The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้เคมี5_65

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2022-09-24 04:31:57

แผนการจัดการเรียนรู้เคมี5_65

แผนการจัดการเรียนรู้เคมี5_65

หลักสูตรรายวิชา

และแผนการจดั การเรียนรู้

รหัสวิชา ว 30225

รายวชิ าเพ่มิ เติม เคมี 5

จำนวน 1.5 หน่วยกติ 3 คาบ/สัปดาห์

ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 6 ภาคเรียนที่ 1

ปีการศึกษา 2565

จดั ทำโดย
นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรตั น์

ตำแหน่ง ครู
วิทยฐานะ ครชู ำนาญการพิเศษ

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรยี นสวุ รรณารามวทิ ยาคม

สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

หลักสตู รรายวชิ า

(Course Development)

รหสั วิชา ว30225 รายวิชา เคมี 5
จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต 3 คาบ/ สปั ดาห์

ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565

จดั ทำโดย

นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์

ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการพเิ ศษ

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

โรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม แขวงศิรริ าช เขตบางกอกน้อย กรงุ เทพมหานคร
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ

หลักสูตรรายวิชาฉบับน้ีจัดทำขึ้นเพื่อเตรียมการในการจัดการเรียนรู้รายวิชาเคมี 5 รหัสวิชา ว 30225
โดยครูผู้สอนได้ทำการศึกษาและวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้
ตัวช้ีวดั /ผลการเรียนรู้ และจัดทำคำอธิบายรายวิชา โครงสรา้ งรายวชิ า กำหนดเวลาเรียน นำ้ หนักคะแนน กำหนด
ทักษะกระบวนการในการเรียนการสอนตลอดจนการวดั และประเมนิ ผลการเรียนการสอนของครู

ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างย่ิงว่าจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้และยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นของผู้เรียนโรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร
เขต 1 ตอ่ ไป

นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรตั น์
ช่อื ผูจ้ ัดทำ

สารบญั หนา้

คำนำ 1
1. หลักการและจดุ ม่งุ หมายของหลกั สตู รการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน 2551 1
1
หลกั การ 2
จดุ หมาย 2
2. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น 3
3. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 3
4. วิสัยทศั น์ของโรงเรียน 3
พันธกจิ 4
เปา้ ประสงค์ 4
5. การกำหนดโครงการสอน 4
คำอธิบายรายวิชา (ดรู ายละเอยี ดจากหลักสตู ร) 4
สาระ/มาตรฐาน/ตัวชวี้ ดั (แกนกลาง) 4
มาตรฐานการเรียนรู้ (ดูรายละเอียดจากหลกั สูตร) 5
ตวั ช้ีวัด หรือผลการเรียนรู้ (ดรู ายละเอียดจากหลกั สูตร) 6
6. ตารางโครงสรา้ งรายวิชา 7
7. การกำหนดโครงการสอนและกจิ กรรมตลอดภาคเรยี น 7
8. แผนการวัดผลและภาระงาน 7
แนวการวัดผล 7
แผนการวดั ผล
การกำหนดภาระงานนักเรียน

1. หลักการและจดุ มุ่งหมายของหลกั สูตรการศึกษาขนั้ พื้นฐาน 2551 1

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน มุง่ พฒั นาผู้เรยี นทุกคน ซึง่ เป็นกำลังของชาติให้เปน็ มนุษยท์ มี่ คี วาม

สมดุลทงั้ ด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตาม

ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข มีความรแู้ ละทักษะพนื้ ฐาน รวมทงั้ เจตคติ ท่ีจำเป็นต่อ

การศึกษาตอ่ การประกอบอาชีพและการศกึ ษาตลอดชีวิต โดยมงุ่ เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั บนพืน้ ฐานความเชือ่ ว่า

ทกุ คนสามารถเรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองได้เต็มตามศกั ยภาพ

หลักการ
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลกั การท่ีสำคัญ ดังน้ี

1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็น
เป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพ้ืนฐานของความเป็นไทย

ควบคกู่ บั ความเป็นสากล
2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี

คุณภาพ

3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้
สอดคลอ้ งกบั สภาพและความตอ้ งการของทอ้ งถิ่น

4. เป็น หลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้าน สาระการเรียนรู้ เวลาและการจั ด
การเรยี นรู้

5. เป็นหลกั สตู รการศกึ ษาทเ่ี น้นผ้เู รียนเปน็ สำคญั

6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลมุ่ เปา้ หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

จุดหมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุ่งพัฒ นาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญ ญ า มีความสุข

มศี ักยภาพในการศกึ ษาต่อและประกอบอาชีพ จงึ กำหนดเป็นจุดหมายเพอ่ื ใหเ้ กิดกับผเู้ รียน เมื่อจบการศกึ ษาขั้น
พ้ืนฐาน ดงั น้ี

1. มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาท่ีตนนับถือ ยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

2. มีความรู้ ความสามารถในการสอ่ื สาร การคดิ การแก้ปัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทักษะชวี ิต

3. มีสุขภาพกายและสขุ ภาพจิตที่ดี มสี ขุ นสิ ยั และรักการออกกำลังกาย
4. มีความรกั ชาติ มีจติ สำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยดึ ม่นั ในวิถีชีวติ และการปกครองตาม

ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข
5. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม มีจิต

สาธารณะที่มุง่ ทำประโยชนแ์ ละสรา้ งสง่ิ ท่ีดงี ามในสังคม และอย่รู ว่ มกันในสังคมอย่างมีความสขุ

2. สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน 2

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน มุ่งใหผ้ เู้ รียนเกดิ สมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดงั นี้

1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา

ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ

ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสงั คม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลดปัญหา

ความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้

วธิ ีการสื่อสาร ทม่ี ีประสทิ ธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทมี่ ีตอ่ ตนเองและสงั คม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง

สรา้ งสรรค์ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบ เพ่ือนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพ่ือ

การตดั สนิ ใจเกยี่ วกับตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เปน็ ความสามารถในการแก้ปญั หาและอุปสรรคต่างๆ ทเี่ ผชิญได้อยา่ ง

ถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ

เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา

และมกี ารตัดสินใจท่ีมีประสทิ ธิภาพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบทเี่ กิดขนึ้ ตอ่ ตนเอง สังคมและส่ิงแวดลอ้ ม

4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต เปน็ ความสามารถในการนำกระบวนการต่างๆ ไปใชใ้ นการดำเนิน

ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ

สร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหวา่ งบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้

ทนั กับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จกั หลีกเล่ยี งพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ทีส่ ง่ ผลกระทบ

ตอ่ ตนเองและผอู้ ่นื

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมี

ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การ

แก้ปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมีคุณธรรม

3. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน มงุ่ พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ เพอื่ ให้สามารถ

อย่รู ่วมกับผู้อ่ืนในสงั คมได้อย่างมีความสขุ ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดังนี้
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซ่อื สัตย์สจุ ริต

3. มวี นิ ัย
4. ใฝเ่ รียนรู้

5. อย่อู ยา่ งพอเพยี ง
6. มุ่งมน่ั ในการทำงาน
7. รกั ความเปน็ ไทย

8. มจี ิตสาธารณะ

3

4. วิสัยทศั น์ของโรงเรียน

โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม เป็นโรงเรยี นสง่ เสรมิ ทักษะการคิด เพอ่ื พฒั นาผ้เู รยี นให้มีความรู้
คูค่ ณุ ธรรม บนพนื้ ฐานความเปน็ ไทยและหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

พันธกจิ
1) จดั การเรียนการสอนเพอ่ื พัฒนาคุณภาพผเู้ รียน
2) พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา

3) การบริหารจัดการสถานศกึ ษา
4) พฒั นาชมุ ชน สงั คม ธำรงสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์

เปา้ ประสงค์
1) ผู้เรียนมีคุณสมบัติตามมาตรฐานนักเรียนโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม 10 ข้อ ได้แก่ ทดแทน

บญุ คุณบิดามารดา มาโรงเรียนเชา้ เขา้ ห้องเรียนเสมอ พบเจอครูเคารพ คบหาเพื่อนดี สามัคคีหม่คู ณะ ละเลิกสิ่ง
ชั่ว ประพฤตติ ัวดี มนี ้ำใจ ใหเ้ กียรติกนั และมีคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคต์ ามหลกั สูตร

2) ผูเ้ รียนมีส่วนรว่ มในการสืบสาน อนุรักษ์ ประเพณี และวัฒนธรรมไทย
3) ผู้เรียนนำหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ในการดำเนนิ ชวี ิต
4) ผู้เรียนมีความเป็นเลิศทางวิชาการ ส่ือสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา ล้ำหน้าทางความคิด ผลิตผลงาน

สร้างสรรค์ และรว่ มกันรับผิดชอบสงั คม
5) ผู้เรียนมีสขุ ภาพพลานามัยแข็งแรง จิตใจร่าเริงแจ่มใส มีสุขภาพจิตที่ดี ปลอดจากสิ่งเสพติด อบายมุข

และโรคเอดส์
6) ครูออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา

ตามศกั ยภาพ

7) ครแู ละบคุ ลากรมีความรู้และจริยธรรม มีศักยภาพในหนา้ ที่ของตน
8) สถานศกึ ษามสี ภาพแวดลอ้ มและการบรกิ ารท่เี อื้อต่อการเรียนรู้

9) สถานศกึ ษามีการบรหิ ารจดั การด้วยระบบคุณภาพ
10) มีการประสานงานกับคณะกรรมการสถานศึกษาฯ สมาคมศิษย์เก่า เครือข่ายผู้ปกครอง และ
หนว่ ยงานอน่ื ๆท่เี กย่ี วข้อง เนน้ การมสี ่วนร่วมของผู้เกี่ยวขอ้ งทุกฝ่ายในการพัฒนาโรงเรียน

5. การกำหนดโครงการสอน/คำอธบิ ายรายวชิ า 4

โครงการสอนรายวิชา

รหัสวชิ า ว 30225 รายวชิ เคมี 5
จำนวน 1.5 หน่วยกติ 3 คาบ/ สัปดาห์ ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565

สาระ/มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด (แกนกลาง)

-
คำอธบิ ายรายวิชา (ดูรายละเอยี ดจากหลกั สูตร)

วเิ คราะห์ ทดลองและอภิปราย พันธะของคารบ์ อน ประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน โครงสร้าง

สมบัติการเกิดปฏิกิริยา การนาไปใชป้ ระโยชน์ของสารประกอบไอโดรคารบ์ อนประเภทแอลเคน แอลคีนและแอล
ไคน์ และอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน กรดอินทรีย์ แอลกอฮอล์ เอสเทอร์ แอลดีไฮด์ คีโตน เอมีน และเอไมน์

ความสำคัญต่อการดำรงชีวิต สมบัติ โครงสร้าง การเกิดปฏิกิริยาของคาร์โบไฮดเดรต ไขมันและน้ำมัน โปรตีน
กรดนิวคลิอกิ เอนไซม์ และฮอร์โมน พอลเิ มอร์ ปฏิกริ ิยาพอลิเมอไรเซชนั ผลิตภัณฑ์จากพอลิเมอร์ และการนาไป
ใชป้ ระโยชน์ ความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยขี องผลติ ภัณฑ์จากพอลเิ มอรส์ งั เคราะห์

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล
บนั ทกึ จดั กลมุ่ ขอ้ มลู และการอภิปรายเพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนาเสนอส่ือสารสิ่งทเี่ รียนรู้

มคี วาม
สามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณคา่ ของการนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจาวนั มีจิตวิทยาศาสตร์ ใฝ่เรียนรู้
และมีจติ สาธารณะคณุ ธรรมจริยธรรมและค่านยิ มทเี่ หมาะสม

มาตรฐานการเรียนรู้ (ดรู ายละเอียดจากหลกั สูตร)

สาระเคมี 1 : เข้าใจโครงสรา้ งอะตอม การจดั เรียงธาตใุ นตารางธาตุ สมบัตขิ องธาตุ พันธะเคมีและสมบัติ
ของสาร แกส๊ และสมบตั ขิ องแก๊ส ประเภทและสมบัติของ สารประกอบอนิ ทรยี แ์ ละพอลิเมอร์ รวมทั้งการนำ
ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ผลการเรยี นรู้

1. สืบค้นขอ้ มูลและนำเสนอตวั อยา่ งสารประกอบอนิ ทรยี ์ทม่ี พี ันธะเดยี่ ว พันธะคู่ หรือพนั ธะสาม ท่ีพบใน
ชวี ติ ประจำวัน

2. เขียนสตู รโครงสร้างลิวอิส สูตรโครงสรา้ งแบบย่อ และสูตรโครงสรา้ งแบบเสน้ ของสารประกอบอนิ ทรีย์

3. วิเคราะห์โครงสรา้ ง และระบุประเภทของสารประกอบอนิ ทรียจ์ ากหมฟู่ งั ก์ชนั
4. เขียนสูตรโครงสรา้ งและเรยี กชื่อสารประกอบอนิ ทรยี ์ประเภทตา่ ง ๆ ท่มี ีหมู่ฟงั กช์ ันไม่เกนิ 1 หมู่ ตาม

ระบบ IUPAC
5. เขียนไอโซเมอรโ์ ครงสร้างของสารประกอบอินทรยี ป์ ระเภทต่าง ๆ

5

6. วเิ คราะห์ และเปรยี บเทียบจดุ เดอื ดและการละลายในนำ้ ของสารประกอบอินทรยี ท์ ่ีมีหมฟู่ ังกช์ ัน ขนาด
โมเลกลุ หรือโครงสร้างต่างกัน

7. ระบปุ ระเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและเขยี นผลิตภัณฑ์จากปฏิกิรยิ าการเผาไหม้ ปฏิกริ ิยา
กับโบรมีน หรือปฏกิ ริ ิยากับโพแทสเซียมเปอรแ์ มงกาเนต

8 เขยี นสมการเคมีและอธบิ ายการเกิดปฏกิ ิริยาเอสเทอริฟเิ คชัน ปฏิกริ ิยาการสังเคราะห์เอไมด์ปฏิกิรยิ า
ไฮโดรลซิ ิส และปฏกิ ริ ิยาสะปอนนฟิ เิ คชนั

9. ทดสอบปฏกิ ิรยิ าเอสเทอริฟิเคชนั ปฏกิ ริ ยิ าไฮโดรลิซสิ และปฏิกิรยิ าสะปอนนิฟิเคชัน
10. สืบค้นขอ้ มูล และนำเสนอตวั อยา่ งการนำสารประกอบอินทรียไ์ ปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจำวนั และ
อุตสาหกรรม
11. ระบปุ ระเภทของปฏกิ ริ ยิ าการเกดิ พอลิเมอร์จากโครงสร้างของมอนอเมอร์หรือพอลเิ มอร์
12. วเิ คราะห์ และอธบิ ายความสัมพันธ์ระหวา่ งโครงสรา้ งและสมบัตขิ องพอลเิ มอร์ รวมทง้ั การนำไปใช้
ประโยชน์
13. ทดสอบ และระบปุ ระเภทของพลาสติกและผลิตภัณฑ์ยาง รวมทัง้ การนำไปใช้ประโยชน์
14. อธิบายผลของการปรบั เปลยี่ นโครงสร้าง และการสังเคราะห์พอลิเมอร์ทม่ี ีต่อสมบัตขิ องพอลเิ มอร์
15. สบื คน้ ข้อมูล และนำเสนอตัวอย่างผลกระทบจากการใชแ้ ละการกำจดั ผลติ ภัณฑ์พอลเิ มอรแ์ ละแนว
ทางแกไ้ ข

รวมท้งั หมด 15 ผลการเรยี นรู้

6. ตารางโครงสร้างรายวชิ า

ลำดบั ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ ตวั ชี้วัด หรือ วิธีการประเมนิ เวลา นำ้ หนัก
(ชวั่ โมง) คะแนน
ท่ี ผลการเรยี นรู้
30 40
1 เคมอี ินทรีย์ 1-10 1. ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 10

2. สืบค้นข้อมลู /อภิปราย 1 20
10 20
กล่มุ 5
5
สอบกลางภาค 1 20
60 100
2 พอลิเมอร์ 11-15 1. ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์

2. รายงาน

3.สืบค้นข้อมลู /อภปิ รายกลมุ่

สอบปลายภาค

รวม

อตั ราส่วนคะแนน

คะแนนเกบ็ ระหวา่ งภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20 6
K : P : A = 40 : 60 : …..
เวลา
รวม 100 คะแนน (ช่ัวโมง)

คะแนนเกบ็ ก่อนสอบกลางภาค = 30 คะแนน 14
12
สอบกลางภาค = 20 คะแนน 10
4
คะแนนเก็บก่อนสอบปลายภาค = 30 คะแนน 10

คุณลักษณะ / จติ พิสยั = - คะแนน

สอบปลายภาค = 20 คะแนน

รวม 100 คะแนน

7. การกำหนดโครงการสอนและกิจกรรมตลอดภาคเรียน

สปั ดาห/์ หน่วยการเรยี นร้/ู ผลการเรียนรู้ กจิ กรรม /
เนื้อหา กระบวนการเรียนรู้
แผนการ
เรียนรู้ที่

1 เคมอี ินทรยี ์ 1-4 รูปแบบการเรยี นรแู้ บบโยนโิ ส

เรือ่ ง รจู้ กั สารอนิ ทรยี ์ มนสกิ ารตามขน้ั ตอนดงั นี้

1. ขน้ั พฒั นาปัญญา

2. ขน้ั นำปญั ญาพฒั นาความคิด

3. ขั้นนำปญั ญาพฒั นาตนเอง

2 เคมีอนิ ทรีย์ 3,5,6,7 รูปแบบการเรยี นร้แู บบโยนิโส

เร่ือง ฉันคือสารประกอบ มนสิการตามข้ันตอนดังนี้

ไฮโดรคาร์บอน 1. ขน้ั พัฒนาปัญญา

2. ขัน้ นำปญั ญาพฒั นาความคดิ

3. ขั้นนำปญั ญาพัฒนาตนเอง

3-4 เคมีอินทรยี ์เร่ือง 5,6,10 รูปแบบการเรียนรแู้ บบโยนิโส
สารประกอบอนิ ทรยี ์ที่มี มนสิการตามข้ันตอนดังนี้
ธาตอุ อกซเิ จนเปน็ 1. ข้นั พัฒนาปัญญา

องค์ประกอบ 2. ขนั้ นำปัญญาพฒั นาความคิด
3. ขน้ั นำปัญญาพฒั นาตนเอง

5 เคมีอินทรยี ์เร่อื ง 5,6,8,9,10 รปู แบบการเรียนรูแ้ บบโยนิโส
สารประกอบอินทรยี ท์ ่ีมี มนสิการตามขั้นตอนดังนี้
ธาตุไนโตรเจนเปน็ 1. ขั้นพัฒนาปัญญา

องคป์ ระกอบ 2. ขั้นนำปัญญาพัฒนาความคดิ
3. ขั้นนำปญั ญาพัฒนาตนเอง

6-8 การเกิดพอลิเมอร์ 11-13 รูปแบบการเรยี นร้แู บบโยนโิ ส

7

มนสกิ ารตามขัน้ ตอนดงั น้ี
1. ขั้นพัฒนาปัญญา

2. ขัน้ นำปญั ญาพฒั นาความคดิ

3. ขนั้ นำปัญญาพฒั นาตนเอง

9-12 การปรบั ปรุงสมบัตขิ อง 14-15 รปู แบบการเรียนรแู้ บบโยนโิ ส 10

พอลเิ มอร์ มนสกิ ารตามขนั้ ตอนดังน้ี
1. ขั้นพฒั นาปญั ญา

2. ขัน้ นำปัญญาพฒั นาความคิด
3. ขน้ั นำปญั ญาพัฒนาตนเอง

8. แผนการวัดผลและภาระงาน

แนวการวัดผล อตั ราส่วน คะแนนระหวา่ งภาค : คะแนนปลายภาค = ...80.... : ....20.....

