The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ว 30225

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2021-05-29 23:07:02

แผนการจัดการเรียนรู้ ว 30225

แผนการจัดการเรียนรู้ ว 30225

แผนการจัดการเรียนรู้

รหสั วชิ า ว 30225

รายวชิ าเพม่ิ เติม เคมี 5

จำนวน 1.5 หน่วยกติ 3 คาบ/สัปดาห์

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นที่ 1

ปีการศึกษา 2564

จัดทำโดย
นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์
ตำแหน่ง ครูชำนาญการพเิ ศษ

กล่มุ สาระการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

โรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม

สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาการมธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ

แผนการจัดการเรยี นรู้เลม่ นี้ จัดทำข้ึนเพ่ือใช้เปน็ แนวทางในการจดั การเรยี นการสอนรายวชิ ารายวชิ า
เพ่ิมเติม ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 รหสั วิชา ว30225 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ท่เี น้นนักเรียนเป็นสำคัญ มี
การจัดกิจกรรมและการวัดผลประเมินผลท่ีหลากหลายสอดคล้องกับสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระ
การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551 ซึง่ ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้ จำนวน 2 หนว่ ย คือ หน่วยท่ี 1 เคมีอินทรีย์ และ หน่วยท่ี
2 พอลิเมอร์

แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งเป็นรายบุคคลและ
รายกลุ่ม เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งเสริมให้
นักเรียนเช่ือมโยงความรู้ท้ังในและต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ในเชิงบูรณาการด้วยวิธีการที่หลากหลาย สร้าง
สถานการณ์การเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน โดยครูมีบทบาทหน้าที่ในการเอื้ออำนวยความสะดวกให้แก่
นักเรียน เพื่อให้นักเรียนมีคุณภาพตามสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัด รวมท้ังพัฒนานักเรียนให้มี
สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่หลักสูตรกำหนด เพ่ือให้นักเรียนสามารถดำรงชีวิตอยู่
ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมไทยและสังคมโลกได้อย่างมีความสุขการปฏิบัติงานมุ่งผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนได้อย่างเป็น
ระบบ สง่ ผลใหผ้ ู้เรยี นมคี ุณภาพ และสถานศึกษามคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาอยา่ งแท้จริง

หวังเป็นอย่างย่ิงว่าแผนการจดั การเรยี นรู้ เล่มนจ้ี ะเปน็ ประโยชน์ต่อการนำไปประยุกตใ์ ช้ในการจดั การ
เรยี นรู้ใหเ้ หมาะสมกับสภาพแวดล้อมของนักเรยี นตอ่ ไป

......................................................
(นางสาวอโนชา อทุ ุมสกลุ รัตน์)

สารบัญ หนา้

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 เคมอี นิ ทรีย์ 1 - 31
 แผนการเรียนรทู้ ี่1 รจู้ กั สารอินทรยี ์ 1
 แผนการเรยี นรู้ท่ี2 ฉันคอื สารประกอบไฮโดรคารบ์ อน 8
 แผนการเรยี นรูท้ ่ี3 สารประกอบอนิ ทรยี ท์ ี่มีธาตุออกซิเจนเปน็ องค์ประกอบ ตอนที่ 1 14
 แผนการเรยี นรทู้ ่ี4 สารประกอบอนิ ทรยี ท์ ่มี ธี าตอุ อกซเิ จนเป็นองคป์ ระกอบ ตอนท่ี 2 20
 แผนการเรียนรู้ที่5 เคมีอนิ ทรยี ์เรื่อง สารประกอบอินทรีย์ที่มธี าตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ 26

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 พอลิเมอร์ 32 - 54

 แผนการเรียนรู้ที่6 การเกิดพอลเิ มอร์ 32
 แผนการเรยี นรูท้ ่ี7 โครงสร้างและสมบตั ขิ องพอลเิ มอร์ 37
 แผนการเรียนรูท้ ี่8 การปรบั ปรงุ สมบัตขิ องพอลิเมอร์ 44
 แผนการเรยี นรทู้ ี่9 การแก้ปัญหาขยะจากพอลิเมอร์ 49

เคร่ืองมอื วัดและประเมินผล 55

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1
หน่วยการเรียนรู้ท่ี….1....เคมอี ินทรยี ์...........เรอื่ ง....รจู้ กั สารอินทรีย์........…………………………….…........................
รายวชิ า……..............เคมี…5........ ............รหสั วิชา…..............ว 30225......................ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่.ี ...6.....
กลมุ่ สาระการเรียนรู้..วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปกี ารศกึ ษา… 2564...ภาคเรียนท.่ี .1...เวลา...14..ช่ัวโมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกุลรตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ดั /ผลการเรยี นรู้ (รายวชิ าพื้นฐานมีทัง้ มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชว้ี ัด
รายวชิ าเพ่ิมเตมิ มเี ฉพาะมาตรฐานการเรยี นรู้และผลการเรียนร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
สาระเคมี 1 : เข้าใจโครงสรา้ งอะตอม การจดั เรียงธาตใุ นตารางธาตุ สมบตั ิของธาตุ พันธะเคมแี ละ

สมบัตขิ องสาร แกส๊ และสมบตั ิของแก๊ส ประเภทและสมบัตขิ อง สารประกอบอินทรยี ์และพอลเิ มอร์ รวมทง้ั
การนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

1.2 ผลการเรียนรู้
1. สืบค้นข้อมูลและนำเสนอตัวอยา่ งสารประกอบอินทรีย์ที่มพี ันธะเดี่ยว พนั ธะคู่ หรือพันธะสาม ที่พบ

ในชีวติ ประจำวนั
2. เขียนสตู รโครงสร้างลวิ อสิ สูตรโครงสร้างแบบย่อ และสูตรโครงสร้างแบบเส้นของสารประกอบ

อนิ ทรยี ์
3. วเิ คราะหโ์ ครงสร้าง และระบปุ ระเภทของสารประกอบอินทรยี จ์ ากหม่ฟู งั กช์ นั
4. เขียนสตู รโครงสร้างและเรียกชือ่ สารประกอบอนิ ทรยี ์ประเภทต่าง ๆ ทม่ี หี มฟู่ งั กช์ นั ไม่เกนิ 1 หมู่

ตามระบบ IUPAC
5. เขียนไอโซเมอรโ์ ครงสรา้ งของสารประกอบอินทรีย์ประเภทตา่ ง ๆ
6. เขยี นสตู รโครงสรา้ งและเรยี กช่ือสารประกอบอินทรยี ์ประเภทต่าง ๆ ท่ีมหี ม่ฟู ังก์ชันไมเ่ กิน 1 หมู่

ตามระบบ IUPAC
7. เขียนไอโซเมอร์โครงสร้างของสารประกอบอนิ ทรยี ์ประเภทต่าง ๆ
8. วิเคราะหแ์ ละเปรียบเทยี บจุดเดอื ดและการละลายในนำ้ ของสารประกอบอินทรียท์ ีม่ ีหม่ฟู งั ก์ชัน

ขนาดโมเลกุล หรือโครงสรา้ งต่างกนั
2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากผลการเรยี นรู้ทีใ่ ชใ้ นหนว่ ยการเรียนรนู้ ี้เขียนเป็นแบบความ
เรียง)

สารประกอบอินทรยี ์เป็นสารประกอบของคาร์บอน สว่ นใหญพ่ บในสงิ่ มชี วี ิต มโี ครงสรา้ งหลากหลาย
และแบ่งได้หลายประเภท เนื่องจากธาตคุ ารบ์ อนสามารถเกดิ พันธะโคเวเลนต์กับธาตคุ าร์บอนดว้ ยพนั ธะเด่ียว
พนั ธะคู่ พันธะสาม นอกจากนี้ยังสามารถเกิดพนั ธะโคเวเลนตก์ บั ธาตุอนื่ ๆ ได้อีกด้วยและมีการนำสารประ
กอบอินทรีย์ไปใช้ประโยชน์อย่างหลากหลาย โครงสรา้ งของสารประกอบอนิ ทรีย์แสดงได้ด้วยสูตรโครงสรา้ งลิว
อสิ สตู รโครงสรา้ งแบบย่อ หรอื สูตรโครงสร้างแบบเสน้
3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรยี นรเู้ พิม่ เติม (รายวิชาเพิม่ เตมิ )
- สารประกอบอนิ ทรยี เ์ ป็นสารประกอบของคาร์บอนส่วนใหญ่พบในสิ่งมีชวี ิต มโี ครงสร้างหลากหลาย

และแบ่งไดห้ ลายประเภท เนอื่ งจากธาตุคารบ์ อนสามารถเกิดพันธะโคเวเลนต์กบั ธาตุคาร์บอนดว้ ย

1

พันธะเดย่ี วพนั ธะคู่ พันธะสาม นอกจากน้ยี ังสามารถเกดิ พันธะโคเวเลนตก์ บั ธาตอุ ื่น ๆ ไดอ้ ีกด้วย และ

มีการนำสารประกอบอินทรียไ์ ปใช้ประโยชนอ์ ย่างหลากหลาย

- โครงสร้างของสารประกอบอินทรียแ์ สดงได้ดว้ ยสูตรโครงสร้างลวิ อสิ สูตรโครงสร้างแบบย่อ หรอื

สตู รโครงสร้างแบบเส้น

3.2 สาระการเรยี นรู้ท้องถ่ิน (ถา้ ในคำอธบิ ายรายวิชาพูดถงึ หลกั สูตรทอ้ งถิน่ ใหใ้ ส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธิบายการเกิดพันธะเคมีของคาร์บอนในสารประกอบอนิ ทรยี ์ได้

2. สบื คน้ ข้อมูลและนำเสนอตวั อยา่ งสารประกอบอนิ ทรยี ์ท่ีมพี ันธะเดี่ยว พนั ธะคู่ หรอื พันธะสาม ท่ีพบใน

ชวี ติ ประจำวนั ได้

3. เขียนสูตรโมเลกุล สตู รโครงสร้างลิวอสิ สูตรโครงสร้างแบบย่อ และสูตรโครงสร้างแบบเส้นพนั ธะของ

สารประกอบอนิ ทรีย์ได้

4. วิเคราะหโ์ ครงสร้างและระบปุ ระเภทของสารประกอบอินทรยี จ์ ากหมู่ฟังกช์ นั ได้

5. มีจติ วทิ ยาศาสตรด์ า้ นความรอบคอบ จากรายงานการทดลองและการทำแบบฝกึ หดั

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (เลอื กเฉพาะข้อท่ีเกดิ ในหนว่ ยการเรียนรนู้ ้)ี

 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (เลอื กเฉพาะขอ้ ทีเ่ กิดในหน่วยการเรยี นรนู้ ี้)

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซอื่ สตั ย์สุจริต

 3. มีวนิ ัย  4. ใฝเ่ รยี นรู้
 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุ่งม่ันในการทำงาน
 7. รักความเป็นไทย  8. มจี ติ สาธารณะ
7. ด้านคุณลกั ษณะของผเู้ รยี นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวชิ าการ  2. ส่ือสารสองภาษา  3. ล้ำหน้าทางความคดิ

 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  5. รว่ มกนั รับผดิ ชอบตอ่ สังคมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คือการเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได)้  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )
 ทกั ษะด้านการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปญั หา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)

 ทกั ษะด้านความเข้าใจความตา่ งวฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผนู้ ำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะดา้ นการสื่อสาร สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันสือ่ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning) 2

 ความมีเมตตา (วนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)
9. บรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลมุ่ ใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในห้องเรยี นคือ

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลักความมเี หตุผล : ให้นักเรียนสรา้ งสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏบิ ตั ิ , เลือกใชส้ ารเคมีได้อย่าง

ค้มุ คา่

3. หลักภมู คิ มุ้ กนั : ใหน้ กั เรียนเกดิ ทกั ษะการทำงานกล่มุ และกล้าแสดงออก

4. เง่อื นไขความรู้ : การวางแผนงานทจ่ี ะทำกอ่ นแลว้ คอ่ ยลงมอื ทำอยา่ งระมัดระวงั , เขยี นสมการการ

เปลี่ยนแปลงจากการทดลอง

5. เง่ือนไขคณุ ธรรม : อดทนท่จี ะทำงาน และมคี วามขยนั ทีจ่ ะทำงานให้ออกมาได้ดีทสี่ ุด , มีวินัยในการ

ทำการทดลอง

10. ชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการเรยี นรู้ ชนิ้ งาน ภาระงาน

1-2 - รายงานผลการทดลอง เร่ือง การจัด - ก า ร อ ภิ ป ร า ย ผ ล ก า ร ท ด ล อ ง

ตั ว ข อ งค าร์บ อ น ใน ส าร ป ร ะ ก อ บ เปรียบเทียบการจัดตัวของคาร์บอนใน

ไฮโดรคารบ์ อน สารประกอบไฮโดรคารบ์ อน

3-5 - รายงานผลการทดลอง เรื่อง สมบัติ - วิเคราะห์สมบัติที่แตกต่างกันของเอทา

บางประการของเอทานอลและกรดแอซี นอลและกรดแอซีตกิ

ตกิ

11. การวัดประเมนิ ผล

10.1การวดั และประเมนิ ผลช้นิ งาน/ภาระงานรวบยอด

วิธกี าร

1.การสังเกตการณ์

2.การใช้ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตรร์ อ่ งรอยบง่ ชี้ 3.การวัดประเมนิ การปฏบิ ัติ

เครือ่ งมือ

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏิบตั ิ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถอื วา่ ผา่ น ผ่าน 1

รายการถอื ว่า ไมผ่ า่ น

10.2 การวดั และประเมินผลระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจดั การเรียนรขู้ อง

หนว่ ยการเรยี นรนู้ ี้)

ส่งิ ที่ตอ้ งการวัด วธิ ีวัดผล เคร่ืองมอื วัดผล เกณฑ์การประเมนิ

1. ความรเู้ กี่ยวกับ -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมนิ การ - นกั เรียนได้คะแนน

- สารประกอบอนิ ทรีย์ ความคดิ เห็น อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขึ้นไป

-การตอบคำถาม คดิ เห็น หรอื รอ้ ยละ 80

3

- สูตรโครงสรา้ งของสาร -การตรวจผลงาน - แบบประเมินการ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์
ประกอบอนิ ทรยี ์ นักเรยี น ตรวจผลงานนกั เรยี น - นักเรยี นไดค้ ะแนน
- การเขยี นไอโซเมอร์ ประเมินผลงาน

13 คะแนนขน้ึ ไป

หรือร้อยละ 80

ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

2.ทักษะกระบวนการคิด และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมนิ การ -นักเรยี นได้คะแนน

ทักษะกระบวนการกลมุ่ ความคิดเหน็ อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขน้ึ ไป

คดิ เห็น หรอื ร้อยละ 80 ถือวา่

- สงั เกตพฤติกรรมการ - แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์

ทำงานกลุม่ พฤตกิ รรมการ

ทำงานกลุ่ม

3. คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ - สังเกตค่านยิ มในการ - แบบประเมิน - นกั เรียนไดค้ ะแนน

และสมรรถนะผ้เู รยี น ทำงานรว่ มกบั ผอู้ ื่น คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประเมินคุณลักษณะ

- มวี นิ ัยในการทำงานกลุ่ม และการทำงานใน ประสงค์ อันพงึ ประสงค์

- นักเรียนเหน็ ความสำคญั ระบบกล่มุ - แบบประเมิน 26 คะแนนขึ้นไป

ของการทำงานร่วมกับผู้อื่นและ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผเู้ รยี น หรอื รอ้ ยละ 80

การทำงานในระบบกลุ่ม คิดเห็นเก่ียวกบั ผลการ ถือว่าผ่านเกณฑ์

- ยอมรับความคิดเห็นซึง่ กัน ทดลอง - นักเรียนได้คะแนน

และกันมคี วามเสียสละและ การประเมินสมรรถนะ

อดทน 29 คะแนนขนึ้ ไป

หรอื ร้อยละ 80

ถือว่าผ่านเกณฑ์

12. กจิ กรรมการเรียนรู้

ชว่ั โมงที่ 1-3

1. ขัน้ ตั้งประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครูและนกั เรียนสนทนาร่วมกนั เก่ยี วกับการแบง่ ประเภทของสารทีพ่ บในชีวิตประจำวนั

ความหมายของสารอนินทรีย์ สารอนิ ทรยี ์และเคมีอนิ ทรีย์ เพอ่ื ให้ได้ขอ้ สรปุ เกีย่ วกับเคมีอนิ ทรยี ์ว่าเป็นวชิ าที่

ศึกษาเกีย่ วกับ สารประกอบของคาร์บอน ยกเว้น สารประกอบ อนนิ ทรยี ข์ องคารบ์ อนบางชนดิ เชน่

สารประกอบออกไซด์ คาร์บอเนต และไฮโดรเจนคาร์บอเนต

1.2 นักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน เรอ่ื ง รูจ้ ักสารอนิ ทรยี ์ ใช้เวลาประมาณ 15 นาที

1.3 นกั เรยี นศึกษาการเกดิ พันธะของคารบ์ อนและสตู รโครงสรา้ ง ตามรายละเอยี ดในชุดกจิ กรรม

