The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2020-08-13 20:57:01

วิชาวิทยาศาตร์พื้นฐาน1

วิชา ว 21101

หลกั สตู รรายวชิ า
และแผนการจดั การเรยี นรู้

รหัสวิชา ว 21101

รายวชิ าพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ 1
จำนวน 1.5 หน่วยกติ 3 คาบ/สปั ดาห์
ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1

ปีการศึกษา 2562

จดั ทำโดย

นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรตั น์

ตำแหน่ง ครูชำนาญการ
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์
โรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม
แขวงศริ ริ าช เขตบางกอกน้อย

กรงุ เทพมหานคร

สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาการมัธยมศึกษา เขต 1
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

หลักสูตรรายวชิ า

(Course Development)

รหัสวิชา.... ว 21101...รายวิชา....วิทยาศาสตร์..1.......
จำนวน....1.5.... หน่วยกิต ....3..... คาบ/ สปั ดาห์
ภาคเรยี นที่ ...1... ปีการศกึ ษา …2562…..

จัดทำโดย

.........นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกลุ รัตน.์ ........

ตำแหนง่ ....ครูชำนาญการ...........

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้.....วทิ ยาศาสตร์......

โรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม แขวงศิรริ าช เขตบางกอกนอ้ ย กรงุ เทพมหานคร
สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาการมัธยมศกึ ษา เขต 1

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ

หลกั สตู รรายวิชาฉบับน้ีจัดทำขึ้นเพื่อเตรยี มการในการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าวทิ ยาศาสตรส์ รา้ งสรรค์ 1รหัส
วชิ า ว 21101 โดยครูผู้สอนได้ทำการศึกษาและวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้
ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้ และจัดทำคำอธิบายรายวิชา โครงสรา้ งรายวชิ า กำหนดเวลาเรียน น้ำหนักคะแนน กำหนด
ทักษะกระบวนการในการเรียนการสอนตลอดจนการวัดและประเมินผลการเรยี นการสอนของครู

ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้และยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนของผูเ้ รยี นโรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาการมธั ยมศกึ ษา เขต 1 ต่อไป

นางสาวอโนชา อทุ ุมสกลุ รัตน์
ชื่อผจู้ ดั ทำ

สารบญั หนา้

คำนำ 1
1. หลกั การและจดุ มุ่งหมายของหลกั สตู รการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน 2551 1
1
หลักการ 2
จุดหมาย 2
2. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน 3
3. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 3
4. วสิ ยั ทศั น์ของโรงเรยี น 3
พันธกิจ 4
เป้าประสงค์ 4
5. การกำหนดโครงการสอน 4
คำอธิบายรายวิชา (ดรู ายละเอยี ดจากหลักสตู ร) 5
สาระ/มาตรฐาน/ตวั ชวี้ ดั (แกนกลาง) 5
มาตรฐานการเรยี นรู้ (ดูรายละเอียดจากหลกั สูตร) 5
ตวั ชีว้ ัด หรือผลการเรยี นรู้ (ดรู ายละเอยี ดจากหลกั สตู ร) 6
6. ตารางโครงสรา้ งรายวชิ า 7
7. การกำหนดโครงการสอนและกจิ กรรมตลอดภาคเรยี น 7
8. แผนการวัดผลและภาระงาน 7
แนวการวัดผล 8
แผนการวดั ผล
การกำหนดภาระงานนักเรียน

1. หลักการและจดุ มุ่งหมายของหลักสูตรการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน 2551 1

หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน มงุ่ พฒั นาผูเ้ รียนทกุ คน ซ่ึงเปน็ กำลังของชาตใิ ห้เปน็ มนษุ ย์ทมี่ คี วาม

สมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมอื งไทยและเป็นพลโลก ยึดม่นั ในการปกครองตาม

ระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทงั้ เจตคติ ท่ีจำเป็นต่อ

การศกึ ษาตอ่ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคัญบนพ้นื ฐานความเชอ่ื ว่า

ทกุ คนสามารถเรยี นรู้และพฒั นาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ

หลักการ
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีหลักการทีส่ ำคญั ดังนี้
1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็น

เป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทย
ควบคู่กบั ความเป็นสากล

2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี
คุณภาพ

3. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้
สอดคลอ้ งกับสภาพและความต้องการของทอ้ งถิ่น

4. เป็น หลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่ นทั้งด้าน สาระการเรียนรู้ เวลาและการจัด
การเรยี นรู้

5. เป็นหลกั สตู รการศกึ ษาทีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสำคญั
6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลมุ่ เปา้ หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

จุดหมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งพัฒ นาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญ ญ า มีความสุข

มศี ักยภาพในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชีพ จงึ กำหนดเป็นจุดหมายเพ่อื ให้เกิดกับผู้เรยี น เมื่อจบการศกึ ษาข้ัน
พ้ืนฐาน ดงั น้ี

1. มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

2. มคี วามรู้ ความสามารถในการสือ่ สาร การคดิ การแก้ปัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมที กั ษะชีวติ
3. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตทีด่ ี มีสขุ นิสัย และรกั การออกกำลงั กาย
4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถชี ีวติ และการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข
5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม มีจิต
สาธารณะท่มี ุ่งทำประโยชน์และสรา้ งสิ่งท่ีดงี ามในสงั คม และอยรู่ ่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข

2. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น 2

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ม่งุ ให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคญั 5 ประการ ดงั น้ี

1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา

ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ

ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเองและสงั คม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลดปัญหา

ความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้

วธิ ีการสื่อสาร ทม่ี ีประสทิ ธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทม่ี ตี ่อตนเองและสงั คม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง

สรา้ งสรรค์ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และการคดิ เปน็ ระบบ เพ่ือนำไปสู่การสร้างองคค์ วามรหู้ รือสารสนเทศเพื่อ

การตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั ตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปญั หา เปน็ ความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ทเี่ ผชิญได้อย่าง

ถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ

เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา

และมกี ารตดั สนิ ใจทีม่ ปี ระสิทธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบท่เี กดิ ขึน้ ต่อตนเอง สังคมและสง่ิ แวดลอ้ ม

4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ ไปใชใ้ นการดำเนิน

ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ

สร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรับตวั ให้

ทนั กบั การเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการรู้จักหลีกเล่ยี งพฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงค์ทีส่ ง่ ผลกระทบ

ตอ่ ตนเองและผูอ้ ่นื

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมี

ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทำงาน การ

แก้ปญั หาอยา่ งสร้างสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม

3. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน มุง่ พัฒนาผู้เรยี นให้มคี ุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เพื่อใหส้ ามารถ
อย่รู ่วมกับผูอ้ ่ืนในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังน้ี

1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซ่อื สตั ย์สจุ ริต
3. มีวนิ ัย
4. ใฝเ่ รียนรู้
5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง
6. มงุ่ มั่นในการทำงาน
7. รักความเปน็ ไทย
8. มจี ิตสาธารณะ

3

4. วิสัยทศั น์ของโรงเรียน

โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม เปน็ โรงเรียนส่งเสริมทกั ษะการคดิ เพื่อพัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีความรู้
คูค่ ุณธรรม บนพนื้ ฐานความเปน็ ไทยและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

พันธกจิ
1) จดั การเรียนการสอนเพอ่ื พัฒนาคุณภาพผู้เรยี น
2) พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
3) การบริหารจัดการสถานศกึ ษา
4) พัฒนาชมุ ชน สงั คม ธำรงสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์

เปา้ ประสงค์
1) ผู้เรียนมีคุณสมบัติตามมาตรฐานนักเรียนโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม 10 ข้อ ได้แก่ ทดแทน

บญุ คุณบิดามารดา มาโรงเรียนเชา้ เขา้ ห้องเรยี นเสมอ พบเจอครูเคารพ คบหาเพื่อนดี สามัคคีหมู่คณะ ละเลิกสิ่ง
ชั่ว ประพฤตติ ัวดี มนี ำ้ ใจ ใหเ้ กียรตกิ นั และมคี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลกั สตู ร

2) ผูเ้ รียนมีส่วนรว่ มในการสบื สาน อนุรกั ษ์ ประเพณี และวัฒนธรรมไทย
3) ผู้เรียนนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นการดำเนินชวี ิต
4) ผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางวิชาการ สื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา ล้ำหน้าทางความคิด ผลิตผลงาน
สร้างสรรค์ และรว่ มกนั รับผิดชอบสังคม
5) ผู้เรียนมีสุขภาพพลานามัยแข็งแรง จิตใจร่าเรงิ แจ่มใส มีสุขภาพจิตท่ีดี ปลอดจากสิ่งเสพติด อบายมุข
และโรคเอดส์
6) ครูออกแบบและจัดการเรียนรู้ท่ีตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา
ตามศักยภาพ
7) ครแู ละบคุ ลากรมคี วามรูแ้ ละจรยิ ธรรม มีศักยภาพในหนา้ ทีข่ องตน
8) สถานศกึ ษามสี ภาพแวดลอ้ มและการบรกิ ารท่ีเอือ้ ต่อการเรียนรู้
9) สถานศกึ ษามีการบรหิ ารจดั การดว้ ยระบบคุณภาพ
10) มีการประสานงานกับคณะกรรมการสถานศึกษาฯ สมาคมศิษย์เก่า เครือข่ายผู้ปกครอง และ
หนว่ ยงานอน่ื ๆท่เี กย่ี วข้อง เนน้ การมสี ่วนร่วมของผู้เก่ยี วขอ้ งทกุ ฝา่ ยในการพฒั นาโรงเรียน

5. การกำหนดโครงการสอน/คำอธบิ ายรายวชิ า 4

โครงการสอนรายวิชา
รหัสวชิ า.... ว 21101 ...รายวชิ า....วิทยาศาสตร์..1.......
จำนวน....1.5.... หน่วยกติ ....3..... คาบ/ สปั ดาห์ ภาคเรยี นท่ี ...1... ปีการศึกษา …2562…..

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด (แกนกลาง)
สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสงิ่ มชี ีวิตหน่วยพนื้ ฐานของสิ่งมีชีวติ การลำเลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์
ความสัมพันธ์ของโครงสรา้ งและหน้าที่ของระบบตา่ งๆของสัตว์และมนุษย์ท่ที ำงานสัมพนั ธ์กันความสัมพันธ์ของ
โครงสร้างและหน้าทขี่ องอวัยวะต่างๆของพชื ทท่ี างานสมั พันธ์กัน รวมท้งั นาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์
สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบัติของสสารองคป์ ระกอบของสสารความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสมบัตขิ องสสารกับโครงสรา้ ง
และแรงยดึ เหนย่ี วระหว่างอนภุ าคหลักและธรรมชาติของการเปลยี่ นแปลงสถานะของสสารการเกิดสารละลายและ
การเกดิ ปฏิกิริยาเคมี
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคดิ หลกั ของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสงั คมทมี่ กี ารเปลีย่ นแปลงอยา่ ง
รวดเรว็ ใช้ความร้แู ละทกั ษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตรอ์ นื่ ๆ เพ่ือแก้ปญั หาหรือพฒั นางาน
อยา่ งมคี วามคดิ สร้างสรรคด์ ว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เลือกใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสมโดยคำนึงถงึ
ผลกระทบต่อชวี ิต สงั คม และสิ่งแวดล้อม
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคดิ เชงิ คำนวณในการแก้ปญั หาทพี่ บในชีวติ จรงิ อยา่ งเป็น
ข้นั ตอนและเป็นระบบใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารในการเรียนรกู้ ารทางานและการแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพร้เู ทา่ ทันและมีจริยธรรม
คำอธบิ ายรายวิชา (ดูรายละเอยี ดจากหลกั สูตร)

การศกึ ษาวเิ คราะห์การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ สมบตั ิของสารบริสุทธ์ิ การจำแนกและองคป์ ระกอบของ
สารบริสทุ ธิ์ เซลล์ โดยใช้กล้องจลุ ทรรศน์ การลำเลยี งสารเข้าออกจากเซลล์ การสืบพนั ธุแ์ ละขยายพันธ์พุ ชื ดอก
การสังเคราะห์ดว้ ยแสง กรลำเลยี งนำ้ ธาตอุ าหาร และอาหารของพืช ทงั้ นโ้ี ดยใช้ โดยใชก้ ารสบื เสาะหาความรู้
การสำรวจตรวจสอบ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 การสืบคน้ ข้อมลู
และการอภิปราย และวิเคราะห์สาเหตุหรอื ปัจจยั ทสี่ ่งผลต่อ ปญั หาหรือความตอ้ งการ รวบรวม วิเคราะหข์ ้อมูล
และแนวคิดท่ีเก่ยี วขอ้ ง กบั ปญั หา ออกแบบวิธีการแก้ปญั หา โดยวเิ คราะห์ เปรยี บเทียบ และตดั สินใจเลือกข้อมูลที่
จำเปน็ นำเสนอแนวทางการแกป้ ญั หาให้ผอู้ นื่ เขา้ ใจ วางแผนและดำเนินการแก้ปญั หา ทดสอบ ประเมนิ ผล และ
ระบุข้อบกพร่อง ท่ีเกดิ ขึ้น พรอ้ มทง้ั หำแนวทางการปรบั ปรงุ แกไ้ ข เพอ่ื แกป้ ัญหา และใช้เทคโนโลยไี ด้อย่างถูกตอ้ ง
เหมาะสม และปลอดภยั

เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสนิ ใจ
การแกป้ ัญหา การนาความรู้ไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คณุ ธรรม และค่ำนยิ มท่ีเหมาะสม

5

มาตรฐานการเรยี นรู้ (ดูรายละเอยี ดจากหลกั สูตร)

สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของส่ิงมชี ีวติ หน่วยพนื้ ฐานของสงิ่ มชี ีวิต การลำเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์

ความสมั พันธ์ของโครงสรา้ งและหน้าทข่ี องระบบตา่ ง ๆ ของสัตว์และมนษุ ยท์ ที่ ำงานสมั พนั ธ์กนั ความสมั พันธ์ของ

โครงสรา้ งและหน้าทขี่ องอวัยวะต่าง ๆ ของพชื ที่ทางานสมั พนั ธ์กัน รวมท้ังนำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1เข้าใจสมบตั ิของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสมบัตขิ องสสารกบั โครงสรา้ ง

และแรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาตขิ องการเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย

และการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี

ตวั ช้ีวัด หรือผลการเรียนรู้ (ดูรายละเอียดจากหลักสูตร)

ว 1.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4, ม.1/5, ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8, ม.1/9, ม.1/10, ม.1/11, ม.1/12,

ม.1/13, ม.1/14, ม.1/15, ม.1/16, ม.1/17, ม.1/18

ว 2.1 ม.1/1,1/2,1/3,1/4, 1/5,1/6,1/7,1/8,1/9,1/10

ว 4.1 ม.1/2, ม.1/3, ม.1/4

ว 4.2 ม.1/3, ม.1/4

รวมตัวช้ีวัด 33 ตวั ชี้วดั

6. ตารางโครงสรา้ งรายวชิ า

ลำดับ ชือ่ หน่วยการ ตวั ชวี้ ัด หรอื วธิ ีการประเมิน เวลา นำ้ หนกั

ท่ี เรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ (ชั่วโมง) คะแนน

1 เราจะเรียนรู้ ว 4.1 ม.1/2,1/3,1/4 1. ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 9 10

วทิ ยาศาสตร์ ว 4.2 ม.1/3, ม.1/4 2. สบื ค้นขอ้ มูล/อภปิ รายกลุ่ม

อยา่ งไร

2 สมบตั ิของสาร ว2.1ม.1/1,1/2,1/3 1. ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 18 20

และการ 1/4, 1/5,1/6,1/7 2. สืบคน้ ขอ้ มลู /อภปิ ราย

จำแนกสาร 1/8, 1/9,1/10 กลุ่ม

สอบกลางภาค

3 หนว่ ยพื้นฐาน ว 1.2 ม.1/1, ม.1/2, ม. 1. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 12 20

ของสง่ิ มชี วี ิต 1/4,ม.1/5 2. สบื คน้ ข้อมลู /อภปิ ราย

กลุ่ม

4 การดำรงชวี ติ ว 1.2 ม.1/6, ม.1/7, 1. ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 21 10

ของพชื ม.1/8, ม.1/9, ม.1/10, 2. สืบค้นข้อมูล/อภปิ ราย

ม.1/11, ม.1/12, กลมุ่

6

ม.1/13, ม.1/14, ม.
1/15, ม.1/16, ม.1/17,
ม.1/18

สอบปลายภาค --
จิตพิสยั
รวม

อัตราส่วนคะแนน
คะแนนเก็บระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20

K : P : A = 40 : 60 : …..
รวม 100 คะแนน

คะแนนเกบ็ ก่อนสอบกลางภาค = 30 คะแนน

สอบกลางภาค = 20 คะแนน

คะแนนเก็บกอ่ นสอบปลายภาค = 30 คะแนน

คุณลักษณะ / จิตพิสัย = - คะแนน

สอบปลายภาค = 20 คะแนน

รวม 100 คะแนน

7. การกำหนดโครงการสอนและกิจกรรมตลอดภาคเรียน

สัปดาห์/ หนว่ ยการเรยี นรู/้ ตัวชีว้ ัด/ กจิ กรรม / เวลา
แผนการ เน้ือหา ผลการเรยี นรู้ กระบวนการเรียนรู้ (ชว่ั โมง)
เรยี นรทู้ ี่
9
1-3 เราจะเรียนรู้ ว 4.1 ม.1/2,1/3,1/4 รปู แบบการเรยี นรแู้ บบโยนิโส
18
วิทยาศาสตร์อยา่ งไร ว 4.2 ม.1/3,1/4 มนสกิ ารตามขัน้ ตอนดงั นี้
12
1. ขั้นพฒั นาปญั ญา

2. ขน้ั นำปญั ญาพฒั นาความคิด

3. ขั้นนำปญั ญาพัฒนาตนเอง

4-9 สมบตั ขิ องสารและการ ว2.1 ม.1/1,1/2,1/3 รปู แบบการเรียนรแู้ บบโยนโิ ส

จำแนกสาร 1/4, 1/5,1/6,1/7 มนสิการตามขน้ั ตอนดังนี้

1/8,1/9,1/10 1. ขน้ั พฒั นาปัญญา

2. ขัน้ นำปญั ญาพัฒนาความคดิ

3. ขั้นนำปัญญาพฒั นาตนเอง

10-13 หน่วยพ้นื ฐานของ ว1.2 ม.1/1,1/2,1/4 รูปแบบการเรยี นร้แู บบโยนิโส

7

สง่ิ มีชวี ติ มนสกิ ารตามขน้ั ตอนดังนี้

1. ขน้ั พัฒนาปญั ญา

2. ขั้นนำปัญญาพฒั นาความคดิ

3. ขน้ั นำปัญญาพัฒนาตนเอง

14-20 การดำรงชวี ิตของพชื ว1.2 ม. 1/6, 1/7 รปู แบบการเรียนรู้แบบโยนโิ ส 21

1/8,1/9,1/10, 1/11 มนสิการตามข้นั ตอนดงั น้ี

1/12, 1/13, 1. ขนั้ พัฒนาปญั ญา

1/14, 1/15, 1/16, 2. ขั้นนำปญั ญาพัฒนาความคดิ

1/17, 1/18 3. ขั้นนำปัญญาพัฒนาตนเอง

8. แผนการวดั ผลและภาระงาน

แนวการวดั ผล อัตราสว่ น คะแนนระหวา่ งภาค : คะแนนปลายภาค = ...80.... : ....20.....

