The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบบันทึกPLCอโนชา64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2022-03-16 11:38:45

แบบบันทึกPLCเทอม1_64

แบบบันทึกPLCอโนชา64

สาเหตขุ องปญั หา

COVID-19 ได้สร้างปัญหาและความยุ่งยากให้กับการศึกษาไทย แต่ในอีกมุมหนึ่งกลับเป็นตัวแปรในการ
สร้างการเปลยี่ นแปลงให้กับการศึกษา และเป็นตัวขับเคล่ือนในการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในระบบการศึกษาไทย
ทุกฝ่ายในระบบการศึกษาไทยต่างช่วยกันทำระบบกลไกการศึกษาท่ีแข็งแรง เพื่อขับเคล่ือนการศึกษาท่ามกลาง
สถานการณ์ท่ีไม่พึงประสงค์ ความปกติใหม่ (New Normal) เป็นรูปแบบการดำเนินชีวิตอย่างใหม่ท่ีแตกต่างจาก
อดีต อันเนื่องจากมีบางสิ่งมากระทบจนแบบแผนและแนวทางปฏิบัติท่ีคนในสังคมคุ้นเคยอย่างเป็นปกติและเคย
คาดหมายล่วงหน้าได้ ต้องเปลี่ยนแปลงไปสู่วิถีใหม่ภายใต้หลักมาตรฐานใหม่ที่ไม่คุ้นเคยรูปแบบวิถีชีวิตใหม่นี้
ประกอบด้วยวิธคี ิด วธิ ีเรียนรู้ วิธีสือ่ สาร วธิ ีปฏิบัติ และการจัดการ การใชช้ ีวิตแบบใหมเ่ กดิ ขน้ึ

ดว้ ยการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วในยุคปัจจุบัน ท้ังครูและนักเรียนต้องพร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลงใน
รูปแบบกระบวนการจัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะครูถูกสังคมคาดหวังให้เปล่ียนแปลงบทบาทเพื่อขับเคลื่อนให้
เกิดการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนให้เป็นบุคคลแห่งศตวรรษที่ 21 ครูจำเป็นต้องมีนวัตกรรมทางการศึกษา มี
ทักษะการสอนท่ีทนั สมัย มีเทคนิคการสอนสมยั ใหม่ ตลอดจนทัศนคติของตนเองต่อการเรยี นการสอนในยุคดิจทิ ลั ท่ี
สามารถตอบสนองผู้เรียนท่ีแตกต่างและหลากหลายเพื่อให้สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดขั้นสูงและมี
พฤติกรรมท่ีเปลย่ี นไปตามความตอ้ งการในศตวรรษท่ี 21 สำหรบั การเรียนการสอนออนไลน์น้ันจงึ ไม่ใช่แคเ่ พียงให้
ผู้เรียนเข้ามาฟงั การบรรยายเพียงอย่างเดียวเท่านั้นแต่ผู้สอนต้องมีการออกแบบกระบวนการเรียนการสอนโดยให้
ผู้เรียนไดม้ ีส่วนรว่ มและมปี ฏสิ มั พนั ธ์ในการทำกจิ กรรมตา่ ง ๆดว้ ย

ความรแู้ ละหลกั การทน่ี ำมาใช้
การเรียนรู้ตลอดชีวิตตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 น่ันคือ การเรียนรู้ตลอดชีวิตว่า

หมายถึง การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศยั เพ่ือใหส้ ามารถพัฒนาคุณภาพชวี ติ ไดอ้ ย่างตอ่ เนื่องตลอดชีวิต

การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) การ
จัดการเรียนรตู้ ลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรยี นรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) คอื การรับรคู้ วามรู้
ทกั ษะ และเจตคติ ของบุคคลจากการเรยี นรู้ด้วยวิธเี รียนแบบตา่ งๆ และสามารรถทำให้บุคคลนั้นเกิดการพัฒนา
ตนเองได้

กจิ กรรมทท่ี ำ/ปฏิบัติ
กิจกรรม Share ครแู ลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการจดั การเรียนรซู้ ่งึ กันและกนั

-มสี ื่อ นวัตกรรม (เทคนิคการสอน/วธิ ีการสอน/รปู แบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครเู รียนรู้ประสบการณใ์ นการจัดการเรยี นรรู้ ว่ มกัน

-พจิ ารณา สื่อ นวตั กรรม ท่มี คี วามสอดคล้องกับการแกป้ ญั หา
กิจกรรม Grow ทีมครู PLC มแี นวทางที่ดใี นการแก้ปญั หาคุณภาพผูเ้ รยี นรว่ มกัน

-เลอื ก สือ่ นวัตกรรม ท่มี คี วามสอดคลอ้ งกับการแก้ปญั หา

51

ผลท่ีได้รับจากกิจกรรม
1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (รูปแบบกิจกรรมและกระบวนการเรียนการสอนที่ส่งเสริมผู้เรียนให้

เห็นคุณคา่ ในตนเอง)
2. ได้แนวทางทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน โดยใช้แนวทางการเพ่ิมประสบการณ์ท่ีประสบ

ความสำเร็จให้กับวยั รนุ่ การใช้ตัวแบบ การใช้คำพูดชกั จูงและการกระตุ้นทางอารมณ์ จึงสามารถนำมาใชเ้ ป็นแนว
ทางการพฒั นาการเหน็ คุณค่าในตนเองของผู้เรียนได้

การนำผลทไี่ ดไ้ ปใช้
1. มอี งค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ทน่ี ่าสนใจ ที่เกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ของสมาชิก

เครือข่าย ที่เป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รปู ธรรม (สมาชิกเครอื ขา่ ยมกี ารนำไปใช้ได้อย่างชดั เจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ที่เกิดข้ึนของ
สมาชิกเครือขา่ ยไปใช้ตลอดระยะทีด่ ำเนนิ โครงการทกุ คร้ังทม่ี ีการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้โดยสมาชิกทกุ คน

3. ผสู้ อนหลักและสมาชกิ ในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบตั ิการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้มาอภิปรายเพ่ือ
แลกเปล่ียนความคิด โดยมคี รูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสำเร็จ จุดเด่นและจุดท่ีตอ้ งพัฒนาใน
การจัดการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

ปญั หา/อปุ สรรคท่ีพบ
-

กิจกรรม/ขน้ั ตอน/งานทป่ี ฏิบัติไดด้ ี
ร่วมศกึ ษาปญั หา แนวทางแกไ้ ขปญั หา หรอื กระบวนการทีจ่ ะใชใ้ นการแกไ้ ขปัญหา ดังนี้

1) นางสาวกาญจนา คงทน นำคลิปการสอนนักเรียนระดับช้ัน ม.2/5 กิจกรรมการเรียนวิชาสรา้ งวิดีโออย่างง่าย
เรื่องร้จู ักเลเยอร์ ให้เพ่ือนสมาชกิ ร่วมวิพากษ์

52

ครูกาญจนา คงทน เลือกรูปแบบการสอนตามแนว Bloom ให้เรียนรู้ตามลำดับขั้นตอนการเรียนรู้
ความสามารถในการรู้จากง่ายไปยาก จากไม่ซับซ้อนไปสู่ความซับซ้อน จากความรู้ความคิดระดับพื้นฐานไปสู่
ระดบั สงู ตามลำดบั ไม่ขา้ มข้ัน
2) นางสาวรัศมี กุลสุวรรณ กล่าวว่า การรู้และคิดตามลำดับขั้น ได้แก่ ระลึกได้ จำได้ อธิบายและยกตัวอย่าง

