The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสร์และเทคโนโลยี2_66

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2024-03-17 13:05:19

แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสร์และเทคโนโลยี2_66

แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสร์และเทคโนโลยี2_66

98 3. ตั้งใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้ (A) 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์(เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้) 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 7. ด้านคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล 1. เป็นเลิศวิชาการ 2. สื่อสารสองภาษา 3. ล้ำหน้าทางความคิด 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ 5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก 8. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L R1 –Reading (อ่านออก) R2-(W) Ringting (เขียนได้) R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning) ความมีเมตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion) 9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรียนคือ ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน 2. หลักความมีเหตุผล : ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบัติ, นักเรียนเกิดความ ภาคภูมิใจในผลงานของตนและสิ่งที่เรียนรู้ 3. หลักภูมิคุ้มกัน : ให้นักเรียนเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นักเรียนรู้จักการวาง แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกลุ่มได้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคล 4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแล้วค่อยลงมือทำอย่างระมัดระวัง 5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยันที่จะทำงานให้ออกมาได้ดีที่สุด , มีวินัยในการ ทำงาน


99 10. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด ตัวชี้วัด ชิ้นงาน ภาระงาน ว.3.2 ม.1/6,7 - รายงานกิจกรรมที่ 10 ภูมิอากาศ เปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ - วิเคราะห์เปรียบเทียบอธิบาย สถานการณ์และผลกระทบการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกจากข้อมูลที่ รวบรวมได้ - นำเสนอแนวทางการปฏิบัติตนภายใต้ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก 11. การวัดประเมินผล 11.1การวัดและประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด วิธีการ 1.การสังเกตการณ์ 2.การใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ เครื่องมือ 1. แบบสังเกตการณ์ 2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏิบัติ เกณฑ์ 1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) 2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1 รายการถือว่า ไม่ผ่าน 11.2 การวัดและประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรู้ของ หน่วยการเรียนรู้นี้) สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน 1. ความรู้เกี่ยวกับ - การเปลี่ยนแปลง ภูมิอากาศโลก -การสอบถาม ซักถาม ความคิดเห็นอธิบาย เกี่ยวกับการเปลี่ยน แปลงภูมิอากาศโลก -การตรวจผลงาน นักเรียน - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แบบประเมินการ ตรวจผลงานผู้เรียน - นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน ประ เมินผลงาน 13 คะแนนขึ้นไป หรือ ร้อยละ 80 ถือว่าผ่าน เกณฑ์ 2.ทักษะกระบวนการคิด และทักษะกระบวนการกลุ่ม - การอภิปรายแสดง ความคิดเห็นระบุทักษะ กระบวน การทางวิทยาศาสตร์ที่ - แบบประเมินการ อภิปรายแสดงความ คิดเห็น - แบบประเมิน -นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์