อตั ราส่วน คะแนน K : P : A = ....40... : ...60... : ............

แผนการวดั ผล

การประเมนิ คะแนน วธิ วี ัด ชนดิ ของเคร่ืองมือ ตัวช้วี ัด/ผลการ เวลาทใ่ี ช้
เรียนรขู้ อ้ ท่ี (นาท/ี คร้งั )

ก่อนกลางภาค 30 1.สืบคน้ ขอ้ มลู ชุดกิจกรรม ว 4.1 ม.1/2,1/3 50 นาที/ครั้ง

2.อภิปรายกลมุ่ วทิ ยาศาสตร์ 1/4

ว 4.2 ม.1/3,ม.1/4

ว 2.1, ม.1/1,1/2

1/3,1/4, /5,1/6,1/7

1/8,1/9,1/10

กลางภาค 20 สอบ แบบวัดผลสมั ฤทธ์ิ ว 4.1 ม.1/2,1/3 60 นาที/ครง้ั

1/4

ว 4.2 ม.1/3,ม.1/4

ว 2.1, ม.1/1,1/2

1/3,1/4, /5,1/6,1/7

1/8,1/9,1/10

หลังกลางภาค 30 1.สบื คน้ ข้อมลู ชดุ กิจกรรม ว1.2 ม.1/1,1/2,1/4 50 นาที/ครั้ง

2.อภิปรายกลุม่ วทิ ยาศาสตร์ 1/5,1/6,1/7,1/8,1/9

1/10,1/11, 1/12,

1/13,1/14, 1/15,

1/16,1/17, 1/18

คณุ ลักษณะ / - - - - ตลอด

จติ พสิ ยั ภาคเรียน

8

ปลายภาค 20 สอบ แบบวดั ผลสัมฤทธิ์ ว1.2 ม.1/1,1/2,1/4 60 นาที/คร้ัง

1/5,1/6,1/7,1/8,1/9

1/10,1/11, 1/12,

1/13,1/14, 1/15,

1/16,1/17, 1/18

รวม 100 คะแนน

การกำหนดภาระงานนักเรียน

ในการเรยี นรายวชิ า..วทิ ยาศาสตร.์ .1..ได้กำหนดให้นักเรียนทำกจิ กรรม/ ปฏิบัตงิ าน(ชิน้ งาน)….22....ชน้ิ

ดังนี้

ท่ี ช่ืองาน ตัวชี้วัด/ผลการ ประเภทงาน กำหนดส่ง
เรียนรูข้ อ้ ที่ กลุม่ เดย่ี ว วัน/เดือน/ปี

1 รายงานการทดลอง 1 น้ำสเี คลอื่ นท่ี ว 4.1 ม.1/2,1/3  10 มิ.ย. 62

อยา่ งไร 1/4

2 จรวดกระดาษ ว 4.2 ม.1/3,ม.1/4  14 ม.ิ ย. 62

3 รายงานการทดลอง 2 จุดเดือดของสาร ว 2.1, ม.1/1,1/2  21 มิ.ย. 62

1/3,1/4, 1/5,1/6

1/7,1/8,1/9,1/10

4 รายงานการทดลอง 3 จุดหลอมเหลว ว 2.1, ม.1/1,1/2  21 มิ.ย. 62

ของสาร 1/3,1/4, 1/5,1/6

1/7,1/8,1/9,1/10

5 รายงานการทดลอง 4 ความหนาแนน่ ว2.1 ม.1/1,1/2  5 ก.ค. 62

1/3,1/4, 1/5,1/6

1/7,1/8,1/9,1/10

6 รายงานการทดลอง 5 องคป์ ระกอบ ว2.1 ม.1/1,1/2  12 ก.ค. 62

สารบรสิ ุทธ์ 1/3,1/4, 1/5,1/6

1/7,1/8,1/9,1/10

7 รายงานการทดลอง 6 โครงสรา้ ง ว2.1 ม.1/1,1/2  2 ส.ค. 62

อะตอม 1/3,1/4, 1/5,1/6

1/7,1/8,1/9,1/10

8 รายงานการทดลอง 7 จำแนกธาตุ ว2.1 ม.1/1,1/2  9 ส.ค. 62

1/3,1/4, 1/5,1/6

1/7,1/8,1/9,1/10

9 รายงานการทดลอง 8 โลกใต้กล้อง ว1.2 ม.1/1,1/2  16 ส.ค. 62

จุลทรรศน์ 1/4

10 รายงานการทดลอง 9 เซลล์พชื เซลล์ ว1.2 ม.1/1,1/2  9
 23 ส.ค. 62
สตั ว์ 1/4  30 ส.ค. 62
6 ก.ย. 62
11 รายงานการทดลอง 10 อนภุ าคของสาร ว1.2 ม.1/1,1/2  13 ก.ย. 62

มีการเคลือ่ นที่อยา่ งไร 1/4  16 ก.ย. 62

12 รายงานการทดลอง 11 น้ำเคล่อื นท่ี ว1.2 ม.1/1,1/2  16 ก.ย. 62

ผ่านเยื่อเลอื กผ่านอยา่ งไร 1/4  16 ก.ย. 62

13 รายงานการทดลอง 12 การถ่ายละออง ว1.2 ม. 1/5,1/6  17 ก.ย. 62

เรณเู กิดได้อย่างไร 1/7,1/8,1/9,1/10  17 ก.ย. 62

1/11, 1/12, 1/13

1/14, 1/15, 1/16

1/17, 1/18

14 รายงานการทดลอง 13 เมล็ดงอกได้ ว1.2 ม. 1/5,1/6

อย่างไร 1/7,1/8,1/9,1/10

1/11, 1/12, 1/13

1/14, 1/15, 1/16

1/17, 1/18

15 รายงานการทดลอง 14 การขยายพนั ธ์ ว1.2 ม. 1/5,1/6

พชื 1/7,1/8,1/9,1/10

1/11, 1/12, 1/13

1/14, 1/15, 1/16

1/17, 1/18

16 รายงานการทดลอง 15 ปัจจัยสร้าง ว1.2 ม. 1/5,1/6

อาหารของพืช 1/7,1/8,1/9,1/10

1/11, 1/12, 1/13

1/14, 1/15, 1/16

1/17, 1/18

17 รายงานการทดลอง 16 การสงั เคราะห์ ว1.2 ม. 1/5,1/6

ดว้ ยแสง 1/7,1/8,1/9,1/10

1/11, 1/12, 1/13

1/14, 1/15, 1/16

1/17, 1/18

18 รายงานการทดลอง 17 ปัจจยั การสรา้ ง ว1.2 ม. 1/5,1/6

อาหารของพืช 1/7,1/8,1/9,1/10

1/11, 1/12, 1/13

1/14, 1/15, 1/16 10
17 ก.ย. 62
1/17, 1/18 17 ก.ย. 62
17 ก.ย. 62
19 รายงานการทดลอง 18 ผลผลิตจากการ ว1.2 ม. 1/5,1/6   18 ก.ย. 62

สรา้ งอาหารของพชื 1/7,1/8,1/9,1/10 

1/11, 1/12, 1/13

1/14, 1/15, 1/16

1/17, 1/18

20 รายงานการทดลอง 19 ธาตอุ าหารของ ว1.2 ม. 1/5,1/6

พืช 1/7,1/8,1/9,1/10

1/11, 1/12, 1/13

1/14, 1/15, 1/16

1/17, 1/18

21 รายงานการทดลอง 20 การลำเลียง ว1.2 ม. 1/5,1/6

อาหารของพืช 1/7,1/8,1/9,1/10

1/11, 1/12, 1/13

1/14, 1/15, 1/16

1/17, 1/18

22 ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์

หากนักเรียนขาดสง่ งาน...-...ช้ิน หรอื ขาดสง่ ชิ้นงานที่ ...22.. จะได้รบั ผลการเรยี น “ร” ในรายวิชาน้ี

ลงชอ่ื ........................................ครูผสู้ อน ลงชื่อ...........................................หวั หน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทมุ สกุลรตั น์..) (นายสุรจกั ร์ิ แก้วมว่ ง.)

ลงชอื่ ........................................... ลงชอ่ื ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อุทมุ สกุลรัตน.์ .) (..นายศวิ าวุฒิ รัตนะ..)

หัวหนา้ งานนเิ ทศ หวั หนา้ กลุ่มบริหารวิชาการ

ลงชอื่ ........................................................
(...นายจงจดั จันทบ...)

ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 1
หน่วยการเรยี นรู้ที่…………...1..............เร่ือง.......................เราจะเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์อย่างไร............................
รายวชิ า……......วทิ ยาศาสตร์……..1.......รหัสวิชา…......ว 21101 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลุ่มสาระการเรยี นร.ู้ ...........วทิ ยาศาสตร์..........ปีการศึกษา.... 2562.......ภาคเรียนที่..1...เวลา...9...ชวั่ โมง……
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกุลรตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วดั /ผลการเรยี นรู้ (รายวิชาพน้ื ฐานมีท้ังมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้ีวดั
รายวชิ าเพม่ิ เติมมเี ฉพาะมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละผลการเรยี นร้)ู

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัด
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยเี พื่อการดารงชีวิตในสงั คมทม่ี กี ารเปลี่ยน

แปลงอยา่ งรวดเรว็ ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตร์อนื่ ๆ เพ่ือแกป้ ญั หา
หรือพฒั นางานอยา่ งมีความคิดสร้างสรรคด์ ว้ ยกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม เลอื กใช้เทคโนโลยอี ย่าง
เหมาะสมโดยคำนึงถงึ ผลกระทบตอ่ ชีวติ สังคม และสง่ิ แวดล้อม

ตัวชว้ี ัด
ว 4.1 ม.1/2 ระบุปัญหาหรอื ความตอ้ งการในชีวิตประจำวัน รวบรวม วิเคราะหข์ อ้ มูลและ
แนวคดิ ที่เก่ียวขอ้ งกบั ปญั หา
ว 4.1 ม.1/3 ออกแบบวิธีการแกป้ ญั หา โดยวเิ คราะห์เปรยี บเทยี บ และตัดสินใจเลอื กขอ้ มลู ที่
จำเปน็ นำเสนอแนวทางการแก้ปญั หาใหผ้ อู้ ่นื เขา้ ใจ วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา
ว 4.1 ม.1/4 ทดสอบ ประเมนิ ผล และระบุข้อบกพร่องทเี่ กดิ ขึ้น พรอ้ มทง้ั หาแนวทางการ
ปรับปรุงแกไ้ ขและนำเสนอผลการแกป้ ญั หา
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการแกป้ ัญหาท่ีพบในชวี ิตจริงอยา่ งเป็น
ขัน้ ตอนและเป็นระบบใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการเรยี นรกู้ ารทางานและการแก้ปญั หาได้
อย่างมีประสทิ ธภิ าพรู้เทา่ ทนั และมีจริยธรรม
ตวั ชี้วัด ว 4.2 ม.1/3, ม.1/4
ว 4.2 ม.1/3 รวบรวมข้อมูลปฐมภมู ิ ประมวลผล ประเมินผล นำเสนอข้อมลู และสารสนเทศ
ตามวัตถุประสงค์โดยใชซ้ อฟต์แวร์ หรอื บรกิ ารบนอินเทอร์เนต็ ท่ีหลากหลาย
ว 4.2 ม.1/4 ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั ใช้สอื่ และแหลง่ ขอ้ มูลตามข้อกำหนดและ
ขอ้ ตกลง

1

2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวช้ีวัดท่ใี ช้ในหน่วยการเรยี นรู้น้เี ขยี นเปน็ แบบความเรยี ง)
องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องนับแต่อดีตยุคโบราณ จนกระทั่งปัจจุบัน

วิทยาศาสตร์เป็นความรู้เก่ียวกับธรรมชาติซ่ึงสามารถอธิบายได้ด้วยหลักฐานและความเป็นเหตุเป็นผลทาง
วิทยาศาสตร์ ความเช่ือ หรอื เรื่องราวท่ีเล่าต่อๆ กันมา โดยไม่สามารถอธิบายได้ด้วยหลักการและเหตุผลทาง
วิทยาศาสตร์ไม่จัดเป็นวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์เป็นจุดเร่ิมต้นของเทคโนโลยีท่ีอำนวยความสะดวกและ
ตอบสนองความต้องการในดา้ นตา่ ง ๆ ของมนุษย์ วิทยาศาสตร์เก่ยี วขอ้ งและส่งผลกระทบตอ่ การดำรงชวี ิตของ
ทุกคนจึงจำเป็นต้องเรียนรู้วิทยาศาสตร์แม้มิได้ประกอบอาชีพเป็นนักวิทยาศาสตร์ก็ตาม เพื่อให้สามารถ
ดำรงชวี ิตได้อย่างมคี ุณภาพและมีสว่ นร่วมในสังคมปจั จุบันไดอ้ ยา่ งภาคภมู ิ

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการที่กระทำเพ่ือให้ได้มาซ่ึงความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็น
กระบวนการท่ีประกอบด้วย การสังเกตและระบุปัญหา การต้ังสมมุติฐาน การวางแผน การสำรวจ หรือการ
ทดลอง รวมท้ังการเก็บข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูลและสร้างคำอธิบาย การสรปุ ผลและการสอ่ื สาร โดยขั้นตอน
ต่าง ๆ ดังกล่าวสามารถเพิ่มเติม ลดทอนสลับลำดับ ตามความเหมาะสม ในการทำงานเพื่อให้ได้มาซ่ึงองค์
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีถูกต้อง แม่นยำ และครอบคลุมต้องอาศัยทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ซึ่งปัจจุบันประกอบด้วย 14 ทักษะ ได้แก่ การสังเกตการวัด การจำแนกประเภท การหา
ความสมั พันธร์ ะหว่างสเปซกับสเปซและสเปซกบั เวลา การใชจ้ ำนวน การจัดกระทำ และ สื่อความหมายข้อมูล
การลงความเหน็ จากข้อมูล การพยากรณ์ การตั้งสมมตุ ิฐาน การกำหนดนยิ ามเชงิ ปฏิบตั กิ าร การกำหนด
และควบคมุ ตวั แปร การทดลอง การตีความหมายของข้อมลู และลงข้อสรปุ และการสร้างแบบจำลอง

3. สาระการเรยี นรู้
3.1 สาระการเรยี นร้แู กนกลาง/สาระการเรยี นร้เู พ่ิมเติม (รายวชิ าเพิม่ เติม)
สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
• การแก้ปญั หาจำเป็นต้องสบื คน้ รวบรวมขอ้ มูล ความรู้จากศาสตรต์ ่าง ๆ ท่เี กีย่ วขอ้ ง เพ่ือนำไปสู่

การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา
• การวเิ คราะห์ เปรยี บเทยี บ และตดั สนิ ใจเลือกข้อมูลท่ีจำเป็น โดยคำนงึ ถึงเงื่อนไข และทรพั ยากรท่มี ี

อยู่ ช่วยใหไ้ ดแ้ นวทางการแกป้ ญั หาที่เหมาะสม
• การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาทำได้หลากหลายวธิ ี เชน่ การรา่ งภาพ การเขยี นแผนภาพ การ

เขยี นผังงาน
• การกำหนดข้นั ตอนและระยะเวลาในการทำงานก่อนดำเนินการแก้ปัญหาจะชว่ ยให้ทำงานสำเรจ็ ได้

ตามเป้าหมายและลดขอ้ ผิดพลาดของการทำงานทอ่ี าจเกิดข้นึ
• การทดสอบ และประเมินผลเป็นการตรวจสอบช้ินงานหรอื วธิ กี ารวา่ สามารถแก้ปญั หาได้ตาม

วตั ถุประสงค์ภายใตก้ รอบของปัญหา เพือ่ หาขอ้ บกพรอ่ ง และดำเนนิ การปรบั ปรงุ โดยอาจทดสอบซ้ำเพื่อให้
สามารถแก้ปัญหาได้

2

• การนำเสนอผลงานเปน็ การถ่ายทอดแนวคิดเพ่อื ใหผ้ ูอ้ น่ื เข้าใจเกย่ี วกบั กระบวนการทำงานและ

ชิ้นงานหรือวิธีการท่ีได้ ซง่ึ สามารถทำได้หลายวิธี เชน่ การเขียนรายงาน การทำแผน่ นำเสนอผลงาน การจดั

นทิ รรศการ การนำเสนอผ่านสื่อออนไลน์

• การรวบรวมข้อมลู จากแหลง่ ขอ้ มูลปฐมภูมิ ประมวลผล สรา้ งทางเลือก ประเมนิ ผล จะทำให้ได้

สารสนเทศเพ่ือใช้ในการแก้ปัญหาหรือการตดั สินใจไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

• การประมวลผลเป็นกำรกระทำกบั ขอ้ มูล เพือ่ ให้ได้ผลลพั ธ์ทม่ี ีความหมายและมปี ระโยชน์ตอ่ การ

นำไปใช้งาน สามารถทำได้หลายวธิ ี เช่น คำนวณอัตราส่วน คำนวณค่าเฉลย่ี

• การใช้ซอฟตแ์ วร์หรอื บรกิ ารบนอินเทอรเ์ น็ต ทหี่ ลากหลายในการรวบรวม ประมวลผล สร้าง

ทางเลอื ก ประเมินผล นำเสนอ จะช่วยให้แกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ถูกต้อง และแม่นยำ

• ตวั อยา่ งปัญหา เน้นการบรู ณาการกับวชิ าอืน่ เช่น ต้มไข่ใหต้ รงกบั พฤติกรรมการบริโภค คา่ ดัชนมี วล

กายของคนในทอ้ งถ่นิ การสรา้ งกราฟผลกำรทดลองและวิเคราะห์แนวโน้ม

• ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภัย เชน่ การปกปอ้ งความเป็นสว่ นตวั และอัตลักษณ์

• การจัดการอัตลักษณ์ เช่น การตั้งรหสั ผ่าน การปกป้องข้อมูลส่วนตวั

• การพิจารณาความเหมาะสมของเนอ้ื หา เช่น ละเมิดความเป็นส่วนตวั ผู้อ่นื อนาจาร วิจารณ์ผู้อื่น

