พยายามให้คำอธิบายท่ีเกี่ยวกบั เหตุผลหรอื วัตถุประสงคใ์ นการต้ัง
เกณฑ์มอบหมายงานและกระทำกิจกรรมทางการเรียน ผู้สอนจะตอ้ งเรียนร้ลู ักษณะพิเศษของผูเ้ รียนแต่ละคน และ
ให้ความเอาใจใสใ่ นลักษณะพิเศษนั้นๆ เหน็ คุณคา่ ในความพยายามของผเู้ รียนเท่าเทียมกบั สมั ฤทธิ์ผลของผูเ้ รียนทุก
คนช่วยให้ผู้เรียนรู้จักการยอมรับความผิดพลาดและการประสบความสำเร็จ โดยการให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ด้วย
ตนเองจากประสบการณ์ในความผิดพลาดและประสบความสำเร็จของผู้เรยี นเอง ให้การยอมรับคุณค่าท่ีมีอยู่ในตัว
ของผู้เรียน มองผู้เรียนว่าเป็นมนุษย์ท่ีมีค่า แม้ว่าจะมีพฤติกรรมอย่างท่ีครูไม่เห็นด้วย ต้องแสดงความยินดีและช่ืน
ชมในความสามารถและประสบความสำเร็จของผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการประเมินพฤติกรรมของตนเองตาม
วตั ถปุ ระสงค์ทีต่ ้ังไว้และบอกระดับความสำเร็จของตนเองได้สร้างบรรยากาศทอ่ี บอ่นุ และปลอดภัย เม่ือมีการแสดง
ความคิดเห็นที่แตกต่างกันเกิดขึ้นเป็นต้น (แรฟฟีนี อ้างถึงใน ก่ิงเพชร ส่งเสริม, 2544 : 12-13) ประสิทธิภาพต
อไป
สาเหตขุ องปัญหา

การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hybrid Learning จะบรรลเุ ปา้ หมายการเรียนรู้ได้น้ันผู้เรียนจำเป็นท่ี
จะต้องใชก้ ารกำกับตนเองค่อนขา้ งสูง เช่น การศึกษาเน้ือหาและเตรียมตัวก่อนเข้าชั้นเรยี น การมีระเบียบวินัย เข้า
ชน้ั เรียนตรงเวลา ส่งงานตรง เวลา รู้จักการทำงานเปน็ ทีม การแสดงความคิดเห็น และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การ
มีทกั ษะด้านเทคโนโลยีและทกั ษะด้านภาษาอังกฤษเพิม่ ข้นึ เป็นตน้ การท่ีผู้เรียนจะการกำกับตนเองได้ดีนั้น
ปัจจัยที่เก่ียวขอ้ งสัมพันธ์กันคือ ผู้เรยี นจะต้องมกี ารเห็นคุณค่าในตวั เอง มีแนวคดิ และวิธกี ารดำเนนิ ชวี ิตที่สอดคลอ้ ง
เหมาะสม รักตัวเองเป็น กล้าท่ีจะเผชิญหน้ากับความท้าทายใหม่ๆ ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล รับฟัง

32

ความคิดเห็นของผู้อ่ืน มีความสามารถในการปรับตัวได้ดี รวมทั้ง มองโลกในแง่ดีและมีเหตุผล ส่วนผู้ที่มีความรสู้ ึก
เหน็ คุณค่าในตัวเองต่ำจะมีทศั นคติเชงิ ลบต่อตนเองและผู้อื่น ขาดความม่ันใจ กลัวความผิดพลาด รู้สกึ ว่าตัวเองไม่ดี
เปน็ ภาระต่อผู้อื่น ไรค้ ่า ไมเ่ ปน็ ที่รกั และมพี ฤติกรรมชอบเปรยี บเทียบตวั เองกับผู้อนื่ เป็นตน้
ความรู้และหลักการทนี่ ำมาใช้

การเรียนรู้ตลอดชีวิตตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 นั่นคือ การเรียนรู้ตลอดชีวิตว่า
หมายถึง การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย เพ่ือให้สามารถพฒั นาคุณภาพชวี ติ ได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชวี ิต

การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) การ
จัดการเรียนรตู้ ลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) คือ การรับรู้ความรู้
ทักษะ และเจตคติ ของบุคคลจากการเรียนรดู้ ้วยวธิ ีเรียนแบบตา่ งๆ และสามารรถทำให้บคุ คลนั้นเกิดการพัฒนา
ตนเองได้

การจัดบรรยากาศทางดา้ นจิตวิทยาหรอื ทางด้านจิตใจ จะช่วยสร้างความรู้สึกให้นักเรียนเกิดความสบายใจ
ในการเรียน ปราศจากความกลัวและวิตกกังวล มีบรรยากาศของการสร้างสรรค์เร้าความสนใจ ให้นักเรียนร่วม
กิจกรรมการเรยี นการสอนด้วยความสุข นักเรยี นจะเกิดความรู้เช่นน้ี ขน้ึ อยู่กบั ครู เปน็ สำคญั ในข้อเหล่าน้ี

1.บุคลิกภาพ 2.พฤติกรรมการสอน 3.เทคนิคการปกครองชั้นเรยี น 4.ปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียน แต่
ละขอ้ มีรายละเอียดดงั น้ี

1.บคุ ลิกภาพของครู
สภาพบรรยากาศของห้องเรียนมีส่วนสัมพันธ์กับบุคลิกภาพของครู ครูที่มีบุคลิกภาพดี เช่น การแต่งกาย
การยืน การเดิน ท่าทาง น้ำเสียง การใช้คำพูด การแสดงออกทางสีหน้า แววตา ฯลฯ เหมาะสมกับการเป็นครู จะ
ช่วยส่งเสรมิ บรรยากาศการเรยี นรู้ไดด้ ี
2.พฤตกิ รรมการสอนของครู
พฤตกิ รรมการสอนของครูมีบทบาทในการสร้างความรูส้ ึกที่ดใี ห้แก่นกั เรียน เช่นเดยี วกบั บุคลิกภาพของครู
ในการสอนครูต้องใช้เทคนิคและทักษะการสอนท่ีสอดคล้องเหมาะสมกับนักเรียนและบทเรียน เพ่ือให้นักเรียนเกิด
ความรู้ เจตคติ และทกั ษะตามทหี่ ลักสูตรกำหนด พฤตกิ รรมของครูควรเป็นดงั น้ี
2.1 ตอบสนองพฤติกรรมของนักเรียนโดยใช้เทคนิคการเสริมแรงที่เหมาะสม เช่น ใช้วาจา ใช้ท่าทาง ให้
รางวลั และสัญลักษณต์ ่าง ๆ ตลอดจนให้ทำกจิ กรรมทน่ี ักเรยี นชอบ ครูควรเริมแรงให้ทัว่ ถงึ และเหมาะสม

2.2 เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น และยอมรบั ฟังความคิดเห็นของนักเรียน แสดงให้นักเรียน
เห็นว่าความคิดของเขามีประโยชน์ พยายามนำความคิดเหล่าน้ันมาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนใ์ นการเรียนรู้

2.3 ฝึกการทำงานเปน็ กลมุ่ การให้ทำงานเปน็ กลุ่มจะช่วยใหน้ ักเรยี นรูจ้ กั ทำงานรว่ มกบั ผู้อนื่ ได้ใชค้ วามรู้
ความคิดความสามารถที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ ฝึกการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ท่ีดีและได้ผลงานนำมาสู่ความภาคภูมิใจ
ในกลุ่มและตนเอง ในการมอบหมายงานให้กลุ่มทำน้ัน ครูควรคำนึงถึงความยากง่ายของงาน ความรู้และ
ความสามารถของนักเรียนในกลุ่ม เพื่อให้งานกลุ่มประสบความสำเร็จ เป็นการสร้างความรู้สึกทางบวกให้แก่
นักเรยี น งานใดท่ีครูเห็นว่ายาก ครูควรเข้าไปดูแลกระตุ้นให้นักเรียนช่วยกันคิดแก้ปัญหาในกลุ่มของตน ครูจะต้อง
มีความอดทนทีจ่ ะไมร่ บี ชแ้ี นะ หรือบอกวธิ กี ารแกป้ ัญหาตรง ๆ ต้องฝกึ ให้นักเรียนใช้วิธีการต่าง ๆ หลาย ๆ แบบจน
สามารถแกป้ ัญหาได้สำเรจ็

2.4 ใช้เทคนิคและวิธีสอนที่ไม่ทำให้นักเรียนเบ่ือหน่ายในการเรียน ครูควรคิดค้นคว้าและแสวงหา
แนวทางวิธีการใหม่ ๆ มาใช้จัดการเรยี นการสอน วิธีการสอนควรเป็นวิธีที่ยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง หรือนักเรียน
เป็นผู้กระทำกิจกรรม เช่น วิธีการสอนแบบทดลอง แบบแก้ปัญหา แบบแสดงบทบาทสมมุติ แบบสืบสวนสอบสวน

33

แบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม แบบอภิปราย แบบศูนย์การเรียน ตลอดจนนวัตกรรมการสอนที่น่าสนใจ การจะใช้วิธี
สอนแบบใดน้นั ครตู ้องเลอื กใหเ้ หมาะสมกับบทเรยี น ระยะเวลา สตปิ ัญญา และวัยของนักเรียน

