The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบบันทึกPLCอโนชาเทอม2_64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2022-08-28 00:44:33

แบบบันทึกPLCอโนชาเทอม2_64

แบบบันทึกPLCอโนชาเทอม2_64

ปัจจยั ทีเ่ กี่ยวข้องสมั พันธก์ ันคือ ผู้เรียนจะตอ้ งมกี ารเห็นคณุ คา่ ในตัวเอง มแี นวคดิ และวิธกี ารดำเนินชีวิตที่สอดคลอ้ ง
เหมาะสม รักตัวเองเป็น กล้าที่จะเผชิญหน้ากับความท้าทายใหม่ๆ ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล รับฟัง
ความคิดเห็นของผู้อื่น มีความสามารถในการปรับตัวได้ดี รวมทั้ง มองโลกในแง่ดีและมีเหตุผล ส่วนผู้ที่มีความร้สู ึก
เห็นคุณค่าในตัวเองตำ่ จะมีทัศนคติเชงิ ลบต่อตนเองและผอู้ ื่น ขาดความมั่นใจ กลัวความผดิ พลาด รู้สึกว่าตวั เองไมด่ ี
เปน็ ภาระต่อผ้อู ่ืน ไรค้ า่ ไมเ่ ปน็ ทร่ี ัก และมพี ฤตกิ รรมชอบเปรียบเทยี บตัวเองกับผอู้ ื่น เป็นต้น
ความรู้และหลักการทนี่ ำมาใช้

การเรียนรู้ตลอดชีวิตตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 นั่นคือ การเรียนรู้ตลอดชีวิตว่า
หมายถึง การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศยั เพ่ือใหส้ ามารถพฒั นาคุณภาพชวี ติ ได้อย่างตอ่ เน่ืองตลอดชีวติ

การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) การ
จัดการเรียนรูต้ ลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) คือ การรบั รู้ความรู้
ทกั ษะ และเจตคติ ของบุคคลจากการเรยี นร้ดู ้วยวิธีเรียนแบบต่างๆ และสามารรถทำให้บคุ คลนั้นเกิดการพัฒนา
ตนเองได้

การจัดบรรยากาศทางด้านจติ วิทยาหรือทางด้านจิตใจ จะชว่ ยสร้างความรสู้ ึกให้นกั เรียนเกิดความสบายใจ
ในการเรียน ปราศจากความกลัวและวิตกกังวล มีบรรยากาศของการสร้างสรรค์เร้าความสนใจ ให้นักเรียนร่วม
กิจกรรมการเรียนการสอนดว้ ยความสขุ นกั เรยี นจะเกิดความรู้เช่นนี้ ข้นึ อยูก่ บั ครู เปน็ สำคัญ ในข้อเหลา่ น้ี

1.บุคลิกภาพ 2.พฤติกรรมการสอน 3.เทคนิคการปกครองช้ันเรียน 4.ปฏิสัมพันธ์ในห้องเรยี น แต่
ละขอ้ มรี ายละเอยี ดดงั น้ี

1.บคุ ลิกภาพของครู
สภาพบรรยากาศของห้องเรียนมีส่วนสัมพันธ์กับบุคลิกภาพของครู ครูท่ีมีบุคลิกภาพดี เช่น การแต่งกาย
การยืน การเดิน ท่าทาง น้ำเสียง การใช้คำพูด การแสดงออกทางสีหน้า แววตา ฯลฯ เหมาะสมกับการเป็นครู จะ
ช่วยสง่ เสริมบรรยากาศการเรยี นรู้ได้ดี
2.พฤตกิ รรมการสอนของครู
พฤติกรรมการสอนของครูมีบทบาทในการสร้างความรสู้ ึกท่ีดีใหแ้ ก่นักเรียน เช่นเดียวกบั บุคลิกภาพของครู
ในการสอนครูต้องใช้เทคนิคและทักษะการสอนท่ีสอดคล้องเหมาะสมกบั นักเรียนและบทเรียน เพ่ือให้นักเรียนเกิด
ความรู้ เจตคติ และทักษะตามทีห่ ลักสูตรกำหนด พฤตกิ รรมของครูควรเป็นดังน้ี
2.1 ตอบสนองพฤติกรรมของนักเรียนโดยใช้เทคนิคการเสริมแรงที่เหมาะสม เช่น ใช้วาจา ใช้ท่าทาง ให้
รางวลั และสญั ลักษณ์ตา่ ง ๆ ตลอดจนให้ทำกิจกรรมทน่ี กั เรยี นชอบ ครคู วรเริมแรงใหท้ วั่ ถงึ และเหมาะสม

2.2 เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น และยอมรับฟังความคิดเห็นของนักเรียน แสดงให้นักเรียน
เห็นวา่ ความคดิ ของเขามีประโยชน์ พยายามนำความคิดเหลา่ นนั้ มาใช้ให้เกดิ ประโยชนใ์ นการเรยี นรู้

2.3 ฝึกการทำงานเป็นกลุ่ม การให้ทำงานเป็นกลมุ่ จะชว่ ยใหน้ ักเรียนร้จู กั ทำงานรว่ มกับผู้อน่ื ได้ใชค้ วามรู้
ความคิดความสามารถที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ ฝึกการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ท่ีดีและได้ผลงานนำมาสู่ความภาคภูมิใจ
ในกลุ่มและตนเอง ในการมอบหมายงานให้กลุ่มทำนั้น ครูควรคำนึงถึงความยากง่ายของงาน ความรู้และ
ความสามารถของนักเรียนในกลุ่ม เพื่อให้งานกลุ่มประสบความสำเร็จ เป็นการสร้างความรู้สึกทางบวกให้แก่
นกั เรยี น งานใดที่ครูเห็นว่ายาก ครูควรเข้าไปดูแลกระตุ้นให้นักเรียนช่วยกันคิดแก้ปัญหาในกลุ่มของตน ครูจะต้อง
มคี วามอดทนทีจ่ ะไมร่ บี ชี้แนะ หรือบอกวธิ กี ารแกป้ ญั หาตรง ๆ ตอ้ งฝกึ ใหน้ ักเรยี นใช้วิธกี ารต่าง ๆ หลาย ๆ แบบจน
สามารถแก้ปัญหาได้สำเร็จ

51

2.4 ใช้เทคนิคและวิธีสอนที่ไม่ทำให้นักเรียนเบ่ือหน่ายในการเรียน ครูควรคิดค้นคว้าและแสวงหา
แนวทางวิธีการใหม่ ๆ มาใช้จัดการเรยี นการสอน วิธีการสอนควรเป็นวิธีที่ยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง หรือนักเรียน
เป็นผู้กระทำกิจกรรม เช่น วิธีการสอนแบบทดลอง แบบแก้ปัญหา แบบแสดงบทบาทสมมุติ แบบสบื สวนสอบสวน
แบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม แบบอภิปราย แบบศูนย์การเรียน ตลอดจนนวัตกรรมการสอนที่น่าสนใจ การจะใช้วิธี
สอนแบบใดนั้นครตู อ้ งเลือกใหเ้ หมาะสมกับบทเรียน ระยะเวลา สตปิ ญั ญา และวัยของนกั เรยี น

กิจกรรมทที่ ำ/ปฏิบัติ
กิจกรรม Share ครูแลกเปลย่ี นประสบการณ์ในการจดั การเรยี นรู้ซงึ่ กนั และกัน
-มีสอ่ื นวัตกรรม (เทคนิคการสอน/วิธกี ารสอน/รปู แบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครเู รียนรปู้ ระสบการณ์ในการจัดการเรยี นรูร้ ว่ มกัน
-พจิ ารณา สื่อ นวัตกรรม ที่มีความสอดคล้องกบั การแก้ปัญหา
กิจกรรม Grow ทมี ครู PLC มแี นวทางทด่ี ีในการแก้ปัญหาคุณภาพผ้เู รยี นร่วมกนั
-เลอื ก ส่อื นวัตกรรม ทม่ี ีความสอดคล้องกับการแก้ปัญหา

ผลท่ไี ดร้ ับจากกจิ กรรม
1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (รูปแบบกิจกรรมและกระบวนการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมผู้เรียนให้

เห็นคณุ คา่ ในตนเอง)
2. ได้แนวทางทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน โดยใช้แนวทางการเพ่ิมประสบการณ์ท่ีประสบ

ความสำเร็จให้กับวัยรุ่น การใช้ตัวแบบ การใชค้ ำพูดชักจูงและการกระตุ้นทางอารมณ์ จึงสามารถนำมาใช้เป็นแนว
ทางการพฒั นาการเหน็ คณุ ค่าในตนเองของผเู้ รยี นได้

การนำผลท่ีไดไ้ ปใช้
1. มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ท่ีเกิดขึ้นจากการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ของสมาชิก

เครือข่าย ท่ีเป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รูปธรรม (สมาชิกเครือข่ายมีการนำไปใชไ้ ดอ้ ย่างชัดเจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ที่เกิดข้ึนของ
สมาชิกเครือข่ายไปใชต้ ลอดระยะท่ีดำเนนิ โครงการทุกครั้งท่ีมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยสมาชกิ ทุกคน

3. ผ้สู อนหลักและสมาชกิ ในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรมู้ าอภิปรายเพื่อ
แลกเปลี่ยนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเก่ียวกับความสำเร็จ จุดเด่นและจุดที่ต้องพัฒนาใน
การจัดการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

ปญั หา/อุปสรรคทพ่ี บ
-

กิจกรรม/ข้นั ตอน/งานทป่ี ฏิบตั ไิ ดด้ ี
ร่วมศึกษาปัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา หรอื กระบวนการที่จะใช้ในการแก้ไขปัญหา ดังน้ี

1. นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม กล่าวว่า สมาชิกต้องเตรียมพัฒนางานตามข้อตกลง(PA)ให้ตรงกับตำแหน่งและ
วทิ ยฐานะครูดังแผนภาพ

