The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบบันทึกPLCอโนชา64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2022-03-16 11:38:45

แบบบันทึกPLCเทอม1_64

แบบบันทึกPLCอโนชา64

แบบบันทึกกิจกรรม
ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ
(Professional Learning Community )

ชือ่ กลมุ่ PLC
“พฒั นา Self Esteem ผู้เรียนเพ่ือก้าวสู่
สังคมแห่งการเรียนรู้ในยคุ Disruption”

ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564

โดย นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรตั น์
ครชู ำนาญการพิเศษ

โรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม
สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานครเขต 1

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน 1
กระทรวงศกึ ษาธิการ

บนั ทกึ ขอ้ ความ

สว่ นราชการ โรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม

ท่ี .......................................................... วันที่ 23 สงิ หาคม 2564

เรื่อง แบบรายงานผลการดำเนนิ งาน PLC (สิน้ สดุ การดำเนินงาน) กลุม่ “พัฒนา Self Esteem ผ้เู รยี นเพื่อก้าว

สู่สงั คมแหง่ การเรียนรู้ในยคุ Disruption” ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564

เรียน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม
ด้วยโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคมได้มีนโยบาย “การขับเคล่ือนกระบวนการ PLC (ชุมชนแห่งการ

เรียนรู้) สู่สถานศึกษา” ข้ึน เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา และพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ของครูให้มี
ประสิทธิภาพ ข้าพเจ้านางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ กรรมการกลุ่ม “พัฒนา Self Esteem ผู้เรียนเพื่อก้าวสู่
สงั คมแห่งการเรียนรใู้ นยุค Disruption” เพ่ือพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบใหมๆ่ ท่ีสามารถกระตุ้น
ให้ ผู้เรียนเกิดความตื่นตวั กระตือรือรน้ ใฝ่รู้ในการศึกษาค้นควา้ และมีความพรอ้ มก้าวสู่สงั คมแห่งการเรียนรู้ โดย
ม่งุ เนน้ กิจกรรมและกระบวนการการเรียนรู้ ที่กระตุ้นให้เกิดความภาคภูมใิ จในตนเอง (Self-Esteem) ของผู้เรียน
เพ่ือพัฒนาสู่การเป็นพลโลกยุค Disruption ได้อย่างต่อเน่ืองและยั่งยืน โดยการจัดการเรียนรู้แบบ Lifelong
Learning โดยได้ดำเนินการ ระหว่างวันท่ี 11 มิถุนายน 2564 – 13 สิงหาคม 2564 รวมทั้งสิน้ 30 ช่วั โมง บดั น้ีได้
ดำเนินงาน PLC สิน้ สดุ แล้ว จึงขอรายงานการดำเนินงาน PLC ดังเอกสารแนบท้ายน้ี

จึงเรียนมาเพอ่ื โปรดทราบและพจิ ารณา

ลงช่ือ……………………..…………..
(นางสาวอโนชา อทุ มุ สกุลรัตน์ )

ครู ชำนาญการพเิ ศษ
ความเหน็ ของผบู้ ริหารโรงเรียน
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ……………………..…………..
(นายจงจัด จนั ทบ)

ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม

2

แบบบันทกึ “พัฒนา Self Esteem ผเู้ รียนเพอื่ ก้าวสู่สงั คมแหง่ การเรยี นรู้ในยคุ Disruption”

1. คณะกรรมการ ประธานกรรมการ
กรรมการ
1. นางสาวขวญั หลา้ เกตุฉมิ กรรมการ
2. นางสาวรศั มี กลุ สุวรรณ
3. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ
กรรมการ/เลขานกุ าร
4. นายอรรถพล ภูทอง
5. นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรัตน์

ผเู้ ชย่ี วชาญ นายจงจัด จนั ทบ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม

2. การระดมปญั หา/ความต้องการ
2.1 การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบใหม่ๆ ที่สามารถกระตุ้นให้ ผู้เรียนเกิดความตื่นตัว

กระตือรือร้น ใฝ่รู้ในการศึกษาค้นคว้า และมีความพร้อมก้าวสู่สังคมแห่งการเรียนรู้เพื่อให้สามารถพัฒนาตนเอง
และดำรงชีวิตอยู่ในกระแสการเปลี่ยนแปลงทางสังคมโลกได้ โดยมุ่งเน้นกิจกรรมและกระบวนการการเรียนรู้ ที่
กระตุ้นใหเ้ กิดความภาคภูมใิ จในตนเอง (Self-Esteem) ของผู้เรียน เพ่ือพัฒนาสู่การเปน็ พลโลกยุค Disruption ได้

อย่างตอ่ เนอ่ื งและยั่งยนื

3. แนวทางแก้ปญั หา
3.1 โดยการจัดการเรยี นรู้แบบ Lifelong Learning และร่วมกันพฒั นาสอ่ื นวตั กรรม ทใ่ี ช้ในการแก้ปัญหา

การเรยี นรู้ของนกั เรยี นให้ดียง่ิ ข้นึ

4. สาเหตุ
4.1 ดา้ นครู

4.1.1 ผู้สอนตอ้ งมที ้งั ทักษะและคณุ ลักษณะท่ีรองรบั เข้าถงึ เพ่ือสร้างนวตั กรรมบริหารจัดการชัน้
เรยี นแนวใหม่ โดยมุ่งเน้นกิจกรรมและกระบวนการการเรยี นรทู้ ี่กระตนุ้ ให้เกดิ ความภาคภมู ิใจในตนเอง(Self-
Esteem) ของผูเ้ รยี น

4.1.2 ครูขาดความม่ันใจในตวั ผู้เรยี นวา่ ทุกคนมคี วามสามารถเรยี นรแู้ ละพฒั นาตนเองได้ และถือ
วา่ ผู้เรยี นมีความสำคญั ที่สุด ครมู ีหนา้ ที่กระบวนการจดั การศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพฒั นาตาม

ธรรมชาตแิ ละเต็มศกั ยภาพเท่านน้ั
4.2 ด้านนักเรยี น
4.2.1 ผ้เู รยี นขาดการเห็นคุณค่าความสำคัญและบทบาทของตนเอง

4.2.2 ผเู้ รียนขาดการเกิดความภาคภูมใิ จในตนเอง (Self-Esteem)
4.3 ดา้ นการบริหารจดั การ

4.3.1 ขาดการส่งเสรมิ และการนิเทศติดตามอยา่ งจรงิ จงั

3

5. วัตถปุ ระสงค์
5.1 เพื่อพัฒนาทักษะการเรยี นรขู้ องผูเ้ รียน ใหเ้ ป็นบคุ คลท่มี คี ุณภาพดว้ ยกระบวนการเรียนรู้

5.2 เพอื่ พฒั นาผเู้ รยี นให้สามารถต่อยอดความรูดว้ ยตนเอง
5.3 เพื่อพฒั นาผู้สอนใหม้ ีทักษะในการจดั การเรียนรู้ มีเจตคติตอ่ วิชาชพี ครูท่ีดี มีแรงจงู ใจใฝ่สมั ฤทธ์ิสงู

รองรับเขา้ ถึงเพื่อสร้างนวัตกรรมบรหิ ารจัดการชั้นเรียนแนวใหม่
6. แนวทางดำเนนิ งาน

ขนั้ ตอน กิจกรรม วธิ กี าร ระยะเวลา
2 ชม.
1 ขน้ั เตรียมการ (Plan) 1. ประชมุ ปฏบิ ตั ิการ 24 ชม.
2. ออกคำสง่ั แต่งตั้งกรรมการ
1. Community สร้างทมี ครู 3. วเิ คราะห์ผลการเรยี นของนกั เรียน 2 ชม.
4. ประชุมปฏิบตั กิ าร
2. แตง่ ตง้ั คณะกรรมการ และวางแผนการดำเนินงาน
1. ระบุปัญหาทพี่ บในกระบวนการ
3. วเิ คราะห์ผู้เรียน คัดเลือกปญั หาท่จี ะพฒั นา จัดการเรียนรู้
2. รวบรวมข้อมลู และแนวคิดที่
4. ศกึ ษาเทคนิค วิธกี าร และส่ือการสอน เกี่ยวข้องกับปัญหาหรอื นำไปสู่การ
แก้ปญั หาน้นั
2 ปฏบิ ัตติ ามแผน (Do) 3. ออกแบบวิธีการแกป้ ัญหาโดย
จดั การเรียนรู้แบบ Lifelong
จดั การเรียนรู้แบบ Lifelong Learning Learning
4. วางแผนและดำเนินการแก้ปญั หา
3 การวดั และประเมนิ ผล (Check) 5. ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรับปรุง
1. นิเทศแผนการจัดการเรียนรู้ แก้ไขวิธกี ารแก้ปัญหาหรือพฒั นา
2. นเิ ทศการสอน นวัตกรรมได้
6. นำเสนอวธิ ีการแกป้ ญั หา ผลการ
แก้ปัญหาหรือผลของนวตั กรรมท่ี
พัฒนาได้

1. แบบนเิ ทศการสอน
1. คัดเลอื กแผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ีมี
ความโดดเด่นในกลมุ่ สาระฯ
2. คดั เลือกครทู ม่ี ีรปู แบบวิธสี อนโดด
เดน่ ในกลุ่มสาระฯ

4

3..ใช้ออนไลนเ์ ป็นสอ่ื กลางในการ
ติดตอ่ แลกเปลีย่ นประสบการณ์
ระหว่างครทู ่ีทำงานรว่ มกัน เช่น กลุ่ม

Line หรือ Facebook

ข้ันตอน กจิ กรรม วธิ กี าร ระยะเวลา
1 ชม.
4 สะท้อนผลเพอ่ื ปรับปรงุ แก้ไขและพฒั นาต่อ (การ
1 ชม.
ทบทวนผลการปฏบิ ัตงิ านReflection/After Action

Review: AAR )

1. อภิปรายผลการสงั เกตการสอนและร่วมกันหาแนว แลกเปล่ยี น/อภปิ ราย/เสนอแนะ(AAR)

ทางแกไ้ ขและพฒั นาให้ดยี งิ่ ขึ้น

2. ทบทวนเหตกุ ารณ์การกระทำท่ีเกิดข้นึ และควรเกิดขนึ้

5 เผยแพรน่ วัตกรรม 1. Page: โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

2. Face Book:โรงเรียนสุวรรณาราม

วิทยาคม

7. การวัดผลและประเมินผล
7.1 แผนการจัดการเรยี นรู้ พร้อมบันทกึ หลังการสอน
7.2 ภาพการพดู คยุ ปรกึ ษากบั สมาชกิ กลุ่ม PLC

7.3 ภาพกิจกรรมการเรยี นการสอน
7.4 แบบสงั เกตการณ์จดั กจิ กรรมการเรียนการสอน
7.5 ภาพการนิเทศการสอน

8. ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะไดร้ บั
8.1 ครูมีความรู้เรือ่ งเทคนิค วิธีการสอนในจัดการเรยี นรู้แบบ Lifelong Learning

8.2 ผู้เรียนทกุ คนมคี วามสามารถเรียนร้แู ละพัฒนาตนเองได้ ร้อยละ 75

รวม จำนวน......30...ชว่ั โมง

ลงชื่อ...............................................................
(นางสาวอโนชา อทุ มุ สกลุ รัตน์)
ครูผูร้ ายงาน

5

ข้นั ตอนการวางแผน

ขน้ั ตอนท่ี 1 Community สรา้ งทมี ครู
ขน้ั ตอนท่ี 2 Practice จัดการเรียนรู้ เชน่ การวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ รว่ มกันออกแบบกิจกรรมการ
เรยี นรู้แบบ Lifelong Learning เพอื่ แก้ปญั หา หรือพฒั นา และนำสู่การเรยี นการสอนแบบตลอดชีวติ
เคร่ืองมือในการประเมนิ

- แบบนเิ ทศ แบบสังเกตการณ์จัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ขน้ั ตอนที่ 3 Reflection สะท้อนคดิ เพอ่ื การพัฒนาการปฏบิ ตั ิ
ขน้ั ตอนที่ 4 Evaluation ประเมนิ เพ่ือพฒั นาสมรรถนะครู
ขน้ั ตอนที่ 5 Network Development สร้างเครือข่ายการพฒั นา

6

แบบบนั ทึกกจิ กรรม
ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานครเขต 1

ชอ่ื กลุ่มกจิ กรรม ครั้งที่ ...1................................................................
ภาคเรียนท่ี....1.......ปกี ารศึกษา.....2564........
 วชิ าการ  บุคลากร
วนั เดือนปีท่จี ดั กิจกรรม.......11..มิ.ย...64................
 งบประมาณ  บรหิ ารท่วั ไป สถานที่.....ประชมุ ออนไลน์ผา่ นโปรแกรม Meet....

 กจิ การนักเรยี น  พฒั นาผเู้ รยี น เวลา.......15.10-18.10.น...............................
จำนวน.................3.............................ชั่วโมง
 กิจกรรม Lifelong Learning ในการจัดการ

เรียนรู้ เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเรยี นรูข้ องผเู้ รียนแบบ

ยงั่ ยืน

ชอ่ื กจิ กรรม
การพฒั นาการจดั การเรียนรู้ โดยใชก้ ารจัดการเรยี นรู้แบบ Lifelong Learning

Community ผรู้ ว่ มอภปิ ราย

Model Teacher ผ้พู บปัญหา นางสาวขวัญหล้า เกตุฉมิ

Buddy Teacher ผู้รว่ มอภิปราย

1. นางสาวขวญั หลา้ เกตฉุ มิ ประธานกรรมการ

2. นางสาวรศั มี กลุ สวุ รรณ กรรมการ

3. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

4. นายอรรถพล ภูทอง กรรมการ

5. นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรตั น์ กรรมการ/เลขานุการ

Mentor Coaching ผูน้ ำอภิปราย ผอ.จงจดั จนั ทบ

Recording ผ้บู นั ทึกข้อมูล นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรตั น์

7

แบบบนั ทึกกิจกรรม
ชมุ ชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ประเด็นปัญหาที่พบ
การเห็นคุณค่าในตนเองมีความสำคัญต่อทุกช่วงชีวิตของมนุษย์ บุคคลท่ีเห็นคุณค่าในตัวเองต่ำหรือมี

ความรูส้ ึกทไี่ ม่ดีต่อตนเอง ก็เปรียบเสมือนเป็นคนพิการทางบุคลิกภาพ เช่นเดียวกับการพิการทางร่างกาย ซ่งึ ทำให้
ประสบความลม้ เหลวในชวี ติ ทุกๆ ด้าน การเหน็ คณุ ค่าในตนเองจงึ มีความสำคัญต่อทุกคนทุกช่วงชีวิต เป็นสิ่งสำคัญ
ที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมที่มีประสิทธิภาพ ทำให้มนุษย์สามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าและสามารถบ่งช้ีคุณภาพ
ชีวิตของบุคคลได้ว่าเป็นอย่างไรบุคคลจะแสดงระดับของการเห็นคุณค่าในตนเองที่แตกต่างกันออกมาโดยรู้ตัว
หรือไม่รู้ตัว ด้วยลักษณะท่าทางน้ำเสียง คําพูด และการกระทำ บุคคลท่ีมีการเห็นคุณค่าในตนเองในระดับสูงจะ
สามารถสรา้ งสรรค์ความคิดหรือการกระทำท่ีจะเผชิญความเครียดต่างๆ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ นอกจากน้กี ารเหน็
คุณค่าในตนเองยังเป็นปัจจยั สำคัญในการปรับตัวทางอารมณ์ทางสังคมและทางการเรียนรู้ เป็นจุดเริ่มต้นของการ
รับรู้ชีวติ ท่ีมีผลต่อความคดิ ความปรารถนา คา่ นิยม อารมณ์และการตั้งเป้าหมายในชีวติ ของแตล่ ะบคุ คลอันมีผลต่อ
การแสดงพฤตกิ รรม จนกระท้ังกลายเป็นลักษณะของบุคลิกภาพและการประสบความสำเร็จหรอื ความล้มเหลวทั้ง
ในชีวิต ดังน้ันการเห็นคุณค่าในตนเองจึงเป็นส่ิงสำคัญท่ีจะพัฒนาบุคคลไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ได้ในท่ีสุด
(พรรณราย ทรัพยะประภา, 2548)

สถานการณ์ปัญหาท่วั โลกจากการแพร่ระบาดของโควดิ -19 นอกจากส่งผลตอ่ สขุ ภาพรา่ งกายแลว้ ยงั ส่งผล
กระทบตอ่ สุขภาพจิตของผ้เู รียน ครูและบคุ คลทวั่ ไป ไม่ว่าจะเป็นความตืน่ กลัว ความวติ กกังวลการติดเช้ือ หรอื การ
ไม่สามารถเข้าถึงขอ้ มูลท่ีถูกตอ้ ง รวมทั้งการขาดความเชื่อม่ันในกระบวนการรักษา ประกอบกับต้องเผชิญกบั ภาวะ
วิกฤตเศรษฐกิจตกต่ำ ส่งผลกระทบต่อหลายครอบครัวและ ย่อมส่งผลกระทบต่อระบบการเรียนการสอนอย่าง
หลีกเลย่ี งไม่ได้ เกดิ ความเครยี ดสะสมจนอาจลกุ ลามเป็นปญั หาสขุ ภาพจิตที่รนุ แรงในอนาคต

