The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2020-08-13 20:57:01

วิชาวิทยาศาตร์พื้นฐาน1

วิชา ว 21101

2.9 ครูนำเข้าสู่กิจกรรมที่ 3.2 เซลล์พืช และเซลล์สัตวแ์ ตกต่างกนั อย่างไรไร โดยการต้ังคำถามสร้าง
ความสนใจว่าเซลล์สตั วม์ รี ปู ร่างลักษณะเหมือนหรือแตกตา่ งกนั หรือไม่ และโครงสรา้ งภายในของเซลล์
ประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง

2.10 ครูใหน้ ักเรยี นทำกจิ กรรมที่ 3.2 ตามรายละเอียดในแบบเรยี นและทำกิจกกรรมตามแผนทีว่ างไว้ ครู
สงั เกตวิธีการเตรยี มสไลดต์ วั อย่าง การวางกระจกปิดสไลด์ การเลือกใบสาหร่ายหางกระรอก การย้อมสีเย่อื
หอมดว้ ยสารละลายไอโอดนี การลา้ งสสี ารละลายไอโอดีน การซับของเหลวสว่ นเกนิ รวมไปถึงการใช้กลอ้ ง
จุลทรรศน์ใช้แสงอย่างถกู วธิ ีและการบนั ทกึ ผลการสงั เกตของนกั เรยี นทกุ กลุม่ เพ่อื ใหค้ ำแนะนำถ้าเกิดขอ้ ผิด
พลาดในขณะทำกิจกรรม รวมท้งั นำขอ้ มูลทค่ี วรปรับปรุงและแก้ไขมาประกอบการอภปิ รายภายหลัง
การทำกิจกรรม

ชัว่ โมงท่ี 6 (สัปดาห์ท่ี 11)
3. ข้ันสรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ให้นักเรยี นตอบคำถามท้ายกจิ กรรม และรว่ มกันอภิปรายคำตอบเพื่อให้นักเรียนสรุปได้ว่าเซลล์พืช
และเซลล์สัตว์มีรูปร่างลักษณะแตกต่างกัน เซลล์พืชมีรูปร่างเป็นเหล่ียม เซลล์สัตว์มีรูปร่างค่อนข้างกลม
โครงสร้างของเซลล์ท่ีพบได้ท้ังเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ได้แก่ เย่ือหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส ส่วน
โครงสร้างท่ีพบเฉพาะเซลล์พชื ไดแ้ ก่ผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์ สำหรับเยื่อหุ้มเซลลข์ องเซลล์พืช อาจเห็นไม่
ชดั เจน เพราะเบียดชิดกบั ผนังเซลล์ แต่จะเหน็ ได้ชดั เจนเม่ือเซลล์เหี่ยว
3.2 ร่วมกันอภิปรายเพ่ือให้ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับรูปร่างและโครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ตาม
ประเด็นต่อไปนี้

• ภายในไซโทพลาซึมของเซลล์จะมีโครงสร้างที่ทำหน้าที่เฉพาะ โครงสร้างเหล่าน้ันคืออะไร (ออร์
แกเนลล)์

• จากการทำกจิ กรรมนี้ โครงสรา้ งใดของเซลลท์ ่ไี ม่พบ (ไมโทคอนเดรียและแวควิ โอล)
• นอกจากโครงสร้างที่นักเรียนสังเกตเห็นจากกิจกรรมและเน้ือหาในหนังสือเรียน นักเรียนคิดว่าจะมี
โครงสรา้ งอน่ื อีกหรอื ไม่ (มี ซ่งึ นักเรียนจะได้เรียนในระดบั ทสี่ ูงข้ึน เช่น ไรโบโซม เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม ไลโซ
โซม เปน็ ตน้ ครอู าจมีรูปเพ่ิมเติมใหน้ ักเรยี นดู)
• เซลล์สาหร่ายหางกระรอกและเซลล์เยื่อหอมมีโครงสร้างเหมอื นหรอื แตกตา่ งกนั อยา่ งไร และมีผลต่อ
หน้าที่ของเซลลอ์ ยา่ งไร (มีโครงสร้างท่เี หมือนกนั คอื มีผนังเซลล์ เย่อื หุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึมและนิวเคลียส แต่มี
โครงสร้างที่ต่างกันคือพบคลอโรพลาสต์ในเซลล์สาหร่ายหางกระรอก แต่ไม่พบในเซลล์เย่ือหอม ซ่ึงมีผลต่อ
หน้าท่ีต่างกันคือเซลล์สาหร่ายหางกระรอกมีคลอโรพลาสต์จึงทำหน้าท่ีสังเคราะห์ด้วยแสงได้ ส่วนเซลล์เยื่อ
หอมไมม่ คี ลอโรพลาสต์ จงึ ทำหนา้ ทส่ี งั เคราะห์ด้วยแสงไมไ่ ด้ แต่ทำหนา้ ท่ปี อ้ งกันเนื้อเยอ่ื ท่ีอยูภ่ ายใน)
3.3 ครูสรปุ ขอ้ มูลเพอ่ื เชือ่ มโยงความรู้เก่ยี วกับรูปร่างลักษณะและโครงสร้างของเซลล์พืช และเซลล์สตั ว์ว่า
ทั้งเซลล์พืช และเซลล์สัตว์มีโครงสร้างพื้นฐานเหมือนกัน นักเรียนจะได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่าง
ลักษณะของเซลลก์ บั หนา้ ทข่ี องเซลลต์ อ่ ไป

37

ชวั่ โมงที่ 7 (สัปดาหท์ ี่ 12)
4. ขั้นการส่อื สารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 ให้นักเรียนอ่านเนือ้ หาในหนังสอื ตอบคำถามระหว่างเรียน และร่วมกันอภิปรายเพ่ือให้ได้ขอ้ สรุปว่า
รูปรา่ งลักษณะของเซลล์มีความสมั พนั ธ์กับหน้าทข่ี องเซลลน์ ้ัน ๆ โดยอาจใช้คำถามดังนี้

• ตัวอยา่ งเซลลส์ ตั ว์มีอะไรบา้ ง (เซลล์ประสาท เซลล์เม็ดเลอื ดแดง และเซลลส์ เปริ ม์ )
• เซลล์สัตว์แต่ละชนิดมีรูปร่างลักษณะอย่างไร (เซลล์ประสาทมีรูปร่างลักษณะเป็นเส้นยาว มีก้อน
กลมอยู่บริเวณค่อนไปทางส่วนปลาย มีแขนงเป็นเส้นยาว เซลล์เม็ดเลือดแดงมรี ูปร่างลักษณะกลม ส่วนกลาง
เซลลท์ ้งั สองดา้ นเว้าเข้าหากนั ทำใหแ้ บน สว่ นเซลลส์ เปริ ์มมรี ปู ร่างลกั ษณะกลม มหี างยาวเรียว)
• รูปร่างลักษณะของเซลล์สัตว์แต่ละชนิดสัมพันธ์กับหน้าที่อย่างไร (เซลล์ประสาทมีแขนงเป็นเส้น
ยาว เพ่อื นำกระแสประสาทไปยงั เซลล์อื่นทีอ่ ยไู่ กลออกไป เซลล์เมด็ เลอื ดแดงมีรปู รา่ งกลมแบน เพื่อใหเ้ คลอื่ นท่ี
ไปในหลอดเลือดได้ง่ายมีลักษณะเว้ากลางเซลล์ท้ังสองด้านเพื่อช่วยเพ่ิมพื้นที่ในการลำเลียงออกซิเจน ส่วน
เซลลส์ เปริ ์มมีหางเพ่อื ช่วยในการเคลื่อนท่ีไปหาเซลลไ์ ข่)
• ตัวอย่างเซลลพ์ ชื มีอะไรบ้าง (เซลลข์ นราก เซลลใ์ นเนอื้ เยือ่ ลำเลยี งน้ำ เซลลค์ มุ )
• เซลล์พืชแต่ละชนิดมีรูปร่างลักษณะอย่างไร (เซลล์ขนรากมีผนังเซลล์ด้านท่ีสัมผัสกับดินยื่นยาว
ออกมาเป็นหลอดคล้ายเส้นขนเล็ก ๆ เซลล์ในเนื้อเย่ือลำเลียงน้ำมีรูปร่าง เป็นท่อกลวงยาว และเซลล์คุมมี
รูปร่างลักษณะคล้ายเมล็ดถวั่ หรอื รูปไต)
• รูปร่างลักษณะของเซลล์พืชแต่ละชนิดสัมพันธ์กับหน้าที่อย่างไร (เซลล์ขนรากมีรูปร่างลักษณะ
คล้ายเส้นขนเล็กๆย่ืนยาวออกมาเพื่อเพิ่มพื้นท่ีผิวในการดูดน้ำและธาตุอาหาร เซลล์ในเน้ือเยื่อลำเลียงน้ำ มี
ลักษณะเป็นท่อกลวงยาวเพื่อใชใ้ นการลำเลียงน้ำจากรากไปยังส่วนต่าง ๆ ของพืช และเซลล์คุมมรี ูปร่างคล้าย
เมลด็ ถ่วั หรือรูปไต มผี นังเซลลห์ นาบางไม่เท่ากนั ทำหนา้ ที่ควบคมุ การปดิ เปดิ ปากใบ
4.2 สรุปข้อมูลเพื่อเชื่อมโยงความรู้เก่ียวกับการจัดระบบภายในของสิ่งมีชีวิตว่า ส่ิงมีชีวิตประกอบด้วย
เซลล์เป็นหน่วยพ้ืนฐานบางชนิดมีเซลล์เดียว บางชนิดมีหลายเซลล์ มีการจัดระบบของเซลล์อย่างไรจนเป็น
อวยั วะและร่างกายของส่ิงมชี วี ติ
ชั่วโมงที่ 8 (สัปดาหท์ ี่ 12)
5. ขัน้ การบรกิ ารสังคมและสาธารณะ (Public Service)
5.1 นกั เรียนอา่ นหนงั สอื เรยี น ตอบคำถามระหว่างเรยี น และรว่ มกนั อภิปรายเพือ่ ใหไ้ ดข้ ้อสรปุ ว่าส่งิ มี
ชวี ิตหลายเซลล์ ท้งั พชื และสัตว์ ประกอบด้วยเซลลท์ มี่ กี ารจดั ระบบเป็นเนื้อเยอ่ื อวยั วะ ทำงานรว่ มกันเป็น
ระบบอวัยวะตา่ ง ๆ จนเป็นสิ่งมชี ีวิตโดยครูอาจใช้คำถามดงั ต่อไปน้ี
• การจัดระบบภายในของสง่ิ มชี วี ิต เรียงลำดับจากหน่วยเลก็ ไปหาหน่วยใหญอ่ ย่างไร

เซลล์ → เน้ือเยอ่ื → อวัยวะ → ระบบอวยั วะ → สิ่งมชี ีวิต

38

5.2 นกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ หวั ข้อเรือ่ งการศึกษาเซลล์ด้วยกล้องจุลทรรศน์ จากน้นั นกั เรยี นทำกจิ กรรม

ตรวจสอบตนเองเพอื่ สรปุ องค์ความรู้ท่ไี ดเ้ รียนรจู้ ากบทเรยี น ดว้ ยการเขียนบรรยาย วาดภาพ หรอื เขยี นผังมโน

ทศั น์ ส่งิ ท่ไี ดเ้ รียนรูจ้ ากบทเรียนเร่ืองการศึกษาเซลลด์ ว้ ยกล้องจุลทรรศน์

12. สอื่ การเรยี นรู้/แหล่งเรยี นรู้

12.1สอ่ื การเรยี นรู้

1) ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนงั สอื แบบเรยี น 3) สอื่ เพาเวอร์พอยต์

12.2แหลง่ เรยี นรู้

1) อนิ เตอร์เน็ต 2) หอ้ งสมุด

13. บนั ทกึ หลังการจดั การเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- การใชก้ ล้องจุลทรรศน์ใช้แสงศึกษาเซลล์ ......................................................................................

และโครงสรา้ งตา่ ง ๆ ภายในเซลล์ ......................................................................................

- เปรียบเทียบรูปรา่ ง ลักษณะ และโครงสร้าง ......................................................................................

ของเซลล์พืชและเซลลส์ ัตว์ รวมทง้ั บรรยาย ................................................................................

หน้าทข่ี องผนังเซลลเ์ ยอ่ื หมุ้ เซลล์ ไซโทพลาซึม ......................................................................................

นิวเคลยี ส แวควิ โอล ไมโทคอนเดรยี และคลอ ......................................................................................
โรพลาสต์
......................................................................................
- อธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหว่างรูปร่างกบั การ ......................................................................................
ทำหนา้ ทีข่ องเซลล์
................................................................................
- อธิบายการจัดระบบของสิ่งมชี ีวติ โดยเรม่ิ
จากเซลล์ เน้ือเยอื่ อวยั วะ ระบบอวยั วะ จน ......................................................................................
เป็นสิง่ มีชวี ติ .....................................................................................

2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการคดิ ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการกลมุ่ ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

3. ด้านคุณธรรมจริยธรรมและคา่ นยิ ม ......................................................................................

อนั พึงประสงค์ : ......................................................................................

- มีวนิ ัย ......................................................................................

- ใฝเ่ รยี นรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................

39

- รักความเป็นไทย ......................................................................................

4. ปญั หาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
5. วิธแี กป้ ญั หา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

ลงชื่อ........................................ครผู ู้สอน ลงชื่อ...........................................หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รตั น์..) (นายสุรจักริ์ แก้วมว่ ง.)

ลงชือ่ ........................................... ลงชือ่ ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รัตน.์ .) (..นายศวิ าวุฒิ รตั นะ..)

หวั หนา้ งานนเิ ทศ หวั หน้ากลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ

ลงชื่อ ........................................................
(...นายจงจัด จันทบ...)

ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม

40

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 5
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี…….3....หน่วยพ้นื ฐานของสิ่งมชี วี ิต..........เรือ่ ง.............การลำเลยี งสารเขา้ ออกเซลล์..............
รายวชิ า……......วิทยาศาสตร์……..1.......รหัสวิชา…......ว 21101 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลมุ่ สาระการเรียนร้.ู ...........วทิ ยาศาสตร์..........ปีการศกึ ษา.... 2562.......ภาคเรียนที่..1...เวลา...4...ชวั่ โมง……
ผูส้ อน.........................นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกุลรัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพ้ืนฐานมีท้งั มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้ีวัด
รายวิชาเพม่ิ เตมิ มีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรแู้ ละผลการเรียนร้)ู

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด ว 1.2 ม.1/5
สาระที่ ๑ วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัตขิ องสงิ่ มชี ีวิต หนว่ ยพืน้ ฐานของส่ิงมชี วี ติ การลำเลียงสารเขา้
และออกจากเซลล์ ความสัมพันธข์ องโครงสร้าง และหนา้ ทข่ี องระบบตา่ ง ๆ ของสัตวแ์ ละมนษุ ย์ทท่ี ำงาน
สมั พนั ธ์กัน ความสัมพนั ธ์ของโครงสรา้ ง และหนา้ ทขี่ องอวัยวะต่าง ๆ ของพชื ทีท่ ำงานสัมพันธ์กัน รวมทั้งนำ
ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ตวั ชว้ี ัด
ว 1.2 ม.1/5 อธบิ ายกระบวนการแพรแ่ ละออสโมซสิ จากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ และยกตวั อยา่ ง
การแพร่และออสโมซสิ ในชวี ิตประจำวนั
2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวช้วี ดั ท่ใี ช้ในหน่วยการเรยี นร้นู ีเ้ ขียนเปน็ แบบความเรียง)
เซลล์มีกระบวนการต่าง ๆ ในการนำสารเข้าออกเซลล์ การนำสารเข้าและออกจากเซลล์มีหลายวิธี
เช่น การแพร่เป็นวิธีการที่สารจะเคลื่อนที่จากบริเวณท่ีมีความเข้มข้นของสารมากไปสู่บริเวณทีม่ีความเข้มข้น
ของสารน้อย ส่วนการออสโมซิสเป็นการแพร่ของน้ำผ่านเย่ือหุ้มเซลล์จากดา้ นที่มีความเขม้ ข้นของสารละลาย
ต่ำไปยังดา้ นทีม่ คี วามเขม้ ข้นของสารละลายสงู กวา่
3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/สาระการเรียนรู้เพิ่มเตมิ (รายวิชาเพ่ิมเติม)
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เซลลม์ กี ารนำสารเข้าสู่เซลล์ เพ่อื ใช้ในกระบวนการต่าง ๆ ของเซลล์ และมีการขจัดสารบางอยา่ ง
ทีเ่ ซลล์ไม่ตอ้ งการออกนอกเซลล์ การนำสารเขา้ และออกจากเซลล์มีหลายวิธี เช่น การแพร่เปน็ การเคล่ือนท่ี
ของสารจากบริเวณที่มีความเขม้ ขน้ ของสารสูงไปสู่บรเิ วณท่มี ีความเข้มขน้ ของสารตำ่ ส่วนออสโมซสิ เป็นการ
แพรข่ องน้ำ ผา่ นเยอื่ หุม้ เซลล์ จากด้านที่มคี วามเข้มขน้ ของสารละลายตำ่ ไปยังด้านทีม่ ีความเขม้ ข้นของ
สารละลายสูงกวา่
3.2 สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถ่ิน (ถา้ ในคำอธิบายรายวชิ าพูดถงึ หลกั สตู รท้องถิน่ ให้ใส่ลงไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