52

2. นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ เสริมว่าการกำหนด “ประเด็นท้าทาย” ในข้อตกลงฯ ตามเกณฑ์ PA ควร
วเิ คราะหจ์ าก
– สภาพปัญหาเดก็
– สภาพบรบิ ทของโรงเรียน
– ความคาดหวังของผปู้ กครอง

3. ครูนางสาวรศั มี กุลสวุ รรณ กลา่ วว่า สถานการณ์วิกฤตทเ่ี กิดขึ้น สะท้อนให้เห็นถงึ ความไม่ครอบคลุมและไม่
เพียงพอของระบบสวัสดิการในปัจจุบัน รวมถึงการมี ‘คนจนกลุ่มใหม่’ อันแสดงถึงปัญหาการตกหล่นของผู้
สมควรไดร้ บั ความช่วยเหลือมีความรุนแรงข้ึนกวา่ ในภาวะปกติ มเี ดก็ ตกอยใู่ นสภาวะท่ยี ากลำบากกระทบชวี ิต
ความเป็นอย่ขู องครอบครวั ท่ีเปราะบาง ครูได้สง่ ต่อขอความช่วยเหลือผ่านงานแนะแนวโรงเรียนในเรอ่ื งการขอ
ทนุ การศกึ ษา

4. นายอรรถพล ภูทอง กลา่ วว่าภาวะเศรษฐกิจและสังคม ซ่งึ เป็นการสำรวจออนไลน์พบว่านักเรียนหลายคนต้อง
ทำงานเสริมเพ่อื ชว่ ยเหลอื ครอบครวั ทำใหข้ าดเรยี นในชว่ งทตี่ ้องมาเรียน onsite ทำใหข้ าดเรยี นขาดการส่งงาน

5. นางสาวกาญจนา คงทน เสนอว่าครัง้ ตอ่ ไปให้สมาชิกแลกเปลย่ี นหัวขอ้ วิจัยในชน้ั เรียน
ส่งิ ทต่ี ้องพัฒนาต่อไป

1.สร้างปฏิสัมพนั ธ์ในห้องเรยี นในรายวชิ าท่ีตนเองรบั ผิดชอบ
2.ติดตามการพัฒนา
ผลการประเมนิ การแก้ปญั หา

 กระบวนการแกไ้ ขปญั หา ประสบความสำเรจ็
 กระบวนการแก้ไขปัญหา ไม่ประสบความสำเร็จ

53

เนอื่ งจาก –
ข้อเสนอแนะผ้รู ายงานการบันทกึ กจิ กรรม
....................................................นดั หมายครงั้ ตอ่ ไป วนั ที่ ..14..ม.ค...65..................................

ลงชือ่ ...............................................................ผู้รายงาน
(นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์)

ความคดิ เห็น / ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารสถานศึกษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ผรู้ บั รองกิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (Professional Learning Community
ลงช่อื ...............................................................................
(นายสุริยันต์ เหลา่ มะลึก)
ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวทิ ยาคม

ภาพการมีส่วนร่วม

54

แบบบันทกึ กิจกรรม
ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 1

ชอื่ กลุ่มกิจกรรม คร้งั ท่ี ...9...............................................................
ภาคเรยี นท.ี่ ...2.......ปีการศึกษา.....2564........
 วิชาการ  บุคลากร วนั เดอื นปที ี่จัดกจิ กรรม....... ..14..ม.ค...65.............
สถานท.ี่ ....ประชมุ ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet....
 งบประมาณ  บริหารทวั่ ไป เวลา.......15.10-17.10.น...............................
จำนวน.................2.............................ชวั่ โมง
 กจิ การนกั เรียน  พฒั นาผูเ้ รียน

 กิจกรรม Hybrid Learning ในการจัดการ

เรยี นรู้ เพ่อื พัฒนาทักษะการเรยี นรู้ของผเู้ รียนแบบ

ย่ังยืน

ช่ือกจิ กรรม
การพฒั นาการจดั การเรยี นรู้โดยใช้การจัดการเรยี นรู้แบบ Hybrid Learning

Community ผู้รว่ มอภิปราย

Model Teacher ผู้พบปญั หา นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรตั น์

Buddy Teacher ผ้รู ว่ มอภิปราย

1. นางสาวอโนชา อุทมุ สกลุ รตั น์ ประธานกรรมการ

2. นางสาวรัศมี กุลสุวรรณ กรรมการ

3. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

4. นายอรรถพล ภูทอง กรรมการ

5. นางสาวขวญั หลา้ เกตุฉมิ กรรมการ/เลขานุการ

Mentor Coaching ผนู้ ำอภปิ ราย นายสรุ ยิ นั ต์ เหล่ามะลึก

Recording ผ้บู นั ทึกข้อมลู นางสาวอโนชา อทุ ุมสกลุ รตั น์

55

แบบบันทกึ กจิ กรรม
ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานครเขต 1

ประเด็นปัญหาที่พบ

สถานการณ์โรคระบาด COVID-19 ทำให้สถาบันการศึกษาท่ัวโลกต้องหยุดการเรียนการสอนในห้องเรียน
ทำให้การจัดการเรียนการสอนดำเนินต่อได้ ดังประโยคท่ีว่าสถานศึกษาหยุดได้แต่การเรียนรหู้ ยุดไม่ได้ การจัดการ
เรยี นรู้เชงิ รุกในรูปแบบออนไลน์เป็นสิ่งท่ีทำใหก้ ารเรยี นรดู้ ำเนนิ ต่อไปได้ ซ่ึงต้องมปี ัจจัยดังนี้ สถานศกึ ษาต้องเตรียม
แพล็ตฟอรม์ รองรับ ผู้สอนตอ้ งปรับเปล่ยี นวธิ ีการสอน และผเู้ รยี นต้องปรับเปลี่ยนวธิ กี ารเรยี น เปน็ ต้น

ในสภาพปัจจุบันน้ัน การเห็นคุณค่าในตนเองเป็นส่วนหน่ึงที่เป็นแรงผลักดันจิตใจให้บุคคลมุ่งสู่การเรียน
และปฏิบัติหน้าทอี่ ย่างมีประสทิ ธิภาพ แตก่ ารเห็นคุณคา่ ในตนเองก็สามารถเปลยี่ นแปลงได้ตลอดเวลา เกิดจากการ
สะท้อนความร้สู ึกที่เปราะบางทางอารมณ์จากเหตุการณ์ที่ตัวเองเกี่ยวข้องและได้รับรู้ เช่นการโดนตำหนิต่อวา่ หรือ
การได้รับคำชมเชย เพราะการเรียนของนักเรียนในสถานการณ์ โควิด 19 สามารถก่อให้เกิดความเครียดได้ง่าย จึง
ต้องใช้ความอดทนอย่างสูง หากไม่ดูแลรักษาสภาพร่างกายและสภาพจิตใจให้ดีก็ไม่สามารถมีกำลังกายกำลังใจใน
การเรียนและการปฏิบัตหิ นา้ ที่ ซ่งึ เช่อื มโยงกับแรงจูงใจที่เป็นส่ิงสำคัญในการเรียนให้ประสบความสำเร็จเพราะเม่ือ
บคุ คลมแี รงจูงใจบุคคลจะต้ังเป้าหมายและพยายามสร้างโอกาส เพ่อื มุ่งไปสู่การบรรลเุ ปา้ หมายใหส้ ำเรจ็

การเห็นคุณค่าในตนเองมีลักษณะสำคัญที่เช่ือมต่อกัน หากทราบระดับการเห็นคุณค่าในตนเองและระดับ
แรงจูงใจท่ีจะเรียนจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อนักเรียนและโรงเรียนเพ่ือการพัฒนาศักยภาพและมุ่งสู่เป้าหมายด้วย
ความสำเรจ็ ต่อไปในอนาคต

ผูค้ ้นพบปัญหาพบว่าเช่ือว่าการเห็นคุณค่าในตัวเองเป็นส่ิงท่ีฝึกฝนให้เกิดข้ึนได้ ท้ังน้ีมีงานวิจัยท่ีสะท้อนว่า
แนวทางในการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเอง โดยการสร้างบรรยากาศในห้องเรียนหรือความมั่นคงปลอดภัยให้
เกิดแก่ผู้เรียนไวค้ ือจะต้องใหค้ วามคาดหวังในตัวผู้เรียนในระดับสูงและช่วยเหลือให้ผู้เรียนได้รบั สัมฤทธิ์ผลทางการ
เรยี น ให้ขอ้ มูลย้อนกลับทางบวกแกผ่ ู้เรยี นทุกคน พยายามให้คำอธิบายที่เก่ยี วกบั เหตุผลหรือวตั ถุประสงคใ์ นการตั้ง
เกณฑ์มอบหมายงานและกระทำกจิ กรรมทางการเรยี น ผ้สู อนจะต้องเรียนรู้ลักษณะพิเศษของผู้เรียนแตล่ ะคน และ
ให้ความเอาใจใสใ่ นลักษณะพเิ ศษน้ันๆ เหน็ คุณคา่ ในความพยายามของผูเ้ รียนเท่าเทียมกับสัมฤทธผ์ิ ลของผู้เรียนทุก
คนช่วยให้ผู้เรียนรู้จักการยอมรับความผิดพลาดและการประสบความสำเร็จ โดยการให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ด้วย
ตนเองจากประสบการณ์ในความผิดพลาดและประสบความสำเร็จของผู้เรียนเอง ให้การยอมรับคุณค่าท่ีมีอยู่ในตัว
ของผู้เรียน มองผู้เรียนว่าเป็นมนุษย์ท่ีมีค่า แม้ว่าจะมีพฤติกรรมอย่างท่ีครูไม่เห็นด้วย ต้องแสดงความยินดีและช่ืน
ชมในความสามารถและประสบความสำเร็จของผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการประเมินพฤติกรรมของตนเองตาม
วตั ถปุ ระสงค์ท่ีต้ังไว้และบอกระดับความสำเร็จของตนเองได้สร้างบรรยากาศท่อี บอุ่นและปลอดภัย เมื่อมีการแสดง
ความคิดเห็นท่ีแตกต่างกันเกิดขึ้นเป็นต้น (แรฟฟีนี อ้างถึงใน กิ่งเพชร ส่งเสริม, 2544 : 12-13) ประสิทธิภาพต
อไป
สาเหตุของปญั หา

การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hybrid Learning จะบรรลเุ ปา้ หมายการเรียนรู้ได้น้ันผู้เรียนจำเป็นท่ี
จะต้องใช้การกำกับตนเองค่อนขา้ งสูง เช่น การศึกษาเน้ือหาและเตรียมตวั ก่อนเข้าช้ันเรียน การมรี ะเบยี บวินัย เข้า
ชน้ั เรียนตรงเวลา ส่งงานตรง เวลา รู้จักการทำงานเป็นทีม การแสดงความคิดเห็น และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การ

56

มีทักษะด้านเทคโนโลยแี ละทกั ษะดา้ นภาษาอังกฤษเพ่มิ ขึน้ เป็นตน้ การท่ีผู้เรียนจะการกำกับตนเองได้ดีน้ัน
ปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องสัมพนั ธก์ ันคือ ผู้เรียนจะตอ้ งมีการเหน็ คุณคา่ ในตวั เอง มีแนวคิดและวิธีการดำเนินชีวิตท่ีสอดคล้อง
เหมาะสม รักตัวเองเป็น กล้าที่จะเผชิญหน้ากับความท้าทายใหม่ๆ ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล รับฟัง
ความคิดเห็นของผู้อื่น มีความสามารถในการปรับตัวได้ดี รวมทั้ง มองโลกในแง่ดีและมีเหตุผล ส่วนผู้ที่มีความรูส้ ึก
เหน็ คุณค่าในตวั เองตำ่ จะมีทัศนคติเชิงลบต่อตนเองและผู้อ่ืน ขาดความม่ันใจ กลวั ความผิดพลาด รู้สึกว่าตัวเองไม่ดี
เปน็ ภาระตอ่ ผู้อื่น ไร้คา่ ไม่เปน็ ท่ีรกั และมพี ฤติกรรมชอบเปรยี บเทยี บตวั เองกบั ผู้อนื่ เปน็ ตน้
ความร้แู ละหลักการท่นี ำมาใช้

การเรียนรู้ตลอดชีวิตตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 น่ันคือ การเรียนรู้ตลอดชีวิตว่า
หมายถึง การศึกษาท่ีเกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศยั เพ่ือให้สามารถพฒั นาคุณภาพชีวติ ไดอ้ ยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชีวติ

การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) การ
จัดการเรียนรูต้ ลอดชวี ิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) คือ การรับรู้ความรู้
ทกั ษะ และเจตคติ ของบุคคลจากการเรยี นรูด้ ้วยวิธีเรียนแบบต่างๆ และสามารรถทำให้บุคคลน้ันเกิดการพัฒนา
ตนเองได้

การจัดบรรยากาศทางดา้ นจติ วิทยาหรือทางด้านจิตใจ จะช่วยสร้างความรู้สึกให้นกั เรียนเกิดความสบายใจ
ในการเรียน ปราศจากความกลัวและวิตกกังวล มีบรรยากาศของการสร้างสรรค์เร้าความสนใจ ให้นักเรียนร่วม
กจิ กรรมการเรยี นการสอนดว้ ยความสุข นักเรยี นจะเกดิ ความรู้เช่นนี้ ข้ึนอยกู่ บั ครู เป็นสำคัญ ในขอ้ เหล่านี้

1.บุคลิกภาพ 2.พฤติกรรมการสอน 3.เทคนิคการปกครองชั้นเรยี น 4.ปฏิสมั พันธ์ในห้องเรียน แต่
ละขอ้ มีรายละเอียดดงั น้ี

1.บุคลิกภาพของครู
สภาพบรรยากาศของห้องเรียนมีส่วนสัมพันธ์กับบุคลิกภาพของครู ครูท่ีมีบุคลิกภาพดี เช่น การแต่งกาย
การยืน การเดิน ท่าทาง น้ำเสียง การใช้คำพูด การแสดงออกทางสีหน้า แววตา ฯลฯ เหมาะสมกับการเป็นครู จะ
ชว่ ยสง่ เสริมบรรยากาศการเรยี นรไู้ ดด้ ี
2.พฤติกรรมการสอนของครู
พฤติกรรมการสอนของครมู ีบทบาทในการสร้างความรู้สึกที่ดใี หแ้ ก่นักเรียน เช่นเดียวกบั บุคลิกภาพของครู
ในการสอนครูต้องใช้เทคนิคและทักษะการสอนท่ีสอดคล้องเหมาะสมกบั นักเรียนและบทเรียน เพื่อให้นักเรียนเกิด
ความรู้ เจตคติ และทักษะตามท่ีหลักสูตรกำหนด พฤตกิ รรมของครูควรเปน็ ดงั นี้
2.1 ตอบสนองพฤติกรรมของนักเรียนโดยใช้เทคนิคการเสริมแรงที่เหมาะสม เช่น ใช้วาจา ใช้ท่าทาง ให้
รางวัล และสญั ลักษณ์ตา่ ง ๆ ตลอดจนใหท้ ำกจิ กรรมทีน่ กั เรียนชอบ ครูควรเริมแรงใหท้ วั่ ถึงและเหมาะสม

2.2 เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น และยอมรบั ฟังความคิดเห็นของนักเรยี น แสดงให้นักเรียน
เหน็ ว่าความคิดของเขามปี ระโยชน์ พยายามนำความคิดเหลา่ นัน้ มาใช้ให้เกิดประโยชนใ์ นการเรียนรู้

2.3 ฝกึ การทำงานเป็นกลมุ่ การให้ทำงานเปน็ กลุม่ จะชว่ ยใหน้ ักเรยี นรู้จักทำงานร่วมกบั ผู้อ่ืนได้ใชค้ วามรู้
ความคิดความสามารถที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ ฝึกการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีและได้ผลงานนำมาสู่ความภาคภูมิใจ
ในกลุ่มและตนเอง ในการมอบหมายงานให้กลุ่มทำน้ัน ครูควรคำนึงถึงความยากง่ายของงาน ความรู้และ
ความสามารถของนักเรียนในกลุ่ม เพื่อให้งานกลุ่มประสบความสำเร็จ เป็นการสร้างความรู้สึกทางบวกให้แก่
นกั เรียน งานใดท่ีครูเห็นว่ายาก ครูควรเข้าไปดูแลกระตุ้นให้นักเรียนช่วยกันคิดแก้ปัญหาในกลุ่มของตน ครูจะต้อง
มคี วามอดทนทจี่ ะไม่รีบช้ีแนะ หรอื บอกวิธีการแก้ปญั หาตรง ๆ ต้องฝึกให้นักเรียนใช้วิธีการตา่ ง ๆ หลาย ๆ แบบจน
สามารถแกป้ ัญหาไดส้ ำเร็จ

57

2.4 ใช้เทคนิคและวิธีสอนท่ีไม่ทำให้นักเรียนเบ่ือหน่ายในการเรียน ครูควรคิดค้นคว้าและแสวงหา
แนวทางวิธีการใหม่ ๆ มาใช้จัดการเรียนการสอน วิธีการสอนควรเป็นวิธีท่ียึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง หรือนักเรยี น
เปน็ ผู้กระทำกิจกรรม เช่น วธิ ีการสอนแบบทดลอง แบบแก้ปัญหา แบบแสดงบทบาทสมมุติ แบบสบื สวนสอบสวน
แบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม แบบอภิปราย แบบศูนย์การเรียน ตลอดจนนวัตกรรมการสอนท่ีน่าสนใจ การจะใช้วิธี
สอนแบบใดนั้นครูตอ้ งเลอื กให้เหมาะสมกบั บทเรยี น ระยะเวลา สติปญั ญา และวัยของนกั เรยี น

กิจกรรมทท่ี ำ/ปฏิบตั ิ
กิจกรรม Share ครูแลกเปลยี่ นประสบการณใ์ นการจัดการเรยี นรู้ซ่ึงกันและกนั
-มีส่ือ นวตั กรรม (เทคนิคการสอน/วิธีการสอน/รปู แบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครูเรียนรู้ประสบการณ์ในการจัดการเรยี นรู้รว่ มกนั
-พิจารณา สื่อ นวัตกรรม ท่ีมีความสอดคลอ้ งกับการแกป้ ัญหา
กจิ กรรม Grow ทีมครู PLC มแี นวทางทดี่ ีในการแกป้ ญั หาคุณภาพผู้เรียนรว่ มกนั
-เลือก สอื่ นวตั กรรม ทมี่ ีความสอดคลอ้ งกับการแก้ปญั หา

ผลทีไ่ ดร้ ับจากกจิ กรรม
1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (รูปแบบกิจกรรมและกระบวนการเรียนการสอนที่ส่งเสริมผู้เรียนให้

เห็นคุณคา่ ในตนเอง)
2. ได้แนวทางทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน โดยใช้แนวทางการเพิ่มประสบการณ์ท่ีประสบ

ความสำเร็จให้กับวัยรุ่น การใช้ตัวแบบ การใชค้ ำพูดชักจูงและการกระตุ้นทางอารมณ์ จึงสามารถนำมาใช้เป็นแนว
ทางการพัฒนาการเหน็ คุณคา่ ในตนเองของผเู้ รยี นได้

การนำผลทไี่ ด้ไปใช้
1. มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่ีน่าสนใจ ที่เกิดข้ึนจากการแลกเปลี่ยนเรียนรูข้ องสมาชิก