อัตราสว่ น คะแนน K : P : A = ....40... : ...60... : ............

แผนการวัดผล

การประเมนิ คะแนน วิธีวดั ชนิดของเคร่ืองมือ ตวั ช้ีวัด/ผลการ เวลาทใี่ ช้
เรยี นรูข้ อ้ ท่ี (นาที/ครัง้ )

ก่อนกลางภาค 40 1.สืบค้นข้อมลู ชุดกิจกรรม 1-10 50 นาที/ครั้ง
2.อภิปรายกลุ่ม วทิ ยาศาสตร์

กลางภาค 20 สอบ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ 1-10 60 นาท/ี ครั้ง

หลงั กลางภาค 20 1.สบื คน้ ขอ้ มูล ชุดกิจกรรม 11-15 50 นาท/ี ครงั้
2.อภปิ รายกลมุ่ วทิ ยาศาสตร์

คุณลักษณะ / - - - - ตลอด
จิตพิสยั ภาคเรียน

ปลายภาค 20 สอบ แบบวดั ผลสมั ฤทธิ์ 11-15 60 นาที/คร้ัง
รวม 100 คะแนน

การกำหนดภาระงานนักเรยี น
ในการเรยี นรายวชิ า.เคมี..4..ได้กำหนดใหน้ ักเรยี นทำกิจกรรม/ ปฏบิ ัตงิ าน (ช้นิ งาน)….17....ชน้ิ ดงั นี้

ท่ี ช่ืองาน ตวั ชวี้ ัด/ผลการ ประเภทงาน กำหนดส่ง
1 สืบค้นข้อมูลสารประกอบอินทรยี ท์ ่พี บใน เรยี นรขู้ ้อที่ กลุ่ม เด่ียว วนั /เดอื น/ปี

1-5  พ.ค 65

ชวี ติ ประจำวัน

2 เขียนโครงการทำระบบก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์และ 1  พ.ค 65
ขยะอินทรีย์ 3,6  พ.ค 65

3 รายงานผลการทดลอง เร่ือง สมบัติบางประการของ

สารประกอบไฮโดรคารบ์ อน 7  พ.ค 65
4 สืบค้นขอ้ มูลจดุ เดือดและจุดหลอมเหลวของแอลเคน

5 เขียนโครงการลดโลกรอ้ นในโรงเรียน 7 พ.ค 65

6 รายงานผลการทดลอง เรื่อง การละลายได้ในน้ำของ 5-6  พ.ค 65

8

แอลกอฮอล์

7 เขยี นโครงการสำรวจสารฟีนอลในพืชสมุนไพร 10  มิ.ย 65

ทนี่ ักเรยี นสนใจ

8 รายงานผลการทดลอง เรอ่ื ง ปฏิกริ ิยาของเอสเทอร์ 8-9  มิ.ย 65

9 รายงานการค้นควา้ กระบวนการหมกั กับกรดอินทรยี ์ 10  ม.ิ ย 65
พรอ้ มระบุแหล่งท่มี าแลว้ บนั ทกึ ข้อมลู 10  มิ.ย 65

10 คำขวัญหรือขอ้ ความ พร้อมวาดภาพประกอบ 8-11  ก.ค 65
เกย่ี วกบั คณุ ค่าวิถีชีวติ ไทยกับการบริโภคของหมักดอง
อยา่ งปลอดภยั

11 ผงั ความคิดสรปุ องค์ความรู้ เร่อื ง พอลิเมอร์

12 ผงั ความคิดสรปุ องค์ความรู้ เร่ือง การแก้ปญั หาขยะ 11  ก.ค 65

จากพอลิเมอร์

13 รายงานการทดลองเร่อื งเรื่อง ความหนาแน่นและ 11  ก.ค 65

โครงสรา้ งของพอลเิ มอร์

14 รายงานผลการทดลอง เรอื่ ง การทดสอบการ 12  ส.ค 65

เปล่ียนแปลงของพอลเิ มอร์เมื่อได้รบั ความร้อน

15 รายงานการลองเรือ่ ง สมบตั ขิ องโคพอลเิ มอร์ 14  ส.ค 65

16 รายงานการสบื คน้ ขอ้ มลู นำเสนอผลกระทบจากการ 15  ก.ย 65
ใช้และการกำจัดผลติ ภัณฑพ์ อลิเมอร์ และแนวทาง 8-14  ก.ย 65
แกไ้ ข

17 แบบฝึกหัดท้ายบท

หากนักเรยี นขาดสง่ งาน...-...ชน้ิ หรอื ขาดสง่ ชน้ิ งานท่ี ...17.. จะไดร้ ับผลการเรียน “ร” ในรายวชิ านี้

ลงชอ่ื ........................................ครูผูส้ อน ลงช่ือ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
( นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์ ) (นางกณกิ าร์ พฒั รากลุ )

ลงชอื่ ........................................... ลงชอ่ื ...........................................
( นางกณิการ์ พัฒรากุล ) ( นางรพีพร คำบญุ มา )
หัวหน้างานนเิ ทศ
รองผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ

(นายสรุ ิยนั ต์ เหล่ามะลึก)
ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวทิ ยาคม

n

แผนการจัดการเรียนรู้

รหัสวิชา ว 30225 รายวิชาเพ่ิมเตมิ เคม5ี
จำนวน 1.5 หน่วยกิต 3 คาบ/ สปั ดาห์
ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565

จดั ทำโดย

นางสาวอโนชา อทุ มุ สกุลรัตน์
ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการพเิ ศษ

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม แขวงศริ ิราช เขตบางกอกน้อย กรงุ เทพมหานคร
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ

แผนการจัดการเรยี นรู้เลม่ นี้ จัดทำข้ึนเพ่ือใช้เปน็ แนวทางในการจดั การเรยี นการสอนรายวชิ ารายวชิ า
เพ่ิมเติม ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 รหสั วิชา ว30225 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ท่เี น้นนักเรียนเป็นสำคัญ มี
การจัดกิจกรรมและการวัดผลประเมินผลท่ีหลากหลายสอดคล้องกับสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระ
การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551 ซึง่ ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้ จำนวน 2 หนว่ ย คือ หน่วยท่ี 1 เคมีอินทรีย์ และ หน่วยท่ี
2 พอลิเมอร์

แผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งเป็นรายบุคคลและ
รายกลุ่ม เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งเสริมให้
นักเรียนเช่ือมโยงความรู้ท้ังในและต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ในเชิงบูรณาการด้วยวิธีการที่หลากหลาย สร้าง
สถานการณ์การเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน โดยครูมีบทบาทหน้าที่ในการเอื้ออำนวยความสะดวกให้แก่
นักเรียน เพื่อให้นักเรียนมีคุณภาพตามสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัด รวมท้ังพัฒนานักเรียนให้มี
สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่หลักสูตรกำหนด เพ่ือให้นักเรียนสามารถดำรงชีวิตอยู่
ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมไทยและสังคมโลกได้อย่างมีความสุขการปฏิบัติงานมุ่งผลสัมฤทธ์ิของผู้เรียนได้อย่างเป็น
ระบบ สง่ ผลใหผ้ ู้เรยี นมคี ุณภาพ และสถานศึกษามคี ณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาอยา่ งแท้จริง

หวังเป็นอย่างย่ิงว่าแผนการจดั การเรยี นรู้ เล่มนจ้ี ะเปน็ ประโยชน์ต่อการนำไปประยุกตใ์ ช้ในการจดั การ
เรยี นรู้ใหเ้ หมาะสมกับสภาพแวดล้อมของนักเรยี นตอ่ ไป

......................................................
(นางสาวอโนชา อทุ ุมสกลุ รัตน์)

สารบัญ หนา้

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 เคมอี นิ ทรีย์ 1 - 30
 แผนการเรียนรทู้ ี่1 รจู้ กั สารอินทรยี ์ 1
 แผนการเรยี นรู้ท่ี2 ฉันคอื สารประกอบไฮโดรคารบ์ อน 7
 แผนการเรยี นรูท้ ่ี3 สารประกอบอนิ ทรยี ท์ ี่มีธาตุออกซิเจนเปน็ องค์ประกอบ ตอนที่ 1 13
 แผนการเรยี นรทู้ ่ี4 สารประกอบอนิ ทรยี ท์ ่มี ธี าตอุ อกซเิ จนเป็นองคป์ ระกอบ ตอนท่ี 2 19
 แผนการเรียนรู้ที่5 เคมีอนิ ทรยี ์เรื่อง สารประกอบอินทรีย์ที่มธี าตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ 25

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 พอลิเมอร์ 30 - 49

 แผนการเรียนรู้ที่6 การเกิดพอลเิ มอร์ 30
 แผนการเรยี นรูท้ ่ี7 โครงสร้างและสมบตั ขิ องพอลเิ มอร์ 35
 แผนการเรียนรูท้ ี่8 การปรบั ปรงุ สมบัตขิ องพอลิเมอร์ 40
 แผนการเรยี นรทู้ ี่9 การแก้ปัญหาขยะจากพอลิเมอร์ 45

เคร่ืองมอื วัดและประเมินผล 50

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี….1....เคมีอนิ ทรีย์...........เร่อื ง....ร้จู ักสารอินทรีย์........…………………………….…........................
รายวชิ า……..............เคมี…5........ ............รหสั วิชา…..............ว 30225......................ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่....6.....
กลมุ่ สาระการเรียนรู้..วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปีการศกึ ษา… 2565...ภาคเรียนท่ี..1...เวลา...14..ชวั่ โมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ (รายวิชาพน้ื ฐานมที งั้ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชว้ี ัด
รายวชิ าเพ่ิมเตมิ มเี ฉพาะมาตรฐานการเรยี นรู้และผลการเรยี นรู้)

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
สาระเคมี 1 : เข้าใจโครงสรา้ งอะตอม การจัดเรยี งธาตใุ นตารางธาตุ สมบัติของธาตุ พันธะเคมีและ

สมบตั ิของสาร แกส๊ และสมบัติของแกส๊ ประเภทและสมบตั ขิ อง สารประกอบอินทรยี แ์ ละพอลิเมอร์ รวมทง้ั การ
นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

1.2 ผลการเรยี นรู้
1. สบื ค้นขอ้ มูลและนำเสนอตัวอย่างสารประกอบอินทรีย์ท่ีมพี นั ธะเดย่ี ว พนั ธะคู่ หรือพันธะสาม ที่พบ

ในชวี ิตประจำวนั
2. เขียนสตู รโครงสรา้ งลวิ อิส สตู รโครงสรา้ งแบบย่อ และสตู รโครงสร้างแบบเสน้ ของสารประกอบ

อนิ ทรยี ์
3. วิเคราะหโ์ ครงสร้าง และระบุประเภทของสารประกอบอนิ ทรยี จ์ ากหมู่ฟงั กช์ นั
4. เขยี นสูตรโครงสรา้ งและเรียกชอ่ื สารประกอบอนิ ทรีย์ประเภทต่าง ๆ ท่มี ีหม่ฟู งั ก์ชนั ไมเ่ กนิ 1 หมู่

ตามระบบ IUPAC
5. เขยี นไอโซเมอรโ์ ครงสรา้ งของสารประกอบอินทรียป์ ระเภทตา่ ง ๆ
6. เขียนสูตรโครงสรา้ งและเรยี กชื่อสารประกอบอินทรียป์ ระเภทตา่ ง ๆ ทม่ี ีหม่ฟู ังกช์ นั ไม่เกนิ 1 หมู่

ตามระบบ IUPAC
7. เขยี นไอโซเมอรโ์ ครงสร้างของสารประกอบอนิ ทรียป์ ระเภทตา่ ง ๆ
8. วเิ คราะห์และเปรียบเทียบจุดเดอื ดและการละลายในน้ำของสารประกอบอนิ ทรีย์ท่มี ีหมู่ฟงั กช์ นั

ขนาดโมเลกุล หรือโครงสร้างตา่ งกนั
2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (หลอมจากผลการเรยี นรู้ทใ่ี ช้ในหน่วยการเรยี นรู้นเี้ ขียนเป็นแบบความ
เรียง)

สารประกอบอินทรยี ์เป็นสารประกอบของคาร์บอน ส่วนใหญ่พบในส่ิงมชี ีวติ มโี ครงสร้างหลากหลาย
และแบ่งได้หลายประเภท เน่ืองจากธาตุคาร์บอนสามารถเกิดพันธะโคเวเลนต์กับธาตุคาร์บอนด้วยพันธะเดี่ยว
พันธะคู่ พันธะสาม นอกจากนยี้ ังสามารถเกิดพนั ธะโคเวเลนตก์ บั ธาตอุ นื่ ๆ ได้อกี ดว้ ยและมกี ารนำสารประ
กอบอินทรีย์ไปใช้ประโยชน์อย่างหลากหลาย โครงสร้างของสารประกอบอินทรยี ์แสดงได้ด้วยสูตรโครงสรา้ งลิว
อิส สูตรโครงสร้างแบบยอ่ หรอื สตู รโครงสร้างแบบเสน้
3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/สาระการเรียนรเู้ พม่ิ เติม (รายวชิ าเพ่ิมเติม)
- สารประกอบอินทรีย์เป็นสารประกอบของคารบ์ อนส่วนใหญ่พบในสิ่งมีชวี ติ มีโครงสร้างหลากหลาย

และแบ่งได้หลายประเภท เนอื่ งจากธาตุคาร์บอนสามารถเกิดพนั ธะโคเวเลนต์กับธาตุคาร์บอนดว้ ย

1

พันธะเดยี่ วพนั ธะคู่ พนั ธะสาม นอกจากนี้ยงั สามารถเกดิ พันธะโคเวเลนต์กับธาตุอ่นื ๆ ได้อกี ดว้ ย และ

มีการนำสารประกอบอนิ ทรียไ์ ปใช้ประโยชนอ์ ย่างหลากหลาย

- โครงสร้างของสารประกอบอนิ ทรยี แ์ สดงได้ด้วยสตู รโครงสร้างลิวอสิ สูตรโครงสร้างแบบย่อ หรือ

สตู รโครงสร้างแบบเสน้

3.2 สาระการเรียนรทู้ อ้ งถนิ่ (ถา้ ในคำอธิบายรายวชิ าพูดถงึ หลักสูตรทอ้ งถ่นิ ใหใ้ ส่ลงไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อธบิ ายการเกดิ พันธะเคมขี องคารบ์ อนในสารประกอบอนิ ทรยี ์ได้

2. สืบค้นข้อมลู และนำเสนอตัวอยา่ งสารประกอบอินทรียท์ ี่มีพันธะเด่ียว พนั ธะคู่ หรือพนั ธะสาม ท่ีพบใน

ชีวติ ประจำวนั ได้

3. เขียนสตู รโมเลกุล สตู รโครงสร้างลิวอิส สูตรโครงสร้างแบบย่อ และสูตรโครงสรา้ งแบบเส้นพนั ธะของ

สารประกอบอนิ ทรยี ์ได้

4. วเิ คราะห์โครงสรา้ งและระบปุ ระเภทของสารประกอบอนิ ทรีย์จากหม่ฟู ังกช์ ันได้

5. มีจติ วทิ ยาศาสตรด์ า้ นความรอบคอบ จากรายงานการทดลองและการทำแบบฝึกหดั

5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน (เลือกเฉพาะขอ้ ทเี่ กิดในหนว่ ยการเรียนรู้นี้)

