The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสร์และเทคโนโลยี2_66

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2024-03-17 13:05:19

แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสร์และเทคโนโลยี2_66

แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสร์และเทคโนโลยี2_66

48 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์(เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 7. ด้านคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล 1. เป็นเลิศวิชาการ 2. สื่อสารสองภาษา 3. ล้ำหน้าทางความคิด 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ 5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก 8. ทักษะของคนในศตวรรษที่21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L R1 –Reading (อ่านออก) R2-(W) Ringting (เขียนได้) R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning) ความมีเมตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) 9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรียนคือ ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน 2. หลักความมีเหตุผล : ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบัติ, นักเรียนเกิดความ ภาคภูมิใจในผลงานของตนและสิ่งที่เรียนรู้ 3. หลักภูมิคุ้มกัน : ให้นักเรียนเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นักเรียนรู้จักการวาง แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกลุ่มได้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคล 4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแล้วค่อยลงมือทำอย่างระมัดระวัง 5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยันที่จะทำงานให้ออกมาได้ดีที่สุด , มีวินัยในการ ทำงาน


49 10. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด ตัวชี้วัด ชิ้นงาน ภาระงาน ว.3.2ม.1/1 - รายงานกิจกรรมที่ 1 บรรยากาศของ โลกเป็นอย่างไร - สร้างแบบจำลองที่อธิบายการแบ่งชั้น บรรยากาศของโลกและอธิบายประโยชน์ ของชั้นบรรยากาศแต่ละชั้น 11. การวัดประเมินผล 11.1การวัดและประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด วิธีการ 1.การสังเกตการณ์ 2.การใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ เครื่องมือ 1. แบบสังเกตการณ์ 2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏิบัติ เกณฑ์ 1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) 2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการถือว่า ไม่ผ่าน 11.2การวัดและประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรู้ของ หน่วยการเรียนรู้นี้) สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน 1. ความรู้เกี่ยวกับ - การแบ่งชั้นบรรยากาศของ โลก - ประโยชน์ของชั้นบรรยากาศ แต่ละชั้น -การสอบถาม ซักถาม ความคิดเห็นอธิบาย เกี่ยวกับการแบ่งชั้น บรรยากาศของโลก ป ร ะ โย ช น์ ข อ งชั้ น บรรยากาศแต่ละชั้น -ก า ร ต ร ว จ ผ ล ง า น นักเรียน - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แบบประเมินการ ตรวจผลงานผู้เรียน - นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน ประเมินผลงาน 13 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 2.ทักษะกระบวนการคิด และ ทักษะกระบวนการกลุ่ม - การอภิปรายแสดง คว าม คิด เห็ น ร ะ บุ ทักษะกระบวน การทางวิทยาศาสตร์ที่ ได้ปฏิบัติจากกิจกรรม - สังเกตพฤติกรรมการ - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แ บ บ ป ร ะ เมิ น พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม -นั ก เรียน ได้ คะ แ น น 12 ค ะ แ น น ขึ้ น ไป หรือร้อยละ 80 ถือว่า ผ่านเกณฑ์


50 ทำงานกลุ่ม 3. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และสมรรถนะผู้เรียน - มีวินัยในการทำงานกลุ่ม - นักเรียนเห็นความสำคัญ ของการทำงานร่วมกับผู้อื่นและ การทำงานในระบบกลุ่ม - ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกัน และกันมีความเสียสละและ อดทน - นักเรียนมีการเห็นคุณค่าใน ตนเอง (Self-esteem) - สังเกตค่านิยมในการ ทำงานร่วมกับผู้อื่น และการทำงานใน ระบบกลุ่ม อภิปราย แสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับผลการ ทดลอง - แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - แบบประเมิน สมรรถนะผู้เรียน -แบบประเมินระดับ การเห็นคุณค่าใน ตนเอง หรือ Selfesteem - นักเรียนได้คะแนน ประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 26 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน การประเมินสมรรถนะ 29 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 12. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 1. ขั้นตั้งประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation) 1.1 ครูตั้งประเด็นให้นักเรียนร่วมกันยกตัวอย่างและอภิปรายดังนี้ • จากข้อมูลข่าวสาร หรือประสบการณ์ตรงของนักเรียนพบข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ทางธรรมชาติ เกี่ยวกับลมฟ้าอากาศที่ผิดปกติอย่างไรบ้าง (นักเรียนตอบได้โดยอิสระ เช่น อากาศร้อนจัดพายุฤดูร้อน ลูกเห็บ ตก) • สถานการณ์ดังกล่าวส่งผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สินอย่างไรบ้าง (นักเรียนตอบได้โดยอิสระ เช่น หลังคาบ้านปลิว รถยนต์เสียหาย ความเจ็บป่วยหรือได้รับบาดเจ็บ) 1.2 ให้นักเรียนดูภาพนำหน่วย คือ ภาพเฮอริเคนแคทรีนาซึ่งเป็นพายุที่มีความรุนแรงมากที่สุดลูกหนึ่งใน ประวัติศาสตร์ของประเทศสหรัฐอเมริกา และสร้างความเสียหายนับเป็นมูลค่าถึง นับแสนล้านดอลล่าห์ เกิดขึ้น ระหว่างวันที่ 23-31 สิงหาคม 2548 1.3 ใช้คำถามต่อไปนี้ • ปัจจัยใดบ้างส่งผลให้เกิดสภาพลมฟ้าอากาศในพื้นที่นั้น ๆ (องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ เปลี่ยนแปลง สภาพลมฟ้าอากาศเปลี่ยนแปลง) • องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศมีอะไรบ้าง(อุณหภูมิ ความชื้น ความกดอากาศ ลม เมฆ และหยาด น้ำฟ้า) 1.4 ทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียน แล้วนำเสนอผลการทำกิจกรรม หากครูพบว่านักเรียนยังทำ กิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนไม่ถูกต้องครูควรทบทวนหรือแก้ไขความเข้าใจผิดของนักเรียนเพื่อให้นักเรียน มีความรู้พื้นฐานที่ถูกต้องและเพียงพอที่จะเรียนเรื่องบรรยากาศต่อไป ชั่วโมงที่ 2 2. ขั้นสืบค้นความรู้(Searching for Information) 2.1 ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาในชุดกิจกรรมและตอบคำถามเกี่ยวกับ การเกิดบรรยากาศของโลก ตั้งแต่ เริ่มต้นจนถึงปัจจุบันจากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับการเกิดบรรยากาศของโลก เพื่อให้ได้ ข้อสรุปว่า เมื่อโลกเกิดขึ้นในช่วงแรกไม่มีบรรยากาศห่อหุ้ม บรรยากาศของโลกมีการเปลี่ยนแปลงตั้งแต่อดีต


51 จนถึงปัจจุบัน โดยมีเหตุการณ์ต่าง ๆเข้ามาเกี่ยวข้อง บรรยากาศของโลกในปัจจุบันเหมาะสมต่อการดำรงชีวิต ของมนุษย์ 2.2 นำเข้าสู่กิจกรรมที่ 1 บรรยากาศของโลกเป็นอย่างไร โดยตั้งคำถามสร้างความสนใจว่า บรรยากาศที่ ห่อหุ้มโลกมีลักษณะและสมบัติเหมือนกันโดยตลอดตั้งแต่ระดับผิวโลกจนถึงอวกาศหรือไม่ อย่างไร 2.3 ให้นักเรียนอ่านวิธีดำเนินกิจกรรมในหนังสือเรียน และร่วมกันอภิปรายในประเด็นดังต่อไปนี้ • กิจกรรมนี้เกี่ยวกับเรื่องอะไร (บรรยากาศของโลก) • กิจกรรมนี้มีจุดประสงค์อย่างไร (นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง) • วิธีดำเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (อ่านข้อมูลสมบัติและองค์ประกอบของบรรยากาศจาก ตาราง จากนั้นสร้างแบบจำลองชั้นบรรยากาศของโลกตามเกณฑ์ของตนเองและนำเสนอ รวบรวมข้อมูลการ แบ่งชั้นบรรยากาศตามเกณฑ์ของนักวิทยาศาสตร์ และเปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่ตนเองสร้างขึ้น) 2.4 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเสนอแบบจำลองชั้นบรรยากาศ โดยนำผลงานติดแสดงไว้รอบห้องเรียนนักเรียน ทุกคนร่วมชมผลงาน 2.5 นักเรียนสืบค้นข้อมูลการแบ่งชั้นบรรยากาศตามเกณฑ์ของนักวิทยาศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือ ได้เช่น เว็บไซต์หรือหนังสือจากหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง และอภิปรายภายในกลุ่มเพื่อเปรียบเทียบการแบ่ง ชั้นบรรยากาศตามเกณฑ์ของนักวิทยาศาสตร์ และเกณฑ์ของตนเอง โดยให้เขียนผลการอภิปรายบนผลงาน แบบจำลองชั้นบรรยากาศที่นักเรียนได้ติดแสดงไว้รอบห้องเรียน ชั่วโมงที่ 3 3. ขั้นสรุปองค์ความรู้(Knowledge Formation) 3.1 นักเรียนตอบคำถามท้ายกิจกรรม จากนั้นนำเสนอ และอภิปรายคำตอบร่วมกันเพื่อให้ได้ข้อสรุป ว่า ในแต่ละระดับความสูง บรรยากาศมีสมบัติและองค์ประกอบแตกต่างกันไป การแบ่งชั้นบรรยากาศมีหลาย เกณฑ์ โดยทั่วไปนักวิทยาศาสตร์ใช้การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามความสูงในการแบ่งชั้นบรรยากาศ 4. ขั้นการสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication) 4.1 นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า โลกของเรามีบรรยากาศ ห่อหุ้ม บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกมีสมบัติและองค์ประกอบแตกต่างกันไปตามความสูงจากพื้นโลก นักวิทยาศาสตร์ ใช้เกณฑ์ต่าง ๆ ในการแบ่งชั้นบรรยากาศของโลก โดยทั่วไปนักวิทยาศาสตร์ใช้การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตาม ความสูงในการแบ่งชั้นบรรยากาศ ได้แก่ ชั้นโทรโพสเฟียร์ สตราโตสเฟียร์ มีโซสเฟียร์เทอร์โมสเฟียร์ และเอก โซสเฟียร์ บรรยากาศแต่ละชั้นมีประโยชน์ต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมในด้านต่าง ๆ เช่น เกิดฝน ป้องกันรังสี อัลตราไวโอเลต เผาไหม้อุกกาบาต สะท้อนคลื่นวิทยุ บรรยากาศของโลกจึงมีความเหมาะสมและเอื้อต่อการ ดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต 5. ขั้นการบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service) 5.1 ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับประโยชน์ของชั้นบรรยากาศจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ หรือหนังสือเรียน จากนั้นตอบคำถามระหว่างเรียน และทำกิจกรรมเสริม แบบจำลองชั้นบรรยากาศของ นักเรียนเป็นอย่างไร โดยให้นักเรียนสร้างแบบจำลองที่แสดงสมบัติ องค์ประกอบ และประโยชน์ของชั้น บรรยากาศแต่ละชั้น 13. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 12.1สื่อการเรียนรู้


52 1) ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนังสือแบบเรียน 3) สื่อเพาเวอร์พอยต์ 12.2แหล่งเรียนรู้ 1) อินเตอร์เน็ต 2) ห้องสมุด 14. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ ผลการสอน รายละเอียด 1. ด้านความรู้: - การแบ่งชั้นบรรยากาศของโลก - ประโยชน์ของชั้นบรรยากาศแต่ละชั้น ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 2. ด้านกระบวนการ : - ทักษะกระบวนการคิด - ทักษะกระบวนการกลุ่ม ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 3. ด้านคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม อันพึงประสงค์: - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ - อยู่อย่างพอเพียง - รักความเป็นไทย ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 4. ปัญหาการสอน ....................................................................... ....................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ......................................................................................