กิจกรรมทที่ ำ/ปฏิบตั ิ
กิจกรรม Share ครูแลกเปล่ียนประสบการณ์ในการจัดการเรยี นรู้ซง่ึ กนั และกัน
-มสี ื่อ นวัตกรรม (เทคนิคการสอน/วธิ กี ารสอน/รูปแบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครูเรียนรูป้ ระสบการณ์ในการจัดการเรียนรรู้ ว่ มกัน
-พิจารณา สื่อ นวัตกรรม ท่ีมคี วามสอดคล้องกบั การแกป้ ัญหา
กิจกรรม Grow ทมี ครู PLC มแี นวทางท่ดี ีในการแก้ปญั หาคุณภาพผเู้ รยี นรว่ มกนั
-เลอื ก สือ่ นวัตกรรม ท่มี ีความสอดคล้องกับการแก้ปญั หา

ผลทไี่ ด้รับจากกิจกรรม
1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (รูปแบบกิจกรรมและกระบวนการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมผู้เรียนให้

เห็นคณุ คา่ ในตนเอง)
2. ได้แนวทางทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน โดยใช้แนวทางการเพ่ิมประสบการณ์ท่ีประสบ

ความสำเร็จให้กับวัยรุ่น การใช้ตัวแบบ การใช้คำพูดชักจูงและการกระตุ้นทางอารมณ์ จึงสามารถนำมาใช้เป็นแนว
ทางการพฒั นาการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้เรียนได้

การนำผลทีไ่ ดไ้ ปใช้
1. มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่ีน่าสนใจ ท่ีเกิดขึ้นจากการแลกเปลีย่ นเรียนรขู้ องสมาชิก

เครือข่าย ท่ีเป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รูปธรรม (สมาชกิ เครอื ข่ายมกี ารนำไปใช้ไดอ้ ยา่ งชัดเจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ที่เกิดข้ึนของ
สมาชกิ เครอื ข่ายไปใชต้ ลอดระยะท่ีดำเนินโครงการทกุ คร้ังท่ีมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้โดยสมาชิกทุกคน

3. ผูส้ อนหลักและสมาชกิ ในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจดั กิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปรายเพื่อ
แลกเปลี่ยนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเก่ียวกับความสำเร็จ จุดเด่นและจุดที่ต้องพัฒนาใน
การจัดการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

ปัญหา/อุปสรรคท่ีพบ
-

กิจกรรม/ขนั้ ตอน/งานที่ปฏิบตั ไิ ด้ดี
ร่วมศึกษาปัญหา แนวทางแก้ไขปญั หา หรอื กระบวนการทจี่ ะใชใ้ นการแก้ไขปญั หา ดังนี้

1. นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม กล่าวว่าแนวคิดและรูปแบบการเรียนของโรงเรียนในปัจจุบันเราควรจัดการ
เรียนรู้ผ่านกระบวนการ Problem-based Learning & Project-based Learning เน้นการสร้างสถานการณ์
และกระตุ้นให้เด็กอยากแก้ไขปญั หาจากสถานการณ์ทเี่ กิดข้ึนจริง เด็กจะเป็นผู้ค้นหาวิธีการในการแก้ไขปัญหา
ท่ีเกิดขึ้น ทำให้กล้าคิด กล้าตัดสินใจ กล้าที่จะเผชิญหน้ากับความผิดหวัง และเกิดความภูมิใจเมื่อแก้ไขปัญหา
ได้สำเร็จ ได้ผลดีมากสำหรับนักเรียนม.6 สังเกตุจากการที่นักเรียนจะมีสว่ นรว่ มกับครูที่จะช่วยกันตั้งเป้าหมาย
ในการเรียนรู้ และออกแบบวิธีการต่างๆ นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องนั้น ๆ ผ่านการทำตามเป้าหมาย เรียนรู้ความ
แตกต่างระหว่างตนเอง และผู้อ่ืน (Individual Differences) จากการ “แบ่งกลุ่มทำงาน” ซึ่งเป็น “ความจริง
ของสงั คม” ครั้งตอ่ ไปจะเรม่ิ เปลยี่ นกลมุ่ ใหม่ทุกเดอื น เพ่ือ “การจำลองของสังคม” นกั เรยี นต้องไดเ้ รยี นรคู้ วาม
แตกต่างของผคู้ น เรียนรู้ทจ่ี ะยอมรับความแตกต่าง รวมไปถึงการปฏิบัตติ นให้เหมาะสมกบั คนท่ีมีอายุมากกว่า

34

หรือน้อยกว่าตามมารยาทของสังคมไทย และสิ่งนี้จะส่งผลไปถึง Social Skill หรือทักษะการเข้าสังคมที่ดีใน
อนาคต
2. นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ กล่าวว่าตนเองรับผิดชอบหน้าท่ีสอนในระดับชั้นม. 1 และ ม.6 ครูให้
ความสำคัญกับสง่ิ ทีเ่ ด็กได้เรยี นรรู้ ะหว่างทางมากกว่าผลลัพธ์ปลายทาง ครูไม่สนใจว่าคำตอบท่ีมาจากเด็กๆ จะ
เป็นอย่างไร เราจะไม่สร้างวิธีคิด ตอบไม่ได้หรือตอบไม่ดีคือผิดให้กับเด็กๆ แต่เราจะสอนให้เค้าได้เรียน รู้ว่า
ระหว่างทางที่เค้าจะหาคำตอบน้ันมาเพื่อทำให้เป้าหมายตัวเองสำเร็จได้ เค้าได้เรียนรู้อะไรจากแต่ละ
กระบวนการบา้ ง จากการทดลองเหน็ วา่ ทง้ั นกั เรียนม.1 และ ม.6 มีพฤติกรรมการตอบสนองไมต่ า่ งกัน
3. ครูนางสาวรัศมี กุลสุวรรณ กล่าวว่า ตนเองเพ่มิ การใชก้ ารตั้งคำถามให้นักเรียนคดิ หาคำตอบหรือตอบปัญหา
ด้วยตนเอง โดยครูจะกระตุ้นให้นักเรียนนึกถึงเรื่องต่างๆ ท่ีเคยเรียนแล้ว คำถามของครูจะเป็นแนวทางให้
นักเรียนคิดค้นหาความรู้ นักเรยี น ม. 1 ร้อยละ 90 จะตอบโดยขาดการพิจารณาอย่างรอบคอบเพื่อหาคำตอบ
ท่ีถูกต้อง ครูเลยต้องกำหนดเวลาให้นักเรียนคิดก่อนตอบเพื่อเป็นการเสริมสร้างสติปัญญาให้รู้จักแสดงความ
คดิ เห็น อภิปรายแล้วสรุปความคิดเห็นลงในแนวเดียวกัน จะพบว่าวิธีสอนแบบน้ีเหมาะสำหรับนักเรียนที่ชอบ
ใช้ความคิดค้นคว้าหาความรู้ในส่ิงต่างๆ ทำให้สังเกตเห็นว่านักเรียนบางคนนั่งเพ่ือรอคำตอบจากเพ่ือนเท่าน้ัน
ครูต้องกระต้นุ และคอยสงั เกตกลมุ่ นักเรียนดงั กล่าวมากขนึ้
4. นายอรรถพล ภูทอง กล่าวว่า หลังจากท่ีครูได้ใช้การเสริมแรงเชิงบวกในห้องเรียนเพื่อการเปลี่ยนแปลง
พฤตกิ รรมนักเรยี น ครูใช้ตารางบันทึกการเสริมแรงเชิงบวก คือตารางที่ครูใช้บนั ทึกวิธกี ารหรือส่ิงท่ีใช้เสริมแรง
ทางบวกไปแล้ว รวมทั้งวิธีการหรือสิ่งที่ตั้งใจจะใช้เพ่ือเสริมแรงเชิงบวกแก่นักเรียนในอนาคตตามลำดับและ
พยายามใชก้ ารเสริมแรงเชงิ บวกอยา่ งต่อเนอ่ื งกับทกุ ๆ พฤตกิ รรมและทกุ สถานการณ์ทเี่ อ้ืออำนวย
5. นางสาวกาญจนา คงทน กล่าวว่า หลังจากท่ีนักเรียนช่วยกันกำหนดกติกาขึ้น เพ่ือให้การดำเนินการใน
ห้องเรียน เป็นไปด้วยความเรียบร้อยราบรืน่ เช่น การตรงต่อเวลาในการเข้าช้ันเรียน การส่งงาน การแต่งกาย
การใช้วาจา สุภาพ มารยาทในในห้องเรียน มารยาทในการใช้ห้อง มารยาทในการถาม-ตอบ เป็นต้น ในครั้ง
กอ่ นพบว่า ตัวครูจะมีบทบาทสำคญั ในการสร้างข้อตกลงรว่ มกันภายในหอ้ งเรยี นเพ่ือสนบั สนุนการมีส่วนร่วม
ของนักเรียนทุกคน ในการระมัดระวังพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสมของตนเอง ปรับใช้วิธีการเสริมแรงเชิงบวกเพื่อ
สนบั สนุน และแนะนำแนวทางให้นักเรียนแสดงพฤตกิ รรมที่เหมาะสม ทำการตดิ ตาม แลกเปล่ยี นความคดิ เห็น
รวมท้ังให้กำลังใจกับความพยายามของนักเรียน เพื่อให้เกิดการพัฒนาตนเองในท้ายท่ีสุดมีนักเรียนหลายคน
เขา้ เรียนเร็วข้นึ แตก่ ารส่งงานยงั ต้องตดิ ตามเปน็ รายบุคคลซึง่ มีประมาณรอ้ ยละ 30
ส่งิ ทตี่ อ้ งพัฒนาตอ่ ไป

1.สรา้ งปฏิสมั พนั ธ์ในห้องเรยี นในรายวิชาท่ตี นเองรบั ผดิ ชอบ
2.ตดิ ตามการพฒั นา
ผลการประเมินการแก้ปัญหา

 กระบวนการแก้ไขปัญหา ประสบความสำเรจ็
 กระบวนการแก้ไขปัญหา ไม่ประสบความสำเร็จ
เน่ืองจาก –
ข้อเสนอแนะผู้รายงานการบันทกึ กิจกรรม

....................................................นดั หมายครัง้ ตอ่ ไป วนั ที่ ..17..ธ.ค...64..................................