 1. ความสามารถในการสอื่ สาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (เลอื กเฉพาะข้อที่เกิดในหนว่ ยการเรียนรนู้ ี)้

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซอื่ สตั ย์สุจริต

 3. มวี นิ ยั  4. ใฝ่เรยี นรู้
 5. อยู่อย่างพอเพยี ง  6. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน
 7. รกั ความเป็นไทย  8. มจี ติ สาธารณะ
7. ดา้ นคณุ ลกั ษณะของผ้เู รียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวชิ าการ  2. สอื่ สารสองภาษา  3. ลำ้ หนา้ ทางความคิด

 4. ผลิตงานอย่างสรา้ งสรรค์  5. รว่ มกนั รับผิดชอบต่อสังคมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คือการเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได้)  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )
 ทกั ษะดา้ นการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณและทกั ษะในการแก้ไขปญั หา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทักษะด้านการสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)

 ทกั ษะดา้ นความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะดา้ นความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผ้นู ำ (Collaboration, Teamwork and Leadership)
 ทกั ษะดา้ นการสอ่ื สาร สารสนเทศและรู้เทา่ ทันส่อื (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร (Computing and ICT Literacy)
 ทกั ษะอาชีพ และทกั ษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)

 ความมีเมตตา (วนิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

2

9. บูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลุ่มใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชิกในหอ้ งเรียนคือ

ประมาณกล่มุ ละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตผุ ล : ให้นกั เรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบัติ , เลอื กใชส้ ารเคมีได้อยา่ ง

คุ้มคา่

3. หลักภูมิคุม้ กัน : ให้นักเรยี นเกดิ ทักษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก

4. เง่ือนไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำกอ่ นแล้วคอ่ ยลงมือทำอยา่ งระมดั ระวงั , เขยี นสมการการ

เปลยี่ นแปลงจากการทดลอง

5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนทจ่ี ะทำงาน และมีความขยันทีจ่ ะทำงานให้ออกมาไดด้ ที ี่สดุ , มวี ินยั ในการทำ

การทดลอง

10. ช้นิ งาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการเรียนรู้ ชิน้ งาน ภาระงาน

1-2 - รายงานผลการทดลอง เรื่อง การจัด - ก า ร อ ภิ ป ร า ย ผ ล ก า ร ท ด ล อ ง

ตั ว ข อ งค าร์บ อ น ใน ส าร ป ร ะ ก อ บ เปรียบเทียบการจัดตัวของคาร์บอนใน

ไฮโดรคาร์บอน สารประกอบไฮโดรคารบ์ อน

3-5 - รายงานผลการทดลอง เรื่อง สมบัติ - วิเคราะห์สมบัติท่ีแตกต่างกันของเอทา

บางประการของเอทานอลและกรดแอซี นอลและกรดแอซีตกิ

ติก

11. การวัดประเมนิ ผล

10.1การวดั และประเมินผลชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด

วิธกี าร

1.การสงั เกตการณ์

2.การใช้ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตรร์ ่องรอยบง่ ชี้ 3.การวัดประเมนิ การปฏิบัติ

เครอื่ งมือ

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏิบัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรม ผ่านตงั้ แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผา่ น ผ่าน 1

รายการถอื ว่า ไมผ่ ่าน

10.2 การวัดและประเมนิ ผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ประเมนิ จากแผนการจดั การเรียนรขู้ อง

หน่วยการเรยี นรนู้ ้)ี

สิ่งทตี่ อ้ งการวดั วธิ ีวัดผล เคร่ืองมอื วัดผล เกณฑก์ ารประเมนิ

1. ความรู้เก่ียวกับ -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมนิ การ - นักเรียนไดค้ ะแนน

- สารประกอบอินทรีย์ ความคดิ เห็น อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนข้ึนไป

- สตู รโครงสร้างของสาร -การตอบคำถาม คิดเหน็ หรอื รอ้ ยละ 80

-การตรวจผลงาน ถือว่าผ่านเกณฑ์

3

ประกอบอนิ ทรยี ์ นกั เรียน - แบบประเมินการ - นกั เรยี นได้คะแนน
- การเขียนไอโซเมอร์ ตรวจผลงานนกั เรยี น ประเมินผลงาน

13 คะแนนขึน้ ไป

หรอื รอ้ ยละ 80

ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

2.ทักษะกระบวนการคิด และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมนิ การ -นักเรยี นไดค้ ะแนน

ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ความคิดเหน็ อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขึ้นไป

คดิ เห็น หรอื รอ้ ยละ 80 ถอื วา่

- สังเกตพฤตกิ รรมการ - แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์

ทำงานกลมุ่ พฤตกิ รรมการ

ทำงานกลมุ่

3. คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ - สังเกตค่านยิ มในการ - แบบประเมิน - นกั เรยี นได้คะแนน

และสมรรถนะผูเ้ รยี น ทำงานร่วมกับผอู้ นื่ คณุ ลักษณะอันพึง ประเมินคณุ ลกั ษณะ

- มีวนิ ยั ในการทำงานกลุ่ม และการทำงานใน ประสงค์ อนั พึงประสงค์

- นักเรยี นเห็นความสำคัญ ระบบกลุ่ม - แบบประเมนิ 26 คะแนนขึน้ ไป

ของการทำงานร่วมกับผู้อืน่ และ อภิปราย แสดงความ สมรรถนะผู้เรียน หรอื ร้อยละ 80

การทำงานในระบบกลุม่ คิดเห็นเก่ียวกับผลการ -แบบทดสอบ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

- ยอมรบั ความคิดเห็นซง่ึ กัน ทดลอง Rubin’s Self - นักเรยี นไดค้ ะแนน

และกันมีความเสียสละและ Esteem Scale การประเมินสมรรถนะ

อดทน 29 คะแนนข้ึนไป

- นักเรยี นมีการเหน็ คุณคา่ ใน หรอื ร้อยละ 80

ตนเอง (Self-esteem) ถือว่าผา่ นเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรียนรู้

ชว่ั โมงท่ี 1-3

1. ขั้นตง้ั ประเดน็ ปญั หา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครูและนักเรียนสนทนาร่วมกนั เกย่ี วกับการแบง่ ประเภทของสารทพ่ี บในชวี ติ ประจำวนั

ความหมายของสารอนนิ ทรีย์ สารอินทรยี ์และเคมีอนิ ทรยี ์ เพอ่ื ใหไ้ ด้ข้อสรุปเก่ยี วกบั เคมีอินทรยี ์ว่าเป็นวิชาที่

ศึกษาเกยี่ วกับ สารประกอบของคาร์บอน ยกเวน้ สารประกอบ อนนิ ทรียข์ องคาร์บอนบางชนิด เชน่

สารประกอบออกไซด์ คารบ์ อเนต และไฮโดรเจนคารบ์ อเนต

1.2 นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน เรือ่ ง รจู้ ักสารอนิ ทรีย์ ใชเ้ วลาประมาณ 15 นาที

1.3 นักเรยี นศึกษาการเกดิ พันธะของคาร์บอนและสูตรโครงสร้าง ตามรายละเอียดในชุดกิจกรรม

หลังจากนนั้ ทำกจิ กรรมรว่ มกันคดิ 1และ 2 ตามลำดับ

ชัว่ โมงท่ี 4-6

2. ขั้นสบื คน้ ความรู้ (Searching for Information)

2.1 แบง่ นักเรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4- 5 คน แตล่ ะกลุ่มมนี ักเรียนเกง่ ปานกลาง ออ่ น คละกัน

ให้นกั เรียนทำการทดลองท่ี 1 เรื่อง การจัดตัวของคารบ์ อนในสารประกอบไฮโดรคาร์บอน ในชุดกิจกรรม

พรอ้ มทัง้ ใหส้ มาชกิ กำหนดหน้าทกี่ ันเองในกลุ ่ม เช่น

คนที่ 1 อ่านขัน้ ตอนการทดลองและบอกวธิ ีการทดลองตามลำดบั

4

คนท่ี 2 ดำเนนิ การทดลอง จดั เตรียมอุปกรณ์
คนท่ี 3 รบั อุปกรณ์ สารเคมี สำหรับการทดลอง
คนที่ 4 บันทกึ ขอ้ มูล ผลการทดลอง
2.2 หลังเสร็จการทดลองใหน้ ักเรียนแตล่ ะกล่มุ ส่งตัวแทนออกมานาเสนอหนา้ ช้ันเรียน
2.3 ใหน้ กั เรียนให้นักเรียนแต่ละกล่มุ วเิ คราะห์ อภิปรายผลการทดลอง ตามแนวคำถาม
- เมือ่ ต่อคาร์บอน 5 อะตอมดว้ ยพนั ธะเด่ียวท้งั หมดจะไดก้ ี่ไอโซเมอร์ และแต่ละไอโซเมอร์มี สูตร
โครงสรา้ งเป็นอย่างไร
- ถ้าตอ่ แบบจำลองโดยใช้คาร์บอน 5 อะตอมเช่นเดยี วกนั แต่เปลยี่ นพันธะเดีย่ วเปน็ พันธะคู่ 1
พันธะจะตอ่ ได้ก่ไี อโซเมอรแ์ ละแต่ละไอโซเมอร์มสี ูตรโครงสร้างเปน็ อย่างไร
2.4 ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรุปผลการทดลอง หลังจากน้ันทำกจิ กรรมรว่ มกนั คดิ 3
2.5 ครูอธบิ ายความหมายของหม่ฟู งั ก์ชนั เพ่อื โยงเข้าสู่การทดลองการทดลองท่ี 2 เรือ่ ง สมบตั ิบาง
ประการของเอทานอลและกรดแอซีติกในชุดกิจกรรมพร้อมท้ังให้สมาชิกกำหนดหน้าท่ีกันเองในกลุ ม่ เชน่
คนท่ี 1 อ่านขนั้ ตอนการทดลองและบอกวิธีการทดลองตามลำดับ
คนท่ี 2 ดำเนินการทดลอง จัดเตรยี มอุปกรณ์
คนที่ 3 รบั อุปกรณ์ สารเคมี สำหรับการทดลอง
คนที่ 4 บันทึกข้อมูล ผลการทดลอง
2.6 นกั เรียนและครรู ่วมกนั อภปิ รายและสรุปผลการทดลองโดยใช้ชดุ กิจกรรมประกอบ
ชวั่ โมงท่ี 7-9
3. ขน้ั สรปุ องค์ความรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ครูและนักเรยี นร่วมกนั สรุปถึงสารอินทรยี ์
3.2 ใหน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกันศกึ ษา อภิปราย ทำกิจกรรมร่วม กนั คดิ 4
3.3 ให้นกั เรียนแต่ละกลุม่ รว่ มกนั อภิปราย ตรวจความถูกต้อง ตอบคำถามขอ้ สงสยั ตา่ ง ๆ
3.4 ใหน้ กั เรียนช่วยกันเฉลยคำตอบพร้อมท้ังให้เหตุผล
ชวั่ โมงที่ 10-14
4. ขน้ั การสือ่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มทำกจิ กรรม ปฏบิ ัตกิ าร ฝึกทำ : ฝึกสร้าง สบื ค้นขอ้ มูลสารอินทรีย์
(เฉพาะสารบริสุทธ)์ิ ท่ีสนใจมา 1 ชนิด ตามรายละเอยี ดในชดุ กจิ กรรม
4.2 นกั เรียนแต่ละกลมุ่ เขยี นบรรยายเป็นข้อความ เรื่อง สารอินทรยี ์ของคารบ์ อน เพ่อื สรปุ ความรู้
ท่ไี ด้จากผังมโนทศั น์
5. ขั้นการบริการสงั คมและสาธารณะ (Public Service)
5.1 นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ รว่ มกนั ศึกษาคน้ คว้าการทำระบบกา๊ ซชวี ภาพจากมูลสตั ว์และ ขยะอนิ ทรยี ์
พร้อมระบุแหล่งที่มาแล้วบนั ทึกขอ้ มลู
5.2 นกั เรยี นแต่ละกลุ่มเขยี นโครงการทำระบบกา๊ ซชีวภาพจากมูลสัตว์และขยะอนิ ทรยี ์ ในโรงเรยี น
ของนกั เรยี นพรอ้ มระบุรายละเอียด
13. สื่อการเรยี นรู้/แหล่งเรยี นรู้
13.1ส่อื การเรยี นรู้
- ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนโิ สมนสิการ เร่ือง เคมอี ินทรีย์ เล่มท่ี 1 เรอื่ งรจู้ ัก
สารอินทรยี ์

5

- สื่อ ppt

13.2แหล่งเรยี นรู้

1) อินเตอร์เน็ต 2) หอ้ งสมุด

14. บันทึกหลงั การจดั การเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ดา้ นความรู้ : ......................................................................................

- สารประกอบอินทรีย์ ......................................................................................

- สูตรโครงสรา้ งของสารประกอบอินทรยี ์ ......................................................................................
......................................................................................
- การเขยี นไอโซเมอร์

2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการคดิ ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการกล่มุ ......................................................................................

3. ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นยิ ม ......................................................................................

อนั พงึ ประสงค์ : ......................................................................................

- มีวนิ ยั - ใฝ่เรยี นรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ......................................................................................

- รักความเปน็ ไทย ......................................................................................

4. ปญั หาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

5. วิธีแกป้ ัญหา

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงชือ่ ...........................................หวั หน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกุลรัตน์..) (นางกณิการ์ พัฒรากุล)

ลงชอื่ ...........................................
(นางรพีพร คำบุญมา)

รองผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ

ลงชอ่ื ........................................................
(นายสุรยิ ันต์ เหลา่ มะลึก)

ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม

6

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี…………...1....................เร่ือง....................ฉนั คือสารประกอบไฮโดรคาร์บอน..........................
รายวิชา……..............เคมี…5........ ............รหสั วิชา…..............ว 30225......................ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่....6.....
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้..วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปกี ารศกึ ษา… 2565...ภาคเรยี นท่ี..1...เวลา...12..ชั่วโมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชีว้ ัด/ผลการเรยี นรู้ (รายวชิ าพืน้ ฐานมีทั้งมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชีว้ ัด
รายวชิ าเพม่ิ เติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรยี นร้)ู

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้
สาระเคมี 1 : เข้าใจโครงสรา้ งอะตอม การจัดเรียงธาตใุ นตารางธาตุ สมบัติของธาตุ พันธะเคมแี ละ

สมบตั ขิ องสาร แกส๊ และสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบตั ขิ อง สารประกอบอินทรีย์และพอลิเมอร์ รวมท้งั การ
นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

1.2 ผลการเรียนรู้
6. วิเคราะห์ และเปรียบเทยี บจดุ เดือดและการละลายในนำ้ ของสารประกอบอินทรยี ท์ ม่ี หี มฟู่ ังก์ชนั

ขนาดโมเลกุล หรือโครงสรา้ งต่างกัน
7. ระบุประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและเขยี นผลิตภัณฑ์จากปฏิกริ ยิ าการเผาไหม้ ปฏกิ ริ ิยา

กบั โบรมีน หรือปฏกิ ิรยิ ากบั โพแทสเซยี มเปอร์แมงกาเนต
2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวช้ีวัดท่ใี ช้ในหนว่ ยการเรียนร้นู ี้เขยี นเปน็ แบบความเรียง)

สารประกอบไฮโดรคาร์บอน หมายถึงสารประกอบอินทรียท์ ี่มเี ฉพาะธาตคุ าร์บอนและไฮโดรเจนเป็น
องคป์ ระกอบ ในธรรมชาติพบสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนเกิดในแหลง่ ต่าง ๆ เช่น ยางไม้ ถา่ นหิน ปิโตรเลียม
เช่น CH4 , C2H6 , C2H4

สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเปน็ สารอนิ ทรยี ป์ ระเภทหนง่ึ ซ่งึ ประกอบด้วยธาตคุ าร์บอน และไฮโดรเจน
เป็นหลัก ได้แก่ แอลเคน แอลคนี และแอลไคน์
3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรยี นร้แู กนกลาง/สาระการเรียนร้เู พิม่ เติม (รายวิชาเพม่ิ เตมิ )
- สารประกอบอินทรยี ์ประเภทแอลเคน แอลคีน แอลไคน์ อะโรมาตกิ ไฮโดรคาร์บอน เปน็
สารประกอบไฮโดรคารบ์ อน ซึ่งเมือ่ เกิดปฏิกิริยาการเผาไหมป้ ฏกิ ริ ิยากับโบรมนี และปฏกิ ริ ิยา
กับโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต จะใหผ้ ลของปฏิกิริยาต่างกัน จึงสามารถใช้เปน็ เกณฑ์ในการ
จำแนกประเภทของสารประกอบไฮโดรควร์บอนได้

3.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิน่ (ถ้าในคำอธบิ ายรายวิชาพูดถงึ หลกั สูตรท้องถนิ่ ให้ใส่ลงไปดว้ ย
...............................................................-...........................................................................................