41

4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น (เลอื กเฉพาะข้อที่เกิดในหนว่ ยการเรยี นรนู้ ี้)

 1. ความสามารถในการส่ือสาร  2. ความสามารถในการคดิ

 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

5. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (เลือกเฉพาะขอ้ ที่เกิดในหนว่ ยการเรยี นรนู้ )ี้

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  2. ซื่อสัตยส์ ุจรติ

 3. มีวินยั  4. ใฝ่เรียนรู้

 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุ่งมั่นในการทำงาน

 7. รักความเป็นไทย  8. มจี ติ สาธารณะ

6. ด้านคุณลกั ษณะของผเู้ รียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวิชาการ  2. สือ่ สารสองภาษา  3. ลำ้ หน้าทางความคิด

 4. ผลติ งานอย่างสรา้ งสรรค์  5. รว่ มกันรับผิดชอบต่อสงั คมโลก

7. ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได)้  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น)

 ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะดา้ นความเข้าใจความตา่ งวัฒนธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะด้านความรว่ มมอื การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทกั ษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรเู้ ท่าทันส่ือ (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทักษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT

Literacy)

 ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)

 ความมเี มตตา (วินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

8. บูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลุ่มใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในห้องเรยี นคือ

ประมาณกล่มุ ละ 4 – 6 คน

2. หลักความมเี หตุผล : ให้นกั เรยี นสร้างสรรค์ผลงานและเกดิ ทกั ษะการปฏบิ ตั ิ , นักเรียนเกดิ ความ

ภาคภูมใิ จในผลงานของตนและสง่ิ ท่เี รียนรู้

3. หลกั ภูมิคมุ้ กนั : ใหน้ กั เรยี นเกดิ ทกั ษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก , นักเรยี นรู้จกั การวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานใหส้ มาชกิ ภายในกลุม่ ได้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคล

42

4. เงอ่ื นไขความรู้ : การวางแผนงานท่จี ะทำก่อนแลว้ ค่อยลงมอื ทำอย่างระมัดระวงั

5. เง่ือนไขคณุ ธรรม : อดทนทจ่ี ะทำงาน และมีความขยันทีจ่ ะทำงานให้ออกมาไดด้ ที สี่ ดุ , มีวนิ ัยในการ

ทำงาน

9. ชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตัวชีว้ ัด ชน้ิ งาน ภาระงาน

ว 1.2 ม.1/5 -รายงานกิจกรรมที่ 3.3 อนุภาคของ - อธบิ ายกระบวนการแพร่

สารมีการเคล่อื นทีอ่ ย่างไร - อธบิ ายกระบวนการออสโมซสิ

-รายงานกิจกรรมที่ 3.4 น้ำเคล่ือนท่ี - ยกตัวอย่างการแพร่และการออสโมซิสใน

ผา่ นเยอื่ เลือกผา่ นได้อยา่ งไร ชีวิตประจำวนั

10. การวัดประเมินผล

10.1การวัดและประเมินผลช้นิ งาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ ีการ

1.การสังเกตการณ์

2.การใชช้ ดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ร่องรอยบ่งช้ี 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ

เคร่ืองมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมนิ การปฏิบัติ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรม ผ่านต้ังแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1

รายการถือวา่ ไม่ผ่าน

10.2 การวัดและประเมนิ ผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ประเมินจากแผนการจดั การเรียนรู้ของ

หน่วยการเรียนรนู้ )ี้

ส่งิ ที่ตอ้ งการวัด วธิ ีวดั ผล เครอ่ื งมือวดั ผล เกณฑก์ ารประเมิน

1. ความรูเ้ ก่ียวกบั -การสอบถาม ซกั ถาม ความ - แบบประเมินการ - นกั เรยี นได้

- การนำสารเขา้ สู่เซลล์ คิดเหน็ อภปิ รายแสดง คะแนน

เพ่อื ใชใ้ นกระบวนการต่าง ๆ -การตรวจผลงานนักเรยี น ความ 12 คะแนนขึน้ ไป

ของเซลล์ และขจัดสาร คดิ เหน็ หรอื ร้อยละ 80

บางอยา่ งท่ีเซลล์ไมต่ ้องการ - แบบประเมนิ การ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

ออกนอกเซลล์ ตรวจผลงานผเู้ รียน - นกั เรียนได้

- การแพร่เป็นการ คะแนน

43

เคลอื่ นทีข่ องสารจากบรเิ วณ ประเมนิ ผลงาน

ทีม่ คี วามเขม้ ขน้ ของสารสูง 13 คะแนนขึ้นไป

ไปสู่บริเวณทม่ี ีความเขม้ ขน้ หรอื ร้อยละ 80

ของสารตำ่ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

- การออสโมซิสเป็นการแพร่

ของนำ้ ผ่านเยอ่ื หุ้มเซลล์จาก

ดา้ นท่มี คี วามเข้มข้นของสาร

ละลายต่ำไปยังดา้ นทม่ี ีความ

เข้มขน้ ของสารละลายสูง

กวา่

2.ทกั ษะกระบวนการคดิ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ -นกั เรียนไดค้ ะแนน

และทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ความคดิ เหน็ ระบทุ กั ษะ อภปิ รายแสดง 12 คะแนนข้นึ ไป

กระบวน ความ หรือรอ้ ยละ 80

การทางวิทยาศาสตรท์ ไี่ ดป้ ฏิบตั ิ คิดเห็น ถือว่าผา่ นเกณฑ์

จากกจิ กรรม - แบบประเมนิ

- สงั เกตพฤติกรรมการ พฤตกิ รรมการ

ทำงานกล่มุ ทำงานกล่มุ

3. คุณลกั ษณะท่พี งึ - สงั เกตค่านิยมในการ - แบบประเมิน - นกั เรยี นได้

ประสงค์ ทำงานร่วมกับผอู้ นื่ และการ คณุ ลักษณะอันพงึ คะแนน

และสมรรถนะผเู้ รียน ทำงานในระบบกล่มุ ประสงค์ ประเมนิ คณุ ลักษณะ

- มวี ินยั ในการทำงานกล่มุ อภิปราย แสดงความคดิ เหน็ อันพงึ ประสงค์

- นกั เรียนเห็นความสำคัญ เกยี่ วกับผลการทดลอง - แบบประเมนิ 26 คะแนนขนึ้ ไป

ของการทำงานร่วมกบั ผูอ้ น่ื สมรรถนะผเู้ รยี น หรือร้อยละ 80

และการทำงานในระบบกลมุ่ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

- ยอมรับความคิดเหน็ ซงึ่ กนั - นกั เรียนได้

และกันมคี วามเสยี สละและ คะแนน

อดทน การประเมิน

สมรรถนะ

29 คะแนนขึ้นไป

หรอื รอ้ ยละ 80

ถือว่าผ่านเกณฑ์

44

11. กจิ กรรมการเรียนรู้
ช่ัวโมงที่ 9 (สัปดาห์ที่ 12)
1. ขนั้ ต้ังประเดน็ ปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครูให้นกั เรียนดูภาพการชงนำ้ กระเจ๊ียบ อา่ นเนื้อหานำบท จากน้นั อภปิ รายโดยอาจใช้

คำถามนำ ดงั น้ี
• สแี ดงมาจากไหน (สารสแี ดงมาจากกลบี เล้ยี งกระเจ๊ยี บ)
• ทำไมน้ำในแกว้ จึงมีสีแดง (เพราะสารสแี ดงจากกลบี เล้ียงกระเจ๊ยี บละลายออกมาผสมกับน้ำใน

แกว้ )
• น้ำกระเจี๊ยบเม่ือต้งั ทงิ้ ไวส้ กั พกั ทำไมนำ้ ทัง้ แกว้ จึงมีสีแดง (นกั เรียนสามารถตอบไดต้ ามความเขา้ ใจ

ของตนเอง)
1.2 ครตู รวจสอบความรเู้ ดิมของนกั เรียนเก่ียวกบั การแพรโ่ ดยให้ทำกิจกรรม รูอ้ ะไรบา้ งก่อนเรียน

นักเรยี นสามารถเขียนได้ตามความเข้าใจของนักเรยี น ครูไมเ่ ฉลยคำตอบแตน่ ำขอ้ มูลจากการตรวจสอบความ
รู้เดิมของนักเรยี นไปใช้ในการวางแผนการจัดการเรยี นรูว้ ่าควรเนน้ ยำ้ หรืออธบิ ายเรอ่ื งใดเปน็ พเิ ศษเมื่อนักเรียน
เรียนจบเร่ืองนแ้ี ล้ว นักเรียนจะมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจครบถ้วน ตามจุดประสงค์ของบทเรียน

1.3 ครูนำเขา้ สู่กิจกรรมท่ี 3.3 อนภุ าคของสารมีการเคล่ือนท่อี ย่างไร โดยแจง้ ว่านักเรยี นจะไดเ้ รียนรู้
เกย่ี วกบั การแพร่และกระบวนการแพร่ของสารต่อไป

ชั่วโมงที่ 10 (สปั ดาห์ที่ 13)
2. ขัน้ สบื คน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครูให้นกั เรยี นเขา้ สู่กิจกรรมท่ี 3.3 อนภุ าคของสารมีการเคลอ่ื นท่อี ย่างไร ตามรายละเอียดใน
แบบเรยี น
2.2 นกั เรยี นทำกิจกรรมตามแผนทว่ี างไว้ ครูสังเกตวธิ ีการจัดอปุ กรณ์ การสงั เกตการเคลื่อนทขี่ องอนภุ าค
ดา่ งทับทิมและการบันทึกผลการสงั เกตของนกั เรยี นทกุ กลุ่ม เพอื่ ใหข้ อ้ แนะนำถา้ เกดิ ข้อผดิ พลาดขณะทำ
กิจกรรม โดยอาจจะใหน้ ักเรยี นบันทกึ ภาพหรือบันทึกวดี ิโอเพ่มิ เติมเพอ่ื ใช้ในการอธิบายและนำเสนอ รวมทัง้ นำ
ขอ้ มลู ที่ควรปรบั ปรุงและแก้ไขมาใช้ประกอบการอภปิ รายหลงั การทำกจิ กรรม
2.3 นกั เรียนแต่ละกล่มุ นำเสนอผลการทำกจิ กรรม รวบรวมขอ้ มูลนำเสนอโดยใชโ้ ปรแกรมพาวเวอร์พอยด์
แสดงรูปหรอื วีดโิ อการทำกจิ กรรม
2.4 ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันอภิปรายคำตอบเพอ่ื ใหน้ ักเรียนสรปุ ไดว้ ่า เม่อื หย่อน
เกลด็ ด่างทับทมิ ลงในน้ำ เกล็ดด่างทับทิมจะคอ่ ย ๆ ละลายเหน็ เป็นเส้นสีมว่ ง และจมลงกน้ บีกเกอร์ บริเวณก้น
บีกเกอรจ์ ะเห็นสมี ว่ งเข้มล้อมรอบเกลด็ ดา่ งทบั ทิม จากนัน้ สมี ว่ งเข้มรอบเกล็ดด่างทบั ทิมจะค่อย ๆ เคลื่อนท่ี
จากบรเิ วณก้นบีกเกอรไ์ ปส่บู รเิ วณอนื่ ของบกี เกอร์ จนสมี ว่ งกระจายท่วั ท้ังบกี เกอร์ และจะเหน็ สมี ่วงอ่อนจางลง
กว่าเดมิ

45

2.5 ครแู ละนักเรียนร่วมกนั อภิปราย สรปุ เนื้อหาทัง้ หมดทีไ่ ดเ้ รียนรู้จากกจิ กรรมและการศกึ ษาเพม่ิ เติม
จากหนังสอื เรียน เพ่อื ใหไ้ ด้ข้อสรปุ วา่ การแพร่เกิดขน้ึ เมือ่ มีความแตกตา่ งของความเขม้ ข้นของสารละลาย
ระหว่างสองบรเิ วณ โดยมีทิศทางการเคล่อื นทข่ี องตัวละลายจากบรเิ วณท่ีมีความเขม้ ขน้ มากไปยงั บริเวณที่มี
ความเข้มข้นนอ้ ย จนความเขม้ ขน้ ของสารละลายโดยเฉลี่ยเทา่ กันทกุ บรเิ วณ เรียกว่าเกดิ สมดลุ ของการแพร่
การแพร่นอกจากแพรใ่ นตวั กลางที่เป็นของเหลวดังกจิ กรรมแล้ว การแพร่สามารถแพร่ผา่ นตัวกลางที่เปน็ แก๊ส
ได้ เชน่ การแพรข่ องนำ้ มันหอมระเหยหรือกลน่ิ ดอกไม้กลิ่นอาหารผา่ นอากาศ เป็นตน้ ซงึ่ เซลล์ของสง่ิ มีชวี ิตก็มี
การแพรข่ องสารเขา้ ออกเซลล์เช่นเดียวกนั เช่นการแพรเ่ ข้าออกของแกส๊ ออกซิเจนและแก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์
บรเิ วณถงุ ลมปอด การแพรเ่ ข้าออกของแก๊สออกซเิ จนและแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดบ์ ริเวณปากใบ เป็นต้น

2.6 ครูเชื่อมโยงไปสู่การเรียนเรื่องต่อไป โดยกล่าวว่า การแพร่มีกระบวนการดังท่ีเรียนมาแล้ว ซ่ึงใช้ใน
การนำสารที่มีขนาดเล็กเช่น แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เข้าและออกจากเซลล์ ถ้าร่างกาย
ตอ้ งการนำน้ำเข้าและออกจากเซลลจ์ ะมกี ระบวนการอยา่ งไร นกั เรยี นจะไดศ้ กึ ษาในเรื่องตอ่ ไป

ชว่ั โมงที่ 11 (สปั ดาห์ที่ 13)
3. ขนั้ สรปุ องคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ครูนำนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมท่ี 3.4 น้ำเคลื่อนท่ีผ่านเย่ือเลือกผ่านได้อย่างไร ซึ่งอาจใช้คำถามว่า

นอกจากการแพร่ของสารเข้าออกเซลล์ เช่น การแพร่ของแก๊สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์แล้ว
เซลล์มีการลำเลียงสารอ่ืน ๆ เช่นน้ำ เข้าและออกจากเซลล์หรือไม่ และเซลล์จะมีวิธีการในการลำเลียงน้ำเข้า
และออกจากเซลล์อย่างไร

3.2 ครูให้นักเรียนทำกิจกรรมตามแผนทีวางแผนไว้ ครูสังเกตุวิธีการจัดชุดอุปกรณ์การเทสารละลาย
น้ำตาลลงในเซลโลเฟน การมัดปากถุงเซลโลเฟน เตือนให้นักเรียนทำเครื่องหมายแสดงระดับของเหลวใน
หลอดแก้วก่อนท่ีจะใส่น้ำลงในบีกเกอร์ และการบันทึกผลการเปล่ียนแปลงของของเหลวในหลอดแก้ว เพ่ือใ่ ห้
ข้อแนะนำหากเกิดข้อผิดพลาดในขณะทำกิจกรรม รวมทั้งนำข้อมูลที่ควรจะปรับปรุงและแก้ไขมาใช้
ประกอบการอภปิ รายหลงั ทำกิจกรรม

3.3 ร่วมกันอภิปรายคำตอบเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า น้ำเคล่ือนท่ีผ่านเซลโลเฟนเข้าไปภายในถุงที่บรรจุ
สารละลายนำ้ ตาลได้ แตส่ ารละลายน้ำตาลไม่สามารถเคล่ือนที่ผา่ นเซลโลเฟนออกมานอกถงุ ทีบ่ รรจุอยู่ได้ โดย
อาจใช้คำถามดังตอ่ ไปนี้

• ระดบั ของเหลวในหลอดแกว้ มีการเปล่ียนแปลงอยา่ งไร (ระดบั ของเหลวในหลอดแกว้ สงู ข้ึน)
• เพราะเหตุใดระดับของเหลวในหลอดแก้วจึงสูงขึ้น (ระดับของเหลวในหลอดแก้วสูงขึ้นเพราะน้ำ
เคล่ือนท่ีเข้าไปในถุงเซลโลเฟน ผสมกับสารละลายน้ำตาล ทำให้มีปริมาณสารละลายมากขึ้น ของเหลวใน
หลอดแก้วจงึ สงู ขน้ึ )
ชว่ั โมงที่ 12 (สัปดาหท์ ่ี 13)
4. ข้ันการสอ่ื สารและนำเสนอ (Effective Communication)

46

4.1 ให้นักเรยี นอา่ นเนอื้ หาในหนังสือ ตอบคำถามระหว่างเรยี น และรว่ มกนั อภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า