ลงช่ือ...............................................................ผู้รายงาน
(นางสาวอโนชา อทุ ุมสกลุ รัตน์)

35

ความคดิ เห็น / ข้อเสนอแนะ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
....................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................ ....................................

ลงช่อื ผ้รู ับรองกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ (Professional Learning Community
ลงชือ่ ...............................................................................
(นายสรุ ิยันต์ เหล่ามะลกึ )
ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม

ภาพการมีสว่ นรว่ ม

36

แบบบันทกึ กิจกรรม
ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ชอื่ กลุ่มกิจกรรม ครัง้ ที่ ...6................................................................
ภาคเรยี นท่.ี ...2.......ปีการศกึ ษา.....2564........
 วชิ าการ  บุคลากร วันเดือนปีท่จี ดั กิจกรรม....... 17..ธ.ค...64................
สถานท.่ี ....ประชมุ ออนไลน์ผา่ นโปรแกรม Meet....
 งบประมาณ  บริหารทวั่ ไป เวลา.......15.10-18.10.น...............................
จำนวน.................3.............................ช่ัวโมง
 กิจการนักเรยี น  พัฒนาผเู้ รยี น

 กิจกรรม Hybrid Learning ในการจัดการ

เรยี นรู้ เพ่ือพฒั นาทักษะการเรยี นรู้ของผเู้ รียนแบบ

ย่งั ยนื

ช่ือกิจกรรม
การพัฒนาการจดั การเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ Hybrid Learning

Community ผู้รว่ มอภิปราย

Model Teacher ผู้พบปญั หา นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รัตน์

Buddy Teacher ผู้ร่วมอภปิ ราย

1. นางสาวอโนชา อทุ มุ สกุลรัตน์ ประธานกรรมการ

2. นางสาวรศั มี กุลสุวรรณ กรรมการ

3. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

4. นายอรรถพล ภทู อง กรรมการ

5. นางสาวขวัญหล้า เกตุฉมิ กรรมการ/เลขานุการ

Mentor Coaching ผนู้ ำอภิปราย นายสุริยันต์ เหลา่ มะลกึ

Recording ผู้บันทึกข้อมลู นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รัตน์

37

แบบบันทึกกจิ กรรม
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานครเขต 1

ประเด็นปัญหาท่ีพบ

สถานการณ์โรคระบาด COVID-19 ทำให้สถาบันการศึกษาทั่วโลกต้องหยุดการเรียนการสอนในห้องเรียน
ทำให้การจัดการเรียนการสอนดำเนินต่อได้ ดังประโยคท่ีว่าสถานศึกษาหยุดได้แต่การเรียนรหู้ ยดุ ไม่ได้ การจัดการ
เรียนรู้เชงิ รุกในรูปแบบออนไลน์เป็นสงิ่ ที่ทำให้การเรยี นรดู้ ำเนนิ ตอ่ ไปได้ ซึง่ ต้องมปี ัจจยั ดังน้ี สถานศึกษาต้องเตรียม
แพลต็ ฟอรม์ รองรับ ผ้สู อนตอ้ งปรับเปลย่ี นวิธีการสอน และผ้เู รยี นต้องปรับเปลี่ยนวธิ กี ารเรียน เปน็ ต้น

ในสภาพปัจจุบันนั้น การเห็นคุณค่าในตนเองเป็นส่วนหน่ึงที่เป็นแรงผลักดันจิตใจให้บุคคลมุ่งสู่การเรียน
และปฏบิ ัติหน้าทอ่ี ย่างมีประสทิ ธิภาพ แตก่ ารเห็นคุณค่าในตนเองก็สามารถเปลยี่ นแปลงได้ตลอดเวลา เกิดจากการ
สะท้อนความรู้สึกที่เปราะบางทางอารมณ์จากเหตุการณ์ท่ีตัวเองเก่ยี วข้องและได้รับรู้ เช่นการโดนตำหนิต่อวา่ หรือ
การได้รับคำชมเชย เพราะการเรียนของนักเรียนในสถานการณ์ โควิด 19 สามารถก่อให้เกิดความเครียดได้ง่าย จึง
ต้องใช้ความอดทนอย่างสูง หากไม่ดูแลรักษาสภาพร่างกายและสภาพจิตใจให้ดีก็ไม่สามารถมีกำลังกายกำลังใจใน
การเรียนและการปฏิบัติหน้าท่ี ซงึ่ เชอ่ื มโยงกบั แรงจูงใจที่เป็นส่ิงสำคัญในการเรียนใหป้ ระสบความสำเร็จเพราะเมื่อ
บุคคลมแี รงจูงใจบุคคลจะต้ังเป้าหมายและพยายามสรา้ งโอกาส เพือ่ ม่งุ ไปสู่การบรรลุเปา้ หมายใหส้ ำเรจ็

การเห็นคุณค่าในตนเองมีลักษณะสำคัญท่ีเช่ือมต่อกัน หากทราบระดับการเห็นคุณค่าในตนเองและระดับ
แรงจูงใจท่ีจะเรียนจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อนักเรียนและโรงเรียนเพ่ือการพัฒนาศักยภาพและมุ่งสู่เป้าหมายด้วย
ความสำเรจ็ ตอ่ ไปในอนาคต

ผู้ค้นพบปัญหาพบว่าเช่ือวา่ การเห็นคุณค่าในตัวเองเป็นส่ิงที่ฝึกฝนให้เกิดข้ึนได้ ท้ังนี้มีงานวิจัยท่ีสะท้อนว่า
แนวทางในการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเอง โดยการสร้างบรรยากาศในห้องเรียนหรือความม่ันคงปลอดภัยให้
เกิดแก่ผู้เรียนไว้คือจะต้องใหค้ วามคาดหวังในตวั ผู้เรียนในระดับสูงและช่วยเหลือให้ผู้เรียนได้รบั สัมฤทธิ์ผลทางการ
เรียน ใหข้ ้อมูลย้อนกลบั ทางบวกแก่ผู้เรียนทกุ คน พยายามให้คำอธิบายที่เกย่ี วกบั เหตุผลหรือวัตถุประสงค์ในการตั้ง
เกณฑ์มอบหมายงานและกระทำกิจกรรมทางการเรยี น ผสู้ อนจะต้องเรียนรู้ลักษณะพิเศษของผู้เรียนแต่ละคน และ
ใหค้ วามเอาใจใส่ในลักษณะพเิ ศษนั้นๆ เหน็ คุณคา่ ในความพยายามของผเู้ รียนเท่าเทียมกบั สัมฤทธิผ์ ลของผู้เรียนทุก
คนช่วยให้ผู้เรียนรู้จักการยอมรับความผิดพลาดและการประสบความสำเร็จ โดยการให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ด้วย
ตนเองจากประสบการณ์ในความผิดพลาดและประสบความสำเร็จของผู้เรียนเอง ให้การยอมรับคุณค่าท่ีมีอยู่ในตัว
ของผู้เรียน มองผู้เรียนว่าเป็นมนุษย์ท่ีมีค่า แม้ว่าจะมีพฤติกรรมอย่างท่ีครูไม่เห็นด้วย ต้องแสดงความยินดีและช่ืน
ชมในความสามารถและประสบความสำเร็จของผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการประเมินพฤติกรรมของตนเองตาม
วตั ถุประสงค์ทต่ี ้ังไว้และบอกระดับความสำเร็จของตนเองได้สร้างบรรยากาศทอี่ บอุ่นและปลอดภัย เมื่อมีการแสดง
ความคิดเห็นที่แตกต่างกันเกิดขึ้นเป็นต้น (แรฟฟีนี อ้างถึงใน ก่ิงเพชร ส่งเสริม, 2544 : 12-13) ประสิทธิภาพต
อไป
สาเหตุของปัญหา

การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hybrid Learning จะบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ได้นั้นผู้เรียนจำเป็นที่
จะต้องใชก้ ารกำกับตนเองค่อนขา้ งสูง เช่น การศึกษาเนื้อหาและเตรียมตัวก่อนเข้าช้ันเรียน การมีระเบียบวินัย เข้า
ช้ันเรยี นตรงเวลา สง่ งานตรง เวลา รู้จักการทำงานเปน็ ทีม การแสดงความคิดเห็น และการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ การ
มีทกั ษะดา้ นเทคโนโลยีและทักษะด้านภาษาอังกฤษเพ่มิ ขึน้ เปน็ ต้น การที่ผู้เรียนจะการกำกับตนเองได้ดีน้ัน

38

ปัจจยั ทีเ่ กี่ยวข้องสมั พันธก์ ันคือ ผู้เรียนจะต้องมีการเห็นคุณคา่ ในตัวเอง มแี นวคิดและวิธกี ารดำเนินชีวิตที่สอดคลอ้ ง
เหมาะสม รักตัวเองเป็น กล้าที่จะเผชิญหน้ากับความท้าทายใหม่ๆ ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล รับฟัง
ความคิดเห็นของผู้อื่น มีความสามารถในการปรับตัวได้ดี รวมทั้ง มองโลกในแงด่ ีและมีเหตุผล ส่วนผู้ที่มีความรู้สึก
เห็นคุณค่าในตัวเองต่ำจะมีทัศนคติเชงิ ลบต่อตนเองและผ้อู ่นื ขาดความมั่นใจ กลัวความผิดพลาด รู้สกึ ว่าตัวเองไม่ดี
เป็นภาระต่อผ้อู ืน่ ไรค้ า่ ไมเ่ ป็นทีร่ ัก และมีพฤตกิ รรมชอบเปรียบเทยี บตวั เองกบั ผูอ้ น่ื เป็นตน้
ความรู้และหลักการทนี่ ำมาใช้

การเรียนรู้ตลอดชีวิตตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 นั่นคือ การเรียนรู้ตลอดชีวิตว่า
หมายถึง การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศยั เพ่ือใหส้ ามารถพฒั นาคณุ ภาพชีวิตไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดชวี ติ

การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) การ
จัดการเรียนรูต้ ลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) คือ การรับรู้ความรู้
ทกั ษะ และเจตคติ ของบุคคลจากการเรียนรูด้ ้วยวธิ ีเรียนแบบตา่ งๆ และสามารรถทำให้บคุ คลนั้นเกดิ การพัฒนา
ตนเองได้

การจัดบรรยากาศทางดา้ นจติ วิทยาหรอื ทางด้านจิตใจ จะช่วยสร้างความร้สู ึกให้นกั เรียนเกิดความสบายใจ
ในการเรียน ปราศจากความกลัวและวิตกกังวล มีบรรยากาศของการสร้างสรรค์เร้าความสนใจ ให้นักเรียนร่วม
กิจกรรมการเรียนการสอนด้วยความสุข นกั เรียนจะเกดิ ความรู้เชน่ น้ี ขึ้นอยกู่ บั ครู เป็นสำคญั ในขอ้ เหลา่ น้ี

1.บุคลิกภาพ 2.พฤติกรรมการสอน 3.เทคนิคการปกครองช้ันเรยี น 4.ปฏิสัมพันธ์ในห้องเรยี น แต่
ละขอ้ มรี ายละเอยี ดดงั น้ี

1.บคุ ลิกภาพของครู
สภาพบรรยากาศของห้องเรียนมีส่วนสัมพันธ์กับบุคลิกภาพของครู ครูที่มีบุคลิกภาพดี เช่น การแต่งกาย
การยืน การเดิน ท่าทาง น้ำเสียง การใช้คำพูด การแสดงออกทางสีหน้า แววตา ฯลฯ เหมาะสมกับการเป็นครู จะ
ช่วยสง่ เสริมบรรยากาศการเรยี นรู้ได้ดี
2.พฤติกรรมการสอนของครู
พฤติกรรมการสอนของครูมีบทบาทในการสร้างความรู้สึกท่ีดีใหแ้ ก่นักเรียน เช่นเดยี วกบั บคุ ลิกภาพของครู
ในการสอนครูต้องใช้เทคนิคและทักษะการสอนท่ีสอดคล้องเหมาะสมกับนักเรียนและบทเรียน เพื่อให้นักเรียนเกิด
ความรู้ เจตคติ และทักษะตามทห่ี ลักสตู รกำหนด พฤตกิ รรมของครูควรเปน็ ดงั นี้
2.1 ตอบสนองพฤติกรรมของนักเรียนโดยใช้เทคนิคการเสริมแรงที่เหมาะสม เช่น ใช้วาจา ใช้ท่าทาง ให้
รางวลั และสญั ลกั ษณ์ตา่ ง ๆ ตลอดจนให้ทำกิจกรรมทน่ี กั เรยี นชอบ ครูควรเรมิ แรงให้ทัว่ ถงึ และเหมาะสม

2.2 เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น และยอมรบั ฟังความคิดเห็นของนักเรยี น แสดงให้นักเรียน
เห็นวา่ ความคดิ ของเขามปี ระโยชน์ พยายามนำความคดิ เหล่านัน้ มาใช้ให้เกดิ ประโยชน์ในการเรียนรู้

2.3 ฝึกการทำงานเปน็ กลุ่ม การให้ทำงานเปน็ กลมุ่ จะช่วยใหน้ ักเรยี นร้จู กั ทำงานรว่ มกับผู้อืน่ ได้ใชค้ วามรู้
ความคิดความสามารถที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ ฝึกการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ท่ีดีและได้ผลงานนำมาสู่ความภาคภูมิใจ
ในกลุ่มและตนเอง ในการมอบหมายงานให้กลุ่มทำนั้น ครูควรคำนึงถึงความยากง่ายของงาน ความรู้และ
ความสามารถของนักเรียนในกลุ่ม เพื่อให้งานกลุ่มประสบความสำเร็จ เป็นการสร้างความรู้สึกทางบวกให้แก่
นกั เรยี น งานใดที่ครูเห็นว่ายาก ครูควรเข้าไปดูแลกระตุ้นให้นักเรียนช่วยกันคิดแก้ปัญหาในกลุ่มของตน ครูจะต้อง
มคี วามอดทนทีจ่ ะไมร่ บี ชี้แนะ หรอื บอกวธิ กี ารแกป้ ัญหาตรง ๆ ต้องฝกึ ใหน้ ักเรยี นใช้วิธีการต่าง ๆ หลาย ๆ แบบจน
สามารถแก้ปัญหาได้สำเร็จ

39

2.4 ใช้เทคนิคและวิธีสอนท่ีไม่ทำให้นักเรียนเบ่ือหน่ายในการเรียน ครูควรคิดค้นคว้าและแสวงหา
แนวทางวิธีการใหม่ ๆ มาใช้จัดการเรยี นการสอน วิธีการสอนควรเป็นวิธีที่ยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง หรือนักเรยี น
เป็นผู้กระทำกิจกรรม เช่น วิธีการสอนแบบทดลอง แบบแก้ปัญหา แบบแสดงบทบาทสมมุติ แบบสืบสวนสอบสวน
แบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม แบบอภิปราย แบบศูนย์การเรียน ตลอดจนนวัตกรรมการสอนที่น่าสนใจ การจะใช้วิธี
สอนแบบใดน้นั ครตู ้องเลอื กให้เหมาะสมกบั บทเรียน ระยะเวลา สตปิ ญั ญา และวยั ของนักเรียน

กิจกรรมทท่ี ำ/ปฏิบัติ
กจิ กรรม Share ครูแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการจดั การเรยี นรู้ซ่ึงกนั และกัน
-มีสือ่ นวตั กรรม (เทคนิคการสอน/วธิ กี ารสอน/รูปแบบการสอน)
กจิ กรรม Learn ครเู รียนรูป้ ระสบการณ์ในการจัดการเรยี นรรู้ ว่ มกัน
-พจิ ารณา ส่ือ นวัตกรรม ท่ีมคี วามสอดคลอ้ งกับการแกป้ ัญหา
กจิ กรรม Grow ทมี ครู PLC มแี นวทางท่ดี ีในการแกป้ ญั หาคุณภาพผ้เู รียนรว่ มกนั
-เลอื ก ส่ือ นวตั กรรม ท่ีมีความสอดคลอ้ งกบั การแก้ปญั หา

ผลท่ไี ด้รบั จากกจิ กรรม
1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (รูปแบบกิจกรรมและกระบวนการเรียนการสอนที่ส่งเสริมผู้เรียนให้

เห็นคณุ คา่ ในตนเอง)
2. ได้แนวทางทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน โดยใช้แนวทางการเพิ่มประสบการณ์ที่ประสบ

ความสำเร็จให้กับวัยรุน่ การใช้ตัวแบบ การใช้คำพูดชักจูงและการกระตุ้นทางอารมณ์ จึงสามารถนำมาใช้เป็นแนว
ทางการพฒั นาการเหน็ คุณค่าในตนเองของผเู้ รียนได้

การนำผลท่ไี ดไ้ ปใช้
1. มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ท่ีเกิดข้ึนจากการแลกเปลย่ี นเรียนรขู้ องสมาชิก