เครือข่าย ที่เป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รปู ธรรม (สมาชกิ เครอื ขา่ ยมีการนำไปใช้ได้อยา่ งชัดเจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ท่ีเกิดขึ้นของ
สมาชิกเครือข่ายไปใช้ตลอดระยะท่ดี ำเนินโครงการทกุ ครงั้ ที่มีการแลกเปล่ียนเรยี นรโู้ ดยสมาชิกทุกคน

3. ผู้สอนหลักและสมาชกิ ในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจัดกจิ กรรมการเรียนร้มู าอภิปรายเพื่อ
แลกเปลี่ยนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสำเร็จ จุดเด่นและจุดท่ีต้องพัฒนาใน
การจดั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

ปัญหา/อุปสรรคท่พี บ
-

กิจกรรม/ข้ันตอน/งานท่ีปฏิบตั ไิ ดด้ ี
รว่ มศึกษาปัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา หรอื กระบวนการท่จี ะใช้ในการแก้ไขปญั หา ดังนี้

1. นางสาวขวัญหลา้ เกตฉุ มิ กลา่ ววา่ ชื่องานวิจัยของตนเองคือรายงานการศึกษาผลสมั ฤทธิแ์ ละการเหน็ คุณค่า
ในตนเองของนักเรียนท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียนออนไลน์แบบผสมผสานด้วยแอปพลิเคชัน
Google classroom วิชาการออกแบบและเทคโนโลยี 1 เรื่องความรู้และทักษะพื้นฐาน มีประสิทธิภาพของ
บทเรียนออนไลน์ ด้วยแอปพลิเคชัน Google Classroom แบบผสมผสานด้วยแอปพลิเคชัน Google
classroom วิชาการออกแบบและเทคโนโลยี 1 เร่ืองความรู้และทักษะพ้ืนฐาน มีค่า 81.23/80.75 ซึ่งสูง
กวา่ เกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรียนได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใชบ้ ทเรียนบนเว็บ

58

ด้วยแอปพลิเคชัน Google classroom วิชาการออกแบบและเทคโนโลยี 1 เรื่องความรู้และทักษะพื้นฐาน
พบว่าผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นหลังเรยี นของนกั เรยี นสูงกว่ากอ่ นเรยี น อย่างมนี ัยสำคัญทางสถติ ิที่ระดบั .01
และมีมกี ารเห็นคณุ ค่าในตนเองของนกั เรยี นอย่ใู น ระดับสงู
2. นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ กล่าวว่า ชื่องานวิจัยของตนเองคือรายงานการศึกษาผลสัมฤทธิ์และการเห็น
คุณค่าในตนเองของนักเรียนท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ตามแนวคิดแบบโยนิโส
มนสิการสำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม พบว่าประสิทธิภาพชุดกิจกรรม
ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 มีค่า 85.33 / 84.67 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ท่ี
กำหนด 80/80 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่
ระดับ .01 นกั เรียนส่วนใหญ่เป็นผู้ทเ่ี หน็ คณุ คาในตนเองอยู่ในระดับปานกลางคดิ เป็นร้อยละ 63.33 (จำนวน
19 คน) และรองลงมาเปน็ ผู้ทเี่ ห็นคุณคาในตนเองอยใู่ นระดบั สูงคิดเปน็ ร้อยละ 36.67 (จำนวน 11 คน)
3. ครูนางสาวรัศมี กุลสุวรรณ กล่าวว่า ชื่องานวิจัยของตนเองคือการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ โดยใช้ Google
Classroom เรอ่ื ง พื้นฐานโปรแกรมAdobe Photoshop CS6 สำหรับ นักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรียน
สุวรรณารามวิทยาคม พบวา่ นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสงู กว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทาง
สถิตทิ ่รี ะดบั .05 ส่วนการเห็นคณุ คาในตนเองยังไมไ่ ดว้ ัด
4. นายอรรถพล ภูทอง กลา่ วว่า ชื่องานวิจัยของตนเองคือการพัฒนาบทเรียนออนไลน์โดยใช้ Google Site เรื่อง
การออกแบบและเทคโนโลยี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม
กรุงเทพมหานคร โดยการใช้บทเรียนออนไลน์โดยใช้ Google Site เรื่อง การออกแบบและเทคโนโลยีนกั เรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 มีประสิทธิภาพเท่ากับ เฉลี่ย 85.63/84.68 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 คะแนน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ส่วนการเห็นคุณคาในตนเอง
ยังไมไ่ ด้วดั
5. นางสาวกาญจนา คงทน กล่าวว่า ช่ืองานวิจัยของตนเองคือการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ เรื่อง การก าหนดก
รอบของปัญหาสำหรับนกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง
กว่ากอ่ นเรียนอยา่ งมีนยั สาํ คัญทางสถิตทิ ี่ระดบั 0.05 สว่ นการเห็นคุณคาในตนเองยงั ไม่ได้วัด
ส่ิงทตี่ อ้ งพัฒนาต่อไป

1.สร้างปฏิสัมพนั ธใ์ นห้องเรยี นในรายวชิ าท่ีตนเองรับผิดชอบ
2.ตดิ ตามการพัฒนา
ผลการประเมนิ การแก้ปญั หา

 กระบวนการแกไ้ ขปัญหา ประสบความสำเรจ็
 กระบวนการแกไ้ ขปญั หา ไมป่ ระสบความสำเรจ็
เนือ่ งจาก –
ข้อเสนอแนะผู้รายงานการบนั ทึกกิจกรรม

....................................................นดั หมายครงั้ ตอ่ ไป วันที่ ……………21..ม.ค...65..................................

ลงช่ือ...............................................................ผู้รายงาน
(นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรตั น์)

ความคดิ เห็น / ข้อเสนอแนะ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

59

ลงช่ือผรู้ บั รองกจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (Professional Learning Community
ลงช่อื ...............................................................................
(นายสุรยิ ันต์ เหลา่ มะลึก)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม

ภาพการมสี ว่ นร่วม

60

แบบบันทกึ กิจกรรม
ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานครเขต 1

ชอ่ื กลุ่มกิจกรรม ครั้งท่ี ...10..............................................................
ภาคเรยี นท.ี่ ...2.......ปีการศึกษา.....2564........
 วชิ าการ  บคุ ลากร วนั เดือนปที ี่จดั กิจกรรม....... ..21..ม.ค...65.............
สถานท.่ี ....ประชุมออนไลน์ผา่ นโปรแกรม Meet....
 งบประมาณ  บริหารทวั่ ไป เวลา.......15.10-17.10.น...............................
จำนวน.................2.............................ชวั่ โมง
 กจิ การนักเรียน  พฒั นาผูเ้ รยี น

 กิจกรรม Hybrid Learning ในการจดั การ

เรยี นรู้ เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนร้ขู องผูเ้ รียนแบบ

ยงั่ ยืน

ชือ่ กจิ กรรม
การพฒั นาการจัดการเรยี นรู้โดยใช้การจดั การเรยี นรู้แบบ Hybrid Learning

Community ผู้รว่ มอภิปราย

Model Teacher ผู้พบปัญหา นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์

Buddy Teacher ผูร้ ว่ มอภิปราย

1. นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรตั น์ ประธานกรรมการ

2. นางสาวรศั มี กุลสุวรรณ กรรมการ

3. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

4. นายอรรถพล ภูทอง กรรมการ

5. นางสาวขวัญหล้า เกตุฉมิ กรรมการ/เลขานุการ

Mentor Coaching ผู้นำอภิปราย นายสุริยนั ต์ เหล่ามะลึก

Recording ผบู้ ันทึกข้อมลู นางสาวอโนชา อทุ ุมสกลุ รัตน์

61

แบบบันทกึ กจิ กรรม
ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ประเด็นปัญหาที่พบ

สถานการณ์โรคระบาด COVID-19 ทำให้สถาบันการศึกษาท่ัวโลกต้องหยุดการเรียนการสอนในห้องเรียน
ทำให้การจัดการเรียนการสอนดำเนินต่อได้ ดังประโยคท่ีว่าสถานศึกษาหยุดได้แต่การเรียนรู้หยุดไม่ได้ การจัดการ
เรยี นรู้เชงิ รุกในรูปแบบออนไลน์เป็นสิ่งท่ที ำใหก้ ารเรียนรดู้ ำเนินตอ่ ไปได้ ซ่งึ ต้องมีปัจจัยดังนี้ สถานศึกษาต้องเตรยี ม
แพล็ตฟอรม์ รองรับ ผู้สอนตอ้ งปรับเปลยี่ นวธิ ีการสอน และผ้เู รียนต้องปรับเปล่ยี นวธิ ีการเรียน เปน็ ต้น

ในสภาพปัจจุบันนั้น การเห็นคุณค่าในตนเองเป็นส่วนหนึ่งที่เป็นแรงผลักดันจิตใจให้บุคคลมุ่งสู่การเรียน
และปฏิบัติหน้าทอ่ี ย่างมีประสิทธิภาพ แต่การเห็นคุณค่าในตนเองก็สามารถเปลีย่ นแปลงได้ตลอดเวลา เกิดจากการ
สะท้อนความรสู้ ึกท่ีเปราะบางทางอารมณ์จากเหตุการณ์ที่ตัวเองเกย่ี วข้องและได้รับรู้ เช่นการโดนตำหนิต่อว่าหรือ
การได้รับคำชมเชย เพราะการเรียนของนักเรียนในสถานการณ์ โควดิ 19 สามารถก่อให้เกิดความเครียดได้ง่าย จึง
ต้องใช้ความอดทนอย่างสูง หากไม่ดูแลรักษาสภาพร่างกายและสภาพจิตใจให้ดีก็ไม่สามารถมีกำลังกายกำลังใจใน
การเรียนและการปฏิบัตหิ น้าที่ ซึง่ เชือ่ มโยงกับแรงจูงใจท่ีเป็นส่ิงสำคัญในการเรยี นให้ประสบความสำเร็จเพราะเม่ือ
บคุ คลมแี รงจูงใจบุคคลจะตั้งเป้าหมายและพยายามสร้างโอกาส เพือ่ มุ่งไปสกู่ ารบรรลเุ ปา้ หมายให้สำเร็จ