อย่างหยาบคาย

• ขอ้ ตกลง ข้อกำหนดในการใช้สอื่ หรือแหลง่ ขอ้ มูลต่าง ๆ เช่น Creative commons

3.2 สาระการเรียนรทู้ อ้ งถิน่ (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพดู ถึงหลักสูตรท้องถ่ินให้ใส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน (เลอื กเฉพาะข้อทเ่ี กิดในหนว่ ยการเรียนรู้น้)ี

 1. ความสามารถในการสือ่ สาร  2. ความสามารถในการคดิ

 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต

 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

5. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (เลือกเฉพาะข้อท่ีเกิดในหนว่ ยการเรยี นรนู้ ี)้

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซ่อื สัตย์สุจริต

 3. มีวินัย  4. ใฝเ่ รียนรู้

 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุ่งมั่นในการทำงาน

 7. รักความเป็นไทย  8. มจี ติ สาธารณะ

6. ด้านคณุ ลกั ษณะของผเู้ รียนตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวชิ าการ  2. สอื่ สารสองภาษา  3. ล้ำหนา้ ทางความคดิ

 4. ผลติ งานอยา่ งสร้างสรรค์  5. รว่ มกนั รบั ผิดชอบตอ่ สงั คมโลก

7. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได้)  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )

3

 ทักษะดา้ นการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและทกั ษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)

 ทกั ษะด้านความเข้าใจความตา่ งวฒั นธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะดา้ นความร่วมมอื การทำงานเป็นทีมและภาวะผนู้ ำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทกั ษะด้านการสือ่ สาร สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันสือ่ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทักษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT

Literacy)

 ทกั ษะอาชีพ และทกั ษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)

 ความมีเมตตา (วนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

8. บรู ณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลุ่มใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในหอ้ งเรียนคือ

ประมาณกลุม่ ละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมีเหตผุ ล : ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบตั ิ , นักเรียนเกดิ ความ

ภาคภูมใิ จในผลงานของตนและส่ิงท่เี รยี นรู้

3. หลกั ภมู คิ มุ้ กัน : ใหน้ กั เรยี นเกิดทกั ษะการทำงานกล่มุ และกล้าแสดงออก , นกั เรยี นรู้จกั การวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชกิ ภายในกลมุ่ ได้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคล

4. เงอ่ื นไขความรู้ : การวางแผนงานทจี่ ะทำก่อนแลว้ ค่อยลงมอื ทำอย่างระมดั ระวงั

5. เงือ่ นไขคุณธรรม : อดทนทจี่ ะทำงาน และมีความขยนั ที่จะทำงานใหอ้ อกมาไดด้ ที ส่ี ุด , มีวนิ ัยในการ

ทำงาน

9. ชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตัวช้วี ัด ชิน้ งาน ภาระงาน

ว 4.1 ม.1/2 - แบบบนั ทึกการคน้ หาเรอื่ งราว - ก ารอ ภิ ป ราย ค วาม เช่ือ เก่ี ย วกั บ

เกี่ยวกบั “ จันทรปุ ราคา ความเชอ่ื จันทรุปราคา เป็นข้อมูลที่ไม่สามารถหา

เก่ียวกบั ราหอู มจนั ทร์ของคนสมยั หลักฐานมาพิสูจน์หรืออธิบายได้ ไม่

โบราณ” จัดเป็นวทิ ยาศาสตร์

ว 4.1 ม.1/3 - ชุดกิจกรรมฯร่วมกันคิด 1 เร่ืองตัว - ศึกษา / อภิปรายตามรายละเอียดใน

แปร (ระบุตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และ ชุดกจิ กรรม

ตัวแปรควบคมุ ) - อภปิ รายสรปุ เกย่ี วกบั ทกั ษะกระบวน

- ชุดกิจกรรมฯร่วมกนั คิด 2 เร่ืองทักษะ การทางวิทยาศาสตร์ เพ่อื ให้ได้ข้อสรุปว่า

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์จะ

4

ช่วยให้การสร้างความรู้ทางวิทยาศาสตร์

เป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

ว 4.1 ม.1/4 - รายงาน กิจกรรม น้ำสีเคลื่อนท่ี -อภปิ ราย เรือ่ ง การพัฒนาทกั ษะกระ
ว 4.2 ม.1/3
ว 4.2 ม.1/4 อยา่ งไร บวนการทางวิทยาศาสตร์ให้ดียิ่งขึ้น

นักเรยี นคิดว่าควรทำอย่างไร

- ประดิษฐ์จรวดกระดาษของใครบินได้ -สืบค้นและอภิปรายว่าจรวดกระดาษ

นานทสี่ ดุ ลักษณะแบบใดที่น่าจะร่อนอยู่ในอากาศ

ใหน้ านท่ีสุด

- รายงานกิจกรรม จรวดกระดาษของ - แข่งขันการร่อนจรวด

ใครบินไดน้ านทสี่ ดุ - จัดแสดงผลงานจรวดรวมทั้งเวลาเฉลี่ย

ทีจ่ รวดแต่ละช้นิ ใชใ้ นเวลาเคลอื่ นที่

10. การวัดประเมนิ ผล

10.1การวดั และประเมนิ ผลชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

วิธกี าร

1.การสงั เกตการณ์

2.การใชช้ ดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์รอ่ งรอยบ่งช้ี 3.การวัดประเมินการปฏบิ ตั ิ

เครอื่ งมือ

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมนิ การปฏิบตั ิ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผา่ น ผ่าน 1

รายการถือว่า ไมผ่ า่ น

10.2การวดั และประเมินผลระหวา่ งการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรียนรู้ของ

หน่วยการเรียนรนู้ )้ี

ส่ิงทตี่ ้องการวดั วิธวี ดั ผล เครือ่ งมอื วดั ผล เกณฑ์การประเมิน
- นักเรียนได้คะแนน
1. ความรเู้ กี่ยวกับ -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมินการ 12 คะแนนขน้ึ ไป
หรอื รอ้ ยละ 80
- ความสำคญั และความหมาย ความคิดเหน็ อภิปรายแสดงความ ถือว่าผา่ นเกณฑ์
ของวทิ ยาศาสตร์
ยกตัวอยา่ งการใช้ คดิ เห็น
- กระบวนการทาง
ประโยชน์จาก - แบบประเมนิ การ

5

วทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ในชีวติ ตรวจผลงานผูเ้ รยี น - นักเรยี นได้คะแนน
- ทกั ษะกระบวนการทาง ประจำวนั ประเมินผลงาน
วทิ ยาศาสตร์ -การตรวจผลงาน 13 คะแนนข้นึ ไป
นกั เรยี น หรือรอ้ ยละ 80
ถือว่าผ่านเกณฑ์
2.ทกั ษะกระบวนการคิด และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมินการ -นกั เรียนได้คะแนน
12 คะแนนขนึ้ ไป
ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ความคิดเหน็ ระบุ อภปิ รายแสดงความ หรอื รอ้ ยละ 80 ถือว่า
ผ่านเกณฑ์
ทักษะกระบวน คิดเห็น
- นักเรียนไดค้ ะแนน
การทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่ - แบบประเมิน ประเมนิ คณุ ลกั ษณะ
อนั พงึ ประสงค์
ได้ปฏิบตั ิจากกิจกรรม พฤตกิ รรมการ 26 คะแนนขน้ึ ไป
หรือร้อยละ 80
- สังเกตพฤตกิ รรมการ ทำงานกลุม่ ถือว่าผ่านเกณฑ์
- นักเรยี นได้คะแนน
ทำงานกล่มุ การประเมินสมรรถนะ
29 คะแนนขนึ้ ไป
3. คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ - สังเกตค่านิยมในการ - แบบประเมนิ หรอื รอ้ ยละ 80
ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์
และสมรรถนะผู้เรียน ทำงานรว่ มกบั ผูอ้ นื่ คณุ ลักษณะอันพึง

- มวี ินยั ในการทำงานกลุ่ม และการทำงานใน ประสงค์

- นกั เรยี นเหน็ ความสำคญั ระบบกลมุ่ - แบบประเมิน

ของการทำงานรว่ มกับผอู้ ืน่ และ อภิปราย แสดงความ สมรรถนะผู้เรยี น

การทำงานในระบบกลุ่ม คิดเหน็ เกีย่ วกับผลการ

- ยอมรบั ความคิดเหน็ ซึง่ กัน ทดลอง

และกันมคี วามเสยี สละและ

อดทน

11. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ชว่ั โมงที่ 1-2 (สปั ดาห์ท่ี 1)
1. ขน้ั ตัง้ ประเดน็ ปญั หา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)
1.1 นำเขา้ ส่หู นว่ ยที่ 1 เรียนรวู้ ิทยาศาสตรอ์ ยา่ งไร โดยให้นักเรียนศึกษาภาพนำหนว่ ยในหนงั สือเรียน

หรอื นำข้อมลู เกี่ยวกบั ความก้าวหนา้ ทางวทิ ยาศาสตรใ์ ห้นักเรยี นศกึ ษา พรอ้ มให้นักเรยี นร่วมกบั ยกตวั อย่าง
ความก้าวหน้าทางวทิ ยาศาสตรท์ นี่ กั เรยี นรจู้ กั

1.2 ครูใช้คำถามนำหน่วยกระตนุ้ ความสนใจของนักเรียนว่าวทิ ยาศาสตรค์ ืออะไร เราสามารถเรียนรู้
วทิ ยาศาสตรไ์ ดอ้ ย่างไร โดยใหน้ กั เรียนแสดงความคิดเหน็ ต่อคำถามดังกล่าวเพอ่ื สร้างความสนใจและมสี ่วนรว่ ม

6

ตอ่ ส่งิ ทีน่ ักเรยี นกำลงั จะไดเ้ รียนรู้ ครูไม่เฉลยคำตอบโดยชแ้ี จงวา่ นกั เรยี นจะไดเ้ รียนร้จู ากหนว่ ยการเรียน
ท่ี 1 เรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งไร

1.3 ครูและนกั เรียนรว่ มกนั คน้ ควา้ เกีย่ วกับความเชอ่ื ของคนสมยั ก่อนในเร่อื งสุริยุปราคาหรอื ราหอู มดวง
อาทติ ย์ และให้นักเรียนตอบคำถามระหว่างเรยี น

1.4 ครนู ำสนทนา ซักถาม เกย่ี วกบั การท่ีนักเรยี นได้ค้นควา้ เกีย่ วกับการเกดิ สรุ ิยปุ ราคามาแลว้ ให้
นกั เรียนลองเขยี นแผนภาพการเกดิ สรุ ยิ ุปราคาโดยแสดงตำแหนง่ ของ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์และโลกดงั นี้

1.5 ครูตั้งประเด็นคำถามเพื่อกระต้นุ ความสนใจให้นกั เรยี นคดิ ว่าวิทยาศาสตรค์ ืออะไร นักเรยี นสามารถ
แสดงความคิดเหน็ ได้โดยอสิ ระ

1.6 นักเรยี นอ่านเนอื้ หาในหนงั สอื เรียน/ชดุ กจิ กรรมเกย่ี วกบั ความสำคัญและความหมายของ
วิทยาศาสตร์ และตอบคำถามระหวา่ งเรยี น

- ยกตัวอยา่ งสงิ่ ทีเ่ ปน็ วทิ ยาศาสตรม์ า 2 ตวั อย่าง
แนวคำตอบ ตอบได้หลากหลายคำตอบ เชน่ การมองเหน็ สง่ิ ตา่ ง ๆ (เรามองเหน็ ได้เพราะแสงจาก
วตั ถสุ ะทอ้ นเข้าตาเรา) รถยนต์เคล่อื นท่ีไดเ้ พราะอาศัยเคร่อื งยนต์ และน้ำมันในการขับเคลื่อน การรับประทาน
อาหาร (มนุษยต์ อ้ งการสารอาหารเพ่อื การดำรงชวี ติ เราจงึ ตอ้ งรับประทานอาหาร)
- ยกตวั อย่างการใชป้ ระโยชน์จากวทิ ยาศาสตรใ์ นชวี ติ ประจำวันมา 2 ตวั อย่าง
แนวคำตอบ ตอบไดห้ ลากหลายคำตอบเช่น การเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะกบั เพศและวยั
และไดร้ ับสารอาหารครบถ้วน อาศัยความรทู้ างด้านสารอาหารที่จำเป็น การใชโ้ ทรศัพท์เพ่ือการสอ่ื สารอาศัย
เทคโนโลยที างการส่ือสารชว่ ย

1.7 นักเรียนร่วมกันอภปิ รายคำตอบของคำถามระหวา่ งเรียน เพื่อใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจความหมายของ
วทิ ยาศาสตร์และความสำคัญของวิทยาศาสตร์

เพอื่ ให้ไดข้ ้อสรปุ วา่ วิทยาศาสตร์เปน็ ความรู้เก่ยี วกบั ธรรมชาตซิ ่ึงสามารถอธบิ ายได้ด้วยหลักฐานและ
ความเปน็ เหตุเปน็ ผลทางวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์มใิ ช่ความรเู้ กี่ยวกับความจริงของธรรมชาตเิ พยี งอยา่ งเดยี ว
แตย่ งั ครอบคลมุ ไปถงึ การเรียนร้แู ละทำความเขา้ ใจความรนู้ ั้นอยา่ งเปน็ ระบบและเป็นเหตุเปน็ ผล วิทยาศาสตร์
มปี ระโยชน์และเก่ยี วขอ้ งกบั การดำรงชวี ิตของมนษุ ย์

7

1.8 ครูถามคำถามเพื่อสรา้ งความสนใจวา่ การสรา้ งความรู้ทางวิทยาศาสตรท์ ำไดอ้ ยา่ งไร หรือนกั
วทิ ยาศาสตรท์ ำงานอย่างไร

ชั่วโมงท่ี 3 (สัปดาห์ท่ี 1)
2. ขน้ั สืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายในประเด็นดงั ตอ่ ไปนี้

• กิจกรรมน้ีเกย่ี วกบั เรื่องอะไร (กระบวนการทำงานของนักวิทยาศาสตร์)
• การทำกิจกรรมมขี ้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (อา่ นข้อมลู การทำงานของนกั วทิ ยาศาสตร์ และวาด
แผนผงั กระบวนการทำงานของนกั วิทยาศาสตร)์
2.2 ให้นกั เรียนตอบคำถามทา้ ยกิจกรรมจากนัน้ ใหต้ ัวแทน 3-4 คนนำเสนอแผนผังกระบวนการทำงาน
ของนกั วทิ ยาศาสตร์
2.3 ใหน้ กั เรียนอ่านเน้อื หาในหนังสอื เรยี นเกย่ี วกับกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ จากนัน้ ตอบคำถาม
ระหวา่ งเรยี น
2.4 นกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายสรุปเกีย่ วกบั กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพอ่ื ให้ไดข้ อ้ สรปุ ว่า กระบวน
การทีใ่ ช้เพอ่ื ใหไ้ ด้มาซง่ึ ความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์เรยี กว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การสังเกตและระบุ
ปัญหา การตั้งสมมติฐานการวางแผน การสำรวจ หรือการทดลอง รวมทง้ั การเก็บขอ้ มูล การวิเคราะห์ขอ้ มูล
และสร้างคำอธิบาย การสรปุ ผลและการสื่อสาร โดยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์สามารถเพิม่ เตมิ ลดทอน
สลบั ลำดบั ได้ ตามความเหมาะสม
ชว่ั โมงท่ี 4-5 (สปั ดาห์ท่ี 2)
3. ข้ันสรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation)
3.1 นำเข้าส่กู ารเรียนรู้ในหัวข้อต่อไปน้ีว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์จำเปน็ ตอ้ งอาศัยทักษะกระ
บวนการทางวิทยาศาสตร์เพือ่ ช่วยใหก้ ารทำงานเป็นไปอย่างมีประสิทธภิ าพ
3.2 นกั เรยี นระดมสมองทำกจิ กรรมการเคลอ่ื นท่ีของนำ้ สี และวเิ คราะห์การใช้ทกั ษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์)
3.3 นักเรียนรว่ มกันทำกจิ กรรมมีข้ันตอนโดยสรปุ ดังน้ี (สังเกตการเคลอื่ นท่ีของนำ้ สเี มื่อนำแกว้ นำ้ ร้อน
ประกบลงบนแกว้ นำ้ เยน็
จากนั้นพยากรณ์วา่ เมอ่ื นำแก้วน้ำเย็นประกบลงบนแกว้ น้ำร้อนจะเกดิ อะไรขึ้น จากนน้ั นำแกว้ น้ำเยน็ ประกบลง
บนแก้วน้ำร้อน)
ช่วั โมงที่ 6-7 (สัปดาห์ที่ 6-7)
4. ขั้นการส่อื สารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 นกั เรยี นแต่ละกลุม่ ทำกิจกรรมจรวดกระดาษของใครบินไดน้ านท่สี ุด ตามรูปแบบ วธิ กี ารและขนั้ ตอน
ทกี่ ำหนดในชดุ กิจกรรม

8

4.2 นกั เรยี นตรวจสอบความเรียบรอ้ ยของจรวดกระดาษและนำเสนอผลงาน แข่งขันการรอ่ นจรวด โดย

รว่ มกันตกลงกติกาการแข่งขนั และวิธกี ารสงั เกตวา่ จรวดใดอยู่ในอากาศไดน้ านท่ีสุด จากนน้ั แข่งขันร่อนจรวด

3 ครัง้ บันทกึ เวลาท่จี รวดอย่ใู นอากาศทงั้ 3 คร้ังและหาค่าเฉลีย่ ข้อตกลงร่วมกันในการสังเกตว่าจรวดใดอยใู่ น

อากาศไดน้ านที่สดุ

4.3 รว่ มกันอภปิ รายและลงขอ้ สรุป เก่ียวกบั ลักษณะรว่ มกันของจรวดกระดาษทสี่ ามารถร่อนอยใู่ น

อากาศได้นานที่สดุ

- จรวดรปู ร่างค่อนขา้ งแบนจะรอ่ นอยู่ในอากาศในนานกว่าจรวดรูปรา่ งอ่นื ๆ

5. ขัน้ การบรกิ ารสงั คมและสาธารณะ (Public Service)

นกั เรียนร่วมกนั เมอื่ ศึกษาทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในหนังสอื เรียนแล้ว จากกจิ กรรม

นกั เรยี นได้ฝึกทักษะกระบวนการวทิ ยาศาสตรใ์ ดบ้างในข้นั ตอนใด

- ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไดแ้ ก่ การสังเกต การวดั การจำแนก ประเภท การหา

ความสมั พันธร์ ะหวา่ งมติ กิ ับมิตแิ ละมิตกิ ับเวลาการคำนวณ การจดั กระทำและสอ่ื ความหมายขอ้ มูล การลง

ความเหน็ จากข้อมูล การพยากรณ์ การตง้ั สมมตฐิ าน การกำหนดนยิ ามเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร การกำหนดและ

ควบคุมตวั แปร การทดลอง การตคี วามหมายของขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ และการสร้างแบบจำลอง

12. สือ่ การเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้

12.1ส่อื การเรียนรู้

1) ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์เรื่องเรยี นรู้วิทยาศาสตร์อยา่ งไร

2) หนงั สอื แบบเรียน 3) สอื่ เพาเวอร์พอยต์

12.2 แหล่งเรียนรู้

1) อนิ เตอร์เนต็ 2) ห้องสมุด

13. บันทึกหลังการจดั การเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- ความหมายและความสำคัญของ ......................................................................................