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. วเิ คราะห์และเปรยี บเทยี บจุดเดือดและการละลายในน้ำของสารประกอบอนิ ทรยี ์ท่ีมหี มฟู่ งั ก์ชนั ขนาด

โมเลกลุ หรอื โครงสร้างตา่ งกนั ได้
2. ระบปุ ระเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนจากปฏกิ ริ ยิ าการเผาไหม้ ปฏกิ ริ ยิ ากบั โบรมนี หรอื ปฏิกริ ิยา

กับโพแทสเซียมเปอรแ์ มงกาเนต และเขียนสมการเคมแี สดงปฏิกิรยิ าท่ีเกดิ ขึ้นได้

7

3. สบื คน้ ขอ้ มูลและนำเสนอตัวอยา่ งการนำสารประกอบอินทรียไ์ ปใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตประจำวันและ

อุตสาหกรรมได้

4. เกิดจิตวิทยาศาสตร์ด้านความใจกวา้ ง จากการทำงานเปน็ ทีม

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น (เลอื กเฉพาะข้อทีเ่ กิดในหน่วยการเรียนรู้นี)้

 1. ความสามารถในการสือ่ สาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (เลอื กเฉพาะขอ้ ทเ่ี กิดในหนว่ ยการเรียนรู้นี้)

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซือ่ สตั ยส์ จุ รติ
 3. มวี ินัย  4. ใฝ่เรียนรู้
 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มงุ่ ม่ันในการทำงาน
 7. รักความเป็นไทย  8. มจี ิตสาธารณะ
7. ดา้ นคุณลักษณะของผเู้ รียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวิชาการ  2. สือ่ สารสองภาษา  3. ล้ำหนา้ ทางความคิด

 4. ผลิตงานอยา่ งสรา้ งสรรค์  5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 คอื การเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได)้  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเปน็ )
 ทักษะด้านการคดิ อย่างมีวิจารณญาณและทกั ษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
 ทกั ษะด้านความเข้าใจความต่างวฒั นธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะด้านความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership)
 ทักษะดา้ นการสอ่ื สาร สารสนเทศและรู้เท่าทันส่ือ (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทักษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy)
 ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)
 ความมเี มตตา (วินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)
9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในห้องเรยี นคอื

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลักความมเี หตุผล : ให้นกั เรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทกั ษะการปฏิบตั ิ

3. หลักภมู คิ ุ้มกนั : ให้นกั เรยี นเกดิ ทักษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก

4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแลว้ ค่อยลงมือทำอย่างระมดั ระวงั , เขียนสมการการ

เปลยี่ นแปลงจากการทดลอง

5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนทีจ่ ะทำงาน และมคี วามขยนั ทีจ่ ะทำงานใหอ้ อกมาไดด้ ที ่สี ุด , มีวินยั ในการทำ

แบบฝึกหัด

8

10. ชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการ ชน้ิ งาน ภาระงาน
เรียนรู้

6-7 - รายงานการทดลอง เรื่อง สมบัติบาง - ค้นคว้าสบื ค้นข้อมูลเรอ่ื งประโยชนข์ อง

ประการของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน แอลคีน พรอ้ มระบแุ หลง่ ทมี่ าแลว้ บันทึก

- ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรม ขอ้ มูล

รว่ มกันคดิ 1

- ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมร่วมกนั

คดิ 2

7 - โครงการลดโลกรอ้ นในโรงเรยี น - ศกึ ษาค้นควา้ เรอ่ื งก๊าซเรือนกระจก ท่เี ช่อื วา่

เป็นสาเหตุ ของโลกรอ้ น พร้อมระบุแหล่งท่ีมา

แล้วบันทกึ ข้อมูล

11. การวัดประเมนิ ผล

11.1การวดั และประเมนิ ผลชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ ีการ

1.การสงั เกตการณ์

2.การใชช้ ุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตรร์ อ่ งรอยบง่ ช้ี 3.การวัดประเมินการปฏิบตั ิ

เครื่องมือ

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมนิ การปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรม ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1

รายการถอื ว่า ไม่ผา่ น

11.2การวัดและประเมนิ ผลระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรยี นรู้ของ

หน่วยการเรียนรนู้ )้ี

สง่ิ ท่ีต้องการวัด วิธีวัดผล เครือ่ งมือวดั ผล เกณฑก์ ารประเมิน

1. ความรูเ้ กี่ยวกับ -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมนิ การ - นกั เรยี นได้คะแนน
- การเขยี นสูตรทัว่ ไป สูตร 12 คะแนนขนึ้ ไป
โมเลกลุ และสตู ร โครงสร้าง ความคดิ เหน็ อภิปรายแสดงความ หรือรอ้ ยละ 80
- การเรยี กชื่อสารประกอบ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์
ไฮโดรคารบ์ อนแตล่ ะประเภท -การตอบคำถาม คดิ เห็น - นักเรียนไดค้ ะแนน
- สมบัตขิ องสารประกอบ ประเมนิ ผลงาน
ไฮโดรคารบ์ อน -การตรวจผลงาน 13 คะแนนขึ้นไป
หรือร้อยละ 80
นักเรยี น - แบบประเมินการ
9
ตรวจผลงานนักเรยี น

ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

2.ทกั ษะกระบวนการคดิ และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมินการ -นักเรยี นได้คะแนน

ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ความคิดเห็น อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขึ้นไป

คดิ เหน็ หรือรอ้ ยละ 80 ถือวา่

- สงั เกตพฤติกรรมการ - แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์

ทำงานกลุ่ม พฤติกรรมการ

ทำงานกลมุ่

3. คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ - สังเกตค่านิยมในการ - แบบประเมิน - นกั เรียนได้คะแนน

และสมรรถนะผเู้ รยี น ทำงานร่วมกับผูอ้ ืน่ คณุ ลกั ษณะอันพึง ประเมนิ คณุ ลักษณะ

- มวี นิ ยั ในการทำงานกลุ่ม และการทำงานใน ประสงค์ อนั พงึ ประสงค์

- นกั เรียนเห็นความสำคัญ ระบบกลมุ่ - แบบประเมนิ 26 คะแนนขึน้ ไป

ของการทำงานร่วมกับผอู้ น่ื และ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผเู้ รียน หรือร้อยละ 80

การทำงานในระบบกลุ่ม คดิ เห็นเก่ียวกบั ผลการ -แบบทดสอบ ถือว่าผ่านเกณฑ์

- ยอมรบั ความคดิ เห็นซ่งึ กัน ทดลอง Rubin’s Self - นกั เรยี นได้คะแนน

และกนั มีความเสียสละและ Esteem Scale การประเมนิ สมรรถนะ

อดทน 29 คะแนนขน้ึ ไป

- นกั เรียนมีการเห็นคุณค่าใน หรอื ร้อยละ 80

ตนเอง (Self-esteem) ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรยี นรู้

ชวั่ โมงที่ 1-2

1. ข้ันตัง้ ประเดน็ ปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครทู บทวนเกย่ี วกบั การเกดิ ไอโซเมอร์และความหมายของไอโซเมอรข์ องสารสารประกอบ

ไฮโดรคารบ์ อน โดยใช้คำถามรูปแบบต่าง ๆ เพอ่ื เช่ือมโยงไปสู่การเรียนร้เู ร่ือง สมบัติบางประการของ

สารประกอบไฮโดรคาร์บอนและประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

1.2 ครใู ห้นกั เรียนดู สอ่ื power point ถึงการหมฟู่ งั ก์ชันทแ่ี ตกตา่ งกันของโมเลกลุ ของเอทานอล

และกรดแอซีติก และนำอภิปรายถงึ ส่วนทม่ี หี น้าท่ีในการทำปฏิกิรยิ าท่ีแตกตา่ งกนั ตามโครงสรา้ ง

1.3 ครชู น้ี ำใหเ้ ห็นถงึ ขอ้ แตกตา่ งดงั กลา่ ว เพื่อน าไปสู่การทดลองเกีย่ วกับสมบัตบิ างประการของ

ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนทีม่ จี ำนวนอะตอมของคาร์บอนเทา่ กันแตม่ พี ันธะในโมเลกลุ ทแี่ ตกตา่ งกัน

โดยศึกษาจากปฏิกิริยาของเฮกเซน (C6H14) เฮกซนี (C6H12) และเบนซนี (C6H6) ซึง่ เปน็ สารทีม่ ีคาร์บอนใน

โมเลกลุ 6 อะตอม

ชัว่ โมงท่ี 3-6

2. ขน้ั สบื ค้นความรู้ (Searching for Information)

2.1 ใหน้ ักเรียนแบ่งออกเป็นกลมุ่ ๆ ละ 4- 5 คน แต่ละกลมุ่ มีนักเรยี นเกง่ ปานกลาง อ่อน คละกนั

(เตรียมไว้ในคบปฐมนเิ ทศ) ศึกษาตามรายละเอยี ดในชุดกิจกรรม การทดลอง เรือ่ ง สมบัติบางประการของ

สารประกอบไฮโดรคาร์บอน พรอ้ มทง้ั ใหส้ มาชกิ กำหนดหน้าท่ีกันเองในกลุ่ม เช่น

คนที่ 1 อา่ นขั้นตอนการทดลองและบอกวธิ กี ารทดลองตามลำดบั

คนที่ 2 จัดเตรียมอปุ กรณ์รับอุปกรณ์ สำหรับการทดลอง

คนที่ 3 ดำเนนิ การทดลอง

10

คนท่ี 4 ดำเนินการทดลอง
คนท่ี 5 บนั ทกึ ข้อมูลต่าง ๆ ประกอบการทดลอง ผลการทดลอง อภิปราย สรปุ ผลการทดลอง
2.2 นักเรยี นแต่ละกลุม่ ส่งตัวแทนออกมานำเสนอผลการทดลองหน้าชนั้ เรียน (โดยบนั ทกึ ข้อมูลในแบบ
บันทกึ ผลการทดลองรายกลุ่ม เพือ่ เปรียบเทยี บให้ทกุ กล่มุ เหน็ )
2.3 นักเรียนใหน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ วิเคราะหอ์ ภปิ รายผลการทดลอง ตามแนวคำถามทีค่ รูตงั้ ให้ตอ่ ไปนี้
- จากผลการทดลองและขอ้ มลู เพ่มิ เตมิ สมบัติของเฮกเซน เฮกซนี และเบนซนี เหมอื นกนั หรือ
แตกต่างกนั หรือไม่ เพราะเหตุใด
2.4 ครูและนกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายถงึ (โดยใชส้ ่ือ power point เรือ่ ง สมบตั ิบางประการของสารประ
กอบไฮโดรคารบ์ อน เพอื่ ให้ได้ขอ้ สรุป

ชว่ั โมงท่ี 7-9
3. ขน้ั สรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ครแู ละนกั เรยี นร่วมกนั อภปิ รายถงึ (โดยใช้ส่ือ power point) การเรียกช่ือ และการเกิดปฎกิ ิริยาเคมี
สารประกอบไฮโดรคารบ์ อนประเภทตา่ งๆ เพอื่ ให้ไดข้ อ้ สรปุ
3.2 นกั เรียนระดมสมองฝึกทำกจิ กรรมร่วมกนั คิด 2
3.3 นักเรยี นและครรู ่วมกนั เฉลยกจิ กรรมรว่ มกนั คดิ 2
ชั่วโมงที่ 10-11
4. ขั้นการส่ือสารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ทำกิจกรรม ปฏบิ ตั กิ าร ฝึกทำ : ฝึกสร้าง (สืบค้นข้อมูล ของมีเทน)
4.2 นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ รว่ มกันทำกิจกรรม ปฏิบตั ิการ คดิ ดี ผลงานดี มีความสุข(ศึกษาค้นควา้ เรอื่ ง
กา๊ ซเรอื นกระจก ท่เี ชือ่ ว่าเป็นสาเหตุ ของโลกร้อน พร้อมระบุแหลง่ ท่ีมาแลว้ บนั ทึกขอ้ มูล)
4.3 นำเสนอหน้าชัน้ เรียน
ช่ัวโมงที่ 12
5. ข้ันการบริการสงั คมและสาธารณะ (Public Service)
5.1 นักเรียนแต่ละกล่มุ เขียนโครงการลดโลกร้อนในโรงเรยี นของนกั เรียนพรอ้ มระบุรายละเอียดตาม
รายละเอียดในชดุ กิจกรรม
5.2 นำเสนอหน้าชัน้ เรยี น
13. สอ่ื การเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
13.1สื่อการเรยี นรู้

- ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนิโสมนสิการ หน่วยเคมีอนิ ทรยี ์ เล่มที่ 2 เรื่องฉนั คอื
สารประกอบไฮโดรคารบ์ อน

- สอ่ื power point
13.2แหลง่ เรียนรู้

1) อนิ เตอร์เนต็
2) หอ้ งสมุด

11

14. บนั ทึกหลังการจัดการเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- การเขียนสูตรท่วั ไป สตู รโมเลกุลและสตู ร ......................................................................................
......................................................................................
โครงสรา้ ง
......................................................................................
- การเรยี กชื่อสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนแต่ ......................................................................................
ละประเภท ...............................................................................................
- สมบัติของสารประกอบไฮโดรคารบ์ อน

2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการคิด ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................

3. ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรมและค่านิยม ......................................................................................

อันพงึ ประสงค์ : ......................................................................................

- มวี ินยั ......................................................................................

- ใฝเ่ รียนรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ......................................................................................
- รกั ความเป็นไทย
...............................................................................................

4. ปัญหาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................

5. วธิ แี กป้ ัญหา

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................

ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หวั หน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรตั น์..) (นางกณกิ าร์ พัฒรากุล)

ลงชอื่ ...........................................
(นางรพีพร คำบุญมา)

รองผู้อำนวยการกลมุ่ บริหารวิชาการ

ลงชือ่ ........................................................
(นายสรุ ิยันต์ เหล่ามะลกึ )

ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม

12

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี….1.....เร่ือง.....สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตอุ อกซิเจนเปน็ องคป์ ระกอบ ตอนท่ี 1......
รายวชิ า……..............เคมี…5........ ............รหสั วชิ า…..............ว 30225......................ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่....6.....
กลุ่มสาระการเรยี นรู้..วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปีการศึกษา… 2565...ภาคเรยี นที่..1...เวลา...6..ช่ัวโมง……
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชวี้ ดั /ผลการเรียนรู้ (รายวชิ าพืน้ ฐานมที ั้งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชวี้ ัด
รายวิชาเพ่ิมเติมมเี ฉพาะมาตรฐานการเรียนร้แู ละผลการเรยี นรู)้

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้
1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
สาระเคมี 1 : เข้าใจโครงสรา้ งอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบตั ิของธาตุ พันธะเคมแี ละ

สมบัติของสาร แก๊สและสมบตั ิของแก๊ส ประเภทและสมบัตขิ อง สารประกอบอนิ ทรยี แ์ ละพอลิเมอร์ รวมทั้งการ
นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

1.2 ผลการเรียนรู้
6. วเิ คราะห์ และเปรียบเทียบจุดเดือดและการละลายในน้ำของสารประกอบอนิ ทรยี ท์ ี่มีหมฟู่ งั กช์ ัน

ขนาดโมเลกุล หรือโครงสร้างตา่ งกนั
2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวช้ีวัดท่ีใช้ในหน่วยการเรยี นร้นู ้เี ขียนเป็นแบบความเรียง)

สารประกอบอินทรีย์ท่ีมีคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน เป็นองค์ประกอบ มีหลายชนิด เช่น
แอลกอฮอล์ ฟีนอล อเี ทอร์ แอลดไี ฮด์ คีโตน กรดคารบ์ อกซิลกิ และเอสเทอร์

แอลกอฮอล์ท่ีรู้จักและคุ้นเคยกันอย่างดี ได้แก่ เมทานอล (CH3OH) และเอทานอล (C2H5OH)
สารประกอบอินทรียพ์ วกหน่งึ ลักษณะเป็นของเหลวใส กล่ินฉุน ระเหยงา่ ย จุดไฟตดิ เตรยี มได้ด้วยวิธีการหมัก
สารประเภทน้ำตาล หรือแป้งผสมยีสต์ เม่ือด่ืมจะทำให้เกิดอาการมึนเมา ใช้ประโยชน์ทางอุตสาหกรรม และ
การแพทย์

ฟีนอล เป็นสารประกอบอะโรมาติคท่ีผลิตได้จากสารประกอบอะโรมาติคชนิดอื่นๆ เช่น เบนซีน โทลู
อีน เป็นสารที่ถูกนำมาใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตผลิตภัณฑ์เคมีหลายชนิด อาทิ สีย้อม สารเคมีกำจัดวัชพืช
และศัตรูพืช ยาในทางการแพทย์

อเี ทอร์ เป็นสารประกอบอินทรีย์ท่ีมีสูตรทั่วไปเป็น ROR’ มีสูตรโมเลกุลเหมือนแอลกอฮอล์และฟีนอล
จึงเป็นไอโซเมอร์โครงสรา้ งกบั แอลกอฮอลแ์ ละฟนี อล ประโยชน์ ใช้เปน็ ตวั ทำละลายสารอนิ ทรยี ์

แอลดีไฮด์ (Aldehyde) เป็น สารประกอบอิน ทรีย์ที่ หมู่ฟั งก์ชัน เป็น หมู่ คาร์บอกซาลดีไฮด์
(Carboxaldehyde : หรือ –CHO) ใช้เป็นสารปรุงแตง่ รสและกล่นิ ของอาหาร ใชด้ องสัตว์เพื่อไม่ใหเ้ นา่ เป่อื ย

คโี ตน (ketone) เป็นสารอินทรีย์ที่มีหมฟู่ ังก์ชันเรียกว่า หมู่คาร์บอนลิ (Carbony : หรือ –CO –) แอซิโตน
ท่ีเตรียมในอุตสาหกรรมได้จากการออกซิไดส์ไอโซโพรพิลแอลกอฮอล์เป็นตัวทำละลายท่ีมีประโยชน์ ใช้ท ำ
พลาสติกลูไซด์ ทำสีย้อมผ้า และช่วยทำให้เคร่ืองแก้วแห้งเร็วเน่ืองจากระเหยง่าย ไอของแอซิโตนเป็นโทษแก่
ร่างกาย ทำใหเ้ กดิ อาการมึนงง และหมดสติได้
3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง/สาระการเรียนรเู้ พิม่ เติม (รายวชิ าเพ่มิ เติม)
-