ออสโมซิส เปน็ การเคลื่อนท่ีสทุ ธขิ องโมเลกุลน้ำจากบรเิ วณทมี่ คี วามเข้มขน้ ของสารละลายตำ่ (มโี มเลกุล

ของนำ้ มาก) ผ่านเย่อื เลอื กผ่านไปยงั บรเิ วณท่ีมีความเขม้ ข้นของสารละลายสงู (มโี มเลกลุ ของน้ำนอ้ ย)

4.2 ให้นักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบตนเอง เพ่ือสรุปองค์ความรู้ท่ีได้เรียนรู้จากบทเรียน โดยการเขียน

บรรยาย วาดภาพหรือเขียนผังมโนทศั น์สง่ิ ทไ่ี ด้เรียนร้จู ากบทเรยี นเรื่อง การลำเลยี งสารเข้าออกเซลล์

5. ข้นั การบริการสงั คมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 ให้นักเรียนนำเสนอผลงาน โดยการอภิปรายภายในกล่มุ อภปิ รายร่วมกันในช้ันเรียน หรอื ติดแสดง

ผลงานบนผนงั ห้องเรียนและให้นักเรยี นในหอ้ งรว่ มชมผลงานและแสดงความคิดเหน็ จากน้ันครูและนักเรยี น

อภปิ รายสรุปองคค์ วามรู้ท่ีไดจ้ ากบทเรยี นร่วมกัน

5.2 เชอ่ื มโยงองค์ความรู้ท่ีได้จากหนว่ ยการเรียนรูน้ ไ้ี ปยังหนว่ ยท่ี 4 การดำรงชีวิตของพชื โดยครูอาจให้

แนวคิดว่า สิง่ มชี วี ิตทกุ ชนิดมเี ซลล์เป็นหนว่ ยพน้ื ฐาน เซลลแ์ ตล่ ะชนดิ มโี ครงสร้างและหน้าทีแ่ ตกต่างกัน และ

เซลล์มีการลำเลยี งสารเขา้ และออกจากเซลล์เพ่ือการดำรงชวี ติ แลว้ พืชซง่ึ เปน็ สิง่ มชี ีวติ ที่เก่ียวข้องกบั การ

ดำรงชวี ติ ของนักเรยี นนนั้ มีกระบวนการในการดำรงชวี ติ อย่างไร

5.3 รว่ มกนั เฉลยแบบฝกึ หัดท้ายบท

12. ส่อื การเรยี นรู้/แหล่งเรียนรู้

12.1สอื่ การเรียนรู้

1) ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 2) หนงั สือแบบเรยี น 3) สือ่ เพาเวอร์พอยต์

12.2แหลง่ เรยี นรู้

1) อินเตอรเ์ นต็ 2) ห้องสมดุ

13. บันทกึ หลงั การจัดการเรยี นรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- การนำสารเข้าสู่เซลล์ และขจดั สาร ......................................................................................

บางอยา่ งที่เซลลไ์ ม่ต้องการออกนอกเซลล์ ......................................................................................

- การแพร่ของสาร ......................................................................................

- การออสโมซิส .....................................................................................

.....................................................................................

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการคดิ ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

47

3. ดา้ นคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม ......................................................................................
อนั พึงประสงค์ : ......................................................................................
- มีวนิ ยั ......................................................................................
- ใฝ่เรียนรู้ ......................................................................................
- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................
- รักความเปน็ ไทย ......................................................................................

4. ปญั หาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
5. วิธแี กป้ ัญหา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

ลงชอื่ ........................................ครผู สู้ อน ลงชื่อ...........................................หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รตั น์..) (นายสรุ จกั ริ์ แก้วม่วง.)

ลงชอื่ ........................................... ลงชื่อ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรตั น.์ .) (..นายศิวาวุฒิ รัตนะ..)

หวั หนา้ งานนเิ ทศ หวั หนา้ กลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ

ลงชือ่ ........................................................
(...นายจงจัด จันทบ...)

ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม

48

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 6
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่…….4……..การดำรงชีวิตของพืช..........เรื่อง...การสบื พนั ธ์ุและการขยายพันธพ์ุ ชื ดอก....
รายวชิ า……......วทิ ยาศาสตร์……..1.......รหัสวิชา…......ว 21101 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลุม่ สาระการเรยี นร.ู้ ...........วิทยาศาสตร์..........ปีการศึกษา.... 2562.......ภาคเรียนที่..1...เวลา...8...ชัว่ โมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชี้วดั /ผลการเรยี นรู้ (รายวิชาพื้นฐานมีทง้ั มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชี้วัด
รายวชิ าเพิ่มเติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละผลการเรยี นรู้)

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ัด ว 1.2 ม.1/11 ม.1/12 ม.1/13 ม.1/16 ม.1/17 ม.1/18
สาระท่ี ๑ วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของส่ิงมชี ีวติ หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวติ การลำเลียงสารเขา้
และออกจากเซลล์ ความสมั พนั ธ์ของโครงสรา้ ง และหน้าท่ีของระบบต่าง ๆ ของสตั วแ์ ละมนุษย์ท่ที ำงาน
สัมพนั ธก์ ัน ความสัมพนั ธข์ องโครงสรา้ ง และหน้าทขี่ องอวยั วะตา่ ง ๆ ของพืชท่ีทำงานสมั พันธก์ นั รวมท้งั นำ
ความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ตวั ชี้วัด
ว 1.2 ม. 1/11 อธบิ ายการสืบพนั ธุแ์ บบอาศยั เพศ และไม่อาศยั เพศของพืชดอก
ว 1.2 ม. 1/12 อธบิ ายลักษณะโครงสร้างของดอกที่มสี ว่ นทำให้เกิดการถ่ายเรณู รวมทั้งบรรยายการ
ปฏสิ นธขิ องพชื ดอก การเกดิ ผลและเมลด็ การกระจายเมล็ด และการงอกของเมลด็
ว 1.2 ม. 1/13 ตระหนักถึงความสำคญั ของสตั ว์ที่ช่วยในการถ่ายเรณูของพชื ดอก โดยการไม่ทำลาย
ชีวติ ของสัตวท์ ่ีช่วยในการถา่ ยเรณู
ว 1.2 ม. 1/16 เลอื กวธิ ีการขยายพันธุ์พชื ให้เหมาะสมกบั ความตอ้ งการของมนษุ ย์ โดยใชค้ วามรู้
เก่ยี วกบั การสืบพันธุ์ของพืช
ว 1.2 ม. 1/17 อธบิ ายความสำคัญของเทคโนโลยีการเพาะเลย้ี งเน้อื เย่ือพชื ในการใช้ประโยชนด์ ้าน
ต่าง ๆ
ว 1.2 ม. 1/18 ตระหนักถึงประโยชน์ของการขยายพันธุพ์ ืช โดยการนำความรู้ไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน
2. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวชีว้ ดั ทใ่ี ช้ในหน่วยการเรียนรู้นี้เขียนเปน็ แบบความเรยี ง)
พืชดอกทุกชนิดสามารถสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศได้ นอกจากน้ันบางชนิดยังพบการสืบพันธ์ุแบบไม่
อาศัยเพศด้วยการสืบพันธุ์แบบอาศยั เพศของพชื ดอกเกิดขึน้ ทด่ี อก โดยท่วั ไปดอกประกอบด้วย กลีบเลย้ี ง กลีบ
ดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมยี ภายในอบั เรณูของเกสรเพศผู้มเี รณูทำหน้าทสี่ รา้ งสเปิรม์ ภายในออวุลของ
เกสรเพศเมียมีถุงเอ็มบริโอทำหน้าท่ีสร้างเซลล์ไข่ ซ่ึงต้องมีการถ่ายเรณูจากอับเรณูไปยังยอดเกสรเพศเมีย
นำไปสู่การปฏิสนธิระหว่างสเปิร์มกับเซลล์ไข่ และระหว่างสเปิร์มกับโพลาร์นิวคลีไอในถุงเอ็มบริโอ หลังการ

49

ปฏสิ นธจิ ะไดไ้ ซโกตและเอนโดสเปิรม์ ไซโกตจะพัฒนาตอ่ ไปเป็นเอ็มบริโอ โดยมีเอนโดสเปริ ์มเปน็ อาหารสะสม
สำหรบั เลี้ยงเอม็ บริโอ สว่ นออวลุ พฒั นาไปเป็นเมลด็ และรงั ไขพ่ ัฒนาไปเปน็ ผล ผลและเมล็ดเม่อื เจรญิ เตบิ โต
เต็มทีจ่ ะกระจายออกจากต้นโดยวิธีการต่าง ๆ เมื่อเมล็ดไปตกในสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมจะงอกเปน็ ตน้ ใหม่
สว่ นการสืบพนั ธ์แุ บบไมอ่ าศัยเพศ เปน็ การสืบพันธุ์ที่พืชตน้ ใหม่พัฒนาและเจริญเตบิ โตมาจากเนื้อเย่ือสว่ น
ต่าง ๆ ของพืชต้นเดิมมนุษย์นำความรู้เร่ืองการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศของพืชมาใช้ในการ
ขยายพนั ธุพ์ ชื ซ่งึ การเลอื กวิธีการขยายพนั ธพ์ุ ืชควรเลอื กให้เหมาะสมกบั ชนดิ พืชและความต้องการของมนุษย์
3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง/สาระการเรยี นรเู้ พิม่ เติม (รายวิชาเพ่ิมเติม)
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
• พืชดอกทุกชนดิ สามารถสืบพันธ์แุ บบอาศัยเพศได้ และบางชนิดสามารถสบื พนั ธแ์ุ บบไม่อาศัยเพศได้
• การสบื พนั ธุ์แบบอาศยั เพศเปน็ การสบื พนั ธ์ุทีม่ ีการผสมกันของสเปิร์มกับเซลลไ์ ข่ การสืบพันธุแ์ บบ

อาศยั เพศของพชื ดอกเกิดข้นึ ท่ดี อก โดยภายในอับเรณูของสว่ นเกสรเพศผ้มู ีเรณู ซง่ึ ทำหนา้ ท่ีสรา้ งสเปริ ์ม
ภายในออวุลของสว่ นเกสรเพศเมยี มถี ุงเอ็มบริโอ ทำหน้าที่สรา้ งเซลล์ไข่

• การสืบพันธ์แุ บบไม่อาศัยเพศ เปน็ การสืบพนั ธท์ุ ่ีพชื ตน้ ใหมไ่ ม่ได้เกดิ จากการปฏิสนธิระหว่างสเปิร์ม
กับเซลล์ไข่ แต่เกดิ จากส่วนตา่ ง ๆ ของพชื เชน่ ราก ลำต้น ใบ มกี ารเจรญิ เติบโตและพัฒนาขึ้นมาเป็นต้นใหม่
ได้

• การถ่ายเรณู คือ การเคลื่อนย้ายของเรณจู ากอับเรณูไปยงั ยอดเกสรเพศเมยี ซ่ึงเกยี่ วข้องกับลกั ษณะ
และโครงสรา้ งของดอก เชน่ สขี องกลีบดอก ตำแหนง่ ของเกสรเพศผแู้ ละเกสรเพศเมยี โดยมีสิ่งที่ชว่ ยในการ
ถ่ายเรณู เช่น แมลง ลม

• การถา่ ยเรณูจะนำไปสกู่ ารปฏิสนธิ ซึ่งจะเกิดขนึ้ ทถี่ ุงเอ็มบรโิ อภายในออวุล หลงั การปฏิสนธจิ ะไดไ้ ซ
โกต และเอนโดสเปริ ์ม ไซโกตจะพัฒนาตอ่ ไปเป็นเอ็มบรโิ อ ออวลุ พฒั นาไปเป็นเมล็ด และรังไขพ่ ัฒนาไปเปน็ ผล

• ผลและเมล็ดมกี ารกระจายออกจากตน้ เดิม โดยวิธีการต่าง ๆ เมือ่ เมล็ดไปตกในสภาพแวดลอ้ มท่ี
เหมาะสมจะเกิดการงอกของเมลด็ โดยเอ็มบริโอภายในเมลด็ จะเจรญิ ออกมา โดยระยะแรกจะอาศยั อาหารท่ี
สะสมภายในเมล็ด จนกระทัง่ ใบแทพ้ ฒั นา จนสามารถสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงไดเ้ ต็มท่ี และสร้างอาหารได้เอง
ตามปกติ

• มนษุ ย์สามารถนำความรู้เรื่องการสืบพันธ์ุแบบอาศยั เพศและไม่อาศัยเพศ มาใช้ในการขยายพันธ์ุเพอ่ื
เพิ่มจำนวนพืช เชน่ การใช้เมล็ดทไ่ี ด้จากการสืบพนั ธุแ์ บบอาศัยเพศมาเพาะเลย้ี ง วิธกี ารน้จี ะไดพ้ ชื ในปรมิ าณ
มาก แตอ่ าจมีลักษณะทีแ่ ตกตา่ งไปจากพ่อแม่ ส่วนการตอนก่งิ การปกั ชำการต่อก่งิ การตดิ ตา การทาบกง่ิ การ
เพาะเลยี้ งเนือ้ เยอื่ เปน็ การนำความรเู้ รือ่ งการสบื พันธ์ุแบบไมอ่ าศยั เพศของพชื มาใช้ในการขยายพันธุ์เพื่อใหไ้ ด้
พชื ทีม่ ลี กั ษณะเหมือนต้นเดมิ ซง่ึ การขยายพนั ธแ์ุ ต่ละวธิ ี มีขั้นตอนแตกต่างกัน จงึ ควรเลอื กให้เหมาะสมกบั
ความตอ้ งการของมนษุ ย์ โดยต้องคำนึงถงึ ชนดิ ของพชื และลักษณะการสืบพนั ธ์ขุ องพชื

50

• เทคโนโลยีการเพาะเลยี้ งเน้ือเยอ่ื พชื เป็นการนำความร้เู กยี่ วกับปจั จัยที่จำเปน็ ต่อการเจริญเติบโต

ของพืชมาใชใ้ นการเพม่ิ จำนวนพชื และทำใหพ้ ชื สามารถเจริญเตบิ โตได้ในหลอดทดลอง ซ่ึงจะได้พชื จำนวนมาก

ในระยะเวลาส้ัน และสามารถนำเทคโนโลยกี ารเพาะเลยี้ งเนื้อเยือ่ มาประยกุ ตเ์ พ่อื การอนุรกั ษ์พันธุกรรมพชื

ปรบั ปรงุ พันธุ์พืชท่มี ีความสำคญั ทางเศรษฐกจิ การผลิตยาและสารสำคญั ในพืช และอื่น ๆ

3.2 สาระการเรยี นรูท้ ้องถนิ่ (ถ้าในคำอธิบายรายวชิ าพูดถึงหลกั สูตรทอ้ งถิ่นให้ใส่ลงไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน (เลอื กเฉพาะขอ้ ท่ีเกิดในหน่วยการเรียนร้นู ้)ี

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคดิ

 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

5. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (เลือกเฉพาะขอ้ ท่เี กิดในหน่วยการเรยี นรนู้ )ี้

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  2. ซ่อื สัตยส์ จุ ริต

 3. มวี ินัย  4. ใฝเ่ รียนรู้

 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน

 7. รักความเป็นไทย  8. มีจติ สาธารณะ

6. ดา้ นคณุ ลักษณะของผเู้ รยี นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวชิ าการ  2. ส่อื สารสองภาษา  3. ล้ำหนา้ ทางความคิด

 4. ผลติ งานอย่างสร้างสรรค์  5. รว่ มกนั รบั ผิดชอบต่อสังคมโลก

7. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได)้  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเปน็ )

 ทักษะดา้ นการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)

 ทกั ษะด้านความเข้าใจความต่างวฒั นธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะดา้ นความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและร้เู ท่าทันสอ่ื (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร (Computing and ICT

Literacy)

 ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)

 ความมีเมตตา (วนิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

8. บูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

51

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลมุ่ ใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรียนคือ

ประมาณกล่มุ ละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมีเหตผุ ล : ให้นกั เรยี นสร้างสรรคผ์ ลงานและเกดิ ทักษะการปฏิบัติ , นักเรยี นเกิดความ

ภาคภูมใิ จในผลงานของตนและสงิ่ ทเ่ี รียนรู้

3. หลักภูมิคมุ้ กัน : ใหน้ กั เรยี นเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นักเรียนรูจ้ ักการวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชกิ ภายในกลมุ่ ไดเ้ หมาะสมกับความสามารถของแต่ละบุคคล

4. เง่ือนไขความรู้ : การวางแผนงานท่ีจะทำกอ่ นแลว้ ค่อยลงมือทำอย่างระมดั ระวงั

5. เง่อื นไขคณุ ธรรม : อดทนทีจ่ ะทำงาน และมีความขยันท่จี ะทำงานใหอ้ อกมาไดด้ ีท่ีสุด , มวี ินัยในการ