ประกอบได้ นำความรู้ไปใช้แก้ปัญหา ใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจำวันได้ การแยกแยะส่ิงต่าง ๆ รวบรวมและ
ประมวลเข้าเป็นความร้ใู หม่ รวมทงั้ การวนิ ิจฉัยตัดสนิ ใจ อะไร อยา่ งไร เพราะอะไร นักเรียนให้ความรว่ มมือกับ
ครูได้ดี
3) นายอรรถพล ภูทอง กล่าวว่าจากประสบการณ์การใช้ทฤษฎีนี้ นำมาใช้กับการออกแบบการเรียนรู้แบบ
ผสมผสาน (Blended Learning) คือการผสมผสานการเรียนแบบออนไลน์ (online learning) และการเรียน
ในห้องเรียน (face-to-face learning) เขา้ ดว้ ยกัน โดยนำแนวคิดนมี้ าใชเ้ ปน็ เกณฑใ์ นการกำหนดวัตถุประสงค์
ซ่ึงสามารถช่วยแบ่งเนือ้ หาวา่ สว่ นใดสามารถออกแบบเป็นการเรียนแบบออนไลน์ และ ส่วนใดจำเป็นต้องเป็น
การเรยี นในห้องเรยี น
4) นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม เสริมว่าด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 อีกระลอก ทำให้การเรียน
ออนไลน์ มีความจำเป็นมากขึ้นในองค์กร เพราะพนักงานส่วนใหญ่จะต้องทำงานจากที่บ้าน (Work from
Home) ในขณะเดียวกันการเรียนรู้ก็ไม่สามารถหยุดน่ิงได้ อย่างไรก็ตามพบว่าบางหลักสูตรไม่สอดคล้องกับ
วัฒนธรรม คา่ นิยม สมรรถนะ ฯลฯ ท่ตี ้องการ จึงมีความคิดวา่ ถ้าเราทำหลักสูตรเองก็นา่ จะตอบโจทยม์ ากกว่า
คำถามคือวา่ แล้วจะเรม่ิ อยา่ งไรดี ทฤษฎขี องบลูมช่วยนำทางได้
5) นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรตั น์ แจง้ วา่ ใหส้ มาชิกนำคลปิ การสอนของตนเองมาใหเ้ พอ่ื นสมาชิกดูและร่วมวิพากษ์
ตอ่ ไป และให้บอกถงึ ปญั หาท่ีพบจากการเรยี นรแู้ บบยืดหยนุ่ เปดิ โอกาสให้นกั เรียนเรยี นรู้เมื่อพร้อม

ส่ิงทตี่ ้องพัฒนาตอ่ ไป
1.สร้างการจดั การเรียนรตู้ ลอดชวี ิต (Lifelong Learning) ในรายวิชาทต่ี นเองรับผิดชอบ

ผลการประเมนิ การแกป้ ัญหา

 กระบวนการแก้ไขปัญหา ประสบความสำเร็จ
 กระบวนการแกไ้ ขปญั หา ไมป่ ระสบความสำเรจ็
เนือ่ งจาก -
ขอ้ เสนอแนะผู้รายงานการบันทึกกิจกรรม

....................................................นดั หมายครงั้ ต่อไป วนั ที่...30...ก.ค...64..................................

ลงช่ือ...............................................................ผรู้ ายงาน
(นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รัตน์)

53

ความคดิ เหน็ / ข้อเสนอแนะ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชื่อผู้รบั รองกิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community
ลงช่ือ...............................................................................
(นายจงจัด จันทบ)
ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม

54

ภาพการมสี ่วนรว่ ม

55

แบบบันทกึ กิจกรรม
ชมุ ชนแห่งการเรยี นร้ทู างวชิ าชพี (Professional Learning Community )

สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ชอื่ กลุ่มกิจกรรม คร้งั ท่ี ...8................................................................

 วิชาการ  บคุ ลากร ภาคเรียนท่.ี ...1.......ปีการศกึ ษา.....2564........
วันเดือนปที ีจ่ ัดกิจกรรม....... 30..ก.ค...64...............
 งบประมาณ  บรหิ ารท่ัวไป สถานท่ี...ประชมุ ออนไลนผ์ า่ นโปรแกรม Meet......

 กิจการนักเรียน  พัฒนาผู้เรียน เวลา.......15.10-18.10.น...............................
จำนวน.................3.............................ชัว่ โมง
 กิจกรรม Lifelong Learning ในการจดั การ

เรียนรู้ เพื่อพฒั นาทกั ษะการเรียนร้ขู องผู้เรียนแบบ

ย่งั ยนื

ชอ่ื กิจกรรม
การพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ โดยใชก้ ารจดั การเรียนรู้แบบ Lifelong Learning

Community ผู้รว่ มอภิปราย

Model Teacher ผู้พบปัญหา นางสาวขวัญหลา้ เกตุฉมิ

Buddy Teacher ผู้ร่วมอภิปราย

1. นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม ประธานกรรมการ

2. นางสาวรัศมี กุลสวุ รรณ กรรมการ

3. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

4. นายอรรถพล ภทู อง กรรมการ

5. นางสาวอโนชา อุทมุ สกลุ รัตน์ กรรมการ/เลขานกุ าร

Mentor Coaching ผู้นำอภิปราย ผอ.จงจดั จนั ทบ

Recording ผู้บันทกึ ข้อมลู นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรตั น์

56

แบบบนั ทกึ กิจกรรม
ชุมชนแหง่ การเรียนรูท้ างวิชาชพี (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษากรุงเทพมหานครเขต 1

ประเดน็ ปัญหาทพี่ บ
การเห็นคุณค่าในตนเองมีความสำคัญต่อทุกช่วงชีวิตของมนุษย์ บุคคลท่ีเห็นคุณค่าในตัวเองต่ำหรือมี

ความร้สู ึกท่ไี ม่ดตี ่อตนเอง กเ็ ปรยี บเสมือนเป็นคนพิการทางบุคลิกภาพ เช่นเดียวกับการพิการทางร่างกาย ซ่ึงทำให้
ประสบความล้มเหลวในชีวิตทุกๆ ด้าน การเหน็ คณุ ค่าในตนเองจึงมีความสำคัญต่อทุกคนทกุ ช่วงชีวิต เปน็ สิ่งสำคัญ
ที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมที่มีประสิทธิภาพ ทำให้มนุษย์สามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าและสามารถบ่งชี้คุณภาพ
ชีวิตของบุคคลได้ว่าเป็นอย่างไรบุคคลจะแสดงระดับของการเห็นคุณค่าในตนเองท่ีแตกต่างกันออกมาโดยรู้ตัว
หรือไม่รู้ตัว ด้วยลักษณะท่าทางน้ำเสียง คําพูด และการกระทำ บุคคลที่มีการเห็นคุณค่าในตนเองในระดับสูงจะ
สามารถสร้างสรรค์ความคดิ หรอื การกระทำทีจ่ ะเผชญิ ความเครียดตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ นอกจากนี้การเห็น
คณุ ค่าในตนเองยังเป็นปัจจัยสำคัญในการปรับตัวทางอารมณ์ทางสังคมและทางการเรียนรู้ เป็นจุดเร่ิมตน้ ของการ
รับรชู้ ีวิตท่ีมผี ลต่อความคิด ความปรารถนา คา่ นิยม อารมณแ์ ละการต้ังเปา้ หมายในชวี ติ ของแตล่ ะบคุ คลอันมีผลต่อ
การแสดงพฤติกรรม จนกระทั้งกลายเป็นลักษณะของบุคลิกภาพและการประสบความสำเร็จหรอื ความล้มเหลวท้ัง
ในชีวิต ดังนั้นการเห็นคุณค่าในตนเองจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะพัฒนาบุคคลไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ได้ในท่ีสุด
(พรรณราย ทรัพยะประภา, 2548)