วิทยาศาสตร์ ......................................................................................

- กระบวนการทำงานของนักวิทยาศาสตร์ ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ................................................................................

- ตระหนักถงึ คุณคา่ ของความรู้ทาง ......................................................................................

วทิ ยาศาสตรใ์ นการดำรงชวี ิตทำความเข้าใจ ......................................................................................
.....................................................................................
กระบวนการและทกั ษะทีใ่ ช้ในการสรา้ งองค์
......................................................................................
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
2. ด้านกระบวนการ :

- ทกั ษะกระบวนการคิด ......................................................................................

9

- ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

3. ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นยิ ม ......................................................................................

อันพึงประสงค์ : ......................................................................................

- มีวินยั ......................................................................................

- ใฝเ่ รียนรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................

- รกั ความเป็นไทย ......................................................................................

...............................................................................

......................................................................................

......................................................................................

4. ปญั หาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

5. วธิ ีแก้ปญั หา

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

ลงชอ่ื ........................................ครผู สู้ อน ลงช่ือ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์..) (นายสุรจกั ริ์ แก้วมว่ ง.)

ลงชื่อ........................................... ลงชื่อ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกุลรัตน.์ .) (..นายศวิ าวุฒิ รัตนะ..)

หวั หนา้ งานนเิ ทศ หัวหนา้ กล่มุ บริหารวชิ าการ

ลงชื่อ ........................................................
(...นายจงจดั จนั ทบ...)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม

10

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี…………...2..............เร่อื ง.......................สมบตั ิของสารบรสิ ุทธ์ิ...........................
รายวิชา……......วิทยาศาสตร์……..1.......รหัสวิชา…......ว 21101 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลุ่มสาระการเรยี นร้.ู ...........วิทยาศาสตร์..........ปีการศึกษา.... 2562.......ภาคเรียนที่..1...เวลา...9...ชว่ั โมง……
ผ้สู อน.........................นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู้ (รายวิชาพ้ืนฐานมีทงั้ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวช้วี ดั
รายวชิ าเพ่มิ เตมิ มีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรแู้ ละผลการเรียนร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวัด
สาระท่ี 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสมบตั ิ

ของสสารกบั โครงสรา้ งและแรงยดึ เหน่ยี วระหวา่ งอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ยี นแปลงสถานะของ
สสาร การเกิดสารละลาย และการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี

ตัวชวี้ ัด
ว 2.1 ม.1/4 เปรียบเทียบจุดเดือด จดุ หลอมเหลวของสารบริสทุ ธ์ิและสารผสม โดยการวัด
อุณหภูมิ เขยี นกราฟ แปลความหมายข้อมูลจากกราฟ หรือสารสนเทศ
ว 2.1 ม.1/5 อธิบายและเปรยี บเทียบความหนาแนน่ ของสารบริสุทธแิ์ ละสารผสม
ว 2.1 ม.1/6 ใชเ้ ครอ่ื งมือเพอ่ื วดั มวลและปริมาตรของสารบรสิ ทุ ธแิ์ ละสารผสม
2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวชว้ี ดั ท่ใี ช้ในหน่วยการเรยี นรนู้ ้ีเขียนเป็นแบบความเรยี ง)
สารบริสุทธิ์ประกอบด้วยสารเพียงชนิดเดยี ว ส่วนสารผสมประกอบด้วยสารต้ังแต่ 2 ชนดิ ข้นึ ไป สาร
บริสุทธ์ิแต่ละชนิดมีสมบัติบางประการท่ีเป็นค่าเฉพาะตัว มีค่าคงที่ เช่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว และความ
หนาแน่น แต่สารผสมมจี ุดเดือด จุดหลอมเหลว และความหนาแน่นไม่คงท่ี ขึ้นอยู่กับชนิดและสัดส่วนของสาร
ทผี่ สมอย่ดู ้วยกัน
3. สาระการเรยี นรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรยี นรเู้ พิ่มเตมิ (รายวชิ าเพิม่ เติม)
สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
• สารบริสุทธ์ปิ ระกอบด้วยสารเพยี งชนดิ เดยี วส่วนสารผสมประกอบดว้ ยสารตั้งแต่ 2 ชนดิ ขึ้นไป สาร
บริสทุ ธิแ์ ต่ละชนดิ มีสมบตั ิบางประการทเ่ี ป็นค่าเฉพาะตัว เชน่ จดุ เดือดและจุดหลอมเหลวคงที่ แต่สารผสมมจี ุด
เดือดและจุดหลอมเหลวไมค่ งท่ี ขน้ึ อยู่กบั ชนิดและสดั ส่วนของสารท่ีผสมอยดู่ ว้ ยกนั
• สารบริสทุ ธ์แิ ต่ละชนดิ มคี วามหนาแนน่ หรือมวลตอ่ หนึง่ หน่วยปรมิ าตรคงที่ เปน็ ค่าเฉพาะของสาร
น้นั ณ สถานะและอณุ หภมู หิ นึ่งแต่สารผสมมีความหนาแนน่ ไม่คงท่ขี ้ึนอยูก่ บั ชนิดและสัดส่วนของสารทผี่ สมอยู่
ด้วยกัน

11

3.2 สาระการเรียนรทู้ ้องถิ่น (ถ้าในคำอธิบายรายวชิ าพูดถงึ หลกั สูตรท้องถ่ินให้ใส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น (เลอื กเฉพาะข้อท่เี กิดในหนว่ ยการเรียนร้นู ้)ี

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคิด

 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (เลอื กเฉพาะขอ้ ที่เกิดในหนว่ ยการเรียนรนู้ ้)ี

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซอื่ สตั ย์สจุ รติ

 3. มวี นิ ยั  4. ใฝเ่ รียนรู้

 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุง่ มนั่ ในการทำงาน

 7. รกั ความเปน็ ไทย  8. มีจติ สาธารณะ

6. ดา้ นคณุ ลกั ษณะของผู้เรียนตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวิชาการ  2. สอ่ื สารสองภาษา  3. ลำ้ หน้าทางความคดิ

 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  5. ร่วมกันรบั ผดิ ชอบต่อสังคมโลก

7. ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 คอื การเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได้)  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )

 ทักษะด้านการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแก้ไขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะด้านการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)

 ทกั ษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะดา้ นความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทกั ษะดา้ นการสอ่ื สาร สารสนเทศและร้เู ทา่ ทันสือ่ (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร (Computing and ICT

Literacy)

 ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)

 ความมเี มตตา (วนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

8. บรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในหอ้ งเรียนคือ

ประมาณกลุม่ ละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตุผล : ใหน้ กั เรียนสรา้ งสรรค์ผลงานและเกิดทกั ษะการปฏิบัติ , นกั เรียนเกิดความ

ภาคภูมใิ จในผลงานของตนและส่ิงทเี่ รียนรู้

12

3. หลกั ภมู คิ มุ้ กนั : ให้นกั เรยี นเกิดทกั ษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก , นกั เรยี นร้จู กั การวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชกิ ภายในกล่มุ ได้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคล

4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานทจ่ี ะทำกอ่ นแลว้ คอ่ ยลงมอื ทำอยา่ งระมดั ระวงั

5. เงอื่ นไขคุณธรรม : อดทนทจ่ี ะทำงาน และมคี วามขยนั ท่จี ะทำงานใหอ้ อกมาไดด้ ีทสี่ ุด , มีวนิ ยั ในการ

ทำงาน

9. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด

ตัวชี้วัด ชิ้นงาน ภาระงาน

ว 2.1 ม.1/4 - รายงานกิจกรรม จุดเดือดของสาร - อภิปรายคำตอบเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่าอุณหภูมิ

บรสิ ทุ ธิแ์ ละสารผสมเป็นอยา่ งไร ขณะเดือดของน้ำกลนั่ และสารละลายโซเดียมคลอ

- รายงานกิจกรรม จุดหลอมเหลว ไรดเ์ ป็นอย่างไร

ของสารบริสุทธ์ิและสารผสมเป็น - อภิปรายเปรียบเทียบช่วงอุณหภูมิท่ีหลอมเหลว

อยา่ งไร และจุดหลอมเหลวของสารบรสิ ุทธ์แิ ละสารผสม

- อภิปรายร่วมกันเก่ียวกับประโยชน์จากการนำ

ความรู้เร่ืองจุดเดือดและจุดหลอมเหลวมาใช้ใน

ชวี ติ ประจำวัน

ว 2.1 ม.1/5 - รายงานกิจกรรม ความหนาแน่น - แบบฝกึ หดั คำนวณความหนาแนน่

ของสารบริสุทธ์ิและสารผสมเป็น - แบบฝึกหดั ทา้ ยบทเรียน

อยา่ งไร

- ผังมโนทัศน์ การสรุปองค์ความรู้ใน

บทเรียนสมบตั ิของสารบรสิ ุทธ์ิ

10. การวัดประเมนิ ผล 3.การวดั ประเมินการปฏบิ ัติ
10.1การวัดและประเมนิ ผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด 3. แบบวัดประเมินการปฏบิ ัติ
วิธกี าร
1.การสงั เกตการณ์
2.การใช้ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตรร์ อ่ งรอยบง่ ชี้
เครือ่ งมอื
1. แบบสังเกตการณ์
2. ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์
เกณฑ์
1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

13

2.การประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรม ผา่ นตัง้ แต่ 2 รายการ ถอื ว่า ผา่ น ผ่าน 1

รายการถอื วา่ ไม่ผ่าน

10.2การวัดและประเมินผลระหว่างการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (ประเมินจากแผนการจดั การเรียนรู้ของ

หน่วยการเรยี นรนู้ ี)้

สงิ่ ที่ต้องการวดั วธิ วี ดั ผล เครอื่ งมือวัดผล เกณฑก์ ารประเมิน

1. ความร้เู กยี่ วกับ -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมนิ การ - นกั เรยี นได้คะแนน

- สมบัติบางประการของ ความคิดเหน็ อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขน้ึ ไป

บรสิ ุทธ์แิ ละสารผสม ยกตวั อยา่ งการนำ คิดเห็น หรือรอ้ ยละ 80

- กระบวนการทาง ความรเู้ รอื่ งจดุ เดอื ด ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

วทิ ยาศาสตร์ และจุดหลอมเหลวมา - แบบประเมินการ - นักเรยี นไดค้ ะแนน

- ทักษะกระบวนการทาง ใช้ในชวี ิตประจำวนั ตรวจผลงานผูเ้ รยี น ประเมินผลงาน

วิทยาศาสตร์ -การตรวจผลงาน 13 คะแนนขึน้ ไป

นักเรียน หรอื รอ้ ยละ 80

ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

2.ทกั ษะกระบวนการคิด และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ -นักเรียนไดค้ ะแนน

ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ความคิดเห็นระบุ อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนข้นึ ไป

ทกั ษะกระบวน คิดเห็น หรอื ร้อยละ 80 ถอื ว่า

การทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่ - แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์

ได้ปฏบิ ัตจิ ากกจิ กรรม พฤติกรรมการ

- สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกล่มุ

ทำงานกลมุ่

3. คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ - สังเกตค่านิยมในการ - แบบประเมิน - นกั เรยี นไดค้ ะแนน

และสมรรถนะผเู้ รียน ทำงานร่วมกบั ผอู้ ื่น คณุ ลักษณะอันพงึ ประเมินคณุ ลักษณะ

- มวี ินัยในการทำงานกลุ่ม และการทำงานใน ประสงค์ อนั พึงประสงค์

- นกั เรียนเห็นความสำคญั ระบบกลุ่ม 26 คะแนนขึน้ ไป

ของการทำงานรว่ มกับผูอ้ ่นื และ อภปิ ราย แสดงความ หรือร้อยละ 80

การทำงานในระบบกลุม่ คดิ เห็นเกีย่ วกับผลการ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

- ยอมรบั ความคิดเหน็ ซึ่งกนั ทดลอง - แบบประเมิน - นกั เรยี นไดค้ ะแนน

และกันมีความเสยี สละและ สมรรถนะผูเ้ รียน การประเมนิ สมรรถนะ

อดทน 29 คะแนนข้ึนไป

หรอื ร้อยละ 80

ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

14

11. กิจกรรมการเรยี นรู้
ช่วั โมงท่ี 1-2 (สปั ดาห์ที่ 4)
1. ข้นั ตัง้ ประเดน็ ปญั หา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครใู ช้คำถามเชอ่ื มโยงเขา้ สสู่ มบัติของสารบรสิ ุทธิ์วา่ นักเรยี นมีความร้เู ก่ยี วกับสารบรสิ ุทธห์ิ รอื ไม่ สาร

บรสิ ุทธ์ิแตกต่างจากสารผสมอยา่ งไร และสารบริสุทธิ์มสี มบตั ิอยา่ งไร
1.2 ครูใหน้ ักเรียนดูภาพในหนงั สือเรยี น หรอื สื่ออื่น ๆ ทเี่ ก่ียวกับทองคำแท่งและทองรปู พรรณ โดยครูใช้

คำถามให้นกั เรียนอภปิ รายวา่ ทองคำแทง่ และทองรปู พรรณเหมอื นหรือต่างกันอย่างไร จากน้นั ใหน้ กั เรียน
ตรวจสอบคำตอบของตนเอง โดยอา่ นเนอื้ หานำบทและนำอภปิ รายโดยอาจใช้คำถามตอ่ ไปน้ี

- เพราะเหตใุ ด ทองคำแทง่ จงึ เป็นสารบริสุทธ์แิ ละทองรูปพรรณจึงเป็นสารผสม (ทองคำแทง่ เปน็ สาร
บริสุทธ์ิ เนื่องจากเป็นทองคำ 100% ไม่มีส่วนผสมของโลหะชนิดอ่ืน ๆ แต่ทองรปู พรรณมโี ลหะชนิดอน่ื ผสมอยู่
เช่น เงนิ ทองแดง)

- ทองคำแท่งและทองรปู พรรณมีสมบตั ติ ่างกันอยา่ งไร (ทองคำแท่ง มคี วามเหนยี วสามารถยดื ขยาย
ตหี รือรีดแผ่ไปได้ทุกทิศทางมคี วามอ่อนตัวมากกว่าโลหะชนดิ อนื่ ๆ ทำใหไ้ มส่ ามารถประดิษฐ์เปน็ รูปทรงตา่ ง ๆ
ตามที่ต้องการได้ ส่วนทองรูปพรรณมีสว่ นผสมของโลหะอ่นื ทำใหม้ สี มบัติแข็งและคงรูปดีขน้ึ สามารถประดิษฐ์
เปน็ เครื่องประดับไดง้ า่ ยข้ึน)

1.3 ครูทบทวนความรู้เกย่ี วกับองคป์ ระกอบของสารผสมและสารบริสุทธิ์ โดยใช้คำถามต่อไปนี้
- สารผสมและสารบริสุทธิม์ อี งคป์ ระกอบแตกตา่ งกนั อยา่ งไร (สารผสมเป็นสารที่มีองค์ประกอบ

ตง้ั แต่ 2 ชนิดขน้ึ ไป เช่น ทองรปู พรรณ เป็นสารผสมระหว่างทองคำและโลหะอืน่ นำ้ เกลอื เปน็ สารผสม
ระหวา่ งนำ้ และเกลือ ส่วนสารบริสุทธ์ิเป็นสารที่มีองค์ประกอบเพียงชนดิ เดยี ว เช่น ทองคำแท่ง น้ำกลั่น
กลูโคส)

1.4 ครนู ำเข้าส่กู ิจกรรมท่ี 2.1 จดุ เดอื ดของสารบรสิ ุทธ์ิและสารผสมเปน็ อยา่ งไร โดยชแ้ี จงว่านกั เรยี นจะ
ได้เรยี นสมบตั เิ กยี่ วกบั จุดเดอื ดของสารบริสทุ ธิ์และสารผสม ต่อไป

ช่วั โมงที่ 3-5 (สัปดาห์ท่ี 4-5)
2. ขั้นสบื ค้นความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครูให้นกั เรียนอ่านวิธีการดำเนินกจิ กรรมในหนงั สอื เรียนครอู ธิบายเพ่มิ เตมิ ในประเดน็ ท่ีนกั เรยี นยงั
ตอบไม่ครบถ้วน
2.2 นกั เรยี นทำกิจกรรมตามแผนท่วี างไว้ ครสู งั เกตวธิ ีการจดั อุปกรณ์ การวัดอุณหภูมิ และการบันทึกผล
การสังเกตของนักเรียนทกุ กลมุ่ เพอ่ื ใหค้ ำแนะนำหากเกดิ ข้อผิดพลาดในขณะทำกิจกรรม รวมท้ังนำขอ้ มลู ท่ีควร
จะปรับปรงุ และแกไ้ ขมาใชป้ ระกอบการอภปิ รายหลงั ทำกิจกรรม
2.3 นักเรียนนำขอ้ มลู เกีย่ วกบั การเปล่ยี นแปลงอณุ หภูมิของน้ำกล่นั และสารละลายโซเดยี มคลอไรดม์ า
เขียนกราฟแสดงความสัมพนั ธร์ ะหว่างอุณหภมู ิกบั เวลา ดว้ ยวิธีการต่าง ๆ เชน่ เขียนลงในกระดาษกราฟ

15

2.4 นกั เรียนอา่ นเนอ้ื หาในหนงั สือ รว่ มกนั อภปิ รายเพือ่ ใหไ้ ด้ข้อสรปุ เกย่ี วกับจุดเดือดของสารบรสิ ทุ ธแ์ิ ละ
สารผสม ตามประเดน็ ดังน้ี