ทำงาน

9. ชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ชวี้ ัด ชนิ้ งาน ภาระงาน

ว 1.2 ม.1/11 -รายงานกิจกรรมที่ 4.1การถ่าย - อธิบายการสืบพันธ์ุแบบอาศยั เพศและไม่อาศยั

ว 1.2 ม.1/12 เรณเู กิดข้นึ ไดอ้ ย่างไร เพศของพืชดอก

ว 1.2 ม.1/13 -รายงานกิจกรรมที่ 4.2 เมล็ดงอก - อธิบายลกั ษณะโครงสร้างของดอกที่มีสว่ นทำให้

ได้อยา่ งไร เกดิ การถ่ายเรณู รวมทัง้ บรรยายการปฏสิ นธิ

ของพชื ดอก การเกดิ ผลและเมลด็ การ กระจาย

เมล็ด และการงอกของเมลด็

ว 1.2 ม.1/16 กิ จ ก ร ร ม ท่ี 4 .3 เลื อ ก วิ ธี ก า ร - บอกความสำคัญของการขยายพันธ์ุพชื
ว 1.2 ม. 1/17 ขยายพนั ธ์พุ ชื อยา่ งไรให้เหมาะสม - อ ธิบ ายความสำคัญ ขอ งเท คโน โลยีก าร
ว 1.2 ม. 1/18
เพาะเลี้ยงเนอ้ื เย่ือพชื ในการใชป้ ระโยชน์ดา้ น
ต่าง ๆ

10. การวัดประเมนิ ผล 3.การวดั ประเมนิ การปฏิบัติ
10.1การวดั และประเมินผลช้นิ งาน/ภาระงานรวบยอด 3. แบบวัดประเมินการปฏบิ ัติ
วิธกี าร
1.การสงั เกตการณ์
2.การใชช้ ดุ กิจกรรมวิทยาศาสตรร์ อ่ งรอยบง่ ช้ี
เครอื่ งมือ
1. แบบสังเกตการณ์
2. ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์

52

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรม ผ่านต้งั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผา่ น ผ่าน 1

รายการถือวา่ ไมผ่ ่าน

10.2 การวัดและประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจดั การเรยี นรูข้ อง

หน่วยการเรยี นรนู้ ้)ี

ส่งิ ท่ีตอ้ งการวัด วิธีวัดผล เครอ่ื งมือวดั ผล เกณฑ์การประเมิน

1. ความรเู้ ก่ียวกบั -การสอบถาม ซกั ถาม ความ - แบบประเมินการ - นักเรยี นได้

- การสืบพนั ธ์แุ บบอาศัย คดิ เหน็ อภปิ รายแสดง คะแนน

เพศและไม่อาศยั เพศของพชื -การตรวจผลงานนักเรียน ความ 12 คะแนนขึ้นไป

ดอก คิดเหน็ หรือร้อยละ 80

- ลกั ษณะโครงสร้างของ - แบบประเมนิ การ ถือว่าผา่ นเกณฑ์

ดอกที่มีสว่ นทำให้เกดิ การ ตรวจผลงานผเู้ รยี น - นักเรยี นได้

ถา่ ยเรณู รวมทงั้ บรรยายการ คะแนน

ปฏิสนธขิ องพชื ดอกการ ประเมนิ ผลงาน

เกดิ ผลและเมล็ด การ 13 คะแนนขึ้นไป

กระจายเมล็ด และการงอก หรอื รอ้ ยละ 80

ของเมลด็ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

- วิธกี ารขยายพนั ธพุ์ ืชให้

เหมาะสมกับชนิดของพชื

และความต้องการของ

มนุษย์

-การใช้เทคโนโลยเี พาะเลย้ี ง

เนอื้ เยอ่ื พืชในการขยายพันธุ์

พืช

2.ทักษะกระบวนการคดิ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมินการ -นกั เรยี นไดค้ ะแนน

และทกั ษะกระบวนการกลุม่ ความคิดเห็นระบุทักษะ อภปิ รายแสดง 12 คะแนนขน้ึ ไป

กระบวน ความ หรือร้อยละ 80

การทางวิทยาศาสตรท์ ไี่ ด้ปฏิบตั ิ คดิ เห็น ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

จากกิจกรรม - แบบประเมนิ

- สงั เกตพฤติกรรมการ พฤติกรรมการ

ทำงานกลุ่ม ทำงานกลุม่

53

3. คุณลกั ษณะที่พึง - สังเกตค่านยิ มในการ - แบบประเมนิ - นกั เรยี นได้
คุณลกั ษณะอันพึง คะแนน
ประสงค์ ทำงานรว่ มกับผู้อนื่ และการ ประสงค์ ประเมนิ คุณลักษณะ
อันพงึ ประสงค์
และสมรรถนะผู้เรียน ทำงานในระบบกลุ่ม - แบบประเมิน 26 คะแนนข้นึ ไป
สมรรถนะผเู้ รยี น หรอื รอ้ ยละ 80
- มีวินยั ในการทำงานกลมุ่ อภิปราย แสดงความคิดเห็น ถอื ว่าผ่านเกณฑ์
- นกั เรียนได้
- นกั เรียนเห็นความสำคญั เกี่ยวกบั ผลการทดลอง คะแนน
การประเมนิ
ของการทำงานรว่ มกบั ผอู้ ืน่ สมรรถนะ
29 คะแนนขึน้ ไป
และการทำงานในระบบกลมุ่ หรอื ร้อยละ 80
ถอื ว่าผ่านเกณฑ์
- ยอมรับความคิดเห็นซ่ึงกนั

และกนั มีความเสยี สละและ

อดทน

11. กจิ กรรมการเรียนรู้
ชัว่ โมงที่ 1 (สัปดาห์ที่ 14)
1. ขน้ั ตงั้ ประเดน็ ปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครูใหน้ กั เรยี นสงั เกตเห็นอะไรบ้างจากภาพในหนงั สือเรยี น(สังเกตเห็นอุโมงคท์ ่มี ดื มีหลอดไฟให้แสง

สวา่ ง มชี ้นั วางและมีพืชอยบู่ นชน้ั )
1.2 ครูตง้ั คำถามในประเด็นตอ่ ไปนี้
• นกั เรียนคิดว่า การปลกู พืชในอุโมงค์ดังภาพ พืชจะเจรญิ เติบโตไดห้ รือไม่ เพราะเหตุใด (นกั เรยี น

ตอบตามความเข้าใจ เชน่ พืชเจรญิ เตบิ โตไมไ่ ดเ้ พราะไม่มีดนิ ไมม่ แี สงอาทติ ย์ หรือพืชเจริญเตบิ โตได้ เพราะ
สามารถปลกู พืชแบบไมใ่ ชด้ นิ ได้และสามารถใช้แสงไฟฟ้าแทนแสงอาทติ ยไ์ ด้)

• นกั เรยี นคิดว่าต้องทำอยา่ งไรบา้ ง ให้อุโมงค์ใต้ดินมสี ภาพแวดล้อมที่สามารถปลูกพชื ได้ (ตอ้ งศกึ ษา
ความต้องการของพชื ปรบั พืน้ ท่ี วางระบบนำ้ ระบบไฟ และระบบระบายอากาศใหเ้ หมาะสมตอ่ การเจรญิ
เตบิ โตของพืช)

1.3 ครูนำเขา้ สู่บทเรียนโดยใช้คำถามว่านักเรียนมคี วามรู้เก่ยี วกบั การสบื พันธุ์ของพชื ดอกหรอื ไม่
1.4 ครูให้นกั เรยี นดูวดี ิทศั น์ ที่เก่ียวกบั ปญั หาการเพม่ิ จำนวนของผักตบชวาในแหลง่ น้ำของประเทศไทย
และรว่ มกนั อภปิ รายเกี่ยวกบั การเพม่ิ จำนวนของผกั ตบชวา โดยอาจใช้คำถามดงั นี้

• นักเรียนคิดว่าผักตบชวาทีแ่ พรพ่ ันธ์เุ ตม็ ผืนน้ำส่งผลกระทบตอ่ สงิ่ ใดบ้าง อย่างไร (นกั เรียนตอบ
ตามความเข้าใจ เชน่ ก่อใหเ้ กิดปัญหาการจราจรทางนำ้ ทำให้น้ำเน่าเสยี ซงึ่ ส่งผลต่อการดำรงชวี ิตของสตั วน์ ำ้ )

54

• ผกั ตบชวาเพมิ่ จำนวนไดอ้ ยา่ งไรบ้าง (นกั เรยี นตอบตามความเข้าใจ เชน่ เพม่ิ โดยการสืบพันธแ์ุ บบ
อาศยั เพศและแบบไม่อาศัยเพศ)

• พชื ชนดิ ใดบ้าง ที่สามารถเพ่มิ จำนวนไดแ้ บบเดยี วกับผักตบชวา และเพ่มิ จำนวนอยา่ งไร (นักเรยี น
ตอบตามความเขา้ ใจ เช่น บัวสาย)

1.5 นกั เรียนทำกิจกรรมทบทวนความรู้กอ่ นเรียน
ชัว่ โมงท่ี 2-3 (สปั ดาห์ที่ 14)
2. ขน้ั สืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครูใหน้ ักเรียนทบทวนความรู้เกยี่ วกบั ส่วนประกอบของดอก และหน้าท่ขี องแต่ละส่วนประกอบ โดย
อาจนำดอกพืชมาใหด้ แู ละสงั เกตส่วนประกอบแตล่ ะสว่ น เพอ่ื ให้เหน็ อย่างชัดเจนวา่ เรณูกับถุงเอม็ บรโิ ออยู่คน
ละส่วนกัน ครใู ช้คำถามเพอ่ื ใหน้ กั เรยี นคดิ วเิ คราะห์ ดังนี้

• สว่ นใดของดอกที่เกย่ี วข้องโดยตรงกับการสบื พนั ธุแ์ บบอาศยั เพศของพืชดอก เพราะเหตใุ ด (ส่วน
เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย เพราะวา่ เกสรเพศผเู้ ป็นสว่ นท่สี ร้างเซลล์สบื พันธเ์ุ พศผู้ และเกสรเพศเมียเป็นส่วน
ที่สรา้ งเซลล์สืบพันธุเ์ พศเมยี )

• การสืบพนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศของพืชมขี นั้ ตอนอยา่ งไร (การถา่ ยเรณู และการผสมกนั ของเซลล์
สบื พันธุเ์ พศผู้และเซลลส์ ืบพันธุเ์ พศเมยี )

• การถา่ ยเรณูเกิดขึน้ ไดอ้ ย่างไร มสี ิง่ ใดบ้างท่ีชว่ ยในการถ่ายเรณู (นกั เรียนตอบตามความเขา้ ใจ)
2.2 ร่วมกนั อภปิ รายเพอ่ื ใหไ้ ดข้ ้อสรุปวา่ การสบื พนั ธ์ุแบบอาศยั เพศของพืชจะเกดิ ข้ึนท่ดี อก สว่ นของ
ดอกทที่ ำหนา้ ท่ีสรา้ งเซลล์สืบพนั ธ์เุ พศผู้ คอื เรณู ซง่ึ อยู่ในอับเรณขู องเกสรเพศผู้ และส่วนท่ีสรา้ งเซลล์สืบพนั ธ์ุ
เพศเมีย คือ ถงุ เอม็ บรโิ อ ซงึ่ อยู่ในออวลุ ของเกสรเพศเมยี การสบื พนั ธุ์แบบอาศัยเพศตอ้ งมกี ารผสมกนั ของ
เซลล์สืบพนั ธ์เุ พศผูแ้ ละเซลล์สืบพันธเ์ุ พศเมยี จงึ ตอ้ งมีการเคลอื่ นย้ายเรณจู ากอบั เรณไู ปยงั ยอดเกสรเพศเมยี
เรณจู ากอับเรณจู ะไปตกบนยอดเกสรเพศเมยี ไดอ้ ยา่ งไรนนั้ จะได้ทราบจากการทำกจิ กรรมท่ี 4.1
2.3 นกั เรียนในกลุ่มสงั เกตดอกพืชทลี ะชนดิ ไปพรอ้ มกันท้ังกล่มุ เพ่ือใหม้ กี ารลงความเหน็ กันในกลมุ่ และ
บนั ทกึ ผล ครูสังเกตการบนั ทกึ ผลของนกั เรียน ให้ขอ้ แนะนำถา้ เกดิ ข้อผดิ พลาดหรอื บันทกึ ผลไม่ครบถว้ น เพ่ือ
นำข้อมลู ทคี่ วรจะปรับปรงุ และแกไ้ ขมาใชป้ ระกอบการอภปิ รายหลังทำกจิ กรรม
2.4 นักเรียนรวบรวมข้อมลู เรอ่ื งการถา่ ยเรณขู องพืชดอก เช่น การชมวดี ิทัศน์ และบันทึกข้อมูล เชน่
ความจำเพาะของลกั ษณะดอกของพืช และส่ิงที่ช่วยในถา่ ยเรณู สิง่ ที่พืชใช้ในการดงึ ดดู สตั ว์มาถา่ ยเรณู และสงิ่
ท่สี ตั วไ์ ดร้ บั จากการถ่ายเรณู
2.5 นักเรยี นนำข้อมูลวธิ ีการถา่ ยเรณูของพืชดอกแตล่ ะชนดิ มานำเสนอในรูปแบบตา่ ง ๆ เชน่ การเขียน
แผนภาพ หรือการทำภาพเคลือ่ นไหวโดยใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรูป หรอื แอปพลเิ คชัน สำหรบั จดั ทำงานนำเสนอ
2.6 ร่วมกันอภปิ รายคำตอบเพ่ือให้นกั เรียนสรุปไดว้ ่าวธิ กี ารถา่ ยเรณูของพืชดอกแต่ละชนดิ เก่ียวขอ้ งกับ
ลกั ษณะตา่ ง ๆ ของดอกพืช ท้ังรูปร่าง ขนาด สี กลนิ่ ตำแหน่งของเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมยี ซ่ึงจะสัมพนั ธ์
กบั สิง่ ท่ีชว่ ยในการถา่ ยเรณู เช่น สตั ว์ ลม น้ำ

55

ชั่วโมงที่ 4 (สัปดาห์ที่ 15)
3. ขั้นสรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ครูเชือ่ มโยงความรู้ของนักเรยี นทีไ่ ดจ้ ากเรอ่ื งวธิ ีการถา่ ยเรณูของพืชดอก และตรวจสอบความรู้เดิมใน
เรื่องการปฏิสนธิของพืชดอก โดยอาจใช้คำถามดังนี้

• การถ่ายเรณู เรณูจะไปตกท่ีส่วนใดของเกสรเพศเมีย (ยอดเกสรเพศเมยี )
• หลังจากถ่ายเรณูแล้ว เซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ที่อยู่ในเรณูจะเข้าไปผสมกับเซลล์สืบพันธ์ุเพศเมียได้
อยา่ งไร (นักเรยี นตอบตามความเขา้ ใจ)
3.2 ครูให้นักเรียนให้นักเรียนอ่านจับใจความและสรุปเนื้อหาจากหนังสือเรียนเก่ียวกับการปฏิสนธขิ อง
พชื ดอก จากนน้ั ซักถาม โดยอาจใชค้ ำถามดังต่อไปนี้
• ไซโกตเกดิ ข้ึนได้อย่างไร (ไซโกต เกิดจากการปฏสิ นธิของสเปิรม์ กบั เซลล์ไข)่
• ไซโกตมีความสำคัญอย่างไร (ไซโกตเป็นเซลล์ที่จะพัฒนาไปเป็นเอ็มบริโอ ซึ่งเป็นส่วนท่ีมีลักษณะ
คลา้ ยต้นออ่ นอยใู่ นเมล็ด)
• เอนโดสเปริ ์มเกิดข้ึนได้อย่างไร และสำคัญอย่างไร (เอนโดสเปริ ์มเกิดจากการปฏิสนธขิ องสเปิร์มกับ
โพลาร์นวิ คลีไอมคี วามสำคัญเพราะเป็นแหล่งสะสมอาหารในเมล็ด)
• ผล และเมล็ดพฒั นามาจากสว่ นใด (ผลพัฒนามาจากรงั ไข่ เมล็ดพฒั นามาจากออวลุ )
3.3 นักเรยี นร่วมกนั อภิปรายและสรปุ เนอ้ื หาท้ังหมดท่ีได้เรียนรู้จากการทำกจิ กรรมและการอา่ นเพิ่มเติม
โดยอาจให้นักเรียนวาดภาพขั้นตอนต้งั แตก่ ารถ่ายเรณูจนถึงการปฏิสนธิของพืชดอก เพ่ือใหไ้ ด้ขอ้ สรุปว่า การ
สบื พันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกเกดิ ข้ึนทดี่ อก มกี ารถา่ ยเรณูจากอับเรณไู ปยังยอดเกสรเพศเมยี โดยมีส่ิง
ต่าง ๆ ช่วยในการถ่ายเรณจู ากนัน้ สเปิรม์ ในเรณูจะเข้าไปปฏสิ นธิกบั เซลลไ์ ข่และโพลาร์นิวคลีไอในถุงเอ็มบรโิ อ
ได้ไซโกตและเอนโดสเปิร์ม ส่วนออวุลจะพัฒนาและเจริญเติบโตไปเป็นเมล็ด รังไข่จะพัฒนาและเจริญเติบโต
เปน็ ผล
3.4 ครูและนักเรยี นร่วมสนทนากับนักเรยี นเกี่ยวกับการถ่ายเรณขู องพชื ซ่งึ เป็นกระบวนการทีน่ ำไปสู่การ
ปฏิสนธิของพืชดอก ทำให้เกิดไซโกตและเอนโดสเปิร์ม ส่วนออวุลจะเจริญเติบโตเป็นเมล็ด และรังไข่จะ
เจริญเตบิ โตเป็นผลห่อหุ้มเมล็ด ครูอาจใช้คำถามต่อไปว่าเมล็ดพืชมีสว่ นประกอบใดบ้าง เมลด็ พชื งอกได้อยา่ งไร
เมล็ดมีความสำคญั ต่อพชื อยา่ งไรเพ่อื เชอ่ื มโยงเขา้ สู่กิจกรรมที่ 4.2 เมล็ดงอกไดอ้ ยา่ งไร
ชั่วโมงที่ 5-6 (สปั ดาหท์ ี่ 15)
4. ขั้นการสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 นักเรียนทำกิจกรรมตามขน้ั ตอน โดยครเู น้นย้ำในเรอ่ื งการใชใ้ บมีดโกนผา่ เมล็ดด้วยความระมัดระวัง
สังเกตการร่วมมือกันภายในกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลเรื่องส่วนประกอบและหน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบของ
เมล็ดจากแหล่งที่น่าเชื่อถือ และเน้นให้นักเรียนบันทึกผลการสังเกตโดยการวาดภาพส่วนประกอบของเมล็ด
4.2 นักเรียนนำเสนอข้อมูลส่วนประกอบและหน้าที่ของแต่ละส่วนประกอบของเมล็ด โดยวิธีการต่าง ๆ