100 ได้ปฏิบัติจากกิจกรรม - สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม พฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม 3. คุณลักษณะที่พึง ประสงค์ และสมรรถนะผู้เรียน - มีวินัยในการทำงานกลุ่ม - นักเรียนเห็นความสำคัญ ของการทำงานร่วมกับผู้อื่น และการทำงานในระบบ กลุ่ม - ยอมรับความคิดเห็นซึ่ง กันและกันมีความเสียสละ และอดทน - นักเรียนมีการเห็นคุณค่า ในตนเอง (Self-esteem) - สังเกตค่านิยมในการ ทำงานร่วมกับผู้อื่นและ การทำงานในระบบ กลุ่ม อภิปราย แสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับผลการ ทดลอง - แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - แบบประเมิน สมรรถนะผู้เรียน -แบบประเมินระดับ การเห็นคุณค่าใน ตนเอง หรือ Selfesteem - นักเรียนได้คะแนน ประ เมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์26 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่า ผ่านเกณฑ์ - นักเรียนได้คะแนน การ ประเมินสมรรถนะ 29 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์ 12. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 1. ขั้นตั้งประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation) 1.1 ครูใช้ภาพหรือวีดิทัศน์แสดงปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก เช่น ภาพนำ เรื่องเกี่ยวกับน้ำแข็งขั้วโลกหลอมเหลวและผลกระทบต่อหมีขั้วโลกเป็นต้น ให้นักเรียนสังเกต จากนั้นครูถาม คำถามเพื่อสร้างความสนใจดังนี้ • การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกคืออะไร ใครได้รับผลกระทบบ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ) 1.2 นักเรียนทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนแล้วนำเสนอผลการทำกิจกรรม หากพบว่านักเรียนยังทำ กิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนไม่ถูกต้องครูควรทบทวนหรือแก้ไขความเข้าใจผิดของนักเรียนเพื่อให้มีความรู้ พื้นฐานที่ถูกต้องและเพียงพอที่จะเรียนเรื่องการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกต่อไป 1.3 นำเข้าสู่กิจกรรมที่ 10 ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ โดยตั้งประเด็นให้นักเรียนหาคำตอบว่า ลม ฟ้าอากาศมีการเปลี่ยนแปลงได้ทุกวัน สำหรับภูมิอากาศซึ่งเป็นแบบรูปลมฟ้าอากาศของพื้นที่หนึ่ง ๆ สามารถ เปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ ชั่วโมงที่ 2-3 2. ขั้นสืบค้นความรู้(Searching for Information) 2.1 ให้นักเรียนอ่านวิธีดำเนินกิจกรรมในหนังสือเรียน และร่วมกันอภิปรายในประเด็นดังต่อไปนี้ • กิจกรรมนี้เกี่ยวกับเรื่องอะไร (สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก) • กิจกรรมนี้มีจุดประสงค์อย่างไร (นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง) • วิธีดำเนินกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (วิเคราะห์สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก จากข้อมูลที่กำหนดและอธิบายว่าภูมิอากาศโลกมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่และสถานการณ์ดังกล่าวส่งผลต่อ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมอย่างไร)ครูควรอธิบายเพิ่มเติมในประเด็นที่นักเรียนยังตอบได้ไม่ครบถ้วน


101 2.2 แบ่งกลุ่มนักเรียนทำกิจกรรมโดยเลือกวิเคราะห์ข้อมูลจากกราฟที่สนใจ 2.3 ให้คำแนะนำ ในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกราฟ ความหมายของคำว่าค่าผิดปกติของอุณหภูมิอากาศ และค่าความผิดปกติของปริมาณหยาดน้ำฟ้า ที่ใช้ในกราฟ ชั่วโมงที่ 4-5 3. ขั้นสรุปองค์ความรู้(Knowledge Formation) 3.1 ให้นักเรียนตอบคำถามท้ายกิจกรรม จากนั้นนำเสนอ และอภิปรายคำตอบร่วมกันเพื่อให้ได้ ข้อสรุปว่า ภูมิอากาศมีการเปลี่ยนแปลงและส่งผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ 4. ขั้นการสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication) 4.1 นักเรียนอ่านข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกจากหนังสือเรียน และตอบ คำถามระหว่างเรียนครูเปิดโอกาสให้นักเรียนทำกิจกรรมเสริม จากนั้นอภิปรายคำตอบของคำถามระหว่างเรียน ร่วมกัน 5. ขั้นการบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service) 5.1 สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า ภูมิอากาศโลกกำลังเปลี่ยนแปลง และส่งผลกระทบต่อ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมอย่างมาก กิจกรรมของมนุษย์ได้เร่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกดังกล่าว 5.2 สรุปหัวข้อเรื่องในบทเรียน มนุษย์และการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ จากนั้นครูให้นักเรียนทำ กิจกรรมตรวจสอบตนเอง เพื่อสรุปองค์ความรู้ที่ได้เรียนรู้จากบทเรียน โดยการเขียนบรรยาย วาดภาพ หรือ เขียนผังมโนทัศน์สิ่งที่ได้เรียนรู้จากบทเรียน 5.3 นักเรียนนำเสนอผลงาน โดยนำเสนอและอภิปรายภายในกลุ่ม หรืออภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน หรือติดแสดงผลงานบนผนังห้องเรียนเพื่อให้นักเรียนพิจารณาและแสดงให้ความคิดเห็น จากนั้นครูและนักเรียน อภิปรายสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากบทเรียนร่วมกันนักเรียนตอบคำถามท้ายกิจกรรม 5.4 ให้นักเรียนทำกิจกรรมท้ายบท ปฏิบัติตนอย่างไรเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกใน อนาคต ตอบคำถามท้ายกิจกรรม 13. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 13.1สื่อการเรียนรู้ 1) ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนังสือแบบเรียน 3) สื่อเพาเวอร์พอยต์ 13.2แหล่งเรียนรู้ 1) อินเตอร์เน็ต 2) ห้องสมุด 14. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ ผลการสอน รายละเอียด 1. ด้านความรู้: - การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ......................................................................................