หลงั จากน้ันทำกจิ กรรมร่วมกันคิด 1และ 2 ตามลำดับ

ชัว่ โมงที่ 4-6

2. ขั้นสบื ค้นความรู้ (Searching for Information)

2.1 แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4- 5 คน แต่ละกล่มุ มีนกั เรยี นเกง่ ปานกลาง ออ่ น คละกัน

ใหน้ กั เรียนทำการทดลองท่ี 1 เร่ือง การจัดตัวของคารบ์ อนในสารประกอบไฮโดรคาร์บอน ในชุดกิจกรรม

พร้อมท้ังให้สมาชกิ กำหนดหนา้ ทก่ี ันเองในกุล่ม เช่น

4

คนที่ 1 อา่ นขั้นตอนการทดลองและบอกวธิ กี ารทดลองตามลำดบั
คนที่ 2 ดำเนนิ การทดลอง จัดเตรียมอุปกรณ์
คนท่ี 3 รับอุปกรณ์ สารเคมี สำหรับการทดลอง
คนท่ี 4 บันทึกขอ้ มูล ผลการทดลอง
2.2 หลังเสรจ็ การทดลองใหน้ ักเรยี นแต่ละกลมุ่ สง่ ตวั แทนออกมานาเสนอหนา้ ชั้นเรยี น
2.3 ให้นักเรียนใหน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ วิเคราะห์ อภิปรายผลการทดลอง ตามแนวคำถาม
- เม่ือต่อคาร์บอน 5 อะตอมดว้ ยพันธะเด่ียวทงั้ หมดจะไดก้ ่ไี อโซเมอร์ และแต่ละไอโซเมอร์มี สูตร
โครงสร้างเป็นอย่างไร
- ถ้าต่อแบบจำลองโดยใชค้ ารบ์ อน 5 อะตอมเช่นเดยี วกนั แตเ่ ปล่ยี นพนั ธะเดี่ยวเปน็ พนั ธะคู่ 1
พนั ธะจะตอ่ ไดก้ ไี่ อโซเมอร์และแตล่ ะไอโซเมอรม์ สี ูตรโครงสรา้ งเปน็ อยา่ งไร
2.4 ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรปุ ผลการทดลอง หลังจากนั้นทำกจิ กรรมรว่ มกนั คดิ 3
2.5 ครูอธบิ ายความหมายของหมูฟ่ ังก์ชันเพอ่ื โยงเขา้ ส่กู ารทดลองการทดลองท่ี 2 เรอ่ื ง สมบัติ
บางประการของเอทานอลและกรดแอซีตกิ ในชดุ กิจกรรมพรอ้ มทั้งให้สมาชกิ กำหนดหน้าท่กี นั เองในกลุ ่ม เชน่
คนที่ 1 อ่านขนั้ ตอนการทดลองและบอกวิธีการทดลองตามลำดบั
คนท่ี 2 ดำเนนิ การทดลอง จดั เตรียมอปุ กรณ์
คนที่ 3 รับอุปกรณ์ สารเคมี สำหรบั การทดลอง
คนท่ี 4 บนั ทึกข้อมูล ผลการทดลอง
2.6 นกั เรียนและครรู ว่ มกนั อภิปรายและสรปุ ผลการทดลองโดยใช้ชดุ กิจกรรมประกอบ
ชว่ั โมงที่ 7-9
3. ขน้ั สรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรปุ ถงึ สารอินทรีย์
3.2 ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลุม่ รว่ มกนั ศึกษา อภิปราย ทำกจิ กรรมร่วม กนั คดิ 4
3.3 ใหน้ กั เรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกันอภปิ ราย ตรวจความถกู ตอ้ ง ตอบคำถามข้อสงสยั ตา่ ง ๆ
3.4 ใหน้ ักเรยี นช่วยกันเฉลยคำตอบพร้อมท้ังให้เหตุผล
ช่วั โมงที่ 10-14
4. ขน้ั การสอ่ื สารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 นกั เรียนแต่ละกล่มุ ทำกิจกรรม ปฏิบตั ิการ ฝึกทำ : ฝกึ สรา้ ง สืบค้นข้อมูลสารอินทรยี ์
(เฉพาะสารบรสิ ุทธ)ิ์ ท่ีสนใจมา 1 ชนิด ตามรายละเอียดในชุดกจิ กรรม
4.2 นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ เขยี นบรรยายเปน็ ข้อความ เรอื่ ง สารอนิ ทรยี ์ของคารบ์ อน เพ่อื สรุปความรู้
ที่ได้จากผงั มโนทัศน์
5. ข้ันการบรกิ ารสงั คมและสาธารณะ (Public Service)
5.1 นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั ศึกษาคน้ ควา้ การทำระบบก๊าซชวี ภาพจากมูลสตั วแ์ ละ ขยะอนิ ทรยี ์
พร้อมระบุแหล่งท่ีมาแลว้ บนั ทกึ ขอ้ มูล
5.2 นกั เรียนแต่ละกลุ่มเขยี นโครงการทำระบบก๊าซชวี ภาพจากมลู สัตวแ์ ละขยะอินทรีย์ ในโรงเรียน
ของนกั เรยี นพรอ้ มระบรุ ายละเอียด
13. สื่อการเรียนรู้/แหลง่ เรยี นรู้
13.1สื่อการเรยี นรู้

5

- ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ โยนโิ สมนสิการ เร่ือง เคมีอนิ ทรีย์ เลม่ ท่ี 1 เรือ่ งรจู้ กั

สารอินทรีย์

- ส่ือ ppt

13.2แหลง่ เรยี นรู้

1) อินเตอรเ์ น็ต 2) ห้องสมุด

14. บนั ทกึ หลังการจดั การเรยี นรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ดา้ นความรู้ : ......................................................................................

- สารประกอบอินทรยี ์ ......................................................................................

- สตู รโครงสรา้ งของสารประกอบอินทรีย์ ......................................................................................
- การเขยี นไอโซเมอร์ ......................................................................................
......................................................................................

2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการคดิ ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการกลมุ่ ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

3. ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นิยม ......................................................................................

อนั พงึ ประสงค์ : ......................................................................................

- มีวนิ ัย ......................................................................................

- ใฝ่เรยี นรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ......................................................................................
- รกั ความเป็นไทย
......................................................................................

......................................................................................

4. ปญั หาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

5. วธิ แี ก้ปัญหา

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

6

ลงช่ือ........................................ครูผสู้ อน ลงชอ่ื ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
( นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รัตน์ ) (นางกณกิ าร์ พัฒรากลุ )

ลงชอื่ ........................................... ลงชอ่ื ...........................................
( นางกณิการ์ พฒั รากลุ ) ( นางรพีพร คำบุญมา )

หวั หน้างานนิเทศ รองผอู้ ำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ

ลงชื่อ ........................................................

( นายจงจดั จันทบ )
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม

7

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2
หน่วยการเรียนร้ทู ี่…………...1....................เร่ือง....................ฉนั คือสารประกอบไฮโดรคาร์บอน..........................
รายวชิ า……..............เคมี…5........ ............รหัสวิชา…..............ว 30225......................ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่....6.....
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้..วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปีการศึกษา… 2563...ภาคเรียนที่..1...เวลา...12..ช่ัวโมง……
ผูส้ อน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ัด/ผลการเรยี นรู้ (รายวิชาพนื้ ฐานมที ัง้ มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ชว้ี ดั
รายวิชาเพิ่มเติมมเี ฉพาะมาตรฐานการเรียนรแู้ ละผลการเรยี นรู)้

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
สาระเคมี 1 : เข้าใจโครงสรา้ งอะตอม การจัดเรียงธาตใุ นตารางธาตุ สมบตั ิของธาตุ พันธะเคมี

และสมบตั ิของสาร แกส๊ และสมบัติของแกส๊ ประเภทและสมบัติของ สารประกอบอนิ ทรยี แ์ ละพอลเิ มอร์
รวมทัง้ การนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

1.2 ผลการเรยี นรู้
6. วิเคราะห์ และเปรียบเทียบจุดเดือดและการละลายในนำ้ ของสารประกอบอนิ ทรีย์ท่มี หี ม่ฟู งั กช์ นั

ขนาดโมเลกลุ หรือโครงสรา้ งต่างกัน
7. ระบุประเภทของสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนและเขียนผลติ ภัณฑ์จากปฏกิ ิรยิ าการเผาไหม้

ปฏิกริ ยิ ากบั โบรมนี หรือปฏิกริ ยิ ากบั โพแทสเซยี มเปอร์แมงกาเนต
2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (หลอมจากตวั ชว้ี ัดทใี่ ช้ในหนว่ ยการเรยี นรู้นเี้ ขียนเป็นแบบความเรียง)

สารประกอบไฮโดรคาร์บอน หมายถึงสารประกอบอินทรีย์ท่ีมีเฉพาะธาตคุ าร์บอนและไฮโดรเจนเป็น
องค์ประกอบ ในธรรมชาติพบสารประกอบไฮโดรคาร์บอนเกิดในแหลง่ ต่าง ๆ เช่น ยางไม้ ถ่านหิน ปโิ ตรเลียม
เชน่ CH4 , C2H6 , C2H4

สารประกอบไฮโดรคารบ์ อนเป็นสารอนิ ทรียป์ ระเภทหนึง่ ซึ่งประกอบดว้ ยธาตคุ าร์บอน และไฮโดรเจน
เป็นหลกั ไดแ้ ก่ แอลเคน แอลคนี และแอลไคน์
3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง/สาระการเรียนรู้เพ่ิมเติม (รายวิชาเพิม่ เตมิ )
- สารประกอบอินทรยี ์ประเภทแอลเคน แอลคีน แอลไคน์ อะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน เปน็
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ซึ่งเมอื่ เกิดปฏกิ ริ ิยาการเผาไหมป้ ฏกิ ิรยิ ากบั โบรมนี และปฏิกริ ยิ า
กบั โพแทสเซยี มเปอร์แมงกาเนต จะใหผ้ ลของปฏิกิริยาตา่ งกนั จงึ สามารถใช้เปน็ เกณฑใ์ นการ
จำแนกประเภทของสารประกอบไฮโดรควร์บอนได้

3.2 สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถิ่น (ถา้ ในคำอธิบายรายวิชาพูดถงึ หลักสูตรท้องถน่ิ ให้ใส่ลงไปดว้ ย
...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. วิเคราะห์และเปรยี บเทียบจุดเดือดและการละลายในนำ้ ของสารประกอบอนิ ทรยี ์ทม่ี ีหมู่ฟังก์ชนั ขนาด

โมเลกุล หรอื โครงสร้างตา่ งกันได้
2. ระบุประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนจากปฏกิ ิรยิ าการเผาไหม้ ปฏกิ ริ ิยากบั โบรมนี หรอื

ปฏิกิริยากับโพแทสเซียมเปอรแ์ มงกาเนต และเขยี นสมการเคมแี สดงปฏิกิริยาทเี่ กิดขน้ึ ได้

8

3. สืบค้นขอ้ มูลและนำเสนอตวั อยา่ งการนำสารประกอบอินทรีย์ไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจำวนั และ

อตุ สาหกรรมได้

4. เกดิ จิตวทิ ยาศาสตร์ด้านความใจกวา้ ง จากการทำงานเป็นทมี

5. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน (เลือกเฉพาะขอ้ ท่เี กิดในหนว่ ยการเรียนรนู้ )ี้

 1. ความสามารถในการส่อื สาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (เลือกเฉพาะขอ้ ท่เี กิดในหน่วยการเรยี นรู้น้ี)

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซ่ือสตั ยส์ ุจริต
 3. มวี นิ ัย  4. ใฝ่เรยี นรู้
 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุ่งม่นั ในการทำงาน
 7. รักความเปน็ ไทย  8. มีจิตสาธารณะ
7. ดา้ นคณุ ลักษณะของผู้เรียนตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวิชาการ  2. สือ่ สารสองภาษา  3. ลำ้ หน้าทางความคิด

 4. ผลิตงานอยา่ งสรา้ งสรรค์  5. รว่ มกันรับผดิ ชอบต่อสงั คมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได้)  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น)
 ทักษะดา้ นการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปญั หา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
 ทักษะดา้ นความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะดา้ นความร่วมมอื การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทกั ษะดา้ นการสอื่ สาร สารสนเทศและรู้เทา่ ทันสอ่ื (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)
 ความมเี มตตา (วนิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)
9. บูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลมุ่ ใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในห้องเรยี นคือ

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตุผล : ใหน้ กั เรียนสรา้ งสรรคผ์ ลงานและเกดิ ทกั ษะการปฏบิ ัติ

3. หลักภูมิคุม้ กัน : ให้นักเรียนเกดิ ทักษะการทำงานกล่มุ และกล้าแสดงออก

4. เงอ่ื นไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแลว้ คอ่ ยลงมือทำอย่างระมัดระวงั , เขียนสมการการ

เปล่ียนแปลงจากการทดลอง

5. เง่ือนไขคณุ ธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยนั ท่จี ะทำงานให้ออกมาไดด้ ที ี่สดุ , มวี ินัยในการ

ทำแบบฝึกหัด

10. ชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

9

ผลการ ช้นิ งาน ภาระงาน
เรียนรู้

6-7 - รายงานการทดลอง เรื่อง สมบตั ิบาง - คน้ ควา้ สบื คน้ ข้อมลู เรอ่ื งประโยชนข์ อง

ประการของสารประกอบไฮโดรคารบ์ อน แอลคนี พร้อมระบุแหล่งที่มาแล้วบันทกึ

- ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ กิจกรรม ข้อมลู

รว่ มกันคิด 1

- ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ กิจกรรมร่วมกนั

คดิ 2

7 - โครงการลดโลกรอ้ นในโรงเรยี น - ศกึ ษาค้นคว้า เรอ่ื งก๊าซเรอื นกระจก ที่เช่อื วา่

เปน็ สาเหตุ ของโลกร้อน พรอ้ มระบุแหลง่ ทม่ี า

แล้วบนั ทึกข้อมูล

11. การวัดประเมินผล

11.1การวดั และประเมินผลชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด

วิธีการ

1.การสังเกตการณ์

2.การใชช้ ุดกิจกรรมวิทยาศาสตรร์ ่องรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ

เครื่องมอื

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมนิ การปฏิบัติ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรม ผา่ นตงั้ แต่ 2 รายการ ถอื วา่ ผ่าน ผ่าน 1

รายการถือว่า ไม่ผา่ น

11.2การวัดและประเมนิ ผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรยี นรู้ของ

หนว่ ยการเรียนรนู้ ้)ี

สงิ่ ทต่ี ้องการวดั วิธีวดั ผล เครอ่ื งมอื วดั ผล เกณฑ์การประเมิน

1. ความร้เู กยี่ วกับ -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมนิ การ - นกั เรียนไดค้ ะแนน
- การเขยี นสูตรทวั่ ไป สูตร 12 คะแนนขึ้นไป
โมเลกุลและสตู ร โครงสรา้ ง ความคิดเหน็ อภิปรายแสดงความ หรือรอ้ ยละ 80
- การเรียกช่ือสารประกอบ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์
ไฮโดรคารบ์ อนแต่ละประเภท -การตอบคำถาม คิดเหน็ - นักเรียนได้คะแนน
- สมบัติของสารประกอบ ประเมินผลงาน
ไฮโดรคารบ์ อน -การตรวจผลงาน 13 คะแนนขน้ึ ไป
หรอื ร้อยละ 80
นกั เรียน - แบบประเมนิ การ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

ตรวจผลงานนักเรยี น 10

2.ทกั ษะกระบวนการคิด และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมนิ การ -นกั เรยี นได้คะแนน

ทักษะกระบวนการกลุ่ม ความคดิ เห็น อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนข้นึ ไป

คดิ เห็น หรอื รอ้ ยละ 80 ถอื วา่

- สังเกตพฤตกิ รรมการ - แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์

ทำงานกล่มุ พฤตกิ รรมการ

ทำงานกล่มุ

3. คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ - สังเกตนักเรียนจาก - แบบประเมิน - นักเรยี นได้คะแนน

และสมรรถนะผู้เรยี น การเขา้ ชั้นเรียน คณุ ลักษณะอันพงึ ประเมนิ คุณลักษณะ

- วินัยในการเรยี น อภิปราย แสดงความ ประสงค์ อันพงึ ประสงค์

- ใฝ่เรยี นรู้ มงุ่ มัน่ ในการ คิดเหน็ และพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ 26 คะแนนขึ้นไป

ทำงาน ระหว่างเรียน สมรรถนะผู้เรียน หรือรอ้ ยละ 80

- แบบทดสอบความรู้ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

ความคดิ ทาง - นกั เรยี นไดค้ ะแนน

วิทยาศาสตร์ การประเมนิ สมรรถนะ

29 คะแนนขึน้ ไป

หรือรอ้ ยละ 80

ถือว่าผา่ นเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรียนรู้

ช่วั โมงที่ 1-2

1. ขน้ั ตงั้ ประเดน็ ปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครูทบทวนเกย่ี วกับการเกิดไอโซเมอรแ์ ละความหมายของไอโซเมอร์ของสารสารประกอบ

ไฮโดรคารบ์ อน โดยใช้คำถามรูปแบบต่าง ๆ เพือ่ เชอ่ื มโยงไปสู่การเรียนรู้เร่อื ง สมบตั ิบางประการของ