13

3.2 สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถ่ิน (ถ้าในคำอธบิ ายรายวิชาพูดถึงหลักสูตรท้องถิ่นใหใ้ ส่ลงไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. ระบปุ ระเภทของสารประกอบไฮโดรคารบ์ อนจากปฏิกิรยิ าการเผาไหม้ ปฏิกริ ยิ ากับโบรมีนหรอื

ปฏิกริ ิยากบั โพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต และเขียนสมการเคมแี สดงปฏกิ ิริยาที่เกิดข้ึนได้

2. ทดลองหาการละลายไดใ้ นนำ้ ของแอลกอฮอลบ์ างชนดิ และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนอะตอม

ของคารบ์ อนกบั การละลายได้ในนำ้ ของแอลกอฮอล์ได้

2. เขียนสมการเคมีและอธิบาย ปฏกิ ิริยาการสงั เคราะห์แอลดไี ฮด์ ได้

3. เปรียบเทียบจุดเดือดของสารประกอบอนิ ทรยี ์ทม่ี ีธาตุออกซิเจนเป็นองคป์ ระกอบกับจุดเดือดของ

สารประกอบไฮโดรคารบ์ อนได้

4. มจี ิตวิทยาศาสตร์ดา้ นความซือ่ สัตย์ จากการทำการทดลอง

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น (เลอื กเฉพาะข้อทเ่ี กิดในหนว่ ยการเรยี นรู้นี้)

 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร  2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (เลอื กเฉพาะขอ้ ท่เี กิดในหน่วยการเรียนรนู้ ้ี)

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  2. ซ่อื สตั ยส์ ุจริต
 3. มีวินยั  4. ใฝ่เรียนรู้
 5. อยอู่ ย่างพอเพียง  6. มงุ่ มั่นในการทำงาน
 7. รักความเป็นไทย  8. มจี ติ สาธารณะ
7. ด้านคณุ ลกั ษณะของผเู้ รียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวชิ าการ  2. ส่ือสารสองภาษา  3. ลำ้ หน้าทางความคิด

 4. ผลติ งานอย่างสร้างสรรค์  5. ร่วมกนั รบั ผิดชอบต่อสังคมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คือการเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได้)  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเปน็ )
 ทักษะดา้ นการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทกั ษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)
 ทักษะดา้ นความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะดา้ นความร่วมมือ การทำงานเป็นทมี และภาวะผนู้ ำ (Collaboration, Teamwork and Leadership)
 ทกั ษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรูเ้ ทา่ ทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทักษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร (Computing and ICT Literacy)
ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)

9. บรู ณคากวาามรตมาเี มมตหตลากั (ปวรนิ ัชยั ญคาุณขธอรงรเมศรจษรฐิยกธิจรรพมอเ(พCoียmง passion)

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลมุ่ ใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในห้องเรยี นคือ

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตผุ ล : ให้นกั เรยี นสรา้ งสรรคผ์ ลงานและเกดิ ทักษะการปฏบิ ตั ิ

14

3. หลักภูมคิ มุ้ กัน : ใหน้ ักเรียนเกดิ ทักษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก
4. เงือ่ นไขความรู้ : การวางแผนงานท่ีจะทำกอ่ นแล้วคอ่ ยลงมือทำอยา่ งระมัดระวงั , เขียนสมการการ

เปล่ยี นแปลงจากการทดลอง
5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนท่จี ะทำงาน และมคี วามขยันที่จะทำงานให้ออกมาไดด้ ีทส่ี ุด , มวี ินยั ในการทำ

แบบฝกึ หัด

10. ชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการ ช้นิ งาน ภาระงาน
เรียนรู้

6 - ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ กิจกรรม - คน้ คว้าสืบคน้ ขอ้ มลู เร่ืองโทษของการดม่ื สรุ า

รว่ มกันคิด 1 พร้อมระบุแหล่งที่มาแลว้ บนั ทึกขอ้ มูล

- ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ กิจกรรมร่วมกัน - คน้ ควา้ สืบคน้ ข้อมูลเรื่องผลกระทบของฟี

คดิ 2 นอลตอ่ คนและสัตว์พรอ้ มระบแุ หลง่ ที่มาแลว้

- โครงการสำรวจสารฟนี อลในพืชสมนุ ไพร บนั ทกึ ข้อมลู

- ตอบคำถามงานวจิ ัยเรอ่ื ง การศกึ ษา

สารประกอบฟนี อลิกและฤทธติ์ า้ นอนมุ ูลอิสระ

ของพืชทอ้ งถิ่นที่

11. การวัดประเมินผล

11.1การวดั และประเมนิ ผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด

วิธกี าร

1.การสังเกตการณ์

2.การใชช้ ดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตรร์ อ่ งรอยบ่งช้ี 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ

เครอ่ื งมือ

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรม ผ่านตง้ั แต่ 2 รายการ ถือว่า ผา่ น ผ่าน 1

รายการถือว่า ไมผ่ า่ น

11.2การวดั และประเมินผลระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจดั การเรยี นรู้ของ

หน่วยการเรยี นรนู้ ้ี)

สง่ิ ทต่ี ้องการวดั วิธวี ัดผล เคร่อื งมือวดั ผล เกณฑก์ ารประเมิน

1. ความร้เู กี่ยวกับ -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมินการ - นักเรยี นได้คะแนน

- การเขยี นสตู รทัว่ ไป สูตร ความคิดเหน็ อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนข้นึ ไป

โมเลกลุ และสตู ร โครงสรา้ ง -การตอบคำถาม คิดเห็น หรือร้อยละ 80

ของ แอลกอฮอล์ ฟนี อล อีเทอร์ -การตรวจผลงาน ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

แอลดีไฮด์ คโี ตน นักเรยี น - แบบประเมินการ - นักเรยี นไดค้ ะแนน

- การเรยี กช่ือของ แอลกอฮอล์ ตรวจผลงานนกั เรยี น ประเมนิ ผลงาน

15

ฟีนอล อีเทอร์ แอลดไี ฮด์ คีโตน 13 คะแนนข้นึ ไป

- สมบัตขิ อง แอลกอฮอล์ ฟี หรือรอ้ ยละ 80

นอล อีเทอร์ แอลดีไฮด์ คโี ตน ถือว่าผ่านเกณฑ์

2.ทักษะกระบวนการคิด และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ -นกั เรียนไดค้ ะแนน

ทักษะกระบวนการกลุ่ม ความคิดเหน็ อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขน้ึ ไป

คิดเหน็ หรือร้อยละ 80 ถอื วา่

- สังเกตพฤตกิ รรมการ - แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์

ทำงานกลุ่ม พฤติกรรมการ

ทำงานกลุ่ม

3. คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ - สังเกตค่านิยมในการ - แบบประเมิน - นกั เรยี นไดค้ ะแนน

และสมรรถนะผเู้ รยี น ทำงานร่วมกบั ผู้อืน่ คุณลกั ษณะอันพงึ ประเมินคุณลักษณะ

- มวี ินัยในการทำงานกลมุ่ และการทำงานใน ประสงค์ อันพึงประสงค์

- นกั เรยี นเห็นความสำคัญ ระบบกลุ่ม - แบบประเมิน 26 คะแนนขึน้ ไป

ของการทำงานร่วมกับผอู้ ื่นและ อภิปราย แสดงความ สมรรถนะผู้เรยี น หรือร้อยละ 80

การทำงานในระบบกลุ่ม คิดเหน็ เก่ยี วกับผลการ -แบบทดสอบ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

- ยอมรับความคิดเหน็ ซึง่ กัน ทดลอง Rubin’s Self - นักเรยี นได้คะแนน

และกันมคี วามเสยี สละและ Esteem Scale การประเมินสมรรถนะ

อดทน 29 คะแนนขนึ้ ไป

- นักเรยี นมีการเหน็ คณุ ค่าใน หรอื รอ้ ยละ 80

ตนเอง (Self-esteem) ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรยี นรู้

ชัว่ โมงที่ 1 -2

1. ขนั้ ตัง้ ประเด็นปญั หา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครูใหน้ ักเรยี นดสู ตู รโครงสรา้ งของ แอลกอฮอล์ ฟีนอล อีเทอร์ แอลดไี ฮด์ และคีโตน วา่ มสี ว่ นใดบา้ งท่ี

เหมอื นกนั และตา่ งกนั (มีองคซ์ เิ จนเป็นองคป์ ระกอบเหมอื นกนั ต่างกนั ทห่ี มูอ่ ่นื ๆทีเ่ ป็นองคป์ ระกอบ)

1.2 ครสู รุปวา่ สารทั้ง 3 ชนดิ มกี ลุ่มอะตอมที่แสดงสมบตั เิ ฉพาะท่ีเรียกวา่ หมู่ฟังกช์ นั ท่ปี ระกอบด้วย

ออกซิเจนเหมือนกนั ซ่ึงเราจะศกึ ษาถงึ สมบัติ การเรยี กช่อื และประโยชนข์ องแอลกอฮอล์ ฟีนอลและ

เอสเทอร์ แอลดีไฮด์ และคโี ตน ตามลำดับ

2. ขั้นสืบค้นความรู้ (Searching for Information)

2.1 ให้นักเรียนแบง่ ออกเปน็ กลุ่ม ๆ ละ 4- 5 คน แต่ละกลมุ่ มนี กั เรยี นเกง่ ปานกลาง ออ่ น คละกัน

(เตรียมไว้ในคาบปฐมนิเทศ) ศึกษาตามรายละเอยี ดในชดุ กจิ กรรม สืบค้นขอ้ มูลเรื่องโทษของการด่ืมสรุ า

2.2 นักเรียนแต่ละกลมุ่ ส่งตัวแทนออกมานำเสนอผลการสืบค้นหน้าชั้นเรยี น

2.3 ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันอภปิ รายถึง (โดยใชส้ ่อื power point) การเรยี กชื่อและสมบัติบางประการของ

แอลกอฮอล์ ฟีนอล อีเทอร์ แอลดีไฮด์ และคีโตน เพ่ือให้ได้ขอ้ สรุป

ชว่ั โมงที่ 3-4

3. ข้ันสรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

3.1 นักเรียนระดมสมองฝึกทำกิจกรรมรว่ มกันคิด 1 ระบวุ า่ สารประกอบอินทรยี ์ต่อไปน้ีเป็นแอลกอฮอล์

อีเทอร์ หรอื ฟนี อล

16

3.2 นกั เรยี นและครูร่วมกนั เฉลยกจิ กรรมรว่ มกนั คดิ 1

3.3 นกั เรยี นระดมสมองฝึกทำกจิ กรรมรว่ มกันคิด 2 บอกได้ว่าสารประกอบอินทรยี ต์ อ่ ไปน้ี เปน็ แอลดี

ไฮด์หรอื คโี ตน

3.4 นกั เรียนและครรู ว่ มกันเฉลยกิจกรรมรว่ มกนั คิด 2

ชัว่ โมงท่ี 5

4. ขัน้ การสือ่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ทำกจิ กรรม ปฏบิ ัติการ ฝกึ ทำ : ฝึกสร้าง (อ่านงานวจิ ยั จากตวั อยา่ ง งานวจิ ยั

เรือ่ ง การศกึ ษาสารประกอบฟนี อลกิ และฤทธต์ิ า้ นอนมุ ูลอิสระของพชื ทอ้ งถ่นิ ทคี่ ดั เลือก แล้วตอบคำถาม)

4.2 นักเรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั ทำกิจกรรม ปฏิบัติการ คดิ ดี ผลงานดี มีความสุข (ให้นักเรียนแตล่ ะ

กลมุ่ ศึกษาค้นคว้างานวิจัยเกีย่ วพืชสมนุ ไพรไทยกบั สารฟีนอลพร้อมระบแุ หล่งท่มี าแลว้ บนั ทึกข้อมูล)

4.3 นำเสนอหน้าช้ันเรยี น

ช่วั โมงที่ 6

5. ข้นั การบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มเขยี นโครงการสำรวจสารฟีนอลในพืชสมุนไพร ทน่ี กั เรียนสนใจพร้อมระบุ

รายละเอยี ดตามรายละเอยี ดในชดุ กิจกรรม

5.2 นำเสนอหน้าชนั้ เรยี น

13. ส่อื การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้

12.1สอ่ื การเรียนรู้

- ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนโิ สมนสิการ หน่วยเคมีอนิ ทรยี ์ เลม่ ที่ 3 เรอ่ื งสารประกอบ

อินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ ตอนที่ 1

- ส่ือ power point

12.2แหล่งเรยี นรู้

1) อินเตอรเ์ นต็

2) หอ้ งสมุด

14. บนั ทึกหลังการจัดการเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ดา้ นความรู้ : ...............................................................................................

- การเขยี นสตู รทว่ั ไป สูตรโมเลกลุ และสูตร ...............................................................................................

โครงสร้าง ของ แอลกอฮอล์ ฟนี อล อีเทอร์ ...............................................................................................

แอลดไี ฮด์ คโี ตน ...............................................................................................

- การเรียกช่อื ของ แอลกอฮอล์ ฟีนอล ...............................................................................................

อเี ทอร์ แอลดีไฮด์ คโี ตน ...............................................................................................

- สมบัตขิ อง แอลกอฮอล์ ฟีนอล อเี ทอร์ แอล ...............................................................................................

ดีไฮด์ คีโตน

2. ดา้ นกระบวนการ : ...............................................................................................

- ทักษะกระบวนการคดิ ...............................................................................................

- ทักษะกระบวนการกลมุ่ ...............................................................................................

17

3. ดา้ นคุณธรรมจริยธรรมและค่านยิ ม ...............................................................................................

อันพึงประสงค์ : ...............................................................................................

- มีวนิ ัย ...............................................................................................

- ใฝเ่ รียนรู้ ...............................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................................

- รกั ความเป็นไทย ...............................................................................................

4. ปัญหาการสอน

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

...............................................................................................

...............................................................................................

...............................................................................................

...............................................................................................

...............................................................................................

...............................................................................................

5. วธิ แี กป้ ัญหา

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

...............................................................................................

ลงช่ือ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หวั หน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทมุ สกุลรัตน.์ .) (นางกณกิ าร์ พฒั รากุล)

ลงชอื่ ...........................................

(นางรพีพร คำบุญมา)
รองผู้อำนวยการกลมุ่ บริหารวิชาการ

ลงชื่อ ........................................................
(นายสุรยิ นั ต์ เหล่ามะลึก)

ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

18

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี….1.....เร่ือง.....สารประกอบอินทรียท์ ีม่ ีธาตุออกซเิ จนเป็นองคป์ ระกอบ ตอนท่ี 2......

รายวชิ า……..............เคมี…5........ ............รหัสวิชา…..............ว 30225......................ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่....6.....
กลมุ่ สาระการเรียนรู้..วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปกี ารศึกษา… 2565...ภาคเรียนท่ี..1...เวลา...4..ช่ัวโมง……
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั /ผลการเรียนรู้ (รายวชิ าพืน้ ฐานมที ้งั มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตัวช้วี ดั
รายวชิ าเพ่มิ เตมิ มเี ฉพาะมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละผลการเรยี นรู้)

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้

สาระเคมี 1 : เขา้ ใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรยี งธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุ พนั ธะ
เคมแี ละสมบัตขิ องสาร แกส๊ และสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบตั ขิ อง สารประกอบอนิ ทรีย์และพอลิเมอร์

รวมทั้งการนำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์
1.2 ผลการเรียนรู้
6. วเิ คราะห์ และเปรยี บเทียบจดุ เดือดและการละลายในน้ำของสารประกอบอินทรียท์ ี่มหี มฟู่ ังก์ชนั

ขนาดโมเลกลุ หรือโครงสร้างต่างกนั
2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตวั ช้วี ัดท่ใี ช้ในหน่วยการเรยี นรู้น้เี ขยี นเป็นแบบความเรียง)

สารประกอบอินทรีย์ที่มีคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน เป็นองค์ประกอบ มีหลายชนิด เช่น

แอลกอฮอล์ ฟนี อล อีเทอร์ แอลดไี ฮด์ คโี ตน กรดคาร์บอกซิลกิ และเอสเทอร์
กรดคาร์บอกซาลกิ ทำปฏิกริ ิยากับแอลกอฮอลไ์ ดเ้ อสเทอรก์ ับน้ำ เรียกว่าปฏกิ ิริยาเอสเทอริฟิเคชัน เอส

เทอร์ไม่มีพันธะไฮโดรเจนจุดเดือดจึงต่ำกว่ากรดคาร์บอกซาลิก เม่ือโมเลกุลของเอสเทอร์ใหญ่ข้ึนจุดเดือดจะ
เพิ่มขึ้นแต่ความสามารถในการละลายจะลดลงเมื่อเอสเทอร์ทำปฏิกิริยากับน้ำย้อนกลับไปเป็นกรดอะติกกับ

แอลกอฮอลเ์ รยี กว่าปฏกิ ริ ิยาไฮโดรลซิ สิ

3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง/สาระการเรียนรเู้ พ่มิ เติม (รายวิชาเพมิ่ เติม)
-

3.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถนิ่ (ถา้ ในคำอธิบายรายวชิ าพูดถงึ หลกั สูตรท้องถิ่นให้ใส่ลงไปด้วย
...............................................................-...........................................................................................