53 ...................................................................................... 5. วิธีแก้ปัญหา ....................................................................... ....................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ (.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์..) (นางกณิการ์ พัฒรากุล) ลงชื่อ........................................... (นายไวยวุฒิ ธนบัตร) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ลงชื่อ ........................................................ (นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์) ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม


54 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 หน่วยการเรียนรู้ที่…2…กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ…….เรื่อง……..ลมฟ้าอากาศรอบตัว.(ตอนที่ 2).... รายวิชา…วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี…..2.......รหัสวิชา…......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1..... กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีปีการศึกษา..2566...ภาคเรียนที่..2...เวลา...2..ชั่วโมง…… ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์......................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้(รายวิชาพื้นฐานมีทั้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด รายวิชาเพิ่มเติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู้) 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ว 3.2 ม.1/2 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวชี้วัดที่ใช้ในหน่วยการเรียนรู้นี้เขียนเป็นแบบความเรียง) มนุษย์ดำรงชีวิตอยู่ภายใต้บรรยากาศชั้นโทรโพสเฟียร์ซึ่งเกิดสภาพลมฟ้าอากาศต่าง ๆ เช่น ลม เมฆ ฝน ฟ้าแลบ ฟ้าร้ององค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม (รายวิชาเพิ่มเติม) สาระการเรียนรู้แกนกลาง • ลมฟ้าอากาศ เป็นสภาวะของอากาศในเวลาหนึ่งของพื้นที่หนึ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบลมฟ้าอากาศ ได้แก่ อุณหภูมิอากาศ ความกดอากาศ ลม ความชื้น เมฆ และหยาดน้ำฟ้า โดยหยาดน้ำฟ้าที่พบบ่อยในประเทศไทยได้แก่ ฝน องค์ประกอบ ลมฟ้าอากาศเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น ปริมาณรังสีจากดวงอาทิตย์และลักษณะ พื้นผิวโลกส่งผลต่ออุณหภูมิอากาศ อุณหภูมิอากาศและปริมาณไอน้ำส่งผลต่อความชื้น ความกดอากาศส่งผลต่อ ลม ความชื้นและลมส่งผลต่อเมฆ 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพูดถึงหลักสูตรท้องถิ่นให้ใส่ลงไปด้วย ...............................................................-........................................................................................... 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. วิเคราะห์และอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศได้(K) 2. ทดลองหาอุณหภูมิอากาศ และการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศได้(P) 3. ตั้งใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้ (A) 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์(เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. รักชาติศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 7. ด้านคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล 1. เป็นเลิศวิชาการ 2. สื่อสารสองภาษา 3. ล้ำหน้าทางความคิด


55 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ 5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก 8. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L R1 –Reading (อ่านออก) R2-(W) Ringting (เขียนได้) R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning) ความมีเมตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) 9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรียนคือ ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน 2. หลักความมีเหตุผล : ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบัติ, นักเรียนเกิดความ ภาคภูมิใจในผลงานของตนและสิ่งที่เรียนรู้ 3. หลักภูมิคุ้มกัน : ให้นักเรียนเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นักเรียนรู้จักการวาง แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกลุ่มได้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคล 4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแล้วค่อยลงมือทำอย่างระมัดระวัง 5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยันที่จะทำงานให้ออกมาได้ดีที่สุด , มีวินัยในการ ทำงาน 10. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด ตัวชี้วัด ชิ้นงาน ภาระงาน ว.3.2ม.1/2 - รายงานกิจกรรมที่ 2 อุณหภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลงอย่างไร - วิเคราะห์และอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อ การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของลมฟ้า อากาศ 11. การวัดประเมินผล 11.1การวัดและประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด วิธีการ 1.การสังเกตการณ์ 2.การใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ เครื่องมือ 1. แบบสังเกตการณ์


56 2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏิบัติ เกณฑ์ 1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) 2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการถือว่า ไม่ผ่าน 11.2การวัดและประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรู้ของ หน่วยการเรียนรู้นี้) สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน 1. ความรู้เกี่ยวกับ - ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยน แปลงองค์ประกอบของลมฟ้า อากาศ -การสอบถาม ซักถาม ความคิดเห็นอธิบาย เกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อ การเปลี่ยนแปลง องค์ประกอบของลมฟ้า อากาศ -การตรวจผลงาน นักเรียน - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แบบประเมินการ ตรวจผลงานผู้เรียน - นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน ประเมินผลงาน 13 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 2.ทักษะกระบวนการคิด และทักษะกระบวนการกลุ่ม - การอภิปรายแสดง ความคิดเห็นระบุทักษะ กระบวน การทางวิทยาศาสตร์ที่ได้ ปฏิบัติจากกิจกรรม - สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แบบประเมิน พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม -นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ 3. คุณลักษณะที่พึง ประสงค์ และสมรรถนะผู้เรียน - มีวินัยในการทำงานกลุ่ม - นักเรียนเห็นความสำคัญ ของการทำงานร่วมกับผู้อื่น และการทำงานในระบบกลุ่ม - ยอมรับความคิดเห็นซึ่ง กันและกันมีความเสียสละ และอดทน - นักเรียนมีการเห็นคุณค่า ในตนเอง (Self-esteem) - สังเกตค่านิยมในการ ทำงานร่วมกับผู้อื่นและ การทำงานในระบบกลุ่ม อภิปราย แสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับผลการ ทดลอง - แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - แบบประเมิน สมรรถนะผู้เรียน -แบบประเมินระดับ การเห็นคุณค่าใน ตนเอง หรือ Selfesteem - นักเรียนได้คะแนน ประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 26 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน การประเมินสมรรถนะ 29 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์


57 12. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 1. ขั้นตั้งประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation) 1.1 ทบทวนความรู้ เกี่ยวกับองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศที่ทำให้สภาพลมฟ้าอากาศเปลี่ยนแปลงว่ามี อะไรบ้าง (อุณหภูมิอากาศ ความชื้นอากาศความกดอากาศ ลม เมฆ และฝน) 1.2 กระตุ้นความสนใจนักเรียนต่อการเรียนเกี่ยวกับองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ องค์ประกอบแรกคือ อุณหภูมิ โดยใช้ภาพ วีดิทัศน์ หรือเรื่องราวที่น่าสนใจเกี่ยวกับอุณหภูมิอากาศ เช่น การถาม คำถามว่าในรอบ 1 วันอุณหภูมิอากาศมีค่าแตกต่างกันได้มากที่สุดเท่าใด 1.3 ให้นักเรียนดูภาพนำเรื่อง อ่านเนื้อหานำเรื่องและรู้จักคำสำคัญ โดยครูอาจจะใช้คำถามดังนี้ • จากสถิติโลกอุณหภูมิอากาศที่แตกต่างกันมากที่สุดในรอบวันมีค่าเท่าใด (จากสถิติโลกพบว่าวันที่ อุณหภูมิอากาศ ในรอบวันที่มีค่าแตกต่างกันมากที่สุด เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2459 ณเมืองบราวนิ่ง รัฐมอนทานา ประเทศสหรัฐอเมริกาโดยอุณหภูมิในรอบวันมีค่าแตกต่างกันถึง 56องศาเซลเซียส ในวันดังกล่าวอุณหภูมิ อากาศสูงสุด มีค่า 7 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิอากาศต่ำสุดมีค่า -49 องศาเซลเซียส) • นักเรียนคิดว่าช่วงไหนของวันอุณหภูมิอากาศสูงสุดและต่ำสุด เพราะเหตุใด (นักเรียนตอบได้โดย อิสระ) 1.4 ทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียน แล้วนำเสนอผลการทำกิจกรรม หากครูพบว่านักเรียนยังทำ กิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนไม่ถูกต้องครูควรทบทวนหรือแก้ไขความเข้าใจผิดของนักเรียนเพื่อให้นักเรียน มีความรู้พื้นฐานที่ถูกต้องและเพียงพอที่จะเรียนเรื่องอุณหภูมิอากาศต่อไป ชั่วโมงที่ 2 2. ขั้นสืบค้นความรู้(Searching for Information) 2.1 นำเข้าสู่การทำกิจกรรมที่ 2 อุณหภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงอย่างไร โดยตั้งคำถามกระตุ้นความสนใจว่า จากสถิติโลกที่อุณหภูมิอากาศมีค่าแตกต่างกันมากที่สุดในรอบวันถึง 56 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นความผิดปกติ ของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศ ดังนั้นในวันที่อุณหภูมิอากาศมีการเปลี่ยนแปลงแบบปกติ อุณหภูมิอากาศ จะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรและมีค่าแตกต่างกันประมาณเท่าใด 2.2 ให้นักเรียนอ่านวิธีดำเนินกิจกรรมในหนังสือเรียน และร่วมกันอภิปรายประเด็นดังต่อไปนี้ • กิจกรรมนี้เกี่ยวกับเรื่องอะไร (การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศในรอบวัน) • กิจกรรมนี้มีจุดประสงค์อะไร (ตรวจวัดอุณหภูมิอากาศและวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ อากาศในรอบวัน) • วิธีดำเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (อ่านวิธีการใช้เทอร์มอมิเตอร์ และเทอร์มอมิเตอร์รูป ตัวยู วางแผนการตรวจวัดอุณหภูมิอากาศ บันทึกลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ที่ตรวจวัด วัดและบันทึก อุณหภูมิอากาศตามแผนที่วางไว้ นำข้อมูลมาเขียนกราฟเส้นแสดงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศในช่วงเวลา ต่าง ๆ) • วัสดุและอุปกรณ์พิเศษที่ใช้ในกิจกรรมมีอะไรบ้างและใช้งานอย่างไร (เทอร์มอมิเตอร์รูปตัวยูซึ่งมี วิธีการใช้งานดังแสดงในหนังสือเรียน)


58 • ข้อควรระวังในการทำกิจกรรมมีหรือไม่อย่างไร (การใช้เทอร์มอมิเตอร์วัดค่าอุณหภูมิอากาศไม่ควร สัมผัสกระเปาะเทอร์มอมิเตอร์ และไม่ควรให้กระเปาะเทอร์มอมิเตอร์สัมผัสแสงจากดวงอาทิตย์โดยตรง) 2.3 ให้นักเรียนศึกษาและอภิปรายวิธีการใช้เทอร์มอมิเตอร์รูปตัวยู โดยอ่านข้อมูลในหนังสือเรียน 2.4 ให้นักเรียนร่วมกันวางแผนเพื่อเลือกสถานที่และเวลาที่ใช้ในการวัดอุณหภูมิอากาศ รวมทั้งออกแบบ วิธีการบันทึกผลค่าอุณหภูมิอากาศที่สังเกตได้ 2.5 ให้นักเรียนทำกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ ครูสังเกตและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการตรวจวัดอุณหภูมิ อากาศของนักเรียนรวมทั้งการนำข้อมูลมาใช้ประกอบการอภิปรายหลังกิจกรรม 2.6 เน้นให้นักเรียนเก็บข้อมูลลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ที่นักเรียนเลือกศึกษา เช่น ปริมาณแสงแดด ความชื้นแหล่งน้ำ ปริมาณต้นไม้ การนำข้อมูลที่ได้จากการตรวจวัดมาสร้างกราฟเส้นที่แสดงการเปลี่ยนแปลง อุณหภูมิอากาศในช่วงเวลาต่าง ๆ ที่ตรวจวัดและเตรียมนำเสนอ โดยครูแนะนำวิธีการสร้างกราฟให้แก่นักเรียน 3. ขั้นสรุปองค์ความรู้(Knowledge Formation) 3.1 ให้นักเรียนนำผลการทำกิจกรรมติดแสดงหน้าห้องเรียนเพื่อเปรียบเทียบข้อมูลของแต่ละกลุ่มหาก ข้อมูลที่ได้จากแต่ละกลุ่มแตกต่างกัน ให้นักเรียนอภิปรายสาเหตุและสรุปข้อมูลที่ควรจะเป็น 3.2 ให้นักเรียนตอบคำถามท้ายกิจกรรม จากนั้นครูและนักเรียนอภิปรายคำตอบร่วมกัน 4. ขั้นการสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication) 4.1 ให้นักเรียนอ่านข้อมูลในหนังสือเรียนเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศในรอบ 24 ชั่วโมง และตอบคำถามระหว่างเรียน 4.2 นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศในรอบ 24 ชั่วโมงจนได้ข้อสรุป ร่วมกันว่า อุณหภูมิ อากาศในรอบวันมีการเปลี่ยนแปลงในแบบรูปเดียวกัน โดยอุณหภูมิอากาศในช่วงเช้าจะมีค่าต่ำ และค่อย ๆ สูงขึ้นจนกระทั่งมีค่าสูงที่สุดในช่วงบ่าย จากนั้นจะค่อย ๆ ลดต่ำลง จนต่ำที่สุดในช่วงเวลาเช้ามืด 5. ขั้นการบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service) 5.1 นักเรียนอ่านข้อมูลเพิ่มเติมจากหนังสือเรียนเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลให้อุณหภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง และตอบคำถามระหว่างเรียน จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายคำตอบ 5.2 นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นว่า ในวันที่เมืองบราวนิ่งมีค่าอุณหภูมิอากาศแตกต่างกันมากที่สุด น่าจะมีเหตุการณ์ใดเกิดขึ้น (อาจแสดงความเห็นได้หลากหลายเช่น เกิดพายุหิมะ) 5.3 นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเนื้อหาทั้งหมดที่ได้เรียนรู้จากการทำกิจกรรมและการอ่าน เพิ่มเติม เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า อุณหภูมิอากาศมีการเปลี่ยนแปลงไปในรอบวัน เนื่องจากพื้นโลกได้รับพลังงานจาก ดวงอาทิตย์และถ่ายโอนให้แก่อากาศเหนือบริเวณนั้น เมื่อโลกได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ในช่วงเช้าทำให้ อุณหภูมิอากาศค่อย ๆ เพิ่มสูงขึ้นและสะสมพลังงานไปเรื่อย ๆ จนมีอุณหภูมิอากาศสูงสุดในช่วงบ่าย เมื่อดวง อาทิตย์ค่อย ๆ ลับขอบฟ้า การส่งพลังงานมายังโลกน้อยลง และพื้นโลกมีการถ่ายโอนความร้อนแก่อากาศใน ปริมาณที่น้อยลง จึงทำให้อุณหภูมิอากาศค่อย ๆลดต่ำลง ส่วนในเวลากลางคืนพื้นโลกไม่ได้รับพลังงานจากดวง อาทิตย์แต่พื้นดินก็ยังถ่ายโอนความร้อนแก่อากาศเหนือบริเวณนั้น ทำให้อุณหภูมิอากาศในช่วงกลางคืนต่ำกว่า กลางวัน และมีค่าต่ำสุดในช่วงเช้ามืด นอกจากนั้นยังมีปัจจัยอื่น ๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศ เช่น ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ ระดับความสูงของพื้นที่ เป็นต้น


59 5.4 ครูเชื่อมโยงไปสู่การเรียนเรื่องต่อไปว่า อุณหภูมิอากาศ เป็นองค์ประกอบหนึ่งของลมฟ้าอากาศ ซึ่งนักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบอื่น ๆ ของลมฟ้าอากาศในเรื่องต่อไป 13. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 13.1สื่อการเรียนรู้ 1) ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนังสือแบบเรียน 3) สื่อเพาเวอร์พอยต์ 13.2แหล่งเรียนรู้ 1) อินเตอร์เน็ต 2) ห้องสมุด 14. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ ผลการสอน รายละเอียด 1. ด้านความรู้: - ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงองค์ ประกอบของลมฟ้าอากาศ ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 2. ด้านกระบวนการ : - ทักษะกระบวนการคิด - ทักษะกระบวนการกลุ่ม ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 3. ด้านคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม อันพึงประสงค์: - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ - อยู่อย่างพอเพียง - รักความเป็นไทย ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 4. ปัญหาการสอน ....................................................................... ......................................................................................