ผู้ค้นพบปัญหาพบว่าการเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนก้าวสู่โลกกว้างของสังคมแห่งการเรียนรู้ในยุคไทย
แลนด์ 4.0 ในสานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด19 นั้น ต้องพัฒนาทักษะสำคัญแห่งอนาคตใหม่ ท่ีผู้สอน
ต้องมีท้ังทักษะและคุณลักษณะที่รองรับเข้าถึงเพ่ือสร้างนวัตกรรมบริหารจัดการช้ันเรียนแนวใหม่ โดยมุ่งเน้น
กิจกรรมและกระบวนการการเรียนร้ทู ่ีกระตนุ้ ให้เกิดความภาคภมู ิใจในตนเอง (Self-Esteem) ของผู้เรยี น ในอันที่
จะพัฒนาสู่เยาวชนยุคใหม่ได้อย่างต่อเนื่องและย่ังยืนให้สอดคล้องกับหลักการจัดการศึกษาตามมาตรา 22 ที่ว่า
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมี
ความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศกึ ษาตอ้ งส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาตแิ ละเตม็ ศักยภาพ

8

สาเหตุของปัญหา

COVID-19 ได้สร้างปัญหาและความยุ่งยากให้กับการศึกษาไทย แต่ในอีกมุมหน่ึงกลับเป็นตัวแปรในการ
สร้างการเปล่ียนแปลงให้กับการศึกษา และเป็นตัวขับเคล่ือนในการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในระบบการศึกษาไทย
ทุกฝ่ายในระบบการศึกษาไทยต่างช่วยกันทำระบบกลไกการศึกษาท่ีแข็งแรง เพื่อขับเคลื่อนการศึกษาท่ามกลาง
สถานการณ์ท่ีไม่พึงประสงค์ ความปกติใหม่ (New Normal) เป็นรูปแบบการดำเนินชีวิตอย่างใหม่ที่แตกต่างจาก
อดีต อันเนื่องจากมีบางส่ิงมากระทบจนแบบแผนและแนวทางปฏิบัติที่คนในสังคมคุ้นเคยอย่างเป็นปกติและเคย
คาดหมายล่วงหน้าได้ ต้องเปล่ียนแปลงไปสู่วิถีใหม่ภายใต้หลักมาตรฐานใหม่ท่ีไม่คุ้นเคยรูปแบบวิถีชีวิตใหม่น้ี
ประกอบดว้ ยวธิ ีคดิ วิธเี รียนรู้ วิธีสอื่ สาร วธิ ปี ฏิบัติ และการจัดการ การใช้ชวี ิตแบบใหม่เกิดข้ึน

ด้วยการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในยุคปัจจุบัน ท้ังครูและนักเรียนต้องพร้อมรับกับการเปล่ียนแปลงใน
รปู แบบกระบวนการจัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะครูถูกสังคมคาดหวังให้เปลี่ยนแปลงบทบาทเพื่อขับเคลื่อนให้
เกิดการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนให้เป็นบุคคลแห่งศตวรรษที่ 21 ครูจำเป็นต้องมีนวัตกรรมทางการศึกษา มี
ทกั ษะการสอนที่ทนั สมัย มเี ทคนคิ การสอนสมยั ใหม่ ตลอดจนทศั นคตขิ องตนเองตอ่ การเรยี นการสอนในยุคดจิ ทิ ัลที่
สามารถตอบสนองผู้เรียนท่ีแตกต่างและหลากหลายเพ่ือให้สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดขั้นสูงและมี
พฤติกรรมที่เปลยี่ นไปตามความต้องการในศตวรรษท่ี 21 สำหรบั การเรียนการสอนออนไลน์นัน้ จึงไม่ใช่แค่เพียงให้
ผ้เู รียนเข้ามาฟังการบรรยายเพียงอย่างเดียวเท่านั้นแต่ผู้สอนต้องมกี ารออกแบบกระบวนการเรยี นการสอนโดยให้
ผูเ้ รยี นได้มีส่วนร่วมและมีปฏิสัมพนั ธใ์ นการทำกจิ กรรมตา่ ง ๆดว้ ย

ความรแู้ ละหลักการทนี่ ำมาใช้
การเรียนรู้ตลอดชีวิตตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 นั่นคือ การเรียนรู้ตลอดชีวิตว่า

หมายถึง การศึกษาท่ีเกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย เพื่อใหส้ ามารถพฒั นาคณุ ภาพชีวิตได้อยา่ งต่อเนื่องตลอดชวี ิต

การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) การ
จดั การเรียนรูต้ ลอดชีวติ (Lifelong Learning) และการเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง (Self-Learning) คือ การรับรู้ความรู้
ทักษะ และเจตคติ ของบคุ คลจากการเรียนรู้ด้วยวิธเี รียนแบบตา่ งๆ และสามารรถทำใหบ้ ุคคลน้ันเกิดการพัฒนา
ตนเองได้

กจิ กรรมทท่ี ำ/ปฏิบตั ิ
กจิ กรรม Share ครูแลกเปลยี่ นประสบการณ์ในการจดั การเรยี นรซู้ ่ึงกันและกนั

-มสี อื่ นวตั กรรม (เทคนิคการสอน/วธิ ีการสอน/รปู แบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครูเรยี นรูป้ ระสบการณใ์ นการจัดการเรียนรรู้ ่วมกัน

-พจิ ารณา ส่ือ นวตั กรรม ทีม่ ีความสอดคลอ้ งกบั การแกป้ ญั หา
กิจกรรม Grow ทมี ครู PLC มีแนวทางทด่ี ีในการแกป้ ัญหาคุณภาพผ้เู รียนรว่ มกัน

-เลอื ก สอื่ นวัตกรรม ทม่ี ีความสอดคลอ้ งกับการแก้ปัญหา

9

ผลทไี่ ดร้ บั จากกิจกรรม
1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (รูปแบบกิจกรรมและกระบวนการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมผู้เรียนให้

เหน็ คุณค่าในตนเอง)
2. ได้แนวทางทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน โดยใช้แนวทางการเพิ่มประสบการ ณ์ท่ีประสบ

ความสำเร็จให้กบั วัยรุ่น การใช้ตัวแบบ การใช้คำพดู ชกั จูงและการกระตุ้นทางอารมณ์ จึงสามารถนำมาใชเ้ ป็นแนว
ทางการพัฒนาการเห็นคณุ คา่ ในตนเองของผู้เรยี นได้

การนำผลท่ไี ด้ไปใช้
1. มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่ีน่าสนใจ ที่เกิดขึ้นจากการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ของสมาชิก

เครือข่าย ท่ีเป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รปู ธรรม (สมาชกิ เครือข่ายมกี ารนำไปใชไ้ ดอ้ ย่างชดั เจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่ีน่าสนใจ ท่ีเกิดข้ึนของ
สมาชกิ เครือข่ายไปใช้ตลอดระยะท่ดี ำเนนิ โครงการทกุ คร้ังทม่ี ีการแลกเปลยี่ นเรียนรู้โดยสมาชกิ ทกุ คน

3. ผู้สอนหลักและสมาชกิ ในกลุม่ PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้มาอภิปรายเพ่ือ
แลกเปล่ียนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลกั เป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกบั ความสำเรจ็ จุดเด่นและจดุ ท่ีต้องพัฒนาใน
การจดั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

ปญั หา/อปุ สรรคที่พบ
-

กิจกรรม/ขน้ั ตอน/งานท่ีปฏบิ ัติได้ดี
รว่ มศึกษาปัญหา แนวทางแกไ้ ขปัญหา หรอื กระบวนการทจี่ ะใช้ในการแก้ไขปัญหา ดังน้ี

1) นางสาวขวญั หล้า เกตุฉมิ กล่าวว่าจากสภาวการณ์ปัจจุบนั ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยแี ละการเปล่ยี น
ผา่ นความรูเ้ ป็นไปอย่างรวดเร็วและไม่มีท่สี ิ้นสุด ในอนาคตชีวติ ประชากรจะยนื ยาวข้ึน แนวโน้มอายุคาดเฉลี่ย
ของประชากรท่สี ูงขึ้น ชวี ิตจะอยู่กบั เคร่ืองจักรท่ีฉลาดมากข้ึน ประชากรมีความสามารถทางวิสัยทัศน์มากข้ึน
ข้อมูลช่วยให้มีการมองเห็นและรู้ได้มากข้ึนรวดเร็วขึ้นด้วยระยะทาง เวลา สถานท่ีเปลี่ยนไปความสามารถใน
การเช่ือมต่อเครือข่ายทำให้ผู้คนกลายเป็นประชาคมโลก จึงนับเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญที่ผู้สอนต้องพัฒนา
ศักยภาพเพ่ือก้าวเข้าสู่ระบบการเรยี นการสอนแบบใหม่หรือเรียกว่า Education 4.0 ผสู้ อนต้องพัฒนาผู้เรียน
ให้พรอ้ มก้าวเข้าสูโ่ ลกแห่งการเรยี นรู้แบบใหม่ เตรยี มคนเพ่ืออนาคตท่ีต้องตอบโจทยก์ ารเปล่ียนแปลงทร่ี วดเร็ว
และมีพลวัตที่ทำให้องค์กรเปลี่ยนแปลงไปการปรับกระบวนการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับพฤติกรรมของ
ผูเ้ รียน ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นเครื่องมือกระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรียน ดังนั้น ผู้สอนยุคการศึกษา
4.0 ซ่ึงอยู่ร่วมกับสิ่งแวดล้อมของสื่อใหม่ จึงต้องอยู่บนการรู้เท่าทันส่ือ การแสวงหาความรู้ที่สามารถทำได้
รวดเร็วมากขึ้น เทคโนโลยีจึงปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต วิธีการทำงาน และโครงสร้างองค์กรเปลี่ยนไปจากเดิม การ
จัดการศึกษาที่มุ่งเน้นเฉพาะบุคคล การนำจุดเด่นความเก่งของผู้เรียนแต่ละคน การเก่ียวข้องกับสิ่งแวดล้อม
ทางดิจิทัลที่เปลี่ยนแปลง การรู้จักนำความรู้ท่ีมีอยู่มาปรับใช้ การเข้ากันได้กับระบบเดิมการมีต้นทุนต่ำ การ

10

เชื่อมโยงกับการพัฒนาความเจริญของมนุษย์ การเปลี่ยนกรอบความคิดสำหรับGeneration Z การมีทักษะ
ชีวิตจึงเป็นเร่อื งที่จำเป็นและสำคัญมากกว่าเน้ือหาวิชา กระบวนการเรยี นรจู้ ึงสำคัญมากกว่าหลักสูตร ไมค่ วร
เน้นที่กรอบความคิด ต้องสามารถบูรณาการความรู้กับชีวิตจริงและการใช้ประโยชน์ คิดได้เอง สร้างสรรค์
วเิ คราะห์ สังเคราะหไ์ ด้ จึงมีความสำคัญมากกว่าการทอ่ งจำสังคมแห่งการเรียนรู้ในยุคไทยแลนด์ 4.0 มุ่งเน้น
ให้ผ้เู รียนมิใชเ่ พียงแค่ได้รับความรู้ แต่จะต้องเป็นผู้สร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ การเตรียมผเู้ รยี นเข้าสู่สังคมโลก
แห่งการเรียนรู้ตอ้ งปลูกฝังทักษะ นิสัย เคร่ืองมือ และพื้นฐาน เพื่อให้สามารถเรียนรตู้ ลอดชีวิตได้ตัง้ แต่วัยเด็ก
และการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ต้องให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าความสำคัญและบทบาทของตนเอง รวมถึง
กิจกรรมการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต
2) นางสาวอโนชา อุทมุ สกลุ รตั น์ เสนอว่าสร้างบรรยากาศที่สนับสนุนใหเ้ กดิ การเรียนรู้ตลอดชีวิต สร้างคนใหม้ พี ื้น
ฐานความรคู้ วามสามารถ นิสัยทเ่ี พยี งพอเพื่อการเรยี นรูต้ ลอดชีวติ ใช้การกระตนุ้ สนับสนุน สร้างพลังอำนาจ
และความต่อเนื่อง เพ่ือส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างเป็นระบบและเกิดสังคมแห่งการเรยี นรู้ท่ีพึง
ประสงค์ไดต้ ่อไป จงึ ต้องพัฒนาทักษะการเรียนรู้ท่ีจำเป็นในศตวรรษท่ี 21 เปน็ ทักษะท่ีจำเป็นอย่างย่ิงทีผ่ ู้เรยี น
ต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3Rsx 8Cs (แผนการพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2574) ซึ่ง
3Rs คือการอ่าน (Reading) การเขียน (wRiting) และการคิดเลข (aRithematics) ส่วนทักษะ 8Cs ได้แก่
ทักษะการเป็นผู้นำผู้ตามที่ดี (Leadership) ทักษะความรู้ความเข้าใจใช้ดิจิทัล(Digital Literacy) ทักษะการ
สื่อสาร(Communication) ทักษะการรู้จักตัวตนและอยู่ร่วมกับผู้อื่น(Emotional Intelligence) ทักษะการ
เป็นผู้ริเร่ิมก่อการ (Entrepreneurship) ทักษะความเป็นนานาชาติ(Global Citizen) ทักษะการแก้ปัญหา
(Problem Solving) ทักษะการทำงานเป็นทีม (Teamwork)
3) นางสาวขวัญหล้า เกตุฉมิ กลา่ วเพิ่มวา่ การจัดการศกึ ษาในโลกยคุ ไทยแลนด์ 4.0 ควรมุง่ ไปในทศิ ทางของ
ความสุขในการเรียนการสอนอย่างมีเป้าหมาย เน้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
อย่างต่อเน่ืองและตลอดชีวิต โดยยึดหลัก “สอนน้อย เรียนมาก / Teach Less Learn More.” เพื่อให้
การศึกษาไทยก้าวไปสู่เป้าหมายในยุคความรู้ จึงเป็นการเปลี่ยนวธิ ีการศึกษาเปลี่ยนแปลงเป้าหมายจากความรู้
(Knowledge) ไปสู่ทักษะ (Skill or practices) การเรียนรู้เนื้อหาหลายส่วนท่ีไม่จำเป็นต้องสอน ผู้เรียน
สามารถเรียนรู้ได้เอง จึงเป็นเร่ืองสำคัญในการสร้างเสริมด้านทักษะและเจตคติในการเรียนรู้ให้เกิดข้ึนกับตัว
ผเู้ รียนให้ได้ ในด้านพลังสมอง 5 ด้าน(Cognitive mind) ของผู้เรียนท่ีจำเป็นต้องพัฒนา หมายถึง สมองด้าน
วิชาและวินัย (Disciplined mind) สมองด้านสังเคราะห์ (Synthesizing mind) สมองด้านสร้างสรรค์
(Creating mind) สมองด้านเคารพให้เกียรติ (Respectful mind) และสมองด้านจริยธรรม (Ethical mind)
การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมองท้ัง 5 น้ีต้องเรียนรู้ทุกด้านไปพร้อมๆกัน จึงต้องเป็นการเรยี นรู้แบบบูรณา
การที่ไม่ใช่เรียนจากการสอน แต่สามารถเรียนรู้ได้จากการลงมือปฏิบัติเอง ดังน้ัน ผู้สอนจงึ มีความสำคัญใน
การออกแบบการเรยี นรู้ กำหนดรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ จัดแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มย่อยโดยคละ
ความสามารถดา้ นต่างๆ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเพศ เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมเปิดโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนได้
ทำกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกนั ผสู้ อนออกแบบกจิ กรรมส่งเสริมใหม้ กี ารแลกเปล่ยี นความคิดเห็น การชว่ ยเหลือ
และการสร้างความคิดเร่ืองความรับผิดชอบร่วมกัน เพื่อให้สมาชิกทุกคนประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่
กำหนดร่วมกัน

11

4) นางสาวรัศมี กุลสุวรรณ เสนอการนำ“อิทธิบาท 4" แนวทางสู่ความสำเร็จทางการเรียนเพื่อให้ประสบ
ความสำเร็จที่ประกอบด้วยแนวปฏิบัติ 4 ข้อคือ ฉันทะ (การเต็มใจ) วิริยะ (การแข็งใจ) จิตตะ (การเข้าถึง)
วิมังสา (การเขา้ ใจ ) อันเปน็ กระบวนการท่เี ช่ือมโยงกันจึงจะนำสู่ความสำเร็จในชีวติ และการเรียนได้

5) นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ เสนอแนะแนวทางการแก้ปัญหา โดยช้ีแนะด้วยวาจาปรับพฤติกรรมความ
รบั ผิดชอบตอ่ การเรยี นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี1่

6) นายอรรถพล ภูทอง นำเสนอรูปแบบการจัดการเรียนร้โู ดยใช้เทคโนโลยี ในการสร้างบทเรียนออนไลน์ ทำให้
ผู้เรียนสามารถเรียนรูน้ อกเวลาหรือนอกห้องเรียนได้ดว้ ยตนเอง อีกท้ังยงั เป็นการเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้ว่าขณะนี้มีเทคโนโลยี มีความก้าวหนา้ กา้ วไกลไปในลักษณะรูปแบบได้บ้างทั้งทางดา้ นวัสดุ อุปกรณ์ และ
วิธีใหม่ ๆ ทำให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ และทักษะในการใช้เทคโนโลยี มาเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ของ
ตนเอง

7) นางสาวกาญจนา คงทน การใช้กิจกรรมกลุ่มเพอ่ื พฒั นาความรับผิดชอบของนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2

สิ่งทต่ี อ้ งพัฒนาตอ่ ไป
1.สรา้ งการจัดการเรียนรูต้ ลอดชีวติ (Lifelong Learning) ในรายวิชาที่ตนเองรบั ผดิ ชอบ

ผลการประเมินการแกป้ ญั หา

 กระบวนการแก้ไขปญั หา ประสบความสำเรจ็
 กระบวนการแกไ้ ขปญั หา ไมป่ ระสบความสำเร็จ
เนอ่ื งจาก -
ขอ้ เสนอแนะผรู้ ายงานการบนั ทกึ กิจกรรม

....................................................นัดหมายครั้งต่อไป วนั ท่ี 18..ม.ิ ย...64..................................