การเห็นคุณค่าในตนเองมีลักษณะสำคัญท่ีเชื่อมต่อกัน หากทราบระดับการเห็นคุณค่าในตนเองและระดับ
แรงจูงใจท่ีจะเรียนจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อนักเรียนและโรงเรียนเพื่อการพัฒนาศักยภาพและมุ่งสู่เป้าหมายด้วย
ความสำเรจ็ ตอ่ ไปในอนาคต

ผูค้ ้นพบปัญหาพบว่าเชื่อว่าการเห็นคุณค่าในตัวเองเป็นสิ่งท่ีฝึกฝนให้เกิดขึ้นได้ ทั้งน้ีมีงานวิจัยที่สะท้อนว่า
แนวทางในการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเอง โดยการสร้างบรรยากาศในห้องเรียนหรือความมั่นคงปลอดภัยให้
เกิดแก่ผู้เรียนไว้คือจะต้องใหค้ วามคาดหวังในตวั ผู้เรียนในระดับสงู และช่วยเหลือให้ผู้เรียนได้รับสัมฤทธ์ิผลทางการ
เรยี น ให้ขอ้ มูลยอ้ นกลบั ทางบวกแก่ผู้เรียนทุกคน พยายามให้คำอธิบายท่ีเกี่ยวกบั เหตุผลหรอื วัตถุประสงค์ในการตั้ง
เกณฑ์มอบหมายงานและกระทำกจิ กรรมทางการเรียน ผสู้ อนจะตอ้ งเรียนรู้ลักษณะพิเศษของผเู้ รียนแต่ละคน และ
ให้ความเอาใจใสใ่ นลักษณะพิเศษนั้นๆ เหน็ คุณค่าในความพยายามของผเู้ รียนเท่าเทียมกบั สัมฤทธ์ผิ ลของผ้เู รียนทุก
คนช่วยให้ผู้เรียนรู้จักการยอมรับความผิดพลาดและการประสบความสำเร็จ โดยการให้ผู้เรียนได้ วิเคราะห์ด้วย
ตนเองจากประสบการณ์ในความผิดพลาดและประสบความสำเร็จของผู้เรยี นเอง ให้การยอมรับคุณค่าที่มีอยู่ในตัว
ของผู้เรียน มองผู้เรียนว่าเป็นมนุษย์ที่มีค่า แม้ว่าจะมีพฤติกรรมอย่างที่ครูไม่เห็นด้วย ต้องแสดงความยินดีและช่ืน
ชมในความสามารถและประสบความสำเร็จของผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการประเมินพฤติกรรมของตนเองตาม
วตั ถปุ ระสงค์ท่ตี ้ังไวแ้ ละบอกระดับความสำเร็จของตนเองได้สร้างบรรยากาศท่ีอบอนุ่ และปลอดภัย เม่ือมีการแสดง
ความคิดเห็นที่แตกต่างกันเกิดข้ึนเป็นต้น (แรฟฟีนี อ้างถึงใน กิ่งเพชร ส่งเสริม, 2544 : 12-13) ประสิทธิภาพต
อไป
สาเหตุของปญั หา

การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hybrid Learning จะบรรลุเปา้ หมายการเรียนรู้ได้นั้นผู้เรียนจำเป็นท่ี
จะต้องใช้การกำกับตนเองค่อนข้างสูง เช่น การศึกษาเนื้อหาและเตรียมตวั ก่อนเข้าชั้นเรยี น การมรี ะเบียบวินัย เข้า
ชน้ั เรียนตรงเวลา สง่ งานตรง เวลา รู้จักการทำงานเป็นทีม การแสดงความคิดเห็น และการแลกเปล่ียนเรียนรู้ การ

62

มที ักษะด้านเทคโนโลยแี ละทักษะด้านภาษาอังกฤษเพิม่ ขน้ึ เป็นต้น การท่ีผู้เรียนจะการกำกับตนเองได้ดีน้ัน
ปจั จัยท่เี ก่ียวข้องสมั พันธ์กนั คือ ผเู้ รยี นจะตอ้ งมีการเหน็ คุณค่าในตวั เอง มแี นวคดิ และวิธีการดำเนนิ ชีวิตท่ีสอดคลอ้ ง
เหมาะสม รักตัวเองเป็น กล้าท่ีจะเผชิญหน้ากับความท้าทายใหม่ๆ ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล รับฟัง
ความคิดเห็นของผู้อื่น มีความสามารถในการปรับตัวได้ดี รวมท้ัง มองโลกในแงด่ ีและมีเหตุผล ส่วนผู้ที่มีความรู้สึก
เห็นคุณค่าในตัวเองตำ่ จะมีทัศนคติเชิงลบต่อตนเองและผอู้ นื่ ขาดความมั่นใจ กลวั ความผดิ พลาด รู้สึกว่าตัวเองไมด่ ี
เป็นภาระตอ่ ผ้อู ่ืน ไร้คา่ ไมเ่ ปน็ ทร่ี กั และมีพฤตกิ รรมชอบเปรยี บเทยี บตวั เองกบั ผู้อื่น เป็นต้น
ความรู้และหลกั การท่นี ำมาใช้

การเรียนรู้ตลอดชีวิตตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 นั่นคือ การเรียนรู้ตลอดชีวิตว่า
หมายถึง การศึกษาท่ีเกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศยั เพ่ือใหส้ ามารถพฒั นาคุณภาพชีวิตไดอ้ ย่างตอ่ เนื่องตลอดชีวิต

การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) การ
จัดการเรียนร้ตู ลอดชวี ิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) คือ การรบั รู้ความรู้
ทักษะ และเจตคติ ของบุคคลจากการเรียนรู้ด้วยวธิ ีเรียนแบบต่างๆ และสามารรถทำให้บุคคลนั้นเกิดการพัฒนา
ตนเองได้

การจัดบรรยากาศทางดา้ นจิตวิทยาหรือทางด้านจิตใจ จะชว่ ยสร้างความร้สู ึกให้นกั เรียนเกิดความสบายใจ
ในการเรียน ปราศจากความกลัวและวิตกกังวล มีบรรยากาศของการสร้างสรรค์เร้าความสนใจ ให้นักเรียนร่วม
กจิ กรรมการเรียนการสอนด้วยความสุข นกั เรียนจะเกิดความร้เู ชน่ น้ี ขึ้นอย่กู ับครู เป็นสำคัญ ในข้อเหล่านี้

1.บุคลิกภาพ 2.พฤติกรรมการสอน 3.เทคนิคการปกครองช้ันเรยี น 4.ปฏิสมั พันธ์ในห้องเรยี น แต่
ละขอ้ มีรายละเอียดดงั นี้

1.บคุ ลิกภาพของครู
สภาพบรรยากาศของห้องเรียนมีส่วนสัมพันธ์กับบุคลิกภาพของครู ครูท่ีมีบุคลิกภาพดี เช่น การแต่งกาย
การยืน การเดิน ท่าทาง น้ำเสียง การใช้คำพูด การแสดงออกทางสีหน้า แววตา ฯลฯ เหมาะสมกับการเป็นครู จะ
ชว่ ยส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้ได้ดี
2.พฤติกรรมการสอนของครู
พฤติกรรมการสอนของครูมีบทบาทในการสร้างความรู้สึกที่ดใี หแ้ ก่นักเรียน เช่นเดียวกับบุคลิกภาพของครู
ในการสอนครูต้องใช้เทคนิคและทักษะการสอนที่สอดคล้องเหมาะสมกับนักเรียนและบทเรียน เพื่อให้นักเรียนเกิด
ความรู้ เจตคติ และทกั ษะตามทห่ี ลักสูตรกำหนด พฤติกรรมของครูควรเป็นดงั นี้
2.1 ตอบสนองพฤติกรรมของนักเรียนโดยใช้เทคนิคการเสริมแรงที่เหมาะสม เช่น ใช้วาจา ใช้ท่าทาง ให้
รางวัล และสัญลักษณต์ า่ ง ๆ ตลอดจนให้ทำกจิ กรรมท่นี ักเรียนชอบ ครูควรเรมิ แรงใหท้ ว่ั ถงึ และเหมาะสม

2.2 เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น และยอมรับฟังความคิดเห็นของนักเรยี น แสดงให้นักเรียน
เห็นวา่ ความคดิ ของเขามปี ระโยชน์ พยายามนำความคดิ เหล่านนั้ มาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ในการเรียนรู้

2.3 ฝกึ การทำงานเป็นกลมุ่ การให้ทำงานเป็นกลุ่มจะช่วยใหน้ ักเรยี นรู้จกั ทำงานรว่ มกบั ผู้อน่ื ได้ใชค้ วามรู้
ความคิดความสามารถท่ีมีอยู่ให้เกิดประโยชน์ ฝึกการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ท่ีดีและได้ผลงานนำมาสู่ความภาคภูมิใจ
ในกลุ่มและตนเอง ในการมอบหมายงานให้กลุ่มทำนั้น ครูควรคำนึงถึงความยากง่ายของงาน ความรู้และ
ความสามารถของนักเรียนในกลุ่ม เพ่ือให้งานกลุ่มประสบความสำเร็จ เป็นการสร้างความรู้สึกทางบวกให้แก่
นกั เรียน งานใดท่ีครูเห็นว่ายาก ครูควรเข้าไปดูแลกระตุ้นให้นักเรียนช่วยกันคิดแก้ปัญหาในกลุ่มของตน ครูจะต้อง
มีความอดทนทจี่ ะไม่รีบชแี้ นะ หรอื บอกวิธีการแก้ปญั หาตรง ๆ ตอ้ งฝกึ ให้นักเรียนใชว้ ิธีการต่าง ๆ หลาย ๆ แบบจน
สามารถแกป้ ัญหาไดส้ ำเร็จ