• สารบรสิ ทุ ธแ์ิ ละสารผสมท่ีใช้ในกจิ กรรมนค้ี ือสารใด (น้ำกล่นั และสารละลายโซเดยี มคลอไรด์)
• จดุ เดือดของนำ้ กล่ันและสารละลายโซเดยี มคลอไรด์แตกตา่ งกันเพราะเหตุใด
• สารบรสิ ุทธแิ์ ละสารผสมจะมจี ุดเดือดเชน่ เดยี วกบั น้ำกลนั่ และสารละลายโซเดียมคลอไรด์หรือไม่
ครเู ช่ือมโยงความรู้เกี่ยวกับจุดเดือดของสารบริสุทธิ์และสารผสมเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่าสารบริสุทธ์ิมีจุด
เดือดคงที่และสารผสมมีจุดเดือดไม่คงท่ี เชน่ น้ำกล่ันเป็นสารบริสุทธ์ิ มีองค์ประกอบเพียงชนิดเดียว จุดเดือด
คงท่ี สารบริสุทธ์ิอ่ืน ๆ ก็มีจุดเดือดคงท่ีเช่นเดียวกับน้ำกลั่น เช่น ปรอทมีจุดเดือด 356.7 °C กลีเซอรอลมีจุด
เดือด 290 °C ส่วนสารละลายโซเดียมคลอไรด์เป็นสารผสม ประกอบด้วยน้ำกลั่นกับโซเดียมคลอไรด์ มี
องค์ประกอบมากกว่า 1 ชนิด ขณะเดือดอัตราสว่ นผสมระหวา่ งน้ำกล่ันกบั โซเดียมคลอไรด์จะเปลี่ยนแปลงไป
ไมค่ งท่ี จุดเดอื ดจึงไมค่ งท่ี สารผสมอื่น ๆ ก็มจี ดุ เดือดไมค่ งที่เชน่ กนั เช่นนำ้ เชอ่ื ม สารละลายเอทานอล
2.5 ครูและนักเรียนร่วมสนทนาเก่ียวกับสารบริสุทธ์ิมีจุดเดือดคงท่ี ในขณะท่ีสารผสมมีจุดเดือดไม่คงที่
ครูอาจใช้คำถามนำต่อไปว่าจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารผสมจะเป็นอย่างไร เพราะเหตุใด เพื่อ
เชื่อมโยงเขา้ สู่กจิ กรรมที่ 2.2 จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธ์แิ ละสารผสมเป็นอย่างไร
2.6 ครูให้นักเรียนชมวีดิทัศน์หรือชมการสาธิตของครู และอภิปรายเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า การหาจุด
หลอมเหลวของของแข็งทำโดยบดของแข็งให้ละเอียด บรรจุในหลอดแคปปิลลารีปริมาณเล็กน้อยผูกกับ
เทอร์โมมิเตอร์แล้วให้ความร้อนผ่านน้ำ เม่ือหาจุดหลอมเหลวของแนฟทาลีนและสารผสมของกรดเบนโซอิก
ในแนฟทาลีนทมี่ อี ัตราส่วนผสมต่าง ๆ จะได้ผลตามที่แสดงในหนงั สือเรียน
2.7 นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้ข้อมูลที่ได้จากการนำเสนอและตอบคำถามท้ายกจิ กรรม จากนั้นครู
และนักเรียนร่วมกันอภิปรายคำตอบร่วมกนั เพื่อใหน้ ักเรียนสรปุ ได้วา่ จดุ หลอมเหลวของแนฟทาลนี ทั้ง 3 ครัง้ มี
คา่ ใกล้เคียงกัน แนฟทาลีนซ่ึงเป็นสารบริสุทธิไ์ มไ่ ด้หลอมเหลวจนหมดที่อุณหภูมิเดียวกัน และมีชว่ งอุณหภูมิท่ี
หลอมเหลวค่อนข้างแคบ ส่วนกรดเบนโซอิกในแนฟทาลีนมีช่วงอุณหภูมิท่ีหลอมเหลวค่อนข้างกว้าง และจุด
หลอมเหลวไมค่ งทขี่ ึน้ อยกู่ ับอัตราสว่ นของสารผสมนั้น ๆ

ชว่ั โมงท่ี 6-8 (สัปดาห์ท่ี 5-6)
3. ข้นั สรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

3.1 นักเรียนรว่ มกันอภิปรายสรปุ เก่ยี วกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพ่อื ให้ได้ข้อสรปุ วา่ กระบวน
การทใี่ ช้เพ่ือให้ไดม้ าซ่ึงความรู้ทางวิทยาศาสตร์เรียกวา่ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ไดแ้ ก่ การสงั เกตและระบุ
ปัญหา การต้ังสมมติฐานการวางแผน การสำรวจ หรือการทดลอง รวมทั้งการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล
และสรา้ งคำอธบิ าย การสรปุ ผลและการสื่อสาร

16

3.2 นักเรยี นอภิปรายรว่ มกนั โดยให้พิจารณาตาราง 2.1 จุดเดือดของน้ำท่คี วามดนั ตา่ ง ๆ ซึง่ จะเหน็ ได้ว่า
จดุ เดือดของสารข้ึนอยู่กับความดันบรรยากาศ โดยความดันบรรยากาศ คือ น้ำหนักของอากาศที่กดลงบนพ้ืน
โลกในแนวต้งั ฉากต่อหนง่ึ หน่วยพ้นื ที่

3.3 นกั เรียนอภิปรายร่วมกนั เกย่ี วกบั ประโยชนจ์ ากการนำความรู้เร่ืองจุดเดือดและจุดหลอมเหลวมาใชใ้ น
ชีวติ ประจำวัน ครูถามคำถามเพมิ่ เติมว่า จุดเดือดและจดุ หลอมเหลวเปน็ สมบัติซงึ่ สามารถใช้จำแนกสารบรสิ ทุ ธิ์
และสารผสมแล้ว สารทั้งสองประเภทนยี้ ังมสี มบัตอิ น่ื อีกหรอื ไมท่ ่สี ามารถนำมาจำแนกสารบริสทุ ธแ์ิ ละสารผสม
นักเรยี นจะไดศ้ กึ ษาในรายละเอยี ดเรอื่ งถัดไป

3.4 กระตุ้นความสนใจเกีย่ วกบั เร่ืองความหนาแน่นของสารโดยให้ดูวดี ทิ ัศน์เกย่ี วกับการนำของเหลวชนิด
ตา่ ง ๆที่ไม่ผสมเป็นเนอื้ เดียวกนั แลว้ มาเทรวมกนั

3.5 นกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายโดยใช้คำถาม ดงั นี้
• นักเรียนคิดว่าความหนาแน่นคืออะไร (นักเรียนสามารถตอบได้ตามความเข้าใจของนักเรียนเอง

โดยครูยังไม่ต้องเฉลยวา่ ความหนาแนน่ คืออะไร)
• ความหนาแนน่ มคี วามเกย่ี วข้องกับเรอื ดำนำ้ อยา่ งไร(การที่เรือดำน้ำสามารถดำลงสู่ทะเลลึกได้นน้ั

ต้องทำให้เรือดำน้ำท้ังลำมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำ และหากต้องการให้เรือลอยขึ้นสู่ผิวน้ำต้องทำให้เรือมี
ความหนาแนน่ นอ้ ยกว่านำ้ )

• ความหนาแนน่ ของวัตถุหาได้อยา่ งไร (นักเรยี นสามารถตอบไดต้ ามความเขา้ ใจของนักเรียนเอง
โดยครยู ังไม่ตอ้ งเฉลยวา่ ความหนาแนน่ ของวตั ถหุ าได้อย่างไร)

3.6 นักเรียนอ่านทำความเข้าใจเก่ียวกับเรื่อง ทะเลสาปเดดซี (Dead Sea) และร่วมกันอภิปรายถึง
ความหมายของความหนาแนน่ หน่วยความหนาแน่น วธิ ีการคำนวณความหนาแน่นของสาร จากเร่ืองดังกล่าว
ครูใหน้ ักเรียนอภิปรายตวั อยา่ งโจทยเ์ กี่ยวกับการคำนวณความหนาแนน่ ของสารและตอบคำถามชวนคดิ

3.7 ครูอธิบายว่าในกิจกรรมน้ีนักเรียนจะได้ทดลองช่ังมวล และหาปริมาตรของวัตถุ เพ่ือนำมา
คำนวณหาความหนาแนน่ ของสาร และทบทวนวิธีการใชเ้ คร่ืองช่ังมวล

3.8 นักเรียนอ่านเกร็ดน่ารู้เพื่อทำความเข้าใจเก่ียวกับวิธีการหาปรมิ าตรของสารโดยใช้ถ้วยยูรกี า ครูสุ่ม
ใหต้ วั แทนนกั เรยี นแต่ละกลุม่ อธิบายถึงวิธีการใชถ้ ว้ ยยูรกี า เพ่ือประเมนิ ความเขา้ ใจการใช้ถ้วยยรู กี า

3.9 ครูใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่มวางแผนร่วมกันในการทดลองกิจกรรมท่ี 2.3 ความหนาแน่นของสารบรสิ ุทธิ์
เป็นอยา่ งไร และคำนวณความหนาแนน่ ของสารแต่ละชนิดตามท่หี นังสือเรียนกำหนด รวมทง้ั ออกแบบตาราง
บันทกึ ผลการทำกจิ กรรมและวธิ กี ารคำนวณ

3.10 นักเรียนทำกิจกรรมตามแผนท่ีวางไว้ และสังเกตความถูกต้องในการใช้เครื่องมือ ได้แก่ การใช้
เคร่อื งชั่ง ถ้วยยูรกี าและกระบอกตวง พรอ้ มท้ังให้คำแนะนำเพ่ิมเตมิ เม่อื พบวา่ นกั เรยี นปฏบิ ัตไิ มถ่ กู ต้อง

3.11 นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทำกิจกรรม โดยนำผลการทำกิจกรรมมาเขียนในตารางบันทึก
ผลการทำกจิ กรรมทีต่ ดิ หนา้ ห้องเรยี นเพื่อเปรยี บเทียบข้อมลู ของแต่ละกลุ่ม

17

3.12 นักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้ข้อมูลที่ได้จากการนำเสนอและตอบคำถามท้ายกิจกรรมตอนที่ 1

เพอ่ื ให้นักเรยี นสรุปได้ว่า ค่าความหนาแน่นเฉลยี่ ของเหล็กก้อนท่ี 1 และ 2 ท่ีมีขนาดแตกต่างกนั ของทุกกลมุ่ มี

ค่าเทา่ กนั หรือใกล้เคยี งกันส่วนค่าความหนาแน่นเฉล่ียของทองแดงก้อนที่ 1 และ 2 ท่ีมีขนาดแตกต่างกัน ของ

ทุกกลุ่มก็มีค่าเท่ากันหรือใกล้เคียงกันเช่นกัน เนื่องจากก้อนเหล็กและก้อนทองแดงเป็นสารบริสุทธ์ิที่มีความ

หนาแน่นเป็นคา่ เฉพาะตวั ของสารน้นั ณ สถานะอุณหภูมิ และความดันหนึง่

ชั่วโมงท่ี 9 (สัปดาห์ที่ 6)

4. ขนั้ การสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 ครูเชือ่ มโยงความรู้ของนกั เรียนท่ไี ด้จากการอภปิ รายกิจกรรมท้งั 3 กจิ กรรม

4.2 นกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายเพื่อให้ไดข้ ้อสรปุ ว่า โดยส่วนใหญ่แลว้ สารชนดิ เดียวกัน เม่ือมสี ถานะตา่ งกัน

ที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน ของแข็งจะมีความหนาแน่นมากกว่าของเหลวและแก๊ส เน่ืองจากสารใน

สถานะของแข็งอนุภาคจะเรียงชิดตดิ กันมากกวา่ ของเหลวและแกส๊ แตใ่ นบางกรณีน้ำแข็งกับน้ำ พบวา่ น้ำแข็ง

ซ่ึงเป็นของแข็งจะมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำซึ่งเป็นของเหลวสารต่างชนิดกัน สารในสถานะของแข็งไม่

จำเปน็ ต้องมากกว่าของเหลว แต่อย่างไรกต็ ามสารในสถานะของแข็งและของเหลวจะมคี วามหนาแนน่ มากกว่า

แกส๊

5. ข้นั การบรกิ ารสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นกั เรียนรว่ มกันเขยี นผังมโนทัศน์ การสรุปองค์ความร้ใู นบทเรยี นสมบตั ขิ องสารบริสุทธิ์

5.2 วเิ คราะหแ์ ละอธิบายแผนผังการจำแนกประเภทพลาสติกโดยใชส้ มบัตเิ ก่ยี วกบั จุดเดอื ดจุดหลอม

เหลว ความหนาแน่น และสมบัติอนื่ ๆ เป็นเกณฑ์

12. สอ่ื การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้

12.1ส่ือการเรยี นรู้

1) ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 2) หนงั สือแบบเรยี น 3) สอ่ื เพาเวอรพ์ อยต์

12.2แหลง่ เรยี นรู้

1) อนิ เตอรเ์ น็ต 2) หอ้ งสมุด

13. บันทกึ หลงั การจดั การเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- บอกความแตกต่างของสารบริสุทธ์แิ ละสาร ......................................................................................

ผสม ได้ ......................................................................................

- อธิบายและเปรยี บเทียบ จดุ เดือด จดุ ......................................................................................

หลอมเหลวของสารบริสทุ ธแิ์ ละสารผสม ................................................................................

- คำนวณ อธบิ ายและเปรยี บเทยี บ ความหนา ......................................................................................

แน่นของสารบริสุทธิแ์ ละสารผสม ......................................................................................

- การใช้เคร่อื งมอื เพอื่ วัดมวลและปรมิ าตร

18

ของสารบริสุทธแิ์ ละสารผสม .....................................................................................
2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการคิด ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

3. ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นิยม ......................................................................................

อันพงึ ประสงค์ : ......................................................................................

- มีวนิ ยั ......................................................................................

- ใฝ่เรียนรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................

- รกั ความเป็นไทย ......................................................................................

...............................................................................

......................................................................................

......................................................................................

4. ปญั หาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

5. วธิ แี กป้ ัญหา

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

ลงชื่อ........................................ครูผ้สู อน ลงชื่อ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกุลรตั น์..) (นายสรุ จักร์ิ แกว้ มว่ ง.)

ลงชอ่ื ........................................... ลงชอ่ื ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกลุ รัตน.์ .) (..นายศิวาวฒุ ิ รตั นะ..)

หัวหน้างานนเิ ทศ หวั หน้ากลุ่มบรหิ ารวิชาการ

ลงชอื่ ........................................................
(...นายจงจัด จนั ทบ...)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม

19

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี…………...2..............เรื่อง.............การจำแนกและองคป์ ระกอบของสารบริสทุ ธิ์..............
รายวิชา……......วทิ ยาศาสตร์……..1.......รหัสวิชา…......ว 21101 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลุม่ สาระการเรยี นรู้............วิทยาศาสตร์..........ปีการศกึ ษา.... 2562.......ภาคเรียนที่..1...เวลา...9...ชั่วโมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวชี้วดั /ผลการเรยี นรู้ (รายวิชาพื้นฐานมที ัง้ มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวชี้วดั
รายวิชาเพ่ิมเติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละผลการเรียนร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวัด ว2.1ม.1/1,1/2,1/3,1/7 1/8,1/9,1/10
สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบตั ิ

ของสสารกับโครงสรา้ งและแรงยึดเหนยี่ วระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของ
สสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี

ตัวชี้วัด
ว 2.1 ม.1/1 อธบิ ายสมบตั ิทางกายภาพบางประการของธาตโุ ลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ โดยใช้
หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ท่ีไดจ้ ากการสงั เกตและการทดสอบ และใช้สารสนเทศทไี่ ด้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ รวมทัง้
จดั กลุ่มธาตุเปน็ โลหะ อโลหะ และกง่ึ โลหะ
ว 2.1 ม.1/2 วิเคราะห์ผลจากการใชธ้ าตุโลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ และธาตุกัมมนั ตรงั สี ทม่ี ีตอ่
สิง่ มีชีวติ สิง่ แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ และสงั คม จากขอ้ มูลท่รี วบรวมได้
ว 2.1 ม.1/3 ตระหนกั ถงึ คณุ ค่าของการใชธ้ าตโุ ลหะ อโลหะ ก่งึ โลหะ ธาตุกัมมนั ตรงั สี โดยเสนอ
แนวทางการใช้ธาตอุ ยา่ งปลอดภัย คุ้มคา่
ว 2.1 ม.1/7 อธบิ ายเกีย่ วกับความสัมพนั ธ์ระหว่างอะตอม ธาตุ และสารประกอบ โดยใช้
แบบจำลองและสารสนเทศ
ว 2.1 ม.1/8 อธิบายโครงสร้างอะตอมทปี่ ระกอบด้วยโปรตอน นวิ ตรอน และอเิ ลก็ ตรอน โดยใช้
แบบจำลอง
2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวช้วี ัดท่ีใช้ในหนว่ ยการเรียนร้นู ีเ้ ขียนเปน็ แบบความเรียง)
สารบริสุทธิ์สามารถแบ่งออกเป็นธาตุและสารประกอบ ธาตุมีองค์ประกอบเพียงชนิดเดียวและไม่
สามารถแยกสลายเปน็ สารอื่นได้ดว้ ยวิธีทางเคมี ส่วนสารประกอบธาตุองค์ประกอบต้ังแต่ 2 ชนิดขนึ้ ไปรวมตัว
กันทางเคมีในอัตราส่วนคงที่มีสมบัติแตกต่างจากธาตุท่ีเป็นองค์ประกอบ สามารถแยกองค์ประกอบของ
สารประกอบออกจากกันได้ด้วยวิธีทางเคมีโดยธาตุแต่ละชนิดประกอบด้วยอนุภาคที่เล็กท่ีสุดเรียกว่าอะตอม
อะตอมประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนซ่ึงโปรตอนและนิวตรอนรวมกันตรงกลางอะตอม
เรยี กว่า นิวเคลียส ส่วนอเิ ลก็ ตรอนเคลอ่ื นท่รี อบนิวเคลยี ส อะตอมของแตล่ ะธาตแุ ตกต่างกนั ทีจ่ ำนวนโปรตอน

20

ธาตุแต่ละชนิดมีสมบัติเฉพาะตัว นักวิทยาศาสตร์ใช้สมบัติทางกายภาพของธาตุเพ่ือจำแนกธาตุเป็นโลหะ
อโลหะและก่ึงโลหะ ธาตุบางชนิดเป็นธาตุกัมมันตรังสี ซึ่งธาตุโลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะและธาตุกัมมันตรังสีใช้
ประโยชนไ์ ด้แตกต่างกนั การนำธาตุมาใช้อาจมผี ลกระทบต่อส่งิ มีชวี ติ สิง่ แวดลอ้ ม เศรษฐกิจ และสงั คม
3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง/สาระการเรยี นร้เู พ่ิมเติม (รายวิชาเพิ่มเติม)
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
• ธาตแุ ต่ละชนิดมีสมบัติเฉพาะตวั และมีสมบัตทิ างกายภาพบางประการเหมือนกันและบางประการ