ลงชือ่ ...............................................................ผรู้ ายงาน
(นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรัตน์)

ความคดิ เหน็ / ขอ้ เสนอแนะ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงช่ือผรู้ ับรองกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ (Professional Learning Community

ลงชือ่ ...............................................................................
(นายจงจัด จนั ทบ)

ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม

12

ภาพการมสี ่วนรว่ ม

13

แบบบันทกึ กจิ กรรม
ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานครเขต 1

ชอ่ื กลุ่มกจิ กรรม คร้ังที่ ...2................................................................

 วิชาการ  บุคลากร ภาคเรยี นท.ี่ ...1.......ปีการศกึ ษา.....2564........
วันเดอื นปที ่จี ดั กิจกรรม.......18..มิ.ย...64................
 งบประมาณ  บริหารทวั่ ไป สถานท่ี...ประชุมออนไลน์ผา่ นโปรแกรม Meet......

 กจิ การนกั เรยี น  พฒั นาผู้เรียน เวลา.......15.10-18.10.น...............................
จำนวน.................3.............................ชั่วโมง
 กจิ กรรม Lifelong Learning ในการจดั การ

เรยี นรู้ เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเรียนรู้ของผ้เู รียนแบบ

ยั่งยนื

ชอ่ื กิจกรรม
การพัฒนาการจดั การเรียนรู้ โดยใชก้ ารจดั การเรียนรู้แบบ Lifelong Learning

Community ผรู้ ว่ มอภิปราย

Model Teacher ผู้พบปัญหา นางสาวขวญั หลา้ เกตุฉิม

Buddy Teacher ผรู้ ่วมอภิปราย

1. นางสาวขวญั หล้า เกตฉุ มิ ประธานกรรมการ

2. นางสาวรัศมี กุลสุวรรณ กรรมการ

3. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

4. นายอรรถพล ภูทอง กรรมการ

5. นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ กรรมการ/เลขานุการ

Mentor Coaching ผู้นำอภิปราย ผอ.จงจดั จนั ทบ

Recording ผบู้ ันทกึ ข้อมลู นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรัตน์

14

แบบบันทกึ กิจกรรม
ชุมชนแห่งการเรียนร้ทู างวชิ าชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ประเดน็ ปัญหาทพี่ บ
การเห็นคุณค่าในตนเองมีความสำคัญต่อทุกช่วงชีวิตของมนุษย์ บุคคลที่เห็นคุณค่าในตัวเองต่ำหรือมี

ความร้สู ึกท่ไี ม่ดตี ่อตนเอง ก็เปรียบเสมือนเป็นคนพิการทางบุคลิกภาพ เช่นเดียวกับการพิการทางร่างกาย ซึง่ ทำให้
ประสบความลม้ เหลวในชวี ิตทุกๆ ด้าน การเหน็ คณุ ค่าในตนเองจึงมีความสำคัญต่อทุกคนทุกช่วงชวี ติ เป็นสิ่งสำคัญ
ที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมที่มีประสิทธิภาพ ทำให้มนุษย์สามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าและสามารถบ่งชี้คุณภาพ
ชีวิตของบุคคลได้ว่าเป็นอย่างไรบุคคลจะแสดงระดับของการเห็นคุณค่าในตนเองท่ีแตกต่างกันออกมาโดยรู้ตัว
หรือไม่รู้ตัว ด้วยลักษณะท่าทางน้ำเสียง คําพูด และการกระทำ บุคคลที่มีการเห็นคุณค่าในตนเองในระดับสูงจะ
สามารถสร้างสรรค์ความคดิ หรอื การกระทำทีจ่ ะเผชิญความเครยี ดต่างๆ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ นอกจากนกี้ ารเหน็
คณุ ค่าในตนเองยังเป็นปัจจยั สำคัญในการปรับตัวทางอารมณ์ทางสังคมและทางการเรียนรู้ เป็นจดุ เร่ิมตน้ ของการ
รับรชู้ ีวิตท่ีมผี ลต่อความคดิ ความปรารถนา ค่านยิ ม อารมณแ์ ละการต้ังเปา้ หมายในชีวิตของแต่ละบคุ คลอันมผี ลต่อ
การแสดงพฤตกิ รรม จนกระท้ังกลายเป็นลักษณะของบุคลิกภาพและการประสบความสำเร็จหรอื ความล้มเหลวทั้ง
ในชีวิต ดังน้ันการเห็นคุณค่าในตนเองจึงเป็นสิ่งสำคัญท่ีจะพัฒนาบุคคลไปสู่การเป็นบุคคลที่สมบูรณ์ได้ในที่สุด
(พรรณราย ทรพั ยะประภา, 2548)

สถานการณป์ ัญหาทวั่ โลกจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 นอกจากส่งผลตอ่ สุขภาพรา่ งกายแล้ว ยังสง่ ผล
กระทบต่อสุขภาพจิตของผูเ้ รียน ครแู ละบคุ คลทวั่ ไป ไมว่ ่าจะเป็นความต่นื กลัว ความวติ กกังวลการติดเช้ือ หรอื การ
ไม่สามารถเขา้ ถึงข้อมูลท่ีถกู ต้อง รวมทั้งการขาดความเช่ือม่ันในกระบวนการรักษา ประกอบกับต้องเผชิญกับภาวะ
วิกฤตเศรษฐกิจตกต่ำ ส่งผลกระทบต่อหลายครอบครัวและ ย่อมส่งผลกระทบต่อระบบการเรียนการสอนอย่าง
หลกี เลย่ี งไมไ่ ด้ เกิดความเครียดสะสมจนอาจลกุ ลามเปน็ ปญั หาสุขภาพจติ ทรี่ นุ แรงในอนาคต

ผู้ค้นพบปัญหาพบว่าการเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนก้าวสู่โลกกว้างของสังคมแห่งการเรียนรู้ในยุคไทย
แลนด์ 4.0 ในสานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด19 น้ัน ต้องพัฒนาทักษะสำคัญแห่งอนาคตใหม่ ที่ผู้สอน
ต้องมีท้ังทักษะและคุณลักษณะที่รองรับเข้าถึงเพื่อสร้างนวัตกรรมบริหารจัดการช้ันเรียนแนวใหม่ โดยมุ่งเน้น
กิจกรรมและกระบวนการการเรียนรทู้ ่ีกระต้นุ ให้เกดิ ความภาคภมู ิใจในตนเอง (Self-Esteem) ของผู้เรยี น ในอนั ที่
จะพัฒนาสู่เยาวชนยุคใหม่ได้อย่างต่อเนื่องและย่ังยืนให้สอดคล้องกับหลักการจัดการศึกษาตามมาตรา 22 ท่ีว่า
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมี
ความสำคัญทส่ี ดุ กระบวนการจดั การศึกษาตอ้ งส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รยี นสามารถพฒั นาตามธรรมชาติและเตม็ ศกั ยภาพ

15

สาเหตุของปญั หา

COVID-19 ได้สร้างปัญหาและความยุ่งยากให้กับการศึกษาไทย แต่ในอีกมุมหน่ึงกลับเป็นตัวแปรในการ
สร้างการเปลย่ี นแปลงให้กับการศึกษา และเป็นตัวขับเคลื่อนในการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในระบบการศึกษาไทย
ทุกฝ่ายในระบบการศึกษาไทยต่างช่วยกันทำระบบกลไกการศึกษาที่แข็งแรง เพ่ือขับเคล่ือนการศึกษาท่ามกลาง
สถานการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ความปกติใหม่ (New Normal) เป็นรูปแบบการดำเนินชีวิตอย่างใหม่ที่แตกต่างจาก
อดีต อันเน่ืองจากมีบางส่ิงมากระทบจนแบบแผนและแนวทางปฏิบัติที่คนในสังคมคุ้นเคยอย่างเป็นปกติและเคย
คาดหมายล่วงหน้าได้ ต้องเปลี่ยนแปลงไปสู่วิถีใหม่ภายใต้หลักมาตรฐานใหม่ที่ไม่คุ้นเคยรูปแบบวิถีชีวิตใหม่นี้
ประกอบด้วยวธิ ีคิด วิธีเรยี นรู้ วธิ ีสอ่ื สาร วธิ ปี ฏบิ ตั ิ และการจัดการ การใช้ชวี ิตแบบใหม่เกิดข้นึ

ดว้ ยการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วในยุคปัจจุบัน ท้ังครูและนักเรียนต้องพร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลงใน
รปู แบบกระบวนการจัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะครูถูกสังคมคาดหวังให้เปลี่ยนแปลงบทบาทเพื่อขับเคลื่อนให้
เกิดการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนให้เป็นบุคคลแห่งศตวรรษท่ี 21 ครูจำเป็นต้องมีนวัตกรรมทางการศึกษา มี
ทักษะการสอนที่ทันสมยั มีเทคนคิ การสอนสมยั ใหม่ ตลอดจนทศั นคติของตนเองตอ่ การเรยี นการสอนในยุคดจิ ิทัลท่ี
สามารถตอบสนองผู้เรียนที่แตกต่างและหลากหลายเพ่ือให้สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดขั้นสูงและมี
พฤติกรรมท่ีเปล่ียนไปตามความตอ้ งการในศตวรรษที่ 21 สำหรบั การเรียนการสอนออนไลน์นั้นจงึ ไม่ใช่แค่เพียงให้
ผเู้ รียนเข้ามาฟังการบรรยายเพียงอย่างเดียวเท่านั้นแต่ผู้สอนต้องมกี ารออกแบบกระบวนการเรียนการสอนโดยให้
ผเู้ รียนได้มสี ่วนรว่ มและมีปฏิสัมพนั ธใ์ นการทำกิจกรรมต่าง ๆด้วย

ความรแู้ ละหลักการที่นำมาใช้
การเรียนรู้ตลอดชีวิตตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 นั่นคือ การเรียนรู้ตลอดชีวิตว่า

หมายถึง การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศยั เพ่ือใหส้ ามารถพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ได้อยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชีวติ

การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) การ
จัดการเรียนรู้ตลอดชีวติ (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (Self-Learning) คือ การรบั รคู้ วามรู้
ทักษะ และเจตคติ ของบุคคลจากการเรียนรู้ด้วยวธิ เี รียนแบบต่างๆ และสามารรถทำให้บคุ คลน้ันเกิดการพัฒนา
ตนเองได้

กิจกรรมทที่ ำ/ปฏิบัติ
กจิ กรรม Share ครูแลกเปลี่ยนประสบการณใ์ นการจดั การเรียนรซู้ ง่ึ กันและกัน
-มสี ่อื นวตั กรรม (เทคนคิ การสอน/วธิ กี ารสอน/รูปแบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครเู รียนรู้ประสบการณ์ในการจดั การเรยี นรู้ร่วมกัน
-พจิ ารณา สื่อ นวัตกรรม ท่มี ีความสอดคล้องกับการแกป้ ญั หา
กิจกรรม Grow ทมี ครู PLC มแี นวทางท่ีดใี นการแก้ปญั หาคุณภาพผเู้ รียนรว่ มกนั
-เลือก ส่อื นวัตกรรม ทม่ี ีความสอดคล้องกบั การแก้ปญั หา

16

ผลท่ีได้รบั จากกิจกรรม
1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (รูปแบบกิจกรรมและกระบวนการเรียนการสอนที่ส่งเสริมผู้เรียนให้

เห็นคณุ ค่าในตนเอง)
2. ได้แนวทางทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน โดยใช้แนวทางการเพ่ิมประสบการ ณ์ท่ีประสบ

ความสำเร็จให้กบั วัยร่นุ การใช้ตัวแบบ การใช้คำพดู ชกั จูงและการกระตุ้นทางอารมณ์ จึงสามารถนำมาใช้เป็นแนว
ทางการพัฒนาการเห็นคุณคา่ ในตนเองของผ้เู รยี นได้

การนำผลท่ีได้ไปใช้
1. มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่ีน่าสนใจ ท่ีเกิดขึ้นจากการแลกเปล่ียนเรยี นรู้ของสมาชิก

เครือข่าย ที่เป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รปู ธรรม (สมาชกิ เครอื ข่ายมกี ารนำไปใชไ้ ด้อยา่ งชัดเจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ที่เกิดข้ึนของ
สมาชิกเครอื ขา่ ยไปใช้ตลอดระยะทีด่ ำเนนิ โครงการทกุ ครั้งท่มี ีการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้โดยสมาชกิ ทุกคน

3. ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบตั ิการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้มาอภิปรายเพื่อ
แลกเปลี่ยนความคิด โดยมีครผู ู้สอนหลกั เป็นผู้สะท้อนความคิดเก่ียวกบั ความสำเร็จ จุดเดน่ และจดุ ที่ต้องพัฒนาใน
การจดั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

ปัญหา/อปุ สรรคทีพ่ บ
-

กิจกรรม/ข้นั ตอน/งานทป่ี ฏิบตั ิไดด้ ี
ร่วมศกึ ษาปญั หา แนวทางแกไ้ ขปญั หา หรือกระบวนการทจ่ี ะใช้ในการแกไ้ ขปญั หา ดังนี้

1) นางสาวขวญั หล้า เกตฉุ มิ อธิบายถงึ รูปแบบการเรียนการสอน วิธกี าร และกิจกรรมต่างๆ ที่สามารถ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าในตนเอง สรุปได้ดงั นี้
1. รปู แบบการเรียนการสอนแบบ Adult Learning
2. รูปแบบการเรียนการสอนแบบเพอ่ื นชว่ ยเพ่ือน (Peer Assisted Learning)
3. รปู แบบการเรยี นการสอนโดยใชค้ อมพิวเตอรช์ ่วยสอน (Computer-Assisted Instruction:
CAI)
4. รปู แบบการเรยี นการสอนโดยใชส้ ื่ออื่นๆ ประกอบการสอน
รูปแบบการเรยี นการสอน กระบวนการเรยี นการสอน และกิจกรรมการเรยี นการสอน ดังท่กี ล่าวมาน้ี มีผล

การศึกษาวิจัยพบว่า สามารถช่วยเพ่ิมและสร้างเสริมการเห็นคุณค่าในตนเองของผู้เรียน ซึ่งการเห็นคุณค่าใน
ตนเองเป็นเร่อื งสำคัญที่ต้องคํานึงในการจัดการเรียนการสอน เน่ืองจากเปา้ หมายของการศึกษาไม่ได้มุ่งเน้นเฉพาะ
ด้านวิชาการเพียงอย่างเดียว แต่จำเป็นต้องพัฒนาผู้เรียนในทุกด้านท้ังทางร่างกาย ทางอารมณ์ทางสังคม และ
สติปัญญา เพ่ือเตรียมให้พร้อมจะทำประโยชน์ให้สังคมต่อไป สามารถที่จะเผชิญหน้าและแก้ปัญหา โดยพยายาม