สถานการณป์ ัญหาทว่ั โลกจากการแพร่ระบาดของโควดิ -19 นอกจากส่งผลตอ่ สุขภาพร่างกายแล้ว ยงั ส่งผล
กระทบต่อสุขภาพจิตของผู้เรียน ครแู ละบุคคลทว่ั ไป ไมว่ ่าจะเป็นความตื่นกลัว ความวติ กกงั วลการตดิ เช้ือ หรอื การ
ไม่สามารถเขา้ ถึงข้อมูลทถี่ กู ต้อง รวมท้ังการขาดความเช่ือม่ันในกระบวนการรกั ษา ประกอบกบั ต้องเผชิญกบั ภาวะ
วิกฤตเศรษฐกิจตกต่ำ ส่งผลกระทบต่อหลายครอบครัวและ ย่อมส่งผลกระทบต่อระบบการเรียนการสอนอย่าง
หลกี เลย่ี งไม่ได้ เกิดความเครยี ดสะสมจนอาจลุกลามเปน็ ปัญหาสุขภาพจิตทีร่ ุนแรงในอนาคต

ผู้ค้นพบปัญหาพบว่าการเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนก้าวสู่โลกกว้างของสังคมแห่งการเรียนรู้ในยุคไทย
แลนด์ 4.0 ในสานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด19 น้ัน ต้องพัฒนาทักษะสำคัญแห่งอนาคตใหม่ ที่ผู้สอน
ต้องมีท้ังทักษะและคุณลักษณะท่ีรองรับเข้าถึงเพื่อสร้างนวัตกรรมบริหารจัดการช้ันเรียนแนวใหม่ โดยมุ่งเน้น
กิจกรรมและกระบวนการการเรียนรู้ที่กระตุ้นให้เกิดความภาคภมู ิใจในตนเอง (Self-Esteem) ของผู้เรียน ในอันที่
จะพัฒนาสู่เยาวชนยุคใหม่ได้อย่างต่อเน่ืองและย่ังยืนให้สอดคล้องกับหลักการจัดการศึกษาตามมาตรา 22 ที่ว่า
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมี
ความสำคัญที่สดุ กระบวนการจัดการศกึ ษาต้องสง่ เสริมให้ผู้เรยี นสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเตม็ ศกั ยภาพ

57

สาเหตุของปัญหา

COVID-19 ได้สร้างปัญหาและความยุ่งยากให้กับการศึกษาไทย แต่ในอีกมุมหนึ่งกลับเป็นตัวแปรในการ
สร้างการเปลีย่ นแปลงให้กับการศึกษา และเป็นตัวขับเคล่ือนในการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในระบบการศึกษาไทย
ทุกฝ่ายในระบบการศึกษาไทยต่างช่วยกันทำระบบกลไกการศึกษาท่ีแข็งแรง เพื่อขับเคล่ือนการศึกษาท่ามกลาง
สถานการณ์ท่ีไม่พึงประสงค์ ความปกติใหม่ (New Normal) เป็นรูปแบบการดำเนินชีวิตอย่างใหม่ท่ีแตกต่างจาก
อดีต อันเน่ืองจากมีบางสิ่งมากระทบจนแบบแผนและแนวทางปฏิบัติท่ีคนในสังคมคุ้นเคยอย่างเป็นปกติและเคย
คาดหมายล่วงหน้าได้ ต้องเปลี่ยนแปลงไปสู่วิถีใหม่ภายใต้หลักมาตรฐานใหม่ที่ไม่คุ้นเคยรูปแบบวิถีชีวิตใหม่นี้
ประกอบด้วยวิธีคดิ วธิ ีเรียนรู้ วิธีสือ่ สาร วิธีปฏิบัติ และการจัดการ การใชช้ ีวิตแบบใหมเ่ กดิ ขน้ึ

ด้วยการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วในยุคปัจจุบัน ท้ังครูและนักเรียนต้องพร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลงใน
รูปแบบกระบวนการจัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะครูถูกสังคมคาดหวังให้เปลี่ยนแปลงบทบาทเพื่อขับเคลื่อนให้
เกิดการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนให้เป็นบุคคลแห่งศตวรรษที่ 21 ครูจำเป็นต้องมีนวัตกรรมทางการศึกษา มี
ทักษะการสอนที่ทนั สมัย มีเทคนคิ การสอนสมยั ใหม่ ตลอดจนทัศนคติของตนเองต่อการเรยี นการสอนในยุคดิจทิ ลั ท่ี
สามารถตอบสนองผู้เรียนท่ีแตกต่างและหลากหลายเพื่อให้สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดขั้นสูงและมี
พฤติกรรมที่เปล่ียนไปตามความตอ้ งการในศตวรรษท่ี 21 สำหรบั การเรียนการสอนออนไลน์น้ันจงึ ไม่ใช่แค่เพียงให้
ผู้เรียนเข้ามาฟงั การบรรยายเพียงอย่างเดียวเท่านั้นแต่ผู้สอนต้องมีการออกแบบกระบวนการเรียนการสอนโดยให้
ผูเ้ รยี นได้มสี ว่ นร่วมและมปี ฏสิ มั พนั ธ์ในการทำกจิ กรรมต่าง ๆดว้ ย

ความรู้และหลกั การทน่ี ำมาใช้
การเรียนรู้ตลอดชีวิตตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 น่ันคือ การเรียนรู้ตลอดชีวิตว่า

หมายถึง การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศยั เพ่ือให้สามารถพัฒนาคุณภาพชวี ติ ไดอ้ ย่างตอ่ เนื่องตลอดชีวิต

การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) การ
จดั การเรียนร้ตู ลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรยี นรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) คอื การรับรคู้ วามรู้
ทกั ษะ และเจตคติ ของบุคคลจากการเรยี นรู้ด้วยวิธเี รียนแบบตา่ งๆ และสามารรถทำให้บุคคลนั้นเกิดการพัฒนา
ตนเองได้

กจิ กรรมท่ที ำ/ปฏบิ ัติ
กจิ กรรม Share ครูแลกเปลยี่ นประสบการณ์ในการจดั การเรียนรซู้ ่งึ กันและกนั

-มสี ื่อ นวัตกรรม (เทคนิคการสอน/วธิ ีการสอน/รปู แบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครูเรียนรูป้ ระสบการณใ์ นการจดั การเรยี นรรู้ ว่ มกนั