สารประกอบไฮโดรคารบ์ อนและประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

1.2 ครูใหน้ กั เรียนดู สอ่ื power point ถึงการหม่ฟู งั ก์ชันที่แตกต่างกนั ของโมเลกุลของเอทานอล

และกรดแอซีตกิ และนำอภปิ รายถงึ สว่ นท่มี ีหน้าท่ีในการทำปฏกิ ริ ิยาที่แตกตา่ งกนั ตามโครงสร้าง

1.3 ครชู น้ี ำใหเ้ ห็นถงึ ขอ้ แตกตา่ งดังกล่าว เพ่อื น าไปสู่การทดลองเกีย่ วกบั สมบัตบิ างประการของ

ของสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนที่มจี ำนวนอะตอมของคารบ์ อนเท่ากนั แตม่ พี ันธะในโมเลกุลทแ่ี ตกต่างกนั

โดยศกึ ษาจากปฏิกริ ิยาของเฮกเซน (C6H14) เฮกซีน (C6H12) และเบนซีน (C6H6) ซง่ึ เปน็ สารทมี่ คี าร์บอนใน
โมเลกุล 6 อะตอม

ชวั่ โมงที่ 3-6

2. ขั้นสบื ค้นความรู้ (Searching for Information)

2.1 ใหน้ ักเรยี นแบ่งออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4- 5 คน แต่ละกลุ่มมีนักเรยี นเกง่ ปานกลาง อ่อน คละกัน

(เตรยี มไวใ้ นคบปฐมนเิ ทศ) ศึกษาตามรายละเอยี ดในชดุ กิจกรรม การทดลอง เร่ือง สมบัตบิ างประการของ

สารประกอบไฮโดรคาร์บอน พรอ้ มทงั้ ให้สมาชิกกำหนดหนา้ ท่กี ันเองในกลมุ่ เช่น

คนที่ 1 อา่ นขัน้ ตอนการทดลองและบอกวธิ กี ารทดลองตามลำดบั

คนท่ี 2 จัดเตรยี มอปุ กรณร์ ับอปุ กรณ์ สำหรับการทดลอง

คนท่ี 3 ดำเนินการทดลอง

คนท่ี 4 ดำเนินการทดลอง

11

คนท่ี 5 บันทกึ ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ประกอบการทดลอง ผลการทดลอง อภิปราย สรุปผลการทดลอง
2.2 นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอผลการทดลองหนา้ ชน้ั เรยี น (โดยบันทึกข้อมูลในแบบ

บันทึกผลการทดลองรายกลมุ่ เพ่ือเปรยี บเทยี บให้ทุกกลุ่มเห็น)
2.3 นักเรียนใหน้ ักเรียนแต่ละกลุ่มวเิ คราะห์อภปิ รายผลการทดลอง ตามแนวคำถามทคี่ รูตัง้ ให้ต่อไปน้ี

- จากผลการทดลองและขอ้ มลู เพิ่มเติม สมบัติของเฮกเซน เฮกซนี และเบนซีนเหมอื นกนั หรือ
แตกตา่ งกนั หรือไม่ เพราะเหตุใด

2.4 ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายถึง (โดยใชส้ ื่อ power point เรอ่ื ง สมบัติบางประการของสารประ

กอบไฮโดรคารบ์ อน เพ่อื ให้ได้ข้อสรุป

ช่ัวโมงท่ี 7-9

3. ขั้นสรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

3.1 ครูและนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายถงึ (โดยใชส้ ื่อ power point) การเรียกชอ่ื และการเกิดปฎกิ ิริยาเคมี

สารประกอบไฮโดรคาร์บอนประเภทต่างๆ เพ่อื ให้ไดข้ อ้ สรุป

3.2 นักเรยี นระดมสมองฝึกทำกจิ กรรมรว่ มกันคดิ 2

3.3 นักเรียนและครูร่วมกันเฉลยกจิ กรรมรว่ มกนั คดิ 2

ช่วั โมงท่ี 10-11

4. ขั้นการส่ือสารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นกั เรยี นแต่ละกลุ่มทำกจิ กรรม ปฏบิ ัติการ ฝกึ ทำ : ฝึกสร้าง (สบื คน้ ขอ้ มูล ของมเี ทน)

4.2 นักเรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกันทำกิจกรรม ปฏิบตั ิการ คดิ ดี ผลงานดี มีความสุข(ศึกษาคน้ คว้า เรอื่ ง

กา๊ ซเรอื นกระจก ทเ่ี ชอ่ื วา่ เป็นสาเหตุ ของโลกร้อน พร้อมระบแุ หล่งที่มาแล้วบันทึกขอ้ มูล)

4.3 นำเสนอหน้าชน้ั เรียน

ชว่ั โมงท่ี 12

5. ขนั้ การบรกิ ารสงั คมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มเขียนโครงการลดโลกร้อนในโรงเรียนของ นกั เรยี นพร้อมระบุรายละเอยี ดตาม

รายละเอียดในชดุ กิจกรรม

5.2 นำเสนอหนา้ ชั้นเรยี น

13. ส่ือการเรยี นรู้/แหล่งเรยี นรู้

13.1สื่อการเรยี นรู้

- ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนโิ สมนสิการ หนว่ ยเคมอี นิ ทรยี ์ เล่มท่ี 2 เรอื่ งฉนั คอื

สารประกอบไฮโดรคาร์บอน

- สื่อ power point

13.2 แหล่งเรียนรู้

1) อนิ เตอร์เนต็

2) หอ้ งสมุด

14. บนั ทึกหลังการจดั การเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- การเขยี นสตู รท่วั ไป สตู รโมเลกุลและสตู ร ......................................................................................

12

โครงสรา้ ง ......................................................................................

- การเรียกชื่อสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนแต่ ......................................................................................
......................................................................................
ละประเภท ...............................................................................................
- สมบัติของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการคิด ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

3. ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นยิ ม ......................................................................................

อันพงึ ประสงค์ : ......................................................................................

- มีวินยั ......................................................................................

- ใฝเ่ รยี นรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ......................................................................................

- รกั ความเป็นไทย ...............................................................................................

4. ปญั หาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................

5. วธิ ีแกป้ ญั หา

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................

ลงชือ่ ........................................ครูผสู้ อน ลงชื่อ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
( นางสาวอโนชา อุทมุ สกลุ รตั น์ ) (นางกณิการ์ พัฒรากุล)

ลงช่ือ........................................... ลงช่ือ...........................................
( นางกณิการ์ พฒั รากุล ) ( นางรพีพร คำบุญมา )

หัวหน้างานนเิ ทศ รองผู้อำนวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ

ลงชอ่ื ........................................................

( นายจงจัด จันทบ )
ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม

13

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่….1.....เรื่อง.....สารประกอบอนิ ทรยี ท์ ี่มธี าตอุ อกซเิ จนเป็นองค์ประกอบ ตอนท่ี 1......
รายวชิ า……..............เคมี…5........ ............รหสั วิชา…..............ว 30225......................ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่....6.....
กล่มุ สาระการเรียนรู้..วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปีการศึกษา… 2564...ภาคเรยี นท.่ี .1...เวลา...6..ชั่วโมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกุลรัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้ (รายวชิ าพนื้ ฐานมีทั้งมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชวี้ ดั
รายวิชาเพิ่มเตมิ มีเฉพาะมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละผลการเรยี นร้)ู

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
สาระเคมี 1 : เขา้ ใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรยี งธาตุในตารางธาตุ สมบตั ิของธาตุ พันธะเคมีและ

สมบตั ขิ องสาร แก๊สและสมบตั ขิ องแกส๊ ประเภทและสมบตั ขิ อง สารประกอบอินทรยี ์และพอลเิ มอร์ รวมทั้ง
การนำความร้ไู ปใช้ประโยชน์

1.2 ผลการเรียนรู้
6. วิเคราะห์ และเปรยี บเทยี บจุดเดือดและการละลายในนำ้ ของสารประกอบอินทรยี ท์ ม่ี หี มูฟ่ งั กช์ นั

ขนาดโมเลกุล หรือโครงสร้างต่างกัน
2. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวช้ีวัดที่ใช้ในหนว่ ยการเรยี นรนู้ ้เี ขยี นเป็นแบบความเรียง)

สารประกอบอินทรีย์ท่ีมีคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน เป็นองค์ประกอบ มีหลายชนิด เช่น
แอลกอฮอล์ ฟนี อล อีเทอร์ แอลดีไฮด์ คีโตน กรดคารบ์ อกซิลกิ และเอสเทอร์

แอลกอฮอล์ที่รู้จักและคุ้นเคยกันอย่างดี ได้แก่ เมทานอล (CH3OH) และเอทานอล (C2H5OH)
สารประกอบอินทรยี พ์ วกหนึ่ง ลักษณะเปน็ ของเหลวใส กลนิ่ ฉนุ ระเหยง่าย จุดไฟติด เตรียมได้ด้วยวิธีการหมัก
สารประเภทน้ำตาล หรือแป้งผสมยีสต์ เม่ือดื่มจะทำให้เกิดอาการมึนเมา ใช้ประโยชน์ทางอุตสาหกรรม และ
การแพทย์

ฟีนอล เป็นสารประกอบอะโรมาติคท่ีผลิตได้จากสารประกอบอะโรมาตคิ ชนิดอื่นๆ เช่น เบนซนี โทลู
อีน เป็นสารที่ถูกนำมาใช้เป็นสารต้ังต้นในการผลิตผลิตภัณฑ์เคมีหลายชนิด อาทิ สีย้อม สารเคมีกำจัดวัชพืช
และศัตรพู ืช ยาในทางการแพทย์

อเี ทอร์ เป็นสารประกอบอินทรียท์ ี่มีสูตรท่วั ไปเป็น ROR’ มีสูตรโมเลกุลเหมือนแอลกอฮอล์และฟีนอล
จงึ เปน็ ไอโซเมอร์โครงสร้างกับแอลกอฮอล์และฟนี อล ประโยชน์ ใช้เป็นตัวทำละลายสารอนิ ทรีย์

แอลดีไฮด์ (Aldehyde) เป็น สารประกอบอินทรีย์ที่หมู่ฟังก์ชัน เป็นหมู่คาร์บอกซาลดีไฮด์
(Carboxaldehyde : หรือ –CHO) ใชเ้ ป็นสารปรุงแต่งรสและกลนิ่ ของอาหาร ใชด้ องสัตวเ์ พอื่ ไมใ่ ห้เน่าเปื่อย

คีโตน (ketone) เป็นสารอินทรีย์ที่มีหมฟู่ งั กช์ นั เรียกว่า หมู่คารบ์ อนลิ (Carbony : หรือ –CO –) แอซโิ ตน
ท่ีเตรียมในอุตสาหกรรมได้จากการออกซิไดส์ไอโซโพรพิลแอลกอฮอล์เป็นตัวทำละลายท่ีมีประโยชน์ ใช้ทำ
พลาสติกลูไซด์ ทำสีย้อมผ้า และช่วยทำให้เครื่องแก้วแห้งเร็วเน่ืองจากระเหยง่าย ไอของแอซิโตนเป็นโทษแก่
รา่ งกาย ทำให้เกดิ อาการมนึ งง และหมดสตไิ ด้
3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง/สาระการเรียนร้เู พิ่มเติม (รายวิชาเพิ่มเตมิ )
-

14

3.2 สาระการเรียนรทู้ ้องถิ่น (ถ้าในคำอธบิ ายรายวชิ าพดู ถึงหลักสูตรทอ้ งถ่ินให้ใส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. ระบุประเภทของสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนจากปฏิกริ ยิ าการเผาไหม้ ปฏิกิรยิ ากบั โบรมนี หรือ

ปฏิกริ ิยากบั โพแทสเซียมเปอรแ์ มงกาเนต และเขียนสมการเคมแี สดงปฏกิ ิรยิ าท่เี กดิ ข้ึนได้

2. ทดลองหาการละลายได้ในน้ำของแอลกอฮอล์บางชนดิ และอธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหว่างจำนวนอะตอม

ของคาร์บอนกับการละลายได้ในนำ้ ของแอลกอฮอล์ได้

2. เขียนสมการเคมีและอธิบาย ปฏิกิริยาการสังเคราะห์แอลดไี ฮด์ ได้

3. เปรยี บเทียบจดุ เดือดของสารประกอบอินทรีย์ทีม่ ธี าตอุ อกซิเจนเป็นองคป์ ระกอบกบั จดุ เดอื ดของ

สารประกอบไฮโดรคาร์บอนได้

4. มจี ิตวิทยาศาสตรด์ า้ นความซอ่ื สัตย์ จากการทำการทดลอง

5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น (เลือกเฉพาะขอ้ ท่เี กิดในหน่วยการเรียนรนู้ ้)ี

 1. ความสามารถในการส่ือสาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (เลอื กเฉพาะข้อท่เี กิดในหน่วยการเรยี นรนู้ ี)้

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซื่อสัตยส์ ุจริต
 3. มีวนิ ัย  4. ใฝเ่ รียนรู้
 5. อยอู่ ย่างพอเพียง  6. มุ่งมน่ั ในการทำงาน
 7. รกั ความเปน็ ไทย  8. มีจิตสาธารณะ
7. ดา้ นคณุ ลักษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวิชาการ  2. ส่อื สารสองภาษา  3. ลำ้ หน้าทางความคดิ

 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  5. ร่วมกันรับผิดชอบตอ่ สงั คมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได)้  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )
 ทักษะดา้ นการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
 ทกั ษะดา้ นความเข้าใจความตา่ งวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะดา้ นความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะด้านการสอ่ื สาร สารสนเทศและรู้เท่าทันส่ือ (Communications, Information, and Media Literacy)
ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร (Computing and ICT

Literacy)

 ทักษะอาชีพ และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)
 ความมีเมตตา (วินยั คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

15

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลมุ่ ใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในหอ้ งเรยี นคอื
ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลักความมเี หตผุ ล : ให้นักเรียนสร้างสรรคผ์ ลงานและเกดิ ทักษะการปฏิบตั ิ
3. หลกั ภูมิคุ้มกัน : ให้นกั เรยี นเกดิ ทักษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก

4. เงอ่ื นไขความรู้ : การวางแผนงานท่จี ะทำกอ่ นแลว้ คอ่ ยลงมอื ทำอยา่ งระมัดระวงั , เขยี นสมการการ
เปลี่ยนแปลงจากการทดลอง

5. เง่อื นไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยนั ท่ีจะทำงานใหอ้ อกมาได้ดที ่สี ดุ , มวี นิ ัยในการ

ทำแบบฝึกหัด

10. ชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการ ชนิ้ งาน ภาระงาน
เรยี นรู้

6 - ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรม - ค้นคว้าสบื คน้ ขอ้ มูลเรอ่ื งโทษของการด่มื สรุ า

ร่วมกันคดิ 1 พร้อมระบแุ หล่งที่มาแล้วบนั ทึกขอ้ มูล

- ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมรว่ มกนั - ค้นคว้าสบื คน้ ขอ้ มูลเรอื่ งผลกระทบของฟี

คดิ 2 นอลตอ่ คนและสัตว์พรอ้ มระบแุ หลง่ ทีม่ าแลว้

- โครงการสำรวจสารฟนี อลในพชื สมนุ ไพร บนั ทกึ ข้อมลู

- ตอบคำถามงานวิจยั เรื่อง การศกึ ษา

สารประกอบฟนี อลกิ และฤทธิ์ตา้ นอนุมูลอิสระ

ของพืชทอ้ งถน่ิ ที่

11. การวัดประเมินผล

11.1การวัดและประเมินผลชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด

วิธกี าร

1.การสังเกตการณ์

2.การใช้ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ร่องรอยบ่งชี้ 3.การวดั ประเมินการปฏิบัติ

เคร่ืองมอื

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมินการปฏิบัติ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรม ผ่านต้งั แต่ 2 รายการ ถอื วา่ ผ่าน ผ่าน 1

รายการถือวา่ ไมผ่ า่ น

11.2การวัดและประเมินผลระหวา่ งการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรียนรขู้ อง

หนว่ ยการเรียนรนู้ ี้)

ส่งิ ทีต่ อ้ งการวดั วิธวี ัดผล เคร่ืองมอื วดั ผล เกณฑก์ ารประเมิน

1. ความรู้เก่ียวกับ -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมินการ - นกั เรียนไดค้ ะแนน

- การเขยี นสตู รทว่ั ไป สูตร ความคดิ เห็น อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขน้ึ ไป

โมเลกุลและสตู ร โครงสรา้ ง -การตอบคำถาม คดิ เหน็ หรือร้อยละ 80

16

ของ แอลกอฮอล์ ฟนี อล อีเทอร์ -การตรวจผลงาน ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

แอลดไี ฮด์ คโี ตน นักเรยี น - แบบประเมินการ - นักเรียนได้คะแนน

- การเรียกชอื่ ของ แอลกอฮอล์ ตรวจผลงานนกั เรยี น ประเมินผลงาน

ฟนี อล อเี ทอร์ แอลดีไฮด์ คีโตน 13 คะแนนข้นึ ไป

- สมบัตขิ อง แอลกอฮอล์ ฟี หรอื ร้อยละ 80

นอล อเี ทอร์ แอลดไี ฮด์ คโี ตน ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