เครือข่าย ที่เป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รูปธรรม (สมาชิกเครอื ขา่ ยมกี ารนำไปใช้ได้อย่างชัดเจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่ีน่าสนใจ ที่เกิดข้ึนของ
สมาชกิ เครอื ขา่ ยไปใชต้ ลอดระยะที่ดำเนินโครงการทกุ คร้ังที่มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยสมาชิกทกุ คน

3. ผ้สู อนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบตั ิการจดั กิจกรรมการเรียนรมู้ าอภิปรายเพื่อ
แลกเปลี่ยนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเก่ียวกับความสำเร็จ จุดเด่นและจุดท่ีต้องพัฒนาใน
การจดั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

ปัญหา/อุปสรรคทพ่ี บ
-

กิจกรรม/ข้ันตอน/งานทป่ี ฏิบตั ิได้ดี
รว่ มศึกษาปัญหา แนวทางแก้ไขปญั หา หรอื กระบวนการทจ่ี ะใชใ้ นการแก้ไขปัญหา ดังนี้

1. นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม ได้นำคลิปวีดีโอ เร่ือง “หลักสูตรฝึกอบรม จิตวิทยาการพัฒนาศักยภาพใน
ตนเอง”( https://shorturl.asia/f14ov) ให้เพื่อนสมาชิกดแู ลว้ ร่วมกันสรปุ

40

2. นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ สรุปว่า ในทุกองค์กรผู้บริหารมักมีความคาดหวังที่จะพัฒนาบุคลากรให้มี
แนวคิดมุ่งไปข้างหน้า และมีทักษะท่ีเป็นมืออาชีพ เพื่อนำศักยภาพเหล่าน้ีมาพัฒนาตนเองและองค์กรให้
สามารถก้าวผ่าน ความท้าทายและเติบโตได้อย่างมั่นคง จากหลักการแนวคิดจิตวิทยาการรู้คิดและพฤติกรรม
(Cognitive - Behavior) ธรรมชาติ และการดำรงอยู่ของมนุษย์ ( Acceptance and Commitment &
Humanistic) การที่บุคคลคนหน่ึงจะพัฒนาแนวคิดหรือมีความมุ่งมั่นท่ีจะฝึกฝนทักษะของตนเองให้ก้าวหน้า
ยิ่งข้ึนอาจไมไ่ ดม้ าจากความคาดหวังหรอื ความปรารถนาขององค์กรแตเ่ พียงอยา่ งเดียวเท่านัน้

3. ครนู างสาวรศั มี กลุ สวุ รรณ กล่าวว่า การที่บุคคลคนหนึ่งจะพฒั นาแนวคดิ หรอื มคี วามมุง่ มน่ั ท่จี ะฝึกฝนทักษะ
ของตนเองให้กา้ วหน้าข้ึนอยูก่ ับความสามารถในการนำตนเองไปสู่การตระหนักรู้ (Self- Awareness) การเท่า
ทนั ความคดิ ความเช่ือ การยอมรับและความรบั ผิดชอบท่จี ะส่งผลต่อการกระทำ ในการการเรียนรู้ การทำงาน
แบบก้าวหน้า การพัฒนาตนเอง (Self-Development) การกำกับตนเอง (Self-Regulation) การสร้างแรง
บันดาลใจ (Self-Inspiration) การจูงใจตนเอง (Self-Motivation) ให้ไปสู่ความสำเร็จ และการดำเนินชีวิต
อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

4. นายอรรถพล ภูทอง สรุปว่า หลักการสร้างศักยภาพในตนเอง สำหรับการพัฒนาตนเอง โดยการกำจัดจุดอ่อน
และเสรมิ จดุ แข็งนั้น ผมขอแนะนำขัน้ ตอนในการพฒั นาดงั น้ี
1. สำรวจค้นหาจดุ อ่อนและจุดเดน่
2. จัดลำดับความสำคญั
3. ลงมอื กำจัดจดุ ออ่ นและพฒั นาจุดเด่น
4. ประเมินผลและแก้ไขปรับปรงุ
“ปจั จัยสคู่ วามสำเรจ็ ท่ีย่งิ ใหญ่ เร่มิ ตน้ ที่การชนะใจตนเอง”

5. นางสาวกาญจนา คงทน สรุปว่า แนวคิดการใช้จิตวิทยาเชิงบวกเพื่อเป็นแนวทางใหม่ในการพัฒนาทักษะของ
ผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 และนำเสนอ CPAEM Model ใน 5 ขั้นตอน ดังน้ี ขั้นตอนท่ี 1 เป็นการวิเคราะห์
สภาพชั้นเรียนและจุดมุ่งหมายการพัฒนาผู้เรียน (Contextual Analysis : C) ข้ันตอนที่ 2 การเตรียมผู้เรียน
ให้พร้อมสู่การพัฒนา (Preparation : P) ขั้นตอนที่ 3 การปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอน (Action : A)
ข้ันตอนที่ 4 การประเมินผลและการให้ข้อมูลย้อนกลับ (Evaluation and Feedback) และข้ันตอนที่ 5 การ
กำกับติดตามผลและการพัฒนา (Monitoring) เพ่ือเป็นการนำเสนอมโนทัศน์ใหม่ที่สามารถนำไปสู่การปฏิบัติ
ไดอ้ ย่างเปน็ ขัน้ ตอนตามหลักวิชาการ โดยเน้นที่การมีส่วนร่วมปฏิสมั พันธ์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในระดับชั้น
เรยี น และสามารถนำมาเป็นแนวทางในการจดั กิจกรรมสรา้ งสรรค์การเรียนรู้ให้เกิดประสิทธผิ ลอยา่ งยั่งยนื

6. นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม กล่าวเพ่ิมเติมว่า ความสุข เป็นคำท่ีเป็นนามธรรม ซึ่งยากที่จะอธิบายออกมาเป็น
รปู ธรรมที่ชัดเจน แต่เป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถนา ดังนั้นการท่ีเข้าใจเก่ียวกับแนวคิด หลักการการเทคนิคของการ
สร้างความสุข ตลอดจนสามารถนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันจะทำให้บุคคลสามารถที่จะเข้าถึงคำวา่ ความสุข
อย่างแท้จริง ซึ่งหลักการหรือเทคนิคการสรา้ งความสุขด้วยตนเองด้วยจติ วิทยาเชิงบวกโดยส่วนใหญ่จะมงุ่ เน้น

41

และให้ความสำคัญท่ีความคิดของบุคคล การท่ีบุคคลรู้จักปรับความคิดมีทัศนคติและมุมมองที่ดี เน้นการมอง
ในแง่บวก พฒั นาท่ีตัวบคุ คล จะทำใหบ้ คุ คลเหลา่ นนั้ เขา้ ถงึ ความสุขได้อยา่ งแนน่ อน
ส่ิงทตี่ อ้ งพฒั นาตอ่ ไป

1.สร้างปฏิสัมพนั ธใ์ นหอ้ งเรียนในรายวิชาทต่ี นเองรับผดิ ชอบ
2.ติดตามการพฒั นา
ผลการประเมินการแก้ปญั หา
 กระบวนการแก้ไขปญั หา ประสบความสำเร็จ
 กระบวนการแกไ้ ขปญั หา ไมป่ ระสบความสำเรจ็
เนื่องจาก –
ขอ้ เสนอแนะผรู้ ายงานการบนั ทกึ กิจกรรม
....................................................นดั หมายครัง้ ตอ่ ไป วันที่ ..24..ธ.ค...64..................................

ลงช่ือ...............................................................ผูร้ ายงาน
(นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรตั น์)

ความคดิ เห็น / ข้อเสนอแนะ ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ผูร้ ับรองกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ (Professional Learning Community

ลงช่ือ...............................................................................
(นายสรุ ยิ นั ต์ เหลา่ มะลกึ )

ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม

ภาพการมีสว่ นร่วม

42

แบบบันทกึ กิจกรรม
ชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานครเขต 1

ชอื่ กลุ่มกิจกรรม คร้ังที่ ...7................................................................
ภาคเรยี นที.่ ...2.......ปีการศกึ ษา.....2564........
 วิชาการ  บคุ ลากร วนั เดือนปที จ่ี ัดกจิ กรรม....... 24..ธ.ค...64................
สถานท.่ี ....ประชุมออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet....
 งบประมาณ  บริหารท่ัวไป เวลา.......15.10-17.10.น...............................
จำนวน.................2.............................ชว่ั โมง
 กจิ การนกั เรยี น  พัฒนาผู้เรียน

 กิจกรรม Hybrid Learning ในการจดั การ

เรยี นรู้ เพอ่ื พัฒนาทักษะการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนแบบ

ยัง่ ยืน

ชอื่ กจิ กรรม
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบ Hybrid Learning