17

สร้างคนใหเ้ ห็นคุณค่าในตนเองมงุ่ มน่ั ทำใหบ้ รรลตุ ามเป้าหมายท่ีวางไว้ให้สำเร็จได้พรอ้ มท่ีจะกา้ วสูโ่ ลกกว้างแห่งการ
เรียนรใู้ นยคุ ไทยแลนด์ 4.0 ตอ่ ไป
2) นางสาวกาญจนา คงทน กล่าวว่าการเรยี นการสอนออนไลน์ของโรงเรียนเข้าช่วงสัปดาหท์ ี่ 2 แล้ว ยงั คงมี
นักเรียนหลายคนที่ยังไม่เข้าเรียนโดยมหี ลายเหตุปัจจัยส่วนใหญ่เป็นเรื่องของระบบ Classroom ที่นักเรียนยังไม่
คนุ้ ชิน และมีอกี หลายคนทเ่ี ข้าใจว่าอีกไม่นานจะเข้าสกู่ ารเรยี นการสอนท่ีเป็นปกตไิ ด้
3) นางสาวรศั มี กุลสวุ รรณ และนางสาวกาญจนา คงทน พบปัญหาทเ่ี กดิ คลา้ ยกันคอื นักเรียนหลายคนท่ียังไม่
เข้าเรียนโดยมีหลายเหตุปัจจยั ส่วนใหญ่เป็นเร่ืองของระบบ Classroom ท่ีนกั เรียนยังไม่คุน้ ชิน และมอี ีกหลายคนท่ี
เข้าใจว่าอีกไมน่ านจะเขา้ สู่การเรียนการสอนท่เี ป็นปกตไิ ด้
4) นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์ เสนอแนะแนวทางการแก้ปญั หา โดยชี้แนะด้วยวาจาทำความเข้าใจกบั นกั เรยี น
ท่ีรับผิดชอบผ่านระบบดแู ลในคาบโฮมรูมนักเรยี น
5) นายอรรถพล ภทู อง เสนอแนวทางทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน โดยใช้แนวทางการเพ่ิมประสบการณ์ที่
ประสบความสำเร็จให้กับวัยรุ่น การใช้ตัวแบบ การใช้คําพูดชักจูงและการกระตุ้นทางอารมณ์จึงสามารถนำมาใช้
เป็นแนวทางการพัฒนาการเห็นคณุ คา่ ในตนเองของนักเรียนได้
6) นางสาวขวญั หลา้ เกตฉุ ิม กลา่ ววา่ ในสัปดาหต์ ่อไปในการจัดการเรียนการสอนใหค้ รเู ริม่ ใช้เทคนิควธิ ีการ
ดังทีก่ ล่าวในข้างต้น ทำข้อตกลงบอกกฎกติกาพร้อมให้นักเรยี นในชัน้ ที่รับผิดชอบร่วมกันเลือกรปู แบบการวัดและ
ประเมินผล

ส่ิงทต่ี ้องพัฒนาตอ่ ไป
1.สรา้ งการจัดการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต (Lifelong Learning) ในรายวชิ าทีต่ นเองรับผดิ ชอบ

ผลการประเมนิ การแกป้ ญั หา

 กระบวนการแก้ไขปัญหา ประสบความสำเรจ็
 กระบวนการแก้ไขปัญหา ไม่ประสบความสำเร็จ
เน่ืองจาก -
ขอ้ เสนอแนะผรู้ ายงานการบนั ทึกกิจกรรม

....................................................นดั หมายคร้งั ตอ่ ไป วนั ที่ 25..ม.ิ ย...64..................................

ลงชือ่ ...............................................................ผรู้ ายงาน
(นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์)

18

ความคดิ เห็น / ขอ้ เสนอแนะ ผู้บริหารสถานศกึ ษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ผูร้ บั รองกจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community
ลงชอื่ ...............................................................................
(นายจงจัด จันทบ)
ตำแหนง่ ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

19

ภาพการมสี ่วนร่วม

20

แบบบนั ทึกกจิ กรรม
ชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานครเขต 1

ชอ่ื กลุ่มกิจกรรม คร้ังท่ี ...3................................................................
ภาคเรยี นที.่ ...1.......ปกี ารศึกษา.....2564........
 วชิ าการ  บคุ ลากร
วันเดอื นปีที่จัดกิจกรรม.......25..มิ.ย...64................
 งบประมาณ  บริหารทว่ั ไป สถานท่.ี ..ประชุมออนไลน์ผา่ นโปรแกรม Meet......

 กิจการนักเรยี น  พัฒนาผเู้ รียน เวลา.......15.10-18.10.น...............................
จำนวน.................3.............................ชั่วโมง
 กจิ กรรม Lifelong Learning ในการจดั การ

เรียนรู้ เพอื่ พัฒนาทักษะการเรยี นรูข้ องผู้เรยี นแบบ

ยั่งยนื

ชอ่ื กจิ กรรม
การพัฒนาการจดั การเรียนรู้ โดยใชก้ ารจัดการเรยี นรแู้ บบ Lifelong Learning

Community ผรู้ ว่ มอภิปราย

Model Teacher ผพู้ บปัญหา นางสาวขวญั หล้า เกตุฉมิ

Buddy Teacher ผรู้ ่วมอภปิ ราย

1. นางสาวขวญั หล้า เกตฉุ มิ ประธานกรรมการ

2. นางสาวรัศมี กุลสวุ รรณ กรรมการ

3. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

4. นายอรรถพล ภทู อง กรรมการ

5. นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ กรรมการ/เลขานุการ

Mentor Coaching ผ้นู ำอภิปราย ผอ.จงจัด จนั ทบ

Recording ผบู้ ันทึกข้อมลู นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรัตน์

21

แบบบนั ทึกกจิ กรรม
ชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ประเดน็ ปัญหาท่ีพบ
การเห็นคุณค่าในตนเองมีความสำคัญต่อทุกช่วงชีวิตของมนุษย์ บุคคลท่ีเห็นคุณค่าในตัวเองต่ำหรือมี

ความร้สู ึกท่ไี ม่ดีต่อตนเอง ก็เปรยี บเสมือนเปน็ คนพิการทางบุคลิกภาพ เช่นเดียวกับการพิการทางร่างกาย ซง่ึ ทำให้
ประสบความลม้ เหลวในชีวิตทุกๆ ด้าน การเห็นคุณคา่ ในตนเองจงึ มีความสำคัญต่อทุกคนทุกชว่ งชีวติ เปน็ สิ่งสำคัญ
ที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมท่ีมีประสิทธิภาพ ทำให้มนุษย์สามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าและสามารถบ่งช้ีคุณภาพ
ชีวิตของบุคคลได้ว่าเป็นอย่างไรบุคคลจะแสดงระดับของการเห็นคุณค่าในตนเองท่ีแตกต่างกันออกมาโดยรู้ตัว
หรือไม่รู้ตัว ด้วยลักษณะท่าทางน้ำเสียง คําพูด และการกระทำ บุคคลที่มีการเห็นคุณค่าในตนเองในระดับสูงจะ
สามารถสร้างสรรค์ความคดิ หรือการกระทำทจ่ี ะเผชิญความเครียดตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ นอกจากน้ีการเห็น
คณุ ค่าในตนเองยังเปน็ ปัจจยั สำคัญในการปรับตัวทางอารมณ์ทางสังคมและทางการเรียนรู้ เป็นจุดเร่ิมตน้ ของการ
รับรชู้ ีวิตท่ีมผี ลตอ่ ความคดิ ความปรารถนา คา่ นิยม อารมณแ์ ละการต้ังเปา้ หมายในชวี ิตของแตล่ ะบุคคลอันมีผลต่อ
การแสดงพฤติกรรม จนกระท้ังกลายเป็นลักษณะของบุคลิกภาพและการประสบความสำเร็จหรือความล้มเหลวท้ัง
ในชีวิต ดังน้ันการเห็นคุณค่าในตนเองจึงเป็นส่ิงสำคัญที่จะพัฒนาบุคคลไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ได้ในที่สุด
(พรรณราย ทรพั ยะประภา, 2548)

สถานการณ์ปัญหาท่ัวโลกจากการแพร่ระบาดของโควดิ -19 นอกจากส่งผลต่อสุขภาพรา่ งกายแลว้ ยงั สง่ ผล
กระทบต่อสุขภาพจติ ของผ้เู รยี น ครูและบุคคลทว่ั ไป ไม่วา่ จะเป็นความต่ืนกลัว ความวิตกกังวลการติดเช้ือ หรือการ
ไม่สามารถเข้าถงึ ข้อมูลทถ่ี ูกตอ้ ง รวมท้ังการขาดความเชื่อมั่นในกระบวนการรักษา ประกอบกับต้องเผชิญกับภาวะ
วิกฤตเศรษฐกิจตกต่ำ ส่งผลกระทบต่อหลายครอบครัวและ ย่อมส่งผลกระทบต่อระบบการเรียนการสอนอย่าง
หลกี เลย่ี งไม่ได้ เกิดความเครยี ดสะสมจนอาจลุกลามเป็นปญั หาสุขภาพจิตที่รนุ แรงในอนาคต

ผู้ค้นพบปัญหาพบว่าการเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนก้าวสู่โลกกว้างของสังคมแห่งการเรียนรู้ในยุคไทย
แลนด์ 4.0 ในสานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด19 น้ัน ต้องพัฒนาทักษะสำคัญแห่งอนาคตใหม่ ที่ผู้สอน
ต้องมีท้ังทักษะและคุณลักษณะที่รองรับเข้าถึงเพื่อสร้างนวัตกรรมบริหารจัดการชั้นเรียนแนวใหม่ โดยมุ่งเน้น
กิจกรรมและกระบวนการการเรียนร้ทู ่ีกระตนุ้ ให้เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง (Self-Esteem) ของผู้เรียน ในอนั ที่
จะพัฒนาสู่เยาวชนยุคใหม่ได้อย่างต่อเน่ืองและยั่งยืนให้สอดคล้องกับหลักการจัดการศึกษาตามมาตรา 22 ท่ีว่า
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมี
ความสำคัญท่สี ุด กระบวนการจดั การศกึ ษาต้องสง่ เสรมิ ใหผ้ ูเ้ รียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเตม็ ศักยภาพ

22

สาเหตขุ องปญั หา

COVID-19 ได้สร้างปัญหาและความยุ่งยากให้กับการศึกษาไทย แต่ในอีกมุมหน่ึงกลับเป็นตัวแปรในการ
สร้างการเปลย่ี นแปลงให้กับการศึกษา และเป็นตัวขับเคล่ือนในการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในระบบการศึกษาไทย
ทุกฝ่ายในระบบการศึกษาไทยต่างช่วยกันทำระบบกลไกการศึกษาที่แข็งแรง เพ่ือขับเคลื่อนการศึกษาท่ามกลาง
สถานการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ความปกติใหม่ (New Normal) เป็นรูปแบบการดำเนินชีวิตอย่างใหม่ที่แตกต่างจาก
อดีต อันเนื่องจากมีบางสิ่งมากระทบจนแบบแผนและแนวทางปฏิบัติที่คนในสังคมคุ้นเคยอย่างเป็นปกติและเคย
คาดหมายล่วงหน้าได้ ต้องเปลี่ยนแปลงไปสู่วิถีใหม่ภายใต้หลักมาตรฐานใหม่ที่ไม่คุ้นเคยรูปแบบวิถีชีวิตใหม่นี้
ประกอบดว้ ยวธิ ีคิด วิธเี รยี นรู้ วิธีสือ่ สาร วธิ ปี ฏบิ ตั ิ และการจัดการ การใชช้ ีวิตแบบใหมเ่ กิดขนึ้

ด้วยการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วในยุคปัจจุบัน ท้ังครูและนักเรียนต้องพร้อมรับกับการเปล่ียนแปลงใน
รปู แบบกระบวนการจัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะครูถูกสังคมคาดหวังให้เปลี่ยนแปลงบทบาทเพื่อขับเคล่ือนให้
เกิดการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนให้เป็นบุคคลแห่งศตวรรษที่ 21 ครูจำเป็นต้องมีนวัตกรรมทางการศึกษา มี
ทักษะการสอนท่ีทนั สมัย มีเทคนิคการสอนสมยั ใหม่ ตลอดจนทัศนคติของตนเองตอ่ การเรยี นการสอนในยุคดจิ ิทลั ท่ี
สามารถตอบสนองผู้เรียนที่แตกต่างและหลากหลายเพ่ือให้สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดขั้นสูงและมี
พฤติกรรมท่ีเปล่ียนไปตามความตอ้ งการในศตวรรษท่ี 21 สำหรบั การเรียนการสอนออนไลน์น้นั จึงไม่ใช่แค่เพียงให้
ผเู้ รียนเข้ามาฟังการบรรยายเพียงอย่างเดียวเท่านั้นแต่ผู้สอนต้องมีการออกแบบกระบวนการเรยี นการสอนโดยให้
ผเู้ รียนไดม้ สี ่วนร่วมและมปี ฏสิ ัมพันธ์ในการทำกิจกรรมต่าง ๆด้วย

ความรแู้ ละหลักการทน่ี ำมาใช้
การเรียนรู้ตลอดชีวิตตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 นั่นคือ การเรียนรู้ตลอดชีวิตว่า

หมายถึง การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศยั เพ่ือใหส้ ามารถพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ไดอ้ ยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชีวติ

การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) การ
จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (Self-Learning) คือ การรบั รูค้ วามรู้
ทักษะ และเจตคติ ของบคุ คลจากการเรียนรู้ด้วยวธิ เี รียนแบบต่างๆ และสามารรถทำให้บคุ คลนั้นเกิดการพัฒนา
ตนเองได้

กิจกรรมที่ทำ/ปฏบิ ัติ
กิจกรรม Share ครูแลกเปลี่ยนประสบการณใ์ นการจดั การเรยี นรซู้ ง่ึ กันและกัน

-มสี ื่อ นวัตกรรม (เทคนคิ การสอน/วธิ ีการสอน/รปู แบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครเู รยี นรปู้ ระสบการณ์ในการจัดการเรยี นรู้รว่ มกัน

-พิจารณา สื่อ นวัตกรรม ท่ีมคี วามสอดคล้องกับการแกป้ ัญหา
กิจกรรม Grow ทมี ครู PLC มแี นวทางที่ดใี นการแกป้ ญั หาคุณภาพผเู้ รียนรว่ มกนั

-เลอื ก ส่อื นวัตกรรม ท่มี ีความสอดคล้องกบั การแก้ปญั หา

23

ผลที่ไดร้ ับจากกิจกรรม
1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (รูปแบบกิจกรรมและกระบวนการเรียนการสอนที่ส่งเสริมผู้เรียนให้

เหน็ คุณคา่ ในตนเอง)
2. ได้แนวทางทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน โดยใช้แนวทางการเพ่ิมประสบการ ณ์ท่ีประสบ

ความสำเร็จให้กับวยั ร่นุ การใช้ตัวแบบ การใช้คำพดู ชักจูงและการกระตุ้นทางอารมณ์ จึงสามารถนำมาใชเ้ ป็นแนว
ทางการพฒั นาการเหน็ คุณค่าในตนเองของผู้เรียนได้

การนำผลที่ไดไ้ ปใช้
1. มอี งค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ที่เกิดข้ึนจากการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ของสมาชิก

เครือข่าย ท่ีเป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รูปธรรม (สมาชกิ เครือข่ายมีการนำไปใช้ไดอ้ ยา่ งชัดเจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ท่ีเกิดขึ้นของ
สมาชกิ เครือขา่ ยไปใชต้ ลอดระยะทดี่ ำเนินโครงการทุกครงั้ ทีม่ ีการแลกเปลยี่ นเรียนรู้โดยสมาชิกทกุ คน

3. ผสู้ อนหลักและสมาชกิ ในกล่มุ PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้มาอภิปรายเพ่ือ
แลกเปลี่ยนความคิด โดยมีครผู ู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสำเรจ็ จุดเดน่ และจุดท่ีตอ้ งพัฒนาใน
การจดั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

ปัญหา/อุปสรรคทพ่ี บ
-

กจิ กรรม/ขัน้ ตอน/งานที่ปฏบิ ัติได้ดี
ร่วมศึกษาปญั หา แนวทางแกไ้ ขปัญหา หรอื กระบวนการท่ีจะใชใ้ นการแก้ไขปญั หา ดังน้ี

1) นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม กล่าวว่า การเรียนยุค 'New normal' เปิดพื้นท่ีสร้าง 'Passion' เรียนรู้
ตลอดชีวติ โดยผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. กัลยา สว่างคง อาจารย์ประจำหลักสูตรปริญญาโท สาขาการจัดการ
การทอ่ งเที่ยว ได้อธิบายวา่ นอกเหนอื จากการเรียนการสอนแบบออนไลน์แล้ว ทน่ี ี่ยงั เน้นการเรียนรทู้ ่ีสร้างให้
ผู้เรียนมี Passion ในการเรียน มีความใคร่รู้ และต้องการประสบความสำเร็จผ่านช่องทางท่ีสอดคล้องกับ
ธรรมชาติของผู้เรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนออกแบบการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ภายใต้การเอาใจใส่และการให้
คำปรึกษาอย่างใกล้ชิดจากผู้สอน ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เชิงลึกและเห็นคุณค่าที่แท้จริงของการเรียนรู้
ผู้สอนทำหน้าที่ออกแบบการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย โดยยึดหลักความปลอดภัยสูงสุดของผู้เรียนและการมี
ส่วนรวมรับผิดชอบต่อสังคม ไม่ว่าจะเป็นการทำงานเดยี่ วเพ่ือเพม่ิ พูนทักษะการเรียนรูเ้ ฉพาะด้านทสี่ นใจ การ
ทำงานกลุ่มผ่าน Platform ต่างๆ ทั้งกับเพ่ือนนักศึกษาด้วยกันเอง และทำงานร่วมกับชุมชนที่เก่ียวข้องเพื่อ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ทักษะชีวติ และอาชีพ การเรียนรู้ท้ังภายในและภายนอกห้องเรียนในรูปแบบต่างๆ
การนำเสนองานท้ังต่อผู้สอน และผู้ทรงคุณวุฒิ รวมถึงผู้ประกอบการภายนอกเพ่ือต่อยอดทักษะสารสนเทศ
เทคโนโลยีและนวัตกรรม

24

จากส่ิงที่กล่าวมาเราจะสร้างกระบวนการจัดการเรียนรู้อย่างไรในโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม และที่
สำคญั การวัดและประเมินผลการเรียนรทู้ ่มี ไิ ด้ใช้เพยี งขอ้ สอบเท่านน้ั หากแตย่ ังวดั จากตัวกจิ กรรมที่ผูเ้ รียนไดล้ ง
มอื ทำเอง
2) นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ เสนอว่า เราสามารถทำได้โดยลดภาระนักเรียน ลดการบ้านเพ่ือให้โอกาสให้
นักเรยี นได้เลือกที่เรียนรู้ตามความสนใจ คะแนนจะได้จากการท่ีนักเรียนเข้าเรียนและทำกิจกรรมเพราะจะมี
คะแนนช้ินงานทุกครั้ง และเปิดโอกาสให้นักเรยี นที่ไม่เข้าเรียนสามารถส่งงานได้ตลอดเวลาส่วนคะแนนอาจ
ลดลงเพียงเลก็ น้อยเท่านน้ั
3) นางสาวกาญจนา คงทน กล่าวเพ่ิมวา่ วธิ ีการดังทคี่ รูอโนชากล่าวน่าจะเป็นการสร้างแรงจงู ใจในการเขา้ ช้นั เรียน
ได้เน่ืองจากการที่นกั เรียนไดม้ สี ่วนรว่ มในการออกแบบการเรียนรู้ดว้ ยตวั เอง นักเรยี นไมเ่ ครียดจากการบา้ น ที่
ครูสร้างขนึ้
4) นางสาวรัศมี กุลสุวรรณ เสนอ คลิปจากยูทูปเร่ือง "การศึกษาองค์รวม" พื้นฐานการเรียนรู้ตลอดชีวิต -
YouTube (https://www.youtube.com/watch?v=sesLVFUoKlg) เพือ่ เปน็ แนวทางใหเ้ พ่อื นสมาชกิ

5) นายอรรถพล ภูทอง กล่าวว่าจากท่ีเพื่อนสมาชิกทกุ คนร่วมกนั นำเสนอได้ข้อสรุปว่าการเรยี นรแู้ บบด้งั เดิม ครู
จะวางตวั เป็นจุดศูนยก์ ลาง หากแต่สำหรับการเรียนรู้ท่ดี ใี นยุคปัจจุบนั น้นี ั้น ตอ้ งยดึ ผ้เู รียนเป็นศูนย์กลาง อันทำ
ให้นักเรยี นนำความรทู้ ี่ได้มาคิดทบทวนด้วยตนเอง พร้อมท้ังนำมาประยุกต์ใช้เข้ากับชีวติ ของตนเองได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ เพราะการเรียนไม่ใช่แคก่ ารท่องจำแต่ต้องนำความรู้นั้นมาขบคดิ ต่อ พรอ้ มตกผลึกดว้ ยมันสมอง
ของแต่ล่ะคนให้ได้ ถึงจะเรียกว่าประสบความสำเร็จ เพราะฉะน้ันการเรียนในยุคปัจจุบัน จะต้องให้โอกาส
นักเรียนทุกคนได้ร่วมกันฝึกทักษะต่างๆ เพ่ือยกระดับศักยภาพของทุกคนไปพร้อมๆ กัน โดยเสนอให้เพ่ือน
สมาชิกลองคิดกิจกรรมแลว้ ลองมาเสนอใหฟ้ ังในครง้ั ต่อไป

ส่ิงทตี่ ้องพัฒนาต่อไป
1.สรา้ งการจัดการเรยี นร้ตู ลอดชวี ติ (Lifelong Learning) ในรายวชิ าทตี่ นเองรับผิดชอบ

25

ผลการประเมินการแกป้ ญั หา
 กระบวนการแกไ้ ขปญั หา ประสบความสำเร็จ
 กระบวนการแกไ้ ขปญั หา ไม่ประสบความสำเร็จ
เนอ่ื งจาก -
ข้อเสนอแนะผู้รายงานการบนั ทึกกจิ กรรม
....................................................นดั หมายคร้ังตอ่ ไป วนั ที่ ..2..ก.ค...64..................................

ลงชือ่ ...............................................................ผ้รู ายงาน
(นางสาวอโนชา อทุ มุ สกลุ รตั น์)

ความคดิ เหน็ / ข้อเสนอแนะ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชื่อผูร้ ับรองกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community

ลงช่ือ...............................................................................
(นายจงจดั จันทบ)

ตำแหนง่ ผ้อู ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม

26

ภาพการมสี ่วนรว่ ม

27

แบบบนั ทึกกิจกรรม
ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ชอื่ กลุ่มกิจกรรม ครั้งที่ ...4................................................................

 วชิ าการ  บุคลากร ภาคเรียนท่.ี ...1.......ปีการศกึ ษา.....2564........
วันเดอื นปที ่ีจัดกิจกรรม....... 2..ก.ค...64................
 งบประมาณ  บรหิ ารทั่วไป สถานท.่ี ..ประชุมออนไลนผ์ ่านโปรแกรม Meet......

 กจิ การนกั เรยี น  พัฒนาผเู้ รยี น เวลา.......15.10-18.10.น...............................
จำนวน.................3.............................ชั่วโมง
 กิจกรรม Lifelong Learning ในการจัดการ

เรยี นรู้ เพือ่ พัฒนาทกั ษะการเรยี นรูข้ องผ้เู รียนแบบ

ยั่งยืน

ชอื่ กจิ กรรม
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ โดยใชก้ ารจดั การเรยี นร้แู บบ Lifelong Learning

Community ผูร้ ่วมอภปิ ราย

Model Teacher ผพู้ บปัญหา นางสาวขวญั หล้า เกตุฉมิ

Buddy Teacher ผู้ร่วมอภิปราย

1. นางสาวขวญั หล้า เกตุฉมิ ประธานกรรมการ

2. นางสาวรัศมี กุลสวุ รรณ กรรมการ

3. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

4. นายอรรถพล ภทู อง กรรมการ

5. นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรัตน์ กรรมการ/เลขานุการ

Mentor Coaching ผู้นำอภปิ ราย ผอ.จงจัด จนั ทบ

Recording ผบู้ นั ทกึ ขอ้ มลู นางสาวอโนชา อทุ มุ สกุลรตั น์

28

แบบบันทึกกจิ กรรม
ชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ประเดน็ ปัญหาทีพ่ บ
การเห็นคุณค่าในตนเองมีความสำคัญต่อทุกช่วงชีวิตของมนุษย์ บุคคลท่ีเห็นคุณค่าในตัวเองต่ำหรือมี

ความรู้สึกท่ไี ม่ดตี ่อตนเอง กเ็ ปรียบเสมือนเปน็ คนพิการทางบุคลิกภาพ เช่นเดียวกับการพิการทางร่างกาย ซึง่ ทำให้
ประสบความล้มเหลวในชีวิตทุกๆ ด้าน การเหน็ คณุ คา่ ในตนเองจงึ มีความสำคัญต่อทุกคนทกุ ช่วงชีวิต เป็นส่ิงสำคัญ
ท่ีก่อให้เกิดพฤติกรรมที่มีประสิทธิภาพ ทำให้มนุษย์สามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าและสามารถบ่งช้ีคุณภาพ
ชีวิตของบุคคลได้ว่าเป็นอย่างไรบุคคลจะแสดงระดับของการเห็นคุณค่าในตนเองท่ีแตกต่างกันออกมาโดยรู้ตัว
หรือไม่รู้ตัว ด้วยลักษณะท่าทางน้ำเสียง คําพูด และการกระทำ บุคคลท่ีมีการเห็นคุณค่าในตนเองในระดับสูงจะ
สามารถสร้างสรรค์ความคดิ หรอื การกระทำที่จะเผชิญความเครยี ดตา่ งๆ ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ นอกจากนี้การเหน็
คุณค่าในตนเองยังเปน็ ปัจจัยสำคัญในการปรับตัวทางอารมณ์ทางสังคมและทางการเรียนรู้ เป็นจุดเร่ิมต้นของการ
รบั รชู้ วี ติ ท่ีมผี ลต่อความคดิ ความปรารถนา ค่านยิ ม อารมณ์และการต้ังเปา้ หมายในชวี ิตของแตล่ ะบคุ คลอันมผี ลต่อ
การแสดงพฤติกรรม จนกระท้ังกลายเป็นลักษณะของบุคลิกภาพและการประสบความสำเร็จหรือความล้มเหลวทั้ง
ในชีวิต ดังนั้นการเห็นคุณค่าในตนเองจึงเป็นสิ่งสำคัญท่ีจะพัฒนาบุคคลไปสู่การเป็นบุคคลที่สมบูรณ์ได้ในที่สุด
(พรรณราย ทรัพยะประภา, 2548)

สถานการณ์ปญั หาทว่ั โลกจากการแพร่ระบาดของโควดิ -19 นอกจากสง่ ผลตอ่ สขุ ภาพรา่ งกายแล้ว ยังส่งผล
กระทบต่อสุขภาพจิตของผเู้ รียน ครแู ละบคุ คลทวั่ ไป ไมว่ า่ จะเป็นความตนื่ กลัว ความวิตกกงั วลการตดิ เชื้อ หรือการ
ไมส่ ามารถเขา้ ถึงข้อมูลทถ่ี ูกต้อง รวมทั้งการขาดความเชอื่ ม่ันในกระบวนการรกั ษา ประกอบกบั ต้องเผชิญกบั ภาวะ
วิกฤตเศรษฐกิจตกต่ำ ส่งผลกระทบต่อหลายครอบครัวและ ย่อมส่งผลกระทบต่อระบบการเรียนการสอนอย่าง
หลีกเลย่ี งไม่ได้ เกิดความเครียดสะสมจนอาจลุกลามเป็นปญั หาสขุ ภาพจิตที่รุนแรงในอนาคต

ผู้ค้นพบปัญหาพบว่าการเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนก้าวสู่โลกกว้างของสังคมแห่งการเรียนรู้ในยุคไทย
แลนด์ 4.0 ในสานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด19 น้ัน ต้องพัฒนาทักษะสำคัญแห่งอนาคตใหม่ ที่ผู้สอน
ต้องมีทั้งทักษะและคุณลักษณะท่ีรองรับเข้าถึงเพื่อสร้างนวัตกรรมบริหารจัดการช้ันเรียนแนวใหม่ โดยมุ่งเน้น
กจิ กรรมและกระบวนการการเรียนรทู้ ่ีกระตุ้นให้เกดิ ความภาคภูมิใจในตนเอง (Self-Esteem) ของผู้เรยี น ในอนั ที่
จะพัฒนาสู่เยาวชนยุคใหม่ได้อย่างต่อเน่ืองและย่ังยืนให้สอดคล้องกับหลักการจัดการศึกษาตามมาตรา 22 ท่ีว่า
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมี
ความสำคัญทีส่ ดุ กระบวนการจดั การศกึ ษาต้องส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นสามารถพัฒนาตามธรรมชาตแิ ละเต็มศกั ยภาพ

29

สาเหตุของปัญหา

COVID-19 ได้สร้างปัญหาและความยุ่งยากให้กับการศึกษาไทย แต่ในอีกมุมหน่ึงกลับเป็นตัวแปรในการ
สร้างการเปลีย่ นแปลงให้กับการศึกษา และเป็นตัวขับเคลื่อนในการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในระบบการศึกษาไทย
ทุกฝ่ายในระบบการศึกษาไทยต่างช่วยกันทำระบบกลไกการศึกษาที่แข็งแรง เพื่อขับเคล่ือนการศึกษาท่ามกลาง
สถานการณ์ท่ีไม่พึงประสงค์ ความปกติใหม่ (New Normal) เป็นรูปแบบการดำเนินชีวิตอย่างใหม่ที่แตกต่างจาก
อดีต อันเนื่องจากมีบางส่ิงมากระทบจนแบบแผนและแนวทางปฏิบัติที่คนในสังคมคุ้นเคยอย่างเป็นปกติและเคย
คาดหมายล่วงหน้าได้ ต้องเปลี่ยนแปลงไปสู่วิถีใหม่ภายใต้หลักมาตรฐานใหม่ที่ไม่คุ้นเคยรูปแบบวิถีชีวิตใหม่นี้
ประกอบดว้ ยวธิ คี ดิ วิธเี รยี นรู้ วธิ ีสอ่ื สาร วิธีปฏิบัติ และการจัดการ การใชช้ ีวติ แบบใหม่เกดิ ข้นึ

ดว้ ยการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วในยุคปัจจุบัน ท้ังครูและนักเรียนต้องพร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลงใน
รปู แบบกระบวนการจัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะครูถูกสังคมคาดหวังให้เปลี่ยนแปลงบทบาทเพื่อขับเคลื่อนให้
เกิดการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนให้เป็นบุคคลแห่งศตวรรษท่ี 21 ครูจำเป็นต้องมีนวัตกรรมทางการศึกษา มี
ทักษะการสอนท่ีทนั สมัย มีเทคนคิ การสอนสมัยใหม่ ตลอดจนทัศนคติของตนเองตอ่ การเรยี นการสอนในยุคดจิ ิทัลที่
สามารถตอบสนองผู้เรียนที่แตกต่างและหลากหลายเพ่ือให้สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดขั้นสูงและมี
พฤติกรรมที่เปลีย่ นไปตามความตอ้ งการในศตวรรษท่ี 21 สำหรบั การเรียนการสอนออนไลน์นั้นจงึ ไม่ใช่แค่เพียงให้
ผเู้ รียนเข้ามาฟังการบรรยายเพียงอย่างเดียวเท่านั้นแต่ผู้สอนต้องมกี ารออกแบบกระบวนการเรยี นการสอนโดยให้
ผเู้ รียนได้มีส่วนรว่ มและมีปฏสิ ัมพนั ธใ์ นการทำกจิ กรรมต่าง ๆด้วย

ความรแู้ ละหลกั การทน่ี ำมาใช้
การเรียนรู้ตลอดชีวิตตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 นั่นคือ การเรียนรู้ตลอดชีวิตว่า

หมายถึง การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศยั เพ่ือใหส้ ามารถพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ได้อยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชีวติ

การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) การ
จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (Self-Learning) คือ การรับร้คู วามรู้
ทักษะ และเจตคติ ของบุคคลจากการเรยี นรู้ด้วยวธิ เี รียนแบบต่างๆ และสามารรถทำให้บคุ คลน้ันเกิดการพัฒนา
ตนเองได้

กิจกรรมที่ทำ/ปฏิบัติ
กิจกรรม Share ครูแลกเปล่ียนประสบการณใ์ นการจดั การเรียนรูซ้ ง่ึ กนั และกัน

-มีส่อื นวตั กรรม (เทคนคิ การสอน/วธิ กี ารสอน/รปู แบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครเู รียนรูป้ ระสบการณ์ในการจดั การเรียนร้รู ่วมกัน

-พิจารณา ส่ือ นวตั กรรม ท่มี คี วามสอดคลอ้ งกับการแก้ปญั หา
กิจกรรม Grow ทีมครู PLC มีแนวทางท่ีดใี นการแก้ปญั หาคุณภาพผ้เู รียนรว่ มกัน

-เลือก ส่อื นวัตกรรม ทม่ี ีความสอดคล้องกับการแก้ปัญหา

30

ผลทไี่ ด้รบั จากกิจกรรม
1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (รูปแบบกิจกรรมและกระบวนการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมผู้เรียนให้

เหน็ คุณค่าในตนเอง)
2. ได้แนวทางทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน โดยใช้แนวทางการเพ่ิมประสบการ ณ์ที่ประสบ