63

2.4 ใช้เทคนิคและวิธีสอนท่ีไม่ทำให้นักเรียนเบื่อหน่ายในการเรียน ครูควรคิดค้นคว้าและแสวงหา
แนวทางวิธีการใหม่ ๆ มาใช้จัดการเรียนการสอน วิธีการสอนควรเป็นวิธีที่ยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง หรือนักเรียน
เป็นผู้กระทำกิจกรรม เช่น วธิ ีการสอนแบบทดลอง แบบแก้ปัญหา แบบแสดงบทบาทสมมุติ แบบสืบสวนสอบสวน
แบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม แบบอภิปราย แบบศูนย์การเรียน ตลอดจนนวัตกรรมการสอนที่น่าสนใจ การจะใช้วิธี
สอนแบบใดนน้ั ครตู ้องเลอื กให้เหมาะสมกบั บทเรยี น ระยะเวลา สตปิ ญั ญา และวยั ของนักเรียน

กิจกรรมทท่ี ำ/ปฏบิ ัติ
กจิ กรรม Share ครูแลกเปล่ียนประสบการณใ์ นการจดั การเรียนรู้ซึง่ กนั และกัน
-มีสื่อ นวตั กรรม (เทคนิคการสอน/วิธกี ารสอน/รปู แบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครูเรียนรู้ประสบการณ์ในการจัดการเรยี นรู้ร่วมกัน
-พิจารณา ส่ือ นวตั กรรม ท่ีมีความสอดคลอ้ งกบั การแกป้ ัญหา
กจิ กรรม Grow ทมี ครู PLC มแี นวทางทดี่ ีในการแก้ปัญหาคุณภาพผเู้ รยี นร่วมกนั
-เลือก ส่ือ นวัตกรรม ทม่ี ีความสอดคลอ้ งกับการแก้ปัญหา

ผลทไ่ี ด้รับจากกิจกรรม
1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (รูปแบบกิจกรรมและกระบวนการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมผู้เรียนให้

เหน็ คณุ คา่ ในตนเอง)
2. ได้แนวทางทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน โดยใช้แนวทางการเพิ่มประสบการณ์ที่ประสบ

ความสำเร็จให้กับวัยรุ่น การใช้ตัวแบบ การใช้คำพูดชักจูงและการกระตุ้นทางอารมณ์ จึงสามารถนำมาใช้เป็นแนว
ทางการพฒั นาการเห็นคณุ ค่าในตนเองของผู้เรยี นได้

การนำผลทไ่ี ดไ้ ปใช้
1. มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่ีน่าสนใจ ท่ีเกิดข้ึนจากการแลกเปล่ียนเรียนรู้ของสมาชิก

เครือข่าย ที่เป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รปู ธรรม (สมาชกิ เครือขา่ ยมกี ารนำไปใช้ได้อยา่ งชดั เจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่ีน่าสนใจ ที่เกิดข้ึนของ
สมาชิกเครอื ข่ายไปใช้ตลอดระยะที่ดำเนนิ โครงการทุกครง้ั ที่มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้โดยสมาชกิ ทุกคน

3. ผูส้ อนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้มาอภิปรายเพ่ือ
แลกเปล่ียนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเก่ียวกับความสำเร็จ จุดเด่นและจุดที่ต้องพัฒนาใน
การจดั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

ปญั หา/อุปสรรคท่พี บ
-

กิจกรรม/ขั้นตอน/งานท่ีปฏิบตั ิได้ดี
ร่วมศึกษาปัญหา แนวทางแกไ้ ขปัญหา หรือกระบวนการทจ่ี ะใชใ้ นการแก้ไขปัญหา ดังนี้

1. นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม ติดตามผลการวัดการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนท่ีเป็นกลุ่มตัวอย่างของ
สมาชกิ ในกลมุ่

2. นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ กล่าวว่า นักเรียนกลุ่มตัวอย่างของส่วนใหญ่เป็นผู้ท่ีเห็นคุณคาในตนเองอยู่ใน
ระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 63.33 (จำนวน 19 คน) และรองลงมาเป็นผู้ที่เห็นคุณคาในตนเองอยู่ใน
ระดับสูงคิดเป็นร้อยละ 36.67 (จำนวน 11 คน) เป็นความท้าทายท่ีจะพัฒนาต่อในกลุ่มนักเรียนปีการศึกษา
ใหม่

64

3. ครนู างสาวรัศมี กลุ สวุ รรณ กลา่ ววา่ นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม ซง่ึ เปน็ กลุ่ม
ตัวอยา่ งพบวา่ การเหน็ คุณคาในตนเองอยู่ในระดับปานกลาง

4. นายอรรถพล ภูทอง กลา่ วว่า นักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 5 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม ซ่งึ เป็นกลมุ่ ตัวอย่าง
พบวา่ การเหน็ คุณคาในตนเองอยู่ในระดับปานกลาง

5. นางสาวกาญจนา คงทน กล่าวว่า นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม ซึ่งเป็นกลุ่ม
ตวั อย่างพบว่าการเห็นคณุ คาในตนเองอยูใ่ นระดบั ปานกลาง

ส่ิงทต่ี ้องพฒั นาต่อไป
1.สร้างปฏิสมั พันธ์ในห้องเรียนในรายวชิ าทตี่ นเองรบั ผดิ ชอบ
2.ติดตามการพฒั นา

ผลการประเมนิ การแก้ปัญหา
 กระบวนการแก้ไขปัญหา ประสบความสำเร็จ
 กระบวนการแก้ไขปญั หา ไม่ประสบความสำเรจ็
เนื่องจาก –
ข้อเสนอแนะผู้รายงานการบันทึกกจิ กรรม
....................................................นัดหมายครั้งตอ่ ไป วนั ท่ี ……………28..ม.ค...65..................................

ลงชอ่ื ...............................................................ผู้รายงาน
(นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รัตน์)

ความคดิ เห็น / ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารสถานศกึ ษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ผ้รู บั รองกิจกรรมชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ (Professional Learning Community

ลงชื่อ...............................................................................
(นายสุริยนั ต์ เหล่ามะลกึ )

ตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวทิ ยาคม
ภาพการมีส่วนร่วม

65

แบบบันทกึ กิจกรรม
ชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ชอ่ื กลุ่มกิจกรรม ครงั้ ท่ี ...11..............................................................
ภาคเรยี นท.ี่ ...2.......ปีการศึกษา.....2564........
 วชิ าการ  บคุ ลากร วนั เดอื นปีท่ีจดั กจิ กรรม....... ..28..ม.ค...65.............
สถานท.ี่ ....ประชมุ ออนไลน์ผา่ นโปรแกรม Meet....
 งบประมาณ  บริหารทวั่ ไป เวลา.......15.10-17.10.น...............................
จำนวน.................2.............................ชวั่ โมง
 กจิ การนักเรียน  พฒั นาผูเ้ รยี น

 กิจกรรม Hybrid Learning ในการจดั การ

เรยี นรู้ เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรขู้ องผูเ้ รียนแบบ

ยงั่ ยืน

ชือ่ กจิ กรรม
การพฒั นาการจัดการเรยี นรู้โดยใช้การจดั การเรยี นรู้แบบ Hybrid Learning

Community ผู้รว่ มอภปิ ราย

Model Teacher ผู้พบปัญหา นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์

Buddy Teacher ผูร้ ว่ มอภิปราย

1. นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรตั น์ ประธานกรรมการ

2. นางสาวรศั มี กุลสุวรรณ กรรมการ

3. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

4. นายอรรถพล ภูทอง กรรมการ

5. นางสาวขวัญหล้า เกตุฉมิ กรรมการ/เลขานุการ

Mentor Coaching ผู้นำอภิปราย นายสุริยนั ต์ เหล่ามะลึก

Recording ผบู้ ันทึกข้อมลู นางสาวอโนชา อทุ ุมสกลุ รัตน์

66

แบบบันทกึ กิจกรรม
ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ประเดน็ ปัญหาท่ีพบ

สถานการณ์โรคระบาด COVID-19 ทำให้สถาบันการศึกษาทั่วโลกต้องหยุดการเรียนการสอนในห้องเรียน
ทำให้การจัดการเรียนการสอนดำเนินต่อได้ ดังประโยคท่ีว่าสถานศึกษาหยุดได้แต่การเรียนรู้หยดุ ไม่ได้ การจัดการ
เรียนรู้เชิงรกุ ในรูปแบบออนไลน์เป็นสิ่งทีท่ ำใหก้ ารเรียนร้ดู ำเนนิ ต่อไปได้ ซง่ึ ต้องมปี ัจจัยดังน้ี สถานศึกษาต้องเตรียม
แพล็ตฟอรม์ รองรบั ผ้สู อนตอ้ งปรับเปลยี่ นวิธีการสอน และผู้เรียนต้องปรบั เปลย่ี นวิธกี ารเรยี น เป็นต้น