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายและทดสอบปฏกิ ริ ยิ าเอสเทอริฟิเคชัน ปฏิกริ ยิ าไฮโดรลซิ ิส และปฏกิ ริ ยิ าสะปอนนฟิ ิเคชันได้
2. ระบุ ลงความเหน็ จากข้อมูล และการจำแนกประเภท จากการทดลองได้

3. ใหค้ วามรว่ มมือ มกี ารทำงานเปน็ ทมี และภาวะผูน้ ำ
4. สืบค้นขอ้ มูลและนำเสนอตัวอยา่ งการนำสารประกอบอินทรยี ไ์ ปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวิตประจำวนั และ

อตุ สาหกรรม

5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน (เลือกเฉพาะขอ้ ที่เกิดในหนว่ ยการเรียนรูน้ ้)ี

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (เลอื กเฉพาะขอ้ ทเ่ี กิดในหน่วยการเรียนรนู้ ้)ี

 19

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซ่อื สตั ย์สจุ รติ

 3. มีวนิ ัย  4. ใฝเ่ รียนรู้
 5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง  6. มงุ่ มั่นในการทำงาน
 7. รักความเปน็ ไทย  8. มีจิตสาธารณะ
7. ดา้ นคณุ ลักษณะของผูเ้ รยี นตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวิชาการ  2. สอื่ สารสองภาษา  3. ลำ้ หนา้ ทางความคดิ

 4. ผลติ งานอย่างสรา้ งสรรค์  5. รว่ มกันรับผิดชอบต่อสงั คมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คือการเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได)้  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเป็น)
 ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปญั หา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)
 ทกั ษะดา้ นความเข้าใจความตา่ งวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)
 ทักษะด้านความร่วมมอื การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership)
 ทกั ษะดา้ นการส่ือสาร สารสนเทศและรูเ้ ทา่ ทันสอื่ (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (Computing and ICT Literacy)
 ทักษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)

9. บูรณคากวาามรตมาเี มมตหตลาัก(ปวรนิ ัชยั ญคาุณขธอรงรเมศรจษรฐิยกธจิรรพมอเ(พCoยี mง passion)

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกล่มุ ใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในหอ้ งเรยี นคือ
ประมาณกลมุ่ ละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมีเหตผุ ล : ให้นักเรยี นสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทกั ษะการปฏบิ ตั ิ

3. หลักภมู ิคมุ้ กนั : ให้นกั เรยี นเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก
4. เงือ่ นไขความรู้ : การวางแผนงานท่จี ะทำกอ่ นแลว้ คอ่ ยลงมอื ทำอยา่ งระมัดระวงั , เขียนสมการการ

เปลย่ี นแปลงจากการทดลอง
5. เง่อื นไขคุณธรรม : อดทนทีจ่ ะทำงาน และมีความขยันที่จะทำงานใหอ้ อกมาได้ดีท่สี ุด , มวี ินยั ในการทำ

แบบฝกึ หัด
10. ชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการ ชิ้นงาน ภาระงาน
เรียนรู้

6 - รายงานการทดลอง เร่ือง ปฏกิ ิรยิ า - คน้ ควา้ สบื คน้ ขอ้ มูลเรอ่ื งทางดา้ นวทิ ยา
ระหวา่ งกรดคาร์ บอกซลิ ิกกับแอลกอฮอล์ ศาสตร์ และการประยกุ ตใ์ ช้ความรูท้ างเคมี ให้

- รายงานการทดลอง เรอื่ ง ปฏกิ ิรยิ าของ เกดิ ประโยชน์ในชีวติ ประจำวนั (นา้ํ หอม ทำ

เอสเทอร์ จากอะไร ?) พร้อมระบุแหลง่ ท่ีมาแลว้ บนั ทกึ

- ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ กจิ กรรม ขอ้ มลู

ร่วมกันคดิ 1 - ค้นคว้าสืบคน้ ข้อมลู เร่ืองกระบวนการหมกั

- ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมร่วมกัน กบั กรดอนิ ทรีย์

คดิ 2

20

11. การวัดประเมนิ ผล

11.1การวดั และประเมินผลช้นิ งาน/ภาระงานรวบยอด

วิธีการ

1.การสงั เกตการณ์

2.การใชช้ ดุ กิจกรรมวิทยาศาสตรร์ ่องรอยบง่ ช้ี 3.การวดั ประเมนิ การปฏิบัติ

เคร่ืองมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรม ผา่ นตง้ั แต่ 2 รายการ ถอื ว่า ผา่ น ผ่าน 1

รายการถอื วา่ ไมผ่ ่าน

11.2การวดั และประเมินผลระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (ประเมนิ จากแผนการจดั การเรยี นรูข้ อง

หน่วยการเรยี นรนู้ )ี้

สงิ่ ที่ต้องการวดั วธิ วี ัดผล เคร่ืองมอื วดั ผล เกณฑ์การประเมนิ
- นักเรียนได้คะแนน
1. ความรเู้ กี่ยวกับ -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมนิ การ 12 คะแนนขึ้นไป
หรือรอ้ ยละ 80
- การเขียนสูตรทวั่ ไป สูตร ความคิดเหน็ อภิปรายแสดงความ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์
- นกั เรยี นได้คะแนน
โมเลกลุ และสตู ร โครงสร้าง -การตอบคำถาม คดิ เห็น ประเมนิ ผลงาน
13 คะแนนขึ้นไป
ของ กรดคารบ์ อกซิลกิ และเอส -การตรวจผลงาน หรือร้อยละ 80
ถือว่าผา่ นเกณฑ์
เทอร์ นักเรยี น - แบบประเมินการ -นักเรยี นไดค้ ะแนน
12 คะแนนขึน้ ไป
- การเรียกชือ่ ของ กรดคาร์บอก ตรวจผลงานนกั เรียน หรอื ร้อยละ 80 ถอื วา่
ผ่านเกณฑ์
ซิลกิ และเอสเทอร์
- นกั เรยี นไดค้ ะแนน
- สมบัตขิ อง กรดคารบ์ อกซลิ กิ ประเมินคณุ ลกั ษณะ
อันพึงประสงค์
และเอสเทอร์ 26 คะแนนขน้ึ ไป
หรือรอ้ ยละ 80
2.ทกั ษะกระบวนการคดิ และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมินการ
21
ทักษะกระบวนการกลุ่ม ความคิดเหน็ อภปิ รายแสดงความ

คิดเหน็

- สังเกตพฤตกิ รรมการ - แบบประเมิน

ทำงานกลุ่ม พฤตกิ รรมการ

ทำงานกลุ่ม

3. คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ - สังเกตค่านยิ มในการ - แบบประเมิน

และสมรรถนะผเู้ รียน ทำงานร่วมกับผ้อู ื่น คณุ ลกั ษณะอันพึง

- มีวนิ ยั ในการทำงานกลมุ่ และการทำงานใน ประสงค์

- นกั เรยี นเหน็ ความสำคญั ระบบกลุ่ม - แบบประเมนิ

ของการทำงานร่วมกับผู้อื่นและ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผู้เรียน

การทำงานในระบบกลุ่ม คดิ เห็นเกย่ี วกบั ผลการ -แบบทดสอบ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

- ยอมรบั ความคิดเหน็ ซึ่งกัน ทดลอง Rubin’s Self - นักเรยี นไดค้ ะแนน

และกันมคี วามเสียสละและ Esteem Scale การประเมินสมรรถนะ

อดทน 29 คะแนนขน้ึ ไป

- นักเรียนมีการเหน็ คุณค่าใน หรอื ร้อยละ 80

ตนเอง (Self-esteem) ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรยี นรู้

ชัว่ โมงท่ี 1-2

1. ขั้นตง้ั ประเด็นปญั หา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครูใหน้ กั เรียนดสู ูตรโครงสร้างของ กรดคารบ์ อกซิลกิ และเอสเทอร์ ว่ามสี ว่ นใดบา้ งทเ่ี หมอื นกนั และ

ต่างกนั (มีองคซ์ เิ จนเป็นองค์ประกอบเหมือนกัน ตา่ งกันที่หมูอ่ ื่นๆที่เป็นองคป์ ระกอบ)

1.2 ครูสรปุ วา่ สารทั้ง 2 ชนดิ มีกลุ่มอะตอมท่แี สดงสมบตั เิ ฉพาะท่ีเรยี กว่า หมฟู่ งั กช์ ันทป่ี ระกอบดว้ ย

ออกซเิ จนเหมือนกนั ซึ่งเราจะศึกษาถึงสมบัติ การเรยี กชอื่ และประโยชนข์ องกรดคาร์บอกซิลิก และเอสเทอร์

ตามลำดบั

2. ขั้นสบื ค้นความรู้ (Searching for Information)

2.1 ให้นักเรียนแบ่งออกเปน็ กลุม่ ๆ ละ 4- 5 คน แต่ละกลมุ่ มีนักเรียนเกง่ ปานกลาง อ่อน คละกนั

(เตรยี มไว้ในคบปฐมนเิ ทศ) ศกึ ษาตามรายละเอยี ดในชดุ กจิ กรรม การทดลอง เรื่อง ปฏิกิรยิ าระหว่างกรดคาร์

บอกซิลกิ กับแอลกอฮอล์ พรอ้ มทง้ั ให้สมาชิกกำหนดหนา้ ท่กี นั เองในกลุ่ม เช่น

คนท่ี 1 อา่ นขนั้ ตอนการทดลองและบอกวิธีการทดลองตามลำดับ

คนท่ี 2 จัดเตรยี มอปุ กรณ์รบั อุปกรณ์ สำหรบั การทดลอง

คนที่ 3 ดำเนนิ การทดลอง

คนท่ี 4 ดำเนินการทดลอง

คนท่ี 5 บนั ทึกขอ้ มูลตา่ ง ๆ ประกอบการทดลอง ผลการทดลอง อภปิ ราย สรุปผลการทดลอง

2.2 นักเรียนแต่ละกลุม่ ส่งตวั แทนออกมานำเสนอผลการทดลองหน้าชัน้ เรยี น (โดยบันทกึ ขอ้ มูลในแบบ

บนั ทกึ ผลการทดลองรายกลุ่ม เพื่อเปรียบเทยี บให้ทุกกลุ่มเห็น)

2.3 ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันอภิปรายถงึ (โดยใชส้ ื่อ power point) การเรียกชอื่ และสมบัติบางประการของ

แอลกอฮอล์ ฟีนอล อเี ทอร์ แอลดีไฮด์ และคโี ตน เพือ่ ให้ได้ขอ้ สรุป

2.4 ใหน้ ักเรียนแบ่งออกเป็นกล่มุ ๆ ละ 4- 5 คน แตล่ ะกลุ่มมนี กั เรียนเก่ง ปานกลาง อ่อน คละกัน

(เตรียมไวใ้ นคบปฐมนเิ ทศ) ศึกษาตามรายละเอยี ดในชดุ กจิ กรรม การทดลอง เรื่อง ปฏิกริ ิยาของเอสเทอร์พรอ้ ม

ทัง้ ใหส้ มาชกิ กำหนดหน้าท่ีกันเองในกลมุ่ เช่น

คนที่ 1 อา่ นขน้ั ตอนการทดลองและบอกวิธีการทดลองตามลำดับ

คนที่ 2 จัดเตรยี มอุปกรณร์ ับอุปกรณ์ สำหรับการทดลอง

คนท่ี 3 ดำเนนิ การทดลอง

คนที่ 4 ดำเนนิ การทดลอง

คนท่ี 5 บันทึกข้อมูลต่าง ๆ ประกอบการทดลอง ผลการทดลอง อภิปราย สรปุ ผลการทดลอง

2.5 ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรุปความรู้เกี่ยวกบั การเขยี นสูตรทัว่ ไป สตู รโมเลกุลและสูตร โครงสรา้ ง ของ

การเรยี กชอื่ และสมบตั ิของ กรดคาร์บอกซิลิก และเอสเทอร์

22

ชว่ั โมงที่ 3
3. ขั้นสรปุ องค์ความรู้ (Knowledge Formation)

3.1 นักเรยี นระดมสมองฝกึ ทำกิจกรรมรว่ มกันคิด 1 และ 2
3.2 นักเรียนและครรู ่วมกันเฉลยกจิ กรรมรว่ มกนั คิด 1 และ 2

ช่วั โมงท่ี 4

4. ขั้นการสอ่ื สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นักเรียนแตล่ ะกลุ่มทำกจิ กรรม ปฏบิ ัตกิ าร ฝึกทำ : ฝกึ สรา้ ง (สบื ค้นขอ้ มูล ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์

และการประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ทางเคมี ให้เกดิ ประโยชนใ์ นชวี ิตประจำวนั : น้าํ หอม ทำจากอะไร พรอ้ มระบุ

แหล่งท่มี าแลว้ บันทกึ ข้อมลู )

4.2 นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั ทำกิจกรรม ปฏบิ ตั กิ าร คิดดี ผลงานดี มีความสุข (ใหน้ ักเรียนแตล่ ะ

กลมุ่ ศกึ ษาคน้ คว้ากระบวนการหมกั กบั กรดอินทรยี ์พร้อมระบแุ หลง่ ที่มาแลว้ บนั ทึกข้อมลู )

4.3 นำเสนอหนา้ ช้นั เรียน

5. ขน้ั การบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นกั เรียนแต่ละกล่มุ เขยี นความหมายของการหมัก น้ำหมักชีวภาพ ทไี่ ด้คน้ คว้าพร้อมระบุรายละเอยี ด

ตามรายละเอียดในชุดกจิ กรรม

5.2 นำเสนอหนา้ ชน้ั เรียน

13. สือ่ การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้

13.1 สื่อการเรียนรู้

- ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนิโสมนสิการ หน่วยเคมอี นิ ทรยี ์ เล่มท่ี 4 เรอื่ งสารประกอบ

อินทรียท์ ม่ี ีธาตอุ อกซิเจนเป็นองคป์ ระกอบ ตอนที่ 2

- สือ่ power point

13.2แหลง่ เรียนรู้

1) อนิ เตอร์เน็ต

2) ห้องสมุด

14. บันทึกหลงั การจัดการเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ดา้ นความรู้ : ...............................................................................................

- การเขยี นสตู รทว่ั ไป สูตรโมเลกุลและสตู ร ...............................................................................................

โครงสร้าง ของ กรดคารบ์ อกซิลิก และเอส ...............................................................................................

เทอร์ ...............................................................................................

- การเรยี กชอ่ื ของ กรดคารบ์ อกซิลิก และเอส ...............................................................................................

เทอร์ ...............................................................................................

- สมบัตขิ อง กรดคารบ์ อกซิลกิ และเอสเทอร์ ...............................................................................................

2. ดา้ นกระบวนการ :

- ทักษะกระบวนการคดิ

- ทักษะกระบวนการกลุ่ม

23

3. ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นยิ ม ...............................................................................................

อนั พงึ ประสงค์ : ...............................................................................................

- มวี ินัย ...............................................................................................

- ใฝเ่ รียนรู้ ...............................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................................

- รกั ความเป็นไทย ...............................................................................................

4. ปัญหาการสอน ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

...............................................................................................

...............................................................................................

5. วธิ แี ก้ปัญหา

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

...............................................................................................