102 ...................................................................................... 2. ด้านกระบวนการ : - ทักษะกระบวนการคิด - ทักษะกระบวนการกลุ่ม ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 3. ด้านคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม อันพึงประสงค์: - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ - อยู่อย่างพอเพียง - รักความเป็นไทย ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 4. ปัญหาการสอน ....................................................................... ....................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 5. วิธีแก้ปัญหา ....................................................................... ....................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ (.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์..) (นางกณิการ์ พัฒรากุล) ลงชื่อ........................................... (นายไวยวุฒิ ธนบัตร) รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ ลงชื่อ ........................................................ (นางสาวสุภาพร เทพสวัสดิ์) ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม


103 แบบประเมินการอภิปรายแสดงความคิดเห็น วิชา .......................................................................................................... ชั้น ……………………………… หน่วยการเรียนรู้ที่ ..............................กิจกรรม ……………………………………………………………………….… คำชี้แจง : ให้ประเมินจากการสังเกตการร่วมอภิปรายในระหว่างเรียน และการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม โดยให้ระดับคะแนนลงในตารางที่ตรงกับพฤติกรรมของผู้เรียน เกณฑ์การให้คะแนน 3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ต้องปรับปรุง เลขที่ ชื่อ-นามสกุล รายการประเมิน รวม 15 คะแนน สรุปผลการ ประเมิน การแสดงความ คิดเห็น ยอมรับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่น ตรงประเด็น สมเหตุสมผล มีความเชื่อมั่นใน การแสดงออก คะแนน ที่ทำได้ ผ่าน ไม่ ผ่าน ลงชื่อ ................................................................................. ผู้ประเมิน เกณฑ์การประเมิน : นักเรียนได้คะแนน 12 คะแนนขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์


104 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คำชี้แจง : ให้สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ตรง กับระดับคะแนน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ด้าน รายการที่ประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 1. มีวินัย 3.1 ตรงต่อเวลา 3.2 ปฏิบัติงานเรียบร้อยเหมาะสม 3.3 ปฏิบัติตามข้อตกลง 2. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 กระตือรือร้นในการแสวงหาข้อมูล 4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ 4.3 สรุปความรู้ได้อย่างมีเหตุผล 3. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้วัสดุ สิ่งของ เครื่องใช้ อย่างประหยัด 5.2 ใช้อุปกรณ์การเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณค่า 5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออม 4. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย ลงชื่อ ................................................................................. ผู้ประเมิน ........................./........................./............................. เกณฑ์การให้คะแนน : - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน


105 แบบประเมินผลงานผู้เรียน ชื่อ - นามสกุล .................................................................................. ชั้น …………………........ หน่วยการเรียนรู้ที่ ................................ กิจกรรม ……………….………………...................... คำชี้แจง: ให้ผู้ประเมินขีด ✓ ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน ประเด็นที่ประเมิน ผู้ประเมิน ตนเอง เพื่อน ครู 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 1. ตรงจุดประสงค์ที่กำหนด 2. มีความถูกต้องสมบูรณ์ 3. มีความคิดสร้างสรรค์ 4. มีความเป็นระเบียบ รวม รวมทุกรายการ เฉลี่ย ผู้ประเมิน ...........................................................(ตนเอง) ผู้ประเมิน .......................................................... (เพื่อน) ผู้ประเมิน ................................................................ (ครู)