56

เช่น นำแผนภาพไปติดที่ผนังห้องเรียน และให้เพ่ือนร่วมชั้นเรียนศึกษาข้อมูล จากน้ันร่วมกันอภิปราย

เปรียบเทยี บข้อมลู ทไี่ ด้จากการทำกิจกรรมของแตล่ ะกลุ่ม ถ้ามีขอ้ มูลใดคลาดเคลอื่ น ควรอภิปรายเพ่ือแก้ไขให้

ถกู ต้อง

ช่วั โมงที่ 7-8 (สปั ดาห์ท่ี 16)

5. ขัน้ การบรกิ ารสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นกั เรียนตอบคำถามทา้ ยกจิ กรรม และรว่ มกันอภปิ รายคำตอบเพือ่ ให้นักเรียนสรุปได้ว่าเมลด็ ถ่ัวแดง

และเมล็ดข้าวโพดมีส่วนประกอบแตกตา่ งกนั ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเมลด็ ทำหนา้ ท่แี ตกต่างกัน

5.2 นักเรยี นอา่ นเนอื้ หาในหนงั สือ ร่วมกนั อภิปรายเพื่อให้ไดข้ ้อสรุปเกยี่ วกับสว่ นประกอบ และหน้าท่ีของ

แตล่ ะส่วนประกอบของเมลด็ เพอ่ื ลงขอ้ สรุปวา่ เมล็ดพืชแต่ละชนดิ มลี กั ษณะและสว่ นประกอบบางอยา่ ง

แตกตา่ งกนั บางอยา่ งเหมือนกนั ซึ่งโดยทัว่ ไปเมล็ดพชื ประกอบดว้ ย เปลือกหุ้มเมลด็ ที่เปน็ สว่ นหอ่ หุ้ม

ส่วนประกอบอน่ื ๆ ของเมล็ด เอม็ บริโอที่เป็นต้นออ่ นภายในเมลด็ และเอนโดสเปิร์มเปน็ อาหารสะสมภายใน

เมลด็

5.3 ครูอาจใชค้ ำถามต่อไปว่า ทำอย่างไรเมลด็ จงึ จะงอก และเมื่อเมลด็ งอกจะมกี ารเปล่ยี นแปลงอยา่ งไร

เพื่อเชอื่ มโยงเขา้ สู่กิจกรรมท่ี 4.2 เมล็ดงอกได้อย่างไร ตอนท่ี 2

5.4 นกั เรยี นวางแผนการเพาะเมลด็ เพื่อสังเกตการงอกรว่ มกนั ออกแบบตารางบนั ทึกผลการเปลย่ี นแปลง

ของเมลด็ ขณะงอกใหเ้ รียบร้อยกอ่ นทำกจิ กรรม ครตู รวจสอบการออกแบบวิธกี ารเพาะเมล็ดของนกั เรียนว่ามี

ปัจจัยใดบ้างท่ีเกี่ยวกับการงอกของเมล็ด ตรวจสอบตารางบนั ทึกผลของนักเรยี น และใหค้ ำแนะนำปรบั แกต้ าม

ความเหมาะสม

5.5 นักเรยี นตอบคำถามท้ายกจิ กรรม และร่วมกันอภิปรายคำตอบเพื่อให้นกั เรียนสรปุ ไดว้ า่ เมล็ดจะงอก

ไดต้ ้องอยใู่ นสภาพท่มี นี ำ้ หรือความชน้ื มแี กส๊ ออกซเิ จน และมีอุณหภูมิที่เหมาะสม ในขณะงอกเมล็ดพชื ที่มี

สว่ นประกอบแตกตา่ งกนั จะมีการเปลีย่ นแปลงขณะงอกท่ีแตกตา่ งกัน

12. ส่อื การเรียนรู้/แหล่งเรยี นรู้

12.1สอื่ การเรียนรู้

1) ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนังสือแบบเรียน 3) สือ่ เพาเวอร์พอยต์

12.2แหลง่ เรียนรู้

1) อินเตอร์เน็ต 2) ห้องสมดุ

13. บนั ทึกหลังการจดั การเรยี นรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ด้านความรู้ :

- การสืบพนั ธ์ุแบบอาศัยเพศและไม่อาศยั เพศ ......................................................................................

ของพชื ดอก ......................................................................................

- ลักษณะโครงสรา้ งของดอกท่มี สี ว่ นทำให้เกิด ......................................................................................

57

การถ่ายเรณู รวมทั้งบรรยายการปฏสิ นธขิ องพืช ......................................................................................

ดอกการเกดิ ผลและเมล็ด การกระจายเมล็ด และ .....................................................................................

การงอกของเมล็ด ......................................................................................

- วิธกี ารขยายพนั ธุ์พชื ใหเ้ หมาะสมกับชนดิ ของ .....................................................................................

พืชและความต้องการของมนษุ ย์ .....................................................................................

-การใชเ้ ทคโนโลยีเพาะเลย้ี งเน้อื เยอื่ พืชในการ .....................................................................................

ขยายพันธพุ์ ืช ......................................................................................
2. ด้านกระบวนการ :

- ทักษะกระบวนการคิด ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการกลมุ่ ......................................................................................

3. ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรมและค่านิยม ......................................................................................

อนั พึงประสงค์ : ......................................................................................

- มวี นิ ยั ......................................................................................

- ใฝ่เรยี นรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................

- รักความเป็นไทย ......................................................................................

4. ปญั หาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

5. วธิ ีแกป้ ญั หา

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

ลงช่ือ........................................ครูผูส้ อน ลงชือ่ ...........................................หวั หน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกุลรัตน์..) (นายสุรจักร์ิ แก้วม่วง.)

ลงช่อื ........................................... ลงช่อื ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อุทมุ สกุลรัตน์..) (..นายศวิ าวุฒิ รัตนะ..)

หวั หนา้ งานนเิ ทศ หวั หนา้ กล่มุ บรหิ ารวิชาการ

ลงชือ่ ........................................................
(...นายจงจัด จนั ทบ...)

ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

58

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 7
หน่วยการเรียนรู้ที่…….4……..การดำรงชวี ติ ของพืช..........เรื่อง...การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง....
รายวชิ า……......วิทยาศาสตร์……..1.......รหัสวิชา…......ว 21101 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลมุ่ สาระการเรยี นร้.ู ...........วทิ ยาศาสตร์..........ปีการศึกษา.... 2562.......ภาคเรียนที่..1...เวลา...7...ชวั่ โมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้ (รายวชิ าพน้ื ฐานมีทั้งมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวช้วี ดั
รายวิชาเพิม่ เติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละผลการเรียนรู้)

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชวี้ ดั ว 1.2 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8
สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัติของส่ิงมชี วี ติ หน่วยพน้ื ฐานของสิ่งมีชีวติ การลำเลยี งสารเข้า
และออกจากเซลล์ ความสมั พนั ธข์ องโครงสรา้ ง และหนา้ ทข่ี องระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนษุ ยท์ ท่ี ำงาน
สมั พนั ธ์กนั ความสัมพันธข์ องโครงสร้าง และหน้าทข่ี องอวัยวะต่าง ๆ ของพืชท่ีทำงานสมั พันธ์กนั รวมท้งั นำ
ความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ตัวช้วี ัด
ว 1.2 ม. 1/6 ระบปุ จั จยั ท่ีจำเป็นในการสังเคราะห์ดว้ ยแสงและผลผลติ ท่เี กิดขนึ้ จากการสังเคราะห์
ดว้ ยแสง โดยใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์
ว 1.2 ม. 1/7 อธบิ ายความสำคัญของการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพชื ต่อสง่ิ มชี ีวติ และสิง่ แวดลอ้ ม
ว 1.2 ม. 1/8 ตระหนกั ในคณุ ค่าของพชื ทมี่ ตี ่อส่ิงมชี วี ติ และสิง่ แวดล้อม โดยการร่วมกนั ปลูกและดูแล
รกั ษาตน้ ไม้ในโรงเรียนและชุมชน
2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวชว้ี ัดท่ีใช้ในหน่วยการเรยี นรู้นเี้ ขยี นเปน็ แบบความเรยี ง)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชเกิดขน้ึ ในคลอโรพลาสต์ เปน็ กระบวนการท่ีนำพลังงานแสง
มาเปล่ียนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำให้เป็นน้ำตาล พืชจะเปลี่ยนน้ำตาลเป็นสารประกอบอินทรีย์อื่น ๆ
และ เก็บสะสมในโครงสร้างต่าง ๆ ของพืช พืชจึงเป็นแหล่งอาหารและพลังงานที่สำคัญของสิ่งมีชีวิตชนิดอ่ืน
นอกจากนี้การสังเคราะหด์ ้วยแสงยงั เป็นกระบวนการผลติ แกส๊ ออกซิเจนออกสู่บรรยากาศ เพอื่ ใหส้ ิ่งมีชวี ติ ชนิด
อน่ื นำไปใชใ้ นกระบวนการหายใจ
3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/สาระการเรียนร้เู พมิ่ เติม (รายวชิ าเพิม่ เติม)
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
• กระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพืชท่เี กดิ ขึ้นในคลอโรพลาสต์ จำเปน็ ตอ้ งใช้แสง แกส๊ คาร์
บอนได-ออกไซด์ คลอโรฟลิ ล์ และนำ้ ผลผลิตทีไ่ ด้จาก การสงั เคราะห์ดว้ ยแสง ไดแ้ ก่ นำ้ ตาลและแก๊ส
ออกซเิ จน

59

• การสงั เคราะห์ดว้ ยแสง เป็นกระบวนการทสี่ ำคัญตอ่ สง่ิ มชี วี ติ เพราะเป็นกระบวนการเดียวท่ีสามารถ

นำพลงั งานแสงมาเปลย่ี นเปน็ พลงั งานในรูปสารประกอบอินทรียแ์ ละเก็บสะสมในรูปแบบต่าง ๆ ในโครงสร้าง

ของพชื พชื จึงเป็นแหลง่ อาหารและพลงั งานทส่ี ำคัญของสิ่งมชี วี ิตอนื่ นอกจากนีก้ ระบวนการสังเคราะหด์ ้วย

แสงยังเป็นกระบวนการหลกั ในการสรา้ งแก๊สออกซิเจนใหก้ ับบรรยากาศเพ่ือให้สิ่งมีชีวิตอนื่ ใช้ในกระบวนการ

หายใจ

3.2 สาระการเรียนร้ทู อ้ งถ่นิ (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพดู ถึงหลกั สูตรทอ้ งถนิ่ ให้ใส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น (เลือกเฉพาะข้อทเ่ี กิดในหนว่ ยการเรยี นร้นู )ี้

 1. ความสามารถในการส่ือสาร  2. ความสามารถในการคดิ

 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

5. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (เลอื กเฉพาะขอ้ ทเี่ กิดในหน่วยการเรยี นรนู้ ี)้

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  2. ซือ่ สตั ย์สจุ ริต

 3. มีวินัย  4. ใฝ่เรยี นรู้

 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุ่งม่ันในการทำงาน

 7. รักความเปน็ ไทย  8. มจี ติ สาธารณะ

6. ดา้ นคุณลักษณะของผู้เรยี นตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวชิ าการ  2. สอ่ื สารสองภาษา  3. ล้ำหน้าทางความคดิ

 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  5. รว่ มกันรบั ผดิ ชอบต่อสังคมโลก

7. ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได้)  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเปน็ )

 ทักษะดา้ นการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณและทกั ษะในการแก้ไขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะด้านความร่วมมอื การทำงานเป็นทมี และภาวะผูน้ ำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทักษะดา้ นการสอ่ื สาร สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันสอ่ื (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร (Computing and ICT

Literacy)

 ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)

 ความมเี มตตา (วินยั คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

60

8. บูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในห้องเรยี นคือ

ประมาณกลุม่ ละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตผุ ล : ใหน้ กั เรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏบิ ัติ , นักเรียนเกดิ ความ

ภาคภมู ิใจในผลงานของตนและส่งิ ท่ีเรียนรู้

3. หลักภมู คิ ุ้มกนั : ให้นักเรยี นเกิดทกั ษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นักเรียนรจู้ ักการวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชกิ ภายในกลุ่มไดเ้ หมาะสมกบั ความสามารถของแต่ละบุคคล

4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานท่ีจะทำกอ่ นแล้วค่อยลงมอื ทำอยา่ งระมดั ระวงั

5. เงอื่ นไขคณุ ธรรม : อดทนท่จี ะทำงาน และมีความขยันทีจ่ ะทำงานให้ออกมาได้ดที ีส่ ดุ , มวี ินยั ในการ

ทำงาน

9. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ชว้ี ัด ชน้ิ งาน ภาระงาน

ว 1.2 ม.1/6 -รายงานกิจกรรมท่ี 4.4 ปัจจัยใน - อธบิ ายว่าแสงคลอโรฟิลล์ แก๊สคาร์บอน

ม.1/7, ม. 1/8 การสร้างอาหารของพืชมอี ะไรบ้าง ไดออกไซด์เป็นปัจจัยทีจ่ ำเปน็ ในการสังเคราะห์

-รายงานกจิ กรรมท่ี กจิ กรรมท่ี 4.5 ดว้ ยแสงของพชื

การสังเคราะหด์ ว้ ยแสงไดผ้ ลผลิต - อธบิ ายวา่ นำ้ ตาลและแก๊สออกซเิ จน เปน็

ใดอกี บ้าง ผลผลิตทีเ่ กดิ ข้นึ จากการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง

- อธิบายความสำคญั ของการสงั เคราะห์

ดว้ ยแสงของพชื ต่อส่ิงมชี ีวติ และสงิ่ แวดล้อม

- ร่วมปลกู และดแู ลรกั ษาต้นไม้ในโรงเรียนและ

ชมุ ชน

10. การวัดประเมนิ ผล 3.การวดั ประเมินการปฏบิ ัติ
10.1การวัดและประเมนิ ผลช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด 3. แบบวัดประเมินการปฏบิ ตั ิ
วธิ กี าร
1.การสังเกตการณ์
2.การใช้ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตรร์ ่องรอยบง่ ช้ี
เครื่องมือ
1. แบบสังเกตการณ์
2. ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์

เกณฑ์

61

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรม ผ่านตงั้ แต่ 2 รายการ ถือว่า ผา่ น ผ่าน 1

รายการถอื วา่ ไมผ่ า่ น

10.2 การวัดและประเมินผลระหวา่ งการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรียนรขู้ อง

หนว่ ยการเรียนรนู้ ้)ี

สิ่งทต่ี ้องการวัด วธิ วี ัดผล เครอ่ื งมอื วัดผล เกณฑ์การประเมนิ

1. ความรเู้ กี่ยวกับ -การสอบถาม ซักถาม ความ - แบบประเมนิ การ - นกั เรียนได้

- ปัจจยั ที่สำคัญในการ คดิ เหน็ อภปิ รายแสดง คะแนน

สงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพืช -การตรวจผลงานนกั เรยี น ความ 12 คะแนนข้นึ ไป