-พจิ ารณา สื่อ นวตั กรรม ท่มี คี วามสอดคล้องกับการแกป้ ญั หา
กิจกรรม Grow ทีมครู PLC มแี นวทางที่ดใี นการแก้ปญั หาคุณภาพผูเ้ รยี นรว่ มกัน

-เลอื ก สื่อ นวัตกรรม ท่มี คี วามสอดคลอ้ งกับการแก้ปญั หา

58

ผลทีไ่ ดร้ ับจากกจิ กรรม
1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (รูปแบบกิจกรรมและกระบวนการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมผู้เรียนให้

เหน็ คุณค่าในตนเอง)
2. ได้แนวทางทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน โดยใช้แนวทางการเพ่ิมประสบการณ์ท่ีประสบ

ความสำเร็จให้กับวยั ร่นุ การใช้ตัวแบบ การใช้คำพูดชกั จูงและการกระตุ้นทางอารมณ์ จึงสามารถนำมาใช้เป็นแนว
ทางการพัฒนาการเหน็ คุณค่าในตนเองของผ้เู รยี นได้

การนำผลทีไ่ ดไ้ ปใช้
1. มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ทน่ี ่าสนใจ ท่ีเกิดข้ึนจากการแลกเปล่ียนเรียนรู้ของสมาชิก

เครือข่าย ท่ีเป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รปู ธรรม (สมาชกิ เครอื ข่ายมีการนำไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งชัดเจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่ีน่าสนใจ ท่ีเกิดข้ึนของ
สมาชกิ เครือขา่ ยไปใช้ตลอดระยะที่ดำเนนิ โครงการทกุ ครั้งที่มีการแลกเปลยี่ นเรยี นร้โู ดยสมาชกิ ทุกคน

3. ผสู้ อนหลักและสมาชกิ ในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบตั กิ ารจดั กจิ กรรมการเรียนรู้มาอภิปรายเพ่ือ
แลกเปลี่ยนความคิด โดยมีครผู ู้สอนหลกั เป็นผู้สะท้อนความคิดเก่ียวกับความสำเร็จ จุดเด่นและจดุ ที่ตอ้ งพัฒนาใน
การจัดการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

ปัญหา/อปุ สรรคที่พบ
-

กจิ กรรม/ข้ันตอน/งานที่ปฏิบัติได้ดี
ร่วมศึกษาปญั หา แนวทางแก้ไขปัญหา หรอื กระบวนการทีจ่ ะใชใ้ นการแก้ไขปัญหา ดังนี้

1) นางสาวรัศมี กุลสุวรรณ นำคลิปการสอนนักเรยี นระดบั ช้ัน ม.3/2 กิจกรรมการออกแบบรม่ สนาม ให้เพ่ือน
สมาชกิ ร่วมวพิ ากษ์

59

ครูรัศมี กุลสุวรรณ เลือกรูปแบบการสอนตามแนว Bloom ให้เรียนรู้ตามลำดับข้ันตอนการเรียนรู้
ความสามารถในการรู้จากง่ายไปยาก จากไม่ซับซ้อนไปสู่ความซับซ้อน จากความรู้ความคิดระดับพื้นฐานไปสู่
ระดบั สงู ตามลำดบั ไม่ขา้ มข้ัน
2) นางสาวกาญจนา คงทน กล่าวว่า การรู้และคิดตามลำดับขั้น ได้แก่ ระลึกได้ จำได้ อธิบายและยกตัวอย่าง

ประกอบได้ นำความรู้ไปใช้แก้ปัญหา ใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจำวันได้ การแยกแยะส่ิงต่าง ๆ รวบรวมและ
ประมวลเขา้ เป็นความรใู้ หม่ รวมทง้ั การวินจิ ฉยั ตัดสนิ ใจ อะไร อยา่ งไร เพราะอะไร นกั เรยี นใหค้ วามรว่ มมอื กับ
ครูไดด้ ี
3) นายอรรถพล ภูทอง กล่าวว่าครูจัดการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ทุกท่ีทุกเวลาและต่อเนื่องตลอด
ชีวิตโดยจัดการเรียนรู้ 5 ลักษณะ ได้แก่ เรียนรู้อย่างมีความสุข เรียนรู้ด้วยการคิดและปฏิบัติจริง เรียนรู้
ร่วมกับบคุ คลอนื่ นอกจากน้ียงั ตอ้ งจดั การเรียนรอู้ ย่างครบวงจร ไดแ้ ก่ รบั ขอ้ มลู เชื่อมโยงบรู ณาการความรูแ้ ละ
ประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ทมี่ ีอย่เู พื่อการเรียนร้ยู ง่ิ ขึ้น
4) นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม เสริมว่ากระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตท่ีมีความเหมาะสมกับการใช้ในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต ประกอบด้วย ขั้นตอนการเรียนรู้ 4 ขั้น
ไดแ้ ก่ ขนั้ ท่ี 1 ปรับวิธคี ิดโดยการเรยี นรูเ้ รอ่ื งชวี ติ

ขน้ั ท่ี 2 สาธติ วธิ ที ำ เปน็ การเปิดโลกทศั นโ์ ดยการเรยี นรู้
ขน้ั ที่ 3 นำมาปฏบิ ัติ เปน็ การเข้าถงึ ตนเอง รู้จักตนเอง เรยี นรู้ทางเลอื กท่เี หมาะกับศักยภาพ และ
ทุนของตนเอง
ขนั้ ท4ี่ พัฒนาต่อยอด เป็นการวางแผนการเรียนรู้ตอ่ เนื่อง โดยใชว้ ิธีการจดั การเรียนรู้เป็นไปตาม
อัธยาศัยบนฐานวิถีชีวิตชุมชนและมีเครือข่ายการเรียนรู้ พัฒนาต่อยอดความรใู้ ห้เกิดการเรียนรู้
ต่อเน่ือง
5) นางสาวอโนชา อทุ มุ สกุลรตั น์ แจง้ วา่ ใหส้ มาชกิ นำคลิปการสอนของตนเองมาใหเ้ พอื่ นสมาชิกดแู ละร่วมวิพากษ์
ต่อไป และใหบ้ อกถึงปัญหาท่พี บจากการเรยี นรู้แบบยืดหยุ่น เปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนเรียนร้เู มอื่ พรอ้ ม
สิ่งทตี่ อ้ งพฒั นาต่อไป
1.สร้างการจดั การเรียนรู้ตลอดชวี ติ (Lifelong Learning) ในรายวชิ าทต่ี นเองรับผดิ ชอบ
ผลการประเมนิ การแก้ปญั หา

 กระบวนการแก้ไขปัญหา ประสบความสำเร็จ

 กระบวนการแกไ้ ขปัญหา ไมป่ ระสบความสำเร็จ

เนือ่ งจาก -
ขอ้ เสนอแนะผู้รายงานการบันทกึ กจิ กรรม

....................................................นดั หมายครัง้ ต่อไป วันที่...6...ส.ค...64..................................