106 เกณฑ์การให้คะแนนผลงาน ประเด็นที่ประเมิน คะแนน 4 3 2 1 1. ผลงานตรงกับ จุดประสงค์ที่กำหนด ผลงานสอดคล้อง กับจุดประสงค์ ทุกประเด็น ผลงานสอดคล้อง กับจุดประสงค์ เป็นส่วนใหญ่ ผลงานสอดคล้อง กับจุดประสงค์ บางประเด็น ผลงานไม่ สอดคล้องกับ จุดประสงค์ 2. ผลงานมีความถูกต้อง สมบูรณ์ เนื้อหาสาระของ ผลงานถูกต้อง ครบถ้วน เนื้อหาสาระของ ผลงานถูกต้อง เป็นส่วนใหญ่ เนื้อหาสาระของ ผลงานถูกต้องเป็น บางประเด็น เนื้อหาสาระของ ผลงานไม่ถูกต้อง เป็นส่วนใหญ่ 3. ผลงานมีความคิด สร้างสรรค์ ผลงานแสดงออก ถึงความคิด สร้างสรรค์ แปลกใหม่ และเป็นระบบ ผลงานมีแนวคิด แปลกใหม่แต่ยัง ไม่เป็นระบบ ผลงานมีความ น่าสนใจ แต่ยัง ไม่ มีแนวคิดแปลก ใหม่ ผลงานไม่แสดง แนวคิดใหม่ 4. ผลงานมีความเป็น ระเบียบ ผลงานมีความเป็น ระเบียบแสดงออก ถึงความประณีต ผลงานส่วนใหญ่มี ความเป็น ระเบียบแต่ยังมี ข้อบกพร่อง เล็กน้อย ผลงานมีความ เป็นระเบียบแต่มี ข้อบกพร่อง บางส่วน ผลงานส่วนใหญ่ ไม่เป็นระเบียบ และมีข้อ บกพร่องมาก เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ นักเรียนได้คะแนน 13 คะแนนขึ้นไป หรือร้อยละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์


107 แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม กลุ่ม .......................................................................................................... สมาชิกในกลุ่ม 1. ...................................................................... 2. ...................................................................... 3. ...................................................................... 4. ...................................................................... 5. ...................................................................... 6. ...................................................................... คำชี้แจง: ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย ✓ ในช่องที่ตรงกับความเป็นจริง พฤติกรรมที่สังเกต คะแนน 3 2 1 1. มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น 2. มีความกระตือรือร้นในการทำงาน 3. รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย 4. มีขั้นตอนในการทำงานอย่างเป็นระบบ 5. ใช้เวลาในการทำงานอย่างเหมาะสม รวม เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ทำเป็นประจำ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมที่ทำเป็นบางครั้ง ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมที่ทำน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 13-15 ดี 8-12 ปานกลาง 5-7 ปรับปรุง


108 แบบประเมินสมรรถนะผู้เรียน 5 ด้าน คำชี้แจง : ให้สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ตรง กับระดับคะแนน สมรรถนะที่ประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 1. ความสามารถในการสื่อสาร 1.1 มีความสามารถในการรับ – ส่งสาร 1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ภาษาอย่างเหมาะสม 1.3 ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม 2. ความสามารถในการคิด 2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพื่อการสร้างองค์ความรู้ 2.2 มีความสามารถในการคิดเป็นระบบ เพื่อการสร้างองค์ความรู้ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3.1 แก้ปัญหาโดยใช้เหตุผล 3.2 แสวงหาความรู้มาใช้ในการแก้ปัญหา 3.3 ตัดสินใจโดยคำนึงถึงผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 4.1 ทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยความสัมพันธ์อันดี 4.2 มีวิธีแก้ไขความขัดแย้งอย่างเหมาะสม 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5.1 เลือกใช้ข้อมูลในการพัฒนาตนเองอย่างเหมาะสม 5.2 เลือกใช้ข้อมูลในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างเหมาะสม ลงชื่อ ................................................................................. ผู้ประเมิน ......................../........................./............................. เกณฑ์การให้คะแนน : - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน


109 แบบทดสอบ Rubin’s Self Esteem Scale คำชี้แจง แบบสอบถามทั้งหมดมี3 ตอน โปรดอ่านคำชี้แจงแต่ละตอนอย่างถี่ถ้วน คำตอบไม่มีการตัดสิน ว่าถูกหรือผิดเพราะเป็นความรู้สึกของคนแต่ละคนไม่จำเป็นจะต้องเหมือนกับผู้อื่นโปรดตอบทุก ๆข้อ ตอนที่1 โปรดอ่านแต่ละประโยคอย่างระมัดระวัง ถ้าประโยคไหนเหมือนตัวคุณเองก็ตอบว่า ใช่ ถ้าเห็นว่าไม่เหมือนก็ตอบว่า ไม่ใช่ โดยกาเครื่องหมาย X ทับคำตอบนั้น 1. ฉันทำสิ่งที่ไม่ดีมามาก ใช่ ไม่ใช่ 2. ฉันเป็นคนไม่เชื่อฟังเวลาที่อยู่บ้าน ใช่ ไม่ใช่ 3. ฉันเคยได้รับความลำบากเสมอ ใช่ ไม่ใช่ 4. ฉันคิดไปในด้านอกุศลเสมอ ใช่ ไม่ใช่ 5. ฉันเป็นคนที่ไว้ใจได้ ใช่ ไม่ใช่ 6. ฉันเป็นคนเรียนดี ใช่ ไม่ใช่ 7. ฉันเป็นคนฉลาด ใช่ ไม่ใช่ 8. ฉันไม่ค่อยจะรู้เรื่องอะไรเลย ใช่ ไม่ใช่ 9. ฉันเป็นนักอ่านที่ดี ใช่ ไม่ใช่ 10. ฉันเรียนอะไรแล้วก็ลืมหมด ใช่ ไม่ใช่ 11. ฉันเป็นคนหน้าตาดี ใช่ ไม่ใช่ 12. ฉันมีหน้าตาแจ่มใสเสมอ ใช่ ไม่ใช่ 13. ฉันมีรูปร่างไม่ดี ใช่ ไม่ใช่ 14. ฉันเป็นคนแข็งแรง ใช่ ไม่ใช่ 15. ฉันเป็นผู้นำในการเล่นและการกีฬา ใช่ ไม่ใช่ 16. ฉันร้องไห้เก่ง ใช่ ไม่ใช่ 17. ฉันเป็นคนชอบวิตกกังวล ใช่ ไม่ใช่ 18. ฉันหวาดหลัวบ่อย ๆ ใช่ ไม่ใช่ 19. ฉันจะว้าวุ่นใจเมื่อมีคนเรียกฉัน ใช่ ไม่ใช่ 20. ฉันเป็นคนขี้ตกใจ ใช่ ไม่ใช่ 21. คนมักเลือกฉันในการเล่นเกมต่าง ๆ ใช่ ไม่ใช่ 22. ฉันเป็นคนสุดท้ายที่ได้รับเลือกให้เล่นเกม ใช่ ไม่ใช่ 23. ฉันลำบากใจที่จะเป็นเพื่อนกับใคร ใช่ ไม่ใช่ 24. ฉันมีเพื่อนมาก ใช่ ไม่ใช่ 25. ฉันเป็นคนที่ถูกลืม ใช่ ไม่ใช่ 26. ฉันเป็นคนที่มีความสุข ใช่ ไม่ใช่ 27. ฉันเป็นคนที่มีความสุข ใช่ ไม่ใช่ 28. ฉันพอใจในสภาพตัวเองขณะนี้ ใช่ ไม่ใช่ 29. ฉันอยากเป็นอย่างอื่นที่ไม่ใช่ตัวฉันตอนนี้ ใช่ ไม่ใช่ 30. ฉันเป็นคนร่าเริง ใช่ ไม่ใช่