60 ....................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 5. วิธีแก้ปัญหา ....................................................................... ....................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ (.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์..) (นางกณิการ์ พัฒรากุล) ลงชื่อ........................................... (นายไวยวุฒิ ธนบัตร) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ลงชื่อ ........................................................ (นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์) ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม


61 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 หน่วยการเรียนรู้ที่…2…กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ…….เรื่อง……..ลมฟ้าอากาศรอบตัว.(ตอนที่ 3).... รายวิชา…วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี…..2.......รหัสวิชา…......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1..... กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีปีการศึกษา...2566...ภาคเรียนที่..2...เวลา...2..ชั่วโมง…… ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์......................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้(รายวิชาพื้นฐานมีทั้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด รายวิชาเพิ่มเติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู้) 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ว 3.2 ม.1/2 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวชี้วัดที่ใช้ในหน่วยการเรียนรู้นี้เขียนเป็นแบบความเรียง) มนุษย์ดำรงชีวิตอยู่ภายใต้บรรยากาศชั้นโทรโพสเฟียร์ซึ่งเกิดสภาพลมฟ้าอากาศต่าง ๆ เช่น ลม เมฆ ฝน ฟ้าแลบ ฟ้าร้ององค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม (รายวิชาเพิ่มเติม) สาระการเรียนรู้แกนกลาง • ลมฟ้าอากาศ เป็นสภาวะของอากาศในเวลาหนึ่งของพื้นที่หนึ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบลมฟ้าอากาศ ได้แก่ อุณหภูมิอากาศ ความกดอากาศ ลม ความชื้น เมฆ และหยาดน้ำฟ้า โดยหยาดน้ำฟ้าที่พบบ่อยในประเทศไทยได้แก่ ฝน องค์ประกอบลมฟ้าอากาศเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาขึ้นอยู่กับ ปัจจัยต่าง ๆ เช่น ปริมาณรังสีจากดวงอาทิตย์และลักษณะพื้นผิวโลกส่งผลต่ออุณหภูมิอากาศ อุณหภูมิอากาศ และปริมาณไอน้ำส่งผลต่อความชื้น ความกดอากาศส่งผลต่อลม ความชื้นและลมส่งผลต่อเมฆ 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพูดถึงหลักสูตรท้องถิ่นให้ใส่ลงไปด้วย ...............................................................-........................................................................................... 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของความกดอากาศ (K) 2. ทำทดลอง สังเกตและอธิบายแรงและทิศทางของแรงที่อากาศกระทำต่อวัตถุ(P) 3. ตั้งใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้(A) 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์(เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 7. ด้านคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล


62 1. เป็นเลิศวิชาการ 2. สื่อสารสองภาษา 3. ล้ำหน้าทางความคิด 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ 5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก 8. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L R1 –Reading (อ่านออก) R2-(W) Ringting (เขียนได้) R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning) ความมีเมตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) 9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรียนคือ ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน 2. หลักความมีเหตุผล : ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบัติ, นักเรียนเกิดความ ภาคภูมิใจในผลงานของตนและสิ่งที่เรียนรู้ 3. หลักภูมิคุ้มกัน : ให้นักเรียนเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นักเรียนรู้จักการวาง แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกลุ่มได้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคล 4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแล้วค่อยลงมือทำอย่างระมัดระวัง 5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยันที่จะทำงานให้ออกมาได้ดีที่สุด , มีวินัยในการ ทำงาน 10. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด ตัวชี้วัด ชิ้นงาน ภาระงาน ว.3.2 ม.1/2 - รายงานกิจกรรมที่ 3 อากาศมีแรง กระทำต่อวัตถุอย่างไร - วิเคราะห์และอธิบายเรื่องอากาศมี แรงดัน - วิเคราะห์และอธิบายการเปลี่ยนแปลง ของความกดอากาศ 11. การวัดประเมินผล 11.1การวัดและประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด วิธีการ 1.การสังเกตการณ์


63 2.การใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ เครื่องมือ 1. แบบสังเกตการณ์ 2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏิบัติ เกณฑ์ 1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) 2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการถือว่า ไม่ผ่าน 11.2การวัดและประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรู้ของ หน่วยการเรียนรู้นี้) สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน 1. ความรู้เกี่ยวกับ - อากาศมีแรงดัน - การเปลี่ยนแปลงของความกด อากาศ - อุปกรณ์ที่ใช้วัดความกด อากาศ -การสอบถาม ซักถาม ความคิดเห็นอธิบาย เกี่ยวกับการเปลี่ยน แปลงของความกด อากาศ -การตรวจผลงาน นักเรียน - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แบบประเมินการ ตรวจผลงานผู้เรียน - นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน ประเมินผลงาน 13 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 2.ทักษะกระบวนการคิด และ ทักษะกระบวนการกลุ่ม - การอภิปรายแสดง ความคิดเห็นระบุ ทักษะกระบวน การทางวิทยาศาสตร์ที่ ได้ปฏิบัติจากกิจกรรม - สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แบบประเมิน พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม -นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ 3. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และสมรรถนะผู้เรียน - มีวินัยในการทำงานกลุ่ม - นักเรียนเห็นความสำคัญ ของการทำงานร่วมกับผู้อื่นและ การทำงานในระบบกลุ่ม - ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกัน และกันมีความเสียสละและ อดทน - สังเกตค่านิยมในการ ทำงานร่วมกับผู้อื่น และการทำงานใน ระบบกลุ่ม อภิปราย แสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับผลการ ทดลอง - แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - แบบประเมิน สมรรถนะผู้เรียน -แบบประเมินระดับ การเห็นคุณค่าใน ตนเอง หรือ Selfesteem - นักเรียนได้คะแนน ประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 26 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน การประเมินสมรรถนะ 29 คะแนนขึ้นไป


64 - นักเรียนมีการเห็นคุณค่าใน ตนเอง (Self-esteem) หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 12. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 1. ขั้นตั้งประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation) 1.1 ครูใช้คำถามกระตุ้น ดังนี้ • ว่าวที่มีน้ำหนักมากสามารถลอยขึ้นไปในอากาศได้อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ) 1.2 นักเรียนทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนแล้วนำเสนอผลการทำกิจกรรม หากพบว่านักเรียนยังทำ กิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนไม่ถูกต้องครูควรทบทวนหรือแก้ไขความเข้าใจผิดของนักเรียนเพื่อให้นักเรียน มีความรู้พื้นฐานที่ถูกต้องและเพียงพอที่จะเรียนเรื่องความกดอากาศและลมต่อไป 1.3 นำเข้าสู่กิจกรรมที่ 3 อากาศมีแรงกระทำต่อวัตถุหรือไม่อย่างไร โดยเชื่อมโยงจากภาพว่าวที่ลอยบนฟ้า ว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร 2. ขั้นสืบค้นความรู้(Searching for Information) 2.1 ให้นักเรียนอ่านวิธีดำเนินกิจกรรมในหนังสือเรียน และร่วมกันอภิปรายในประเด็นดังต่อไปนี้ • กิจกรรมนี้เกี่ยวกับเรื่องอะไร (แรงและทิศทางของแรงที่อากาศกระทำต่อวัตถุ) • กิจกรรมนี้มีจุดประสงค์อย่างไร (นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง) • วิธีดำเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (บรรจุถุงพลาสติกลงในขวดโหลโดยไม่รีดถุงให้แนบกับ ขวดจากนั้นดึงถุงพลาสติกขึ้นจากก้นขวด บันทึกผล ทดลองอีกครั้งหนึ่งโดยบรรจุถุงพลาสติกลงในขวดโหลและ รีดถุงให้แนบกับขวด คาดคะแนผลที่จะเกิดขึ้นจากนั้นดึงถุงพลาสติกขึ้นจากก้นขวด โดยจัดขวดให้อยู่ในมุมต่าง ๆ สังเกตสิ่งที่เกิดขึ้น และบันทึกผล) 2.2 ให้นักเรียนทำกิจกรรม โดยครูสังเกตการทำกิจกรรมของนักเรียนอย่างใกล้ชิด เพื่อให้คำแนะนำ ครู นำ ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมาใช้ประกอบการอภิปรายหลังกิจกรรม เช่น ครูแนะนำเกี่ยวกับการดึงถุงพลาสติก ออกจากขวดโหล หรือการรีดถุงพลาสติกให้แนบกับด้านในของขวดโหล ชั่วโมงที่ 2 3. ขั้นสรุปองค์ความรู้(Knowledge Formation) 3.1 ให้นักเรียนตอบคำถามท้ายกิจกรรม จากนั้นนำเสนอ และอภิปรายคำตอบร่วมกันเพื่อให้ได้ ข้อสรุปว่า อากาศมีแรงกระทำต่อวัตถุทุกทิศทุกทาง 3.2 ให้นักเรียนอ่านข้อมูลเพิ่มเติมจากหนังสือเรียนเกี่ยวกับแรงดันและความดัน ความดันในระดับ ความสูงต่าง ๆ ผลของอุณหภูมิต่อความดันอากาศ และผลของความดันอากาศต่อการดำรงชีวิต จากนั้นตอบ คำถามระหว่างเรียน ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายคำตอบ 4. ขั้นการสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication) 4.1 นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่าความดันอากาศเปลี่ยนแปลง ได้โดยมีปัจจัยสำคัญคือระดับความสูงของพื้นที่และอุณหภูมิของอากาศ พื้นที่ที่มีระดับความสูงมาก ความดัน อากาศมีค่าต่ำ ส่วนพื้นที่ที่มีความสูงน้อย ความดันอากาศจะมีค่าสูง เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกทำให้บริเวณ ใกล้พื้นผิวโลกมีโมเลกุลอากาศอยู่หนาแน่นกว่าบริเวณที่อยู่สูงขึ้นไป อากาศบริเวณใกล้ผิวโลกจึงมีความดัน มากกว่าอากาศบริเวณที่อยู่สูงขึ้นไป นอกจากนั้นอุณหภูมิอากาศยังส่งผลต่อความดันอากาศ เนื่องจากอากาศที่


65 มีอุณหภูมิสูงกว่าจะเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระกว่า จึงมีความหนาแน่นน้อยกว่า อากาศที่มีอุณหภูมิสูงกว่าจึงมีความ ดันอากาศต่ำกว่า 5. ขั้นการบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service) 5.1 นักเรียนร่วมกันเขียนความสัมพันธ์ระหว่างความดันอากาศกับความสูงจากพื้นโลกควรเป็น อย่างไร ให้สร้างแบบจำลองหรือเขียนแผนภาพอธิบายความสัมพันธ์ดังกล่าวแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันภายในชั้น เรียน 13. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 12.1สื่อการเรียนรู้ 1) ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนังสือแบบเรียน 3) สื่อเพาเวอร์พอยต์ 12.2แหล่งเรียนรู้ 1) อินเตอร์เน็ต 2) ห้องสมุด 14. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ ผลการสอน รายละเอียด 1. ด้านความรู้: - อากาศมีแรงดัน - การเปลี่ยนแปลงของความกดอากาศ - อุปกรณ์ที่ใช้วัดความกดอากาศ ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 2. ด้านกระบวนการ : - ทักษะกระบวนการคิด - ทักษะกระบวนการกลุ่ม ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 3. ด้านคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม อันพึงประสงค์: - มีวินัย ...................................................................................... ...................................................................................... ......................................................................................