Community ผู้ร่วมอภิปราย

Model Teacher ผู้พบปัญหา นางสาวอโนชา อทุ ุมสกลุ รัตน์

Buddy Teacher ผรู้ ่วมอภิปราย

1. นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรตั น์ ประธานกรรมการ

2. นางสาวรัศมี กุลสวุ รรณ กรรมการ

3. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

4. นายอรรถพล ภูทอง กรรมการ

5. นางสาวขวญั หลา้ เกตฉุ ิม กรรมการ/เลขานุการ

Mentor Coaching ผนู้ ำอภิปราย นายสุรยิ นั ต์ เหล่ามะลึก

Recording ผู้บันทึกข้อมูล นางสาวอโนชา อทุ มุ สกลุ รัตน์

43

แบบบันทึกกิจกรรม
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานครเขต 1

ประเด็นปญั หาท่ีพบ

สถานการณ์โรคระบาด COVID-19 ทำให้สถาบันการศึกษาทั่วโลกต้องหยุดการเรียนการสอนในห้องเรียน
ทำให้การจัดการเรียนการสอนดำเนินต่อได้ ดังประโยคท่ีว่าสถานศึกษาหยุดได้แต่การเรียนร้หู ยดุ ไม่ได้ การจัดการ
เรยี นรู้เชิงรกุ ในรูปแบบออนไลน์เป็นสง่ิ ที่ทำใหก้ ารเรยี นรดู้ ำเนนิ ตอ่ ไปได้ ซงึ่ ต้องมีปัจจัยดังนี้ สถานศึกษาต้องเตรยี ม
แพล็ตฟอรม์ รองรบั ผูส้ อนตอ้ งปรับเปลย่ี นวิธีการสอน และผเู้ รียนตอ้ งปรับเปลย่ี นวิธกี ารเรยี น เป็นตน้

ในสภาพปัจจุบันน้ัน การเห็นคุณค่าในตนเองเป็นส่วนหนึ่งที่เป็นแรงผลักดันจิตใจให้บุคคลมุ่งสู่การเรียน
และปฏิบัติหน้าท่ีอย่างมีประสิทธิภาพ แต่การเห็นคุณค่าในตนเองก็สามารถเปล่ยี นแปลงได้ตลอดเวลา เกิดจากการ
สะท้อนความรู้สึกที่เปราะบางทางอารมณ์จากเหตุการณ์ท่ีตัวเองเกย่ี วข้องและได้รับรู้ เช่นการโดนตำหนิต่อวา่ หรือ
การได้รับคำชมเชย เพราะการเรียนของนักเรียนในสถานการณ์ โควดิ 19 สามารถก่อให้เกิดความเครียดได้ง่าย จึง
ต้องใช้ความอดทนอย่างสูง หากไม่ดูแลรักษาสภาพร่างกายและสภาพจิตใจให้ดีก็ไม่สามารถมีกำลังกายกำลังใจใน
การเรียนและการปฏิบัติหนา้ ที่ ซง่ึ เช่ือมโยงกบั แรงจูงใจท่ีเป็นสิ่งสำคัญในการเรยี นให้ประสบความสำเร็จเพราะเมื่อ
บุคคลมีแรงจงู ใจบุคคลจะต้งั เป้าหมายและพยายามสรา้ งโอกาส เพือ่ ม่งุ ไปสกู่ ารบรรลุเปา้ หมายใหส้ ำเรจ็

การเห็นคุณค่าในตนเองมีลักษณะสำคัญที่เชื่อมต่อกัน หากทราบระดับการเห็นคุณค่าในตนเองและระดับ
แรงจูงใจที่จะเรียนจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อนักเรียนและโรงเรียนเพื่อการพัฒนาศักยภาพและมุ่งสู่เป้าหมายด้วย
ความสำเร็จตอ่ ไปในอนาคต

ผคู้ ้นพบปัญหาพบว่าเชื่อวา่ การเห็นคุณค่าในตัวเองเป็นสิ่งที่ฝึกฝนให้เกิดข้ึนได้ ท้ังน้ีมีงานวิจัยท่ีสะท้อนว่า
แนวทางในการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเอง โดยการสร้างบรรยากาศในห้องเรียนหรือความมั่นคงปลอดภัยให้
เกิดแก่ผู้เรียนไวค้ ือจะต้องให้ความคาดหวังในตัวผู้เรียนในระดับสูงและช่วยเหลือให้ผู้เรียนได้รบั สัมฤทธ์ิผลทางการ
เรยี น ใหข้ อ้ มูลย้อนกลบั ทางบวกแกผ่ ู้เรยี นทุกคน พยายามให้คำอธิบายที่เกีย่ วกบั เหตุผลหรอื วัตถุประสงค์ในการตั้ง
เกณฑ์มอบหมายงานและกระทำกจิ กรรมทางการเรยี น ผู้สอนจะต้องเรียนรลู้ ักษณะพิเศษของผเู้ รียนแต่ละคน และ
ให้ความเอาใจใส่ในลักษณะพิเศษน้ันๆ เหน็ คุณคา่ ในความพยายามของผ้เู รียนเท่าเทียมกับสมั ฤทธิผ์ ลของผ้เู รียนทุก
คนช่วยให้ผู้เรียนรู้จักการยอมรับความผิดพลาดและการประสบความสำเร็จ โดยการให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ด้วย
ตนเองจากประสบการณ์ในความผิดพลาดและประสบความสำเร็จของผู้เรียนเอง ให้การยอมรับคุณค่าท่ีมีอยู่ในตัว
ของผู้เรียน มองผู้เรียนว่าเป็นมนุษย์ท่ีมีค่า แม้ว่าจะมีพฤติกรรมอย่างที่ครูไม่เห็นด้วย ต้องแสดงความยินดีและช่ืน
ชมในความสามารถและประสบความสำเร็จของผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการประเมินพฤติกรรมของตนเองตาม
วัตถุประสงค์ทต่ี ้ังไวแ้ ละบอกระดับความสำเร็จของตนเองได้สร้างบรรยากาศท่อี บอ่นุ และปลอดภัย เม่ือมีการแสดง
ความคิดเห็นท่ีแตกต่างกันเกิดข้ึนเป็นต้น (แรฟฟีนี อ้างถึงใน กิ่งเพชร ส่งเสริม, 2544 : 12-13) ประสิทธิภาพต
อไป
สาเหตุของปัญหา

การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hybrid Learning จะบรรลเุ ปา้ หมายการเรียนรู้ได้น้ันผู้เรียนจำเป็นที่
จะตอ้ งใชก้ ารกำกับตนเองค่อนข้างสูง เช่น การศึกษาเน้ือหาและเตรียมตัวก่อนเข้าช้ันเรยี น การมรี ะเบยี บวินัย เข้า
ชน้ั เรยี นตรงเวลา สง่ งานตรง เวลา รู้จักการทำงานเป็นทีม การแสดงความคิดเห็น และการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ การ
มที ักษะด้านเทคโนโลยีและทกั ษะดา้ นภาษาอังกฤษเพิ่มข้ึน เปน็ ตน้ การท่ีผู้เรียนจะการกำกับตนเองได้ดีน้ัน

44

ปัจจัยทีเ่ กี่ยวข้องสมั พันธก์ ันคือ ผู้เรยี นจะตอ้ งมกี ารเห็นคุณค่าในตัวเอง มแี นวคิดและวิธีการดำเนินชีวติ ที่สอดคลอ้ ง
เหมาะสม รักตัวเองเป็น กล้าที่จะเผชิญหน้ากับความท้าทายใหม่ๆ ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล รับฟัง
ความคิดเห็นของผู้อื่น มีความสามารถในการปรับตัวได้ดี รวมท้ัง มองโลกในแงด่ ีและมีเหตุผล ส่วนผู้ที่มีความรูส้ ึก
เห็นคุณค่าในตัวเองตำ่ จะมีทัศนคติเชงิ ลบต่อตนเองและผู้อนื่ ขาดความม่ันใจ กลัวความผิดพลาด รู้สกึ ว่าตวั เองไมด่ ี
เปน็ ภาระต่อผ้อู ่ืน ไรค้ า่ ไมเ่ ปน็ ทร่ี ัก และมีพฤตกิ รรมชอบเปรยี บเทียบตวั เองกบั ผ้อู ่ืน เป็นตน้
ความรู้และหลักการทนี่ ำมาใช้

การเรียนรู้ตลอดชีวิตตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 น่ันคือ การเรียนรู้ตลอดชีวิตว่า
หมายถึง การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศยั เพ่ือใหส้ ามารถพฒั นาคุณภาพชวี ิตไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดชีวิต

การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) การ
จัดการเรียนรูต้ ลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) คือ การรบั รู้ความรู้
ทกั ษะ และเจตคติ ของบุคคลจากการเรียนรู้ด้วยวธิ ีเรียนแบบตา่ งๆ และสามารรถทำให้บุคคลนั้นเกิดการพัฒนา
ตนเองได้

การจัดบรรยากาศทางด้านจติ วิทยาหรือทางด้านจิตใจ จะช่วยสร้างความร้สู ึกให้นกั เรียนเกิดความสบายใจ
ในการเรียน ปราศจากความกลัวและวิตกกังวล มีบรรยากาศของการสร้างสรรค์เร้าความสนใจ ให้นักเรียนร่วม
กิจกรรมการเรียนการสอนดว้ ยความสขุ นักเรยี นจะเกดิ ความรูเ้ ชน่ น้ี ขึ้นอยกู่ ับครู เปน็ สำคัญ ในข้อเหลา่ น้ี

1.บุคลิกภาพ 2.พฤติกรรมการสอน 3.เทคนิคการปกครองชั้นเรยี น 4.ปฏิสัมพันธ์ในห้องเรยี น แต่
ละขอ้ มรี ายละเอียดดงั น้ี