และผลผลิตท่ไี ด้จากการ คดิ เหน็ หรอื รอ้ ยละ 80

สงั เคราะห์ด้วยแสง - แบบประเมนิ การ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

- ความสำคัญของ ตรวจผลงานผู้เรียน - นกั เรยี นได้

การสังเคราะหด์ ้วยแสง คะแนน

ของพชื ต่อสิ่งมีชีวิตและ ประเมินผลงาน

ส่งิ แวดลอ้ ม 13 คะแนนขนึ้ ไป

-ตระหนักในคณุ คา่ ของพชื ท่ี หรอื รอ้ ยละ 80

มีตอ่ ส่งิ มชี วี ิตและสิง่ แวด ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

ลอ้ มโดยการร่วมกนั ปลูก

และดูแลรกั ษาต้นไมใ้ น

โรงเรียนและชมุ ชน

2.ทักษะกระบวนการคิด - การอภิปรายแสดง - แบบประเมนิ การ -นักเรียนได้คะแนน

และทกั ษะกระบวนการกล่มุ ความคิดเห็นระบทุ ักษะ อภิปรายแสดง 12 คะแนนขนึ้ ไป

กระบวน ความ หรอื ร้อยละ 80

การทางวิทยาศาสตรท์ ไ่ี ดป้ ฏิบัติ คดิ เห็น ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

จากกิจกรรม - แบบประเมนิ

- สังเกตพฤตกิ รรมการ พฤตกิ รรมการ

ทำงานกล่มุ ทำงานกลมุ่

3. คณุ ลกั ษณะท่พี ึง - สังเกตค่านิยมในการ - แบบประเมนิ - นกั เรียนได้

ประสงค์ ทำงานร่วมกบั ผอู้ นื่ และการ คุณลักษณะอันพึง คะแนน

และสมรรถนะผูเ้ รียน ทำงานในระบบกลุ่ม ประสงค์ ประเมินคุณลกั ษณะ

- มีวินัยในการทำงานกลมุ่ อภิปราย แสดงความคดิ เหน็ อันพึงประสงค์

- นกั เรียนเห็นความสำคัญ เกีย่ วกับผลการทดลอง - แบบประเมนิ 26 คะแนนข้นึ ไป

62

ของการทำงานรว่ มกับผู้อื่น สมรรถนะผ้เู รียน หรอื รอ้ ยละ 80
และการทำงานในระบบกล่มุ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์
- ยอมรับความคิดเหน็ ซึ่งกัน - นกั เรียนได้
และกนั มคี วามเสยี สละและ คะแนน
อดทน การประเมิน
สมรรถนะ
29 คะแนนข้ึนไป
หรอื ร้อยละ 80
ถือว่าผ่านเกณฑ์

11. กิจกรรมการเรียนรู้
ชัว่ โมงท่ี 9 (สัปดาห์ที่ 16)
1. ขั้นตง้ั ประเด็นปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครูใช้คำถามว่าหลังจากงอกออกจากเมล็ดแลว้ พืชใช้อาหารจากแหล่งใดในการเจริญเตบิ โต
1.2 ครูใหน้ กั เรยี นสงั เกต วีดทิ ศั น์ หรือสื่ออน่ื ๆ ทีเ่ ก่ียวกับการงอกของเมล็ดพืชตั้งแตเ่ ร่มิ งอก จนใบแท้

เจรญิ เต็มท่ี จากน้นั ตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรยี นเกย่ี วกับอาหารของพชื โดยให้อ่านเนอ้ื หานำบท และ
ร่วมกันอภิปรายเก่ียวกบั อาหารของพืช โดยอาจใช้คำถามดังนี้

• สว่ นใดของเมลด็ ทีเ่ ป็นอาหารสำหรับใช้ในการงอกของเมล็ด (เอนโดสเปิรม์ หรือใบเล้ียง)
• ถา้ อาหารในเอนโดสเปริ ์มหรือใบเลี้ยงหมดไป พืชจะนำอาหารจากท่ีใดมาใช้ในการเจริญเติบโต
(นักเรยี นตอบตามความเข้าใจเช่น สรา้ งอาหารขน้ึ มาใหม่ไดเ้ อง)
1.3 นักเรียนทำกิจกรรมทบทวนความร้กู ่อนเรียน
1.4 ครูทบทวนความรเู้ กย่ี วกับปัจจัยในการเจรญิ เตบิ โตของพชื และความสำคัญของโครงสร้างในเซลลพ์ ชื
โดยใช้คำถามต่อไปนี้
• ปจั จยั ในการเจรญิ เตบิ โตและการดำรงชีวติ ของพชื มอี ะไรบ้าง
• โครงสรา้ งใดในเซลล์ของพืชมีหน้าท่ีในการสรา้ งอาหารของพชื เพราะเหตใุ ด
ชว่ั โมงที่ 10-11 (สัปดาห์ท่ี 17)
2. ขั้นสืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครูรว่ มกันอภิปรายเพอ่ื ให้ไดข้ อ้ สรปุ วา่ พชื เปน็ ส่งิ มีชีวติ ทีต่ ้องการ นำ้ แสง และอากาศในการ
เจริญเติบโตและการดำรงชวี ิต พืชมคี ลอโรพลาสต์ซง่ึ เป็นโครงสร้างในเซลลท์ มี่ ีหนา้ ที่สร้างอาหาร ส่วนพืชจะ
สรา้ งอาหารไดอ้ ย่างไรและใชป้ ัจจยั ใดบ้างในการสรา้ งอาหารนั้น จะไดท้ ราบจากการทำกจิ กรรมที่ 4.4
2.2 นักเรียนอา่ นวิธกี ารดำเนินกิจกรรมตอนท่ี 1 ในหนงั สอื เรียน และรว่ มกนั อภปิ รายในประเดน็
ดังต่อไปนี้

63

• กิจกรรมนเี้ ก่ียวกับเรอื่ งอะไร (ปัจจัยในการสรา้ งอาหารของพืช)
• กจิ กรรมนีม้ ีจุดประสงค์อะไร (นกั เรียนตอบตามความคิดของตนเอง)
• วธิ ีการดำเนนิ กจิ กรรมโดยสรปุ เป็นอยา่ งไร (นำตน้ ผกั บุ้งไปวางในทีม่ ืดเปน็ เวลา 2 วัน หุม้ ใบผกั บงุ้
1 ใบ ดว้ ยกระดาษทึบแสงสีดำ นำไปวางกลางแดด จากนน้ั เด็ดใบผักบุ้งใบท่หี ุ้มดว้ ยกระดาษทบึ แสงกบั ใบท่ี
ไมไ่ ด้หุ้มมาสกัดคลอโรฟิลล์ออก แล้วทดสอบแป้งดว้ ยสารละลายไอโอดีน)
• สงั เกตได้อย่างไรวา่ ใบผักบุ้งมกี ารสร้างอาหาร (สังเกตสขี องสารละลายไอโอดนี บนใบผักบงุ้ ที่
เปล่ียนจากสีน้ำตาลเป็นสีน้ำเงินเข้มถึงดำ)
2.3 นำอภปิ รายโดยการใช้คำถามเพือ่ พัฒนาทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข์ องนักเรยี น ดังน้ี
• สมมติฐานของการทดลองน้ี คืออะไร (ถ้าแสงเป็นปจั จัยท่ีจำเปน็ ตอ่ การสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื
ดงั นน้ั เมอ่ื นำใบผกั บงุ้ ทีไ่ ด้รับแสงไปทดสอบด้วยสารละลายไอโอดนี สขี องสารละลายไอโอดีนจะเปลี่ยนจากสี
นำ้ ตาลเปน็ สีนำ้ เงิน)
• ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรที่ตอ้ งควบคุมของการทดลองนี้คอื อะไร (ตวั แปรตน้ คือ การไดร้ บั
แสงของใบผกั บ้งุ ตัวแปรตาม คอื การเปล่ียนแปลงสขี องสารละลายไอโอดนี เมื่อทดสอบกบั ใบผกั บ้งุ ตวั แปรท่ี
ต้องควบคมุ คอื ขนาดและอายุ ของใบผักบงุ้ บรเิ วณทวี่ างกระถางผักบุง้ )
• นิยามเชงิ ปฏบิ ัติการของการทดลองนีค้ อื อะไร (การสังเคราะห์ดว้ ยแสงของใบผกั บุง้ ตรวจสอบได้
จากแปง้ ทีเ่ กดิ ข้ึนที่ใบ)
2.4 รว่ มกันอภิปรายเปรยี บเทยี บข้อมูลทไี่ ด้จากการทำกจิ กรรม สาเหตุที่ทำใหผ้ ลการทำกจิ กรรม
คลาดเคลื่อน เช่น สกัดคลอโรฟลิ ล์ออกไมห่ มด ไมไ่ ด้นำกระถางผักบงุ้ ไปไว้ในทมี่ ดื หรือในวนั ท่ีทำการทดลอง
ไมม่ แี สง หรือไดร้ ับแสงน้อยไป
2.5 ร่วมกนั อภปิ รายคำตอบเพือ่ ให้นักเรียนสรุปไดว้ า่ แสงเปน็ สิง่ ท่ีจำเปน็ ตอ่ การสร้างอาหารของพืช
2.6 ร่วมสนทนากบั นกั เรียนเกย่ี วกับเรอ่ื งแสงเป็นปัจจัยในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพชื และครูอาจใช้
คำถามตอ่ ไปว่านอกจากแสงแลว้ มีสง่ิ ใดอกี ทีจ่ ำเป็นตอ่ การสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพชื เพ่อื เชื่อมโยงกบั กิจกรรม
ตอนที่ 2
ช่ัวโมงที่ 12-14 (สัปดาห์ท่ี 17-18)
3. ขน้ั สรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation)
3.1 นักเรียนอ่านวิธีการดำเนินกิจกรรมตอนที่ 2 ในหนังสือเรียน และร่วมกันอภิปรายในประเด็น
ดังตอ่ ไปน้ี
• กจิ กรรมน้ีเกย่ี วกับเรอ่ื งอะไร (ปจั จัยสำหรบั การสร้างอาหารของพชื )
• กิจกรรมน้มี ีจดุ ประสงคอ์ ะไร (นกั เรียนตอบตามความคดิ ของตนเอง)
• วิธกี ารดำเนินกิจกรรมโดยสรุปเป็นอยา่ งไร
• ใบชบาด่างส่วนท่มี สี ีเขยี ว แสดงว่าสว่ นนม้ี สี ง่ิ ใดอยูใ่ นเซลล์ (มคี ลอโรพลาสต์ทม่ี คี ลอโรฟลิ ล์)

64

• สังเกตได้อย่างไรว่าใบชบาด่างมีการสร้างอาหาร (สังเกตสีของสารละลายไอโอดีนบนใบชบาด่างจะ
เปล่ยี นจากสีน้ำตาลเป็นสนี ำ้ เงนิ เขม้ ถึงดำ)

3.2 นักเรียนทำกิจกรรมตามขั้นตอน โดยครูสังเกตการบันทกึ ลักษณะของใบชบาด่างก่อนนำไปต้ม การ
จัดและใช้อุปกรณ์สำหรบั การสกัดคลอโรฟิลล์ออกจากใบ การทดสอบแป้ง ด้วยสารละลายไอโอดีนการสังเกต
และการบันทึกผลการสังเกตของนักเรียนทุกกลุ่ม เพื่อให้ข้อแนะนำถ้าเกิดข้อผิดพลาดในขณะทำ รวมท้ังนำ
ข้อมูลท่ีควรจะปรบั ปรุงและแกไ้ ขมาใชป้ ระกอบการอภปิ รายหลังการทำกจิ กรรม

3.3 นำเสนอข้อมูลการเปล่ียนแปลงของสีของสารละลายไอโอดีนหลังจากทดสอบกับใบชบาด่างใน
รูปแบบท่นี ่าสนใจ เช่น วาดภาพและระบายสีโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรปู ต่าง ๆ

3.4 นกั เรยี นตอบคำถามท้ายกจิ กรรม และร่วมกนั อภปิ รายคำตอบเพื่อให้นักเรียนสรุปได้ว่าส่วนท่ีมีสีเขียว
ของพืชเป็นส่วนที่มีการสร้างอาหาร และสเี ขียวท่ีพบในพืช เรียกว่า คลอโรฟิลล์ ซ่ึงเป็นสารสเี ขยี วท่ีอยใู่ นคลอ
โรพลาสต์

3.5 ร่วมสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเร่ืองแสงและคลอโรฟิลล์เป็นปัจจัยสำคัญในการสังเคาะห์ด้วยแสง
ของพืช ครูอาจใช้คำถามต่อไปว่า นอกจากแสงและคลอโรฟิลล์แล้วยังมีสิ่งใดอีกที่จำเป็นต้องใช้ในการ
สงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื เพ่อื เชือ่ มโยงไปสกู่ จิ กรรมตอนท่ี 3

3.6 นักเรียนอ่านวิธีการดำเนินกิจกรรมตอนที่ 3 ในหนังสือเรียน และร่วมกันอภิปรายในประเด็น
ดังต่อไปน้ี

• กจิ กรรมน้เี ก่ียวกบั เรื่องอะไร (ปัจจยั ในการสร้างอาหารของพชื )
• กจิ กรรมน้มี ีจุดประสงคอ์ ะไร (นักเรยี นตอบตามความคดิ ของตนเอง)
• วิธีการดำเนินกิจกรรมโดยสรุปเป็นอย่างไร (อ่านวิธีการทดลองและวิเคราะห์ผลการทดลองจาก
วิธีการทดลองหาปัจจัยในการสังเคราะห์ด้วยแสงที่กำหนดให้ และลงข้อสรุปว่าในการทดลองนี้มีส่ิงใดเป็น
ปัจจัยในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช)
3.7 นกั เรยี นทำกจิ กรรมตามขั้นตอน โดยสังเกตการรว่ มกนั วเิ คราะห์วิธีการทดลอง การตั้งสมมติฐานการ
ทดลอง นิยามเชิงปฏิบัติการ ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม และการวิเคราะห์ผลการทดลองเพื่อลง
ข้อสรุปรว่ มกนั
3.8 ร่วมกันอภิปรายคำตอบเพื่อให้นักเรียนสรปุ ได้ว่าแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นปัจจัยที่จำเป็นต่อการ
สรา้ งอาหารของพชื
ชวั่ โมงที่ 15 (สปั ดาห์ท่ี 18)
4. ขั้นการส่ือสารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 ร่วมกันอภปิ รายเกยี่ วกับปจั จัยในการสังเคราะหด์ ้วยแสงของพืชเพือ่ ให้ไดข้ ้อสรปุ ว่าปัจจยั ท่จี ำเป็นใน
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช ได้แก่ แสง สารสีเขียวหรือคลอโรฟิลล์ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ ส่ิงท่ี
สามารถระบุได้ว่ามีการสังเคราะห์ด้วยแสงเกิดข้ึน คือ เมื่อทดสอบใบของพืชด้วยสารละลายไอโอดีน พบว่าสี
ของสารละลายไอโอดีนจะเปล่ียนเป็นสีน้ำเงนิ เข้ม แสดงว่ามีแป้งเกิดขึ้นในใบพืชโดยแป้งเป็นสารที่เปลย่ี นมา

65

จากน้ำตาลซ่ึงเป็นผลผลิตชนิดแรกของการสังเคราะห์ด้วยแสง และครูควรเน้นย้ำกับนักเรียนในการอภิปราย

หลงั จากอ่านเนอื้ เร่อื งว่าผลผลติ ชนิดแรกที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสง คือ น้ำตาล

4.2 ร่วมสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับปัจจัยในการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชว่าประกอบด้วยแสง

คลอโรฟิลล์แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และน้ำ และการสังเคราะห์ดว้ ยแสงได้ผลผลิต คอื น้ำตาล และครูอาจใช้

คำถามต่อไปว่านอกจากน้ำตาลแล้ว ผลผลิตของการสังเคราะห์ด้วยแสงยังมีอะไรอีกบ้าง เพื่อเช่ือมโยงเข้าสู่

กิจกรรมที่ 4.5 การสังเคราะห์ด้วยแสงไดผ้ ลผลิตใดอกี บา้ ง

4.3 นักเรียนอา่ นวิธีการดำเนนิ กิจกรรมในหนงั สือเรียน และร่วมกนั อภปิ รายในประเดน็ ดงั ตอ่ ไปน้ี

• กิจกรรมน้ีเก่ยี วกบั เรือ่ งอะไร (ผลผลิตจากการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพืช)

• กจิ กรรมนี้มีจุดประสงค์อะไร (นักเรยี นตอบตามความคดิ ของตนเอง)

• วิธีการดำเนินกิจกรรมโดยสรุปเป็นอย่างไร (นำสาหร่ายหางกระรอกบรรจุในกรวยแก้วแล้วนำไป

คว่ำใส่ในบีกเกอร์ที่มีน้ำ ครอบกา้ นกรวยแก้วด้วยหลอดทดลองท่มี ีน้ำเตม็ ทำ 2 ชดุ ชุดหนง่ึ นำไปวางกลางแดด