2.ทกั ษะกระบวนการคดิ และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ -นกั เรียนได้คะแนน

ทักษะกระบวนการกล่มุ ความคิดเห็น อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขนึ้ ไป

คดิ เหน็ หรือรอ้ ยละ 80 ถอื วา่

- สังเกตพฤตกิ รรมการ - แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์

ทำงานกลุ่ม พฤติกรรมการ

ทำงานกลุ่ม

3. คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ - สังเกตนกั เรียนจาก - แบบประเมิน - นกั เรยี นได้คะแนน

และสมรรถนะผเู้ รียน การเขา้ ชั้นเรียน คุณลักษณะอันพึง ประเมนิ คุณลกั ษณะ

- วนิ ัยในการเรียน อภิปราย แสดงความ ประสงค์ อันพึงประสงค์

- ใฝเ่ รียนรู้ มุง่ มน่ั ในการ คิดเหน็ และพฤติกรรม - แบบประเมนิ 26 คะแนนข้นึ ไป

ทำงาน ระหวา่ งเรียน สมรรถนะผู้เรียน หรอื ร้อยละ 80

- แบบทดสอบความรู้ ถือว่าผ่านเกณฑ์

ความคิดทาง - นกั เรียนได้คะแนน

วทิ ยาศาสตร์ การประเมนิ สมรรถนะ

29 คะแนนขนึ้ ไป

หรอื รอ้ ยละ 80

ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรียนรู้

ช่ัวโมงท่ี 1 -2

1. ข้ันตง้ั ประเด็นปญั หา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครใู หน้ ักเรยี นดูสตู รโครงสร้างของ แอลกอฮอล์ ฟีนอล อีเทอร์ แอลดไี ฮด์ และคีโตน วา่ มสี ว่ นใดบา้ งที่

เหมอื นกนั และต่างกัน (มีองคซ์ เิ จนเปน็ องคป์ ระกอบเหมอื นกัน ต่างกนั ท่ีหมู่อ่นื ๆท่เี ป็นองคป์ ระกอบ)

1.2 ครสู รุปว่าสารท้ัง 3 ชนดิ มกี ลมุ่ อะตอมที่แสดงสมบตั เิ ฉพาะท่ีเรียกวา่ หมู่ฟังกช์ นั ที่ประกอบดว้ ย

ออกซเิ จนเหมอื นกัน ซ่ึงเราจะศึกษาถึงสมบัติ การเรียกชื่อ และประโยชนข์ องแอลกอฮอล์ ฟนี อลและ

เอสเทอร์ แอลดไี ฮด์ และคีโตน ตามลำดับ

2. ขัน้ สบื ค้นความรู้ (Searching for Information)

2.1 ใหน้ ักเรียนแบง่ ออกเป็นกลมุ่ ๆ ละ 4- 5 คน แต่ละกลมุ่ มีนักเรยี นเกง่ ปานกลาง อ่อน คละกนั

(เตรียมไว้ในคาบปฐมนิเทศ) ศกึ ษาตามรายละเอยี ดในชุดกิจกรรม สืบค้นขอ้ มูลเรอ่ื งโทษของการดมื่ สรุ า

2.2 นักเรียนแต่ละกล่มุ ส่งตัวแทนออกมานำเสนอผลการสืบคน้ หน้าชนั้ เรียน

2.3 ครูและนักเรยี นร่วมกันอภิปรายถึง (โดยใชส้ ่อื power point) การเรียกชอื่ และสมบัตบิ างประการ

ของแอลกอฮอล์ ฟีนอล อีเทอร์ แอลดีไฮด์ และคโี ตน เพื่อใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ

ชั่วโมงที่ 3-4

17

3. ข้ันสรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

3.1 นกั เรียนระดมสมองฝึกทำกิจกรรมรว่ มกันคดิ 1 ระบวุ ่าสารประกอบอนิ ทรีย์ต่อไปน้ีเป็นแอลกอฮอล์

อีเทอร์ หรือฟนี อล

3.2 นกั เรียนและครูร่วมกันเฉลยกิจกรรมรว่ มกันคิด 1

3.3 นกั เรยี นระดมสมองฝึกทำกจิ กรรมรว่ มกนั คิด 2 บอกไดว้ ่าสารประกอบอินทรยี ์ต่อไปนี้ เป็นแอลดี

ไฮดห์ รอื คีโตน

3.4 นกั เรียนและครรู ว่ มกนั เฉลยกจิ กรรมร่วมกนั คิด 2

ชวั่ โมงที่ 5

4. ขัน้ การสอ่ื สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ทำกจิ กรรม ปฏบิ ตั ิการ ฝึกทำ : ฝึกสร้าง (อ่านงานวจิ ัย จากตัวอย่าง งานวิจัย

เร่ือง การศกึ ษาสารประกอบฟีนอลกิ และฤทธิต์ า้ นอนุมลู อสิ ระของพืชท้องถนิ่ ท่ีคัดเลอื ก แล้วตอบคำถาม)

4.2 นักเรียนแตล่ ะกลุ่มร่วมกันทำกิจกรรม ปฏิบตั ิการ คิดดี ผลงานดี มีความสุข (ใหน้ ักเรยี นแต่ละ

กลุ่มศกึ ษาค้นคว้างานวิจัยเกีย่ วพืชสมนุ ไพรไทยกบั สารฟีนอลพร้อมระบแุ หล่งทมี่ าแลว้ บนั ทกึ ข้อมูล)

4.3 นำเสนอหน้าช้ันเรียน

ชวั่ โมงท่ี 6

5. ขั้นการบริการสงั คมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นกั เรยี นแต่ละกลุ่มเขียนโครงการสำรวจสารฟีนอลในพชื สมนุ ไพร ทน่ี กั เรียนสนใจพร้อมระบุ

รายละเอียดตามรายละเอียดในชุดกิจกรรม

5.2 นำเสนอหนา้ ชัน้ เรียน

13. สอื่ การเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้

12.1สอื่ การเรียนรู้

- ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนโิ สมนสิการ หนว่ ยเคมอี ินทรยี ์ เลม่ ท่ี 3 เรอ่ื งสารประกอบ

อินทรีย์ที่มธี าตุออกซเิ จนเป็นองค์ประกอบ ตอนท่ี 1

- สือ่ power point

12.2 แหล่งเรียนรู้

1) อนิ เตอร์เน็ต

2) หอ้ งสมดุ

14. บันทกึ หลงั การจดั การเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ด้านความรู้ : ...............................................................................................

- การเขยี นสตู รทั่วไป สูตรโมเลกลุ และสูตร ...............................................................................................

โครงสร้าง ของ แอลกอฮอล์ ฟนี อล อีเทอร์ ...............................................................................................

แอลดไี ฮด์ คโี ตน ...............................................................................................

- การเรยี กชื่อของ แอลกอฮอล์ ฟีนอล ...............................................................................................

อีเทอร์ แอลดไี ฮด์ คโี ตน ...............................................................................................

- สมบัตขิ อง แอลกอฮอล์ ฟนี อล อีเทอร์ แอล ...............................................................................................

ดไี ฮด์ คโี ตน

18

2. ดา้ นกระบวนการ : ...............................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการคิด ...............................................................................................

- ทักษะกระบวนการกลมุ่ ...............................................................................................

3. ดา้ นคุณธรรมจริยธรรมและค่านยิ ม ...............................................................................................

อันพึงประสงค์ : ...............................................................................................

- มวี ินัย ...............................................................................................

- ใฝเ่ รียนรู้ ...............................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................................

- รักความเป็นไทย ...............................................................................................

4. ปัญหาการสอน

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

...............................................................................................

...............................................................................................

...............................................................................................

...............................................................................................

...............................................................................................

...............................................................................................

5. วธิ แี กป้ ัญหา

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

...............................................................................................

ลงชอื่ ........................................ครูผสู้ อน ลงชอ่ื ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
( นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรตั น์ ) (นางกณิการ์ พฒั รากลุ )

ลงช่อื ........................................... ลงชื่อ...........................................
( นางกณกิ าร์ พัฒรากุล ) ( นางรพีพร คำบญุ มา )

หัวหน้างานนิเทศ รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ

ลงช่ือ ........................................................
( นายจงจดั จนั ทบ )

ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม

19

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่….1.....เรอ่ื ง.....สารประกอบอินทรีย์ท่ีมธี าตุออกซเิ จนเปน็ องคป์ ระกอบ ตอนที่ 2......
รายวชิ า……..............เคมี…5........ ............รหัสวิชา…..............ว 30225......................ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่....6.....
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้..วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปีการศกึ ษา… 2564...ภาคเรียนท.ี่ .1...เวลา...4..ชั่วโมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพ้นื ฐานมที ้งั มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ช้วี ัด
รายวิชาเพิม่ เตมิ มเี ฉพาะมาตรฐานการเรยี นร้แู ละผลการเรียนร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
สาระเคมี 1 : เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจดั เรียงธาตุในตารางธาตุ สมบตั ิของธาตุ พันธะ

เคมแี ละสมบตั ขิ องสาร แกส๊ และสมบัตขิ องแก๊ส ประเภทและสมบตั ิของ สารประกอบอนิ ทรยี แ์ ละพอลเิ มอร์
รวมท้ังการนำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์

1.2 ผลการเรียนรู้

6. วิเคราะห์ และเปรียบเทียบจดุ เดือดและการละลายในน้ำของสารประกอบอนิ ทรยี ์ทีม่ หี มฟู่ ังก์ชัน
ขนาดโมเลกลุ หรือโครงสร้างตา่ งกนั

2. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวช้วี ัดท่ีใช้ในหน่วยการเรยี นรูน้ ้ีเขยี นเป็นแบบความเรยี ง)

สารประกอบอินทรีย์ท่ีมีคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน เป็นองค์ประกอบ มีหลายชนิด เช่น
แอลกอฮอล์ ฟีนอล อเี ทอร์ แอลดีไฮด์ คีโตน กรดคาร์บอกซิลิก และเอสเทอร์

กรดคารบ์ อกซาลกิ ทำปฏกิ ิรยิ ากับแอลกอฮอลไ์ ด้เอสเทอร์กับน้ำ เรยี กว่าปฏิกริ ิยาเอสเทอรฟิ ิเคชัน เอส
เทอร์ไม่มีพันธะไฮโดรเจนจุดเดือดจึงต่ำกว่ากรดคาร์บอกซาลิก เมื่อโมเลกุลของเอสเทอร์ใหญ่ข้ึนจุดเดือดจะ

เพ่ิมขึ้นแต่ความสามารถในการละลายจะลดลงเมื่อเอสเทอร์ทำปฏิกิริยากับน้ำย้อนกลับไปเป็นกรดอะติกกับ

แอลกอฮอล์เรยี กว่าปฏิกริ ยิ าไฮโดรลิซสิ
3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรยี นร้แู กนกลาง/สาระการเรยี นรเู้ พม่ิ เติม (รายวิชาเพิม่ เตมิ )
-

3.2 สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถิ่น (ถา้ ในคำอธิบายรายวชิ าพดู ถงึ หลักสูตรทอ้ งถ่ินใหใ้ ส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................
4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. อธิบายและทดสอบปฏกิ ิริยาเอสเทอริฟเิ คชนั ปฏกิ ริ ิยาไฮโดรลิซิส และปฏกิ ริ ยิ าสะปอนนิฟเิ คชนั ได้

2. ระบุ ลงความเห็นจากข้อมูล และการจำแนกประเภท จากการทดลองได้
3. ใหค้ วามร่วมมอื มกี ารทำงานเป็นทีมและภาวะผนู้ ำ

4. สบื ค้นขอ้ มูลและนำเสนอตัวอยา่ งการนำสารประกอบอินทรีย์ไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจำวันและ
อตุ สาหกรรม
5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน (เลือกเฉพาะขอ้ ที่เกิดในหน่วยการเรยี นรู้น)้ี

 1. ความสามารถในการสือ่ สาร  2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
20

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (เลอื กเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรนู้ )ี้

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  2. ซ่อื สตั ย์สจุ รติ
 3. มวี ินยั  4. ใฝเ่ รียนรู้
 5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง  6. มุง่ ม่นั ในการทำงาน
 7. รกั ความเปน็ ไทย  8. มีจติ สาธารณะ
7. ดา้ นคณุ ลกั ษณะของผเู้ รียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวิชาการ  2. สอื่ สารสองภาษา  3. ล้ำหนา้ ทางความคดิ

 4. ผลิตงานอยา่ งสรา้ งสรรค์  5. รว่ มกันรับผิดชอบตอ่ สงั คมโลก
8. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได)้  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )
 ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem
Solving)
 ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
 ทกั ษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะด้านความร่วมมอื การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะดา้ นการสื่อสาร สารสนเทศและร้เู ทา่ ทันสอื่ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทักษะอาชีพ และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)
 ความมเี มตตา (วินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

9. บรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลมุ่ ให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรยี นคือ

ประมาณกล่มุ ละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมเี หตผุ ล : ให้นักเรยี นสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบัติ
3. หลักภมู ิคมุ้ กัน : ใหน้ ักเรยี นเกิดทักษะการทำงานกล่มุ และกล้าแสดงออก

4. เง่อื นไขความรู้ : การวางแผนงานท่จี ะทำกอ่ นแล้วคอ่ ยลงมือทำอยา่ งระมัดระวงั , เขียนสมการการ

เปลีย่ นแปลงจากการทดลอง
5. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมคี วามขยันทจ่ี ะทำงานให้ออกมาได้ดที ่ีสุด , มีวนิ ยั ในการ

ทำแบบฝึกหัด
10. ช้นิ งาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการ ช้ินงาน ภาระงาน
เรยี นรู้

6 - รายงานการทดลอง เรือ่ ง ปฏกิ ิริยา - ค้นคว้าสืบค้นข้อมลู เรื่องทางดา้ นวทิ ยา

ระหว่างกรดคาร์ บอกซิลิกกบั แอลกอฮอล์ ศาสตร์ และการประยกุ ต์ใช้ความรทู้ างเคมี ให้

- รายงานการทดลอง เร่อื ง ปฏิกริ ิยาของ เกิดประโยชน์ในชวี ิตประจำวนั (น้าํ หอม ทำ

เอสเทอร์ จากอะไร ?) พร้อมระบแุ หลง่ ทีม่ าแลว้ บันทึก

- ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรม ขอ้ มูล

21

รว่ มกันคิด 1 - ค้นคว้าสืบค้นขอ้ มูลเรอ่ื งกระบวนการหมกั

- ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมร่วมกนั กับกรดอินทรีย์

คิด 2

11. การวัดประเมนิ ผล

11.1การวัดและประเมินผลชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ ีการ

1.การสงั เกตการณ์

2.การใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตรร์ ่องรอยบ่งช้ี 3.การวดั ประเมินการปฏบิ ัติ

เคร่อื งมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมนิ การปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผ่านตง้ั แต่ 2 รายการ ถอื ว่า ผา่ น ผ่าน 1

รายการถือวา่ ไม่ผา่ น

11.2การวัดและประเมนิ ผลระหวา่ งการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจดั การเรยี นรู้ของ

หน่วยการเรยี นรนู้ )้ี

สิง่ ที่ต้องการวัด วธิ ีวดั ผล เครื่องมอื วัดผล เกณฑ์การประเมนิ
- นักเรยี นไดค้ ะแนน
1. ความรเู้ ก่ียวกับ -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมนิ การ 12 คะแนนขนึ้ ไป
หรือร้อยละ 80
- การเขียนสูตรทัว่ ไป สูตร ความคดิ เห็น อภิปรายแสดงความ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์
- นักเรียนไดค้ ะแนน
โมเลกุลและสูตร โครงสรา้ ง -การตอบคำถาม คิดเหน็ ประเมนิ ผลงาน
13 คะแนนขึน้ ไป
ของ กรดคาร์บอกซิลกิ และเอส -การตรวจผลงาน หรอื รอ้ ยละ 80
ถือวา่ ผ่านเกณฑ์
เทอร์ นกั เรียน - แบบประเมนิ การ -นักเรยี นได้คะแนน
12 คะแนนขน้ึ ไป
- การเรียกชอ่ื ของ กรดคาร์บอก ตรวจผลงานนกั เรียน หรือร้อยละ 80 ถอื ว่า
ผา่ นเกณฑ์
ซิลกิ และเอสเทอร์
- นกั เรยี นไดค้ ะแนน
- สมบัตขิ อง กรดคาร์บอกซิลิก ประเมนิ คณุ ลักษณะ

และเอสเทอร์ 22

2.ทกั ษะกระบวนการคดิ และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมินการ

ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ความคดิ เหน็ อภปิ รายแสดงความ

คดิ เห็น

- สังเกตพฤตกิ รรมการ - แบบประเมนิ

ทำงานกลมุ่ พฤตกิ รรมการ

ทำงานกลุม่

3. คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ - สงั เกตนกั เรียนจาก - แบบประเมนิ

และสมรรถนะผู้เรยี น การเข้าช้ันเรยี น คุณลักษณะอันพึง

- วนิ ัยในการเรียน อภิปราย แสดงความ ประสงค์ อันพงึ ประสงค์
- ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ ม่ันในการ 26 คะแนนขน้ึ ไป
ทำงาน คดิ เห็นและพฤติกรรม - แบบประเมิน หรอื รอ้ ยละ 80