ความสำเร็จให้กับวัยรุ่น การใช้ตัวแบบ การใช้คำพูดชกั จูงและการกระตุ้นทางอารมณ์ จึงสามารถนำมาใช้เป็นแนว
ทางการพัฒนาการเห็นคุณคา่ ในตนเองของผ้เู รียนได้

การนำผลที่ไดไ้ ปใช้
1. มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่ีน่าสนใจ ที่เกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของสมาชิก

เครือข่าย ที่เป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รูปธรรม (สมาชกิ เครือข่ายมกี ารนำไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งชดั เจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ที่เกิดขึ้นของ
สมาชิกเครือข่ายไปใช้ตลอดระยะที่ดำเนินโครงการทุกคร้ังท่ีมีการแลกเปลยี่ นเรียนร้โู ดยสมาชิกทกุ คน

3. ผสู้ อนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้มาอภิปรายเพื่อ
แลกเปล่ียนความคิด โดยมคี รผู ู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเก่ียวกับความสำเรจ็ จุดเด่นและจุดท่ีต้องพัฒนาใน
การจัดการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

ปญั หา/อุปสรรคท่พี บ
-

กิจกรรม/ขั้นตอน/งานที่ปฏิบัตไิ ด้ดี
รว่ มศึกษาปัญหา แนวทางแก้ไขปญั หา หรอื กระบวนการทจ่ี ะใชใ้ นการแก้ไขปญั หา ดงั นี้

1) นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม กล่าวว่า การพัฒนานักเรียนให้เป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิตครูผู้สอนอาจถ่ายทอด
ประเด็นดังกล่าวน้ี โดยเรม่ิ จากการให้นกั เรยี นประเมินตนเอง จากน้นั เปดิ โอกาสให้นักเรยี นได้อธบิ ายวธิ ีการใน
การพัฒนาตนเองไปสู่การเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิตผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายในห้องเรียน และนอก
ห้องเรียน โดยอาจเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ทง้ั ที่เปน็ ทางการในเน้ือหาหลักสตู ร และ/หรือกิจกรรมการเรียนรู้ที่
ไม่เป็นทางการตามความต้องการ ปัญหา ความสนใจ และศกั ยภาพของผเู้ รียน การสง่ เสริมกิจกรรมการเรียนรู้
ด้วยการนำตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยให้นักเรยี นไดเ้ ห็นวิถีชีวติ ตัวอย่างบคุ คลท่ีมชี ื่อเสียงทเ่ี ป็นที่รู้จัก และการ
ปฏิบัตจิ รงิ วิเคราะห์และประเมินปัจจัยส่งเสริมความสำเร็จของการเปน็ ผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต ดว้ ยการตั้งคำถาม
ชวนคิดให้กับนักเรียนเพ่ือให้เกิดการทำตาม จนนักเรียนเกิดการยอมรับและพัฒนาตนเอง เกิดเป็นพฤติกรรม
และอุปนิสัย และมีทักษะการเรยี นรู้ตลอดชีวิต ครูและนกั เรียนมีการสื่อสาร สะท้อนผลการปฏิบัติเป็นระยะๆ
มีระบบการกำกับ ติดตาม วัดและประเมินผลการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอและต่อเน่ือง ท้ังน้ี การจะพัฒนา
นักเรียนให้เป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิตนั่น ครูผู้สอนควรต้องเป็นตัวอย่างท่ีดีด้วย น่ันคือ มีความรู้ รู้จักแสวงหา
ความรู้ และเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวติ เช่นกัน

31

2) นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรัตน์ กล่าวว่า เมอื่ รูปแบบการเรยี นรู้ในยุคดิจิทัลเปล่ียนไปจากเดิม การเลือกรูปแบบ
การเรียนรู้ออนไลน์ท่ีเหมาะกับตัวเอง และรู้จักผสมผสานรูปแบบการเรียนทั้งออนไลน์และออฟไลน์ให้เกิด
ประโยชน์สูงสุดย่อมช่วยสร้างโอกาสต่อยอดอาชีพและการใช้ชีวิตได้เป็นอย่างดี ลองมาดูรูปแบบการเรียนรู้
ในยุคดิจิทัล ตัวอย่างการต่อยอดไอเดีย องค์ความรู้ และส่ือแบบใหม่ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิ ต
สร้างสรรค์อาชีพและธุรกิจในโลกแห่งการเรียนรู้ที่ไร้ขีดจำกัด จากคลิปเร่ือง DIGILEARN เรียนรู้แบบไร้
ขีดจำกัด EP.3

3) นางสาวกาญจนา คงทน กล่าวเพ่ิมว่าจากการอา่ นบทความ เทรนด์การเรียนรู้ของคนรุ่นใหม่ในยุคดิจิทัล มี
การสำรวจพฤติกรรมและความต้องการการเรยี นรู้ ของคนรุ่นใหม่ จากการสำรวจพฤติกรรมกล่มุ ตวั อย่างคนรุ่น
ใหม่ (Gen Y, Gen Z) พบว่าความรู้ท่ีคนกลุ่มนี้ต้องการเพิ่มเตมิ ได้แก่ ทักษะความรู้ในการทำงาน ทักษะชีวิต
และความรู้ในชีวิตประจำวัน ตามลำดับ โดยวิธีหาความรู้เพิ่มเติมนิยมการเรียนรู้โดยใช้สื่อ (เช่น หนังสือ
นิตยสาร โทรทัศน์ วิทยุ ฯลฯ) นอกจากน้ี กลุ่มตัวอย่างทุกช่วงวัยเห็นว่าสาเหตุท่ีเป็นอุปสรรคในการเรียนรู้
ออนไลน์ ได้แก่ การไม่มีอินเตอร์เน็ต รองลงมาคือปัญหาด้านภาษาที่สื่อส่วนใหญ่มีเนื้อหาเป็นภาษาอังกฤษ
สำหรับความเห็นเกี่ยวกับการใช้ส่ือออนไลน์เห็นควรให้มีหัวข้อการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย จัดทำสื่อที่มีรูปภาพ
มากๆ เนื้อหาที่เป็นตัวอักษรน้อย และผู้สอนส่ือออนไลน์ควรมีความรู้ในเรื่องท่ีสอน จะช่วยกระตุ้นให้สื่อ
ออนไลนบ์ นอนิ เตอร์เนต็ นา่ สนใจและเข้าไปใชม้ ากข้นึ

32

4) นางสาวรัศมี กุลสุวรรณ กล่าวว่าผลสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับพฤติกรรมและความต้องการการเรียนรู้และ
สาเหตุทเี่ ปน็ อุปสรรคในการเรียนรู้ออนไลนค์ ือ
• ไม่มีอินเทอร์เนต็ 52%
• ปัญหาทางดา้ นภาษาทส่ี ื่อสว่ นใหญ่มเี นื้อหาเป็นภาษาอังกฤษ 35%
• ไม่มคี อมพวิ เตอร์หรอื แท็บเลต็ 32%
• ใชค้ อมพิวเตอรไ์ มเ่ ป็นหรือใช้ไม่คล่อง 28%
ซึ่งสอดคล้องกบั ปญั หาของนักเรยี นส่วนใหญข่ องโรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม

5) นายอรรถพล ภูทอง กล่าวว่าจากท่ีเพ่ือนสมาชิกทุกคนร่วมกันนำเสนอได้ข้อสรุปว่าในยุคที่ ข้อมูลข่าวสาร
ความรู้ มีมากมาย อยู่บนคลาวด์ บนอินเทอร์เน็ต ที่เรียกเข้าถึงได้ การเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Self directed
learner) มีความสำคัญอยา่ งมาก

6) นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม กล่าวเสริมครูอรรถพล ภูทอง ว่า นักเรียนควรได้รับการสร้างประสบการณ์
และทักษะให้เรียนรู้ด้วยตนเองได้ เพราะในอนาคต จะต้องเรียนได้ตลอดชีวิต ความสำเร็จของการศึกษา จึง
ตอ้ งสร้างนักเรียนให้เป็นผเู้ รยี นไดด้ ้วยตนเองการศึกษาของประเทศไทยใช้วิธีการกำหนดหลักสูตรกลางแล้วใช้
เหมือนกันทั่วประเทศ เน้นทางด้านการสอนตามเนอ้ื หาในหลกั สูตร เพื่อผลการสอบ ปัจจุบนั นักเรียนสามารถ
หาความรไู้ ดเ้ องจากคลาวด์ แล้วนำมาประยุกต์ใช้ การศึกษายังขาดการพัฒนาพ้ืนฐานการสร้างความสามารถ
การสร้างประสบการณ์ (Learning experience) การลงมือทำ หรือการพบปัญหาด้วยตนเอง วิธีเรียนด้วย
ประสบการณ์เชน่ นี้จะช่วยต่อยอดการเรยี นรทู้ ่คี วามรคู้ น้ หามาจากคลาวด์ได้มากขนึ้

7) นางสาวอโนชา อุทมุ สกลุ รัตน์ เสนอว่าครงั้ ต่อไปให้สมาชิกนำคลิปการสอนของตนเองมาให้เพ่อื นสมาชกิ ดูและ
รว่ มวิพากษ์

ส่ิงทตี่ อ้ งพัฒนาตอ่ ไป
1.สรา้ งการจดั การเรียนรู้ตลอดชีวติ (Lifelong Learning) ในรายวชิ าท่ีตนเองรับผิดชอบ

ผลการประเมินการแก้ปญั หา

 กระบวนการแก้ไขปัญหา ประสบความสำเร็จ
 กระบวนการแก้ไขปญั หา ไมป่ ระสบความสำเรจ็
เนอ่ื งจาก -
ขอ้ เสนอแนะผรู้ ายงานการบันทึกกจิ กรรม

....................................................นดั หมายครั้งต่อไป วนั ท่ี..9..ก.ค...64..................................

ลงช่ือ...............................................................ผู้รายงาน
(นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์)

33

ความคดิ เหน็ / ขอ้ เสนอแนะ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ผู้รับรองกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (Professional Learning Community
ลงชื่อ...............................................................................
(นายจงจัด จนั ทบ)
ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

34

ภาพการมสี ่วนรว่ ม

35

แบบบนั ทกึ กิจกรรม
ชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ชอื่ กลุ่มกิจกรรม คร้งั ที่ ...5................................................................
ภาคเรยี นท่ี....1.......ปกี ารศึกษา.....2564........
 วิชาการ  บุคลากร
วนั เดือนปที จ่ี ดั กิจกรรม....... 9..ก.ค...64................
 งบประมาณ  บรหิ ารท่วั ไป สถานที่...ประชุมออนไลน์ผา่ นโปรแกรม Meet......

 กจิ การนกั เรียน  พฒั นาผู้เรียน เวลา.......15.10-18.10.น...............................
จำนวน.................3.............................ชั่วโมง
 กิจกรรม Lifelong Learning ในการจัดการ

เรยี นรู้ เพือ่ พัฒนาทักษะการเรยี นรขู้ องผู้เรยี นแบบ

ย่ังยืน

ช่อื กจิ กรรม
การพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ โดยใชก้ ารจดั การเรียนรูแ้ บบ Lifelong Learning

Community ผ้รู ว่ มอภปิ ราย

Model Teacher ผ้พู บปัญหา นางสาวขวญั หลา้ เกตุฉิม

Buddy Teacher ผู้ร่วมอภปิ ราย

1. นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม ประธานกรรมการ

2. นางสาวรศั มี กลุ สุวรรณ กรรมการ

3. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

4. นายอรรถพล ภทู อง กรรมการ

5. นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรตั น์ กรรมการ/เลขานกุ าร

Mentor Coaching ผู้นำอภปิ ราย ผอ.จงจัด จันทบ

Recording ผ้บู ันทกึ ข้อมลู นางสาวอโนชา อทุ มุ สกุลรัตน์

36

แบบบนั ทึกกจิ กรรม
ชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ประเดน็ ปัญหาทพี่ บ
การเห็นคุณค่าในตนเองมีความสำคัญต่อทุกช่วงชีวิตของมนุษย์ บุคคลที่เห็นคุณค่าในตัวเองต่ำหรือมี

ความร้สู ึกท่ไี ม่ดตี ่อตนเอง ก็เปรียบเสมือนเปน็ คนพิการทางบุคลิกภาพ เช่นเดียวกับการพิการทางร่างกาย ซ่ึงทำให้
ประสบความล้มเหลวในชีวติ ทุกๆ ด้าน การเหน็ คุณค่าในตนเองจึงมีความสำคัญตอ่ ทุกคนทุกชว่ งชีวิต เปน็ สิ่งสำคัญ
ที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมท่ีมีประสิทธิภาพ ทำให้มนุษย์สามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าและสามารถบ่งชี้คุณภาพ
ชีวิตของบุคคลได้ว่าเป็นอย่างไรบุคคลจะแสดงระดับของการเห็นคุณค่าในตนเองท่ีแตกต่างกันออกมาโดยรู้ตัว
หรือไม่รู้ตัว ด้วยลักษณะท่าทางน้ำเสียง คําพูด และการกระทำ บุคคลท่ีมีการเห็นคุณค่าในตนเองในระดับสูงจะ
สามารถสร้างสรรค์ความคดิ หรือการกระทำทจ่ี ะเผชิญความเครยี ดต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ นอกจากนีก้ ารเหน็
คณุ ค่าในตนเองยังเปน็ ปัจจัยสำคัญในการปรับตัวทางอารมณ์ทางสังคมและทางการเรียนรู้ เป็นจดุ เร่ิมตน้ ของการ
รับรชู้ ีวิตท่ีมผี ลต่อความคดิ ความปรารถนา คา่ นิยม อารมณ์และการตั้งเปา้ หมายในชวี ติ ของแต่ละบุคคลอันมีผลต่อ
การแสดงพฤติกรรม จนกระท้ังกลายเป็นลักษณะของบุคลิกภาพและการประสบความสำเร็จหรอื ความล้มเหลวท้ัง
ในชีวิต ดังนั้นการเห็นคุณค่าในตนเองจึงเป็นส่ิงสำคัญท่ีจะพัฒนาบุคคลไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ได้ในท่ีสุด
(พรรณราย ทรัพยะประภา, 2548)

สถานการณป์ ัญหาท่ัวโลกจากการแพร่ระบาดของโควดิ -19 นอกจากส่งผลต่อสุขภาพร่างกายแล้ว ยงั ส่งผล
กระทบต่อสุขภาพจิตของผู้เรยี น ครูและบคุ คลทวั่ ไป ไมว่ า่ จะเป็นความตนื่ กลัว ความวติ กกงั วลการตดิ เช้ือ หรอื การ
ไม่สามารถเขา้ ถึงข้อมูลทถ่ี กู ต้อง รวมทั้งการขาดความเชื่อมั่นในกระบวนการรกั ษา ประกอบกบั ต้องเผชิญกับภาวะ
วิกฤตเศรษฐกิจตกต่ำ ส่งผลกระทบต่อหลายครอบครัวและ ย่อมส่งผลกระทบต่อระบบการเรียนการสอนอย่าง
หลกี เลย่ี งไม่ได้ เกิดความเครยี ดสะสมจนอาจลกุ ลามเป็นปญั หาสขุ ภาพจิตทร่ี นุ แรงในอนาคต

ผู้ค้นพบปัญหาพบว่าการเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนก้าวสู่โลกกว้างของสังคมแห่งการเรียนรู้ในยุคไทย
แลนด์ 4.0 ในสานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด19 น้ัน ต้องพัฒนาทักษะสำคัญแห่งอนาคตใหม่ ท่ีผู้สอน
ต้องมีท้ังทักษะและคุณลักษณะท่ีรองรับเข้าถึงเพื่อสร้างนวัตกรรมบริหารจัดการช้ันเรียนแนวใหม่ โดยมุ่งเน้น
กิจกรรมและกระบวนการการเรียนรู้ท่ีกระตุ้นให้เกดิ ความภาคภมู ิใจในตนเอง (Self-Esteem) ของผู้เรยี น ในอันที่
จะพัฒนาสู่เยาวชนยุคใหม่ได้อย่างต่อเนื่องและย่ังยืนให้สอดคล้องกับหลักการจัดการศึกษาตามมาตรา 22 ที่ว่า
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมี
ความสำคัญทีส่ ดุ กระบวนการจดั การศกึ ษาต้องส่งเสริมให้ผูเ้ รียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาตแิ ละเต็มศกั ยภาพ