110 ตอนที่2 โปรดอ่านแต่ละข้อต่อไปนี้อย่างระมัดระวัง แล้วเลือกทำเครื่องหมาย ¡ ล้อมรอบ ข้อ ก. หรือ ข. หรือ ค. หรือ ง.ตามที่คุณเห็นว่าตรงกับความรู้สึกของคุณมากที่สุดเพียงข้อเดียว ก. เห็นด้วยอย่างยิ่ง ข. เห็นด้วย ค. ไม่เห็นด้วย ง. ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง 31. ฉันเป็นคนมีคุณค่าทัดเทียมกับผู้อื่น ก ข ค ง 32. ฉันเป็นคนมีคุณสมบัติที่ดีหลายอย่าง ก ข ค ง 33. ฉันรู้สึกว่าฉันทำอะไรไม่สำเร็จเลย ก ข ค ง 34. ฉันมีความสามารถทำสิ่งต่าง ๆ ได้ดีเท่าผู้อื่น ก ข ค ง 35. ฉันมีความภาคภูมิใจในตนเองน้อยเหลือเกิน ก ข ค ง 36. ฉันคิดถึงตัวเองในทางที่ดี ก ข ค ง 37. โดยทั่วไปแล้วฉันมีความพอใจในตัวเอง ก ข ค ง 38. ฉันหวังว่าฉันสามารถนับถือตัวเองได้มากกว่านี้ ก ข ค ง 39. ขณะนี้ฉันรู้สึกว่าตนเองเป็นคนไร้ประโยชน์ ก ข ค ง 40. บางครั้งฉันคิดว่าฉันไม่มีอะไรดีเลย ก ข ค ง ตอนที่3 โปรดอ่านข้อความต่อไปนี้ตามลำดับอย่างถี่ถ้วน แล้วทำเครื่องหมาย ล้อมรอบ ตัวเลข 1 หรือ 2 หรือ 3 หรือ 4 หรือ 5 ซึ่งตรงกับรู้สึกของคุณมากที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ไม่เคยเลย 2. ไม่บ่อยนัก 3. บางครั้ง 4. บ่อยครั้ง 5. ตลอดมา 41. ฉันเป็นเพื่อนกับทุก ๆ คน 1 2 3 4 5 42. ฉันมีความสุข 1 2 3 4 5 43. ฉันมีความกรุณา 1 2 3 4 5 44. ฉันเป็นคนกล้า 1 2 3 4 5 45. ฉันเป็นคนซื่อสัตย์ 1 2 3 4 5 46. คนทั่ว ๆ ไปชอบฉัน 1 2 3 4 5 47. ฉันเป็นคนที่ไว้ใจได้ 1 2 3 4 5 48. ฉันเป็นคนดี 1 2 3 4 5 49. ฉันภาคภูมิใจในตัวฉัน 1 2 3 4 5 50. ฉันเป็นคนเกียจคร้าน 1 2 3 4 5 51. ฉันให้ความร่วมมือกับทุกคนเสมอ 1 2 3 4 5 52. ฉันเป็นคนร่าเริงแจ่มใส 1 2 3 4 5 53. ฉันเป็นคนมีความคิด 1 2 3 4 5 54. ฉันเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป 1 2 3 4 5 55. ฉันเป็นคนอ่อนโยน 1 2 3 4 5 56. ฉันเป็นคนขี้อิจฉา 1 2 3 4 5 57. ฉันเป็นคนที่ไม่ดื้อดึง 1 2 3 4 5 58. ฉันเป็นคนสุภาพ 1 2 3 4 5 59. ฉันเป็นคนขี้อาย 1 2 3 4 5