ระหวา่ งเรยี น สมรรถนะผู้เรียน

- แบบทดสอบความรู้ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

ความคิดทาง - นกั เรียนได้คะแนน

วทิ ยาศาสตร์ การประเมินสมรรถนะ
29 คะแนนขึ้นไป
หรอื รอ้ ยละ 80

ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรียนรู้
ช่วั โมงที่ 1-2
1. ขัน้ ตง้ั ประเด็นปญั หา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครูใหน้ ักเรยี นดสู ตู รโครงสรา้ งของ กรดคาร์บอกซิลิก และเอสเทอร์ วา่ มีสว่ นใดบ้างท่ีเหมอื นกนั
และตา่ งกนั (มีองคซ์ ิเจนเปน็ องค์ประกอบเหมือนกนั ต่างกนั ท่ีหม่อู ืน่ ๆที่เป็นองคป์ ระกอบ)

1.2 ครสู รุปวา่ สารทั้ง 2 ชนิดมกี ลุ่มอะตอมท่ีแสดงสมบัติเฉพาะท่ีเรยี กว่า หมฟู่ งั กช์ นั ท่ีประกอบด้วย
ออกซิเจนเหมือนกนั ซ่งึ เราจะศกึ ษาถึงสมบตั ิ การเรยี กช่ือ และประโยชนข์ องกรดคาร์บอกซลิ กิ และเอสเทอร์
ตามลำดับ

2. ข้นั สบื คน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 ให้นกั เรยี นแบง่ ออกเป็นกลมุ่ ๆ ละ 4- 5 คน แต่ละกลุ่มมนี ักเรยี นเกง่ ปานกลาง อ่อน คละกนั

(เตรยี มไวใ้ นคบปฐมนิเทศ) ศกึ ษาตามรายละเอยี ดในชดุ กจิ กรรม การทดลอง เรอ่ื ง ปฏกิ ิรยิ าระหว่างกรดคาร์
บอกซลิ กิ กบั แอลกอฮอล์ พร้อมทัง้ ให้สมาชกิ กำหนดหนา้ ทกี่ ันเองในกลุม่ เช่น

คนที่ 1 อา่ นข้นั ตอนการทดลองและบอกวิธกี ารทดลองตามลำดบั

คนที่ 2 จัดเตรียมอปุ กรณ์รบั อปุ กรณ์ สำหรบั การทดลอง
คนที่ 3 ดำเนนิ การทดลอง

คนที่ 4 ดำเนินการทดลอง
คนท่ี 5 บนั ทึกข้อมูลต่าง ๆ ประกอบการทดลอง ผลการทดลอง อภิปราย สรปุ ผลการทดลอง
2.2 นักเรยี นแต่ละกล่มุ สง่ ตัวแทนออกมานำเสนอผลการทดลองหนา้ ชั้นเรยี น (โดยบนั ทึกขอ้ มูลในแบบ

บันทกึ ผลการทดลองรายกลุ่ม เพื่อเปรียบเทยี บให้ทุกกลมุ่ เห็น)
2.3 ครแู ละนักเรียนร่วมกนั อภปิ รายถึง (โดยใชส้ ือ่ power point) การเรียกชือ่ และสมบัตบิ างประการ

ของแอลกอฮอล์ ฟีนอล อเี ทอร์ แอลดีไฮด์ และคีโตน เพอื่ ใหไ้ ด้ข้อสรุป
2.4 ใหน้ กั เรียนแบ่งออกเปน็ กล่มุ ๆ ละ 4- 5 คน แต่ละกลุ่มมีนักเรียนเก่ง ปานกลาง ออ่ น คละกนั

(เตรียมไว้ในคบปฐมนเิ ทศ) ศึกษาตามรายละเอยี ดในชุดกิจกรรม การทดลอง เร่ือง ปฏกิ ริ ยิ าของเอสเทอร์

พร้อมทั้งให้สมาชกิ กำหนดหน้าทก่ี ันเองในกลมุ่ เช่น
คนท่ี 1 อา่ นขน้ั ตอนการทดลองและบอกวธิ ีการทดลองตามลำดับ

คนท่ี 2 จัดเตรยี มอปุ กรณ์รับอปุ กรณ์ สำหรับการทดลอง
คนที่ 3 ดำเนนิ การทดลอง
คนท่ี 4 ดำเนินการทดลอง

คนท่ี 5 บันทกึ ขอ้ มูลต่าง ๆ ประกอบการทดลอง ผลการทดลอง อภิปราย สรปุ ผลการทดลอง

23

2.5 ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปความรู้เก่ยี วกับ การเขยี นสูตรท่วั ไป สตู รโมเลกุลและสูตร โครงสรา้ ง ของ
การเรียกชอ่ื และสมบตั ิของ กรดคาร์บอกซิลกิ และเอสเทอร์

ชว่ั โมงที่ 3

3. ขัน้ สรปุ องค์ความรู้ (Knowledge Formation)
3.1 นักเรียนระดมสมองฝกึ ทำกิจกรรมรว่ มกนั คดิ 1 และ 2
3.2 นกั เรียนและครูร่วมกนั เฉลยกิจกรรมร่วมกนั คดิ 1 และ 2

ชัว่ โมงท่ี 4

4. ข้นั การส่ือสารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นกั เรยี นแต่ละกลุ่มทำกจิ กรรม ปฏิบตั ิการ ฝกึ ทำ : ฝกึ สร้าง (สืบค้นขอ้ มูล ทางด้านวทิ ยาศาสตร์

และการประยกุ ต์ใชค้ วามรทู้ างเคมี ให้เกดิ ประโยชนใ์ นชีวิตประจำวนั : นาํ้ หอม ทำจากอะไร พร้อมระบุ

แหล่งทมี่ าแลว้ บนั ทกึ ขอ้ มลู )

4.2 นักเรียนแต่ละกล่มุ ร่วมกันทำกิจกรรม ปฏบิ ัติการ คิดดี ผลงานดี มีความสุข (ใหน้ กั เรียนแต่ละ

กลุ่มศกึ ษาคน้ คว้ากระบวนการหมักกบั กรดอินทรยี ์พรอ้ มระบุแหล่งท่มี าแลว้ บันทึกข้อมลู )

4.3 นำเสนอหน้าช้ันเรียน

5. ขน้ั การบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ เขียนความหมายของการหมัก นำ้ หมักชีวภาพ ท่ไี ด้ค้นคว้าพร้อมระบุรายละเอยี ด

ตามรายละเอยี ดในชุดกิจกรรม

5.2 นำเสนอหนา้ ชั้นเรยี น

13. สอ่ื การเรยี นรู้/แหล่งเรียนรู้

13.1สื่อการเรยี นรู้

- ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนิโสมนสิการ หน่วยเคมีอนิ ทรีย์ เล่มท่ี 4 เร่ืองสารประกอบ

อนิ ทรียท์ ่ีมีธาตุออกซิเจนเปน็ องคป์ ระกอบ ตอนท่ี 2

- สอ่ื power point

13.2แหล่งเรยี นรู้

1) อินเตอร์เนต็

2) หอ้ งสมุด

14. บันทกึ หลังการจดั การเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ด้านความรู้ : ...............................................................................................

- การเขยี นสูตรทวั่ ไป สูตรโมเลกุลและสูตร ...............................................................................................

โครงสร้าง ของ กรดคาร์บอกซลิ กิ และเอส ...............................................................................................

เทอร์ ...............................................................................................

- การเรียกช่อื ของ กรดคารบ์ อกซลิ ิก และเอส ...............................................................................................

เทอร์ ...............................................................................................

- สมบัตขิ อง กรดคาร์บอกซลิ กิ และเอสเทอร์ ...............................................................................................

2. ดา้ นกระบวนการ :

24

- ทกั ษะกระบวนการคดิ

- ทักษะกระบวนการกล่มุ

3. ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ ม ...............................................................................................

อนั พงึ ประสงค์ : ...............................................................................................

- มวี นิ ยั ...............................................................................................

- ใฝเ่ รยี นรู้ ...............................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................................

- รกั ความเปน็ ไทย ...............................................................................................

4. ปญั หาการสอน ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

...............................................................................................

...............................................................................................

5. วิธแี กป้ ญั หา

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

...............................................................................................

ลงช่ือ........................................ครูผสู้ อน ลงช่อื ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
( นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ ) (นางกณกิ าร์ พฒั รากุล)

ลงชื่อ........................................... ลงชอื่ ...........................................
( นางกณกิ าร์ พฒั รากุล ) ( นางรพีพร คำบุญมา )
หวั หน้างานนเิ ทศ
รองผูอ้ ำนวยการกลมุ่ บริหารวชิ าการ

ลงชอ่ื ........................................................
( นายจงจัด จนั ทบ )

ผู้อำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม

25

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 5
หน่วยการเรียนรทู้ ี่.1..เรอ่ื ง...เคมีอนิ ทรีย์เรือ่ ง สารประกอบอินทรียท์ มี่ ธี าตุไนโตรเจนเป็นองคป์ ระกอบ......
รายวชิ า……..............เคมี…5........ ............รหสั วิชา…..............ว 30226......................ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่....6.....
กล่มุ สาระการเรียนรู้..วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปกี ารศึกษา… 2564...ภาคเรยี นที.่ .1...เวลา...4..ชั่วโมง……
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกลุ รัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู้ (รายวชิ าพน้ื ฐานมที ้งั มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชีว้ ดั
รายวชิ าเพิม่ เติมมเี ฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
สาระเคมี 1 : เขา้ ใจโครงสร้างอะตอม การจดั เรียงธาตุในตารางธาตุ สมบตั ิของธาตุ พันธะเคมีและ

สมบตั ขิ องสาร แก๊สและสมบัติของแกส๊ ประเภทและสมบัติของ สารประกอบอินทรีย์และพอลเิ มอร์ รวมทั้ง
การนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

1.2 ผลการเรยี นรู้
6. วเิ คราะห์ และเปรยี บเทียบจุดเดอื ดและการละลายในนำ้ ของสารประกอบอนิ ทรียท์ มี่ ีหมฟู่ ังก์ชัน

ขนาดโมเลกลุ หรือโครงสร้างต่างกัน
8 เขียนสมการเคมแี ละอธิบายการเกิดปฏกิ ิรยิ าเอสเทอรฟิ เิ คชนั ปฏกิ ิรยิ าการสงั เคราะหเ์ อไมด์

ปฏิกิริยาไฮโดรลิซสิ และปฏกิ ิรยิ าสะปอนนฟิ เิ คชนั

2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตวั ชีว้ ัดท่ีใช้ในหน่วยการเรยี นร้นู เ้ี ขยี นเป็นแบบความเรียง)
เอมนี เปน็ สารประกอบอินทรีย์ทมี่ ีไนโตรเจนเปน็ องค์ประกอบ ซง่ึ เกิดจากหมูแ่ อรลิ เขา้ แทนทีไ่ ฮโดรเจน

ในโมเลกุลของแอมโมเนีย การเรียกชือ่ เอมีนขน้ึ ต้นด้วยจำนวนคารบ์ อนอะตอมลงท้ายด้วย –านามีน จุดเดือด
ตำ่ กว่าแอลกอฮอลแ์ ต่สูงกว่าแอลเคน เพราะเป็นโมเลกลุ ไม่มีขั้ว
และสามารถละลายน้ำไดแ้ ล้วได้สมบัติเป็นเบส เม่ือทำปฏิกริ ิยากับกรดอนินทรีย์ได้เกลอื เอมีน ตัวอย่างของเอ
มีนได้แก่ มอร์ฟีนในฝ่ิน ใช้เป็นยาแก้ปวด โคดิอีนจากฝิ่นใช้เป็นยาแก้ไอ นิโคตินในใบยาสูบใช้ทำบุหร่ี แอมเฟ
ตามนี ใช้ผลติ ยาบา้

เอไมด์เป็นสารประกอบอินทรีย์ท่ีมีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ ซง่ึ เกิดจากหมอู่ ะมโิ นเข้าแทนทห่ี มู่ไฮ
ดรอกซิล การเรียกชื่อเอมีนข้ึนต้นด้วยจำนวนคาร์บอนอะตอมลงท้ายด้วย –านาไมด์ จุดเดือดสูงกว่าเอมีน
เพราะเป็นโมเลกุลไมม่ ีขั้ว และสามารถละลายน้ำได้แล้วไดส้ มบัติเปน็ กลาง ตัวอย่างของเอไมด์ได้แก่ อะเซตามิ
โนเฟนใช้ทำยาพาราเซตามอลหรือไทลินอล ยูเรยี ใช้ผลติ ปุ๋ยและเป็นวตั ถดุ บิ ผลิตพลาสตกิ
3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรียนร้แู กนกลาง/สาระการเรียนรู้เพิม่ เติม (รายวชิ าเพมิ่ เติม)
-

3.2 สาระการเรยี นรู้ท้องถิน่ (ถา้ ในคำอธิบายรายวชิ าพดู ถงึ หลกั สูตรทอ้ งถนิ่ ใหใ้ ส่ลงไปดว้ ย
...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. เรียกชอื่ สารประกอบอินทรยี ์ประเภทเอมีนได้
2. ระบสุ มบัตทิ างกายภาพและทางเคมขี องสารประกอบอินทรียป์ ระเภทเอมนี ได้
3. บอกประโยชน์และโทษของสารประกอบอินทรีย์ประเภทเอมีนได้
26

4. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น (เลอื กเฉพาะข้อทเ่ี กิดในหน่วยการเรียนรู้น้ี)

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
5. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (เลือกเฉพาะขอ้ ทเ่ี กิดในหนว่ ยการเรียนรนู้ )้ี

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  2. ซอ่ื สัตย์สุจริต
 3. มีวินัย  4. ใฝเ่ รยี นรู้
 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน
 7. รักความเป็นไทย  8. มีจติ สาธารณะ
6. ดา้ นคณุ ลักษณะของผู้เรยี นตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวชิ าการ  2. ส่ือสารสองภาษา  3. ลำ้ หน้าทางความคิด

 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  5. ร่วมกันรบั ผิดชอบตอ่ สงั คมโลก
7. ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 คอื การเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได)้  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเปน็ )
 ทกั ษะดา้ นการคดิ อย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
 ทกั ษะดา้ นความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะด้านความร่วมมอื การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทกั ษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันสอ่ื (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทกั ษะอาชีพ และทกั ษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
 ความมเี มตตา (วนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

8. บรู ณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกล่มุ ใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชิกในหอ้ งเรียนคือ

ประมาณกลมุ่ ละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมีเหตผุ ล : ใหน้ ักเรียนสร้างสรรคผ์ ลงานและเกดิ ทกั ษะการปฏบิ ตั ิ

3. หลักภูมิคมุ้ กนั : ใหน้ ักเรยี นเกดิ ทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก

4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานทจ่ี ะทำก่อนแล้วคอ่ ยลงมอื ทำอยา่ งระมัดระวงั , เขียนสมการการ

เปลย่ี นแปลงจากการทดลอง

5. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม : อดทนทจ่ี ะทำงาน และมีความขยันทจ่ี ะทำงานใหอ้ อกมาไดด้ ีท่สี ุด , มีวนิ ยั ในการ

ทำแบบฝกึ หัด

9. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด ชนิ้ งาน ภาระงาน

ผลการ
เรียนรู้

27

6,8,10 - คำขวญั หรือข้อความ พรอ้ มวาด - วเิ คราะห์สถานการณ์ผลงานวจิ ยั และตอบ

ภาพประกอบเก่ียวกบั คุณคา่ วถิ ีชีวิตไทยกับ คำถาม

การบรโิ ภคของหมักดองอย่างปลอดภยั

10. การวัดประเมินผล

10.1การวดั และประเมินผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ กี าร

1.การสังเกตการณ์

2.การใช้ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตรร์ อ่ งรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมนิ การปฏิบตั ิ

เคร่ืองมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรม ผ่านตง้ั แต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1

รายการถือว่า ไมผ่ ่าน

10.2 การวดั และประเมินผลระหวา่ งการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรียนรขู้ อง

หนว่ ยการเรียนรนู้ ้)ี

สงิ่ ทตี่ ้องการวัด วิธีวัดผล เคร่ืองมอื วดั ผล เกณฑก์ ารประเมิน
- นักเรยี นไดค้ ะแนน
1. ความรู้เกยี่ วกับ -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมนิ การ 12 คะแนนข้นึ ไป
หรือรอ้ ยละ 80
- การเขยี นสูตรท่ัวไป สูตร ความคดิ เห็น อภิปรายแสดงความ ถือว่าผา่ นเกณฑ์
- นกั เรยี นไดค้ ะแนน
โมเลกุลและสตู ร โครงสร้าง -การตอบคำถาม คดิ เหน็ ประเมนิ ผลงาน
13 คะแนนขน้ึ ไป
ของ สารประกอบเอมนี เอไมด์ -การตรวจผลงาน หรือร้อยละ 80
ถอื ว่าผ่านเกณฑ์
- การเรียกชือ่ ของ สารประกอบ นักเรียน - แบบประเมินการ -นักเรยี นได้คะแนน
12 คะแนนข้นึ ไป
เอมีน เอไมด์ ตรวจผลงานนกั เรียน หรือร้อยละ 80 ถือว่า
ผา่ นเกณฑ์
- สมบัตขิ อง สารประกอบเอมีน
- นกั เรยี นได้คะแนน
เอไมด์ ประเมนิ คุณลกั ษณะ