37

สาเหตุของปญั หา

COVID-19 ได้สร้างปัญหาและความยุ่งยากให้กับการศึกษาไทย แต่ในอีกมุมหน่ึงกลับเป็นตัวแปรในการ
สร้างการเปลย่ี นแปลงให้กับการศึกษา และเป็นตัวขับเคลื่อนในการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในระบบการศึกษาไทย
ทุกฝ่ายในระบบการศึกษาไทยต่างช่วยกันทำระบบกลไกการศึกษาท่ีแข็งแรง เพ่ือขับเคลื่อนการศึกษาท่ามกลาง
สถานการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ความปกติใหม่ (New Normal) เป็นรูปแบบการดำเนินชีวิตอย่างใหม่ที่แตกต่างจาก
อดีต อันเน่ืองจากมีบางสิ่งมากระทบจนแบบแผนและแนวทางปฏิบัติที่คนในสังคมคุ้นเคยอย่างเป็นปกติและเคย
คาดหมายล่วงหน้าได้ ต้องเปลี่ยนแปลงไปสู่วิถีใหม่ภายใต้หลักมาตรฐานใหม่ที่ไม่คุ้นเคยรูปแบบวิถีชีวิตใหม่น้ี
ประกอบด้วยวิธีคดิ วธิ ีเรียนรู้ วธิ ีสื่อสาร วธิ ปี ฏบิ ตั ิ และการจดั การ การใชช้ ีวติ แบบใหม่เกดิ ขึ้น

ดว้ ยการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วในยุคปัจจุบัน ทั้งครูและนักเรียนต้องพร้อมรับกับการเปล่ียนแปลงใน
รปู แบบกระบวนการจัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะครูถูกสังคมคาดหวังให้เปลี่ยนแปลงบทบาทเพ่ือขับเคล่ือนให้
เกิดการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนให้เป็นบุคคลแห่งศตวรรษที่ 21 ครูจำเป็นต้องมีนวัตกรรมทางการศึกษา มี
ทักษะการสอนที่ทนั สมัย มเี ทคนคิ การสอนสมยั ใหม่ ตลอดจนทัศนคติของตนเองตอ่ การเรียนการสอนในยุคดจิ ิทลั ท่ี
สามารถตอบสนองผู้เรียนท่ีแตกต่างและหลากหลายเพ่ือให้สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดข้ันสูงและมี
พฤติกรรมท่ีเปล่ียนไปตามความต้องการในศตวรรษที่ 21 สำหรับการเรียนการสอนออนไลน์นัน้ จึงไม่ใช่แค่เพียงให้
ผเู้ รียนเข้ามาฟังการบรรยายเพียงอย่างเดียวเท่านั้นแต่ผสู้ อนต้องมีการออกแบบกระบวนการเรียนการสอนโดยให้
ผเู้ รียนได้มสี ่วนรว่ มและมีปฏสิ ัมพนั ธใ์ นการทำกจิ กรรมต่าง ๆด้วย

ความรแู้ ละหลักการทน่ี ำมาใช้
การเรียนรู้ตลอดชีวิตตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 นั่นคือ การเรียนรู้ตลอดชีวิตว่า

หมายถึง การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศยั เพ่ือให้สามารถพฒั นาคุณภาพชีวติ ไดอ้ ยา่ งต่อเน่ืองตลอดชวี ติ

การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) การ
จัดการเรียนรู้ตลอดชีวติ (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง (Self-Learning) คือ การรับรู้ความรู้
ทักษะ และเจตคติ ของบคุ คลจากการเรียนรู้ด้วยวิธีเรียนแบบต่างๆ และสามารรถทำให้บคุ คลนั้นเกิดการพัฒนา
ตนเองได้

กิจกรรมทที่ ำ/ปฏบิ ัติ
กิจกรรม Share ครแู ลกเปลี่ยนประสบการณใ์ นการจดั การเรียนร้ซู งึ่ กนั และกนั

-มีส่อื นวตั กรรม (เทคนคิ การสอน/วธิ กี ารสอน/รปู แบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครูเรียนรูป้ ระสบการณใ์ นการจัดการเรียนรรู้ ว่ มกนั

-พจิ ารณา สื่อ นวัตกรรม ทีม่ คี วามสอดคลอ้ งกบั การแก้ปัญหา
กิจกรรม Grow ทมี ครู PLC มีแนวทางทีด่ ใี นการแก้ปัญหาคุณภาพผูเ้ รยี นรว่ มกัน

-เลือก ส่อื นวัตกรรม ที่มีความสอดคล้องกับการแก้ปัญหา

38

ผลทีไ่ ดร้ บั จากกจิ กรรม
1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (รูปแบบกิจกรรมและกระบวนการเรียนการสอนที่ส่งเสริมผู้เรียนให้

เหน็ คณุ คา่ ในตนเอง)
2. ได้แนวทางทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน โดยใช้แนวทางการเพิ่มประสบการณ์ที่ประสบ

ความสำเร็จให้กับวยั รนุ่ การใชต้ ัวแบบ การใช้คำพูดชกั จูงและการกระตุ้นทางอารมณ์ จึงสามารถนำมาใชเ้ ป็นแนว
ทางการพัฒนาการเหน็ คุณคา่ ในตนเองของผู้เรียนได้

การนำผลที่ได้ไปใช้
1. มอี งค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ที่เกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ของสมาชิก

เครือข่าย ท่ีเป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รูปธรรม (สมาชิกเครือข่ายมีการนำไปใชไ้ ด้อยา่ งชัดเจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่ีน่าสนใจ ที่เกิดขึ้นของ
สมาชิกเครือขา่ ยไปใชต้ ลอดระยะทด่ี ำเนนิ โครงการทกุ ครัง้ ทมี่ ีการแลกเปลย่ี นเรยี นร้โู ดยสมาชกิ ทุกคน

3. ผู้สอนหลักและสมาชกิ ในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัตกิ ารจัดกจิ กรรมการเรียนรู้มาอภิปรายเพ่ือ
แลกเปลี่ยนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกบั ความสำเร็จ จุดเด่นและจดุ ที่ตอ้ งพัฒนาใน
การจดั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้

ปัญหา/อุปสรรคทพ่ี บ
-

กจิ กรรม/ขั้นตอน/งานท่ปี ฏิบัตไิ ด้ดี
ร่วมศกึ ษาปญั หา แนวทางแก้ไขปญั หา หรอื กระบวนการท่ีจะใช้ในการแกไ้ ขปญั หา ดงั น้ี

1) นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม นำคลิปการสอนนักเรียนระดับช้ันม.4/4 กิจกรรมการเรียนวิชาวิทยาการ
คำนวณ 1 เร่อื งแนวคดิ เชงิ คำนวณ ให้เพอื่ นสมาชกิ รว่ มวิพากษ์

39

2) นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ กล่าววา่ กิจกรรมท่คี รูสอนส่งเสริมทักษะการฟัง พดู อา่ นและเขียน ให้นกั เรยี น
สรา้ งแรงจูงใจให้นกั เรียนมีวัฒนธรรมการเรียนรู้ ครูสร้างบรรยากาศในสภาพการณท์ ี่ผอ่ นคลายและเป็นอิสระ
ซ่ึงการจัดบรรยากาศการเรียนท่ีผ่อนคลายและเอ้ือต่อการเรียนรู้ และเน้นให้นักเรียนเป็นศนู ย์กลาง โดยครูใช้
วิธีคำถามกระตุ้นให้นักเรียนนำสิ่งที่มีอยู่รอบๆตนเอง ทำความเข้าใจกับข้อมูลได้อย่างรอบด้านและรู้จัก
ประเมินตนเอง

3) นางสาวกาญจนา คงทน กล่าวเพ่ิมว่าจากการสังเกตเห็นว่ามีนกั เรียนหลายคนนิ่งไม่มสี ่วนร่วมในกิจกรรม แต่
ครูก็จัดเน้ือหาและกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับระดับความพร้อมของนักเรียนมีการนำเนื้อหาคลิป
ประกอบการสอนและแหลง่ สืบค้นไว้ใน classroom

4) นางสาวรัศมี กุลสุวรรณ กล่าวว่าทักษะท่ีจำเป็นต่อการพัฒนาตนเองได้แก่ทักษะการค้นคว้าหาความรู้จาก
แหล่งต่างๆ ทักษะการคิดวิเคราะห์ การใช้เหตุผล สำหรับนักเรียนม.ปลายมีทกั ษะดังกล่าวค่อนข้างมาก และ
ความสามารถในการติดต่อสื่อสารค่อนข้างดี แต่สำหรับนักเรียนม.ต้น ต้องปลูกฝังให้เกิดเจตคติที่ดีต่อการ
เรียนรู้ตลอดชีวิต ให้เห็นความสำคัญบวกกับการปลูกฝังสั่งสอนให้ทักษะการเรียนรู้แบบนำตนเองและการมี
พลังจูงใจในการเรยี นรู้ เพื่อการใชช้ วี ติ และเพอื่ สงั คมในยุคเทคโนโลยีซง่ึ ตอ้ งใชค้ วามพยายามอย่างมาก

5) นายอรรถพล ภูทอง กล่าวว่าการจัดกระบวนการเรียนรู้ต้องจัดกระบวนการเรียนรู้สอดคล้องกับความสนใจ
ความถนดั ของนกั เรียน และความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล นักเรยี นมักชอบกระบวนการคิดการจดั การการเผชิญ
สถานการณ์

6) นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม กล่าวเสริมครูอรรถพล ภูทอง ว่า การจัดการเรียนการสอนเพ่ือให้นักเรียนมี
ทักษะในการเรียนรู้ ครูเป็นผู้เลือกรูปแบบการสอนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และตัดสินใจเลือกวิธีสอนตาม
ความเหมาะสมของสภาพที่เป็นอยู่ นำเทคนิคต่างๆ มากระตุ้นและเรา้ ความสนใจของนักเรียนโดยพิจารณาให้
เหมาะสมกับเน้ือหา ตวั นักเรียนและเวลาท่ีกำหนดให้ หรืออาจกล่าวได้ว่า“ครูต้องปฏิรูปการจดั กระบวนการ
เรยี นรู้ สูก่ ารเรียนรูต้ ลอดชวี ิต”

7) นางสาวอโนชา อทุ ุมสกุลรัตน์ แจ้งวา่ ใหส้ มาชิกนำคลปิ การสอนของตนเองมาใหเ้ พื่อนสมาชิกดูและร่วมวิพากษ์
ตอ่ ไป และให้บอกถึงปัญหาที่พบจากการเรียนรแู้ บบยดื หยุน่ เปดิ โอกาสให้นกั เรียนเรยี นรู้เมื่อพรอ้ ม

ส่ิงทต่ี อ้ งพฒั นาตอ่ ไป
1.สรา้ งการจัดการเรยี นรู้ตลอดชวี ติ (Lifelong Learning) ในรายวิชาทต่ี นเองรับผดิ ชอบ

ผลการประเมนิ การแก้ปญั หา

 กระบวนการแกไ้ ขปัญหา ประสบความสำเร็จ
 กระบวนการแกไ้ ขปัญหา ไม่ประสบความสำเร็จ
เนอ่ื งจาก -

40

ขอ้ เสนอแนะผู้รายงานการบันทึกกิจกรรม
....................................................นดั หมายครง้ั ตอ่ ไป วนั ท่ี..16..ก.ค...64..................................

ลงชื่อ...............................................................ผ้รู ายงาน
(นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รัตน์)

ความคดิ เหน็ / ขอ้ เสนอแนะ ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชื่อผู้รับรองกิจกรรมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ (Professional Learning Community
ลงช่อื ...............................................................................
(นายจงจัด จันทบ)
ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม

41

ภาพการมสี ่วนรว่ ม

42

แบบบนั ทกึ กิจกรรม
ชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ชอื่ กลุ่มกิจกรรม คร้งั ที่ ...6................................................................
ภาคเรยี นท่ี....1.......ปีการศกึ ษา.....2564........
 วิชาการ  บุคลากร
วนั เดือนปที ่ีจดั กิจกรรม....... 16..ก.ค...64...............
 งบประมาณ  บรหิ ารท่วั ไป สถานที่...ประชุมออนไลน์ผ่านโปรแกรม Meet......

 กจิ การนักเรยี น  พฒั นาผู้เรียน เวลา.......15.10-18.10.น...............................
จำนวน.................3.............................ชัว่ โมง
 กิจกรรม Lifelong Learning ในการจัดการ

เรยี นรู้ เพือ่ พฒั นาทักษะการเรยี นรขู้ องผู้เรยี นแบบ

ย่ังยืน

ช่อื กิจกรรม
การพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ โดยใชก้ ารจดั การเรียนรแู้ บบ Lifelong Learning

Community ผู้รว่ มอภปิ ราย

Model Teacher ผ้พู บปัญหา นางสาวขวญั หลา้ เกตุฉิม

Buddy Teacher ผู้ร่วมอภปิ ราย

1. นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม ประธานกรรมการ

2. นางสาวรศั มี กลุ สุวรรณ กรรมการ

3. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

4. นายอรรถพล ภทู อง กรรมการ

5. นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรตั น์ กรรมการ/เลขานกุ าร

Mentor Coaching ผู้นำอภปิ ราย ผอ.จงจดั จันทบ

Recording ผ้บู ันทกึ ข้อมลู นางสาวอโนชา อทุ มุ สกุลรัตน์

43

แบบบันทึกกจิ กรรม
ชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ประเดน็ ปัญหาที่พบ
การเห็นคุณค่าในตนเองมีความสำคัญต่อทุกช่วงชีวิตของมนุษย์ บุคคลที่เห็นคุณค่าในตัวเองต่ำหรือมี

ความร้สู ึกท่ไี ม่ดตี ่อตนเอง ก็เปรียบเสมือนเปน็ คนพิการทางบุคลิกภาพ เช่นเดียวกับการพิการทางร่างกาย ซ่ึงทำให้
ประสบความล้มเหลวในชีวติ ทุกๆ ด้าน การเหน็ คุณคา่ ในตนเองจึงมีความสำคัญต่อทุกคนทุกชว่ งชีวิต เปน็ ส่ิงสำคัญ
ที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมท่ีมีประสิทธิภาพ ทำให้มนุษย์สามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าและสามารถบ่งชี้คุณภาพ
ชีวิตของบุคคลได้ว่าเป็นอย่างไรบุคคลจะแสดงระดับของการเห็นคุณค่าในตนเองท่ีแตกต่างกันออกมาโดยรู้ตัว
หรือไม่รู้ตัว ด้วยลักษณะท่าทางน้ำเสียง คําพูด และการกระทำ บุคคลท่ีมีการเห็นคุณค่าในตนเองในระดับสูงจะ
สามารถสร้างสรรค์ความคดิ หรือการกระทำทจ่ี ะเผชิญความเครียดต่างๆ ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ นอกจากนีก้ ารเหน็
คณุ ค่าในตนเองยังเปน็ ปัจจัยสำคัญในการปรับตัวทางอารมณ์ทางสังคมและทางการเรียนรู้ เป็นจดุ เร่ิมตน้ ของการ
รับรชู้ ีวิตท่ีมผี ลต่อความคดิ ความปรารถนา คา่ นยิ ม อารมณแ์ ละการตั้งเปา้ หมายในชวี ติ ของแต่ละบุคคลอันมีผลต่อ
การแสดงพฤติกรรม จนกระท้ังกลายเป็นลักษณะของบุคลิกภาพและการประสบความสำเร็จหรอื ความล้มเหลวทั้ง
ในชีวิต ดังนั้นการเห็นคุณค่าในตนเองจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะพัฒนาบุคคลไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ได้ในท่ีสุด
(พรรณราย ทรัพยะประภา, 2548)

สถานการณป์ ัญหาท่ัวโลกจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 นอกจากสง่ ผลต่อสุขภาพร่างกายแล้ว ยังส่งผล
กระทบต่อสุขภาพจิตของผู้เรยี น ครูและบคุ คลทว่ั ไป ไมว่ ่าจะเป็นความตนื่ กลัว ความวติ กกงั วลการตดิ เช้ือ หรอื การ
ไม่สามารถเขา้ ถึงข้อมูลทถ่ี กู ต้อง รวมทั้งการขาดความเชื่อม่ันในกระบวนการรักษา ประกอบกบั ต้องเผชิญกบั ภาวะ
วิกฤตเศรษฐกิจตกต่ำ ส่งผลกระทบต่อหลายครอบครัวและ ย่อมส่งผลกระทบต่อระบบการเรียนการสอนอย่าง
หลกี เลย่ี งไม่ได้ เกิดความเครยี ดสะสมจนอาจลุกลามเป็นปญั หาสุขภาพจิตทร่ี ุนแรงในอนาคต

ผู้ค้นพบปัญหาพบว่าการเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนก้าวสู่โลกกว้างของสังคมแห่งการเรียนรู้ในยุคไทย
แลนด์ 4.0 ในสานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด19 น้ัน ต้องพัฒนาทักษะสำคัญแห่งอนาคตใหม่ ที่ผู้สอน
ต้องมีท้ังทักษะและคุณลักษณะท่ีรองรับเข้าถึงเพ่ือสร้างนวัตกรรมบริหารจัดการช้ันเรียนแนวใหม่ โดยมุ่งเน้น
กิจกรรมและกระบวนการการเรียนร้ทู ่ีกระตุ้นให้เกดิ ความภาคภมู ิใจในตนเอง (Self-Esteem) ของผู้เรยี น ในอันที่
จะพัฒนาสู่เยาวชนยุคใหม่ได้อย่างต่อเนื่องและย่ังยืนให้สอดคล้องกับหลักการจัดการศึกษาตามมาตรา 22 ที่ว่า
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมี
ความสำคัญทีส่ ดุ กระบวนการจดั การศกึ ษาต้องสง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาตแิ ละเต็มศกั ยภาพ