ในสภาพปัจจุบันนั้น การเห็นคุณค่าในตนเองเป็นส่วนหน่ึงที่เป็นแรงผลักดันจิตใจให้บุคคลมุ่งสู่การเรียน
และปฏบิ ัติหน้าทอี่ ย่างมีประสทิ ธิภาพ แตก่ ารเห็นคณุ ค่าในตนเองก็สามารถเปลย่ี นแปลงได้ตลอดเวลา เกิดจากการ
สะท้อนความร้สู ึกที่เปราะบางทางอารมณ์จากเหตุการณ์ท่ีตัวเองเกี่ยวข้องและได้รบั รู้ เช่นการโดนตำหนิต่อวา่ หรือ
การได้รับคำชมเชย เพราะการเรียนของนักเรียนในสถานการณ์ โควดิ 19 สามารถก่อให้เกิดความเครียดได้ง่าย จึง
ต้องใช้ความอดทนอย่างสูง หากไม่ดูแลรักษาสภาพร่างกายและสภาพจิตใจให้ดีก็ไม่สามารถมีกำลังกายกำลังใจใน
การเรียนและการปฏิบัติหนา้ ที่ ซึ่งเช่ือมโยงกบั แรงจูงใจที่เป็นสิ่งสำคัญในการเรยี นใหป้ ระสบความสำเร็จเพราะเมื่อ
บคุ คลมีแรงจูงใจบุคคลจะตั้งเป้าหมายและพยายามสร้างโอกาส เพ่อื มุ่งไปสกู่ ารบรรลุเปา้ หมายให้สำเรจ็

การเห็นคุณค่าในตนเองมีลักษณะสำคัญท่ีเช่ือมต่อกัน หากทราบระดับการเห็นคุณค่าในตนเองและระดับ
แรงจูงใจที่จะเรียนจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อนักเรียนและโรงเรียนเพ่ือการพัฒนาศักยภาพและมุ่งสู่เป้าหมายด้วย
ความสำเรจ็ ต่อไปในอนาคต

ผ้คู ้นพบปัญหาพบว่าเช่ือว่าการเห็นคุณค่าในตัวเองเป็นส่ิงท่ีฝึกฝนให้เกิดข้ึนได้ ท้ังนี้มีงานวิจัยท่ีสะท้อนว่า
แนวทางในการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเอง โดยการสร้างบรรยากาศในห้องเรียนหรือความมั่นคงปลอดภัยให้
เกิดแก่ผู้เรียนไว้คือจะต้องให้ความคาดหวังในตวั ผู้เรียนในระดับสงู และช่วยเหลือให้ผู้เรียนได้รับสัมฤทธิ์ผลทางการ
เรียน ให้ข้อมูลย้อนกลับทางบวกแกผ่ ู้เรยี นทกุ คน พยายามให้คำอธิบายที่เกี่ยวกบั เหตุผลหรอื วัตถุประสงค์ในการต้ัง
เกณฑ์มอบหมายงานและกระทำกิจกรรมทางการเรียน ผู้สอนจะต้องเรียนร้ลู ักษณะพิเศษของผ้เู รียนแต่ละคน และ
ให้ความเอาใจใสใ่ นลักษณะพิเศษนั้นๆ เห็นคุณคา่ ในความพยายามของผูเ้ รียนเท่าเทียมกับสมั ฤทธผ์ิ ลของผเู้ รียนทุก
คนช่วยให้ผู้เรียนรู้จักการยอมรับความผิดพลาดและการประสบความสำเร็จ โดยการให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ด้วย
ตนเองจากประสบการณ์ในความผิดพลาดและประสบความสำเร็จของผู้เรียนเอง ให้การยอมรับคุณค่าที่มีอยู่ในตัว
ของผู้เรียน มองผู้เรียนว่าเป็นมนุษย์ท่ีมีค่า แม้ว่าจะมีพฤติกรรมอย่างท่ีครูไม่เห็นด้วย ต้องแสดงความยินดีและชื่น
ชมในความสามารถและประสบความสำเร็จของผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการประเมินพฤติกรรมของตนเองตาม
วตั ถุประสงค์ทีต่ ้ังไว้และบอกระดับความสำเร็จของตนเองได้สร้างบรรยากาศท่ีอบอุ่นและปลอดภัย เม่ือมีการแสดง
ความคิดเห็นท่ีแตกต่างกันเกิดข้ึนเป็นต้น (แรฟฟีนี อ้างถึงใน ก่ิงเพชร ส่งเสริม, 2544 : 12-13) ประสิทธิภาพต
อไป
สาเหตขุ องปญั หา

การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hybrid Learning จะบรรลุเปา้ หมายการเรียนรู้ได้นั้นผู้เรียนจำเป็นท่ี
จะตอ้ งใช้การกำกับตนเองค่อนขา้ งสูง เช่น การศึกษาเนื้อหาและเตรียมตวั ก่อนเข้าชั้นเรยี น การมรี ะเบยี บวินัย เข้า
ช้ันเรียนตรงเวลา ส่งงานตรง เวลา รู้จักการทำงานเปน็ ทีม การแสดงความคิดเห็น และการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ การ
มีทกั ษะด้านเทคโนโลยแี ละทกั ษะด้านภาษาอังกฤษเพมิ่ ขึ้น เป็นตน้ การที่ผู้เรียนจะการกำกับตนเองได้ดีนั้น
ปจั จัยทเ่ี กี่ยวข้องสมั พันธ์กันคือ ผู้เรยี นจะตอ้ งมกี ารเหน็ คณุ คา่ ในตัวเอง มีแนวคดิ และวิธีการดำเนินชวี ติ ที่สอดคล้อง
เหมาะสม รักตัวเองเป็น กล้าที่จะเผชิญหน้ากับความท้าทายใหม่ๆ ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล รับฟัง

67

ความคิดเห็นของผู้อ่ืน มีความสามารถในการปรับตัวได้ดี รวมท้ัง มองโลกในแงด่ ีและมีเหตุผล ส่วนผู้ท่ีมีความรู้สึก
เหน็ คุณค่าในตัวเองต่ำจะมีทศั นคติเชิงลบต่อตนเองและผู้อน่ื ขาดความม่ันใจ กลวั ความผิดพลาด รู้สกึ ว่าตวั เองไม่ดี
เปน็ ภาระต่อผู้อื่น ไร้คา่ ไมเ่ ปน็ ทรี่ กั และมีพฤตกิ รรมชอบเปรยี บเทยี บตวั เองกบั ผ้อู น่ื เปน็ ตน้
ความรู้และหลักการทีน่ ำมาใช้

การเรียนรู้ตลอดชีวิตตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 นั่นคือ การเรียนรู้ตลอดชีวิตว่า
หมายถึง การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย เพ่ือให้สามารถพฒั นาคุณภาพชีวติ ไดอ้ ย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต

การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) การ
จัดการเรียนรตู้ ลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) คือ การรบั รู้ความรู้
ทักษะ และเจตคติ ของบุคคลจากการเรยี นรดู้ ้วยวิธีเรียนแบบตา่ งๆ และสามารรถทำให้บคุ คลน้ันเกิดการพัฒนา
ตนเองได้

การจัดบรรยากาศทางดา้ นจิตวิทยาหรอื ทางด้านจิตใจ จะชว่ ยสร้างความรู้สึกให้นักเรียนเกิดความสบายใจ
ในการเรียน ปราศจากความกลัวและวิตกกังวล มีบรรยากาศของการสร้างสรรค์เร้าความสนใจ ให้นักเรียนร่วม
กิจกรรมการเรยี นการสอนดว้ ยความสขุ นักเรียนจะเกดิ ความรู้เชน่ น้ี ขน้ึ อย่กู ับครู เป็นสำคัญ ในขอ้ เหลา่ นี้

1.บุคลิกภาพ 2.พฤติกรรมการสอน 3.เทคนิคการปกครองช้ันเรยี น 4.ปฏิสมั พันธ์ในห้องเรียน แต่
ละขอ้ มีรายละเอียดดงั น้ี

1.บคุ ลิกภาพของครู
สภาพบรรยากาศของห้องเรียนมีส่วนสัมพันธ์กับบุคลิกภาพของครู ครูท่ีมีบุคลิกภาพดี เช่น การแต่งกาย
การยืน การเดิน ท่าทาง น้ำเสียง การใช้คำพูด การแสดงออกทางสีหน้า แววตา ฯลฯ เหมาะสมกับการเป็นครู จะ
ช่วยส่งเสรมิ บรรยากาศการเรียนรู้ไดด้ ี
2.พฤตกิ รรมการสอนของครู
พฤตกิ รรมการสอนของครูมีบทบาทในการสร้างความรู้สึกที่ดีใหแ้ ก่นักเรียน เช่นเดยี วกับบคุ ลิกภาพของครู
ในการสอนครูต้องใช้เทคนิคและทักษะการสอนท่ีสอดคล้องเหมาะสมกบั นักเรียนและบทเรียน เพื่อให้นักเรียนเกิด
ความรู้ เจตคติ และทักษะตามทหี่ ลักสูตรกำหนด พฤติกรรมของครูควรเป็นดงั นี้
2.1 ตอบสนองพฤติกรรมของนักเรียนโดยใช้เทคนิคการเสริมแรงที่เหมาะสม เช่น ใช้วาจา ใช้ท่าทาง ให้
รางวลั และสัญลักษณ์ตา่ ง ๆ ตลอดจนให้ทำกจิ กรรมที่นกั เรยี นชอบ ครูควรเริมแรงใหท้ ัว่ ถงึ และเหมาะสม

2.2 เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น และยอมรับฟังความคิดเห็นของนักเรยี น แสดงให้นักเรียน
เห็นว่าความคดิ ของเขามปี ระโยชน์ พยายามนำความคิดเหลา่ นั้นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ในการเรยี นรู้