111 60. ฉันเป็นคนสะอาด 1 2 3 4 5 61. ฉันเป็นคนที่มีประโยชน์ต่อผู้อื่น 1 2 3 4 5 62. ฉันเป็นคนมีความกตัญญู 1 2 3 4 5 การตรวจและการแปลผลแบบทดสอบ (Rubin’s Self Esteem Scale) แบบทดสอบนี้เป็นแบบวัดที่ให้รายงานตัวเองประกอบด้วยข้อความ 62 ข้อ แบ่งออกเป็น 3 ตอน ดังนี้ ตอนที่1 เป็นข้อความเกี่ยวกับอัตมโนทัศน์(Self Concept) จำนวน 30 ข้อ เป็นแบบเลือกรับหรือปฏิเสธ ตอบ โดยกาเครื่องหมาย (กากบาท) ลงกับคำว่า “ใช่” หรือ “ไม่ใช่” ข้อละเครื่องหมาย ในแต่ละข้อมีการตรวจให้คะแนนแตกต่างกันตามลักษณะของข้อความ ดังนี้ เมื่อข้อความมีลักษณะทางบวก ถ้าตอบ “ใช่” ได้2 คะแนน ถ้าตอบ “ไม่ใช่” ได้1 คะแนน ได้แก่ข้อ 5, 6, 7, 9, 11, 12, 14, 15, 21, 24, 26, 28 และ 30 เมื่อข้อความมีลักษณะทางลบ ถ้าตอบ “ใช่” ได้1 คะแนน ถ้าตอบ “ไม่ใช่” ได้2 คะแนน ได้แก่ข้อ 1, 2, 3, 4, 8, 10, 13, 16, 17, 18, 19, 20, 22, 23, 25, 27 และ 29 ตอนที่2 เป็นแบบวัดความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง (Self – Esteem Scale) จำนวน 10 ข้อ เป็นแบบ rating scale 4 ระดับ (ก - ง) ตอบโดยการทำเครื่องหมาย (วงกลม) ล้อมรอบตัวอักษร ที่แสดงว่า “เห็นด้วยอย่างยิ่ง” “เห็นด้วย” “ไม่เห็นด้วย” หรือ “ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง” ข้อละ 1 เครื่องหมาย ในแต่ละข้อมีการตรวจให้คะแนนแตกต่างกันตามลักษณะของข้อความ ดังนี้ เมื่อข้อความมีลักษณะทางบวก ถ้าตอบ “ก” หรือ “ข” ได้2 คะแนน ถ้าตอบ “ค” หรือ “ง” ได้1 คะแนน ได้แก่ข้อ 31, 32, 34, 36 และ 37 เมื่อข้อความมีลักษณะทางลบ ถ้าตอบ “ก” หรือ “ข” ได้1 คะแนน ถ้าตอบ “ค” หรือ “ง” ได้2 คะแนน ได้แก่ข้อ 33, 35, 38, 39 และ 40 ตอนที่3 เป็นการประเมินอัตมโนทัศน์(Self Concept Rating) จำนวน 22 ข้อ เป็นแบบ rating scale 5 ระดับ (1-5) ให้ตอบโดยการทำเครื่องหมาย (วงกลม) ล้อมรอบตัวอักษรที่แสดงว่า “ไม่เคยเลย” “ไม่บ่อยนัก” “บางครั้ง” หรือ “ตลอดมา” และในแต่ละข้อมีการตรวจให้คะแนนแตกต่างกันตามลักษณะ ของข้อความ ดังนี้ เมื่อข้อความมีลักษณะทางบวก ถ้าตอบ “1” จะได้1 คะแนน


112 ถ้าตอบ “2” จะได้2 คะแนน ถ้าตอบ “3” จะได้3 คะแนน ถ้าตอบ “4” จะได้4 คะแนน ถ้าตอบ “5” จะได้5 คะแนน ได้แก่ข้อ 41, 42, 43, 44, 45, 46, 47, 48, 49, 51, 52, 53, 54, 55, 57, 58, 60, 61 และ 62 เมื่อข้อความมีลักษณะทางลบ ถ้าตอบ “1” จะได้5 คะแนน ถ้าตอบ “2” จะได้4 คะแนน ถ้าตอบ “3” จะได้3 คะแนน ถ้าตอบ “4” จะได้2 คะแนน ถ้าตอบ “5” จะได้1 คะแนน การคิดคะแนนรวม คะแนนรวมคิดโดยการรวมคะแนนทั้ง 62 ข้อ ของผู้ตอบแบบทดสอบเข้าด้วยกัน เป็นคะแนนความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองของผู้ตอบแบบทดสอบแต่ละคนซึ่งมีช่วงคะแนนโดยทฤษฎี (Theoretical Range of Scores) ตั้งแต่62 – 190 ในการแบ่งระดับของคะแนนความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง มีเกณฑ์การแบ่งต่อไปนี้ ถ้าได้คะแนนตั้งแต่159 - 190 ถือว่าเป็นผู้ที่มีความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง ในระดับสูง ถ้าได้คะแนนตั้งแต่95 - 158 ถือว่าเป็นผู้ที่มีความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง ในระดับปานกลาง ถ้าได้คะแนนตั้งแต่62 - 94 ถือว่าเป็นผู้ที่มีความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง ในระดับต่ำ ที่มา : คู่มือ พัฒนาทักษะการดำเนินชีวิต ระดับมัธยมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ


Click to View FlipBook Version