ลงช่ือ...............................................................ผูร้ ายงาน
(นางสาวอโนชา อุทมุ สกลุ รตั น์)

60

ความคดิ เหน็ / ขอ้ เสนอแนะ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชื่อผูร้ บั รองกจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (Professional Learning Community
ลงชือ่ ...............................................................................
(นายจงจัด จันทบ)
ตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม

61

ภาพการมสี ่วนรว่ ม

62

แบบบนั ทึกกจิ กรรม
ชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษากรุงเทพมหานครเขต 1

ชอ่ื กลุ่มกจิ กรรม คร้ังท่ี ...9................................................................
ภาคเรยี นท่ี....1.......ปีการศกึ ษา.....2564........
 วิชาการ  บุคลากร
วันเดอื นปีทจ่ี ดั กิจกรรม....... ...6...ส.ค...64............
 งบประมาณ  บรหิ ารทวั่ ไป สถานที.่ ..ประชมุ ออนไลนผ์ า่ นโปรแกรม Meet......

 กิจการนักเรียน  พฒั นาผู้เรยี น เวลา.......15.10-18.10.น...............................
จำนวน.................3.............................ชั่วโมง
 กจิ กรรม Lifelong Learning ในการจดั การ

เรียนรู้ เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการเรียนรขู้ องผ้เู รียนแบบ

ยงั่ ยืน

ชอื่ กิจกรรม
การพฒั นาการจดั การเรยี นรู้ โดยใชก้ ารจดั การเรียนร้แู บบ Lifelong Learning

Community ผรู้ ว่ มอภปิ ราย

Model Teacher ผพู้ บปญั หา นางสาวขวญั หลา้ เกตุฉิม

Buddy Teacher ผูร้ ว่ มอภปิ ราย

1. นางสาวขวญั หล้า เกตฉุ ิม ประธานกรรมการ

2. นางสาวรศั มี กลุ สุวรรณ กรรมการ

3. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

4. นายอรรถพล ภทู อง กรรมการ

5. นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรตั น์ กรรมการ/เลขานุการ

Mentor Coaching ผนู้ ำอภปิ ราย ผอ.จงจดั จนั ทบ

Recording ผบู้ ันทกึ ขอ้ มูล นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรตั น์

63

แบบบันทึกกจิ กรรม
ชุมชนแห่งการเรยี นร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ประเดน็ ปัญหาทพ่ี บ
การเห็นคุณค่าในตนเองมีความสำคัญต่อทุกช่วงชีวิตของมนุษย์ บุคคลท่ีเห็นคุณค่าในตัวเองต่ำหรือมี

ความร้สู ึกท่ไี ม่ดตี ่อตนเอง กเ็ ปรียบเสมือนเปน็ คนพิการทางบุคลิกภาพ เช่นเดียวกับการพิการทางร่างกาย ซงึ่ ทำให้
ประสบความล้มเหลวในชีวิตทุกๆ ด้าน การเหน็ คุณคา่ ในตนเองจึงมีความสำคัญตอ่ ทุกคนทกุ ช่วงชวี ิต เป็นสิ่งสำคัญ
ที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมที่มีประสิทธิภาพ ทำให้มนุษย์สามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าและสามารถบ่งชี้คุณภาพ
ชีวิตของบุคคลได้ว่าเป็นอย่างไรบุคคลจะแสดงระดับของการเห็นคุณค่าในตนเองท่ีแตกต่างกันออกมาโดยรู้ตัว
หรือไม่รู้ตัว ด้วยลักษณะท่าทางน้ำเสียง คําพูด และการกระทำ บุคคลท่ีมีการเห็นคุณค่าในตนเองในระดับสูงจะ
สามารถสร้างสรรค์ความคดิ หรอื การกระทำทจ่ี ะเผชิญความเครียดต่างๆ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ นอกจากนี้การเห็น
คณุ ค่าในตนเองยังเปน็ ปัจจัยสำคัญในการปรับตัวทางอารมณ์ทางสังคมและทางการเรียนรู้ เป็นจุดเร่ิมตน้ ของการ
รับรชู้ ีวิตท่ีมีผลตอ่ ความคดิ ความปรารถนา คา่ นยิ ม อารมณแ์ ละการตั้งเปา้ หมายในชีวิตของแต่ละบุคคลอันมผี ลต่อ
การแสดงพฤติกรรม จนกระท้ังกลายเป็นลักษณะของบุคลิกภาพและการประสบความสำเร็จหรอื ความล้มเหลวท้ัง
ในชีวิต ดังนั้นการเห็นคุณค่าในตนเองจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะพัฒนาบุคคลไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ได้ในท่ีสุด
(พรรณราย ทรพั ยะประภา, 2548)

สถานการณป์ ญั หาทั่วโลกจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 นอกจากส่งผลต่อสขุ ภาพร่างกายแลว้ ยังส่งผล
กระทบต่อสุขภาพจิตของผเู้ รยี น ครูและบคุ คลทว่ั ไป ไมว่ ่าจะเป็นความตนื่ กลัว ความวิตกกังวลการติดเชื้อ หรือการ
ไม่สามารถเขา้ ถึงขอ้ มูลทถี่ กู ต้อง รวมท้ังการขาดความเชื่อม่ันในกระบวนการรกั ษา ประกอบกับต้องเผชิญกบั ภาวะ
วิกฤตเศรษฐกิจตกต่ำ ส่งผลกระทบต่อหลายครอบครัวและ ย่อมส่งผลกระทบต่อระบบการเรียนการสอนอย่าง
หลกี เลย่ี งไม่ได้ เกิดความเครียดสะสมจนอาจลุกลามเป็นปญั หาสุขภาพจิตท่ีรนุ แรงในอนาคต

ผู้ค้นพบปัญหาพบว่าการเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนก้าวสู่โลกกว้างของสังคมแห่งการเรียนรู้ในยุคไทย
แลนด์ 4.0 ในสานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด19 น้ัน ต้องพัฒนาทักษะสำคัญแห่งอนาคตใหม่ ที่ผู้สอน
ต้องมีท้ังทักษะและคุณลักษณะที่รองรับเข้าถึงเพ่ือสร้างนวัตกรรมบริหารจัดการช้ันเรียนแนวใหม่ โดยมุ่งเน้น
กิจกรรมและกระบวนการการเรียนร้ทู ่ีกระตุ้นให้เกดิ ความภาคภมู ิใจในตนเอง (Self-Esteem) ของผู้เรยี น ในอนั ท่ี
จะพัฒนาสู่เยาวชนยุคใหม่ได้อย่างต่อเน่ืองและย่ังยืนให้สอดคล้องกับหลักการจัดการศึกษาตามมาตรา 22 ที่ว่า
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมี
ความสำคัญท่สี ุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องสง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ

64

สาเหตขุ องปญั หา

COVID-19 ได้สร้างปัญหาและความยุ่งยากให้กับการศึกษาไทย แต่ในอีกมุมหน่ึงกลับเป็นตัวแปรในการ
สร้างการเปลีย่ นแปลงให้กับการศึกษา และเป็นตัวขับเคลื่อนในการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในระบบการศึกษาไทย
ทุกฝ่ายในระบบการศึกษาไทยต่างช่วยกันทำระบบกลไกการศึกษาที่แข็งแรง เพ่ือขับเคลื่อนการศึกษาท่ามกลาง
สถานการณ์ท่ีไม่พึงประสงค์ ความปกติใหม่ (New Normal) เป็นรูปแบบการดำเนินชีวิตอย่างใหม่ท่ีแตกต่างจาก
อดีต อันเนื่องจากมีบางส่ิงมากระทบจนแบบแผนและแนวทางปฏิบัติท่ีคนในสังคมคุ้นเคยอย่างเป็นปกติและเคย
คาดหมายล่วงหน้าได้ ต้องเปล่ียนแปลงไปสู่วิถีใหม่ภายใต้หลักมาตรฐานใหม่ที่ไม่คุ้นเคยรูปแบบวิถีชีวิตใหม่นี้
ประกอบด้วยวิธีคดิ วธิ เี รียนรู้ วิธีสือ่ สาร วธิ ีปฏบิ ัติ และการจัดการ การใชช้ วี ิตแบบใหม่เกดิ ขึ้น