2.ทักษะกระบวนการคดิ และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมินการ 28

ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ความคดิ เหน็ อภิปรายแสดงความ

คดิ เหน็

- สงั เกตพฤตกิ รรมการ - แบบประเมนิ

ทำงานกลุ่ม พฤติกรรมการ

ทำงานกล่มุ

3. คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ - สังเกตนักเรยี นจาก - แบบประเมนิ

และสมรรถนะผเู้ รียน การเข้าช้นั เรียน คณุ ลักษณะอันพึง

- วินัยในการเรียน อภปิ ราย แสดงความ ประสงค์ อันพงึ ประสงค์
- ใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งมน่ั ในการ 26 คะแนนขึน้ ไป
ทำงาน คดิ เห็นและพฤตกิ รรม - แบบประเมิน หรอื รอ้ ยละ 80

ระหวา่ งเรยี น สมรรถนะผูเ้ รียน

- แบบทดสอบความรู้ ถือว่าผา่ นเกณฑ์

ความคดิ ทาง - นักเรียนได้คะแนน

วทิ ยาศาสตร์ การประเมินสมรรถนะ
29 คะแนนขน้ึ ไป
หรอื ร้อยละ 80

ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

11. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ชวั่ โมงที่ 1-2
1. ขนั้ ต้ังประเดน็ ปญั หา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครูให้นักเรยี นดูสูตรโครงสรา้ งของ สารประกอบเอมีน เอไมด์ วา่ มสี ว่ นใดบ้างท่เี หมือนกัน
และต่างกนั (มีไนโตรเจนเปน็ องคป์ ระกอบเหมือนกัน ต่างกนั ทหี่ มอู่ น่ื ๆท่เี ป็นองค์ประกอบ)

1.2 ครูสรุปวา่ สารท้ัง 2 ชนดิ มกี ลมุ่ อะตอมทแ่ี สดงสมบัติเฉพาะท่ีเรยี กว่า หมฟู่ ังกช์ ันทีป่ ระกอบด้วย
ไนโตรเจนเป็นองคป์ ระกอบเหมอื นกนั ซ่ึงเราจะศกึ ษาถงึ สมบตั ิ การเรยี กชือ่ และประโยชน์ของสารประกอบเอ
มีน เอไมด์ตามลำดบั

2. ข้นั สืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครูให้นกั เรยี นดคู ลิปวดี โี อเร่ืองสารประกอบเอมนี เอไมด์ และ ศึกษาตามรายละเอียดในชุดกจิ กรรม

3. ขน้ั สรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ครูและนักเรียนร่วมกันอภปิ รายถงึ (โดยใช้สอ่ื power point) การเรียกช่อื และสมบัติบางประการ
ของสารประกอบเอมนี เอไมด์ เพ่อื ให้ไดข้ ้อสรุป

ชว่ั โมงท่ี 3-4
4. ข้นั การสือ่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มทำกิจกรรม ปฏิบัตกิ าร ฝึกทำ : ฝึกสรา้ ง (ผลงานวิจยั นกั เรยี นโรงเรยี นเฉลมิ
ขวญั สดุ เจง๋ คว้ารางวลั ชนะเลิศระดับภาค แกป้ ญั หาขา้ วไทย “การศกึ ษาประสิทธิภาพบรรจภุ ณั ฑ์ข้าวจาก
เปลอื กหนอ่ ไมไ้ ผต่ งด้วยนำ้ มันหอมระเหยจากพชื สมนุ ไพรในการไลแ่ มลงทำลายขา้ ว”)

4.2 นกั เรียนแต่ละกล่มุ ร่วมกนั ฝกึ วิเคราะห์สถานการณแ์ ลว้ ตอบคำถาม โดยนกั เรียนรว่ มกนั ต้ังคำถาม
เกี่ยวกับตัวอยา่ งงานวจิ ยั ที่หามาเพื่อถามเพือ่ นๆ ไม่นอ้ ยกวา่ ดา้ นละ 3 ข้อ ดังน้ี

1) ด้านความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์
2) ดา้ นปฏิบัติการและทักษะทางวทิ ยาศาสตร์
3) ด้านค่านยิ มต่อภูมิปัญญาไทยทางวทิ ยาศาสตร์

4.3 นำเสนอหน้าชนั้ เรยี น
5. ข้นั การบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ การศึกษาบทบาทของเช้อื จุลนิ ทรยี ์ต่อการสร้างสารประกอบเอมีนทีพ่ บใน
กระบวนการหมกั แหนม และการสลายสารประกอบเอมนี โดยแลคติคแอซดิ แบคทเี รีย ทไี่ ด้ค้นคว้าพร้อมระบุ
รายละเอียดตามรายละเอยี ดในชุดกิจกรรม

5.2 นำเสนอหน้าชั้นเรยี น

29

12. ส่อื การเรียนรู้/แหลง่ เรยี นรู้
12.1ส่อื การเรยี นรู้

- ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ โยนิโสมนสิการ หน่วยเคมอี นิ ทรีย์ เล่มท่ี 5 เรอ่ื งสารประกอบ
อนิ ทรียท์ ม่ี ธี าตไุ นโตรเจนเปน็ องคป์ ระกอบ

- สอื่ power point
12.2แหลง่ เรียนรู้

1) อินเตอรเ์ น็ต 2) หอ้ งสมดุ

13. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ดา้ นความรู้ : ...............................................................................................

- การเขียนสตู รท่ัวไป สตู รโมเลกลุ และสูตร ...............................................................................................

โครงสร้าง ของ สารประกอบเอมนี เอไมด์ ...............................................................................................

- การเรียกช่อื ของ สารประกอบเอมนี เอไมด์ ...............................................................................................

- สมบัตขิ อง สารประกอบเอมนี เอไมด์ ...............................................................................................

2. ด้านกระบวนการ : ...............................................................................................

- ทักษะกระบวนการคดิ ...............................................................................................

- ทักษะกระบวนการกลุม่ ...............................................................................................

3. ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ ม ...............................................................................................

อันพึงประสงค์ : ...............................................................................................

- มวี นิ ัย ...............................................................................................

- ใฝ่เรียนรู้ ...............................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................................
- รักความเป็นไทย
...............................................................................................

4. ปัญหาการสอน

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

...............................................................................................

5. วิธแี กป้ ัญหา

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

...............................................................................................

...............................................................................................

30

ลงช่ือ........................................ครูผู้สอน ลงชือ่ ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
( นางสาวอโนชา อุทมุ สกลุ รตั น์ ) (นางกณิการ์ พัฒรากุล)

ลงชื่อ........................................... ลงชอ่ื ...........................................
( นางกณกิ าร์ พัฒรากลุ ) ( นางรพีพร คำบญุ มา )

หัวหน้างานนเิ ทศ รองผอู้ ำนวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ

ลงช่อื ........................................................

( นายจงจัด จันทบ )
ผ้อู ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

31

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี……….….2……….....เรอื่ ง……….พอลิเมอร์…………..(การเกดิ พอลิเมอร์).....................................
รายวิชา……..............เคมี…5........ ............รหัสวชิ า…..............ว 30225......................ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที .่ี ...6.....
กลมุ่ สาระการเรียนรู้..วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปกี ารศึกษา… 2563...ภาคเรยี นท่ี..1...เวลา...4..ช่ัวโมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกุลรัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชีว้ ัด/ผลการเรยี นรู้ (รายวิชาพนื้ ฐานมที ้ังมาตรฐานการเรยี นร้แู ละตัวช้วี ดั
รายวชิ าเพ่ิมเติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรแู้ ละผลการเรียนร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้
สาระเคมี 1 : เข้าใจโครงสรา้ งอะตอม การจดั เรยี งธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุ พันธะเคมแี ละ

สมบตั ขิ องสาร แก๊สและสมบัติของแกส๊ ประเภทและสมบัติของ สารประกอบอนิ ทรียแ์ ละพอลเิ มอร์ รวมทั้ง
การนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

1.2 ผลการเรียนรู้
11. ระบปุ ระเภทของปฏกิ ิริยาการเกิดพอลเิ มอรจ์ ากโครงสร้างของมอนอเมอร์หรอื พอลิเมอร์

2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (หลอมจากตวั ช้ีวัดท่ใี ช้ในหน่วยการเรยี นรู้นี้เขยี นเป็นแบบความเรียง)
พอลิเมอร์เป็นสารท่ีมีโมเลกุลขนาดใหญ่ ได้จากปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ของโมเลกุลขนาดเล็กที่

เรยี กว่า มอนอเมอร์ สมบตั ิทางกายภาพของพอลิเมอร์จงึ ตา่ งจากมอนอเมอร์ที่เป็นสารต้งั ต้น พอลิเมอร์มีท้งั พอ
ลิเมอรธ์ รรมชาติและพอลิเมอร์สังเคราะห์ พอลิเมอร์อาจเกิดจากปฏกิ ิรยิ าการเกิดพอลิเมอร์แบบเติมหรือแบบ
ควบแน่น ขึน้ อยกู่ ับหม่ฟู ังก์ชันทที่ ำปฏิกิรยิ า
3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง/สาระการเรียนรเู้ พิม่ เติม (รายวิชาเพมิ่ เติม)
พอลิเมอร์เป็นสารที่มโี มเลกลุ ขนาดใหญ่ซึ่งประกอบด้วยหน่วยย่อยทเี่ รยี กว่า มอนอเมอร์เชอื่ มตอ่ กนั

ด้วยพันธะโคเวเลนต์ โดยมีทง้ั พอลิเมอร์ธรรมชาติและพอลิเมอร์สังเคราะห์ปฏกิ ริ ิยาการเกิดพอลิเมอร์ อาจเป็น
ปฏิกิริยาแบบควบแน่นหรือปฏกิ ิริยาแบบเติม ขน้ึ อยู่กับหมูฟ่ งั กช์ ันและโครงสรา้ งของมอนอเมอร์

3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิน่ (ถา้ ในคำอธบิ ายรายวชิ าพูดถึงหลกั สูตรท้องถิ่นใหใ้ ส่ลงไปด้วย
...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. ระบมุ อนอเมอร์ของพอลเิ มอร์ได้
2. ระบปุ ระเภทของปฏิกริ ยิ าการเกดิ พอลิเมอรจ์ ากโครงสร้างของมอนอเมอร์หรอื พอลเิ มอร์ได้
3. ใช้วิจารณญาณและความใจกวา้ ง จากการรว่ มอภปิ รายได้

5. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น (เลือกเฉพาะข้อท่เี กิดในหน่วยการเรียนร้นู ี้)

 1. ความสามารถในการสือ่ สาร  2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (เลือกเฉพาะขอ้ ทเ่ี กิดในหน่วยการเรยี นรนู้ ้ี)

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  2. ซื่อสัตย์สจุ ริต

32

 3. มวี ินัย  4. ใฝ่เรยี นรู้

 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุ่งมน่ั ในการทำงาน
 7. รกั ความเปน็ ไทย  8. มีจิตสาธารณะ
7. ดา้ นคณุ ลักษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวิชาการ  2. สอื่ สารสองภาษา  3. ลำ้ หนา้ ทางความคิด

 4. ผลิตงานอย่างสรา้ งสรรค์  5. ร่วมกันรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได)้  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )
 ทกั ษะด้านการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทกั ษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
 ทักษะดา้ นความเข้าใจความต่างวฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะดา้ นความรว่ มมอื การทำงานเป็นทมี และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทกั ษะดา้ นการสือ่ สาร สารสนเทศและร้เู ท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)
 ความมีเมตตา (วนิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในหอ้ งเรียนคือ

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตผุ ล : ให้นกั เรียนสรา้ งสรรค์ผลงานและเกดิ ทักษะการปฏิบตั ิ

3. หลกั ภูมิคุ้มกนั : ให้นกั เรยี นเกดิ ทักษะการทำงานกล่มุ และกล้าแสดงออก

4. เงือ่ นไขความรู้ : การวางแผนงานทจี่ ะทำก่อนแลว้ คอ่ ยลงมอื ทำอย่างระมดั ระวงั , เขยี นสมการการ

เปลี่ยนแปลงจากการทดลอง

5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมคี วามขยนั ทจี่ ะทำงานใหอ้ อกมาไดด้ ีทส่ี ุด , มีวินยั ในการ

ทำแบบฝกึ หดั

10. ชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการ ช้ินงาน ภาระงาน
เรียนรู้

11 - - ตอบคำถามเกี่ยวกับความหมายของมอนอ

เมอร์และพอลเิ มอร์

- ตอบคำถามเก่ยี วกบั ประเภทของปฏิกิริยา

การเกิดพอลเิ มอร์

11. การวัดประเมินผล

11.1การวัดและประเมินผลชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด

วิธีการ

33

1.การสังเกตการณ์

2.การใชช้ ดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบง่ ช้ี 3.การวดั ประเมินการปฏิบตั ิ

เครื่องมือ

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรม ผา่ นตั้งแต่ 2 รายการ ถอื วา่ ผา่ น ผ่าน 1

รายการถือว่า ไม่ผา่ น

11.2การวดั และประเมนิ ผลระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรียนร้ขู อง

หนว่ ยการเรียนรนู้ )้ี

สิง่ ท่ตี ้องการวัด วธิ วี ัดผล เคร่ืองมอื วัดผล เกณฑก์ ารประเมิน

1. ความร้เู กีย่ วกับ -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมินการ - นกั เรียนไดค้ ะแนน

- ความหมายของมอนอเมอร์ ความคิดเหน็ อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนข้ึนไป

และพอลิเมอร์ ประเภทของ -การตอบคำถาม คิดเห็น หรือรอ้ ยละ 80

ปฏกิ ิรยิ าการเกิดพอลิเมอร์ -การตรวจผลงาน ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

นกั เรียน - แบบประเมินการ - นกั เรียนไดค้ ะแนน

ตรวจผลงานนักเรยี น ประเมนิ ผลงาน

13 คะแนนขนึ้ ไป

หรอื รอ้ ยละ 80

ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

2.ทกั ษะกระบวนการคดิ และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมนิ การ -นักเรยี นไดค้ ะแนน

ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ความคิดเห็น อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขนึ้ ไป

คิดเห็น หรอื ร้อยละ 80 ถือวา่

- สังเกตพฤติกรรมการ - แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์

ทำงานกลมุ่ พฤติกรรมการ

ทำงานกลมุ่

3. คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ - สงั เกตนกั เรียนจาก - แบบประเมนิ - นกั เรยี นได้คะแนน

และสมรรถนะผเู้ รียน การเข้าชัน้ เรียน คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประเมนิ คณุ ลกั ษณะ

- วนิ ัยในการเรียน อภปิ ราย แสดงความ ประสงค์ อันพึงประสงค์

- ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ ม่ันในการ คดิ เห็นและพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ 26 คะแนนขึน้ ไป

ทำงาน ระหวา่ งเรียน สมรรถนะผู้เรยี น หรือรอ้ ยละ 80

- แบบทดสอบความรู้ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

ความคิดทาง - นกั เรียนได้คะแนน

วิทยาศาสตร์ การประเมินสมรรถนะ

29 คะแนนขน้ึ ไป

หรือรอ้ ยละ 80

ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

34

12. กจิ กรรมการเรียนรู้
ชว่ั โมงท่ี 1
1. ขน้ั ต้ังประเด็นปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครูใหน้ กั เรยี นยกตวั อยา่ งผลติ ภณั ฑ์พอลิเมอร์ท่รี จู้ ัก ซงึ่ ส่วนใหญ่นา่ จะเปน็ พลาสตกิ จากน้ันอธบิ ายวา่

ผลิตภัณฑพ์ อลิเมอร์ทพ่ี บเห็นสว่ นใหญ่เปน็ พลาสติก แต่บางชนิดอาจไมเ่ ปน็ พลาสติก เชน่ ยาง กาว เจล จากน้ัน
อธิบายความหมายของพอลเิ มอรแ์ ละมอนอเมอร์ ตามรายละเอียดในชุดกจิ กรรม

1.2 ครูยกตัวอยา่ งผลติ ภัณฑ์พอลเิ มอร์สงั เคราะห์และพอลิเมอรธ์ รรมชาตติ ามรายละเอียดในชดุ กิจกรรม
1.3 ครูอธบิ ายวา่ พอลิเมอร์และมอนอเมอรม์ ีสมบัตทิ างกายภาพบางประการที่แตกตา่ งกนั เช่น สถานะ
จุดหลอมเหลว สภาพการละลายได้ในนำ้
1.4 ครูใช้คำถามนำวา่ มอนอเมอร์เกิดเป็นพอลิเมอรไ์ ด้อย่างไร จากน้นั ครใู ห้ความรู้เกยี่ วกับความหมาย
และการแบ่งประเภทของปฏกิ ิริยาการเกิดพอลิเมอร์
1.5 ครูอธบิ ายปฏกิ ิริยาการเกิดพอลิเมอร์แบบเติมเช่อื มโยงกับปฏิกิริยาการเติมของแอลคีนโดยยกตัว
อยา่ งปฏิกริ ิยาการเกดิ พอลเิ มอรแ์ บบเติมของเอทิลีน ตามรายละเอยี ดในชดุ กิจกรรม จากนั้นให้นักเรยี น
พจิ ารณาตวั อย่างพอลเิ มอรท์ ี่เตรียมจากปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอรแ์ บบเตมิ และการเรียกชอื่ มอนอเมอรแ์ ละ
พอลิเมอร์ตามรายละเอียดในชดุ กิจกรรม
ช่ัวโมงที่ 2
2. ขัน้ สบื คน้ ความรู้ (Searching for Information)