1.บคุ ลิกภาพของครู
สภาพบรรยากาศของห้องเรียนมีส่วนสัมพันธ์กับบุคลิกภาพของครู ครูท่ีมีบุคลิกภาพดี เช่น การแต่งกาย
การยืน การเดิน ท่าทาง น้ำเสียง การใช้คำพูด การแสดงออกทางสีหน้า แววตา ฯลฯ เหมาะสมกับการเป็นครู จะ
ช่วยสง่ เสรมิ บรรยากาศการเรยี นรู้ได้ดี
2.พฤตกิ รรมการสอนของครู
พฤตกิ รรมการสอนของครูมีบทบาทในการสร้างความรสู้ ึกท่ีดใี หแ้ ก่นักเรียน เช่นเดียวกับบคุ ลิกภาพของครู
ในการสอนครูต้องใช้เทคนิคและทักษะการสอนท่ีสอดคล้องเหมาะสมกบั นักเรียนและบทเรียน เพื่อให้นักเรียนเกิด
ความรู้ เจตคติ และทักษะตามทีห่ ลักสูตรกำหนด พฤตกิ รรมของครูควรเปน็ ดงั นี้
2.1 ตอบสนองพฤติกรรมของนักเรียนโดยใช้เทคนิคการเสริมแรงท่ีเหมาะสม เช่น ใช้วาจา ใช้ท่าทาง ให้
รางวัล และสัญลกั ษณ์ตา่ ง ๆ ตลอดจนให้ทำกจิ กรรมทนี่ กั เรียนชอบ ครูควรเริมแรงใหท้ ว่ั ถึงและเหมาะสม

2.2 เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น และยอมรบั ฟังความคิดเห็นของนักเรียน แสดงให้นักเรียน
เห็นวา่ ความคดิ ของเขามีประโยชน์ พยายามนำความคิดเหลา่ น้ันมาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ในการเรยี นรู้

2.3 ฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม การให้ทำงานเปน็ กลุ่มจะช่วยใหน้ ักเรยี นรูจ้ ักทำงานรว่ มกับผู้อน่ื ได้ใชค้ วามรู้
ความคิดความสามารถที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ ฝึกการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ท่ีดีและได้ผลงานนำมาสู่ความภาคภูมิใจ
ในกลุ่มและตนเอง ในการมอบหมายงานให้กลุ่มทำนั้น ครูควรคำนึงถึงความยากง่ายของงาน ควา มรู้และ
ความสามารถของนักเรียนในกลุ่ม เพื่อให้งานกลุ่มประสบความสำเร็จ เป็นการสร้างความรู้สึกทางบวกให้แก่
นกั เรยี น งานใดท่ีครูเห็นว่ายาก ครูควรเข้าไปดูแลกระตุ้นให้นักเรียนช่วยกันคิดแก้ปัญหาในกลุ่มของตน ครูจะต้อง
มคี วามอดทนทีจ่ ะไมร่ บี ชี้แนะ หรือบอกวธิ ีการแกป้ ัญหาตรง ๆ ต้องฝึกใหน้ กั เรียนใชว้ ิธีการต่าง ๆ หลาย ๆ แบบจน
สามารถแก้ปัญหาได้สำเร็จ

45

2.4 ใช้เทคนิคและวิธีสอนท่ีไม่ทำให้นักเรียนเบ่ือหน่ายในการเรียน ครูควรคิดค้นคว้าและแสวงหา
แนวทางวิธีการใหม่ ๆ มาใช้จัดการเรียนการสอน วิธีการสอนควรเป็นวิธีท่ียึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง หรือนักเรยี น
เปน็ ผู้กระทำกิจกรรม เช่น วิธีการสอนแบบทดลอง แบบแก้ปัญหา แบบแสดงบทบาทสมมตุ ิ แบบสบื สวนสอบสวน
แบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม แบบอภิปราย แบบศูนย์การเรียน ตลอดจนนวัตกรรมการสอนท่ีน่าสนใจ การจะใช้วิธี
สอนแบบใดนน้ั ครูตอ้ งเลือกใหเ้ หมาะสมกับบทเรยี น ระยะเวลา สติปญั ญา และวยั ของนกั เรยี น

กิจกรรมทท่ี ำ/ปฏบิ ตั ิ
กจิ กรรม Share ครูแลกเปล่ยี นประสบการณ์ในการจัดการเรยี นรู้ซ่ึงกันและกัน
-มสี อ่ื นวตั กรรม (เทคนิคการสอน/วิธกี ารสอน/รปู แบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครเู รียนรู้ประสบการณ์ในการจัดการเรยี นรรู้ ว่ มกนั
-พิจารณา ส่ือ นวตั กรรม ท่ีมีความสอดคล้องกับการแก้ปัญหา
กิจกรรม Grow ทีมครู PLC มแี นวทางท่ีดีในการแก้ปัญหาคุณภาพผู้เรียนร่วมกัน
-เลอื ก สื่อ นวัตกรรม ทมี่ ีความสอดคลอ้ งกบั การแก้ปัญหา

ผลทไี่ ดร้ บั จากกิจกรรม
1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (รูปแบบกิจกรรมและกระบวนการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมผู้เรียนให้

เหน็ คุณค่าในตนเอง)
2. ได้แนวทางทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน โดยใช้แนวทางการเพิ่มประสบการณ์ท่ีประสบ

ความสำเร็จให้กับวัยรุน่ การใช้ตัวแบบ การใช้คำพูดชักจูงและการกระตุ้นทางอารมณ์ จึงสามารถนำมาใช้เป็นแนว
ทางการพัฒนาการเห็นคุณคา่ ในตนเองของผเู้ รยี นได้

การนำผลที่ได้ไปใช้
1. มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ท่ีเกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนเรียนรขู้ องสมาชิก

เครือข่าย ที่เป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รปู ธรรม (สมาชกิ เครือขา่ ยมีการนำไปใชไ้ ดอ้ ย่างชดั เจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่ีน่าสนใจ ท่ีเกิดข้ึนของ
สมาชิกเครอื ขา่ ยไปใช้ตลอดระยะทด่ี ำเนนิ โครงการทุกคร้งั ที่มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรูโ้ ดยสมาชิกทุกคน

3. ผสู้ อนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้มาอภิปรายเพื่อ
แลกเปลี่ยนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเก่ียวกับความสำเร็จ จุดเด่นและจุดที่ต้องพัฒนาใน
การจัดการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

ปญั หา/อุปสรรคท่พี บ
-

กจิ กรรม/ข้นั ตอน/งานท่ีปฏิบตั ิไดด้ ี
ร่วมศึกษาปัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา หรอื กระบวนการท่ีจะใช้ในการแก้ไขปัญหา ดังนี้

1. นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม กล่าวว่า จากการสถานการณืท่ีมีการเรียนการสอนในแบบออนไลน์ หรือในแบบ
ไฮบริดพบว่า การทีน่ ักเรียนไม่เข้าเรียนและบางกลุ่มต้องลาออกกลางคันสะท้อนใหเ้ หน็ ปัญหาท่สี ำคญั คอื การ
ไมส่ ามารถปรับตัวและการไม่เห็นคุณค่าในตนเอง ซ่ึงควรไดร้ ับการป้องกันและจดั การแก้ไข เพราะมีผลกระทบ
ตอ่ เศรษฐกิจสว่ นบุคคลและสุขภาพจติ ของนักเรียนเป็นอยา่ งมาก เมื่อสมาชิกทุกคนได้ปรบั เปลี่ยนรูปแบบการ
สอนเพ่ือส่งเสริมการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนแล้วน้ัน ควรมีเคร่ืองมือในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่
แบบสอบถามการปรบั ตัว และการเหน็ คุณคา่ ในตนเองเพื่อใช้เปน็ ข้อมูลในการพฒั นาตอ่ ไป

46

2. นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรัตน์ เสนอ การใช้แบบทดสอบ Rubin's self esteem scale
3. ครนู างสาวรศั มี กลุ สวุ รรณ กล่าวว่า แบบทดสอบคุณคาในตนเอง Rubin’s Self Esteem Scale (อ้างถึงใน

กรมสขุ ภาพจติ , 2547) ประกอบด้วยข้อความ 62 ข้อ แบ่งออกเป็น 3 ตอน เป็นข้อความเก่ียวกับอัต
มโนทศั น์ (self concept) จำนวน 30 ข้อ เป็นแบบวดั การเหน็ คุณค่าในตนเอง (self-esteem scale) จำนวน
10 ข้อ เป็นการประเมินอตั มโนทัศน์ (self concept rating) จำนวน 22 ข้อ แบบทดสอบข้อมลู สำเร็จรูปของ
Rubin’s Self Esteem Scale ซ่ึงนา่ จะนำมาใช้กับนกั เรยี นท่เี รารับผิดชอบได้
4. นายอรรถพล ภทู อง เสนอใหเ้ พ่ิม แบบทดสอบ Rubin’self Esteem Scale ลงในแผนการจัดการเรียนรู้
5. นางสาวกาญจนา คงทน เสนอว่าสมาชิกควรใช้วิจัยเป็นฐานควบคู่กับการจัดการเรียนการสอน เพ่ือจะได้เก็บ
เปน็ สถติ ิข้อมลู ต่อไป
ส่งิ ทตี่ อ้ งพัฒนาตอ่ ไป

1.สร้างปฏิสมั พนั ธใ์ นหอ้ งเรยี นในรายวชิ าทต่ี นเองรบั ผดิ ชอบ
2.ตดิ ตามการพฒั นา
ผลการประเมินการแกป้ ัญหา
 กระบวนการแก้ไขปญั หา ประสบความสำเร็จ
 กระบวนการแกไ้ ขปญั หา ไมป่ ระสบความสำเรจ็
เนอ่ื งจาก –
ข้อเสนอแนะผูร้ ายงานการบันทกึ กิจกรรม
....................................................นัดหมายครงั้ ตอ่ ไป วันที่ ..7..ม.ค...65..................................