ดว้ ยการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วในยุคปัจจุบัน ทั้งครูและนักเรียนต้องพร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลงใน
รปู แบบกระบวนการจัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะครูถูกสังคมคาดหวังให้เปล่ียนแปลงบทบาทเพ่ือขับเคลื่อนให้
เกิดการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนให้เป็นบุคคลแห่งศตวรรษที่ 21 ครูจำเป็นต้องมีนวัตกรรมทางการศึกษา มี
ทกั ษะการสอนท่ีทนั สมยั มีเทคนคิ การสอนสมัยใหม่ ตลอดจนทศั นคตขิ องตนเองตอ่ การเรียนการสอนในยุคดจิ ทิ ลั ท่ี
สามารถตอบสนองผู้เรียนท่ีแตกต่างและหลากหลายเพ่ือให้สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดข้ันสูงและมี
พฤติกรรมที่เปลีย่ นไปตามความต้องการในศตวรรษท่ี 21 สำหรบั การเรียนการสอนออนไลน์น้นั จงึ ไม่ใชแ่ ค่เพียงให้
ผ้เู รียนเข้ามาฟงั การบรรยายเพียงอย่างเดียวเท่าน้ันแต่ผูส้ อนต้องมกี ารออกแบบกระบวนการเรียนการสอนโดยให้
ผเู้ รียนได้มสี ว่ นร่วมและมปี ฏสิ มั พนั ธใ์ นการทำกจิ กรรมตา่ ง ๆด้วย

ความรู้และหลกั การทนี่ ำมาใช้
การเรียนรู้ตลอดชีวิตตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 นั่นคือ การเรียนรู้ตลอดชีวิตว่า

หมายถึง การศึกษาท่ีเกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศยั เพื่อใหส้ ามารถพฒั นาคุณภาพชวี ติ ไดอ้ ยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวิต

การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) การ
จดั การเรียนรูต้ ลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) คอื การรับร้คู วามรู้
ทกั ษะ และเจตคติ ของบุคคลจากการเรียนรู้ด้วยวิธเี รียนแบบต่างๆ และสามารรถทำให้บุคคลนั้นเกิดการพัฒนา
ตนเองได้

กิจกรรมทีท่ ำ/ปฏบิ ตั ิ
กจิ กรรม Share ครแู ลกเปล่ียนประสบการณใ์ นการจัดการเรียนรซู้ ่ึงกันและกัน

-มสี ือ่ นวตั กรรม (เทคนคิ การสอน/วิธีการสอน/รูปแบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครูเรียนรู้ประสบการณ์ในการจัดการเรยี นรู้ร่วมกนั

-พจิ ารณา ส่ือ นวตั กรรม ทม่ี ีความสอดคล้องกบั การแก้ปญั หา
กิจกรรม Grow ทมี ครู PLC มีแนวทางท่ีดีในการแกป้ ัญหาคุณภาพผเู้ รียนร่วมกนั

-เลอื ก สื่อ นวัตกรรม ท่ีมีความสอดคลอ้ งกับการแก้ปัญหา

65

ผลทไี่ ดร้ บั จากกจิ กรรม
1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (รูปแบบกิจกรรมและกระบวนการเรียนการสอนที่ส่งเสริมผู้เรียนให้

เห็นคณุ คา่ ในตนเอง)
2. ได้แนวทางทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน โดยใช้แนวทางการเพ่ิมประสบการณ์ท่ีประสบ

ความสำเร็จให้กับวัยร่นุ การใช้ตัวแบบ การใช้คำพดู ชกั จูงและการกระตุ้นทางอารมณ์ จึงสามารถนำมาใชเ้ ป็นแนว
ทางการพัฒนาการเหน็ คุณคา่ ในตนเองของผเู้ รียนได้

การนำผลที่ไดไ้ ปใช้
1. มอี งค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ทน่ี ่าสนใจ ที่เกิดข้ึนจากการแลกเปล่ียนเรียนรู้ของสมาชิก

เครือข่าย ท่ีเป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รปู ธรรม (สมาชิกเครอื ข่ายมีการนำไปใช้ไดอ้ ยา่ งชดั เจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ท่ีเกิดขึ้นของ
สมาชิกเครือขา่ ยไปใชต้ ลอดระยะทด่ี ำเนนิ โครงการทุกคร้ังท่ีมีการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้โดยสมาชกิ ทกุ คน

3. ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบตั กิ ารจดั กจิ กรรมการเรียนรู้มาอภิปรายเพ่ือ
แลกเปล่ียนความคิด โดยมคี รผู ู้สอนหลกั เป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกบั ความสำเรจ็ จุดเด่นและจดุ ที่ต้องพัฒนาใน
การจดั การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

ปัญหา/อุปสรรคท่ีพบ
-

กจิ กรรม/ข้ันตอน/งานทป่ี ฏิบัติได้ดี
ร่วมศึกษาปัญหา แนวทางแก้ไขปัญหา หรอื กระบวนการท่ีจะใชใ้ นการแกไ้ ขปญั หา ดงั นี้

1) นายอรรถพล ภูทอง นำคลิปการสอนนักเรียนระดับช้ัน ม.5/2 กิจกรรมการวิเคราะห์เชิงพรรณา ให้เพ่ือน
สมาชิกรว่ มวิพากษ์

66

ครูอรรถพล ภูทอง เลือกรูปแบบการสอนตามแนว Gagne สง่ เสริมกระบวนการเรียนรู้ภายในสมอง โดย
จัดสถานการณ์ภายนอกใหเ้ ออ้ื ตอ่ สภาพภายในของผเู้ รยี น
2) นางสาวกาญจนา คงทน กลา่ ววา่ เรียนรสู้ าระท่ีนำเสนอไดอ้ ย่างดี รวดเรว็ และจดจำได้นาน นักเรียนทกั ษะใน

การจดั ระบบข้อมูล สรา้ งความหมายของขอ้ มลู และการแสดงความสามารถของตน
3) นางสาวรัศมี กลุ สุวรรณ กลา่ วว่าครูจัดการเรยี นรู้เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ จัดกระบวนการเรียนรู้ สอดคล้องกบั ความ