และอีกชุดนำไปวางในกล่องทึบ สังเกตสิ่งท่ีเกิดขึ้นในหลอดทดลองทั้ง 2 ชุด เม่ือครบ 90 นาที(ครูจัดชุด

อปุ กรณไ์ ว้ลว่ งหน้า) ยกหลอดทดลองขน้ึ โดยใช้นิว้ ปิดปากหลอดไวแ้ ละแหย่ธปู ที่ตดิ ไฟแต่ไม่มีเปลวไฟเข้าไปใน

หลอดทดลอง)

5. ข้นั การบรกิ ารสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นักเรยี นนำผลการสังเกตท่บี นั ทึกไว้มานำเสนอ รว่ มกันอภปิ รายเปรยี บเทยี บขอ้ มูลที่ได้ สาเหตุทีท่ ำ

ใหผ้ ลการทำกจิ กรรมคลาดเคล่ือน เช่น ไมส่ ามารถสังเกตเหน็ การเปล่ียนแปลงของปลายธปู เมอ่ื ทดสอบแก๊ส

ออกซิเจนหรอื เหน็ ผลการทดสอบไม่ชัดเจน ครอู าจถามคำถามเพ่มิ เติม หรอื อาจเปรียบเทียบผลจากกลุม่ อื่น

หรืออาจเปดิ วดี ิทศั น์การทดลองทีค่ ล้ายคลึงกันใหน้ กั เรยี นชม

5.2 นักเรียนรว่ มกนั อภปิ รายคำตอบเพ่ือใหน้ ักเรยี นสรปุ ได้ว่าชดุ การทดลองที่วางกลางแดดมีฟองแกส๊

เกดิ ข้นึ ในหลอดทดลอง เมื่อทดสอบสรปุ ได้ว่าแก๊สทีเ่ กิดขน้ึ คอื แก๊สออกซิเจน ดังนน้ั ผลผลิตของการสังเคราะห์

ดว้ ยแสงของพชื คือ นำ้ ตาลและแกส๊ ออกซเิ จน

5.3 ร่วมกันอภปิ รายเก่ยี วกับการสงั เคราะห์ด้วยแสงของพชื เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ สรปุ ว่ากระบวนการสังเคราะห์

ดว้ ยแสงมคี วามสำคญั ต่อการดำรงชีวติ ของพืชและส่งิ มีชวี ติ ชนดิ อื่นรวมทง้ั ตอ่ สงิ่ แวดล้อมเพราะเป็น

กระบวนการเดยี วท่นี ำพลงั งานแสงมาเปล่ียนใหเ้ ป็นพลังงานเคมเี ก็บไว้ในรูปของสารประกอบอนิ ทรยี ์

ท่เี ป็นอาหารใหก้ ับสงิ่ มีชีวติ ทุกชนิดบนโลก และเป็นกระบวนการท่มี ีการผลิตแก๊สออกซเิ จนสำหรับให้พืชเอง

และส่ิงมีชีวิตชนดิ อื่นๆ ใช้ในการหายใจ รวมท้งั ยังมสี ่วนช่วยรักษาสมดลุ ของปรมิ าณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์

และแก๊สออกซเิ จนในอากาศ ทำให้สิ่งมีชีวิตชนดิ ต่างๆ สามารถดำรงชีวติ อย่ไู ด้

12. สอ่ื การเรยี นรู้/แหลง่ เรยี นรู้

12.1ส่ือการเรยี นรู้

1) ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 2) หนังสือแบบเรยี น 3) สอื่ เพาเวอร์พอยต์

12.2แหล่งเรยี นรู้

66

1) อินเตอร์เน็ต 2) ห้องสมุด
13. บนั ทึกหลงั การจัดการเรียนรู้
รายละเอียด
ผลการสอน
1. ดา้ นความรู้ : ......................................................................................
- ปัจจัยท่ีสำคัญในการสังเคราะห์ด้วยแสงของ ......................................................................................
พชื และผลผลิตทีไ่ ด้จากการสงั เคราะห์ด้วยแสง ......................................................................................
- ความสำคัญของการสงั เคราะห์ด้วยแสง ......................................................................................
ของพชื ต่อสิ่งมชี ีวิตและส่ิงแวดล้อม .....................................................................................
-ตระหนกั ในคุณคา่ ของพชื ท่มี ีตอ่ สง่ิ มีชีวิตและ ......................................................................................
สิง่ แวดล้อมโดยการร่วมกันปลกู และดูแลรกั ษา .....................................................................................
ต้นไมใ้ นโรงเรยี นและชุมชน
2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................
......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการคดิ
- ทกั ษะกระบวนการกลุม่ ......................................................................................
3. ด้านคณุ ธรรมจริยธรรมและคา่ นยิ ม ......................................................................................
อนั พึงประสงค์ : ...............................................................................
- มีวินัย ......................................................................................
- ใฝ่เรียนรู้
- อยู่อย่างพอเพียง ......................................................................................
- รกั ความเปน็ ไทย ......................................................................................
4. ปัญหาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
5. วิธแี กป้ ัญหา
.......................................................................
.......................................................................

67

ลงช่ือ........................................ครูผู้สอน ลงชือ่ ...........................................หวั หน้ากลมุ่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกลุ รัตน์..) (นายสุรจกั ริ์ แก้วมว่ ง.)

ลงช่อื ........................................... ลงชื่อ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกุลรัตน.์ .) (..นายศวิ าวฒุ ิ รัตนะ..)

หวั หน้างานนิเทศ หัวหนา้ กล่มุ บรหิ ารวิชาการ

ลงช่ือ ........................................................
(...นายจงจัด จนั ทบ...)

ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม

68

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 8
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่…….4……..การดำรงชวี ติ ของพชื ......เรอ่ื ง...การลาเลียงนา้ ธาตอุ าหาร และอาหารของพชื ....
รายวชิ า……......วิทยาศาสตร์……..1.......รหัสวิชา…......ว 21101 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลุม่ สาระการเรยี นร้.ู ...........วิทยาศาสตร์..........ปีการศกึ ษา.... 2562.......ภาคเรียนที่..1...เวลา...6...ชวั่ โมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกุลรัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ดั /ผลการเรยี นรู้ (รายวิชาพ้ืนฐานมที ้งั มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด
รายวชิ าเพิ่มเตมิ มีเฉพาะมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละผลการเรยี นรู้)

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ดั ว 1.2 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8
สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัตขิ องสิง่ มชี วี ติ หนว่ ยพน้ื ฐานของสง่ิ มีชีวิต การลำเลียงสารเข้า
และออกจากเซลล์ ความสัมพนั ธ์ของโครงสรา้ ง และหน้าท่ขี องระบบต่าง ๆ ของสัตวแ์ ละมนษุ ยท์ ่ีทำงาน
สัมพนั ธ์กัน ความสมั พันธข์ องโครงสรา้ ง และหน้าทขี่ องอวยั วะต่าง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธก์ ัน รวมทั้งนำ
ความร้ไู ปใช้ประโยชน์

ตวั ชวี้ ัด
ว 1.2 ม. 1/9 บรรยายลักษณะและหนา้ ท่ขี องไซเล็มและโฟลเอ็ม
ว 1.2 ม. 1/10 เขียนแผนภาพท่ีบรรยายทศิ ทางการลำเลยี งสารในไซเลม็ และโฟลเอ็มของพืช
ว 1.2 ม. 1/14 อธบิ ายความสำคญั ของธาตุอาหารบางชนดิ ทม่ี ีผลต่อการเจริญเติบโตและการ
ดำรงชวี ติ ของพืช
ว 1.2 ม. 1/15 เลือกใช้ปยุ๋ ทม่ี ธี าตุอาหารเหมาะสมกับพชื ในสถานการณท์ ี่กำหนด
2. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวช้ีวัดทีใ่ ช้ในหนว่ ยการเรียนรนู้ ้เี ขียนเป็นแบบความเรียง)
พืชตอ้ งการอากาศ น้ำ แสง และธาตุอาหารในการเจรญิ เติบโตและการดำรงชีวติ พืชดูดน้ำและธาตุ
อาหารจากดินเข้าสู่รากและลำเลียงผ่านทางไซเล็มไปสู่ลำต้น ใบ และส่วนอื่น ๆ ของพืช เพื่อใช้ในการ
สงั เคราะห์ด้วยแสงรวมถงึ กระบวนการอื่น ๆ และมีโฟลเอ็มลำเลียงอาหารที่ไดจ้ ากการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงไปสู่
ส่วนตา่ ง ๆ ของพชื
3. สาระการเรยี นรู้
3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/สาระการเรียนรเู้ พมิ่ เตมิ (รายวชิ าเพ่ิมเตมิ )
สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
• พืชต้องการธาตุอาหารท่ีจำเปน็ หลายชนิดในการเจริญเตบิ โตและการดำรงชวี ิต
• พืชต้องการธาตุอาหารบางชนดิ ในปริมาณมาก ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แคลเซยี ม
แมกนีเซยี ม และกำมะถนั ซงึ่ ในดนิ อาจมไี ม่เพียงพอ สำหรับการเจรญิ เตบิ โตของพืช จึงตอ้ งมกี ารให้ธาตอุ าหาร
ในรูปของปุ๋ยกับพืชอย่างเหมาะสม

69

• พืชมไี ซเล็มและโฟลเอ็ม ซึ่งเปน็ เนอ้ื เย่ือมลี ักษณะคล้ายท่อ เรียงตวั กันเปน็ กลมุ่ เฉพาะท่โี ดยไซเลม็ ทำ

หน้าท่ลี ำเลยี งนำ้ และธาตอุ าหารมที ิศทางลำเลยี งจากรากไปสลู่ ำต้น ใบ และส่วนต่าง ๆ ของพืช เพื่อใช้ในการ

สังเคราะห์ด้วยแสงรวมถงึ กระบวนการอนื่ ๆ ส่วนโฟลเอม็ ทำหน้าทล่ี ำเลยี งอาหารทไ่ี ด้จากการสงั เคราะหด์ ้วย

แสงมที ศิ ทางลำเลยี งจากบรเิ วณทีม่ ีการสงั เคราะห์ด้วยแสงไปสสู่ ่วนต่าง ๆ ของพชื

3.2 สาระการเรยี นรทู้ ้องถิ่น (ถ้าในคำอธบิ ายรายวชิ าพดู ถึงหลกั สตู รท้องถิน่ ให้ใส่ลงไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน (เลอื กเฉพาะขอ้ ท่เี กิดในหนว่ ยการเรียนรนู้ ี)้

 1. ความสามารถในการส่อื สาร  2. ความสามารถในการคิด

 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต

 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

5. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (เลือกเฉพาะขอ้ ที่เกิดในหนว่ ยการเรยี นรนู้ )้ี

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซื่อสตั ย์สุจริต

 3. มีวินยั  4. ใฝ่เรียนรู้

 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุ่งมั่นในการทำงาน

 7. รกั ความเปน็ ไทย  8. มีจิตสาธารณะ

6. ด้านคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวิชาการ  2. ส่ือสารสองภาษา  3. ล้ำหน้าทางความคดิ

 4. ผลติ งานอยา่ งสรา้ งสรรค์  5. รว่ มกันรับผิดชอบตอ่ สงั คมโลก

7. ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได้)  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเป็น)

 ทักษะดา้ นการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณและทกั ษะในการแกไ้ ขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะด้านความร่วมมอื การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทกั ษะด้านการสอื่ สาร สารสนเทศและร้เู ท่าทันสอื่ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร (Computing and ICT

Literacy)

 ทกั ษะอาชีพ และทกั ษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)

 ความมเี มตตา (วินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

70

8. บรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลมุ่ ใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชิกในหอ้ งเรยี นคือ

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตผุ ล : ให้นักเรยี นสรา้ งสรรค์ผลงานและเกดิ ทักษะการปฏบิ ัติ , นกั เรียนเกดิ ความ

ภาคภูมใิ จในผลงานของตนและสงิ่ ทเี่ รยี นรู้

3. หลักภมู คิ มุ้ กัน : ใหน้ กั เรียนเกิดทกั ษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นักเรยี นรจู้ ักการวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานใหส้ มาชิกภายในกลุม่ ไดเ้ หมาะสมกับความสามารถของแต่ละบคุ คล

4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแล้วค่อยลงมือทำอย่างระมดั ระวงั

5. เงอ่ื นไขคณุ ธรรม : อดทนทจี่ ะทำงาน และมีความขยันทีจ่ ะทำงานใหอ้ อกมาได้ดีท่สี ุด , มีวินัยในการ

ทำงาน

9. ชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ชี้วัด ชิ้นงาน ภาระงาน

ว 1.2 ม. 1/9 -รายงานกิจกรรมที่ 4.6 ธาตุอาหาร - อธิบายความสำคัญของธาตุอาหารบาง

ม.1/10 ม.1/14 พชื สำคญั ตอ่ พชื อยา่ งไร ชนิดทมี่ ีผลต่อการเจรญิ เตบิ โตของพืช

ม.1/15 -รายงานกิจกรรมท่ี 4.7 พืชลำเลยี ง และผลจากการขาดธาตุอาหารนัน้

น้ำและธาตุอาหารอยา่ งไร - บอกวิธีการแกไ้ ขอาการผดิ ปกติของพชื ทเ่ี กิด

-เขียนแผนภาพที่บรรยายทิศางการ จากการขาดธาตุอาหารพชื โดยการเลอื กใชป้ ยุ๋ ท่ี

ลำเลยี งสารในไซเลม็ และโฟลเอ็ม เหมาะสม

ของพืช

10. การวัดประเมินผล

10.1การวัดและประเมนิ ผลชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ กี าร

1.การสังเกตการณ์

2.การใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบ่งช้ี 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ

เคร่ืองมือ

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมินการปฏิบัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรม ผ่านตัง้ แต่ 2 รายการ ถอื วา่ ผ่าน ผ่าน 1

รายการถอื ว่า ไมผ่ ่าน

71

10.2 การวัดและประเมินผลระหวา่ งการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรูข้ อง

หนว่ ยการเรยี นรนู้ ้)ี

สิง่ ท่ตี ้องการวัด วิธีวัดผล เครอื่ งมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน

1. ความรู้เกีย่ วกบั -การสอบถาม ซักถาม ความ - แบบประเมนิ การ - นักเรียนได้

- ธาตุอาหารบางชนิดท่มี ี คดิ เหน็ อภิปรายแสดง คะแนน

ผลตอ่ การเจรญิ เตบิ โต -การตรวจผลงานนกั เรียน ความ 12 คะแนนขน้ึ ไป

และการดำรงชวี ิตของ คิดเหน็ หรอื ร้อยละ 80

พืช - แบบประเมนิ การ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

- เลอื กใชป้ ุ๋ยทีม่ ธี าตุอาหาร ตรวจผลงานผ้เู รยี น - นักเรยี นได้

เหมาะสมกบั พชื ในสถานการณ์ คะแนน

ท่ีกำหนด ประเมินผลงาน

-หนา้ ทีข่ องไซเลม็ และ 13 คะแนนขึน้ ไป

โฟลเอม็ หรือร้อยละ 80

- ทิศทางการลำเลียงสาร ถือว่าผ่านเกณฑ์

ในไซเลม็ และโฟลเอ็มของพชื

2.ทกั ษะกระบวนการคดิ และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ -นกั เรียนได้คะแนน

ทักษะกระบวนการกลุม่ ความคิดเห็นระบุทกั ษะ อภิปรายแสดง 12 คะแนนขน้ึ ไป

กระบวน ความ หรอื ร้อยละ 80

การทางวิทยาศาสตร์ที่ได้ คดิ เห็น ถือว่าผา่ นเกณฑ์

ปฏิบตั ิจากกิจกรรม - แบบประเมนิ

- สงั เกตพฤตกิ รรมการ พฤตกิ รรมการ

ทำงานกลุ่ม ทำงานกลุ่ม

3. คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ - สงั เกตค่านิยมในการ - แบบประเมนิ - นักเรียนได้

และสมรรถนะผเู้ รยี น ทำงานรว่ มกับผู้อนื่ และการ คุณลกั ษณะอันพงึ คะแนน

- มวี นิ ยั ในการทำงานกลุม่ ทำงานในระบบกลุ่ม ประสงค์ ประเมนิ คุณลักษณะ

- นกั เรยี นเหน็ ความสำคัญ อภปิ ราย แสดงความคดิ เหน็ อันพงึ ประสงค์

ของการทำงานร่วมกบั ผู้อนื่ และ เกยี่ วกับผลการทดลอง - แบบประเมนิ 26 คะแนนขน้ึ ไป

การทำงานในระบบกล่มุ สมรรถนะผเู้ รยี น หรือรอ้ ยละ 80

- ยอมรับความคิดเห็นซ่งึ กนั ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

และกนั มคี วามเสยี สละและ - นักเรียนได้

อดทน คะแนน

การประเมนิ

72

สมรรถนะ
29 คะแนนขึน้ ไป
หรือรอ้ ยละ 80
ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