ต่างกนั ซึ่งสามารถนำมาจดั กลมุ่ ธาตเุ ปน็ โลหะ อโลหะ และกง่ึ โลหะ ธาตุโลหะมีจุดเดือด จดุ หลอมเหลวสงู มี
ผวิ มนั วาว นำความร้อนนำไฟฟ้า ดึงเป็นเส้นหรอื ตเี ป็นแผน่ บาง ๆ ได้ และมีความหนาแนน่ ท้งั สงู และตำ่ ธาตุ
อโลหะมีจุดเดือด จุดหลอมเหลวต่ำ มีผวิ ไมม่ ันวาวไม่นำความร้อน ไม่นำไฟฟ้า เปราะ แตกหกั ง่าย และมีความ
หนาแนน่ ตำ่ ธาตุก่ึงโลหะมสี มบัติบางประการเหมือนโลหะ และสมบัตบิ างประการเหมือนอโลหะ

• ธาตโุ ลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ ที่สามารถแผร่ งั สไี ด้ จัดเปน็ ธาตุกมั มันตรงั สี
• ธาตุมที ั้งประโยชน์และโทษ การใช้ธาตโุ ลหะ อโลหะ ก่งึ โลหะ ธาตุกมั มนั ตรังสี ควรคำนึงถงึ
ผลกระทบตอ่ สิง่ มชี วี ติ สงิ่ แวดล้อม เศรษฐกจิ และสงั คม
• สารบริสทุ ธ์ิแบ่งออกเปน็ ธาตแุ ละสารประกอบ ธาตปุ ระกอบดว้ ยอนภุ าคที่เลก็ ท่สี ุดที่ยังแสดงสมบัติ
ของธาตนุ ้นั เรยี กวา่ อะตอม ธาตุแต่ละชนิดประกอบด้วยอะตอมเพยี งชนิดเดยี วและไม่สามารถแยกสลายเป็น
สารอื่นได้ดว้ ยวธิ ที างเคมี ธาตุเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ธาตุ สารประกอบเกดิ จากอะตอมของธาตุตั้งแต่ ๒ ชนิด
ขนึ้ ไปรวมตัวกนั ทางเคมใี นอตั ราสว่ นคงท่ี มสี มบตั ิแตกต่างจากธาตุทเ่ี ปน็ องคป์ ระกอบ สามารถแยกเป็นธาตไุ ด้
ดว้ ยวิธที างเคมี ธาตแุ ละสารประกอบสามารถเขียนแทนไดด้ ้วยสูตรเคมี
• อะตอมประกอบดว้ ยโปรตอน นวิ ตรอน และอิเล็กตรอน โปรตอนมปี ระจุไฟฟา้ บวก ธาตุชนิดเดยี ว
กนั มจี ำนวนโปรตอนเท่ากันและเปน็ ค่าเฉพาะของธาตนุ ้ัน นวิ ตรอนเปน็ กลางทางไฟฟ้า สว่ นอิเลก็ ตรอนมีประจุ
ไฟฟ้าลบ เม่อื อะตอมมีจำนวนโปรตอนเทา่ กบั จำนวนอเิ ลก็ ตรอนจะเป็นกลางทางไฟฟา้ โปรตอนและนวิ ตรอน
รวมกนั ตรงกลางอะตอมเรยี กว่า นวิ เคลียสสว่ นอเิ ล็กตรอนเคลอื่ นที่อย่ใู นที่ว่างรอบนวิ เคลยี ส

3.2 สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถ่ิน (ถา้ ในคำอธิบายรายวชิ าพูดถึงหลักสูตรทอ้ งถิ่นให้ใส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (เลือกเฉพาะขอ้ ท่ีเกิดในหน่วยการเรียนรู้นี้)

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคิด

 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

5. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (เลอื กเฉพาะข้อทเี่ กิดในหนว่ ยการเรียนรนู้ ี)้

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  2. ซ่อื สตั ยส์ ุจรติ

 3. มวี นิ ยั  4. ใฝเ่ รยี นรู้

21

 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. ม่งุ ม่ันในการทำงาน

 7. รกั ความเป็นไทย  8. มีจติ สาธารณะ

6. ด้านคณุ ลกั ษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวิชาการ  2. สอ่ื สารสองภาษา  3. ล้ำหนา้ ทางความคิด

 4. ผลติ งานอยา่ งสรา้ งสรรค์  5. ร่วมกนั รบั ผดิ ชอบต่อสังคมโลก

7. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได)้  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเปน็ )

 ทกั ษะดา้ นการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะด้านความเข้าใจความตา่ งวฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะดา้ นความร่วมมอื การทำงานเป็นทมี และภาวะผูน้ ำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรเู้ ท่าทันสือ่ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT

Literacy)

 ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการเรียนรู้ (Career and Learning)

 ความมีเมตตา (วนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

8. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรยี นคือ

ประมาณกลุม่ ละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมีเหตผุ ล : ให้นกั เรยี นสรา้ งสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบตั ิ , นักเรยี นเกิดความ

ภาคภูมใิ จในผลงานของตนและสิง่ ท่ีเรียนรู้

3. หลกั ภมู ิคมุ้ กัน : ใหน้ ักเรยี นเกิดทกั ษะการทำงานกลุม่ และกล้าแสดงออก , นักเรียนรจู้ กั การวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกลุ่มไดเ้ หมาะสมกับความสามารถของแต่ละบคุ คล

4. เงอ่ื นไขความรู้ : การวางแผนงานทจ่ี ะทำกอ่ นแล้วคอ่ ยลงมอื ทำอย่างระมดั ระวงั

5. เงือ่ นไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยันทจ่ี ะทำงานให้ออกมาได้ดีทส่ี ุด , มีวินัยในการ

ทำงาน

9. ชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตัวชี้วัด ชิ้นงาน ภาระงาน

ว 2.1 ม.1/7, - รายงานกจิ กรรม สารบริสุทธมิ์ ี - อธิบายความสัมพนั ธร์ ะหว่างอะตอม ธาตุ

ม.1/8 องคป์ ระกอบอะไรบ้าง และสารประกอบ โดยใชแ้ ผนภาพหรอื สารสนเทศ

22

- รายงานกจิ กรรม โครงสร้างอะตอม - อธบิ ายโครงสรา้ งอะตอมโดยใชแ้ บบจำลอง

เปน็ อย่างไร

ว 2.1 ม.1/1 - รายงานกิจกรรม เราจำแนกธาตุได้ - อธบิ ายสมบัติทางกายภาพบางประการ

ม.1/2 ม.1/3 อย่างไร ของธาตุโลหะ อโลหะและก่ึงโลหะ โดยใช้

หลกั ฐานเชิงประจกั ษท์ ีไ่ ด้จากการ สังเกต ทดสอบ

และใช้สารสนเทศที่ไดจ้ ากแหล่งขอ้ มลู ต่าง ๆ

- จดั กลุม่ ธาตเุ ปน็ โลหะ อโลหะ และกงึ่ โลหะ

- วิเคราะหแ์ ละสรุปผลจากการใชธ้ าตุโลหะ

อโลหะ กึ่งโลหะ และธาตกุ ัมมนั ตรงั สี

- อภิปรายนำเสนอแนวทางการใชธ้ าตุอยา่ ง

ปลอดภัย

10. การวัดประเมินผล

10.1การวัดและประเมนิ ผลชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

วิธกี าร

1.การสงั เกตการณ์

2.การใชช้ ุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบ่งช้ี 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ

เครื่องมือ

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมินการปฏิบตั ิ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม ผ่านต้ังแต่ 2 รายการ ถอื ว่า ผ่าน ผ่าน 1

รายการถือว่า ไมผ่ า่ น

10.2การวดั และประเมนิ ผลระหวา่ งการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ (ประเมนิ จากแผนการจดั การเรยี นรูข้ อง

หนว่ ยการเรยี นรนู้ ้)ี

สง่ิ ทีต่ อ้ งการวัด วธิ วี ดั ผล เครื่องมอื วัดผล เกณฑ์การประเมิน

1. ความรเู้ กยี่ วกับ -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมนิ การ - นักเรยี นได้คะแนน

- ประเภทของสารบรสิ ทุ ธิ์ ความคิดเหน็ อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขึน้ ไป

- องค์ประกอบของสาร ยกตวั อยา่ งการนำ คิดเหน็ หรอื รอ้ ยละ 80

บรสิ ุทธิ์ ความรเู้ รื่องการ ถือว่าผา่ นเกณฑ์

- โครงสรา้ งอะตอม จำแนกธาตุมาใช้ - แบบประเมินการ - นกั เรยี นได้คะแนน

23

- การจำแนกธาตุและการใช้ ประโยชน์ใน ตรวจผลงานผู้เรียน ประเมนิ ผลงาน
ประโยชน์ ชีวติ ประจำวัน 13 คะแนนขึ้นไป
-การตรวจผลงาน หรอื รอ้ ยละ 80
นกั เรยี น ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

2.ทกั ษะกระบวนการคดิ และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมินการ -นกั เรียนได้คะแนน
12 คะแนนขึ้นไป
ทักษะกระบวนการกลมุ่ ความคิดเหน็ ระบุ อภปิ รายแสดงความ หรอื รอ้ ยละ 80 ถือวา่
ผา่ นเกณฑ์
ทกั ษะกระบวน คดิ เหน็
- นกั เรียนไดค้ ะแนน
การทางวิทยาศาสตร์ที่ - แบบประเมิน ประเมนิ คณุ ลกั ษณะ
อันพงึ ประสงค์
ไดป้ ฏิบัติจากกิจกรรม พฤติกรรมการ 26 คะแนนข้ึนไป
หรือรอ้ ยละ 80
- สงั เกตพฤติกรรมการ ทำงานกลมุ่ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์
- นกั เรียนได้คะแนน
ทำงานกลุ่ม การประเมนิ สมรรถนะ
29 คะแนนข้นึ ไป
3. คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ - สงั เกตค่านิยมในการ - แบบประเมนิ หรือรอ้ ยละ 80
ถือว่าผ่านเกณฑ์
และสมรรถนะผ้เู รยี น ทำงานร่วมกบั ผูอ้ นื่ คุณลักษณะอันพงึ

- มีวนิ ยั ในการทำงานกล่มุ และการทำงานใน ประสงค์

- นกั เรยี นเหน็ ความสำคัญ ระบบกลุม่

ของการทำงานร่วมกับผูอ้ นื่ และ อภิปราย แสดงความ

การทำงานในระบบกลุ่ม คิดเห็นเกย่ี วกบั ผลการ

- ยอมรับความคิดเหน็ ซ่งึ กัน ทดลอง - แบบประเมนิ

และกนั มคี วามเสียสละและ สมรรถนะผูเ้ รยี น

อดทน

24

11. กจิ กรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 10 (สปั ดาห์ท่ี 7)
1. ขน้ั ตง้ั ประเด็นปญั หา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครูใหน้ กั เรียนดภู าพเพชรกับแกรไฟต์ ในหนังสือเรยี น อภิปรายโดยอาจใชค้ ำถามตอ่ ไปน้ี
• เพชรกบั แกรไฟต์มลี ักษณะเหมือนหรอื แตกต่างกันอยา่ งไร (เพชรและแกรไฟตเ์ ป็นของแขง็

เหมอื นกนั เพชรและแกรไฟตม์ ีลักษณะแตกตา่ งกนั คอื เพชรโปร่งใสและมีความแขง็ แต่แกรไฟต์
ทึบแสงและเปราะ)

• อนุภาคทีเ่ ล็กท่ีสุดของเพชรและแกรไฟต์เหมอื นหรือแตกตา่ งกันอยา่ งไร (อนภุ าคท่เี ล็กท่ีสุดของ
เพชรและแกรไฟตเ์ หมอื นกนั แต่มีการจดั เรียงตวั ของอนภุ าคแตกต่างกัน)

• สารบริสุทธอ์ิ นื่ ๆ ยงั มอี ีกหรือไม่ และจะจำแนกสารบริสุทธ์ิเหล่านนั้ ไดอ้ ยา่ งไร (นกั เรียนตอบตาม
ความเข้าใจ เชน่ น้ำตาล นำ้ เกลอื แกง)

1.2 ครูใหน้ ักเรียนทำกิจกรรมทบทวนความรูก้ ่อนเรยี น
1.3 ครูทบทวนความรเู้ ก่ียวกับสารบริสทุ ธแิ์ ละสารผสม โดยนำตัวอยา่ งสารผสมจากกิจกรรมทบทวน
ความร้กู ่อนเรยี น เชน่ พรกิ กบั เกลือ นำ้ ปลา น้ำเกลอื ให้นกั เรยี นพิจารณาว่าจะแยกสารผสมออกจากกันได้
อย่างไร (การร่อน การระเหยแห้งการตกผลกึ ) และให้นกั เรยี นพจิ ารณาวา่ สารบริสุทธ์ เชน่ เกลอื แกง นำ้
น้ำตาล จะแยกตอ่ ไปไดอ้ กี หรือไม่ อยา่ งไร (สารบรสิ ทุ ธ์ิแยกต่อไปดว้ ยวิธีการท่ใี ชก้ บั สารผสมไมไ่ ด)้
1.4 ครนู ำเข้าสู่กิจกรรมที่ 2.4 สารบริสุทธิ์มอี งคป์ ระกอบอะไรบ้าง โดยร่วมกันอภิปรายในประเด็น
ดังตอ่ ไปน้ี

• กิจกรรมนเ้ี กยี่ วกบั เรอื่ งอะไร (การแยกองคป์ ระกอบของสารบริสทุ ธ์ิ)
• สารบริสทุ ธิท์ ี่ใชเ้ ปน็ สารตวั อยา่ งในกิจกรรมนคี้ อื สารใด (สารบริสทุ ธค์ิ อื นำ้ )
• จุดประสงคข์ องกจิ กรรมน้เี ป็นอย่างไร (จดุ ประสงค์เพือ่ แยกน้ำดว้ ยไฟฟา้ และอธบิ ายผลท่ีได้จาก
การแยกนำ้ ด้วยไฟฟา้ )
• กิจกรรมน้ีมวี ธิ กี ารดำเนินกจิ กรรมโดยสรุปอย่างไร (เติมน้ำและเบคกงิ้ โซดาในเครือ่ งแยกนำ้ ดว้ ย
ไฟฟ้า ต่อวงจรเครอ่ื งแยกนำ้ ด้วยไฟฟ้ากับแบตเตอรี่ สงั เกตการเปลี่ยนแปลงท่เี กดิ ขน้ึ ทดสอบสารที่เกดิ ข้ึนจาก
การแยกนำ้ ด้วยไฟฟ้าจากข้วั บวกและข้ัวลบโดยใช้ธูปทลี่ ุกเป็นเปลว บันทกึ ผล ทำซำ้ การแยกน้ำด้วยไฟฟ้าและ
ทดสอบสารท่ีเกิดข้ึนจากขัว้ บวกและขั้วลบโดยใช้ธูปทีเ่ ป็นถา่ นแดง บันทกึ ผล)
• ขอ้ ควรระวังในการทำกิจกรรมมหี รือไม่อยา่ งไร (1.ควรใชไ้ ฟแช็กด้วยความระมดั ระวงั อย่าให้เปลว
ไฟเข้าใกล้สิง่ ที่อาจเป็นเช้ือเพลงิ เชน่ เส้นผม เสอ้ื ผ้า กระดาษ 2.ทดสอบสารที่เกบ็ ไดใ้ นหลอดท้งั สองดว้ ยความ
ระมัดระวงั เนือ่ งจากสารเหลา่ นัน้ อาจทำใหเ้ กดิ เสียงหรือเกิดเปลวไฟ)

ช่ัวโมงที่ 11-12 (สัปดาห์ที่ 7)
2. ขั้นสืบค้นความรู้ (Searching for Information)

25

2.1 ครูให้นกั เรียนอา่ นวธิ ีการดำเนินกิจกรรมในหนังสอื เรียนครูอธบิ ายเพ่มิ เตมิ ในประเดน็ ทนี่ กั เรยี นยงั
ตอบไม่ครบถ้วน

2.2 ครูให้นกั เรยี นวางแผนการทำงานร่วมกัน พรอ้ มทัง้ ออกแบบตารางบันทกึ ผลให้เรยี บร้อยกอ่ นทำ
กจิ กรรม และตรวจสอบการออกแบบตารางบนั ทึกผลของนกั เรยี นแต่ละกลมุ่ โดยอาจใหบ้ างกลุ่มนำเสนอ แลว้
ครูให้คำแนะนำปรบั แกต้ ารางตามความเหมาะสม

2.3 ครอู าจมอบหมายให้นักเรียนบันทึกผลการทดสอบแกส๊ เป็นภาพเคลอื่ นไหวโดยใช้โทรศัพท์มือถือ
ประกอบกับการบันทกึ ผลในตารางทีน่ กั เรยี นออกแบบ

2.4 นักเรยี นทำกจิ กรรมตามวธิ ีการในหนังสอื เรียน โดยครูสังเกตการเปลีย่ นแปลงเม่ือใชเ้ ครื่องแยกนำ้
ด้วยไฟฟา้ การเก็บสารจากหลอดแกว้ และการทดสอบสารเพ่อื ให้คำแนะนำนักเรยี น รวมทง้ั นำข้อมูลมาใช้
ประกอบการอภิปรายหลังกจิ กรรมเนน้ ให้นักเรียนทำการทดสอบสารและสังเกตการเปล่ียนแปลงที่เกดิ ขนึ้ อยา่ ง
ละเอียด และวิเคราะหช์ นิดของสารท่เี ก็บไดจ้ ากขั้วบวกและข้ัวลบจากสมบตั ิของสาร

2.5 นักเรียนรว่ มกนั อภปิ รายผลจากการทำกิจกรรมและเพือ่ ใหไ้ ดข้ ้อสรปุ ว่า สารบรสิ ทุ ธ์ิเมอื่ ไดร้ บั
พลงั งานอาจแยกสลายให้องค์ประกอบยอ่ ยมากกวา่ 1 ชนดิ เชน่ นำ้ มีองคป์ ระกอบยอ่ ย 2 ชนดิ คอื ออกซิเจน
และไฮโดรเจนรวมตวั กนั สารบริสุทธท์ิ ่ีมีองคป์ ระกอบยอ่ ยมากกวา่ 1 ชนิดเรียกวา่ สารประกอบ
(compound) ส่วนสารบรสิ ุทธ์ิทม่ี ีองค์ประกอบย่อยเพยี งชนดิ เดยี ว เรียกว่า ธาตุ (element)