2.1 สมาชิกกลมุ่ ร่วมกันค้นเรื่อง พอลเิ มอร์ท่ีได้จากปฏิกิริยาการเกิดพอลเิ มอรแ์ บบเติม มสี มบตั แิ ละ
นำไปใช้เป็นผลิตภัณฑ์ทพี่ บในชวี ิตประจำมีอะไรบ้าง

2.2 ให้ตัวแทนกลุม่ ออกมาเลา่ ถงึ สิง่ ทีค่ น้ พบ ครูอธิบายเพิ่มเติมว่าปฏิกิริยาการเกิดพอลเิ มอรแ์ บบ
ควบแนน่ เชอื่ มโยงกบั ปฏกิ ริ ยิ าการเกิดเอไมด์โดยใช้ตัวอย่างปฏิกริ ิยาการเกิดพอลเิ มอรข์ องไนลอน 6,6 ตาม
รายละเอียดในชดุ กจิ กรรม

2.3 ให้แต่ละกลมุ่ พจิ ารณาตัวอย่างพอลิเอสเทอร์และพอลเิ อไมด์ที่เตรยี มจากปฏกิ ริ ิยาการเกิดพอลิ
เมอรแ์ บบควบแนน่ ตามรายละเอยี ดในชุดกจิ กรรม

ช่ัวโมงท่ี 4
3. ขั้นสรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

- ใช้เทคนิคการสอนแบบ ระดมสมอง (Brainstorming)
3.1 ให้สมาชกิ แต่ละคนในกลุ่ม วเิ คราะห์ขอ้ มูล และถา่ ยทอดความร้ใู ห้เพ่อื นในกลมุ่
3.2 ครูชใ้ี ห้เห็นว่า พอลิเมอร์ทีไ่ ด้จากปฏิกิริยาการเกดิ พอลเิ มอรแ์ บบควบแน่น มีสมบัตแิ ละนำไปใช้
เป็นผลิตภัณฑ์ทพ่ี บในชวี ิตประจำวนั ได้หลากหลาย
4. ขั้นการสอื่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 ครูให้นักเรียนตอบคำถามชวนคดิ เพอ่ื ใหไ้ ด้ข้อสรุปดังน้ี

แอซิดคลอไรด์ (acid chloride) มีหมฟู่ ังกช์ ันเป็น COCl และมคี วามว่องไวในการเกดิ
ปฏกิ ิริยาเคมี สามารถใช้แทนกรดคาร์บอกซิลกิ ในการสงั เคราะห์พอลเิ อไมด์ เชน่ เคฟลาร์ (Kevlar)
ซ่งึ เป็นพอลิเมอร์ทใ่ี ช้ทำเสน้ ใยทีม่ ีความเหนียว และทนความร้อนสงู นำไปทำเสื้อกนั กระสนุ
เขียนโครงสรา้ งเคฟลาร์และผลติ ภัณฑ์พลอยไดจ้ ากปฏิกิริยาเคมีต่อไปน้ี

35

5. ข้นั การบริการสงั คมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 ครใู ห้นักเรียนทำแบบฝกึ หดั เพือ่ ทบทวนความรู้ และเฉลยรว่ มกัน

13. ส่อื การเรียนรู้/แหล่งเรยี นรู้

12.1ส่อื การเรียนรู้

- ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนิโสมนสิการ เรอื่ งพอลิเมอร์ ตอนท่ี 1

- สื่อ power point

12.2แหลง่ เรยี นรู้

1) อินเตอร์เนต็

2) ห้องสมดุ

14. บนั ทึกหลงั การจดั การเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ดา้ นความรู้ : ...............................................................................................

- ความหมายของมอนอเมอรแ์ ละพอลิเมอร์ ...............................................................................................

ประเภทของปฏกิ ริ ยิ าการเกิดพอลิเมอร์ ...............................................................................................

...............................................................................................

...............................................................................................

2. ดา้ นกระบวนการ : ...............................................................................................

- ทักษะกระบวนการคดิ ...............................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ...............................................................................................

...............................................................................................

3. ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและค่านิยม ...............................................................................................

อนั พงึ ประสงค์ : ...............................................................................................

- มวี นิ ัย ...............................................................................................

- ใฝ่เรียนรู้ ...............................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................................

- รกั ความเป็นไทย ...............................................................................................

...............................................................................................

4. ปัญหาการสอน

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

...............................................................................................

5. วธิ แี ก้ปัญหา ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

36

....................................................................... ...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................

...............................................................................................
...............................................................................................

ลงช่ือ........................................ครูผสู้ อน ลงชือ่ ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
( นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รัตน์ ) (นางกณิการ์ พัฒรากลุ )

ลงช่อื ........................................... ลงชอ่ื ...........................................

( นางกณิการ์ พฒั รากลุ ) ( นางรพีพร คำบุญมา )
หวั หน้างานนิเทศ รองผอู้ ำนวยการกลุม่ บรหิ ารวิชาการ

ลงช่ือ ........................................................
( นายจงจัด จนั ทบ )

ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม

37

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 7
หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี………..2……….....เรื่อง……….พอลเิ มอร์…..(โครงสรา้ งและสมบตั ขิ องพอลเิ มอร์).......................

รายวชิ า……..............เคมี…5........ ............รหสั วิชา…..............ว 30225......................ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่....6.....
กลุ่มสาระการเรียนรู้..วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปีการศกึ ษา… 2564...ภาคเรยี นท.่ี .1...เวลา...6..ชั่วโมง……
ผ้สู อน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ดั /ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพ้ืนฐานมที ง้ั มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชว้ี ัด

รายวชิ าเพิม่ เติมมเี ฉพาะมาตรฐานการเรียนรแู้ ละผลการเรียนร้)ู

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้

สาระเคมี 1 : เขา้ ใจโครงสรา้ งอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบตั ิของธาตุ พันธะเคมแี ละ

สมบัติของสาร แก๊สและสมบตั ิของแก๊ส ประเภทและสมบัติของ สารประกอบอินทรยี ์และพอลเิ มอร์ รวมทงั้

การนำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

1.2 ผลการเรียนรู้

12. วเิ คราะห์ และอธบิ ายความสมั พันธร์ ะหวา่ งโครงสร้างและสมบัติของพอลิเมอร์ รวมท้ัง การนำ

ไปใช้ประโยชน์

13. ทดสอบ และระบุประเภทของพลาสติกและผลติ ภัณฑย์ าง รวมทัง้ การนำไปใช้ประโยชน์

2. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตวั ช้ีวัดทใี่ ช้ในหน่วยการเรียนรู้นเี้ ขียนเป็นแบบความเรยี ง)

พอลิเมอรอ์ าจมีโครงสร้างเป็นแบบเส้น แบบก่ิง แบบรา่ งแห ทั้งน้ีขึ้นกับลักษณะการเช่ือมต่อกันของ

มอนอเมอร์ ซึ่งส่งผลตอ่ สมบตั ิของพอลเิ มอรเ์ มอร์ และการนำไปใชใ้ นการผลิตเป็นผลติ ภณั ฑท์ ่แี ตกต่างกันโดย

พอลิเมอร์เทอร์มอพลาสติกมีโครงสร้างเป็นแบบเส้นหรือแบบกิ่ง เป็นพอลิเมอร์ที่สามารถนำมาหลอมขึ้นรูป

ใหม่ได้ สำหรับพอลิเมอร์เทอร์มอเซตส่วนใหญ่มีโครงสรา้ งแบบร่างแห เป็นพอลเิ มอร์ทีไ่ ม่หลอมเหลวเม่ือไดร้ ับ

ความร้อน แตเ่ กดิ การสลายตัวหรือไหม้เมื่อไดร้ บั ความรอ้ นสงู จึงไม่สามารถนำมาหลอมขน้ึ รูปใหม่ได้

3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง/สาระการเรยี นรเู้ พมิ่ เติม (รายวิชาเพม่ิ เติม)

พอลิเมอร์มโี ครงสร้างตา่ งกันอาจเป็นโครงสรา้ งแบบเสน้ แบบก่ิง หรือแบบรา่ งแห ข้ึนอยกู่ บั ชนดิ

ของมอนอเมอรแ์ ละภาวะของปฏิกริ ิยาการเกดิ พอลิเมอร์ ซ่งึ โครงสรา้ งของพอลิเมอรส์ ่งผลต่อจุดหลอมเหลว

ความหนาแน่น ความเปราะความเหนยี ว ความยดื หยนุ่ จงึ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างหลากหลาย

3.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถนิ่ (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพูดถึงหลักสูตรทอ้ งถนิ่ ใหใ้ ส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายผลของการปรบั ปรงุ สมบัตขิ องพอลเิ มอร์โดยการเตมิ สารเตมิ แต่ง การปรับเปล่ยี นโครงสร้าง

ของพอลิเมอร์ การสงั เคราะห์โคพอลิเมอร์ และการสงั เคราะห์พอลิเมอร์นำไฟฟา้

2. เปรียบเทียบสมบัตขิ องโคพอลิเมอรก์ ับโฮโมพอลิเมอร์และโคพอลิเมอรแ์ บบสลบั กับแบบบล็อก

3. เกดิ ทกั ษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา ในการทำกจิ กรรม

4. เหน็ คุณค่าของการนำความรทู้ างวิทยาศาสตร์มาใช้ประโยชน์ในชวี ติ ประจำวนั

5. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน (เลอื กเฉพาะข้อท่เี กิดในหน่วยการเรยี นรนู้ ้ี)

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ

38

 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (เลอื กเฉพาะขอ้ ท่เี กิดในหน่วยการเรยี นรนู้ ้)ี

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซือ่ สตั ย์สจุ ริต
 3. มวี นิ ัย  4. ใฝเ่ รยี นรู้
 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุ่งมั่นในการทำงาน
 7. รกั ความเป็นไทย  8. มีจิตสาธารณะ
7. ดา้ นคณุ ลกั ษณะของผเู้ รียนตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวชิ าการ  2. ส่อื สารสองภาษา  3. ลำ้ หนา้ ทางความคิด

 4. ผลิตงานอย่างสรา้ งสรรค์  5. ร่วมกนั รบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได)้  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเปน็ )
 ทักษะด้านการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและทกั ษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะด้านความเข้าใจความตา่ งวัฒนธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะด้านความรว่ มมอื การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทกั ษะดา้ นการสอ่ื สาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสือ่ (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทกั ษะอาชีพ และทกั ษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
 ความมเี มตตา (วนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

9. บูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกล่มุ ให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในห้องเรียนคือ

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมเี หตุผล : ใหน้ กั เรียนสรา้ งสรรค์ผลงานและเกดิ ทักษะการปฏบิ ตั ิ

3. หลกั ภูมคิ ุ้มกนั : ใหน้ ักเรียนเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก

4. เงอ่ื นไขความรู้ : การวางแผนงานท่จี ะทำก่อนแล้วคอ่ ยลงมอื ทำอยา่ งระมดั ระวงั , เขยี นสมการการ

เปล่ียนแปลงจากการทดลอง

5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนทีจ่ ะทำงาน และมคี วามขยันท่ีจะทำงานให้ออกมาไดด้ ีท่ีสุด , มีวินยั ในการ

ทำแบบฝกึ หดั

10. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการ ชิ้นงาน ภาระงาน
เรียนรู้

12 รายงานการทดลอง 13.1 การทดสอบการ - การอภปิ รายผลการทดลอง

เปลี่ยนแปลงของพอลเิ มอรเ์ มอื่ ได้รบั ความ

รอ้ น

39

11. การวัดประเมินผล

11.1การวดั และประเมนิ ผลชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด

วิธกี าร

1.การสังเกตการณ์

2.การใชช้ ดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบ่งช้ี 3.การวดั ประเมนิ การปฏิบตั ิ

เครื่องมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์

3. แบบวัดประเมนิ การปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผ่านตงั้ แต่ 2 รายการ ถือว่า ผา่ น ผ่าน 1

รายการถือว่า ไม่ผ่าน

11.2การวดั และประเมนิ ผลระหว่างการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรียนรู้ของ

หน่วยการเรยี นรนู้ ้ี)

สง่ิ ท่ตี อ้ งการวดั วิธวี ัดผล เคร่ืองมอื วดั ผล เกณฑ์การประเมิน

1. ความรเู้ กี่ยวกับ -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมินการ - นักเรียนได้คะแนน

- โครงสร้างและสมบัตขิ องพอ ความคดิ เห็น อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขึน้ ไป

ลเิ มอร์ -การตอบคำถาม คดิ เห็น หรือรอ้ ยละ 80

-การตรวจผลงาน ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

นกั เรยี น - แบบประเมินการ - นกั เรียนได้คะแนน

ตรวจผลงานนกั เรียน ประเมินผลงาน

13 คะแนนข้ึนไป

หรอื รอ้ ยละ 80

ถือว่าผา่ นเกณฑ์

2.ทกั ษะกระบวนการคิด และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมินการ -นกั เรยี นไดค้ ะแนน

ทักษะกระบวนการกลมุ่ ความคิดเห็น อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขน้ึ ไป

คดิ เหน็ หรอื รอ้ ยละ 80 ถอื วา่

- สงั เกตพฤติกรรมการ - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์

ทำงานกลุ่ม พฤติกรรมการ

ทำงานกลุ่ม

3. คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ - สงั เกตนักเรยี นจาก - แบบประเมิน - นกั เรียนได้คะแนน

และสมรรถนะผเู้ รยี น การเขา้ ชั้นเรยี น คณุ ลักษณะอันพงึ ประเมินคณุ ลกั ษณะ

- วนิ ัยในการเรียน อภิปราย แสดงความ ประสงค์ อันพงึ ประสงค์

- ใฝ่เรยี นรู้ มุ่งมน่ั ในการ คิดเห็นและพฤติกรรม - แบบประเมนิ 26 คะแนนขึ้นไป

ทำงาน ระหวา่ งเรยี น สมรรถนะผู้เรียน หรือรอ้ ยละ 80

- แบบทดสอบความรู้ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

ความคิดทาง - นกั เรยี นไดค้ ะแนน

40

วทิ ยาศาสตร์ การประเมนิ สมรรถนะ
29 คะแนนข้ึนไป
หรอื ร้อยละ 80

ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรยี นรู้
ชว่ั โมงท่ี 1

1. ขั้นตง้ั ประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครใู หน้ ักเรียนพิจารณาเปรยี บเทยี บโครงสร้างของพอลเิ มอร์แบบเส้น แบบก่งิ และแบบรา่ งแห ดัง

รายละเอยี ดในชุดกิจกรรม แลว้ อภปิ รายรว่ มกนั ว่าโครงสรา้ งทั้งสามแบบแตกต่างกนั อยา่ งไร เพ่อื ใหไ้ ด้ข้อสรุป
วา่ โครงสร้างแบบรา่ งแหมีส่วนท่ีเชอ่ื มระหว่างสายโซ่หลกั มากกว่า 1 สาย ส่วนโครงสรา้ งแบบกิง่ มสี ายโซ่ดา้ น
ข้างแยกออกมาจากสายโซ่หลกั โดยไมเ่ ชือ่ มกบั สายโซห่ ลกั อนื่ โครงสรา้ งแบบเสน้ ไม่มสี ายโซ่ด้านข้างแยก

ออกมา
1.2 ครูใช้คำถามนำว่า นักเรียนคิดวา่ โครงสรา้ งของพอลิเมอรส์ ง่ ผลต่อสมบตั อิ ยา่ งไร และรว่ มทำกิจกรรม

เรือ่ ง ความหนาแนน่ และโครงสร้างของพอลเิ มอร์ เพือ่ ศกึ ษาสมบัติและโครงสรา้ งของพอลเิ มอร์

ชั่วโมงที่ 2-3

2. ขั้นสืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครใู ช้คำถามนำว่า นกั เรยี นคิดว่าโครงสร้างของพอลเิ มอรส์ ่งผลต่อสมบตั อิ ยา่ งไร

2.2 ครูใหน้ ักเรียนทำกิจกรรมเพ่ือศกึ ษาสมบัติและโครงสร้างของพอลิเมอร์
ชว่ั โมงที่ 4-5
3. ข้นั สรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation)

- ใช้เทคนคิ การสอนแบบ ระดมสมอง (Brainstorming)
3.1 ครใู ช้คำถามวา่ โครงสร้างของพอลเิ มอรม์ ีผลต่อแรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ งโมเลกลุ และสมบัติบาง

ประการ เช่น ความหนาแน่น จุดหลอมเหลว ความแข็ง ความเหนียว ของพอลเิ มอร์อย่างไร จากนน้ั อภิปราย
รว่ มกันเพอ่ื ใหไ้ ดข้ ้อสรุปเก่ียวกบั สมบตั ิของพอลเิ มอรแ์ บบเส้น แบบกิง่ และแบบรา่ งแหโดยใชต้ ัวอย่างจากรูป

3.2 ครูใหน้ ักเรียนตอบคำถามตรวจสอบความเขา้ ใจและคำถามชวนคิด

ชัว่ โมงท่ี 6
4. ขน้ั การสอ่ื สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นกั เรยี นแต่ละกลุม่ รว่ มกนั สรปุ วา่ มอนอเมอรบ์ างชนิด หากทำปฏิกิริยาการเกิดพอลเิ มอรโ์ ดย
ใช้ภาวะทต่ี า่ งกันจะเกดิ พอลิเมอร์ทมี่ โี ครงสร้างตา่ งกัน โดยใช้ตวั อยา่ ง LDPE และ HDPE ตามรายละเอยี ดใน
ชุดกจิ กรรม

5. ขนั้ การบรกิ ารสงั คมและสาธารณะ (Public Service)
5.1 ครูอธบิ ายว่า สมบตั ิของพอลิเมอรน์ อกจากขน้ึ กับโครงสรา้ งแบบเส้น แบบกิง่ และแบบรา่ งแห

แลว้ ยังขน้ึ กบั มวลโมเลกุลและหมู่ฟังก์ชันของพอลิเมอร์ตามรายละเอียดในหนงั สอื เรียน
5.2 ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันเฉลยคำถามท้ายบทเรียน

41

13. สื่อการเรยี นรู้/แหล่งเรียนรู้

12.1สอื่ การเรยี นรู้

- ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ โยนิโสมนสิการ เร่อื งพอลเิ มอร์ (โครงสรา้ งและสมบตั ิของพอลิ

เมอร์)

- ส่อื power point

12.2 แหล่งเรียนรู้

1) อนิ เตอรเ์ นต็ 2) ห้องสมุด

14. บันทึกหลังการจัดการเรยี นรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ดา้ นความรู้ : ...............................................................................................