66 - ใฝ่เรียนรู้ - อยู่อย่างพอเพียง - รักความเป็นไทย ...................................................................................... ...................................................................................... 4. ปัญหาการสอน ....................................................................... ....................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 5. วิธีแก้ปัญหา ....................................................................... ....................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ (.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์..) (นางกณิการ์ พัฒรากุล) ลงชื่อ........................................... (นายไวยวุฒิ ธนบัตร) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ลงชื่อ ........................................................ (นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์) ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม


67 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 หน่วยการเรียนรู้ที่…2…กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ…….เรื่อง……..ลมฟ้าอากาศรอบตัว.(ตอนที่ 4).... รายวิชา…วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี…..2.......รหัสวิชา…......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1..... กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีปีการศึกษา...2566...ภาคเรียนที่..2...เวลา...2..ชั่วโมง…… ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์......................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้(รายวิชาพื้นฐานมีทั้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด รายวิชาเพิ่มเติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู้) 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ว 3.2 ม.1/2 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวชี้วัดที่ใช้ในหน่วยการเรียนรู้นี้เขียนเป็นแบบความเรียง) มนุษย์ดำรงชีวิตอยู่ภายใต้บรรยากาศชั้นโทรโพสเฟียร์ซึ่งเกิดสภาพลมฟ้าอากาศต่าง ๆ เช่น ลม เมฆ ฝน ฟ้าแลบ ฟ้าร้ององค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม (รายวิชาเพิ่มเติม) สาระการเรียนรู้แกนกลาง • ลมฟ้าอากาศ เป็นสภาวะของอากาศในเวลาหนึ่งของพื้นที่หนึ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบลมฟ้าอากาศ ได้แก่ อุณหภูมิอากาศ ความกดอากาศ ลม ความชื้น เมฆ และหยาดน้ำฟ้า โดยหยาดน้ำฟ้าที่พบบ่อยในประเทศไทยได้แก่ ฝน องค์ประกอบลมฟ้าอากาศเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาขึ้นอยู่กับ ปัจจัยต่าง ๆ เช่น ปริมาณรังสีจากดวงอาทิตย์และลักษณะพื้นผิวโลกส่งผลต่ออุณหภูมิอากาศ อุณหภูมิอากาศ และปริมาณไอน้ำส่งผลต่อความชื้น ความกดอากาศส่งผลต่อลม ความชื้นและลมส่งผลต่อเมฆ 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพูดถึงหลักสูตรท้องถิ่นให้ใส่ลงไปด้วย ...............................................................-........................................................................................... 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถ 1. อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงลม (K) 2. ทดลอง วิเคราะห์และอธิบายปัจจัยที่มีผลต่ออัตราเร็วลม (P) 3. ตั้งใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้ (A) 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์(เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ


68 7. ด้านคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล 1. เป็นเลิศวิชาการ 2. สื่อสารสองภาษา 3. ล้ำหน้าทางความคิด 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ 5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก 8. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L R1 –Reading (อ่านออก) R2-(W) Ringting (เขียนได้) R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning) ความมีเมตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) 9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรียนคือ ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน 2. หลักความมีเหตุผล : ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบัติ, นักเรียนเกิดความ ภาคภูมิใจในผลงานของตนและสิ่งที่เรียนรู้ 3. หลักภูมิคุ้มกัน : ให้นักเรียนเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นักเรียนรู้จักการวาง แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกลุ่มได้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคล 4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแล้วค่อยลงมือทำอย่างระมัดระวัง 5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยันที่จะทำงานให้ออกมาได้ดีที่สุด , มีวินัยในการ ทำงาน 10. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด ตัวชี้วัด ชิ้นงาน ภาระงาน ว.3.2 ม.1/2 - รายงานกิจกรรมที่ 4 เหตุใดลมจึง เคลื่อนที่เร็วต่างกัน - วิเคราะห์และอธิบายเรื่องเคลื่อนที่ของ ลมจากบริเวณที่มีความกดอากาศสูงไป ยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่ำ - วิเคราะห์และอธิบายลักษณะทาง กายภาพของพื้นที่มีผลต่ออัตราเร็วลม และทิศทางลม 11. การวัดประเมินผล 11.1การวัดและประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด


69 วิธีการ 1.การสังเกตการณ์ 2.การใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ เครื่องมือ 1. แบบสังเกตการณ์ 2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏิบัติ เกณฑ์ 1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) 2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการถือว่า ไม่ผ่าน 11.2การวัดและประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรู้ของ หน่วยการเรียนรู้นี้) สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน 1. ความรู้เกี่ยวกับ - การเคลื่อนที่ของลมจาก บริเวณที่มีความกดอากาศสูงไป ยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่ำ - ลักษณะทางกายภาพของ พื้นที่มีผลต่ออัตราเร็วลมและ ทิศทางลม - อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจวัด ทิศทางลม -การสอบถาม ซักถาม ความคิดเห็นอธิบาย เกี่ยวกับการเกิดลม -การตรวจผลงาน นักเรียน - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แบบประเมินการ ตรวจผลงานผู้เรียน - นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน ประเมินผลงาน 13 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 2.ทักษะกระบวนการคิด และ ทักษะกระบวนการกลุ่ม - การอภิปรายแสดง ความคิดเห็นระบุ ทักษะกระบวน การทางวิทยาศาสตร์ที่ ได้ปฏิบัติจากกิจกรรม - สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แบบประเมิน พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม -นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ 3. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และสมรรถนะผู้เรียน - มีวินัยในการทำงานกลุ่ม - นักเรียนเห็นความสำคัญ ของการทำงานร่วมกับผู้อื่นและ การทำงานในระบบกลุ่ม - ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกัน - สังเกตค่านิยมในการ ทำงานร่วมกับผู้อื่น และการทำงานใน ระบบกลุ่ม อภิปราย แสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับผลการ ทดลอง - แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - แบบประเมิน สมรรถนะผู้เรียน -แบบประเมินระดับ การเห็นคุณค่าใน - นักเรียนได้คะแนน ประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 26 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน


70 และกันมีความเสียสละและ อดทน - นักเรียนมีการเห็นคุณค่าใน ตนเอง (Self-esteem) ตนเอง หรือ Selfesteem การประเมินสมรรถนะ 29 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 12. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 1. ขั้นตั้งประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation) 1.1 ครูใช้คำถามกระตุ้นความสนใจนักเรียนคิดว่าเมื่อความดันอากาศของ2 พื้นที่แตกต่างกันจะทำให้ เกิดผลอย่างไร 1.2 นักเรียนอ่านวิธีดำเนินกิจกรรมในชุดกิจกรรมและร่วมกันอภิปรายในประเด็นดังต่อไปนี้ • กิจกรรมนี้เกี่ยวกับเรื่องอะไร (ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราเร็วลม) • กิจกรรมนี้มีจุดประสงค์อย่างไร (นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง) • วิธีดำเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (เจาะรูบนขวดพลาสติกที่ไม่มีฝาปิด 2 ใบ แล้วเชื่อมต่อ ขวดพลาสติกทั้ง 2 ใบ ด้วยแผ่นใสม้วนเป็นท่อ นำชุดขวดพลาสติกทั้งสองไปวางไว้ในขันพลาสติก 2 ใบ แล้วริน น้ำที่มีอุณหภุมิต่างกัน จากนั้นแหย่ก้านธูปที่ติดไฟลงไปในรูที่เจาะไว้ตรงกึ่งกลางท่อใสและสังเกตผลที่เกิดขึ้น ทำซ้ำอีกครั้งโดยจัดให้ความแตกต่างของอุณหภูมิของน้ำในชุดทดลองทั้งสองชุดต่างกัน จากนั้นทำซ้ำอีกครั้งโดย จัดให้ความยาวของท่อใสในชุดทดลองทั้งสองชุดต่างกัน) • ข้อควรระวังในการทำกิจกรรมมีหรือไม่อย่างไร (การใช้อุปกรณ์ในการเจาะรูบนขวดพลาสติกควรทำ อย่างระมัดระวัง) 1.3 นำเข้าสู่กิจกรรมที่ 4 เหตุใดลมจึงเคลื่อนที่เร็วต่างกัน ชั่วโมงที่ 2 2. ขั้นสืบค้นความรู้(Searching for Information) 2.1 นักเรียนลองตั้งสมมติฐานว่า เมื่อปล่อยควันธูปเข้าไปในท่อใสแล้ว จะเกิดผลอย่างไร และบันทึก สมมติฐานที่ตั้งไว้ก่อนการทดลองทั้ง 2 ตอน 2.2 นักเรียนทำกิจกรรมตามแนวทางที่ได้อภิปรายร่วมกัน ครูสังเกตการทำกิจกรรมเพื่อให้คำแนะนำแก่ นักเรียน ครูนำข้อมูลที่ได้จากการสังเกตมาใช้ประกอบการอภิปรายหลังกิจกรรม เช่น วิธีการสังเกตการเคลื่อนที่ ของควันธูป ชั่วโมงที่ 3 3. ขั้นสรุปองค์ความรู้(Knowledge Formation) 3.1 นักเรียนพิจารณาสมมติฐานที่ตั้งไว้ก่อนทำกิจกรรมและผลการสังเกตหลังทำกิจกรรมว่าเหมือน หรือต่างกันอย่างไรจากนั้นนำเสนอและอภิปรายข้อสรุปที่ถูกต้องร่วมกัน 3.2 นักเรียนตอบคำถามท้ายกิจกรรม จากนั้นนำเสนอและอภิปรายคำตอบร่วมกันเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า ถ้าความแตกต่างของความดันอากาศระหว่างบริเวณ 2 บริเวณ มีค่ามากกว่า อากาศจะเคลื่อนที่จากบริเวณหนึ่ง ไปยังอีกบริเวณหนึ่งได้เร็วกว่า และระยะทางระหว่างบริเวณที่มีความดันอากาศแตกต่างกันนั้นมีค่ามากกว่า อากาศจะเคลื่อนที่จากบริเวณหนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่งได้ช้ากว่า 4. ขั้นการสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication)


71 4.1 นักเรียนอ่านข้อมูลเพิ่มเติมจากหนังสือเรียน เกี่ยวกับอัตราเร็วลม ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราเร็วและ ทิศทาง ลม อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจวัดลม จากนั้นทำกิจกรรมเสริม และตอบคำถามระหว่างเรียน จากนั้นครู และนักเรียนร่วมกันอภิปรายคำตอบ 5. ขั้นการบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service) 5.1 นักเรียนร่วมกันกิจกรรมเสริม สำรวจความแรงลมและทิศทางลมภายในโรงเรียน ออกแบบและ สร้างอุปกรณ์ในการตรวจวัดลม 5.2 เชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้ในเรื่องต่อไปว่า องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศมีความสัมพันธ์กัน เช่น ความกดอากาศและลมมีความสัมพันธ์กัน ความกดอากาศมีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิอากาศ ความกดอากาศ และลมเป็นองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศซึ่งส่งผลต่อสภาพอากาศ ของพื้นที่นั้น ๆ เช่น ความแตกต่างของ ความกดอากาศ ทำให้เกิดลมแรงและอาจเกิดเป็นพายุได้ 13. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 12.1สื่อการเรียนรู้ 1) ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนังสือแบบเรียน 3) สื่อเพาเวอร์พอยต์ 12.2แหล่งเรียนรู้ 1) อินเตอร์เน็ต 2) ห้องสมุด 14. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ ผลการสอน รายละเอียด 1. ด้านความรู้: - การเคลื่อนที่ของลมจากบริเวณที่มีความกด อากาศสูงไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่ำ - ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่มีผลต่อ อัตราเร็วลมและทิศทางลม - อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจวัดทิศทางลม ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 2. ด้านกระบวนการ : - ทักษะกระบวนการคิด - ทักษะกระบวนการกลุ่ม ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 3. ด้านคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม อันพึงประสงค์: - มีวินัย ...................................................................................... ...................................................................................... ......................................................................................


72 - ใฝ่เรียนรู้ - อยู่อย่างพอเพียง - รักความเป็นไทย ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 4. ปัญหาการสอน ....................................................................... ....................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 5. วิธีแก้ปัญหา ....................................................................... ....................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ (.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์..) (นางกณิการ์ พัฒรากุล) ลงชื่อ........................................... (นายไวยวุฒิ ธนบัตร) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ลงชื่อ ........................................................ (นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์) ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม


73 แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 หน่วยการเรียนรู้ที่…2…กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ…….เรื่อง……..ลมฟ้าอากาศรอบตัว.(ตอนที่ 5).... รายวิชา…วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี…..2.......รหัสวิชา…......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1..... กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีปีการศึกษา...2566...ภาคเรียนที่..2...เวลา...3..ชั่วโมง…… ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์......................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้(รายวิชาพื้นฐานมีทั้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด รายวิชาเพิ่มเติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู้) 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ว 3.2 ม.1/2 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวชี้วัดที่ใช้ในหน่วยการเรียนรู้นี้เขียนเป็นแบบความเรียง) มนุษย์ดำรงชีวิตอยู่ภายใต้บรรยากาศชั้นโทรโพสเฟียร์ซึ่งเกิดสภาพลมฟ้าอากาศต่าง ๆ เช่น ลม เมฆ ฝน ฟ้าแลบ ฟ้าร้ององค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม (รายวิชาเพิ่มเติม) สาระการเรียนรู้แกนกลาง • ลมฟ้าอากาศ เป็นสภาวะของอากาศในเวลาหนึ่งของพื้นที่หนึ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบลมฟ้าอากาศ ได้แก่ อุณหภูมิอากาศ ความกดอากาศ ลม ความชื้น เมฆ และหยาดน้ำฟ้า โดยหยาดน้ำฟ้าที่พบบ่อยในประเทศไทยได้แก่ ฝน องค์ประกอบลมฟ้าอากาศเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาขึ้นอยู่กับ ปัจจัยต่าง ๆ เช่น ปริมาณรังสีจากดวงอาทิตย์และลักษณะพื้นผิวโลกส่งผลต่ออุณหภูมิอากาศ อุณหภูมิอากาศ และปริมาณไอน้ำส่งผลต่อความชื้น ความกดอากาศส่งผลต่อลม ความชื้นและลมส่งผลต่อเมฆ 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพูดถึงหลักสูตรท้องถิ่นให้ใส่ลงไปด้วย ...............................................................-........................................................................................... 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อความชื้นสัมพัทธ์และความชื้นสัมบูรณ์(K) 2. วัดความชื้นสัมพัทธ์และอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อความชื้นสัมพัทธ์(P) 3. ตั้งใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้ (A) 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1.ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์(เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 7. ด้านคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล


74 1. เป็นเลิศวิชาการ 2. สื่อสารสองภาษา 3. ล้ำหน้าทางความคิด 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ 5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก 8. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L R1 –Reading (อ่านออก) R2-(W) Ringting (เขียนได้) R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning) ความมีเมตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) 9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรียนคือ ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน 2. หลักความมีเหตุผล : ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบัติ, นักเรียนเกิดความ ภาคภูมิใจในผลงานของตนและสิ่งที่เรียนรู้ 3. หลักภูมิคุ้มกัน : ให้นักเรียนเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นักเรียนรู้จักการวาง แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกลุ่มได้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคล 4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแล้วค่อยลงมือทำอย่างระมัดระวัง 5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยันที่จะทำงานให้ออกมาได้ดีที่สุด , มีวินัยในการ ทำงาน 10. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด ตัวชี้วัด ชิ้นงาน ภาระงาน ว.3.2 ม.1/2 - รายงานกิจกรรมที่ 5 ปัจจัยที่มีผลต่อ ความชื้นสัมพัทธ์มีอะไรบ้าง - วิเคราะห์และอธิบายเรื่องความชื้นคือ ไอน้ำที่อยู่ในอากาศค่าความชื้นอากาศ สามารถแสดงได้ในแบบความชื้น สัมบูรณ์และความชื้นสัมพัทธ์ - วิเคราะห์และอธิบายความชื้นสัมบูรณ์ - วิเคราะห์และอธิบายความชื้นสัมพัทธ์ 11. การวัดประเมินผล 11.1การวัดและประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด วิธีการ