2.6 รว่ มกนั อภปิ รายเพือ่ ให้ไดข้ ้อสรุปเก่ยี วกับองคป์ ระกอบของสารบรสิ ทุ ธิ์ ตามประเดน็ ดงั น้ี
• สารบริสุทธิท์ ม่ี ีองคป์ ระกอบมากกว่า 1 ชนดิ ในอตั ราสว่ นคงที่ เปน็ สารประกอบ
• สารบรสิ ทุ ธ์ิทีม่ อี งค์ประกอบเพยี ง 1 ชนิด เปน็ ธาตุ
• อะตอม เปน็ องค์ประกอบของธาตแุ ละสารประกอบ อะตอมคืออนภุ าคทเ่ี ล็กทีส่ ุดของธาตุ

2.7 ครูให้นกั เรียนสืบคน้ จากแหลง่ ข้อมูลท่ีเชอื่ ถือไดเ้ กี่ยวกับชอื่ ธาตุอ่นื ๆ และนำเสนอชอ่ื ธาตุ และท่มี า
ของชอ่ื ธาตุ เช่น ท่มี าจากช่ือนกั วิทยาศาสตร์ ประเทศ ลกั ษณะของธาตใุ นภาษาละติน และครอู าจเสนอแนะ
การอา่ นออกเสียงชื่อธาตุที่นกั เรยี นสนใจท่มี าจากภาษาองั กฤษหรอื ละตนิ เชน่ โครเมยี ม โพแทสเซียม
กำมะถัน (Sulphur ซัล-เฟอร์) ทองแดง (copperคอป-เปอร์) โดยใช้แหลง่ เรยี นรู้ เช่น ราชบัณฑิตยสถาน
http://www.royin.go.th/?page_id=637 http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2550/E
/134/2.PDF หรอื พจนานกุ รมตา่ ง ๆ

2.8 ครูเชอ่ื มโยงไปสกู่ ารเรยี นเรอื่ งต่อไปว่า อะตอมของธาตุต่าง ๆ มอี งคป์ ระกอบที่แยกย่อยลงไปอีก ซง่ึ
นักเรยี นจะไดเ้ รยี นรู้จากแบบจำลองโครงสร้างอะตอมของธาตุตา่ ง ๆ

ช่ัวโมงท่ี 13-15 (สัปดาห์ที่ 8)
3. ขน้ั สรปุ องคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ครทู บทวนความรู้เก่ียวกับอะตอม โดยใช้คำถาม เชน่ อะตอมคืออะไร สารชนิดใดบ้างที่ประกอบไป
ดว้ ยอะตอม แล้วอธิบายเพ่ิมเตมิ ว่าอะตอมมอี งค์ประกอบแยกย่อยลงไปอีก นกั วิทยาศาสตร์สร้างแบบจำลอง
อะตอมเพ่ือใช้ในการอธบิ ายโครงสร้างภายในของอะตอม

26

3.2 ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาในหนังสือเรียน ดูวีดิทัศน์ที่แสดงโครงสร้างอะตอม แล้วร่วมกันอภิปราย
เพือ่ ให้ได้ขอ้ สรุปเกย่ี วกับโครงสร้างอะตอม ตามประเดน็ ดงั นี้

• อะตอมของธาตุแต่ละชนิดประกอบดว้ ยอนภุ าคอะไรบ้าง
• โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน มีจำนวน การเรียงตัวและประจุไฟฟ้า เหมือนหรือแตกต่างกัน
อยา่ งไร
3.3 นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปส่ิงท่ีเรียนรู้จากการทำกิจกรรมและการอ่านเรอ่ื งโครงสร้างอะตอม
โดยใชค้ ำถาม เชน่ อะตอมประกอบดว้ ยอนภุ าคอะไรบ้าง อะตอมของแต่ละธาตุเหมือนหรอื แตกตา่ งกนั อย่างไร
นวิ เคลยี สประกอบดว้ ยอนภุ าคอะไรบ้าง ครูอาจวาดแบบจำลองอะตอมของธาตตุ ่าง ๆ เพ่อื ใหน้ ักเรยี นระบุชนิด
และจำนวนของอนุภาคในแบบจำลอง
3.4 ครูเช่ือมโยงไปสู่การเรียนเร่ืองต่อไปว่า แม้จะมีธาตุแตกต่างกันถึง 118 ชนิด แต่นักวิทยาศาสตร์
สามารถจัดธาตุเป็นหมวดหมู่ใหญ่ ๆ การจัดหมวดหมู่ธาตุยังสัมพันธ์กับการใช้ประโยชน์จากธาตุและ
สารประกอบอีกด้วย นักเรียนจะไดเ้ รยี นรู้เกี่ยวกบั การจำแนกธาตแุ ละการนำธาตุและสารประกอบไปใช้ในเรือ่ ง
ตอ่ ไป
ชว่ั โมงท่ี 16-17 (สัปดาหท์ ่ี 9)
4. ขน้ั การสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 ให้นักเรยี นอ่านเน้ือหาในหนงั สอื เรียนเรอื่ งการจำแนกธาตเุ ป็น โลหะ อโลหะ กงึ่ โลหะ และเร่อื งธาตุ
กมั มันตรงั สี แลว้ รว่ มกันอภปิ รายเพื่อใหไ้ ดข้ ้อสรุปเกี่ยวกับการจำแนกธาตุ ตามประเดน็ ดงั น้ี
• ธาตุจำแนกได้อย่างไรบ้าง ใช้สมบัติใดบ้างเป็นเกณฑ์ในการจำแนก (ธาตุสามารถจำแนกได้เป็น
โลหะ อโลหะ และกงึ่ โลหะ โดยใช้สมบัติทางกายภาพเป็นเกณฑ์ ได้แก่ ความมันวาว การนำไฟฟ้าและนำความ
รอ้ น จุดเดือดและจุดหลอมเหลว ความเหนียว นอกจากนี้สามารถจำแนกธาตุกัมมนั ตรังสี โดยใช้สมบัติการแผ่
รงั สเี ปน็ เกณฑ์)
• ธาตุแต่ละกลุ่มมสี มบัติอย่างไร มีธาตุใดบ้างเปน็ ตัวแทนในแต่ละกล่มุ (ธาตุโลหะมพี ืน้ ผวิ มันวาว นำ
ไฟฟ้าและนำความร้อนได้ดี จุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง ไมเ่ ปราะ เหนยี ว เช่น อะลมู ิเนียม ทองแดง สงั กะสี
ธาตุอโลหะมีพื้นผิวด้าน ไม่มันวาว นำไฟฟ้าและนำความร้อนได้ไมด่ ี จุดเดือดและจุดหลอมเหลวตำ่ เปราะ ไม่
เหนียว เชน่ โบรมีน กำมะถัน คาร์บอน ธาตุก่ึงโลหะมสี มบตั ิบางอยา่ งเหมือนโลหะและสมบตั ิบางอย่างเหมอื น
อโลหะ นำไฟฟ้าได้ดีกว่าอโลหะ อโลหะ แต่ไม่ดีเท่าโลหะ เช่น พลวง โบรอน ซิลิคอนส่วนธาตุกัมมันตรังสีแผ่
รังสีได้เช่น เรดอน พอโลเนยี ม)
4.2 รว่ มกันอภปิ รายเพ่ือใหไ้ ด้ขอ้ สรุปเกีย่ วกบั การใช้ประโยชนธ์ าตุ ตามประเดน็ ดังนี้
• ธาตุโลหะนำไปใชป้ ระโยชน์ไดอ้ ยา่ งไรบ้าง (ธาตโุ ลหะใชใ้ นเครือ่ งจักร เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้า ภาชนะหุงตม้
• ธาตอุ โลหะนำไปใช้ประโยชนไ์ ด้อย่างไรบ้าง (ธาตอุ โลหะเปน็ องค์ประกอบของปุ๋ย)
• ธาตุกึ่งโลหะนำไปใช้ประโยชน์ไดอ้ ย่างไรบ้าง (ธาตุกึ่งโลหะใชใ้ นอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ เป็นสารกึ่ง
ตัวนำ แบตเตอรี่รถยนต์ แผงเซลลแ์ สงอาทติ ย์ แผน่ ซดี ี)

27

• ธาตุกัมมันตรังสีนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไรบ้าง (ธาตุกัมมันตรังสีใช้ในการแพทย์ การเกษตร

อุตสาหกรรม เช่นการรกั ษาโรคมะเร็ง การฉายรังสีอาหาร การตรวจสอบรอยรา้ วในโลหะ)

• ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ และธาตุกัมมนั ตรังสีอาจกอ่ อันตรายได้อย่างไรบา้ ง (โลหะบางชนดิ ท่ีใช้

ในอุตสาหกรรมอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อตับ หัวใจ ไต ธาตุกึ่งโลหะบางชนิดเป็นพิษต่อร่างกาย เช่น สารหนู

ซลิ ิคอน)

ชั่วโมงท่ี 18 (สปั ดาห์ท่ี 9)

5. ขน้ั การบรกิ ารสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 สบื คน้ การใช้ประโยชนจากธาตโุ ลหะ อโลหะ ก่งึ โลหะและธาตกุ ัมมนั ตรงั สี อย่างละ 1 ชนดิ

วเิ คราะห์ผลจากการใช้ธาตเุ ปลา่ นั้นท่ีมีตอ่ สง่ิ มชี ีวิต สงิ่ แวดล้อม เศรษฐกิจและสงั คม นำเสนอผลการวเิ คราะห์

ในรปู แบบต่าง ๆ ทนี่ ่าสนใจ เชน่ การต์ ูน อินโฟกราฟิก ผังมโนทัศน์ บทความ

12. ส่อื การเรยี นรู้/แหล่งเรยี นรู้

12.1ส่อื การเรยี นรู้

1) ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 2) หนังสอื แบบเรยี น 3) ส่ือเพาเวอรพ์ อยต์

12.2แหล่งเรยี นรู้

1) อินเตอร์เนต็ 2) ห้องสมุด

13. บนั ทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- บอกประเภทของสารบริสทุ ธ์ิ ......................................................................................

- บอกองค์ประกอบของสารบริสทุ ธิ์ ......................................................................................

- โครงสร้างอะตอม ......................................................................................

- การจำแนกธาตุและการใช้ประโยชน์ ................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

.....................................................................................

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการคดิ ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

3. ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรมและค่านิยม ......................................................................................

อันพึงประสงค์ : ......................................................................................

28

- มีวินัย ......................................................................................

- ใฝ่เรียนรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................

- รกั ความเปน็ ไทย ......................................................................................

...............................................................................

......................................................................................

......................................................................................

4. ปัญหาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

5. วิธแี กป้ ญั หา

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงชอื่ ...........................................หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกุลรัตน์..) (นายสรุ จกั ร์ิ แก้วม่วง.)

ลงช่อื ........................................... ลงชอ่ื ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกลุ รัตน.์ .) (..นายศิวาวุฒิ รตั นะ..)

หัวหน้างานนเิ ทศ หัวหนา้ กล่มุ บรหิ ารวิชาการ

ลงชือ่ ........................................................
(...นายจงจัด จันทบ...)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม

29

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 4
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่…………...3....หน่วยพนื้ ฐานของสิ่งมีชีวิต..........เรอ่ื ง.............เซลล.์ .............
รายวิชา……......วิทยาศาสตร์……..1.......รหัสวิชา…......ว 21101 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลุ่มสาระการเรยี นรู้............วิทยาศาสตร์..........ปีการศกึ ษา.... 2562.......ภาคเรียนที่..1...เวลา...8...ชว่ั โมง……
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชวี้ ัด/ผลการเรยี นรู้ (รายวิชาพื้นฐานมที ั้งมาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้ีวัด
รายวชิ าเพิ่มเตมิ มเี ฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนรู้)

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ดั ว 1.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/4
สาระท่ี ๑ วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัตขิ องส่ิงมีชีวติ หนว่ ยพ้นื ฐานของสิ่งมชี ีวติ การลำเลยี งสารเข้า
และออกจากเซลล์ ความสมั พนั ธ์ของโครงสร้าง และหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสัตวแ์ ละมนุษย์ทท่ี ำงาน
สมั พันธ์กัน ความสมั พนั ธ์ของโครงสรา้ ง และหนา้ ทข่ี องอวยั วะตา่ ง ๆ ของพชื ทที่ ำงานสมั พันธก์ ัน รวมทั้งนำ
ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ตวั ชว้ี ัด
ว 1.2 ม.1/1 เปรยี บเทียบรปู ร่าง ลักษณะ และโครงสรา้ งของเซลล์พืชและเซลล์สตั ว์ รวมท้งั
บรรยายหน้าทข่ี องผนงั เซลล์ เยอื่ หมุ้ เซลล์ ไซโทพลาซึม นิวเคลียส แวคิวโอล ไมโทคอนเดรียและคลอโรพลาสต์
ว 1.2 ม.1/2 ใชก้ ล้องจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สงศึกษาเซลล์และโครงสรา้ งตา่ ง ๆ ภายในเซลล์
ว 1.2 ม.1/4 อธบิ ายการจดั ระบบของสง่ิ มีชีวิต โดยเริ่มจากเซลล์ เนือ้ เยือ่ อวัยวะ ระบบอวัยวะ
จนเป็นสิ่งมีชีวติ
2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวช้ีวดั ทใ่ี ช้ในหนว่ ยการเรียนรู้นี้เขยี นเป็นแบบความเรียง)
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีเซลล์เป็นส่วนประกอบ บางชนิดประกอบด้วยเซลล์ 1 เซลล์ บางชนิด
ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ เซลล์ของสิ่งมีชีวิตจะมีขนาดเล็กมากจนไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าจึง
ต้องใชก้ ล้องจุลทรรศน์ใชแ้ สงเปน็ เคร่อื งมือช่วยในการศกึ ษาเซลล์พืชและเซลล์สัตวม์ ีโครงสร้างพื้นฐานเหมือน
กนั คือ มีเย่ือหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียสซึ่งโครงสร้างพื้นฐานนี้จะทำหน้าท่ีแตกต่างกันไป แต่เซลล์
พืชมีโครงสร้างบางอย่างที่ไม่พบในเซลล์สัตว์ ได้แก่ผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์เซลล์มีรูปร่างลักษณะท่ี
หลากหลายเพ่ือให้เหมาะสมกับหน้าที่ของเซลล์น้ัน ๆ โดยเซลล์ชนิดเดียวกันหรือหลายชนิดจะทำงานร่วมกัน
เป็นเนอ้ื เยื่อ เน้ือเยือ่ หลายชนดิ รวมกันเป็นอวยั วะ อวยั วะทำงานร่วมกันจัดเป็นระบบอวยั วะ และระบบอวัยวะ
ทกุ ระบบทำงานร่วมกันจนเปน็ สิ่งมชี วี ิต
3. สาระการเรยี นรู้
3.1 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง/สาระการเรยี นรู้เพม่ิ เตมิ (รายวชิ าเพิม่ เติม)
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

30

• เซลล์เปน็ หน่วยพ้นื ฐานของสง่ิ มชี ีวิต สิ่งมีชวี ิตบางชนิดมีเซลล์เพียงเซลลเ์ ดยี ว เช่น อะมีบา

พารามีเซียม ยสี ต์ บางชนดิ มีหลายเซลล์ เช่น พชื สตั ว์

• โครงสรา้ งพื้นฐานทพี่ บทั้งในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ และสามารถสงั เกตได้ดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศนใ์ ช้

แสง ได้แก่ เยือ่ หุม้ เซลล์ ไซโทพลาซมึ และนิวเคลียส โครงสรา้ งทีพ่ บในเซลลพ์ ชื แตไ่ มพ่ บในเซลล์สตั ว์ ได้แก่

ผนังเซลลแ์ ละคลอโรพลาสต์

• โครงสร้างต่าง ๆ ของเซลลม์ ีหนา้ ทีแ่ ตกต่างกนั

- ผนงั เซลล์ ทำหน้าที่ให้ความแข็งแรงแก่เซลล์

- เย่อื หุ้มเซลล์ ทำหนา้ ที่ห่อหุ้มเซลล์และควบคมุ การลำเลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์

- นวิ เคลียส ทำหนา้ ทีค่ วบคมุ การทำงานของเซลล์

- ไซโทพลาซึม มอี อร์แกเนลล์ทที่ ำหนา้ ทแ่ี ตกต่างกัน

- แวคิวโอล ทำหน้าทีเ่ กบ็ นำ้ และสารตา่ ง ๆ

- ไมโทคอนเดรีย ทำหนา้ ทเี่ กยี่ วกับการสลายสารอาหารเพ่อื ให้ไดพ้ ลงั งานแกเ่ ซลล์

- คลอโรพลาสต์ เปน็ แหล่งทีเ่ กดิ การสังเคราะห์ด้วยแสง

• พชื และสัตว์เป็นสงิ่ มชี วี ติ หลายเซลลม์ กี ารจัดระบบ โดยเร่ิมจากเซลลไ์ ปเป็นเนอื้ เย่อื อวยั วะ ระบบ

อวัยวะ และส่งิ มีชีวติ ตามลำดบั เซลลห์ ลายเซลล์มารวมกันเปน็ เน้อื เย่อื เน้อื เยือ่ หลายชนิดมารวมกันและ

ทำงานรว่ มกนั เปน็ อวยั วะ อวยั วะต่าง ๆ ทำงานรว่ มกนั เปน็ ระบบอวัยวะ ระบบอวัยวะทกุ ระบบทำงานร่วมกัน

เป็นสง่ิ มีชีวิต

3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิน่ (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพดู ถงึ หลกั สูตรทอ้ งถ่ินให้ใส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน (เลอื กเฉพาะข้อท่ีเกิดในหนว่ ยการเรยี นรู้น)้ี

 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร  2. ความสามารถในการคิด

 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ

 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

5. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (เลือกเฉพาะขอ้ ท่ีเกิดในหน่วยการเรยี นรนู้ ้ี)

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซื่อสตั ยส์ ุจริต

 3. มวี ินัย  4. ใฝเ่ รียนรู้

 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุ่งม่ันในการทำงาน

 7. รักความเป็นไทย  8. มจี ิตสาธารณะ

6. ด้านคุณลกั ษณะของผเู้ รียนตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวิชาการ  2. สอ่ื สารสองภาษา  3. ลำ้ หน้าทางความคิด

 4. ผลิตงานอย่างสรา้ งสรรค์  5. รว่ มกนั รับผดิ ชอบต่อสังคมโลก

7. ทักษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได้)  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเปน็ )

31

 ทกั ษะด้านการคิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)

 ทกั ษะด้านความเข้าใจความตา่ งวฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะด้านความร่วมมอื การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทักษะด้านการส่ือสาร สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันสอ่ื (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT

Literacy)

 ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)

 ความมีเมตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

8. บรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในหอ้ งเรียนคือ

ประมาณกล่มุ ละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมีเหตุผล : ให้นกั เรยี นสรา้ งสรรคผ์ ลงานและเกดิ ทักษะการปฏบิ ัติ , นกั เรียนเกิดความ

ภาคภูมใิ จในผลงานของตนและสิ่งทเ่ี รียนรู้

3. หลักภมู คิ มุ้ กัน : ใหน้ กั เรยี นเกดิ ทักษะการทำงานกลุ่ม และกลา้ แสดงออก , นักเรยี นร้จู ักการวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชกิ ภายในกลมุ่ ได้เหมาะสมกบั ความสามารถของแต่ละบุคคล

4. เงือ่ นไขความรู้ : การวางแผนงานทจ่ี ะทำก่อนแล้วคอ่ ยลงมือทำอย่างระมัดระวงั

5. เงื่อนไขคณุ ธรรม : อดทนทจี่ ะทำงาน และมคี วามขยนั ที่จะทำงานใหอ้ อกมาไดด้ ที สี่ ดุ , มวี ินัยในการ

ทำงาน

9. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด

ตัวช้ีวัด ชนิ้ งาน ภาระงาน

ว 1.2 ม.1/1 -รายงานกจิ กรรมที่ 3.1 โลกใต้กลอ้ ง - ใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสงสังเกตสไลด์ถาวรของ

ม.1/2 จุลทรรศนเ์ ป็นอยา่ งไร เนื้อเยอื่ พชื เนื้อเยื่อสตั ว์ และสิ่งมีชวี ิตเซลล์เดียว

-รายงานกิจกรรมท่ี 3.2 เซลลพ์ ืชและ - วาดภาพเซลล์และโครงสร้างภายในเซลล์ตามท่ี

เซลล์ สังเกตเหน็ โดยการใชก้ ล้องจุลทรรศน์ใชแ้ สง

สตั วแ์ ตกต่างกันอย่างไร

ว 1.2 ม.1/4 - เขยี นแผนภาพแสดงการจัดระบบ - อธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหว่างรูปรา่ งกับการทำ

ของสิ่งมีชวี ิต โดยแสดงความสัมพนั ธ์ หนา้ ทีข่ องเซลล์ เช่นเซลลป์ ระสาท เซลลค์ มุ

ระหว่างเซลล์ เนื้อเยื่ออวัยวะ ระบบ เซลลเ์ มด็ เลอื ดแดง

อวยั วะและสงิ่ มีชวี ิต

32

10. การวัดประเมนิ ผล

10.1การวัดและประเมนิ ผลช้นิ งาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ กี าร

1.การสงั เกตการณ์

2.การใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตรร์ อ่ งรอยบ่งชี้ 3.การวดั ประเมนิ การปฏิบตั ิ

เครอื่ งมอื

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมนิ การปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมินพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรม ผ่านตง้ั แต่ 2 รายการ ถอื ว่า ผ่าน ผ่าน 1

รายการถอื วา่ ไมผ่ า่ น

10.2 การวดั และประเมนิ ผลระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรยี นรู้ของ

หนว่ ยการเรียนรนู้ ้ี)

ส่งิ ท่ตี ้องการวดั วิธีวัดผล เครอ่ื งมอื วดั ผล เกณฑ์การประเมิน

1. ความรูเ้ กย่ี วกบั -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมนิ การ - นักเรยี นได้คะแนน

- ใช้กลอ้ งจุลทรรศนใ์ ช้แสง ความคดิ เหน็ อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขึ้นไป

สงั เกตสไลดถ์ าวรของเนือ้ เยอ่ื -การตรวจผลงาน คดิ เหน็ หรอื รอ้ ยละ 80

พชื เนอื้ เยอ่ื สัตว์ และสิ่งมชี วี ิต นกั เรยี น ถือว่าผ่านเกณฑ์

เซลล์เดยี ว - แบบประเมนิ การ - นกั เรียนไดค้ ะแนน

- เซลลแ์ ละโครงสรา้ งภายใน ตรวจผลงานผูเ้ รยี น ประเมนิ ผลงาน

เซลล์ 13 คะแนนขน้ึ ไป

- ความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่าง หรอื ร้อยละ 80

กับการทำหน้าท่ีของเซลล์ เช่น ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

เซลล์ประสาท เซลล์คุมเซลล์เม็ด

เลอื ดแดง

2.ทักษะกระบวนการคดิ และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมินการ -นกั เรยี นไดค้ ะแนน

ทกั ษะกระบวนการกล่มุ ความคดิ เห็นระบุ อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขนึ้ ไป

ทักษะกระบวน คดิ เหน็ หรือรอ้ ยละ 80 ถือว่า

การทางวทิ ยาศาสตรท์ ่ี - แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์

ได้ปฏิบัตจิ ากกจิ กรรม พฤติกรรมการ

33

- สงั เกตพฤติกรรมการ ทำงานกลมุ่

ทำงานกลุม่

3. คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ - สงั เกตค่านิยมในการ - แบบประเมนิ - นักเรยี นได้คะแนน
ประเมินคณุ ลักษณะ
และสมรรถนะผเู้ รยี น ทำงานรว่ มกับผู้อืน่ คณุ ลักษณะอันพึง อันพึงประสงค์
26 คะแนนขึ้นไป
- มวี ินยั ในการทำงานกลมุ่ และการทำงานใน ประสงค์ หรือร้อยละ 80
ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
- นกั เรยี นเหน็ ความสำคัญ ระบบกลมุ่ - นกั เรยี นไดค้ ะแนน
การประเมนิ สมรรถนะ
ของการทำงานรว่ มกบั ผู้อืน่ และ อภปิ ราย แสดงความ 29 คะแนนขึน้ ไป
หรือรอ้ ยละ 80
การทำงานในระบบกลมุ่ คิดเห็นเกีย่ วกบั ผลการ ถือว่าผา่ นเกณฑ์

- ยอมรบั ความคิดเห็นซง่ึ กัน ทดลอง - แบบประเมิน

และกันมีความเสียสละและ สมรรถนะผ้เู รยี น

อดทน

11. กิจกรรมการเรียนรู้
ช่ัวโมงท่ี 1 (สัปดาห์ท่ี 10)
1. ขั้นตงั้ ประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครูใหน้ ักเรยี นดภู าพในหนังสือเรยี น รว่ มกนั อภปิ รายและตอบคำถามดงั ต่อไปน้ี
• นกั เรียนสงั เกตเห็นสงิ่ มีชวี ติ อะไรบา้ ง (เป็ดใบบวั )
• นักเรียนคดิ วา่ ในนำ้ มีสงิ่ มีชวี ติ เลก็ ๆ ท่เี รามองไมเ่ ห็นหรอื ไม่ เช่นอะไรบา้ ง (นักเรียนสามารถตอบ

ได้ตามความเข้าใจของตนเองแตค่ รูควรอธิบายเพิ่มเตมิ วา่ ในแหล่งนำ้ ทกุ ที่จะมีส่งิ มีชีวติ ขนาดเลก็ อาศัยอยู่ เชน่
พารามีเซยี ม สาหร่ายบางชนิด)

• นกั เรียนคดิ วา่ ส่ิงท่ีอย่ภู ายในวงกลม 3 วงน้ีคืออะไร เกยี่ วข้องกบั สง่ิ มีชีวิตในภาพอยา่ งไร
(นกั เรยี นสามารถตอบไดต้ ามความเขา้ ใจของตนเอง แต่ครอู ธิบายเพ่ิมเตมิ ว่า ภายในวงกลม 2 วง ดา้ นบน คือ
ส่วนประกอบยอ่ ย ๆของพืชและสัตว์ เรยี กวา่ เซลล์ ส่วนวงกลมดา้ นลา่ งเปน็ ส่ิงมีชวี ติ เซลล์เดียวคือ พารามี
เซยี ม)

34

1.2 ครูเชอ่ื มโยงเข้าสูบ่ ทเรยี น โดยใชค้ ำถามว่าจากท่ีเรียนมาแล้ววา่ ธาตุประกอบดว้ ยหน่วยย่อยทีเ่ ล็ก
ทสี่ ดุ ท่ีแสดงสมบัตขิ องธาตเุ รยี กว่า อะตอม นักเรยี นคิดว่า ส่ิงมชี ีวิตจะมีหนว่ ยยอ่ ยที่เลก็ ทสี่ ุดท่แี สดง
สมบัติของการมีชวี ิตหรอื ไม่ หนว่ ยย่อยท่เี ล็กที่สุดนน้ั เรียกว่าอะไร และมีรปู รา่ งลักษณะอยา่ งไร

1.3 ครูใหน้ ักเรียนสังเกตภาพจากหนังสอื เรียนซงึ่ เปน็ ภาพเลือดที่กำลงั แข็งตวั ภายใตก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ทมี่ ี
กำลังขยายสงู และอา่ นเนอ้ื หานำบท จากนน้ั อภิปรายโดยใช้คำถามตอ่ ไปนี้

• เลอื ดท่กี ำลังแขง็ ตัวประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง(เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลลเ์ ม็ดเลอื ดขาว และ
เส้นใยไฟบริน)

• รูปรา่ งลักษณะของเซลลแ์ ต่ละชนดิ มีความเหมือนหรอื ตา่ งกันหรอื ไม่อย่างไร (ตา่ งกันโดยเซลลเ์ มด็
เลือดแดง มีลักษณะเปน็ ทรงกลมสีแดง เวา้ สว่ นกลาง เซลล์เมด็ เลอื ดขาวมีลกั ษณะเป็นทรงกลมสขี าว ส่วน
ไฟบรนิ เป็นสารประกอบประเภทโปรตีน)

• เซลล์แตล่ ะชนิดมหี น้าทีแ่ ตกต่างกนั อยา่ งไร (เซลลเ์ มด็ เลือดแดงทำหน้าท่ีลำเลียงแก๊สไปยังสว่ น
ตา่ ง ๆ ของร่างกาย เซลล์เม็ดเลือดขาวทำหน้าท่ีกำจดั เชื้อโรค)

• เราสามารถสงั เกตลักษณะของเซลล์เหลา่ น้ันได้โดยวธิ ีการใด (สามารถสังเกตไดโ้ ดยใช้กลอ้ ง
จุลทรรศน์ที่มีกำลังขยายสูง)

1.4 ครนู ำเข้าสู่บทเรยี นโดยแจง้ ใหน้ กั เรยี นทราบว่า นักเรียนจะไดฝ้ กึ การใช้กล้องจุลทรรศนใ์ ช้แสงสังเกต
เซลล์ เปรยี บเทียบรูปร่างลักษณะและโครงสรา้ งของเซลล์พชื และเซลลส์ ัตว์ อธบิ ายความสัมพันธ์ระหวา่ ง
รูปรา่ งกับหนา้ ทขี่ องเซลล์ และอธบิ ายการจดั ระบบของส่งิ มีชีวติ

1.5 ครูตรวจสอบความรเู้ ดมิ ของนักเรยี นเกีย่ วกับกล้องจลุ ทรรศน์และเซลลโ์ ดยใหท้ ำกจิ กรรมร้อู ะไรบา้ ง
ก่อนเรียน

ช่ัวโมงที่ 2-5 (สัปดาห์ที่ 10-11)
2. ข้นั สืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครูใหน้ กั เรยี นเข้าส่กู ิจกรรม 3.1 โดยนำนำ้ 1-2 หยด จากแหลง่ นำ้ บริเวณรอบ ๆ โรงเรียนมาให้
นักเรยี นสงั เกตดว้ ยกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง ซง่ึ ครูควรตรวจสอบหยดน้ำกอ่ นนำมาให้นักเรยี นสังเกต จากน้นั ใช้
คำถามเพื่อเช่อื มโยงเขา้ สู่กจิ กรรม เช่น

• ก่อนสงั เกตด้วยกลอ้ งจุลทรรศนใ์ ช้แสง นักเรยี นสงั เกตเห็นอะไรในหยดนำ้ บ้าง (นกั เรียนตอบได้
ตามทีส่ งั เกตเห็นจรงิ เชน่ ไม่เหน็ )

• หลงั จากสงั เกตด้วยกล้องจลุ ทรรศนใ์ ชแ้ สง นกั เรียนสังเกตเห็นอะไรในหยดนำ้ บา้ ง (นกั เรยี นตอบได้
ตามทส่ี งั เกตเหน็ จรงิ เช่น เหน็ ส่ิงมีชีวติ ขนาดเลก็ )

• นักเรยี นสงั เกตเห็นสง่ิ ตา่ ง ๆ ในหยดนำ้ ได้อยา่ งไร (ใชก้ ล้องจุลทรรศนใ์ ช้แสง)

35

• นกั เรียนทราบหรือไม่วา่ กลอ้ งจุลทรรศนใ์ ชแ้ สงมวี ธิ ีการใช้งานอย่างไร และถา้ นำไปสังเกตช้นิ สว่ น
ของสง่ิ มชี ีวติ จะเป็นอยา่ งไร (นกั เรียนตอบไดต้ ามความเขา้ ใจ โดยครอู ธบิ ายว่านักเรยี นจะได้เรียนรสู้ ิง่ ต่าง ๆ น้ี
ในกจิ กรรมต่อไป)

2.2 ครูอธิบายการใช้กล้องจลุ ทรรศนใ์ ช้แสง (นักเรยี นสงั เกตส่วนประกอบ อา่ นวธิ ีการใช้ และฝกึ การ
ใช้กลอ้ งจลุ ทรรศน์ใช้แสงเพื่อให้สามารถใช้ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง จากน้ันทำสไลด์ตัวอักษร สงั เกตสไลดต์ ัวอกั ษรดว้ ย
แว่นขยายและกลอ้ งจุลทรรศน์ใช้แสงโดยเปล่ยี นกำลงั ขยายจาก 4 10 และ 40 เทา่ ตามลำดบั เลื่อนสไลด์ไป
ทางซา้ ย ขวา บน และล่าง จากน้นั บนั ทึกผลการทำกิจกรรม)

2.3 นักเรยี นทำกิจกรรมกจิ กรรมท่ี 3.1 โลกใตก้ ล้องจลุ ทรรศนเ์ ป็นอย่างไรตามวิธีการในหนังสือเรยี น
นักเรียนออกแบบวธิ กี ารบนั ทึกผลกิจกรรมตอนที่ 1เพือ่ เปรียบเทียบตวั อกั ษรทเี่ ห็นจากแวน่ ขยายและจาก
กล้องจลุ ทรรศน์ใช้แสงเมอ่ื มีการปรับ กำลังขยาย รวมทั้ง การเปล่ียนตำแหน่ง ของภาพเมือ่ มกี ารเลอ่ื นสไลด์
โดยครูสังเกตวธิ ีการใช้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง เน้นใหน้ ักเรยี นทกุ คนไดม้ ีโอกาสฝึกใช้กลอ้ งจุลทรรศนใ์ ชแ้ สงให้
ถกู ตอ้ ง และสังเกตการบนั ทึกผลการเปล่ียนแปลงของภาพจากการใชแ้ วน่ ขยายและการเปล่ียนแปลงของภาพ
จากการใชก้ ล้องจุลทรรศน์ใช้แสง เมอื่ มกี ารปรับกำลังขยาย และเล่อื นแท่นวางสไลดไ์ ปทางซ้ายขวา บน และ
ลา่ ง เพอื่ ให้ข้อแนะนำหากเกิดข้อผดิ พลาดในการทำกิจกรรม ณ ขณะนนั้ รวมทัง้ นำขอ้ มูลทค่ี วรจะปรับปรงุ
และแก้ไขมาใชป้ ระกอบการอภปิ รายหลังทำกิจกรรม

2.4 นกั เรียนรว่ มกนั อ่านวิธกี ารดำเนนิ กจิ กรรมตอนที่ 2 จากหนังสือเรยี นวางแผนการทำงานร่วมกนั
พรอ้ มท้งั ออกแบบวธิ ีการบันทกึ ผลให้เรียบร้อยกอ่ นทำกิจกรรมตรวจสอบการออกแบบวธิ บี ันทกึ ผลของ
นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ โดยอาจให้บางกลมุ่ นำเสนอแล้วครใู ห้คำแนะนำเพ่อื ปรบั แกว้ ิธีการบนั ทกึ ผลตามความ
เหมาะสม

2.5 นักเรยี นตอบคำถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันอภปิ รายคำตอบเพ่อื ใหน้ ักเรียนสรปุ ไดว้ า่ เน้ือเยื่อของ
พืช สัตว์ และส่ิงมีชีวติ เซลล์เดียว มีลักษณะที่สำคัญเหมอื นกันคอื ประกอบดว้ ยหน่วยย่อย ๆ ซ่งึ มีลกั ษณะเปน็
หอ้ ง มขี อบเขตชดั เจนเรยี กวา่ เซลล์

2.6 ครูให้นกั เรยี นอา่ นเพม่ิ เตมิ เพอื่ ใหไ้ ดข้ อ้ สรุปว่าส่งิ มชี วี ติ ทุกชนดิ ประกอบด้วยเซลล์ สิ่งมชี วี ติ บางชนดิ
ที่มกี ระบวนการต่าง ๆ ของการดำรงชีวิตเกิดขึ้นภายในเซลลเ์ พยี งเซลลเ์ ดียว เรยี กว่า สงิ่ มชี ีวิตเซลล์เดยี ว เชน่
แบคทเี รยี ยสี ต์ พารามเี ซยี ม สว่ นส่งิ มีชวี ติ ที่มกี ระบวนการดำรงชวี ติ ทีซ่ ับซ้อน ประกอบด้วยเซลลห์ ลายเซลล์ที่
ทำงานร่วมกนั เพอื่ การดำรงชวี ิต เรียกว่า ส่งิ มีชีวิตหลายเซลล์ เชน่ พืช สัตว์ เห็ด

2.7 ครูเช่ือมโยงองคค์ วามรู้ที่ได้ไปยังเรอ่ื งโครงสรา้ งและหน้าทขี่ องเซลลท์ ี่จะเรยี นในเรอื่ งถัดไป โดยครู
อาจใช้คำถาม เชน่ จากที่ทราบมาแลว้ ว่าสิ่งมีชวี ิตทุกชนดิ มีเซลล์เป็นหน่วยพ้นื ฐาน นักเรียนคดิ วา่ เซลลพ์ ชื และ
เซลล์สัตว์มีลกั ษณะเหมือนหรอื แตกต่างกันอยา่ งไร และโครงสรา้ งภายในของเซลลด์ งั กล่าวประกอบด้วย
อะไรบา้ ง

2.8 ครูตรวจสอบความรูเ้ ดมิ ของนกั เรยี นเก่ยี วกบั โครงสรา้ งและหน้าที่ของเซลล์โดยให้ทำกจิ กรรม รู้
อะไรบ้างก่อนเรยี น

36


Click to View FlipBook Version