- ความหมายของมอนอเมอรแ์ ละพอลิเมอร์ ...............................................................................................

ประเภทของปฏกิ ิรยิ าการเกดิ พอลิเมอร์ ...............................................................................................

- โครงสรา้ งและสมบตั ิของพอลเิ มอร์ ...............................................................................................

...............................................................................................

2. ดา้ นกระบวนการ : ...............................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการคิด ...............................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ...............................................................................................

...............................................................................................

3. ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ ม ...............................................................................................

อันพึงประสงค์ : ...............................................................................................

- มวี นิ ยั ...............................................................................................

- ใฝ่เรียนรู้ ...............................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................................
- รักความเป็นไทย
...............................................................................................

...............................................................................................

4. ปัญหาการสอน

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

...............................................................................................

5. วิธีแกป้ ญั หา ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………….

42

ลงช่ือ........................................ครูผู้สอน ลงช่อื ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
( นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์ ) (นางกณิการ์ พัฒรากุล)

ลงชื่อ........................................... ลงชื่อ...........................................
( นางกณิการ์ พัฒรากลุ ) ( นางรพีพร คำบญุ มา )

หัวหน้างานนเิ ทศ รองผ้อู ำนวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ

ลงช่อื ........................................................

( นายจงจัด จันทบ )
ผ้อู ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

43

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 8
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่………..2……….....เรอื่ ง……….พอลิเมอร์…..(การปรับปรุงสมบัตขิ องพอลิเมอร์).......................

รายวิชา……..............เคมี…5........ ............รหัสวิชา…..............ว 30225......................ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่....6.....
กลุม่ สาระการเรียนรู้..วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปีการศึกษา… 2564...ภาคเรยี นท่ี..1...เวลา...6.ช่ัวโมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกุลรตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ (รายวิชาพื้นฐานมที ั้งมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ช้ีวัด

รายวิชาเพม่ิ เติมมเี ฉพาะมาตรฐานการเรยี นรู้และผลการเรียนร้)ู

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้

สาระเคมี 1 : เขา้ ใจโครงสรา้ งอะตอม การจดั เรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุ พันธะเคมีและ

สมบตั ิของสาร แก๊สและสมบตั ิของแกส๊ ประเภทและสมบัติของ สารประกอบอนิ ทรยี แ์ ละพอลเิ มอร์ รวมท้ัง

การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

1.2 ผลการเรียนรู้

14. อธิบายผลของการปรบั เปล่ียนโครงสรา้ ง และการสงั เคราะห์พอลิเมอรท์ ีม่ ตี อ่ สมบตั ิของพอลเิ มอร์

2. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวช้ีวดั ทใ่ี ช้ในหน่วยการเรยี นรูน้ ี้เขยี นเป็นแบบความเรยี ง)

พอลิเมอร์แตล่ ะชนดิ สามารถปรับเปล่ยี นสมบัติได้ เช่น PVC สามารถนำมาเติมสารเตมิ แตง่ แล้วทำเป็น

ฟิล์มยืดห่ออาหารได้ ผลิตภัณฑ์แต่ละประเภทอาจทำมาจากพอลิเมอร์ได้หลากหลายประเภท เช่นแก้ว

พลาสติกแบบใสอาจทำมาจาก PS PP หรอื PLA พอลเิ มอร์บางชนดิ สามารถทำใหน้ ำไฟฟา้ ได้ซง่ึ ในปัจจุบันมกี าร

นำพอลิเมอร์นำไฟฟ้ามาใช้ประโยชนใ์ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์

3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง/สาระการเรยี นรู้เพมิ่ เติม (รายวชิ าเพ่ิมเตมิ )

• การปรบั เปล่ียนโครงสรา้ งหรือการสังเคราะห์พอลเิ มอร์ เช่น วัลคาไนเซชัน การสังเคราะห์โคพอลิ

เมอร์ การสังเคราะห์พอลิเมอร์นำไฟฟ้าเป็นการปรบั ปรงุ คณุ ภาพของพอลเิ มอร์ เพอ่ื ใหไ้ ด้ผลิตภัณฑท์ ่ีสามารถ

นำไปใชป้ ระโยชน์ได้อย่างเหมาะสมและหลากหลายมากข้ึน

3.2 สาระการเรียนรูท้ อ้ งถ่ิน (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพดู ถงึ หลกั สูตรทอ้ งถิน่ ให้ใส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จุดประสงค์การเรียนรู้

อธบิ ายผลของการปรับปรุงสมบัตขิ องพอลเิ มอร์โดยการเตมิ สารเติมแต่ง การปรบั เปล่ียนโครงสรา้ ง

ของพอลเิ มอร์ การสังเคราะห์โคพอลเิ มอร์ และการสงั เคราะหพ์ อลเิ มอรน์ ำไฟฟ้า

5. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน (เลือกเฉพาะข้อที่เกิดในหน่วยการเรียนรนู้ ้ี)

 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (เลือกเฉพาะขอ้ ท่ีเกิดในหน่วยการเรียนรนู้ ี้)

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ
 3. มีวนิ ัย  4. ใฝ่เรียนรู้
 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. ม่งุ มนั่ ในการทำงาน
 7. รกั ความเปน็ ไทย  8. มจี ิตสาธารณะ

44

7. ด้านคณุ ลกั ษณะของผเู้ รยี นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวิชาการ  2. ส่อื สารสองภาษา  3. ลำ้ หน้าทางความคิด

 4. ผลติ งานอย่างสร้างสรรค์  5. ร่วมกันรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 คอื การเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได)้  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )
 ทกั ษะด้านการคดิ อย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)
 ทักษะดา้ นความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะด้านความร่วมมอื การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทกั ษะด้านการส่ือสาร สารสนเทศและรเู้ ท่าทันส่ือ (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT
Literacy)

 ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
 ความมีเมตตา (วินยั คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

9. บูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลุ่มใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในหอ้ งเรียนคอื

ประมาณกลุม่ ละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตผุ ล : ให้นกั เรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทกั ษะการปฏิบัติ

3. หลกั ภูมคิ มุ้ กัน : ใหน้ ักเรียนเกดิ ทกั ษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก

4. เงือ่ นไขความรู้ : การวางแผนงานทจ่ี ะทำก่อนแลว้ ค่อยลงมอื ทำอย่างระมัดระวงั , เขียนสมการการ

เปล่ียนแปลงจากการทดลอง

5. เงื่อนไขคณุ ธรรม : อดทนทจี่ ะทำงาน และมีความขยันท่จี ะทำงานให้ออกมาไดด้ ีทส่ี ุด , มีวนิ ยั ในการ

ทำแบบฝกึ หดั

10. ชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการ ชนิ้ งาน ภาระงาน
เรียนรู้

14 - - ตอบคำถามเก่ยี วกับ อธิบายผลของการ

ปรับปรุงสมบตั ขิ องพอลเิ มอร์โดยการเติม

สารเตมิ แต่ง

- ตอบคำถามเกี่ยวกบั การปรับเปล่ยี น

โครงสรา้ งของพอลิเมอร์ การสังเคราะห์โคพอ

ลเิ มอร์ และการสังเคราะห์พอลเิ มอรน์ ำไฟฟา้

11. การวัดประเมนิ ผล

11.1การวดั และประเมินผลชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

วิธีการ

1.การสงั เกตการณ์

45

2.การใชช้ ุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบง่ ชี้ 3.การวัดประเมินการปฏบิ ัติ

เคร่อื งมอื

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมินการปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผา่ นตงั้ แต่ 2 รายการ ถือว่า ผา่ น ผ่าน 1

รายการถือว่า ไม่ผ่าน

11.2การวดั และประเมินผลระหวา่ งการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรียนร้ขู อง

หนว่ ยการเรยี นรนู้ )ี้

สิ่งที่ต้องการวัด วธิ ีวดั ผล เครื่องมอื วัดผล เกณฑ์การประเมิน
- นกั เรียนไดค้ ะแนน
1. ความร้เู กย่ี วกับ -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมินการ 12 คะแนนข้นึ ไป
หรอื รอ้ ยละ 80
- ผลของการปรับปรุงสมบัติของ ความคดิ เห็น อภิปรายแสดงความ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
- นักเรียนได้คะแนน
พอลิเมอรโ์ ดยการเติมสารเตมิ -การตอบคำถาม คิดเห็น ประเมินผลงาน
13 คะแนนข้ึนไป
แต่ง -การตรวจผลงาน หรือร้อยละ 80
ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
- การปรับเปล่ียนโครงสร้างของ นักเรียน - แบบประเมนิ การ -นกั เรียนไดค้ ะแนน
12 คะแนนขึ้นไป
พอลิเมอร์ ตรวจผลงานนักเรียน หรอื รอ้ ยละ 80 ถอื วา่
ผา่ นเกณฑ์
- การสังเคราะห์โคพอลเิ มอร์
- นกั เรียนได้คะแนน
การสงั เคราะหพ์ อลิเมอรน์ ำ ประเมินคณุ ลักษณะ
อันพงึ ประสงค์
ไฟฟา้ 26 คะแนนขน้ึ ไป
หรือรอ้ ยละ 80
2.ทักษะกระบวนการคดิ และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมนิ การ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์
- นกั เรียนไดค้ ะแนน
ทักษะกระบวนการกลมุ่ ความคดิ เหน็ อภิปรายแสดงความ การประเมนิ สมรรถนะ
29 คะแนนขนึ้ ไป
คิดเหน็ หรือร้อยละ 80
ถือว่าผา่ นเกณฑ์
- สงั เกตพฤตกิ รรมการ - แบบประเมนิ
46
ทำงานกลุม่ พฤตกิ รรมการ

ทำงานกลุม่

3. คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ - สงั เกตนักเรยี นจาก - แบบประเมนิ

และสมรรถนะผ้เู รยี น การเข้าช้นั เรยี น คณุ ลักษณะอันพงึ

- วินัยในการเรยี น อภปิ ราย แสดงความ ประสงค์

- ใฝเ่ รยี นรู้ มุ่งมัน่ ในการ คดิ เห็นและพฤติกรรม - แบบประเมนิ

ทำงาน ระหวา่ งเรยี น สมรรถนะผเู้ รยี น

- แบบทดสอบความรู้

ความคิดทาง

วิทยาศาสตร์

12. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ชว่ั โมงที่ 1-2
1. ข้นั ตั้งประเดน็ ปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครูยกตวั อย่างผลิตภณั ฑ์ท่ีผลติ จากพอลเิ มอร์ชนิดเดียวกัน เช่น ท่อนำ้ ฉนวนหุ้มสายไฟฟ้าฟลิ ์มยดื

ห่ออาหาร จากนัน้ ใหน้ กั เรียนอภปิ รายสมบตั ิทางกายภาพของผลิตภัณฑ์พอลเิ มอร์แต่ละชนิดร่วมกนั และ
ช้ีให้เห็นว่ามีสมบตั ทิ างกายภาพแตกตา่ งกนั จากน้ันครอู ธบิ ายวา่ ผลติ ภัณฑ์พอลิเมอร์ท้ังสามชนิดเป็นพอลไิ วนิล
คลอไรด์เหมือนกันแตม่ ีการปรับปรุงให้มี สมบัติแตกตา่ งกัน เพ่อื นำเขา้ สเู่ ร่อื งการปรับปรงุ สมบตั ขิ องพอลเิ มอร์

1.2 ครูอธบิ ายเก่ียวกบั การปรบั ปรุงสมบัตขิ องพอลเิ มอรโ์ ดยการเติมพลาสตไิ ซเซอร์ ซึง่ เป็นสารเตมิ แตง่ ที่
ไม่ทำปฏิกิรยิ าเคมีกบั สายพอลเิ มอร์ ตามรายละเอียดในชดุ กิจกรรม โดยใช้รปู ประกอบการอธบิ าย

ช่ัวโมงท่ี 3-4
2. ขน้ั สืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)

2.1 นกั เรียนแบง่ เปน็ กลุ่ม กลมุ่ ละ 5 – 6 คน จำนวน 6 กลมุ่ โดยแต่ละกลุ่มจะต้องคละกนั
ระหว่างเพศชายและหญิง และคละกันระหวา่ งนกั เรยี นทมี่ ผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนสูงกบั ตำ่

2.2 ครใู ห้นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ในเร่ืองเกยี่ วกบั การปรับปรงุ สมบตั ขิ อง
พอลเิ มอรโ์ ดยการเตมิ สารเติมแตง่ ท่ีทำปฏิกิรยิ าเคมีโดยใชต้ ัวอย่างกระบวนการวลั คาไนเซชันของยาง

2.3 ครูใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั วิเคราะหใ์ นประเด็นของกลมุ่ ตนเอง จากน้นั นำความรูท้ ีไ่ ด้
จาก การค้นควา้ และศึกษาวิเคราะห์ระหว่างภายในกล่มุ มาเขียนสรปุ เปน็ ผังมโนทัศน์

ชว่ั โมงที่ 5-6
3. ขัน้ สรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

3.1 ครูอธบิ ายเพิม่ เตมิ เก่ียวกับครอู ธบิ ายเกีย่ วกบั การปรบั เปล่ยี นโครงสร้างโดยอาศัยปฏิกิริยาเคมี
ตามรายละเอียดในชุดกจิ กรรม โดยใชร้ ูป ประกอบการอธบิ าย

3.2 ครยู กตวั อยา่ งเก่ียวกบั โฮโมพอลิเมอรแ์ ละโคพอลิเมอร์ ตามรายละเอียดในตามรายละเอยี ดใน
ชดุ กิจกรรม โดยใช้รูป ประกอบการอธิบาย

4. ขั้นการส่ือสารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 ครูใหแ้ ต่ละกลมุ่ สบื ค้นเก่ียวกบั กลไกการนำไฟฟา้ ของพอลอิ ะเซทลิ นี ซ่ึงแสดงการคล่อื นท่ี

ของอเิ ล็กตรอน จากพันธะคู่ไปยงั ประจุบวก และ สบื คน้ เกย่ี วกบั พอลิเมอรน์ ำไฟฟ้าชนดิ อืน่ โดยให้สังเกต
โครงสร้างทีม่ ีพันธะคสู่ ลับกับพันธะเด่ียว จากแหล่งการเรยี นรตู้ ่างๆส่งตวั แทนออกมาอธบิ ายหน้าชัน้ อกี คร้ัง
เพ่ือให้นกั เรียนกลมุ่ อนื่ ได้รบั ฟังด้วยนำเสนอหน้าชั้นเรยี น

5. ขั้นการบริการสงั คมและสาธารณะ (Public Service)
5.1 นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกันตอบคำถามท้ายบทเรียนตามรายละเอยี ดในชุดกจิ กรรม
5.2 ครูและนกั เรยี นรว่ มกันเฉลยคำถามท้ายบทเรียน

13. ส่ือการเรยี นรู้/แหลง่ เรียนรู้
13.1 ส่ือการเรียนรู้
- ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนโิ สมนสิการ เรอ่ื งปโิ ตรเล่ยี ม
- สือ่ power point
13.2แหล่งเรยี นรู้
1) อนิ เตอรเ์ นต็ 2) ห้องสมุด

14. บันทึกหลังการจดั การเรยี นรู้

47


Click to View FlipBook Version