ลงชื่อ...............................................................ผรู้ ายงาน
(นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์)

ความคดิ เห็น / ข้อเสนอแนะ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชื่อผรู้ ับรองกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ (Professional Learning Community

ลงชอ่ื ...............................................................................
(นายสุริยนั ต์ เหลา่ มะลึก)

ตำแหน่ง ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

47

ภาพการมสี ว่ นร่วม

48

แบบบันทกึ กิจกรรม
ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 1

ชอ่ื กลุ่มกิจกรรม ครงั้ ที่ ...8...............................................................
ภาคเรยี นท่.ี ...2.......ปีการศึกษา.....2564........
 วิชาการ  บุคลากร วนั เดอื นปีที่จดั กิจกรรม....... ..7..ม.ค...65.............
สถานท.่ี ....ประชมุ ออนไลน์ผา่ นโปรแกรม Meet....
 งบประมาณ  บริหารทว่ั ไป เวลา.......15.10-17.10.น...............................
จำนวน.................2.............................ช่ัวโมง
 กิจการนกั เรียน  พัฒนาผ้เู รียน

 กิจกรรม Hybrid Learning ในการจัดการ

เรยี นรู้ เพือ่ พัฒนาทักษะการเรียนรขู้ องผเู้ รียนแบบ

ยั่งยนื

ชื่อกจิ กรรม
การพฒั นาการจดั การเรยี นรู้โดยใช้การจดั การเรียนรู้แบบ Hybrid Learning

Community ผู้ร่วมอภปิ ราย

Model Teacher ผู้พบปัญหา นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์

Buddy Teacher ผู้ร่วมอภิปราย

1. นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรัตน์ ประธานกรรมการ

2. นางสาวรศั มี กลุ สุวรรณ กรรมการ

3. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

4. นายอรรถพล ภูทอง กรรมการ

5. นางสาวขวญั หลา้ เกตฉุ มิ กรรมการ/เลขานุการ

Mentor Coaching ผนู้ ำอภิปราย นายสุรยิ ันต์ เหล่ามะลึก

Recording ผบู้ ันทึกข้อมูล นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรตั น์

49

แบบบันทึกกิจกรรม
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ประเดน็ ปัญหาที่พบ

สถานการณ์โรคระบาด COVID-19 ทำให้สถาบันการศึกษาทั่วโลกต้องหยุดการเรียนการสอนในห้องเรียน
ทำให้การจัดการเรียนการสอนดำเนินต่อได้ ดังประโยคท่ีว่าสถานศึกษาหยุดได้แต่การเรียนรูห้ ยุดไม่ได้ การจัดการ
เรยี นรู้เชงิ รกุ ในรูปแบบออนไลน์เป็นสิ่งที่ทำใหก้ ารเรียนรดู้ ำเนินต่อไปได้ ซ่งึ ต้องมีปัจจัยดังนี้ สถานศกึ ษาตอ้ งเตรียม
แพล็ตฟอรม์ รองรับ ผู้สอนต้องปรับเปลย่ี นวิธีการสอน และผเู้ รยี นต้องปรบั เปลยี่ นวิธีการเรียน เป็นตน้

ในสภาพปัจจุบันนั้น การเห็นคุณค่าในตนเองเป็นส่วนหนึ่งที่เป็นแรงผลักดันจิตใจให้บุคคลมุ่งสู่การเรียน
และปฏบิ ตั ิหน้าทอี่ ย่างมีประสทิ ธิภาพ แต่การเห็นคณุ ค่าในตนเองก็สามารถเปลย่ี นแปลงได้ตลอดเวลา เกิดจากการ
สะท้อนความรสู้ ึกที่เปราะบางทางอารมณ์จากเหตุการณ์ที่ตัวเองเกย่ี วข้องและได้รับรู้ เช่นการโดนตำหนิต่อวา่ หรือ
การได้รับคำชมเชย เพราะการเรียนของนักเรียนในสถานการณ์ โควดิ 19 สามารถก่อให้เกิดความเครียดได้ง่าย จึง
ต้องใช้ความอดทนอย่างสูง หากไม่ดูแลรักษาสภาพร่างกายและสภาพจิตใจให้ดีก็ไม่สามารถมีกำลังกายกำลังใจใน
การเรียนและการปฏิบัตหิ น้าท่ี ซึง่ เชอ่ื มโยงกับแรงจูงใจที่เป็นสิ่งสำคัญในการเรยี นใหป้ ระสบความสำเร็จเพราะเมื่อ
บคุ คลมแี รงจงู ใจบุคคลจะตั้งเป้าหมายและพยายามสร้างโอกาส เพ่อื ม่งุ ไปสู่การบรรลเุ ป้าหมายให้สำเร็จ

การเห็นคุณค่าในตนเองมีลักษณะสำคัญท่ีเชื่อมต่อกัน หากทราบระดับการเห็นคุณค่าในตนเองและระดับ
แรงจูงใจที่จะเรียนจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อนักเรียนและโรงเรียนเพื่อการพัฒนาศักยภาพและมุ่งสู่เป้าหมายด้วย
ความสำเรจ็ ตอ่ ไปในอนาคต

ผ้คู ้นพบปัญหาพบว่าเช่ือว่าการเห็นคุณค่าในตัวเองเป็นสิ่งท่ีฝึกฝนให้เกิดข้ึนได้ ทั้งนี้มีงานวิจัยที่สะท้อนว่า
แนวทางในการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเอง โดยการสร้างบรรยากาศในห้องเรียนหรือความม่ันคงปลอดภัยให้
เกิดแก่ผู้เรียนไว้คือจะต้องใหค้ วามคาดหวังในตัวผู้เรียนในระดับสงู และช่วยเหลือให้ผู้เรียนได้รบั สัมฤทธิ์ผลทางการ
เรียน ใหข้ อ้ มูลย้อนกลบั ทางบวกแกผ่ ู้เรียนทุกคน พยายามให้คำอธิบายท่ีเกย่ี วกับเหตุผลหรอื วัตถุประสงค์ในการต้ัง
เกณฑ์มอบหมายงานและกระทำกจิ กรรมทางการเรียน ผสู้ อนจะต้องเรียนรูล้ ักษณะพิเศษของผ้เู รียนแตล่ ะคน และ
ใหค้ วามเอาใจใส่ในลักษณะพิเศษน้ันๆ เห็นคุณคา่ ในความพยายามของผู้เรียนเท่าเทียมกับสมั ฤทธผิ์ ลของผเู้ รียนทุก
คนช่วยให้ผู้เรียนรู้จักการยอมรับความผิดพลาดและการประสบความสำเร็จ โดยการให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ด้วย
ตนเองจากประสบการณ์ในความผิดพลาดและประสบความสำเร็จของผู้เรียนเอง ให้การยอมรับคุณค่าท่ีมีอยู่ในตัว
ของผู้เรียน มองผู้เรียนว่าเป็นมนุษย์ท่ีมีค่า แม้ว่าจะมีพฤติกรรมอย่างที่ครูไม่เห็นด้วย ต้องแสดงความยินดีและชื่น
ชมในความสามารถและประสบความสำเร็จของผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการประเมินพฤติกรรมของตนเองตาม
วัตถุประสงค์ท่ีตั้งไวแ้ ละบอกระดับความสำเร็จของตนเองได้สร้างบรรยากาศท่อี บอนุ่ และปลอดภัย เม่ือมีการแสดง
ความคิดเห็นท่ีแตกต่างกันเกิดข้ึนเป็นต้น (แรฟฟีนี อ้างถึงใน กิ่งเพชร ส่งเสริม, 2544 : 12-13) ประสิทธิภาพต
อไป
สาเหตขุ องปญั หา

การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hybrid Learning จะบรรลเุ ปา้ หมายการเรียนรู้ได้น้ันผู้เรียนจำเป็นท่ี
จะตอ้ งใชก้ ารกำกับตนเองค่อนขา้ งสูง เช่น การศึกษาเนื้อหาและเตรียมตวั ก่อนเข้าช้ันเรียน การมรี ะเบียบวินัย เข้า
ชั้นเรียนตรงเวลา ส่งงานตรง เวลา รู้จักการทำงานเปน็ ทีม การแสดงความคิดเห็น และการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ การ
มที กั ษะด้านเทคโนโลยแี ละทกั ษะด้านภาษาอังกฤษเพิม่ ข้ึน เปน็ ต้น การท่ีผู้เรียนจะการกำกับตนเองได้ดีนั้น

50


Click to View FlipBook Version