ลงช่ือ........................................ครูผู้สอน ลงช่อื ...........................................หวั หน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกุลรตั น์..) (นางกณกิ าร์ พฒั รากลุ )

ลงช่ือ...........................................
(นางรพีพร คำบุญมา)

รองผู้อำนวยการกลมุ่ บริหารวิชาการ

ลงชอ่ื ........................................................
(นายสุรยิ ันต์ เหลา่ มะลึก)

ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม

24

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 5
หน่วยการเรียนรู้ท.ี่ 1..เร่อื ง...เคมีอินทรยี ์เรื่อง สารประกอบอินทรียท์ มี่ ีธาตุไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ......
รายวิชา……..............เคมี…5........ ............รหัสวชิ า…..............ว 30226......................ชั้นมธั ยมศึกษาปที .่ี ...6.....
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้..วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปกี ารศึกษา… 2565...ภาคเรียนที่..1...เวลา...4..ชั่วโมง……
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกุลรัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู้ (รายวิชาพ้นื ฐานมที ั้งมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชี้วัด
รายวิชาเพ่มิ เติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรยี นร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
สาระเคมี 1 : เขา้ ใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบตั ิของธาตุ พนั ธะเคมีและ

สมบัติของสาร แก๊สและสมบตั ขิ องแกส๊ ประเภทและสมบตั ิของ สารประกอบอนิ ทรยี แ์ ละพอลิเมอร์ รวมทงั้ การ
นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

1.2 ผลการเรียนรู้
6. วิเคราะห์ และเปรียบเทยี บจุดเดอื ดและการละลายในนำ้ ของสารประกอบอนิ ทรยี ท์ ี่มหี มู่ฟงั กช์ นั

ขนาดโมเลกลุ หรือโครงสรา้ งต่างกนั
8 เขียนสมการเคมแี ละอธิบายการเกิดปฏกิ ิริยาเอสเทอริฟเิ คชนั ปฏิกิริยาการสังเคราะหเ์ อไมด์

ปฏิกิรยิ าไฮโดรลิซสิ และปฏกิ ิรยิ าสะปอนนฟิ เิ คชัน

2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด (หลอมจากตวั ชว้ี ัดทีใ่ ช้ในหน่วยการเรยี นรนู้ ้เี ขียนเปน็ แบบความเรยี ง)
เอมีนเปน็ สารประกอบอนิ ทรยี ์ท่ีมีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ ซึ่งเกิดจากหมูแ่ อริลเข้าแทนทไ่ี ฮโดรเจน

ในโมเลกุลของแอมโมเนีย การเรียกชอ่ื เอมีนขนึ้ ต้นด้วยจำนวนคารบ์ อนอะตอมลงท้ายด้วย –านามนี จุดเดอื ดต่ำ
กวา่ แอลกอฮอลแ์ ต่สูงกว่าแอลเคน เพราะเป็นโมเลกลุ ไมม่ ีขั้ว
และสามารถละลายน้ำได้แล้วได้สมบัติเป็นเบส เมื่อทำปฏิกิริยากับกรดอนินทรีย์ได้เกลือเอมีน ตัวอย่างของเอ
มนี ได้แก่ มอรฟ์ ีนในฝ่ิน ใช้เปน็ ยาแกป้ วด โคดิอีนจากฝ่ินใช้เป็นยาแก้ไอ นิโคตนิ ในใบยาสบู ใชท้ ำบุหร่ี แอมเฟตา
มนี ใชผ้ ลิตยาบ้า

เอไมดเ์ ป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบ ซ่งึ เกิดจากหม่อู ะมิโนเข้าแทนที่หมู่ไฮดร
อกซิล การเรียกชือ่ เอมีนขนึ้ ต้นด้วยจำนวนคาร์บอนอะตอมลงท้ายด้วย –านาไมด์ จดุ เดือดสูงกว่าเอมีน เพราะ
เป็นโมเลกลุ ไม่มขี ั้ว และสามารถละลายน้ำได้แลว้ ได้สมบตั ิเป็นกลาง ตวั อย่างของเอไมด์ได้แก่ อะเซตามิโนเฟน
ใชท้ ำยาพาราเซตามอลหรอื ไทลินอล ยูเรียใชผ้ ลติ ปุ๋ยและเป็นวตั ถุดิบผลิตพลาสติก
3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/สาระการเรยี นรเู้ พ่ิมเติม (รายวชิ าเพิ่มเติม)
-

3.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถน่ิ (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพูดถงึ หลักสูตรทอ้ งถ่ินใหใ้ ส่ลงไปด้วย
...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. เรยี กชื่อสารประกอบอินทรยี ป์ ระเภทเอมนี ได้
2. ระบสุ มบัติทางกายภาพและทางเคมขี องสารประกอบอินทรยี ป์ ระเภทเอมีนได้
3. บอกประโยชนแ์ ละโทษของสารประกอบอนิ ทรีย์ประเภทเอมนี ได้
25

4. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น (เลอื กเฉพาะขอ้ ทเี่ กิดในหน่วยการเรียนรู้น)ี้

 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร  2. ความสามารถในการคดิ
 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (เลอื กเฉพาะขอ้ ที่เกิดในหน่วยการเรยี นรนู้ )ี้

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซื่อสัตยส์ ุจริต
 3. มวี นิ ยั  4. ใฝเ่ รียนรู้
 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุ่งมั่นในการทำงาน
 7. รักความเป็นไทย  8. มีจติ สาธารณะ
6. ด้านคุณลกั ษณะของผ้เู รยี นตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวชิ าการ  2. ส่ือสารสองภาษา  3. ล้ำหนา้ ทางความคิด

 4. ผลิตงานอยา่ งสรา้ งสรรค์  5. ร่วมกนั รับผิดชอบต่อสงั คมโลก
7. ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 คอื การเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได้)  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )
 ทักษะดา้ นการคิดอย่างมวี จิ ารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทกั ษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
 ทักษะดา้ นความเข้าใจความตา่ งวฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)
 ทกั ษะด้านความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผนู้ ำ (Collaboration, Teamwork and Leadership)
 ทักษะด้านการส่ือสาร สารสนเทศและรเู้ ท่าทันส่อื (Communications, Information, and Media Literacy)
 ทกั ษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร (Computing and ICT Literacy)
 ทักษะอาชพี และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)

8. บูรณคากวาามรตมาเี มมตหตลากั (ปวรนิ ัชัยญคาุณขธอรงรเมศรจษรฐยิ กธิจรรพมอเ(พCoียmง passion)

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรยี นคือ
ประมาณกลุม่ ละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมีเหตุผล : ใหน้ กั เรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทกั ษะการปฏบิ ัติ

3. หลักภมู คิ ุ้มกัน : ใหน้ กั เรียนเกิดทกั ษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก
4. เง่ือนไขความรู้ : การวางแผนงานท่ีจะทำกอ่ นแล้วคอ่ ยลงมือทำอยา่ งระมัดระวงั , เขียนสมการการ

เปล่ียนแปลงจากการทดลอง
5. เง่อื นไขคุณธรรม : อดทนทจ่ี ะทำงาน และมคี วามขยันทจ่ี ะทำงานให้ออกมาไดด้ ที ส่ี ุด , มีวินยั ในการทำ

แบบฝกึ หดั
9. ช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการ ชิ้นงาน ภาระงาน
เรียนรู้

6,8,10 - คำขวัญหรอื ข้อความ พรอ้ มวาด - วเิ คราะห์สถานการณ์ผลงานวิจยั และตอบ

ภาพประกอบเกี่ยวกบั คุณค่าวิถีชวี ติ ไทยกับ คำถาม

การบริโภคของหมกั ดองอย่างปลอดภยั

26

10. การวัดประเมินผล

10.1การวดั และประเมินผลช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ ีการ

1.การสงั เกตการณ์

2.การใช้ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ร่องรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมินการปฏบิ ตั ิ

เคร่ืองมือ

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมนิ การปฏิบัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรม ผา่ นตง้ั แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผา่ น ผ่าน 1

รายการถอื ว่า ไมผ่ ่าน

10.2 การวัดและประเมินผลระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรียนรขู้ อง

หนว่ ยการเรยี นรนู้ )ี้

ส่งิ ทต่ี อ้ งการวดั วธิ ีวัดผล เคร่อื งมอื วดั ผล เกณฑก์ ารประเมิน

1. ความรู้เก่ียวกับ -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมนิ การ - นกั เรียนได้คะแนน

- การเขยี นสูตรทั่วไป สูตร ความคิดเห็น อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนขึ้นไป

โมเลกุลและสูตร โครงสรา้ ง -การตอบคำถาม คิดเห็น หรือร้อยละ 80

ของ สารประกอบเอมนี เอไมด์ -การตรวจผลงาน ถือว่าผ่านเกณฑ์

- การเรียกช่ือของ สารประกอบ นักเรยี น - แบบประเมินการ - นักเรียนได้คะแนน

เอมีน เอไมด์ ตรวจผลงานนักเรยี น ประเมนิ ผลงาน

- สมบัตขิ อง สารประกอบเอมีน 13 คะแนนข้นึ ไป

เอไมด์ หรือรอ้ ยละ 80

ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

2.ทกั ษะกระบวนการคดิ และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมนิ การ -นกั เรียนได้คะแนน

ทักษะกระบวนการกล่มุ ความคิดเหน็ อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขน้ึ ไป

คิดเหน็ หรือรอ้ ยละ 80 ถอื ว่า

- สังเกตพฤติกรรมการ - แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์

ทำงานกล่มุ พฤตกิ รรมการ

ทำงานกลุ่ม

3. คณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ - สังเกตค่านิยมในการ - แบบประเมิน - นักเรียนไดค้ ะแนน

และสมรรถนะผเู้ รยี น ทำงานรว่ มกับผอู้ น่ื คุณลกั ษณะอันพึง ประเมนิ คุณลักษณะ

- มวี ินัยในการทำงานกลมุ่ และการทำงานใน ประสงค์ อนั พึงประสงค์

- นกั เรยี นเหน็ ความสำคญั ระบบกลุ่ม - แบบประเมิน 26 คะแนนขึน้ ไป

ของการทำงานร่วมกับผ้อู ืน่ และ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผู้เรยี น หรือร้อยละ 80

การทำงานในระบบกลุ่ม คดิ เหน็ เก่ยี วกบั ผลการ -แบบทดสอบ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

- ยอมรบั ความคิดเห็นซ่ึงกัน ทดลอง Rubin’s Self - นักเรียนไดค้ ะแนน

27

และกันมีความเสยี สละและ Esteem Scale การประเมินสมรรถนะ
อดทน 29 คะแนนขนึ้ ไป
- นกั เรียนมีการเหน็ คุณค่าใน หรือร้อยละ 80

ตนเอง (Self-esteem) ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

11. กจิ กรรมการเรียนรู้
ชว่ั โมงที่ 1-2
1. ขนั้ ต้ังประเดน็ ปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครูให้นักเรยี นดูสตู รโครงสรา้ งของ สารประกอบเอมนี เอไมด์ วา่ มสี ่วนใดบา้ งท่เี หมอื นกันและ
ต่างกัน (มไี นโตรเจนเป็นองคป์ ระกอบเหมือนกนั ตา่ งกนั ที่หมอู่ นื่ ๆทเ่ี ป็นองค์ประกอบ)

1.2 ครูสรุปวา่ สารทั้ง 2 ชนิดมีกลุม่ อะตอมท่แี สดงสมบตั เิ ฉพาะที่เรียกว่า หมฟู่ งั ก์ชันทีป่ ระกอบดว้ ย
ไนโตรเจนเปน็ องคป์ ระกอบเหมือนกนั ซึ่งเราจะศกึ ษาถึงสมบตั ิ การเรยี กชือ่ และประโยชนข์ องสารประกอบเอ
มีน เอไมด์ตามลำดับ

2. ขัน้ สืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 ครูใหน้ ักเรียนดูคลิปวดี ีโอเรื่องสารประกอบเอมนี เอไมด์ และ ศึกษาตามรายละเอียดในชุดกจิ กรรม

3. ข้นั สรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายถงึ (โดยใชส้ ื่อ power point) การเรียกชอื่ และสมบัตบิ างประการ
ของสารประกอบเอมนี เอไมด์ เพ่อื ให้ได้ขอ้ สรุป

ชว่ั โมงที่ 3-4
4. ข้ันการสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ทำกิจกรรม ปฏบิ ตั ิการ ฝึกทำ : ฝกึ สรา้ ง (ผลงานวจิ ัยนักเรยี นโรงเรยี นเฉลมิ
ขวัญ สดุ เจ๋ง คว้ารางวัลชนะเลิศระดบั ภาค แกป้ ญั หาขา้ วไทย “การศกึ ษาประสิทธิภาพบรรจภุ ัณฑ์ข้าวจาก
เปลอื กหน่อไมไ้ ผต่ งด้วยน้ำมนั หอมระเหยจากพืชสมนุ ไพรในการไลแ่ มลงทำลายขา้ ว”)

4.2 นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันฝึกวิเคราะห์สถานการณแ์ ล้วตอบคำถาม โดยนักเรียนรว่ มกนั ตงั้ คำถาม
เกี่ยวกับตวั อย่างงานวจิ ยั ท่หี ามาเพอ่ื ถามเพือ่ นๆ ไม่นอ้ ยกวา่ ด้านละ 3 ข้อ ดังนี้

1) ดา้ นความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์
2) ดา้ นปฏิบัติการและทกั ษะทางวิทยาศาสตร์
3) ด้านค่านิยมตอ่ ภมู ปิ ญั ญาไทยทางวทิ ยาศาสตร์

4.3 นำเสนอหนา้ ชัน้ เรยี น
5. ข้นั การบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นักเรียนแต่ละกลุม่ การศึกษาบทบาทของเชอ้ื จลุ นิ ทรยี ์ต่อการสรา้ งสารประกอบเอมีนทีพ่ บใน
กระบวนการหมกั แหนม และการสลายสารประกอบเอมีนโดยแลคตคิ แอซิดแบคทเี รีย ทไ่ี ด้ค้นคว้าพรอ้ มระบุ
รายละเอียดตามรายละเอยี ดในชุดกิจกรรม

5.2 นำเสนอหน้าชั้นเรียน
12. ส่อื การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้

12.1สอ่ื การเรียนรู้
- ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ โยนโิ สมนสิการ หน่วยเคมอี ินทรีย์ เล่มท่ี 5 เรือ่ งสารประกอบ

อนิ ทรียท์ ่มี ธี าตไุ นโตรเจนเป็นองคป์ ระกอบ

- สอื่ power point

28

12.2แหลง่ เรียนรู้

1) อินเตอร์เนต็ 2) หอ้ งสมดุ

13. บนั ทึกหลังการจัดการเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ดา้ นความรู้ : ...............................................................................................

- การเขยี นสตู รทั่วไป สตู รโมเลกุลและสูตร ...............................................................................................

โครงสร้าง ของ สารประกอบเอมนี เอไมด์ ...............................................................................................

- การเรยี กชอ่ื ของ สารประกอบเอมีน เอไมด์ ...............................................................................................

- สมบัตขิ อง สารประกอบเอมีน เอไมด์ ...............................................................................................

2. ด้านกระบวนการ : ...............................................................................................

- ทักษะกระบวนการคิด ...............................................................................................

- ทักษะกระบวนการกลุม่ ...............................................................................................

3. ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ ม ...............................................................................................

อนั พงึ ประสงค์ : ...............................................................................................

- มวี ินัย ...............................................................................................

- ใฝ่เรยี นรู้ ...............................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................................

- รักความเป็นไทย ...............................................................................................

4. ปญั หาการสอน

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

5. วิธีแก้ปัญหา

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

ลงช่ือ........................................ครูผู้สอน ลงช่ือ...........................................หวั หน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกลุ รัตน.์ .) (นางกณิการ์ พัฒรากลุ )

ลงชอื่ ...........................................
(นางรพีพร คำบุญมา)

รองผู้อำนวยการกลมุ่ บริหารวชิ าการ

ลงชือ่ ........................................................
(นายสุรยิ นั ต์ เหลา่ มะลึก)

ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวทิ ยาคม

29

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 6
หน่วยการเรยี นรู้ที่……….….2……….....เร่ือง……….พอลเิ มอร์…………..(การเกิดพอลิเมอร์).....................................

รายวชิ า……..............เคมี…5........ ............รหัสวชิ า…..............ว 30225......................ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี....6.....
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้..วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปกี ารศกึ ษา… 2565...ภาคเรียนท.ี่ .1...เวลา...4..ช่ัวโมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ (รายวิชาพนื้ ฐานมีทัง้ มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชี้วัด

รายวิชาเพิ่มเติมมเี ฉพาะมาตรฐานการเรยี นรู้และผลการเรียนร้)ู

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้

สาระเคมี 1 : เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรยี งธาตุในตารางธาตุ สมบตั ิของธาตุ พันธะเคมแี ละ

สมบัตขิ องสาร แกส๊ และสมบัตขิ องแก๊ส ประเภทและสมบตั ิของ สารประกอบอินทรีย์และพอลิเมอร์ รวมท้ังการ

นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

1.2 ผลการเรยี นรู้

11. ระบุประเภทของปฏกิ ริ ิยาการเกิดพอลิเมอรจ์ ากโครงสร้างของมอนอเมอร์หรอื พอลเิ มอร์

2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวชว้ี ัดทีใ่ ช้ในหน่วยการเรยี นรนู้ ้ีเขียนเปน็ แบบความเรยี ง)

พอลิเมอร์เป็นสารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ ได้จากปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ของโมเลกุลขนาดเล็กที่

เรียกวา่ มอนอเมอร์ สมบัตทิ างกายภาพของพอลิเมอร์จงึ ต่างจากมอนอเมอรท์ ่ีเป็นสารตัง้ ต้น พอลิเมอร์มีท้ังพอ

ลิเมอรธ์ รรมชาติและพอลิเมอร์สังเคราะห์ พอลิเมอร์อาจเกิดจากปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอรแ์ บบเติมหรือแบบ

ควบแน่น ข้นึ อยูก่ ับหม่ฟู ังกช์ ันทท่ี ำปฏกิ ริ ยิ า

3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม (รายวิชาเพมิ่ เตมิ )

พอลิเมอร์เปน็ สารทีม่ ีโมเลกลุ ขนาดใหญ่ซ่งึ ประกอบดว้ ยหน่วยยอ่ ยทเ่ี รียกวา่ มอนอเมอร์เช่ือมต่อกัน

ด้วยพนั ธะโคเวเลนต์ โดยมีท้ังพอลเิ มอรธ์ รรมชาติและพอลเิ มอรส์ ังเคราะห์ปฏิกริ ยิ าการเกดิ พอลิเมอร์ อาจเปน็

ปฏกิ ิรยิ าแบบควบแน่นหรือปฏกิ ริ ิยาแบบเตมิ ขึ้นอยกู่ บั หม่ฟู ังก์ชนั และโครงสรา้ งของมอนอเมอร์

3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิน่ (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพูดถงึ หลักสูตรท้องถิ่นใหใ้ ส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. ระบมุ อนอเมอรข์ องพอลเิ มอร์ได้

2. ระบุประเภทของปฏิกริ ยิ าการเกิดพอลเิ มอร์จากโครงสร้างของมอนอเมอรห์ รือพอลิเมอร์ได้

3. ใชว้ จิ ารณญาณและความใจกว้าง จากการรว่ มอภปิ รายได้

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (เลอื กเฉพาะข้อทเี่ กิดในหน่วยการเรยี นรนู้ ี)้

 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร  2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ
 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
6. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (เลือกเฉพาะขอ้ ท่ีเกิดในหน่วยการเรยี นรนู้ )ี้