11. กิจกรรมการเรียนรู้
ช่ัวโมงท่ี 16 (สัปดาห์ที่ 19)
1. ขั้นตั้งประเด็นปญั หา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครูเชอ่ื มโยงเน้ือหา การสังเคราะหด์ ้วยแสงของพชื เขา้ สู่บทเรยี นนี้ โดยอาจใช้คำถามว่า พชื ใชส้ ง่ิ

ใดบา้ งในการสงั เคราะหด์ ้วยแสง และได้ส่งิ เหล่าน้ันจากแหล่งใด (แสงจากดวงอาทติ ย์ คลอโรฟิลล์ในเซลลพ์ ืช
แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์จากอากาศ และน้ำจากดิน)

1.2 ครูใหน้ ักเรยี นสงั เกต วดี ิทัศน์ หรือสือ่ อน่ื ๆ ทเี่ ก่ยี วกบั เกยี่ วกบั ขนรากของพืช พรอ้ มทง้ั ให้นักเรียน
อ่านเนอ้ื หานำบท จากนั้นรว่ มกันอภปิ รายเก่ียวกบั การลำเลยี งในพืช โดยอาจใช้คำถามดังน้ี

• พืชไดร้ บั นำ้ ธาตอุ าหารและอาหารจากแหลง่ ใด(นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจ เช่น พืชจะดูดน้ำ
และธาตุอาหารจากดนิ และไดร้ ับอาหารโดยการสร้างข้ึนเอง)

• พชื นำน้ำจากดิน และอาหารที่สรา้ งขึ้นที่ใบไปยังส่วนตา่ ง ๆ ของพืช ได้อยา่ งไร (นักเรียนตอบตาม
ความเข้าใจ เชน่ ลำเลียงผ่านลำตน้ )

1.3 นักเรียนทำกจิ กรรมทบทวนความร้กู ่อนเรยี น
1.4 ครูทบทวนความรเู้ กย่ี วกับการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของพชื โดยนำใบพืชที่ปกตแิ ละใบพืชทม่ี ีอาการ
ผดิ ปกติท่ีเกดิ จากการขาดธาตุอาหารมาให้นกั เรยี นดแู ละ ใช้คำถามต่อไปน้ี

• ส่วนทส่ี ังเคราะห์ดว้ ยแสงของพชื ต้องมีสง่ิ ใดในเซลล์
• ใบพชื ทม่ี อี าการซดี เหลืองจะสังเคราะห์ดว้ ยแสงไดด้ ีหรอื ไม่
• อาการซดี เหลอื งของใบ เกดิ เพราะอะไร และจะแกป้ ญั หาได้อย่างไร
ช่วั โมงที่ 17 (สปั ดาห์ที่ 19)
2. ข้นั สบื ค้นความรู้ (Searching for Information)
2.1 รว่ มกนั อภิปรายเพอื่ ให้ได้ขอ้ สรุปว่าพืชตอ้ งการ นำ้ แสง แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ และคลอโรฟลิ ลใ์ น
การสงั เคราะห์ดว้ ยแสงแล้วไดผ้ ลผลติ เปน็ นำ้ ตาลซ่ึงเป็นอาหารของพชื นอกจากนพี้ ชื ยงั ต้องการธาตอุ าหารเพ่อื
ใชเ้ ปน็ องคป์ ระกอบของน้ำตาลและสารต่าง ๆ ท่ีพืชสร้างขน้ึ แล้วพชื จะใช้น้ำตาลและสารเหล่านัน้ เพอ่ื ใหก้ าร
เจรญิ เติบโตเป็นไปอยา่ งปกติธาตอุ าหารของพชื มีอะไรบา้ ง แต่ละชนดิ มีความสำคญั อย่างไรตอ่ พชื จะไดท้ ราบ
จากการทำกจิ กรรมท่ี 4.6
2.2 นักเรยี นอา่ นวธิ กี ารดำเนินกิจกรรม ในหนงั สือเรยี น และรว่ มกนั อภปิ รายในประเดน็ ดังต่อไปน้ี

73

• กจิ กรรมนเ้ี กี่ยวกับเรอื่ งอะไร (ธาตุอาหารของพชื และอาการผิดปกตขิ องพืชที่เกิดจากการขาดธาตุ
อาหารพชื )

• กิจกรรมน้ีมจี ุดประสงคอ์ ะไร (นกั เรียนตอบตามความคิดของตนเอง)
• วธิ ีการดำเนินกจิ กรรมโดยสรปุ เป็นอย่างไร (อ่านและอภปิ รายความสำคญั ของธาตอุ าหาร และ
แนวทางการแกป้ ัญหาการขาดธาตุอาหาร จากน้นั รวบรวมขอ้ มูลเกี่ยวกบั ธาตอุ าหารของพชื และวิธีแก้ปญั หา
จากการขาดธาตอุ าหารของพชื )
• นกั เรยี นเลือกใชเ้ ทคโนโลยีใดในการนำเสนอผลงานได้บา้ ง (Microsoft powerpoint
แอปพลเิ คช่นั ต่าง ๆ)
2.3 นักเรียนนำขอ้ มลู เกี่ยวกบั ชนิดและความสำคัญของธาตอุ าหารพืชแตล่ ะชนดิ รวมทงั้ การแก้ปญั หาการ
ขาดธาตุอาหารของพชื มานำเสนอในรปู แบบตา่ ง ๆ เชน่ ตาราง หรือแผนภาพพร้อมคำอธิบาย
2.4 รว่ มกันอภปิ รายเปรยี บเทียบขอ้ มลู ท่ไี ดจ้ ากการทำกิจกรรม และสาเหตุที่ทำให้ผลการทำกจิ กรรม
คลาดเคลือ่ น เช่นนักเรียนสบื ค้นข้อมลู และได้ข้อมูลว่า ธาตอุ าหารทจี่ ำเปน็ ตอ่ พืชมีเพียง 16 ธาตุ ซง่ึ ปัจจุบนั มี
การเพ่มิ เปน็ 17 ธาตแุ ล้ว
2.5 รว่ มกันอภปิ รายคำตอบเพอ่ื ให้นกั เรียนสรุปได้ว่าในดินมีธาตอุ าหารท่ีพืชใชใ้ นการเจรญิ เติบโตและ
ดำรงชีวิต ธาตอุ าหารท่พี ชื ขาดไม่ได้มี 17 ชนิด ถ้าพชื ขาดธาตุอาหารพชื จะแสดงอาการผิดปกติควรแกไ้ ข้โดย
การวเิ คราะห์ดินเพือ่ หาชนิดและปรมิ าณของธาตอุ าหารท่เี ปน็ ประโยชนต์ อ่ พืช และเพือ่ หาสาเหตวุ า่ ดินขาดธาตุ
อาหารหรอื มีธาตอุ าหารแต่อย่ใู นรูปท่พี ืชไม่สามารถนำไปใช้ได้ วิเคราะหเ์ น้ือเยื่อพืช เพอ่ื ประเมินระดับความ
ขาดธาตอุ าหารของพืช ซึ่งถา้ ดินขาดธาตุอาหารของพืชสามารถทำการเพ่ิมธาตุอาหารของพืชในดินโดยการใส่
ปุย๋
2.6 ใหน้ ักเรียนอา่ นเนอื้ หาในหนังสือและร่วมกันอภปิ รายเก่ียวกับธาตุอาหารของพืช เพ่ือใหไ้ ดข้ อ้ สรุปวา่
ธาตุอาหารในดินมคี วามสำคญั ต่อการเจริญเตบิ โตของพชื ถา้ พชื ขาดธาตอุ าหารพชื จะแสดงอาการผิดปกติ จึง
จำเป็นตอ้ งใหพ้ ชื ได้รบั ธาตอุ าหารของพชื อย่างเพียงพอ ถ้าในดินไมม่ หี รือมีธาตุอาหารของพืชนอ้ ยตอ้ งเพมิ่ ธาตุ
อาหารลงในดนิ ในปริมาณท่ีเหมาะสม
ชว่ั โมงท่ี 18 (สปั ดาห์ที่ 19)
3. ข้ันสรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ร่วมสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับธาตุอาหารของพืช ว่าพืชดูดธาตุอาหารจากดินเพื่อใช้ในการ
เจริญเติบโตให้เป็นไปอย่างปกติ และครอู าจใช้คำถามต่อไปว่า พืชนำธาตุอาหารไปใช้ประโยชน์ในส่วนต่าง ๆ
ของต้นได้อย่างไร เพอ่ื เชอื่ มโยงกับเนือ้ หาเรือ่ งการลำเลียงในพืช
3.2 นักเรียนอ่านวธิ ีการดำเนนิ กิจกรรม 4.7 ในหนังสอื เรียน และรว่ มกนั อภิปรายในประเดน็ ตอ่ ไปนี้
• กจิ กรรมนเ้ี ก่ยี วกบั เรอื่ งอะไร (การลำเลียงนำ้ และธาตุอาหารในพชื )
• กจิ กรรมนมี้ จี ุดประสงคอ์ ะไร (นกั เรียนตอบตามความคิดของตนเอง)

74

• วิธีการดำเนินกิจกรรมโดยสรุปเป็นอย่างไร (สังเกตลักษณะภายนอกของต้นเทียนท่ียังมีราก นำต้น
เทียนไปแช่น้ำสีสังเกตและเขียนแผนภาพทิศทางการลำเลียงน้ำสีในรากและลำต้นเทียน ตัดรากและลำต้น
เทยี นที่ผ่านการแช่น้ำสีตามยาวและตามขวางหนาประมาณ 0.5 เซนติเมตร สังเกตการติดสีของเน้ือเยื่อ ตัด
รากและลำต้นเทยี นทีผ่ ่านการแช่นำ้ สีตามยาวและตามขวางบาง ๆ แช่เน้ือเยื่อในสารละลายซาฟรานินทำสไลด์
สดเนื้อเย่ือ และสังเกตเน้ือเย่ือภายใต้กล้องจุลทรรศน์ รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับการลำเลียงน้ำและธาตุอาหาร
ของพืช)

3.3 ครูสาธิตการตัดเน้ือเยื่อรากและลำต้นตามยาวและตามขวางแบบบาง เพ่ือให้นักเรียนทำได้อย่าง
ถูกต้องและปลอดภัย

3.4 นักเรียนทำกิจกรรมตามข้ันตอน โดยครูสังเกตการตัดเนื้อเยื่อพืช การเตรียมสไลด์ การใช้กล้อง
จุลทรรศน์ การสืบค้นข้อมูล การสังเกตและการบันทึกผลการสังเกตของนักเรียนทุกกลุ่ม เพื่อให้ขอ้ แนะนำถ้า
เกิดข้อผิดพลาดขณะทำกิจกรรมรวมทั้งนำข้อมูลท่ีควรจะปรับปรุงและแก้ไขมาใช้ประกอบการอภิปรายหลัง
การทำกิจกรรม

3.5 นักเรียนนำข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะเนื้อเยื่อและทิศทางการเคล่ือนที่ของน้ำและธาตุอาหารในพืชมา
นำเสนอในรปู แบบต่าง ๆ เชน่ นำเสนอโดยใช้โปรแกรมหรือแอปพลเิ คช่ันท่ที ันสมยั

ชวั่ โมงที่ 19 (สัปดาหท์ ี่ 20)
4. ข้ันการสอ่ื สารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 ร่วมกันอภิปรายเปรียบเทียบข้อมูลที่ได้จากการทำกิจกรรม และอภิปรายถึงสาเหตุที่ผลการทำ
กิจกรรมคลาดเคล่ือนเช่น ไม่เห็นการเคลื่อนท่ีของน้ำสี อาจเนื่องจากต้นเทียนยังสดเกินไปจึงดูดน้ำสีได้น้อย
หรือดูดได้ช้า หรือไมส่ ามารถตดั เนอื้ เย่ือบริเวณปลายรากได้เน่ืองจากรากเกดิ ความเสยี หาย หรือไม่เห็นการติด
สใี นเนื้อเยอื่ เนือ่ งจากไม่ไดแ้ ชเ่ นื้อเยอื่ ในสารละลายซาฟรานิน
4.2 นักเรียนตอบคำถามท้ายกิจกรรม และร่วมกนั อภิปรายคำตอบเพ่อื ให้นักเรียนสรุปไดว้ ่าน้ำสเี คลื่อนที่
เข้าสู่รากต้นเทียนและเคลื่อนต่อเนื่องข้ึนไปยังส่วนต่าง ๆ ของต้น เนื่องจากรากและลำต้นมีกลุ่มเซลล์หรือ
เนื้อเย่อื ที่เรียงต่อกันเปน็ ท่อ ซ่งึ เปน็ ชอ่ งทางสำหรับการลำเลยี งนำ้ สีไปสสู่ ่วนตา่ ง ๆ ของตน้ เทียน
4.3 นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการลำเลียงสารในพืช เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่าน้ำเข้าสู่รากพืชโดยการ
ออสโมซิส ส่วนธาตุอาหารเข้าสู่รากพืชโดยการแพร่หรอื การลำเลียงแบบต้องใช้พลงั งาน พืชมีไซเล็มทำหน้าที่
ลำเลียงน้ำและธาตุอาหารจากรากขนึ้ ไปสทู่ ุกสว่ นของพชื และมีโฟลเอม็ ทำหน้าท่ีลำเลียงอาหารทพี่ ืชสร้างขนึ้
ท่ีบรเิ วณทมี่ สี เี ขยี วไปสู่ทกุ ส่วนของพืช
ชั่วโมงที่ 20 (สัปดาห์ท่ี 20)
5. ขน้ั การบรกิ ารสังคมและสาธารณะ (Public Service)
5.1 นกั เรียนทำกจิ กรรมเสริมนอกเวลาเรียน โดยใหอ้ อกแบบสวนแนวต้ังในโรงเรยี น โดยเลือกชนิดพืช
วัสดุปลกู ภาชนะท่ีใช้ปลกู การดูแลรกั ษา และบอกประโยชนข์ องสวนแนวตงั้ ของตนเอง

75

5.2 ครูสนทนากบั นักเรียนเก่ยี วกบั เรอ่ื งในบทเรยี นการลำเลียงน้ำ ธาตุอาหาร และอาหารของพืช จากน้นั

ใหน้ ักเรยี นทำกิจกรรมตรวจสอบตนเอง เพ่อื สรุปองค์ความรู้ทไ่ี ดจ้ ากบทเรยี น โดยการเขียนบรรยาย วาดภาพ

หรือเขียนผงั มโนทัศนส์ ิง่ ท่ีได้ไดเ้ รียนรู้จากบทเรยี นน้ี ใหน้ กั เรยี นนำเสนอผลงาน โดยอาจออกแบบให้นักเรยี น

นำเสนอและอภปิ รายภายในกลุม่ หรืออภปิ รายรว่ มกนั ในช้ันเรยี น หรอื ติดแสดงผลงานบนผนงั ห้องเรียน และ

ให้นักเรียนร่วมพจิ ารณาผลงาน จากนน้ั ครแู ละนักเรยี นอภปิ รายสรุปองคค์ วามรูท้ ีไ่ ด้จากบทเรียนร่วมกนั

12. ส่อื การเรียนรู้/แหล่งเรยี นรู้

12.1สอ่ื การเรียนรู้

1) ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 2) หนงั สอื แบบเรียน 3) ส่ือเพาเวอร์พอยต์

12.2แหลง่ เรยี นรู้

1) อินเตอร์เน็ต 2) หอ้ งสมุด

13. บนั ทึกหลงั การจัดการเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ดา้ นความรู้ :

1. ความรู้เกี่ยวกับ ......................................................................................

- ธาตอุ าหารบางชนิดทีม่ ีผลตอ่ การเจริญเติบโต ......................................................................................

และการดำรงชีวติ ของพชื ......................................................................................

- เลือกใชป้ ุย๋ ทีม่ ีธาตุอาหารเหมาะสมกบั พืชใน ......................................................................................

สถานการณ์ท่กี ำหนด-หน้าที่ของไซเลม็ และ .....................................................................................

โฟลเอม็ ......................................................................................

- ทศิ ทางการลำเลยี งสารในไซเล็มและโฟลเอ็ม .....................................................................................

ของพืช

2. ด้านกระบวนการ :

- ทกั ษะกระบวนการคิด ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ......................................................................................

3. ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ ม

อนั พงึ ประสงค์ :

- มีวินยั ......................................................................................

- ใฝเ่ รียนรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ......................................................................................

- รกั ความเป็นไทย ......................................................................................

4. ปัญหาการสอน

76

....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
5. วธิ แี ก้ปัญหา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกุลรัตน์..) (นายสรุ จักริ์ แก้วมว่ ง.)

ลงชอื่ ........................................... ลงช่ือ...........................................
(.นางสาวอโนชา...อุทมุ สกุลรตั น.์ .) (..นายศิวาวฒุ ิ รตั นะ..)

หัวหนา้ งานนเิ ทศ หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ

ลงชอื่ ........................................................
(...นายจงจัด จันทบ...)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม

77


Click to View FlipBook Version