สนใจ ความถนัดของผเู้ รียน และความแตกต่างระหว่างบคุ คล ฝึกทักษะ กระบวนการคดิ การจัดการการเผชิญ
สถานการณ์และการประยุกตค์ วามรู้ มาใช้แก้ปัญหา
4) นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม เสริมว่าครูจะต้องมีการประเมินผลอย่างต่อเน่ือง และตลอดเวลาด้วยวิธีการต่างๆ
เช่น การซกั ถาม การสังเกต การทดสอบ เพอ่ื ตรวจสอบว่าการสอนตรงตามจุประสงคม์ ากที่สุด ไมเ่ นน้ การสอบ
5) นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรัตน์ กล่าวว่าการนำแนวคดิ วธิ ีการ กระบวนการหรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ มาใช้ในการ
จดั การเรียนรู้ ในการแกป้ ญั หาหรือพัฒนาการเรยี นรู้อย่างมีประสิทธภิ าพตรงตามเป้าหมายของหลกั สูตร ซึง่ จะ
ช่วยใหก้ ารศึกษาและการเรียนการสอนมีประสทิ ธภิ าพดีย่ิงขน้ึ นักเรยี นสามารถเกิดการเรยี นรู้ไดอ้ ย่างรวดเรว็ มี
ประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจในการเรียนด้วยนวัตกรรมเหล่านั้น และประหยัดเวลาในการเรียนได้อีก
ด้วย
6) นางสาวกาญจนา คงทน กลา่ ววา่ แรงเสริมทางบวกมผี ลดีต่อการเรียนรขู้ องนักเรียน แต่ถา้ นักเรียนไดร้ ับส่งิ ไม่
พึงพอใจจากการคุกคามทางความรู้สึก ความเครียด และความวิตกกังวล ก็จะทำให้สมองไม่เกิดการเรียนรู้
(Learning and enhanced by challenge and inhibited by threat) ดังน้ันจึงควรสร้างบรรยากาศการ
เรียนรู้ให้เกิดความร้สู กึ ผ่อนคลาย และหลีกเลยี่ งการกดดนั นักเรยี นในรูปแบบตา่ ง ๆ

ส่ิงทตี่ ้องพฒั นาตอ่ ไป
1.สร้างการจดั การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต (Lifelong Learning) ในรายวิชาทต่ี นเองรับผิดชอบ

ผลการประเมนิ การแก้ปัญหา

 กระบวนการแกไ้ ขปญั หา ประสบความสำเรจ็
 กระบวนการแกไ้ ขปัญหา ไมป่ ระสบความสำเร็จ
เน่อื งจาก -
ขอ้ เสนอแนะผรู้ ายงานการบนั ทกึ กิจกรรม

....................................................นัดหมายครง้ั ตอ่ ไป วันท.ี่ ..13...ส.ค...64..................................

ลงช่อื ...............................................................ผ้รู ายงาน
(นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์)

67

ความคดิ เหน็ / ข้อเสนอแนะ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ผู้รบั รองกิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (Professional Learning Community
ลงชอ่ื ...............................................................................
(นายจงจัด จันทบ)
ตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

68

ภาพการมสี ่วนรว่ ม

69

แบบบนั ทกึ กิจกรรม
ชุมชนแหง่ การเรียนร้ทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ชอ่ื กลุ่มกิจกรรม ครงั้ ที่ ...10..............................................................
ภาคเรยี นท่.ี ...1.......ปีการศกึ ษา.....2564........
 วชิ าการ  บุคลากร วันเดือนปที ี่จัดกิจกรรม....... ...13...ส.ค...64...........
สถานที่...ประชุมออนไลนผ์ ่านโปรแกรม Meet......
 งบประมาณ  บริหารท่วั ไป เวลา.......15.10-18.10.น...............................
จำนวน.................3.............................ช่ัวโมง
 กิจการนกั เรยี น  พัฒนาผเู้ รียน

 กจิ กรรม Lifelong Learning ในการจดั การ

เรียนรู้ เพอ่ื พฒั นาทักษะการเรียนรขู้ องผ้เู รยี นแบบ

ยงั่ ยนื

ชื่อกจิ กรรม
การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ โดยใชก้ ารจดั การเรียนรแู้ บบ Lifelong Learning

Community ผรู้ ว่ มอภปิ ราย

Model Teacher ผพู้ บปญั หา นางสาวขวญั หลา้ เกตุฉมิ

Buddy Teacher ผู้รว่ มอภปิ ราย

1. นางสาวขวญั หลา้ เกตุฉิม ประธานกรรมการ

2. นางสาวรศั มี กุลสวุ รรณ กรรมการ

3. นางสาวกาญจนา คงทน กรรมการ

4. นายอรรถพล ภูทอง กรรมการ

5. นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรตั น์ กรรมการ/เลขานกุ าร

Mentor Coaching ผูน้ ำอภิปราย ผอ.จงจดั จนั ทบ

Recording ผู้บันทกึ ข้อมลู นางสาวอโนชา อทุ มุ สกุลรัตน์

70

แบบบันทึกกจิ กรรม
ชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community )

สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานครเขต 1

ประเดน็ ปัญหาทพี่ บ
การเห็นคุณค่าในตนเองมีความสำคัญต่อทุกช่วงชีวิตของมนุษย์ บุคคลท่ีเห็นคุณค่าในตัวเองต่ำหรือมี

ความร้สู ึกท่ไี ม่ดตี ่อตนเอง กเ็ ปรยี บเสมือนเปน็ คนพิการทางบุคลิกภาพ เช่นเดียวกับการพิการทางร่างกาย ซึง่ ทำให้
ประสบความล้มเหลวในชีวติ ทุกๆ ด้าน การเหน็ คุณคา่ ในตนเองจึงมีความสำคัญตอ่ ทุกคนทกุ ช่วงชวี ิต เปน็ สิ่งสำคัญ
ที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมท่ีมีประสิทธิภาพ ทำให้มนุษย์สามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าและสามารถบ่งชี้คุณภาพ
ชีวิตของบุคคลได้ว่าเป็นอย่างไรบุคคลจะแสดงระดับของการเห็นคุณค่าในตนเองท่ีแตกต่างกันออกมาโดยรู้ตัว
หรือไม่รู้ตัว ด้วยลักษณะท่าทางน้ำเสียง คําพูด และการกระทำ บุคคลท่ีมีการเห็นคุณค่าในตนเองในระดับสูงจะ
สามารถสร้างสรรค์ความคดิ หรอื การกระทำทจ่ี ะเผชิญความเครียดต่างๆ ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ นอกจากนี้การเห็น
คณุ ค่าในตนเองยังเปน็ ปัจจัยสำคัญในการปรับตัวทางอารมณ์ทางสังคมและทางการเรียนรู้ เป็นจุดเริ่มตน้ ของการ
รับรชู้ ีวิตที่มผี ลต่อความคดิ ความปรารถนา ค่านยิ ม อารมณ์และการตั้งเป้าหมายในชวี ติ ของแต่ละบุคคลอันมผี ลต่อ
การแสดงพฤติกรรม จนกระท้ังกลายเป็นลักษณะของบุคลิกภาพและการประสบความสำเร็จหรอื ความล้มเหลวท้ัง
ในชีวิต ดังนั้นการเห็นคุณค่าในตนเองจึงเป็นสิ่งสำคัญท่ีจะพัฒนาบุคคลไปสู่การเป็นบุคคลท่ีสมบูรณ์ได้ในท่ีสุด
(พรรณราย ทรัพยะประภา, 2548)