44

สาเหตุของปญั หา

COVID-19 ได้สร้างปัญหาและความยุ่งยากให้กับการศึกษาไทย แต่ในอีกมุมหน่ึงกลับเป็นตัวแปรในการ
สร้างการเปลย่ี นแปลงให้กับการศึกษา และเป็นตัวขับเคล่ือนในการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในระบบการศึกษาไทย
ทุกฝ่ายในระบบการศึกษาไทยต่างช่วยกันทำระบบกลไกการศึกษาท่ีแข็งแรง เพ่ือขับเคลื่อนการศึกษาท่ามกลาง
สถานการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ความปกติใหม่ (New Normal) เป็นรูปแบบการดำเนินชีวิตอย่างใหม่ท่ีแตกต่างจาก
อดีต อันเน่ืองจากมีบางส่ิงมากระทบจนแบบแผนและแนวทางปฏิบัติที่คนในสังคมคุ้นเคยอย่างเป็นปกติและเคย
คาดหมายล่วงหน้าได้ ต้องเปลี่ยนแปลงไปสู่วิถีใหม่ภายใต้หลักมาตรฐานใหม่ที่ไม่คุ้นเคยรูปแบบวิถีชีวิตใหม่น้ี
ประกอบด้วยวิธีคดิ วธิ ีเรียนรู้ วธิ ีสอ่ื สาร วิธีปฏิบัติ และการจัดการ การใชช้ ีวติ แบบใหม่เกิดขึ้น

ดว้ ยการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วในยุคปัจจุบัน ท้ังครูและนักเรียนต้องพร้อมรับกับการเปล่ียนแปลงใน
รปู แบบกระบวนการจัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะครูถูกสังคมคาดหวังให้เปลี่ยนแปลงบทบาทเพื่อขับเคลื่อนให้
เกิดการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนให้เป็นบุคคลแห่งศตวรรษที่ 21 ครูจำเป็นต้องมีนวัตกรรมทางการศึกษา มี
ทักษะการสอนที่ทนั สมัย มเี ทคนคิ การสอนสมยั ใหม่ ตลอดจนทัศนคติของตนเองตอ่ การเรียนการสอนในยุคดจิ ทิ ัลท่ี
สามารถตอบสนองผู้เรียนท่ีแตกต่างและหลากหลายเพื่อให้สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดข้ันสูงและมี
พฤติกรรมท่ีเปล่ียนไปตามความต้องการในศตวรรษท่ี 21 สำหรับการเรียนการสอนออนไลน์นัน้ จงึ ไม่ใช่แค่เพียงให้
ผเู้ รียนเข้ามาฟังการบรรยายเพียงอย่างเดียวเท่าน้ันแต่ผ้สู อนต้องมีการออกแบบกระบวนการเรยี นการสอนโดยให้
ผเู้ รียนได้มสี ่วนรว่ มและมีปฏสิ มั พนั ธใ์ นการทำกิจกรรมตา่ ง ๆดว้ ย

ความรแู้ ละหลักการทน่ี ำมาใช้
การเรียนรู้ตลอดชีวิตตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 น่ันคือ การเรียนรู้ตลอดชีวิตว่า

หมายถึง การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศยั เพ่ือให้สามารถพัฒนาคุณภาพชวี ติ ไดอ้ ยา่ งต่อเนื่องตลอดชวี ติ

การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) การ
จัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) คอื การรบั ร้คู วามรู้
ทักษะ และเจตคติ ของบคุ คลจากการเรยี นรู้ด้วยวธิ ีเรียนแบบตา่ งๆ และสามารรถทำให้บคุ คลนั้นเกิดการพัฒนา
ตนเองได้

กิจกรรมทที่ ำ/ปฏบิ ัติ
กิจกรรม Share ครแู ลกเปล่ยี นประสบการณใ์ นการจัดการเรยี นร้ซู ่งึ กนั และกนั

-มสี ื่อ นวตั กรรม (เทคนคิ การสอน/วธิ ีการสอน/รปู แบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครูเรียนรปู้ ระสบการณ์ในการจดั การเรยี นรรู้ ่วมกนั

-พิจารณา สื่อ นวัตกรรม ทีม่ คี วามสอดคลอ้ งกบั การแก้ปัญหา
กิจกรรม Grow ทีมครู PLC มแี นวทางทด่ี ใี นการแกป้ ัญหาคุณภาพผ้เู รยี นรว่ มกัน

-เลือก สื่อ นวัตกรรม ท่มี ีความสอดคล้องกับการแก้ปัญหา

45

ผลทไ่ี ด้รบั จากกจิ กรรม
1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (รูปแบบกิจกรรมและกระบวนการเรียนการสอนที่ส่งเสริมผู้เรียนให้

เหน็ คณุ คา่ ในตนเอง)
2. ได้แนวทางทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน โดยใช้แนวทางการเพ่ิมประสบการณ์ที่ประสบ

ความสำเร็จให้กบั วัยรุ่น การใชต้ ัวแบบ การใช้คำพดู ชกั จงู และการกระตุ้นทางอารมณ์ จึงสามารถนำมาใชเ้ ป็นแนว
ทางการพัฒนาการเหน็ คุณค่าในตนเองของผเู้ รียนได้

การนำผลท่ีได้ไปใช้
1. มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่ีน่าสนใจ ท่ีเกิดขึ้นจากการแลกเปล่ียนเรียนรู้ของสมาชิก

เครือข่าย ที่เป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รปู ธรรม (สมาชิกเครือขา่ ยมกี ารนำไปใชไ้ ด้อย่างชัดเจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่ีน่าสนใจ ที่เกิดข้ึนของ
สมาชกิ เครือข่ายไปใช้ตลอดระยะทด่ี ำเนนิ โครงการทกุ ครง้ั ทม่ี ีการแลกเปลย่ี นเรยี นรูโ้ ดยสมาชิกทกุ คน

3. ผสู้ อนหลักและสมาชกิ ในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัตกิ ารจดั กจิ กรรมการเรียนรู้มาอภิปรายเพื่อ
แลกเปลี่ยนความคิด โดยมีครผู ู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกบั ความสำเร็จ จุดเด่นและจดุ ที่ตอ้ งพัฒนาใน
การจัดการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

ปญั หา/อปุ สรรคท่ีพบ
-

กจิ กรรม/ขน้ั ตอน/งานที่ปฏบิ ัตไิ ดด้ ี
ร่วมศึกษาปญั หา แนวทางแก้ไขปญั หา หรอื กระบวนการทจี่ ะใช้ในการแกไ้ ขปัญหา ดงั นี้

1) นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ นำคลิปการสอนนักเรียนระดับชั้น ม.6/2 กิจกรรมการเรียนวิชาเคมี 5 เร่ือง
อัลคีน ใหเ้ พือ่ นสมาชิกร่วมวิพากษ์

ครูอโนชาเลอื กรูปแบบการสอนเพอ่ื ใหบ้ รรลุวัตถุประสงค์และตัดสนิ ใจเลอื กวธิ ีสอนตามความเหมาะสม
ของสภาพท่เี ป็นอยู่ นำเทคนิคตา่ งๆ มากระตนุ้ และเร้าความสนใจของนกั เรียน โดยพิจารณาใหเ้ หมาะสมกบั

46

เน้ือหา ตัวนักเรียนและเวลาที่กำหนดให้ ครไู ด้ปฏริ ปู การจัดกระบวนการเรียนรู้ ส่กู ารเรียนรู้ตลอดชวี ิต
2) นางสาวกาญจนา คงทน กล่าวว่าจากการสังเกตเห็นว่าครูส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ โดยจัดสถานการณ์

ภายนอกให้เอื้อต่อสภาพภายในของนักเรียนเรียนรู้ สาระท่นี ำเสนอได้อยา่ งดี รวดเร็ว และจดจำไดน้ าน ผ่านส่ิ
การสอนท่ีแสดงการเกิดปฏิกิรยิ าตามเนื้อหา ได้ทักษะในการจัดระบบข้อมูล สรา้ งความหมายของข้อมลู และ
การแสดงความสามารถของตน
3) นางสาวรัศมี กุลสุวรรณ กล่าวว่านักเรียนสามารถสืบสอบและเสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเองให้โอกาส
นักเรียนท่ีไม่เขา้ ช้นั เรียนติดตามงานยอ้ นหลังได้
4) นายอรรถพล ภูทอง กล่าวว่าครูส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีแหล่งเรียนรู้เพ่ิมเติมให้นักเรียนได้
ศกึ ษาคน้ คว้าผา่ น classroom
5) นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรตั น์ แจ้งวา่ ใหส้ มาชิกนำคลิปการสอนของตนเองมาให้เพ่อื นสมาชิกดแู ละร่วมวพิ ากษ์
ตอ่ ไป และให้บอกถึงปญั หาทพ่ี บจากการเรยี นรู้แบบยืดหยุ่น เปิดโอกาสใหน้ ักเรียนเรียนรู้เม่ือพรอ้ ม

ส่ิงทต่ี ้องพัฒนาตอ่ ไป
1.สร้างการจดั การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต (Lifelong Learning) ในรายวิชาทตี่ นเองรับผดิ ชอบ

ผลการประเมินการแก้ปัญหา

 กระบวนการแก้ไขปญั หา ประสบความสำเรจ็
 กระบวนการแกไ้ ขปญั หา ไมป่ ระสบความสำเรจ็
เน่อื งจาก -
ข้อเสนอแนะผ้รู ายงานการบนั ทึกกิจกรรม

....................................................นัดหมายครง้ั ต่อไป วันที่..23..ก.ค...64..................................

ลงชอื่ ...............................................................ผูร้ ายงาน
(นางสาวอโนชา อุทมุ สกลุ รตั น์)

ความคดิ เหน็ / ข้อเสนอแนะ ผบู้ ริหารสถานศึกษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงช่อื ผูร้ บั รองกจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (Professional Learning Community

ลงช่ือ...............................................................................
(นายจงจัด จันทบ)

ตำแหน่ง ผ้อู ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม

47

ภาพการมสี ่วนรว่ ม

48

แบบบันทกึ กจิ กรรม
ชุมชนแห่งการเรียนร้ทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ชอื่ กลุ่มกิจกรรม ครั้งที่ ...7................................................................

 วิชาการ  บุคลากร ภาคเรยี นท.่ี ...1.......ปีการศกึ ษา.....2564........
วันเดอื นปีท่จี ดั กิจกรรม....... 23..ก.ค...64...............
 งบประมาณ  บรหิ ารทว่ั ไป สถานท.่ี ..ประชุมออนไลนผ์ ่านโปรแกรม Meet......

 กจิ การนักเรยี น  พัฒนาผเู้ รียน เวลา.......15.10-18.10.น...............................
จำนวน.................3.............................ชั่วโมง
 กจิ กรรม Lifelong Learning ในการจัดการ

เรียนรู้ เพ่อื พัฒนาทักษะการเรียนรูข้ องผูเ้ รยี นแบบ

ยั่งยนื

ช่ือกจิ กรรม
การพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ โดยใชก้ ารจัดการเรียนรแู้ บบ Lifelong Learning

Community ผรู้ ว่ มอภปิ ราย

Model Teacher ผพู้ บปญั หา นางสาวขวัญหลา้ เกตุฉิม

Buddy Teacher ผู้ร่วมอภิปราย

1. นางสาวขวญั หล้า เกตุฉิม ประธานกรรมการ

2. นางสาวรัศมี กุลสวุ รรณ กรรมการ

3. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

4. นายอรรถพล ภทู อง กรรมการ

5. นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรตั น์ กรรมการ/เลขานุการ

Mentor Coaching ผู้นำอภิปราย ผอ.จงจัด จนั ทบ

Recording ผู้บนั ทกึ ข้อมลู นางสาวอโนชา อทุ มุ สกุลรัตน์

49

แบบบันทกึ กจิ กรรม
ชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ประเดน็ ปัญหาทพี่ บ
การเห็นคุณค่าในตนเองมีความสำคัญต่อทุกช่วงชีวิตของมนุษย์ บุคคลที่เห็นคุณค่าในตัวเองต่ำหรือมี

ความรูส้ ึกท่ไี ม่ดตี ่อตนเอง กเ็ ปรียบเสมือนเปน็ คนพิการทางบุคลิกภาพ เช่นเดียวกับการพิการทางร่างกาย ซึ่งทำให้
ประสบความล้มเหลวในชีวิตทุกๆ ด้าน การเห็นคณุ ค่าในตนเองจึงมีความสำคัญตอ่ ทุกคนทกุ ชว่ งชีวติ เป็นสิ่งสำคัญ
ที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมท่ีมีประสิทธิภาพ ทำให้มนุษย์สามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าและสามารถบ่งช้ีคุณภาพ
ชีวิตของบุคคลได้ว่าเป็นอย่างไรบุคคลจะแสดงระดับของการเห็นคุณค่าในตนเองที่แตกต่างกันออกมาโดยรู้ตัว
หรือไม่รู้ตัว ด้วยลักษณะท่าทางน้ำเสียง คําพูด และการกระทำ บุคคลท่ีมีการเห็นคุณค่าในตนเองในระดับสูงจะ
สามารถสร้างสรรค์ความคดิ หรอื การกระทำท่จี ะเผชญิ ความเครยี ดตา่ งๆ ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ นอกจากนกี้ ารเหน็
คณุ ค่าในตนเองยังเปน็ ปัจจัยสำคัญในการปรับตัวทางอารมณ์ทางสังคมและทางการเรียนรู้ เป็นจุดเริ่มต้นของการ
รับรชู้ ีวติ ท่ีมผี ลต่อความคิด ความปรารถนา คา่ นิยม อารมณ์และการตั้งเปา้ หมายในชีวติ ของแตล่ ะบคุ คลอันมผี ลต่อ
การแสดงพฤติกรรม จนกระท้ังกลายเป็นลักษณะของบุคลิกภาพและการประสบความสำเร็จหรือความล้มเหลวทั้ง
ในชีวิต ดังนั้นการเห็นคุณค่าในตนเองจึงเป็นสิ่งสำคัญท่ีจะพัฒนาบุคคลไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ได้ในท่ีสุด
(พรรณราย ทรัพยะประภา, 2548)

สถานการณ์ปญั หาท่วั โลกจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 นอกจากส่งผลต่อสุขภาพร่างกายแล้ว ยงั ส่งผล
กระทบต่อสุขภาพจติ ของผู้เรยี น ครแู ละบคุ คลทว่ั ไป ไมว่ ่าจะเป็นความต่ืนกลัว ความวิตกกงั วลการติดเชื้อ หรอื การ
ไม่สามารถเขา้ ถึงข้อมูลทีถ่ กู ต้อง รวมทั้งการขาดความเชอื่ ม่ันในกระบวนการรักษา ประกอบกับต้องเผชิญกับภาวะ
วิกฤตเศรษฐกิจตกต่ำ ส่งผลกระทบต่อหลายครอบครัวและ ย่อมส่งผลกระทบต่อระบบการเรียนการสอนอย่าง
หลกี เล่ียงไม่ได้ เกิดความเครยี ดสะสมจนอาจลุกลามเปน็ ปัญหาสุขภาพจติ ท่ีรนุ แรงในอนาคต

ผู้ค้นพบปัญหาพบว่าการเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนก้าวสู่โลกกว้างของสังคมแห่งการเรียนรู้ในยุคไทย
แลนด์ 4.0 ในสานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด19 น้ัน ต้องพัฒนาทักษะสำคัญแห่งอนาคตใหม่ ที่ผู้สอน
ต้องมีท้ังทักษะและคุณลักษณะที่รองรับเข้าถึงเพ่ือสร้างนวัตกรรมบริหารจัดการชั้นเรียนแนวใหม่ โดยมุ่งเน้น
กิจกรรมและกระบวนการการเรียนรทู้ ี่กระต้นุ ให้เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง (Self-Esteem) ของผู้เรยี น ในอันที่
จะพัฒนาสู่เยาวชนยุคใหม่ได้อย่างต่อเนื่องและย่ังยืนให้สอดคล้องกับหลักการจัดการศึกษาตามมาตรา 22 ที่ว่า
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมี
ความสำคัญที่สดุ กระบวนการจัดการศกึ ษาต้องสง่ เสริมให้ผเู้ รยี นสามารถพฒั นาตามธรรมชาตแิ ละเต็มศกั ยภาพ

50


Click to View FlipBook Version