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซ่ือสตั ย์สจุ ริต
3. มวี ินัย  4. ใฝเ่ รียนรู้

 5. อยู่อย่างพอเพียง  6. มุง่ มน่ั ในการทำงาน

30

 7. รักความเปน็ ไทย  8. มจี ติ สาธารณะ
7. ด้านคณุ ลกั ษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวิชาการ  2. สื่อสารสองภาษา  3. ลำ้ หน้าทางความคดิ

 4. ผลติ งานอยา่ งสร้างสรรค์  5. ร่วมกนั รบั ผิดชอบต่อสังคมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได)้  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเปน็ )
 ทกั ษะดา้ นการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทักษะด้านการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)

 ทกั ษะด้านความเข้าใจความต่างวฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership)
 ทักษะด้านการสอ่ื สาร สารสนเทศและรู้เท่าทันส่อื (Communications, Information, and Media Literacy)

 ทกั ษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (Computing and ICT Literacy)
 ทักษะอาชีพ และทกั ษะการเรียนรู้ (Career and Learning)

9. บรู ณคากวาามรตมาีเมมตหตลาัก(ปวรินัชัยญคาุณขธอรงรเมศรจษรฐยิ กธิจรรพมอเ(พCoียmง passion)

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในห้องเรียนคือ

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตุผล : ให้นักเรยี นสร้างสรรค์ผลงานและเกดิ ทกั ษะการปฏิบตั ิ

3. หลกั ภมู ิค้มุ กนั : ให้นักเรียนเกิดทกั ษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก

4. เงื่อนไขความรู้ : การวางแผนงานท่ีจะทำก่อนแลว้ คอ่ ยลงมอื ทำอย่างระมดั ระวงั , เขียนสมการการ

เปลย่ี นแปลงจากการทดลอง

5. เงื่อนไขคุณธรรม : อดทนทจี่ ะทำงาน และมคี วามขยนั ที่จะทำงานใหอ้ อกมาไดด้ ีทสี่ ุด , มวี นิ ยั ในการทำ

แบบฝึกหัด

10. ชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

ผลการ ชนิ้ งาน ภาระงาน
เรยี นรู้

11 - - ตอบคำถามเกย่ี วกบั ความหมายของมอนอเมอร์และพอลิ

เมอร์

- ตอบคำถามเก่ียวกบั ประเภทของปฏิกริ ยิ าการเกดิ พอลิเมอร์

11. การวัดประเมินผล

11.1การวัดและประเมนิ ผลชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด

วิธีการ

1.การสงั เกตการณ์

2.การใชช้ ดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตรร์ ่องรอยบ่งช้ี 3.การวดั ประเมินการปฏบิ ัติ

เครอื่ งมอื

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมนิ การปฏบิ ัติ

31

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรม ผ่านต้ังแต่ 2 รายการ ถอื ว่า ผ่าน ผ่าน 1

รายการถือวา่ ไม่ผา่ น

11.2การวดั และประเมินผลระหวา่ งการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ประเมนิ จากแผนการจดั การเรยี นรูข้ อง

หนว่ ยการเรียนรนู้ )้ี

ส่งิ ทีต่ ้องการวัด วิธีวดั ผล เคร่ืองมอื วัดผล เกณฑก์ ารประเมิน

1. ความร้เู กีย่ วกับ -การสอบถาม - แบบประเมินการ - นกั เรยี นไดค้ ะแนน

- ความหมายของมอนอ ซักถาม ความ อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขึ้นไป หรือรอ้ ย

เมอร์และพอลิเมอร์ คิดเห็น คิดเหน็ ละ 80 ถือว่าผ่านเกณฑ์

ประเภทของปฏกิ ิริยาการ -การตอบคำถาม - แบบประเมนิ การ -นักเรยี นไดค้ ะแนน ประ เมนิ

เกิดพอลิเมอร์ -การตรวจผลงาน ตรวจผลงานนักเรียน ผลงาน

นักเรียน 13 คะแนนข้ึนไป หรือร้อย

ละ 80 ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

2.ทักษะกระบวนการคิด - การอภปิ ราย - แบบประเมนิ การ -นักเรยี นไดค้ ะแนน 12

และทักษะกระบวนการ แสดงความคิดเหน็ อภปิ รายแสดงความ คะแนนขึ้นไป หรอื รอ้ ยละ

กลุม่ - สังเกตพฤตกิ รรม คดิ เหน็ 80 ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

การทำงานกลุ่ม - แบบประเมิน

พฤติกรรมการทำงาน

กลุ่ม

3. คุณลักษณะที่พงึ - สงั เกตค่านยิ มใน - แบบประเมิน - นกั เรียนได้คะแนน

ประสงค์ การทำงานรว่ มกบั คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประเมินคณุ ลักษณะ

และสมรรถนะผ้เู รียน ผู้อน่ื และการทำงาน ประสงค์ อันพึงประสงค์

- มวี ินยั ในการทำงาน ในระบบกลุม่ - แบบประเมิน 26 คะแนนข้ึนไป

กลุม่ อภปิ ราย แสดง สมรรถนะผู้เรียน หรอื รอ้ ยละ 80

- นกั เรียนเหน็ ความคดิ เหน็ -แบบทดสอบ Rubin’s ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

ความสำคัญของการ เกย่ี วกบั ผลการ Self Esteem Scale - นักเรยี นได้คะแนน

ทำงานร่วมกับผู้อ่นื และ ทดลอง การประเมินสมรรถนะ

การทำงานในระบบกลุ่ม 29 คะแนนข้ึนไป

- ยอมรบั ความคิดเห็น หรอื รอ้ ยละ 80

ซ่ึงกนั และกนั มคี วาม ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

เสยี สละและอดทน

- นักเรยี นมีการเหน็

คุณค่าในตนเอง (Self-

esteem)

12. กิจกรรมการเรียนรู้

ชว่ั โมงที่ 1

1. ขน้ั ต้ังประเด็นปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)

32

1.1 ครูใหน้ ักเรียนยกตวั อยา่ งผลติ ภัณฑพ์ อลิเมอร์ท่ีรจู้ กั ซ่งึ สว่ นใหญน่ ่าจะเปน็ พลาสตกิ จากนัน้ อธิบายวา่
ผลิตภัณฑ์พอลิเมอรท์ ่พี บเหน็ สว่ นใหญเ่ ป็นพลาสติก แต่บางชนิดอาจไม่เปน็ พลาสตกิ เช่นยาง กาว เจล จากน้ัน

อธิบายความหมายของพอลเิ มอรแ์ ละมอนอเมอร์ ตามรายละเอียดในชุดกิจกรรม
1.2 ครยู กตัวอยา่ งผลติ ภัณฑ์พอลิเมอร์สงั เคราะหแ์ ละพอลเิ มอรธ์ รรมชาติตามรายละเอยี ดในชดุ กิจกรรม

1.3 ครอู ธิบายว่า พอลเิ มอร์และมอนอเมอรม์ สี มบัตทิ างกายภาพบางประการทแ่ี ตกต่างกันเช่น สถานะ จดุ
หลอมเหลว สภาพการละลายได้ในนำ้

1.4 ครูใช้คำถามนำวา่ มอนอเมอร์เกิดเป็นพอลิเมอรไ์ ด้อย่างไร จากน้ันครูให้ความรู้เกี่ยวกับความหมาย

และการแบ่งประเภทของปฏกิ ิรยิ าการเกดิ พอลเิ มอร์
1.5 ครูอธิบายปฏกิ ริ ิยาการเกิดพอลิเมอรแ์ บบเติมเชอ่ื มโยงกับปฏิกริ ยิ าการเตมิ ของแอลคนี โดยยกตัว

อยา่ งปฏิกริ ิยาการเกดิ พอลเิ มอรแ์ บบเตมิ ของเอทิลีน ตามรายละเอียดในชุดกจิ กรรม จากนั้นให้นักเรียน
พิจารณาตัวอย่างพอลิเมอร์ท่ีเตรยี มจากปฏิกริ ยิ าการเกิดพอลเิ มอร์แบบเตมิ และการเรียกชอ่ื มอนอเมอร์และพอ
ลเิ มอรต์ ามรายละเอียดในชุดกิจกรรม

ช่ัวโมงท่ี 2
2. ขั้นสืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)

2.1 สมาชิกกล่มุ รว่ มกนั คน้ เรื่อง พอลิเมอร์ท่ีได้จากปฏิกิริยาการเกดิ พอลเิ มอรแ์ บบเตมิ มสี มบัตแิ ละ
นำไปใช้เป็นผลิตภัณฑ์ทพ่ี บในชีวิตประจำมีอะไรบ้าง

2.2 ใหต้ วั แทนกลุ่มออกมาเล่าถึงสิง่ ท่ีค้นพบ ครูอธิบายเพิม่ เติมว่าปฏกิ ิริยาการเกิดพอลิเมอรแ์ บบ

ควบแน่นเชือ่ มโยงกบั ปฏิกิริยาการเกิดเอไมด์โดยใช้ตวั อย่างปฏกิ ิริยาการเกิดพอลเิ มอรข์ องไนลอน 6,6 ตาม
รายละเอียดในชุดกิจกรรม

2.3 ใหแ้ ต่ละกลมุ่ พจิ ารณาตัวอยา่ งพอลิเอสเทอร์และพอลเิ อไมดท์ ่ีเตรียมจากปฏิกริ ยิ าการเกิดพอลิ
เมอร์แบบควบแน่นตามรายละเอยี ดในชุดกิจกรรม

ชว่ั โมงที่ 4

3. ขั้นสรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)
- ใช้เทคนิคการสอนแบบ ระดมสมอง (Brainstorming)

3.1 ใหส้ มาชกิ แต่ละคนในกลุ่ม วิเคราะหข์ อ้ มูล และถา่ ยทอดความรูใ้ หเ้ พ่ือนในกล่มุ
3.2 ครชู ใี้ ห้เห็นวา่ พอลเิ มอร์ที่ไดจ้ ากปฏิกริ ยิ าการเกดิ พอลิเมอรแ์ บบควบแน่น มีสมบัตแิ ละนำไปใช้
เป็นผลติ ภัณฑ์ที่พบในชีวิตประจำวนั ไดห้ ลากหลาย

4. ข้ันการสอ่ื สารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 ครูใหน้ ักเรยี นตอบคำถามชวนคดิ เพือ่ ใหไ้ ดข้ ้อสรุปดงั น้ี

แอซิดคลอไรด์ (acid chloride) มีหม่ฟู งั กช์ นั เป็น COCl และมีความว่องไวในการเกิด
ปฏกิ ิรยิ าเคมี สามารถใชแ้ ทนกรดคาร์บอกซิลิกในการสังเคราะหพ์ อลเิ อไมด์ เช่นเคฟลาร์ (Kevlar)
ซึ่งเปน็ พอลเิ มอร์ที่ใชท้ ำเส้นใยที่มีความเหนยี ว และทนความรอ้ นสงู นำไปทำเส้อื กันกระสนุ

เขยี นโครงสร้างเคฟลาร์และผลติ ภัณฑ์พลอยได้จากปฏกิ ริ ยิ าเคมตี อ่ ไปน้ี

5. ขั้นการบริการสงั คมและสาธารณะ (Public Service)

33

5.1 ครใู หน้ กั เรยี นทำแบบฝึกหดั เพอื่ ทบทวนความรู้ และเฉลยรว่ มกัน

13. สอ่ื การเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้

12.1 ส่ือการเรียนรู้

- ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนโิ สมนสิการ เร่อื งพอลเิ มอร์ ตอนท่ี 1

- สอื่ power point

12.2แหลง่ เรียนรู้

1) อินเตอร์เน็ต 2) ห้องสมุด

14. บนั ทกึ หลงั การจดั การเรยี นรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ด้านความรู้ : ...............................................................................................

- ความหมายของมอนอเมอร์และพอลเิ มอร์ ...............................................................................................

ประเภทของปฏกิ ริ ยิ าการเกิดพอลเิ มอร์ ..............................................................................................

2. ด้านกระบวนการ : ...............................................................................................

- ทักษะกระบวนการคิด ...............................................................................................

- ทักษะกระบวนการกลมุ่ ...............................................................................................

3. ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นิยม ...............................................................................................

อนั พึงประสงค์ : ...............................................................................................

- มีวนิ ัย - ใฝ่เรียนรู้ ...............................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................................

- รักความเป็นไทย ...............................................................................................

4. ปญั หาการสอน

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

5. วิธีแกป้ ญั หา ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

....................................................................... ...............................................................................................

ลงช่ือ........................................ครูผู้สอน ลงชอื่ ...........................................หวั หน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รตั น.์ .) (นางกณิการ์ พัฒรากลุ )

ลงชื่อ...........................................

(นางรพพี ร คำบญุ มา)
รองผู้อำนวยการกลมุ่ บริหารวชิ าการ

ลงชื่อ ........................................................

(นายสรุ ิยนั ต์ เหลา่ มะลกึ )
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม

34

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 7
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่………..2……….....เรือ่ ง……….พอลเิ มอร์…..(โครงสรา้ งและสมบตั ขิ องพอลเิ มอร์).......................

รายวิชา……..............เคมี…5........ ............รหสั วชิ า…..............ว 30225......................ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่....6.....
กลุม่ สาระการเรยี นรู้..วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี.. ปีการศึกษา… 2565...ภาคเรียนท.่ี .1...เวลา...6..ช่ัวโมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้ (รายวชิ าพ้ืนฐานมีทัง้ มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชว้ี ัด

รายวชิ าเพิม่ เติมมเี ฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรยี นรู้)

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้

สาระเคมี 1 : เข้าใจโครงสร้างอะตอม การจดั เรียงธาตใุ นตารางธาตุ สมบตั ิของธาตุ พันธะเคมแี ละ

สมบตั ขิ องสาร แก๊สและสมบัตขิ องแกส๊ ประเภทและสมบตั ขิ อง สารประกอบอินทรีย์และพอลเิ มอร์ รวมท้ังการ

นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

1.2 ผลการเรียนรู้

12. วิเคราะห์ และอธบิ ายความสมั พันธร์ ะหวา่ งโครงสรา้ งและสมบตั ิของพอลิเมอร์ รวมท้ัง การนำ

ไปใชป้ ระโยชน์

13. ทดสอบ และระบุประเภทของพลาสติกและผลติ ภณั ฑ์ยาง รวมทง้ั การนำไปใช้ประโยชน์

2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (หลอมจากตวั ช้ีวัดที่ใช้ในหนว่ ยการเรยี นรนู้ ี้เขียนเป็นแบบความเรียง)

พอลิเมอร์อาจมีโครงสร้างเป็นแบบเส้น แบบก่ิง แบบร่างแห ท้ังน้ีข้ึนกับลักษณะการเชื่อมต่อกันของ

มอนอเมอร์ ซ่ึงส่งผลตอ่ สมบัติของพอลเิ มอรเ์ มอร์ และการนำไปใช้ในการผลิตเปน็ ผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างกันโดย

พอลิเมอร์เทอรม์ อพลาสติกมโี ครงสร้างเป็นแบบเส้นหรือแบบก่ิง เป็นพอลเิ มอร์ที่สามารถนำมาหลอมขึน้ รูปใหม่

ได้ สำหรับพอลิเมอร์เทอร์มอเซตสว่ นใหญ่มีโครงสร้างแบบรา่ งแห เปน็ พอลิเมอร์ทีไ่ ม่หลอมเหลวเมื่อไดร้ ับความ

รอ้ น แต่เกดิ การสลายตวั หรือไหม้เม่อื ไดร้ บั ความรอ้ นสูงจึงไม่สามารถนำมาหลอมขนึ้ รูปใหม่ได้

3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรยี นร้แู กนกลาง/สาระการเรยี นรเู้ พ่ิมเติม (รายวิชาเพมิ่ เติม)

พอลเิ มอร์มีโครงสรา้ งตา่ งกนั อาจเป็นโครงสร้างแบบเสน้ แบบกิ่ง หรือแบบรา่ งแห ข้ึนอยกู่ ับชนดิ

ของมอนอเมอรแ์ ละภาวะของปฏิกริ ิยาการเกิดพอลเิ มอร์ ซงึ่ โครงสร้างของพอลเิ มอรส์ ่งผลต่อจุดหลอมเหลว

ความหนาแน่น ความเปราะความเหนยี ว ความยดื หยนุ่ จึงสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ไดอ้ ยา่ งหลากหลาย

3.2 สาระการเรยี นรทู้ ้องถนิ่ (ถ้าในคำอธบิ ายรายวชิ าพูดถึงหลักสูตรท้องถิ่นใหใ้ ส่ลงไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายผลของการปรบั ปรงุ สมบัตขิ องพอลเิ มอร์โดยการเติมสารเตมิ แตง่ การปรบั เปลยี่ นโครงสร้าง

ของพอลิเมอร์ การสงั เคราะหโ์ คพอลเิ มอร์ และการสังเคราะหพ์ อลิเมอรน์ ำไฟฟ้า

2. เปรยี บเทยี บสมบัตขิ องโคพอลิเมอรก์ บั โฮโมพอลิเมอร์และโคพอลิเมอร์แบบสลบั กบั แบบบล็อก

3. เกดิ ทักษะการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณและการแก้ปญั หา ในการทำกจิ กรรม

4. เห็นคณุ คา่ ของการนำความรูท้ างวิทยาศาสตร์มาใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจำวัน

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (เลือกเฉพาะข้อท่เี กิดในหนว่ ยการเรยี นร้นู ้ี)

 1. ความสามารถในการสอื่ สาร  2. ความสามารถในการคิด
 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ

35


Click to View FlipBook Version