75 1.การสังเกตการณ์ 2.การใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ เครื่องมือ 1. แบบสังเกตการณ์ 2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏิบัติ เกณฑ์ 1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) 2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการถือว่า ไม่ผ่าน 11.2การวัดและประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรู้ของ หน่วยการเรียนรู้นี้) สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน 1. ความรู้เกี่ยวกับ - ความชื้น - ความชื้นสัมบูรณ์ - ความชื้นสัมพัทธ์ - อุปกรณ์ที่ใช้วัดความชื้น -การสอบถาม ซักถาม ความคิดเห็นอธิบาย เกี่ยวกับความชื้น อากาศ -การตรวจผลงาน นักเรียน - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แบบประเมินการ ตรวจผลงานผู้เรียน - นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน ประเมินผลงาน 13 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 2.ทักษะกระบวนการคิด และ ทักษะกระบวนการกลุ่ม - การอภิปรายแสดง ความคิดเห็นระบุ ทักษะกระบวน การทางวิทยาศาสตร์ที่ ได้ปฏิบัติจากกิจกรรม - สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แบบประเมิน พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม -นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ 3. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และสมรรถนะผู้เรียน - มีวินัยในการทำงานกลุ่ม - นักเรียนเห็นความสำคัญ ของการทำงานร่วมกับผู้อื่นและ การทำงานในระบบกลุ่ม - ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกัน และกันมีความเสียสละและ อดทน - สังเกตค่านิยมในการ ทำงานร่วมกับผู้อื่น และการทำงานใน ระบบกลุ่ม อภิปราย แสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับผลการ ทดลอง - แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - แบบประเมิน สมรรถนะผู้เรียน -แบบประเมินระดับ การเห็นคุณค่าใน ตนเอง หรือ Selfesteem - นักเรียนได้คะแนน ประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 26 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน การประเมินสมรรถนะ 29 คะแนนขึ้นไป


76 - นักเรียนมีการเห็นคุณค่าใน ตนเอง (Self-esteem) หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 12. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 1. ขั้นตั้งประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation) 1.1 ครูให้นักเรียนดูภาพนำเรื่อง อ่านเนื้อหานำเรื่องและรู้จักคำสำคัญ โดยครูอาจจะใช้คำถามดังนี้ • นักเรียนเคยเห็นทะเลหมอกหรือไม่ ทะเลหมอกเกิดขึ้นช่วงไหน (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ) • ทะเลหมอกเกิดขึ้นได้อย่างไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ) • หยดน้ำที่เกาะข้างแก้วน้ำเย็นเกิดขึ้นได้อย่างไร(นักเรียนตอบตามความเข้าใจ) 1.2 ให้นักเรียนทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนนำเสนอผลการทำกิจกรรม หากพบว่านักเรียนยังทำ กิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนไม่ถูกต้อง ครูควรทบทวนหรือแก้ไขความเข้าใจผิดของนักเรียน เพื่อ ให้นักเรียนมีความรู้พื้นฐานที่ถูกต้องและเพียงพอที่จะเรียนเรื่องความชื้นต่อไป 1.3 นักเรียนอ่านและตอบคำถามเกี่ยวกับปริมาณไอน้ำในอากาศ ความชื้นสัมบูรณ์ ปริมาณไอน้ำอิ่มตัว และความชื้นสัมพัทธ์จากหนังสือเรียน จากนั้นครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับความหมายและ ความสัมพันธ์ของปริมาณไอน้ำในอากาศ ความชื้นสัมบูรณ์ ปริมาณไอน้ำอิ่มตัว และความชื้นสัมพัทธ์ เพื่อให้ได้ ข้อสรุปว่า ไอน้ำในอากาศทำให้อากาศมีความชื้น ค่าความชื้นสัมบูรณ์แสดงปริมาณไอน้ำที่มีอยู่จริงในอากาศ โดยมีหน่วยเป็นกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ณ อุณหภูมิใดอุณหภูมิหนึ่ง อากาศสามารถรับไอน้ำได้ในปริมาณจำกัด โดยปริมาณไอน้ำอิ่มตัวหรือปริมาณไอน้ำสูงสุดที่อากาศรับได้ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิอากาศ ค่าความชื้นสัมพัทธ์ แสดงความสามารถของอากาศในการรับปริมาณไอน้ำ ณ ขณะนั้นว่าอากาศมีปริมาณไอน้ำในอากาศเท่าไร เทียบกับความสามารถที่จะรับได้ทั้งหมด และจะสามารถรับได้อีกเท่าไร โดยแสดงค่าเป็นเปอร์เซ็นต์ 1.4 ครูนำเข้าสู่กิจกรรมที่ 5 ปัจจัยที่มีผลต่อความชื้นสัมพัทธ์มีอะไรบ้าง โดยอธิบายความสำคัญของ ความชื้นสัมพัทธ์ซึ่งแสดงถึงความสามารถในการรับไอน้ำในอากาศจึงทำให้นักวิทยาศาสตร์นำค่าความชื้น สัมพัทธ์ไปใช้ประโยชน์ในการแปลความหมายและทำนายลมฟ้าอากาศได้ ซึ่งการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความชื้น สัมพัทธ์จะทำให้นักเรียนเข้าใจกระบวนการที่เกี่ยวกับลมฟ้าอากาศมากขึ้น ชั่วโมงที่ 2 2. ขั้นสืบค้นความรู้(Searching for Information) 2.1 ให้นักเรียนอ่านวิธีดำเนินกิจกรรมในชุดกิกรรม และร่วมกันอภิปรายในประเด็นดังต่อไปนี้ • กิจกรรมนี้เกี่ยวกับเรื่องอะไร (ปัจจัยที่มีผลต่อความชื้นสัมพัทธ์) • กิจกรรมนี้มีจุดประสงค์อย่างไร (นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง) • วัสดุและอุปกรณ์พิเศษที่ใช้ในกิจกรรมมีอะไรบ้างและใช้งานอย่างไร (ไซครอมิเตอร์ซึ่งมีวิธีการใช้ งานและข้อแนะนำอยู่ในหนังสือเรียน) • วิธีดำเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (ศึกษาการใช้ไซครอมิเตอร์ วางแผนการทำงาน ตรวจวัดและบันทึกความชื้นสัมพัทธ์โดยใช้ไซครอมิเตอร์ ตามสถานที่และเวลาที่ได้ออกแบบไว้ รวมทั้งบันทึก ลักษณะทางกายภาพในพื้นที่ที่เลือก จากนั้นนำข้อมูลมาสร้างกราฟ) • ข้อควรระวังในการทำกิจกรรมมีหรือไม่อย่างไร (การใช้ไซครอมิเตอร์ เพื่อวัดค่าความชื้นสัมพัทธ์ และอุณหภูมิอากาศควรใช้อุปกรณ์ตามข้อแนะนำในชุดกิกรรม)


77 2.2 นักเรียนร่วมกันวางแผนเพื่อเลือกสถานที่และเวลาที่ใช้ในการวัดอุณหภูมิอากาศ และความชื้น สัมพัทธ์ รวมทั้งออกแบบวิธีการบันทึกผลที่สังเกตได้ ชั่วโมงที่ 3 3. ขั้นสรุปองค์ความรู้(Knowledge Formation) 3.1 นักเรียนทำกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ ครูสังเกตการตรวจวัดความชื้นสัมพัทธ์ของนักเรียนเพื่อให้ คำแนะนำและนำข้อมูลจากการสังเกตมาใช้ประกอบการอภิปรายหลังกิจกรรม 3.2 นักเรียนเก็บข้อมูลลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ที่นักเรียนเลือกศึกษา นำข้อมูลที่ได้จากการ ตรวจวัดมาสร้างกราฟเส้นที่แสดงการเปลี่ยนแปลงความชื้นสัมพัทธ์ในเวลาต่าง ๆ และเตรียมนำเสนอผลการทำ กิจกรรม โดยครูแนะนำวิธีการสร้างกราฟให้แก่นักเรียน 4. ขั้นการสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication) 4.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทำกิจกรรม และนำผลงานติดแสดงหน้าห้องเรียนเพื่อ เปรียบเทียบข้อมูลของแต่ละกลุ่ม 4.2 นักเรียนตอบคำถามท้ายกิจกรรม จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายคำตอบเพื่อให้ได้ข้อสรุป ว่า ปัจจัยที่มีผลต่อค่าความชื้นสัมพัทธ์คือ อุณหภูมิอากาศ และลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ 5. ขั้นการบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service) 5.1 นักเรียนอ่านเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความชื้นในหนังสือเรียน ตอบคำถามระหว่างเรียน และ อภิปรายสรุปร่วมกันเกี่ยวกับความชื้นสัมพัทธ์ การเกิดละอองน้ำ เมฆ หมอก น้ำค้าง 5.2 เชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้ในเรื่องต่อไปว่า ค่าความชื้นสัมพัทธ์มีความสัมพันธ์กับการเกิดเมฆ ดังที่ ได้เรียนมาแล้ว เมฆและฝนเป็นองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศซึ่งมีความสำคัญและส่งผลต่อการดำรงชีวิตของ มนุษย์ นักเรียนจะได้ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงเมฆและฝนเพิ่มเติมในเรื่องต่อไป 13. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 13.1สื่อการเรียนรู้ 1) ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนังสือแบบเรียน 3) สื่อเพาเวอร์พอยต์ 13.2แหล่งเรียนรู้ 1) อินเตอร์เน็ต 2) ห้องสมุด 14. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ ผลการสอน รายละเอียด 1. ด้านความรู้: - ความชื้น - ความชื้นสัมบูรณ์ - ความชื้นสัมพัทธ์ - อุปกรณ์ที่ใช้วัดความชื้น ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 2. ด้านกระบวนการ : - ทักษะกระบวนการคิด - ทักษะกระบวนการกลุ่ม ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 3. ด้านคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม ......................................................................................


78 อันพึงประสงค์: - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ - อยู่อย่างพอเพียง - รักความเป็นไทย ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 4. ปัญหาการสอน ....................................................................... ....................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 5. วิธีแก้ปัญหา ....................................................................... ....................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ (.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์..) (นางกณิการ์ พัฒรากุล) ลงชื่อ........................................... (นายไวยวุฒิ ธนบัตร) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ลงชื่อ ........................................................ (นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์) ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม


79 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 หน่วยการเรียนรู้ที่…2…กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ…….เรื่อง……..ลมฟ้าอากาศรอบตัว.(ตอนที่ 6).... รายวิชา…วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี…..2.......รหัสวิชา…......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1..... กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีปีการศึกษา...2566...ภาคเรียนที่..2...เวลา...3..ชั่วโมง…… ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์......................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้(รายวิชาพื้นฐานมีทั้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด รายวิชาเพิ่มเติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู้) 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ว 3.2 ม.1/2-3 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวชี้วัดที่ใช้ในหน่วยการเรียนรู้นี้เขียนเป็นแบบความเรียง) มนุษย์ดำรงชีวิตอยู่ภายใต้บรรยากาศชั้นโทรโพสเฟียร์ซึ่งเกิดสภาพลมฟ้าอากาศต่าง ๆ เช่น ลม เมฆ ฝน ฟ้าแลบ ฟ้าร้ององค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม (รายวิชาเพิ่มเติม) สาระการเรียนรู้แกนกลาง • ลมฟ้าอากาศ เป็นสภาวะของอากาศในเวลาหนึ่งของพื้นที่หนึ่งที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบลมฟ้าอากาศ ได้แก่ อุณหภูมิอากาศ ความกดอากาศ ลม ความชื้น เมฆ และหยาดน้ำฟ้า โดยหยาดน้ำฟ้าที่พบบ่อยในประเทศไทยได้แก่ ฝน องค์ประกอบลมฟ้าอากาศเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาขึ้นอยู่กับ ปัจจัยต่าง ๆ เช่น ปริมาณรังสีจากดวงอาทิตย์และลักษณะพื้นผิวโลกส่งผลต่ออุณหภูมิอากาศ อุณหภูมิอากาศ และปริมาณไอน้ำส่งผลต่อความชื้น ความกดอากาศส่งผลต่อลม ความชื้นและลมส่งผลต่อเมฆ • พายุฝนฟ้าคะนอง เกิดจากการที่อากาศที่มีอุณหภูมิและความชื้นสูงเคลื่อนที่ขึ้นสู่ระดับความสูง ที่มี อุณหภูมิต่ำลง จนกระทั่งไอน้ำในอากาศเกิดการควบแน่นเป็นละอองน้ำ และเกิดต่อเนื่องเป็นเมฆขนาดใหญ่ พายุฝนฟ้าคะนองทำให้เกิดฝนตกหนัก ลมกรรโชกแรง ฟ้าแลบฟ้าผ่า ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต และทรัพย์สิน 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพูดถึงหลักสูตรท้องถิ่นให้ใส่ลงไปด้วย ...............................................................-........................................................................................... 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สังเกต อธิบายลักษณะ และจำแนกประเภทของเมฆ (K) 2. ตรวจวัดปริมาณเมฆปกคลุมบนท้องฟ้า (P) 3. ตั้งใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้ (A) 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์(เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต


80 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 7. ด้านคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล 1. เป็นเลิศวิชาการ 2. สื่อสารสองภาษา 3. ล้ำหน้าทางความคิด 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ 5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก 8. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L R1 –Reading (อ่านออก) R2-(W) Ringting (เขียนได้) R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning) ความมีเมตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) 9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรียนคือ ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน 2. หลักความมีเหตุผล : ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบัติ, นักเรียนเกิดความ ภาคภูมิใจในผลงานของตนและสิ่งที่เรียนรู้ 3. หลักภูมิคุ้มกัน : ให้นักเรียนเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นักเรียนรู้จักการวาง แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกลุ่มได้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคล 4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแล้วค่อยลงมือทำอย่างระมัดระวัง 5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยันที่จะทำงานให้ออกมาได้ดีที่สุด , มีวินัยในการ ทำงาน 10. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด ตัวชี้วัด ชิ้นงาน ภาระงาน ว.3.2 ม.1/2-3 - รายงานกิจกรรมที่ 6 เมฆที่ เห็นเป็น อย่างไร - วิเคราะห์และอธิบายปัจจัยที่ทำให้รูปร่างลักษณะ ของเมฆและปริมาณ เมฆที่ปกคลุมท้องฟ้ามีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา - วิเคราะห์และอธิบายปัจจัยที่ทำให้ปริมาณฝนใน แต่ละพื้นที่และแต่ละช่วงเวลาในรอบปีแตกต่าง กัน


81 11. การวัดประเมินผล 11.1การวัดและประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด วิธีการ 1.การสังเกตการณ์ 2.การใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ เครื่องมือ 1. แบบสังเกตการณ์ 2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏิบัติ เกณฑ์ 1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) 2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการถือว่า ไม่ผ่าน 11.2การวัดและประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้(ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรู้ของ หน่วยการเรียนรู้นี้) สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน 1. ความรู้เกี่ยวกับ - เมฆและปริมาณเมฆ - หยาดน้ำฟ้า - ความชื้นสัมพัทธ์ - อุปกรณ์ที่ใช้วัดฝน -การสอบถาม ซักถาม ความคิดเห็นอธิบาย เกี่ยวกับเมฆและ ปริมาณเมฆ หยาดน้ำ ฟ้า และ อุปกรณ์ที่ใช้ วัดฝน -การตรวจผลงาน นักเรียน - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แบบประเมินการ ตรวจผลงานผู้เรียน - นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน ประเมินผลงาน 13 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 2.ทักษะกระบวนการคิด และ ทักษะกระบวนการกลุ่ม - การอภิปรายแสดง ความคิดเห็นระบุ ทักษะกระบวน การทางวิทยาศาสตร์ที่ ได้ปฏิบัติจากกิจกรรม - สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แบบประเมิน พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม -นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ 3. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และสมรรถนะผู้เรียน - มีวินัยในการทำงานกลุ่ม - นักเรียนเห็นความสำคัญ ของการทำงานร่วมกับผู้อื่นและ - สังเกตค่านิยมในการ ทำงานร่วมกับผู้อื่น และการทำงานใน ระบบกลุ่ม อภิปราย แสดงความ - แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - แบบประเมิน สมรรถนะผู้เรียน - นักเรียนได้คะแนน ประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 26 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80


82 การทำงานในระบบกลุ่ม - ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกัน และกันมีความเสียสละและ อดทน - นักเรียนมีการเห็นคุณค่าใน ตนเอง (Self-esteem) คิดเห็นเกี่ยวกับผลการ ทดลอง -แบบประเมินระดับ การเห็นคุณค่าใน ตนเอง หรือ Selfesteem ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน การประเมินสมรรถนะ 29 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 12. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 1. ขั้นตั้งประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation) 1.1 กระตุ้นความสนใจของนักเรียนเกี่ยวกับเมฆและฝนโดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม ดังภาพนำเรื่อง หรือ ภาพเคลื่อนไหวจากเว็บไซต์http://www.sattmet.tmd.go.th/satmet/mergesat.html ที่แสดงปริมาณเมฆ เหนือพื้นที่ประเทศไทย โดยอาจใช้คำถามกระตุ้นความสนใจดังนี้ • จากภาพบริเวณใดมีเมฆปกคลุม ทราบได้อย่างไร(นักเรียนตอบตามความเข้าใจ) • นักเรียนคิดว่าพื้นที่ใดน่าจะเกิดฝน เพราะเหตุใด(นักเรียนตอบตามความเข้าใจ) 1.2 นักเรียนทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียน แล้วนำเสนอผลการทำกิจกรรม หากพบว่านักเรียนยัง ทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนไม่ถูกต้อง ครูควรทบทวนหรือแก้ไขความเข้าใจผิดของนักเรียน เพื่อให้มี ความรู้พื้นฐานที่ถูกต้องและเพียงพอที่จะเรียนเรื่องเมฆและฝนต่อไป 1.3 นำเข้าสู่การทำกิจกรรมที่ 6 เมฆที่เห็นเป็นอย่างไร ครูตั้งคำถามกระตุ้นความสนใจว่า บางครั้งเรา สามารถทำนายสภาพอากาศล่วงหน้าโดยใช้ข้อมูลจากลักษณะเมฆในท้องฟ้าที่เราสังเกตได้ นักเรียนคิดว่าเมฆ ในแต่ละวันมีลักษณะเหมือนกัน หรือ แตกต่างกันอย่างไรบ้าง ชั่วโมงที่ 2 2. ขั้นสืบค้นความรู้(Searching for Information) 2.1 ให้นักเรียนอ่านวิธีดำเนินกิจกรรมในหนังสือเรียน และร่วมกันอภิปรายในประเด็นดังต่อไปนี้ • กิจกรรมนี้เกี่ยวกับเรื่องอะไร (ลักษณะเมฆ และการตรวจวัด) • กิจกรรมนี้มีจุดประสงค์อย่างไร (นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง) • วิธีดำเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (อภิปรายวิธีสังเกตเมฆบนท้องฟ้าตามความคิดของ ตนเอง สังเกตวาดภาพ และจำแนกเมฆตามเกณฑ์ของตนเอง ศึกษาการสังเกตเมฆตามวิธีการที่น่าเชื่อถือ สังเกตเมฆ และบันทึกข้อมูล) 2.2 นักเรียนอภิปรายร่วมกันในประเด็นดังนี้ หากนักเรียนสังเกตเมฆในท้องฟ้า นักเรียนคิดว่าควรจะได้ ข้อมูลอะไรบ้างและจะมีวิธีบอกปริมาณเมฆในท้องฟ้าได้อย่างไร ชั่วโมงที่ 3 3. ขั้นสรุปองค์ความรู้(Knowledge Formation) 3.1 นักเรียนสังเกตและวาดภาพเมฆ จำแนกเมฆที่พบตามเกณฑ์ของตนเอง และบอกปริมาณเมฆใน ท้องฟ้าตามวิธีการที่ได้อภิปรายร่วมกันจากข้อ 1 แล้วนำเสนอ 3.2 นักเรียนศึกษาลักษณะของเมฆ การจำแนกเมฆตามเกณฑ์มาตรฐานของนักวิทยาศาสตร์และ วิธีการตรวจวัดปริมาณเมฆปกคลุม จากนั้นให้นักเรียนวางแผนการสังเกตเมฆในช่วงเช้า กลางวัน และเย็น ตามลำดับ โดยนักเรียนอาจทำกิจกรรมเสริม ทำอย่างไรจึงสังเกตได้ง่ายขึ้น


83 4. ขั้นการสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication) 4.1 นักเรียนตอบคำถามท้ายกิจกรรม จากนั้นนำเสนอ และอภิปรายคำตอบร่วมกันเพื่อให้ได้ข้อสรุป ว่า เมฆมีหลายรูปร่างลักษณะ ในแต่ละช่วงเวลาของวัน ปริมาณเมฆและลักษณะเมฆแตกต่างกันไป 4.2 นำเข้าสู่การเรียนรู้เรื่องฝน โดยถามคำถามทบทวนความรู้ในประเด็น หยาดน้ำฟ้าคืออะไร เกิดขึ้น ได้อย่างไร และให้นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง 5. ขั้นการบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service) 5.1 นักเรียนอ่านข้อมูลเกี่ยวกับฝน ในชุดกิจกรรม แล้วตอบคำถามระหว่างเรียน จากนั้นร่วมกัน อภิปรายคำตอบ 5.2 นักเรียนทำกิจกรรมเสริม ปริมาณฝนวัดได้อย่างไร ออกแบบและสร้างอุปกรณ์ที่ช่วยในการวัด ปริมาณฝน รวมทั้งได้ใช้แนวคิดในการทำเครื่องวัดฝนที่เป็นทรงกระบอก 5.3 ร่วมกันอภิปรายและสรุป ว่า เมฆมีหลายลักษณะ การจัดประเภทเมฆจัดโดยใช้ลักษณะและ ความสูงเป็นเกณฑ์ เมฆและฝนมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ ปัจจัยที่ทำให้เมฆมีการเปลี่ยนแปลง ได้แก่ ปริมาณไอน้ำในอากาศและสภาพแวดล้อมของพื้นที่ที่ส่งผลต่อปริมาณไอน้ำในอากาศ อุณหภูมิอากาศ ฤดูและ ลมนอกจากนี้ยังมีปัจจัยที่ทำให้ฝนมีการเปลี่ยนแปลงเช่นปริมาณเมฆ ฤดูกาล พื้นที่หรือภูมิภาค และ สภาพภูมิประเทศ 13. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 13.1สื่อการเรียนรู้ 1) ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนังสือแบบเรียน 3) สื่อเพาเวอร์พอยต์ 13.2แหล่งเรียนรู้ 1) อินเตอร์เน็ต 2) ห้องสมุด 14. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ ผลการสอน รายละเอียด 1. ด้านความรู้: - เมฆและปริมาณเมฆ - หยาดน้ำฟ้า - อุปกรณ์ที่ใช้วัดฝน ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 2. ด้านกระบวนการ : - ทักษะกระบวนการคิด - ทักษะกระบวนการกลุ่ม ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 3. ด้านคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม อันพึงประสงค์: - มีวินัย ...................................................................................... ...................................................................................... ......................................................................................


84 - ใฝ่เรียนรู้ - อยู่อย่างพอเพียง - รักความเป็นไทย ...................................................................................... ............................................................................... ...................................................................................... 4. ปัญหาการสอน ....................................................................... ....................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 5. วิธีแก้ปัญหา ....................................................................... ....................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ (.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์..) (นางกณิการ์ พัฒรากุล) ลงชื่อ........................................... (นายไวยวุฒิ ธนบัตร) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ลงชื่อ ........................................................ (นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์) ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม


85 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 หน่วยการเรียนรู้ที่…2…กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ…….เรื่อง……..ลมฟ้าอากาศรอบตัว.(ตอนที่ 7).... รายวิชา…วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี…..2.......รหัสวิชา…......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1..... กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีปีการศึกษา...2566...ภาคเรียนที่..2...เวลา...5..ชั่วโมง…… ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์......................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้(รายวิชาพื้นฐานมีทั้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด รายวิชาเพิ่มเติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู้) 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ว 3.2 ม.1/4-5 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวชี้วัดที่ใช้ในหน่วยการเรียนรู้นี้เขียนเป็นแบบความเรียง) มนุษย์ดำรงชีวิตอยู่ภายใต้บรรยากาศชั้นโทรโพสเฟียร์ซึ่งเกิดสภาพลมฟ้าอากาศต่าง ๆ เช่น ลม เมฆ ฝน ฟ้าแลบ ฟ้าร้ององค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม (รายวิชาเพิ่มเติม) สาระการเรียนรู้แกนกลาง • การพยากรณ์อากาศเป็นการคาดการณ์ลมฟ้าอากาศ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยมีการตรวจวัด องค์ประกอบลมฟ้าอากาศ การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลองค์ประกอบลมฟ้าอากาศระหว่างพื้นที่ การวิเคราะห์ ข้อมูลและสร้างคำพยากรณ์อากาศ • การพยากรณ์อากาศสามารถนำมาใช้ประโยชน์ด้านต่าง ๆ เช่น การใช้ชีวิตประจำวัน การคมนาคม การเกษตร การป้องกัน และเฝ้าระวังภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพูดถึงหลักสูตรท้องถิ่นให้ใส่ลงไปด้วย ...............................................................-........................................................................................... 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายขั้นตอนการพยากรณ์อากาศ (K) 2. พยากรณ์อากาศอย่างง่ายจากข้อมูลองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ (P) 3. นำเสนอแนวทางการปฏิบัติตนจากคำพยากรณ์อากาศ (P) 4. รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศเพื่อพยากรณ์ อากาศอย่างง่าย(P) 5. ตั้งใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้ (A) 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์(เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้


86 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 7. ด้านคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล 1. เป็นเลิศวิชาการ 2. สื่อสารสองภาษา 3. ล้ำหน้าทางความคิด 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ 5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก 8. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L R1 –Reading (อ่านออก) R2-(W) Ringting (เขียนได้) R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning) ความมีเมตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) 9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรียนคือ ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน 2. หลักความมีเหตุผล : ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบัติ, นักเรียนเกิดความ ภาคภูมิใจในผลงานของตนและสิ่งที่เรียนรู้ 3. หลักภูมิคุ้มกัน : ให้นักเรียนเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นักเรียนรู้จักการวาง แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกลุ่มได้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคล 4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแล้วค่อยลงมือทำอย่างระมัดระวัง 5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยันที่จะทำงานให้ออกมาได้ดีที่สุด , มีวินัยในการ ทำงาน 10. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด ตัวชี้วัด ชิ้นงาน ภาระงาน ว.3.2 ม.1/3-5 - รายงานกิจกรรมที่ 7 การพยากรณ์ อากาศทำได้อย่างไร - รายงานกิจกรรมที่ 8 คำพยากรณ์ อากาศมีประโยชน์อย่างไร - วิเคราะห์ขั้นตอนการพยากรณ์อากาศ - วิเคราะห์และอธิบายคำพยากรณ์ อากาศมีประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตของ มนุษย์ในด้านต่าง ๆ 11. การวัดประเมินผล 11.1การวัดและประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด


87 วิธีการ 1.การสังเกตการณ์ 2.การใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ เครื่องมือ 1. แบบสังเกตการณ์ 2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏิบัติ เกณฑ์ 1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) 2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการถือว่า ไม่ผ่าน 11.2การวัดและประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรู้ของ หน่วยการเรียนรู้นี้) สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน 1. ความรู้เกี่ยวกับ - การพยากรณ์อากาศ -การสอบถาม ซักถาม ความคิดเห็นอธิบาย เกี่ยวกับการพยากรณ์ อากาศ -การตรวจผลงาน นักเรียน - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แบบประเมินการ ตรวจผลงานผู้เรียน - นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน ประเมินผลงาน 13 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 2.ทักษะกระบวนการคิด และ ทักษะกระบวนการกลุ่ม - การอภิปรายแสดง ความคิดเห็นระบุ ทักษะกระบวน การทางวิทยาศาสตร์ที่ ได้ปฏิบัติจากกิจกรรม - สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แบบประเมิน พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม -นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ 3. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ และสมรรถนะผู้เรียน - มีวินัยในการทำงานกลุ่ม - นักเรียนเห็นความสำคัญ ของการทำงานร่วมกับผู้อื่นและ การทำงานในระบบกลุ่ม - ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกัน - สังเกตค่านิยมในการ ทำงานร่วมกับผู้อื่น และการทำงานใน ระบบกลุ่ม อภิปราย แสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับผลการ ทดลอง - แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - แบบประเมิน สมรรถนะผู้เรียน -แบบประเมินระดับ การเห็นคุณค่าใน - นักเรียนได้คะแนน ประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ 26 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน


88 และกันมีความเสียสละและ อดทน - นักเรียนมีการเห็นคุณค่าใน ตนเอง (Self-esteem) ตนเอง หรือ Selfesteem การประเมินสมรรถนะ 29 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 12. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 1. ขั้นตั้งประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation) 1.1 สร้างความสนใจแก่นักเรียนโดยการนำวีดิทัศน์ หรือรูปภาพหรือเล่าเหตุการณ์เกี่ยวกับการใช้ ประโยชน์ของการพยากรณ์อากาศในชีวิตประจำวันมาให้นักเรียนพิจารณา เช่น ในฤดูร้อนอากาศร้อนจัด กรม อุตุนิยมวิทยาได้ออกประกาศเตือนให้ประชาชนระวังภัยจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศอย่างรวดเร็ว จนอาจก่อให้เกิดอันตรายจากการเป็นลมแดด คำพยากรณ์อากาศดังกล่าวช่วยให้ประชาชนในพื้นที่ ปลอดภัย จากนั้น ครูถามคำถามสร้างความสนใจว่าการพยากรณ์อากาศทำได้อย่างไร 1.2 นักเรียนทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียน แล้วนำเสนอผลการทำกิจกรรม หากพบว่านักเรียนยัง ทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนไม่ถูกต้อง ครูควรทบทวนหรือแก้ไขความเข้าใจผิดของนักเรียน เพื่อ ให้มีความรู้พื้นฐานที่ถูกต้องและเพียงพอที่จะเรียนเรื่องการพยากรณ์อากาศต่อไป ชั่วโมงที่ 2 2. ขั้นสืบค้นความรู้(Searching for Information) 2.1 ให้ให้นักเรียนอ่านวิธีดำเนินกิจกรรมในหนังสือเรียน และร่วมกันอภิปรายในประเด็นดังต่อไปนี้ • กิจกรรมนี้เกี่ยวกับเรื่องอะไร (การพยากรณ์อากาศอย่างง่าย) • กิจกรรมนี้มีจุดประสงค์อย่างไร (นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง) • วิธีดำเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (รวบรวมข้อมูลองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ จากนั้น วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อพยากรณ์อากาศอย่างง่าย แล้วตรวจสอบความถูกต้องของคำพยากรณ์กับสิ่งที่เกิดขึ้นจริง) • กิจกรรมนี้ควรมีขั้นตอนในการทำเป็นพิเศษอย่างไร (รวบรวมข้อมูลองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ ล่วงหน้าจากแหล่งต่างๆ และจัดกระทำข้อมูลให้อยู่ในรูปที่สามารถนำไปประมวลผลได้) 2.2 เปิดโอกาสให้นักเรียนทำกิจกรรมทางเลือก ในการตรวจวัดอุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณเมฆ ต่อเนื่อง กันเองเพื่อใช้ในการพยากรณ์ตามแนวทางข้อเสนอแนะในการทำกิจกรรม 2.3 นักเรียนตอบคำถามท้ายกิจกรรม จากนั้นนำเสนอ และอภิปรายคำตอบร่วมกันเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า การพยากรณ์อากาศอย่างง่ายทำได้โดยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของข้อมูล องค์ประกอบลมฟ้าอากาศนั้นๆ 2.4 นักเรียนอ่านข้อมูลเพิ่มเติมในหนังสือเรียน ตอบคำถามระหว่างเรียนและร่วมกันอภิปรายสรุป เกี่ยวกับแนวทางการพยากรณ์อากาศ เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า การพยากรณ์อากาศมีขั้นตอนคร่าว ๆ คือการตรวจ อากาศเพื่อรวบรวมข้อมูลองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ การสื่อสารเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลให้ได้ครอบคลุม และ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อคาดหมายลักษณะอากาศและสร้างคำพยากรณ์โดยการพยากรณ์อากาศต้องอาศัย ข้อมูลที่ถูกต้อง จำนวนมากพอ และความรู้ในการวิเคราะห์ จึงจะช่วยให้คำพยากรณ์มีความแม่นยำ 2.5 นำเข้าสู่กิจกรรมที่ 8 คำพยากรณ์อากาศมีประโยชน์อย่างไร โดยใช้คำถามสร้างความสนใจว่า เรา สามารถจะนำคำพยากรณ์อากาศไปใช้ได้อย่างไร และบุคคลใดที่ได้รับประโยชน์จากคำพยากรณ์อากาศมาก ที่สุด


89 ชั่วโมงที่ 3-5 3. ขั้นสรุปองค์ความรู้(Knowledge Formation) 3.1 ให้นักเรียน วิเคราะห์คำพยากรณ์อากาศหลายๆรูปแบบก่อนลงข้อสรุปว่า บทบาทสมมติที่ นักเรียนเลือกจะได้รับผลกระทบอย่างไร และจะวางแผนการดำรงชีวิตอย่างไร 3.2 ให้นักเรียนแสดงบทบาทสมมติตามบทบาทที่ตนเองเลือกไว้ 3.2 นักเรียนศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมในหนังสือเรียนและตอบคำถามระหว่างเรียน จากนั้นครูและนักเรียน ร่วมกันอภิปรายและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า คำพยากรณ์อากาศมีประโยชน์ในการวางแผนการ ดำรงชีวิต เพื่อให้ดำรงชีวิตได้อย่างสะดวก ปลอดภัย การพยากรณ์อากาศที่แม่นยำ อาศัยข้อมูลองค์ประกอบ ของลมฟ้าอากาศที่ครอบคลุม และความรู้พื้นฐานเพื่อการวิเคราะห์แปลผล 4. ขั้นการสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication) 4.1 นักเรียนร่วมกันสรุปหัวข้อเรื่องลมฟ้าอากาศรอบตัว จากนั้นนักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบตนเอง เพื่อสรปุองค์ความรู้ที่ได้เรียนรู้จากบทเรียน โดยการเขียนบรรยาย วาดภาพ หรือเขียนผังมโนทัศน์สิ่งที่ได้ เรียนรู้จากบทเรียนเรื่องลมฟ้าอากาศรอบตัว 5. ขั้นการบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service) 5.1 นักเรียนนำเสนอสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากบทเรียน โดยอาจออกแบบให้นักเรียนนำเสนอและ อภิปรายภายในกลุ่ม หรืออภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน หรือติดแสดงผลงานบนผนังห้องเรียนเพื่อให้นักเรียนชม ผลงานและพิจารณาให้ความเห็นจากนั้นครูและนักเรียนอภิปรายสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากบทเรียนร่วมกัน 5.2 นักเรียนทำกิจกรรมท้ายบท เฝ้าระวังและป้องกันอันตรายจากการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ อย่างฉับพลันได้อย่างไร ตอบคำถามท้ายกิจกรรม 5.3 นักเรียนตรวจสอบตนเองด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ได้ทำในบทเรียนนี้ อ่าน สรุปท้ายบท และทำแบบฝึกหัดท้ายบท เชื่อมโยงไปสู่บทเรียนต่อไปว่า การเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศบางครั้ง เกิดขึ้นอย่างรุนแรง การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเป็นอย่างไร และเราควรปฏิบัติตนอย่างไร 13. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 13.1สื่อการเรียนรู้ 1) ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนังสือแบบเรียน 3) สื่อเพาเวอร์พอยต์ 13.2แหล่งเรียนรู้ 1) อินเตอร์เน็ต 2) ห้องสมุด 14. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ ผลการสอน รายละเอียด 1. ด้านความรู้: - การพยากรณ์อากาศ ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 2. ด้านกระบวนการ : - ทักษะกระบวนการคิด ...................................................................................... ......................................................................................


90 - ทักษะกระบวนการกลุ่ม ...................................................................................... ...................................................................................... 3. ด้านคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม อันพึงประสงค์: - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ - อยู่อย่างพอเพียง - รักความเป็นไทย ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ............................................................................... ...................................................................................... 4. ปัญหาการสอน ....................................................................... ....................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 5. วิธีแก้ปัญหา ....................................................................... ....................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ (.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์..) (นางกณิการ์ พัฒรากุล) ลงชื่อ........................................... (นายไวยวุฒิ ธนบัตร) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ลงชื่อ ........................................................ (นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์) ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม


91 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 หน่วยการเรียนรู้ที…2…กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ…เรื่อง….มนุษย์และการเปลี่ยนแปลงลมฟ้า อากาศ(ตอนที่1)..รายวิชา…วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี..2..รหัสวิชา..ว 21102 ....ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1..... กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีปีการศึกษา...2566...ภาคเรียนที่..2...เวลา...2..ชั่วโมง…… ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์......................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้(รายวิชาพื้นฐานมีทั้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด รายวิชาเพิ่มเติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู้) 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ว 3.2 ม.1/3 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวชี้วัดที่ใช้ในหน่วยการเรียนรู้นี้เขียนเป็นแบบความเรียง) ลมฟ้าอากาศมีการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลาเมื่อองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศมีการเปลี่ยนแปลงไป บางครั้งการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศจะเกิดอย่างรุนแรงซึ่งส่งผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมอย่างมาก สำหรับประเทศไทยพบการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศได้แก่ พายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อน ซึ่งพายุทั้ง สองมีกระบวนการเกิดและผลกระทบทั้งเหมือนและแตกต่างกัน ลมฟ้าอากาศเป็นสภาวะของอากาศที่เกิดขึ้นใน พื้นที่หนึ่ง ๆ ในช่วงเวลาหนึ่ง เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ดังที่กล่าวมา ภูมิอากาศเป็นลักษณะลมฟ้าอากาศโดยเฉลี่ย ของพื้นที่หนึ่ง ๆ ในแต่ละช่วงเวลา มีการเปลี่ยนแปลงได้เช่นกัน ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมี ทั้งปัจจัยทางธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศแม้ไม่ได้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเหมือน ดังการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ แต่ก็ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม อย่างมาก มนุษย์จำเป็นต้องเรียนรู้สถานการณ์ ผลกระทบ และแนวทางในการปฏิบัติตนภายใต้การ เปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เพื่อให้มนุษย์และสิ่งแวดล้อมดำรงอยู่ได้อย่าง ปลอดภัยและยั่งยืน 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม (รายวิชาเพิ่มเติม) สาระการเรียนรู้แกนกลาง • พายุฝนฟ้าคะนอง เกิดจากการที่อากาศที่มีอุณหภูมิและความชื้นสูงเคลื่อนที่ขึ้นสู่ระดับ ความสูง ที่มีอุณหภูมิต่ำลง จนกระทั่งไอน้ำในอากาศเกิดการควบแน่นเป็นละอองน้ำ และเกิดต่อเนื่องเป็นเมฆ ขนาดใหญ่ พายุฝนฟ้าคะนองทำให้เกิดฝนตกหนัก ลมกรรโชกแรง ฟ้าแลบฟ้าผ่า ซึ่งอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อ ชีวิตและทรัพย์สิน • พายุหมุนเขตร้อนเกิดเหนือมหาสมุทรหรือทะเล ที่น้ำมีอุณหภูมิสูงตั้งแต่ 26-27 องศาเซลเซียส ขึ้นไป ทำให้อากาศที่มีอุณหภูมิและความชื้นสูงบริเวณนั้นเคลื่อนที่สูงขึ้นอย่างรวดเร็วเป็นบริเวณกว้าง อากาศจาก บริเวณอื่นเคลื่อนเข้ามาแทนที่และพัดเวียนเข้าหาศูนย์กลางของพายุยิ่งใกล้ศูนย์กลาง อากาศจะเคลื่อนที่พัด เวียนเกือบเป็นวงกลมและมีอัตราเร็วสูงที่สุด พายุหมุนเขตร้อนทำให้เกิดคลื่นพายุซัดฝั่ง ฝนตกหนักซึ่งอาจ ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน จึงควรปฏิบัติตนให้ปลอดภัยโดยติดตามข่าวสารการพยากรณ์อากาศ และไม่เข้าไปอยู่ในพื้นที่ที่เสี่ยงภัย 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพูดถึงหลักสูตรท้องถิ่นให้ใส่ลงไปด้วย ...............................................................-...........................................................................................