2.3 ฝึกการทำงานเปน็ กล่มุ การให้ทำงานเปน็ กลมุ่ จะช่วยให้นักเรียนรู้จักทำงานรว่ มกบั ผู้อ่นื ได้ใช้ความรู้
ความคิดความสามารถที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ ฝึกการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ท่ีดีและได้ผลงานนำมาสู่ความภาคภูมิใจ
ในกลุ่มและตนเอง ในการมอบหมายงานให้กลุ่มทำน้ัน ครูควรคำนึงถึงความยากง่ายของงาน ความรู้และ
ความสามารถของนักเรียนในกลุ่ม เพ่ือให้งานกลุ่มประสบความสำเร็จ เป็นการสร้างความรู้สึกทางบวกให้แก่
นักเรยี น งานใดท่ีครูเห็นว่ายาก ครูควรเข้าไปดูแลกระตุ้นให้นักเรียนช่วยกันคิดแก้ปัญหาในกลุ่มของตน ครูจะต้อง
มีความอดทนทีจ่ ะไมร่ ีบชีแ้ นะ หรือบอกวธิ กี ารแก้ปญั หาตรง ๆ ต้องฝกึ ใหน้ ักเรยี นใช้วิธีการต่าง ๆ หลาย ๆ แบบจน
สามารถแก้ปัญหาได้สำเร็จ

2.4 ใช้เทคนิคและวิธีสอนท่ีไม่ทำให้นักเรียนเบ่ือหน่ายในการเรียน ครูควรคิดค้นคว้าและแสวงหา
แนวทางวิธีการใหม่ ๆ มาใช้จัดการเรียนการสอน วิธีการสอนควรเป็นวิธีที่ยึดนักเรียนเป็นศูนย์กลาง หรือนักเรียน
เป็นผู้กระทำกิจกรรม เช่น วธิ ีการสอนแบบทดลอง แบบแก้ปัญหา แบบแสดงบทบาทสมมตุ ิ แบบสืบสวนสอบสวน

68

แบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม แบบอภิปราย แบบศูนย์การเรียน ตลอดจนนวัตกรรมการสอนที่น่าสนใจ การจะใช้วิธี
สอนแบบใดน้ันครตู ้องเลือกให้เหมาะสมกบั บทเรยี น ระยะเวลา สตปิ ัญญา และวยั ของนักเรียน

กิจกรรมทที่ ำ/ปฏบิ ตั ิ
กิจกรรม Share ครูแลกเปล่ียนประสบการณใ์ นการจดั การเรียนร้ซู งึ่ กนั และกัน
-มสี ื่อ นวตั กรรม (เทคนิคการสอน/วิธีการสอน/รปู แบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครเู รยี นร้ปู ระสบการณ์ในการจัดการเรียนร้รู ว่ มกนั
-พิจารณา ส่ือ นวัตกรรม ที่มคี วามสอดคล้องกับการแกป้ ัญหา
กิจกรรม Grow ทมี ครู PLC มีแนวทางทด่ี ีในการแกป้ ญั หาคุณภาพผูเ้ รยี นรว่ มกนั
-เลอื ก สื่อ นวตั กรรม ท่มี ีความสอดคลอ้ งกบั การแก้ปัญหา

ผลทีไ่ ด้รบั จากกจิ กรรม
1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (รูปแบบกิจกรรมและกระบวนการเรียนการสอนที่ส่งเสริมผู้เรียนให้

เห็นคุณค่าในตนเอง)
2. ได้แนวทางทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน โดยใช้แนวทางการเพ่ิมประสบการณ์ที่ประสบ

ความสำเร็จให้กับวัยรุน่ การใช้ตัวแบบ การใชค้ ำพูดชักจูงและการกระตุ้นทางอารมณ์ จึงสามารถนำมาใช้เป็นแนว
ทางการพฒั นาการเหน็ คณุ ค่าในตนเองของผเู้ รยี นได้

การนำผลที่ไดไ้ ปใช้
1. มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ท่ีเกิดข้ึนจากการแลกเปลีย่ นเรียนร้ขู องสมาชิก

เครือข่าย ท่ีเป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รูปธรรม (สมาชกิ เครือข่ายมีการนำไปใชไ้ ด้อย่างชัดเจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ที่เกิดขึ้นของ
สมาชิกเครือข่ายไปใชต้ ลอดระยะที่ดำเนินโครงการทุกครง้ั ท่ีมีการแลกเปลี่ยนเรยี นรโู้ ดยสมาชกิ ทุกคน

3. ผู้สอนหลักและสมาชกิ ในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบตั ิการจดั กิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปรายเพื่อ
แลกเปล่ียนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสำเร็จ จุดเด่นและจุดท่ีต้องพัฒนาใน
การจดั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

ปญั หา/อุปสรรคท่ีพบ
-

กิจกรรม/ข้นั ตอน/งานที่ปฏิบัติไดด้ ี
ร่วมศึกษาปัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา หรือกระบวนการทจี่ ะใชใ้ นการแก้ไขปัญหา ดังนี้

1. นางสาวขวญั หล้า เกตฉุ ิม กลา่ วว่า การเห็นคณุ คา่ ในตนเองของผู้เรียนจากผลของการทำแบบวัดการเห็น
คณุ คา่ ในตนเองของนักเรียน นักเรียนส่วนใหญ่เป็นผู้ที่เห็นคุณคาในตนเองอยู่ในระดบั สูง.อันเนื่องมาจาก 1) การ
เรียนการสอนแบบผสมผสานมีผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นอย่างมาก ทำให้ผู้เรียนมีพัฒนาการทางด้านการ
เรียนมากขึ้น มีความสนใจกระตือรือร้นในการเรียน มีการร่วมกันระดมความคิดในการวางแผนการทำงานและ
เลือกใชซ้ อฟต์แวร์อยา่ งอิสระ 2) บทบาทของครูในการเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเองให้กับนักเรียน ครู
ควรจัดสภาพแวดล้อม และบรรยากาศท่ีผ่อนคลาย เข้าใจ ยอมรับ ความสามารถของนักเรยี นแต่ละคนเปิดโอกาส
ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น กระตุ้นให้นักเรียนแสดงออกในทางท่ีเหมาะสมและเป็นแบบอย่างที่ดีให้นักเรียนได้
เห็น และปฏบิ ัติตาม ดังนัน้ การจัดสร้างนวัตกรรมและวิธีการสอนทีส่ ่งเสริมการคิดการแสดงออก กระตนุ้ ให้เด็กเกิด
การเรียนรู้ และเห็นคุณค่าในตนเอง
2. นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรตั น์ กลา่ ววา่ บทบาทของครูในการเสริมสรา้ งการเห็นคณุ ค่าในตนเองให้กับนกั เรยี น

69

ครูควรจัดสภาพแวดล้อม และบรรยากาศท่ีผ่อนคลาย เข้าใจ ยอมรับ ความสามารถของนักเรียนแต่ละคน เปิด
โอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น กระตุ้นให้นักเรียนแสดงออกในทางที่เหมาะสมและเป็นแบบอย่างที่ดีให้
นักเรียนได้เห็น และปฏิบัติตาม ดังน้ันการจัดสร้างนวัตกรรมและวิธีการสอนท่ีส่งเสริมการคิดการแสดงออก
กระตุ้นใหเ้ ด็กเกิดการเรียนรู้ และเห็นคุณค่าในตนเอง
3. ครนู างสาวรศั มี กุลสุวรรณ สรุปว่า การเหน็ คณุ ค่าในตวั เองเป็นสง่ิ ที่ฝึกฝนให้เกดิ ข้ึนได้ แนวทางในการ
พฒั นาการเห็นคุณค่าในตนเอง โดยการสรา้ งบรรยากาศทางด้านจิตใจให้ผู้เรียนร้สู ึกสบายใจ มีความอบอุ่น มีความ
เป็นกนั เอง มคี วามสมั พนั ธอ์ ันดตี ่อกัน และมีความรกั ความศรัทธาตอ่ ผูส้ อน ตลอดจนมีอิสระในความกลา้ แสดงออก
อย่างมีระเบียบวินัยในชั้นเรียนและตระหนักถึงความสำคัญของการนํานวัตกรรมมาใชในการพัฒนาการเรียนการ
สอน
4. นายอรรถพล ภูทอง กล่าวว่า นกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 อีกหลายคนท่ียังไมม่ าเรียนขณะทโ่ี รงเรยี นจดั การ
เรียนการสอนแบบ onsite และคาดว่าจะมีผลการเรียนไม่ผ่าน
5. นางสาวกาญจนา คงทน กลา่ วเสรมิ ว่า นักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 อกี หลายคนเชน่ กันทยี่ ังไม่มาเรียนขณะที่
โรงเรยี นจดั การเรียนการสอนแบบ onsite และคาดวา่ จะมผี ลการเรยี นไมผ่ า่ น
6. นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์ กล่าวว่านางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รัตน์ กล่าวว่าผู้อำนวยการโรงเรยี นมีนโยบาย
การแก้ปญั หานกั เรยี นมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่เป็นไปตามเปา้ หมายทโี่ รงเรียนกำหนดชอื่ กจิ กรรม “คลินกิ แก้ 0
ร มผ มส” ซึง่ จะชว่ ยพัฒนาผลสมั ฟทธิไ์ ด้ระดบั นงึ
ส่ิงทตี่ อ้ งพัฒนาตอ่ ไป

1.สร้างปฏิสัมพันธ์ในห้องเรยี นในรายวชิ าที่ตนเองรับผิดชอบ
2.ตดิ ตามการพัฒนา
ผลการประเมนิ การแกป้ ญั หา

 กระบวนการแก้ไขปัญหา ประสบความสำเร็จ
 กระบวนการแกไ้ ขปัญหา ไม่ประสบความสำเรจ็
เนอ่ื งจาก –
ขอ้ เสนอแนะผูร้ ายงานการบันทกึ กจิ กรรม

....................................................นัดหมายครัง้ ต่อไป วนั ที่ ……………………-………...................................

ลงช่ือ...............................................................ผรู้ ายงาน
(นางสาวอโนชา อทุ ุมสกลุ รัตน์)

ความคดิ เห็น / ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารสถานศกึ ษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงช่อื ผรู้ ับรองกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (Professional Learning Community

ลงช่อื ...............................................................................
(นายสุรยิ ันต์ เหล่ามะลกึ )

ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม

70

ภาพการมสี ว่ นร่วม

71

72


Click to View FlipBook Version