92 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เปรียบเทียบกระบวนการเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน (K) 2 สังเกตและบอกผลที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม (P) 3. ตั้งใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้ (A) 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์(เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 7. ด้านคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล 1. เป็นเลิศวิชาการ 2. สื่อสารสองภาษา 3. ล้ำหน้าทางความคิด 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ 5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก 8. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L R1 –Reading (อ่านออก) R2-(W) Ringting (เขียนได้) R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning) ความมีเมตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) 9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรียนคือ ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน 2. หลักความมีเหตุผล : ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบัติ, นักเรียนเกิดความ ภาคภูมิใจในผลงานของตนและสิ่งที่เรียนรู้ 3. หลักภูมิคุ้มกัน : ให้นักเรียนเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นักเรียนรู้จักการวาง แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกลุ่มได้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคล 4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแล้วค่อยลงมือทำอย่างระมัดระวัง


93 5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยันที่จะทำงานให้ออกมาได้ดีที่สุด , มีวินัยในการ ทำงาน 10. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด ตัวชี้วัด ชิ้นงาน ภาระงาน ว.3.2 ม.1/3 - รายงานกิจกรรมที่ 9 พายุฝนฟ้าคะนอง และพายุหมุนเขตร้อนเกิดขึ้นได้อย่างไร - เปรียบเทียบกระบวนการเกิดพายุ ฝน ฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อน และผล ที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม รวมทั้ง นำเสนอแนวทางการปฏิบัติตนให้ เหมาะสมและปลอดภัย 11. การวัดประเมินผล 11.1การวัดและประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด วิธีการ 1.การสังเกตการณ์ 2.การใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ เครื่องมือ 1. แบบสังเกตการณ์ 2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏิบัติ เกณฑ์ 1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) 2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการถือว่า ไม่ผ่าน 11.2 การวัดและประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรู้ของ หน่วยการเรียนรู้นี้) สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน 1. ความรู้เกี่ยวกับ - พายุ -การสอบถาม ซักถาม ความคิดเห็นอธิบาย เกี่ยวกับพายุ -การตรวจผลงาน นักเรียน - แบบประเมิน การอภิปรายแสดง ความคิดเห็น - แบบประเมิน การตรวจผลงาน ผู้เรียน - นักเรียนได้คะแนน 12 คะ แนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน ระเมิน ผลงาน 13 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่าน เกณฑ์ 2.ทักษะกระบวนการคิด และทักษะกระบวนการ กลุ่ม - การอภิปรายแสดง ความคิดเห็นระบุทักษะ กระบวน - แบบประเมิน การอภิปรายแสดง ความคิดเห็น -นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์


94 การทางวิทยาศาสตร์ที่ ได้ปฏิบัติจากกิจกรรม - สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม - แบบประเมิน พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม 3. คุณลักษณะที่พึง ประสงค์ และสมรรถนะผู้เรียน - มีวินัยในการทำงาน กลุ่ม - นักเรียนเห็น ความสำคัญของการ ทำงานร่วมกับผู้อื่นและ การทำงานในระบบกลุ่ม - ยอมรับความคิดเห็น ซึ่งกันและกันมีความ เสียสละและอดทน - นักเรียนมีการเห็น คุณค่าในตนเอง (Selfesteem) - สังเกตค่านิยมในการ ทำงานร่วมกับผู้อื่นและ การทำงานในระบบกลุ่ม อภิปราย แสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับผลการ ทดลอง - แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - แบบประเมิน สมรรถนะผู้เรียน -แบบประเมิน ระดับการเห็น คุณค่าในตนเอง หรือ Self-esteem - นักเรียนได้คะแนน ประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 26 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน การ ประเมินสมรรถนะ 29 คะ แนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 12. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 1. ขั้นตั้งประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation) 1.1 ครูใช้ภาพหรือวีดิทัศน์ที่แสดงปรากฏการณ์เกี่ยวกับพายุฝนฟ้าคะนอง และพายุหมุนเขตร้อน ให้ นักเรียนสังเกต จากนั้นครูถามคำถามสร้างความสนใจ เช่น พายุทั้งสองมีความแตกต่างกันอย่างไร พายุใด สร้าง อันตรายต่อมนุษย์มากกว่ากัน 1.2 นักเรียนทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนแล้วนำเสนอผลการทำกิจกรรม หากพบว่านักเรียน ยังทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนไม่ถูกต้องครูควรทบทวนหรือแก้ไขความเข้าใจผิดของนักเรียน เพื่อให้มีความรู้พื้นฐานที่ถูกต้องและเพียงพอที่จะเรียนเรื่องพายุต่อไป 1.3 นำเข้าสู่กิจกรรมที่ 9 พายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อนเกิดขึ้นได้อย่างไร โดยตั้งประเด็นสร้าง ความสนใจว่าพายุในประเทศไทยที่พบบ่อยคือพายุฝนฟ้าคะนอง และพายุหมุนเขตร้อน ซึ่งนักเรียนจะได้เรียนรู้ เกี่ยวกับพายุทั้งสองในกิจกรรมต่อไป ชั่วโมงที่ 2 2. ขั้นสืบค้นความรู้(Searching for Information) 2.1 ให้นักเรียนอ่านวิธีดำเนินกิจกรรมในหนังสือเรียน และร่วมกันอภิปรายในประเด็นดังต่อไปนี้ • กิจกรรมนี้เกี่ยวกับเรื่องอะไร (กระบวนการเกิดและผลกระทบของพายุฝนฟ้าคะนอง และพายุหมุน เขตร้อน) • กิจกรรมนี้มีจุดประสงค์อย่างไร (นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง)


95 • การทำกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (อ่านข้อความการเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง วิเคราะห์และ วาดภาพอธิบายกระบวนการเกิด สังเกตภาพพายุหมุนเขตร้อน วิเคราะห์และเขียนอธิบายกระบวนการเกิด รวบรวมข้อมูลกระบวนการเกิดพายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อน จากนั้นนำเสนอ) 2.2 ให้นักเรียนวิเคราะห์และอธิบายกระบวนการเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง และพายุหมุนเขตร้อนจากข้อมูลที่ กำหนดให้ในชุดกิจกรรม 2.3 นักเรียนรวบรวมข้อมูลกระบวนการเกิดพายุทั้งสองจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ 2.4 อธิบายภาพประกอบในกิจกรรม เช่น สีขาวคือกลุ่มของเมฆ สีของลูกศรแสดงอัตราเร็วของลมตาม แถบสีด้านข้างเพื่อช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล 2.5 กระตุ้นให้นักเรียนสืบค้น ข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มากพอ สำหรับการวิเคราะห์ กระบวนการเกิดพายุ 3. ขั้นสรุปองค์ความรู้(Knowledge Formation) 3.1 นักเรียนอ่านข้อมูลเพิ่มเติมในหนังสือเรียน และตอบคำถามระหว่างเรียน จากนั้นครูและนักเรียน ร่วมกันอภิปรายและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า กระบวนการเกิดพายุฝนฟ้าคะนองเกิดจากอากาศมี อุณหภูมิสูงขึ้นทำให้น้ำระเหยเพิ่มขึ้นและลอยสูงขึ้น ไอน้ำในอากาศเกิดการควบแน่นเป็นละอองน้ำเกิดเป็นเมฆ ขนาดใหญ่จากนั้นจะเกิดฝนตกหนัก ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า หรืออาจเกิดลูกเห็บตก กระบวนการเกิดพายุหมุนเขตร้อน เกิดจากอุณหภูมิเหนือน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นทำให้เกิดไอน้ำในปริมาณมากและเคลื่อนที่สูงขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้ อากาศบริเวณรอบ ๆ เคลื่อนเข้ามาแทนที่จึงเห็นเป็นเกลียวขนาดใหญ่ พายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อน มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมทั้งด้านบวกและลบ เช่น เกิดฝนตกช่วยในการทำการเกษตร หรือ เกิดน้ำ ท่วมสร้างความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สินเป็นจำนวนมาก 4. ขั้นการสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication) 4.1 นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงพายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อนมีกระบวนการเกิดและ ผลกระทบเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร 5. ขั้นการบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service) 5.1 นักเรียนนำเสนอสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากบทเรียน โดยภาพวาดอธิบายการเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง ติดแสดงผลงานบนผนังห้องเรียนเพื่อให้นักเรียนชมผลงานและพิจารณาให้ความเห็นจากนั้นครูและนักเรียน อภิปรายสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากบทเรียนร่วมกัน 5.2 นักเรียนตอบคำถามท้ายกิจกรรม 13. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 13.1สื่อการเรียนรู้ 1) ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนังสือแบบเรียน 3) สื่อเพาเวอร์พอยต์ 13.2แหล่งเรียนรู้ 1) อินเตอร์เน็ต 2) ห้องสมุด 14. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ ผลการสอน รายละเอียด 1. ด้านความรู้: - พายุฝนฟ้าคะนอง - พายุหมุนเขตร้อน ....................................................................................... ...................................................................................... ......................................................................................


96 ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 2. ด้านกระบวนการ : - ทักษะกระบวนการคิด - ทักษะกระบวนการกลุ่ม ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 3. ด้านคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม อันพึงประสงค์: - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ - อยู่อย่างพอเพียง - รักความเป็นไทย ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ............................................................................... ...................................................................................... 4. ปัญหาการสอน ....................................................................... ....................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 5. วิธีแก้ปัญหา ....................................................................... ....................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ (.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์..) (นางกณิการ์ พัฒรากุล) ลงชื่อ........................................... (นายไวยวุฒิ ธนบัตร) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ลงชื่อ ........................................................ (นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์) ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม


97 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 หน่วยการเรียนรู้ที…2…กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ…เรื่อง….มนุษย์และการเปลี่ยนแปลงลมฟ้า อากาศ(ตอนที่2)…..รายวิชา…วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี…2...รหัสวิชา…..ว 21102 ..ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.... กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีปีการศึกษา...2566...ภาคเรียนที่..2...เวลา...5..ชั่วโมง…… ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์......................................................................................... 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้(รายวิชาพื้นฐานมีทั้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด รายวิชาเพิ่มเติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู้) 1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดว 3.2 ม.1/6,7 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวชี้วัดที่ใช้ในหน่วยการเรียนรู้นี้เขียนเป็นแบบความเรียง) ลมฟ้าอากาศมีการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลาเมื่อองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศมีการเปลี่ยนแปลงไป บางครั้งการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศจะเกิดอย่างรุนแรงซึ่งส่งผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมอย่างมาก สำหรับประเทศไทยพบการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศได้แก่ พายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อน ซึ่งพายุทั้ง สองมีกระบวนการเกิดและผลกระทบทั้งเหมือนและแตกต่างกัน ลมฟ้าอากาศเป็นสภาวะของอากาศที่เกิดขึ้นใน พื้นที่หนึ่ง ๆ ในช่วงเวลาหนึ่ง เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ดังที่กล่าวมา ภูมิอากาศเป็นลักษณะลมฟ้าอากาศโดยเฉลี่ย ของพื้นที่หนึ่ง ๆ ในแต่ละช่วงเวลา มีการเปลี่ยนแปลงได้เช่นกัน ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศมี ทั้งปัจจัยทางธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศแม้ไม่ได้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเหมือน ดังการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ แต่ก็ส่งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม อย่างมาก มนุษย์จำเป็นต้องเรียนรู้สถานการณ์ผลกระทบ และแนวทางในการปฏิบัติตนภายใต้การ เปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เพื่อให้มนุษย์และสิ่งแวดล้อมดำรงอยู่ได้อย่าง ปลอดภัยและยั่งยืน 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม (รายวิชาเพิ่มเติม) สาระการเรียนรู้แกนกลาง • ภูมิอากาศโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องโดยปัจจัยทางธรรมชาติ แต่ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเนื่องจากกิจกรรมของมนุษย์ในการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกสู่บรรยากาศ แก๊ส เรือนกระจกที่ถูกปลดปล่อยมากที่สุด ได้แก่ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งหมุนเวียนอยู่ในวัฏจักรคาร์บอน • การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่นการหลอมเหลว ของน้ำแข็งขั้วโลก การเพิ่มขึ้นของระดับทะเล การเปลี่ยนแปลงวัฏจักรน้ำการเกิดโรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ และ การเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติที่รุนแรงขึ้น มนุษย์จึงควรเรียนรู้แนวทางการปฏิบัติตนภายใต้สถานการณ์ดังกล่าว ทั้งแนวทางการปฏิบัติตนให้เหมาะสมและแนวทางการลดกิจกรรมที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพูดถึงหลักสูตรท้องถิ่นให้ใส่ลงไปด้วย ...............................................................-........................................................................................... 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก และยกตัวอย่างผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม (K) 2. เสนอแนวทางในการปฏิบัติตนให้เหมาะสม ปลอดภัยจากพายุฝนและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (P)


Click to View FlipBook Version