สถานการณป์ ัญหาท่ัวโลกจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 นอกจากส่งผลตอ่ สขุ ภาพร่างกายแล้ว ยังส่งผล
กระทบต่อสุขภาพจิตของผเู้ รยี น ครูและบคุ คลทว่ั ไป ไมว่ ่าจะเป็นความตื่นกลัว ความวติ กกังวลการติดเชื้อ หรือการ
ไม่สามารถเขา้ ถึงข้อมูลทถ่ี กู ต้อง รวมท้ังการขาดความเชื่อมั่นในกระบวนการรกั ษา ประกอบกบั ต้องเผชิญกับภาวะ
วิกฤตเศรษฐกิจตกต่ำ ส่งผลกระทบต่อหลายครอบครัวและ ย่อมส่งผลกระทบต่อระบบการเรียนการสอนอย่าง
หลกี เลย่ี งไม่ได้ เกิดความเครียดสะสมจนอาจลุกลามเป็นปญั หาสุขภาพจติ ทรี่ ุนแรงในอนาคต

ผู้ค้นพบปัญหาพบว่าการเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนก้าวสู่โลกกว้างของสังคมแห่งการเรียนรู้ในยุคไทย
แลนด์ 4.0 ในสานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด19 น้ัน ต้องพัฒนาทักษะสำคัญแห่งอนาคตใหม่ ที่ผู้สอน
ต้องมีท้ังทักษะและคุณลักษณะที่รองรับเข้าถึงเพ่ือสร้างนวัตกรรมบริหารจัดการช้ันเรียนแนวใหม่ โดยมุ่งเน้น
กจิ กรรมและกระบวนการการเรียนร้ทู ี่กระตุ้นให้เกดิ ความภาคภมู ิใจในตนเอง (Self-Esteem) ของผู้เรยี น ในอนั ท่ี
จะพัฒนาสู่เยาวชนยุคใหม่ได้อย่างต่อเน่ืองและย่ังยืนให้สอดคล้องกับหลักการจัดการศึกษาตามมาตรา 22 ที่ว่า
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมี
ความสำคัญทีส่ ดุ กระบวนการจัดการศึกษาต้องสง่ เสรมิ ให้ผูเ้ รียนสามารถพฒั นาตามธรรมชาติและเตม็ ศกั ยภาพ

71

สาเหตขุ องปญั หา

COVID-19 ได้สร้างปัญหาและความยุ่งยากให้กับการศึกษาไทย แต่ในอีกมุมหนึ่งกลับเป็นตัวแปรในการ
สร้างการเปลีย่ นแปลงให้กับการศึกษา และเป็นตัวขับเคลื่อนในการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในระบบการศึกษาไทย
ทุกฝ่ายในระบบการศึกษาไทยต่างช่วยกันทำระบบกลไกการศึกษาที่แข็งแรง เพ่ือขับเคลื่อนการศึกษาท่ามกลาง
สถานการณ์ท่ีไม่พึงประสงค์ ความปกติใหม่ (New Normal) เป็นรูปแบบการดำเนินชีวิตอย่างใหม่ท่ีแตกต่างจาก
อดีต อันเนื่องจากมีบางส่ิงมากระทบจนแบบแผนและแนวทางปฏิบัติท่ีคนในสังคมคุ้นเคยอย่างเป็นปกติและเคย
คาดหมายล่วงหน้าได้ ต้องเปล่ียนแปลงไปสู่วิถีใหม่ภายใต้หลักมาตรฐานใหม่ที่ไม่คุ้นเคยรูปแบบวิถีชีวิตใหม่นี้
ประกอบด้วยวิธีคดิ วธิ เี รียนรู้ วิธีสอื่ สาร วธิ ีปฏบิ ตั ิ และการจัดการ การใช้ชีวิตแบบใหม่เกิดขนึ้

ดว้ ยการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วในยุคปัจจุบัน ทั้งครูและนักเรียนต้องพร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลงใน
รปู แบบกระบวนการจัดการเรียนการสอนโดยเฉพาะครูถูกสังคมคาดหวังให้เปล่ียนแปลงบทบาทเพ่ือขับเคล่ือนให้
เกิดการพัฒนาศักยภาพของนักเรียนให้เป็นบุคคลแห่งศตวรรษที่ 21 ครูจำเป็นต้องมีนวัตกรรมทางการศึกษา มี
ทกั ษะการสอนท่ีทนั สมยั มีเทคนคิ การสอนสมัยใหม่ ตลอดจนทัศนคติของตนเองตอ่ การเรียนการสอนในยุคดิจทิ ัลท่ี
สามารถตอบสนองผู้เรียนท่ีแตกต่างและหลากหลายเพื่อให้สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดข้ันสูงและมี
พฤติกรรมที่เปลีย่ นไปตามความต้องการในศตวรรษท่ี 21 สำหรับการเรียนการสอนออนไลน์น้ันจึงไม่ใช่แค่เพียงให้
ผ้เู รียนเข้ามาฟงั การบรรยายเพียงอย่างเดียวเท่าน้ันแต่ผู้สอนต้องมีการออกแบบกระบวนการเรียนการสอนโดยให้
ผเู้ รียนได้มสี ว่ นร่วมและมีปฏสิ มั พนั ธใ์ นการทำกจิ กรรมตา่ ง ๆด้วย

ความรู้และหลกั การทนี่ ำมาใช้
การเรียนรู้ตลอดชีวิตตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 นั่นคือ การเรียนรู้ตลอดชีวิตว่า

หมายถึง การศึกษาท่ีเกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศยั เพื่อใหส้ ามารถพฒั นาคุณภาพชวี ิตไดอ้ ยา่ งต่อเนื่องตลอดชวี ิต

การจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) การ
จดั การเรียนรูต้ ลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเรยี นรู้ด้วยตนเอง (Self-Learning) คอื การรับร้คู วามรู้
ทกั ษะ และเจตคติ ของบุคคลจากการเรียนรู้ด้วยวิธีเรียนแบบต่างๆ และสามารรถทำให้บคุ คลน้ันเกิดการพัฒนา
ตนเองได้

กิจกรรมทีท่ ำ/ปฏบิ ตั ิ
กจิ กรรม Share ครแู ลกเปล่ียนประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ซงึ่ กันและกนั

-มีส่ือ นวตั กรรม (เทคนคิ การสอน/วิธีการสอน/รูปแบบการสอน)
กิจกรรม Learn ครเู รียนรู้ประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้รว่ มกัน

-พจิ ารณา ส่ือ นวตั กรรม ทม่ี ีความสอดคลอ้ งกบั การแก้ปญั หา
กิจกรรม Grow ทมี ครู PLC มีแนวทางทีด่ ใี นการแก้ปัญหาคุณภาพผเู้ รยี นร่วมกนั

-เลือก สื่อ นวัตกรรม ทีม่ คี วามสอดคล้องกับการแก้ปัญหา

72

ผลทีไ่ ด้รับจากกิจกรรม
1. ได้นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา (รูปแบบกิจกรรมและกระบวนการเรียนการสอนที่ส่งเสริมผู้เรียนให้

เห็นคณุ คา่ ในตนเอง)
2. ได้แนวทางทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน โดยใช้แนวทางการเพิ่มประสบการณ์ท่ีประสบ

ความสำเร็จให้กับวัยรุ่น การใชต้ ัวแบบ การใช้คำพูดชกั จงู และการกระตุ้นทางอารมณ์ จึงสามารถนำมาใช้เป็นแนว
ทางการพฒั นาการเห็นคุณคา่ ในตนเองของผเู้ รียนได้

การนำผลทไี่ ด้ไปใช้
1. มีองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ทน่ี ่าสนใจ ที่เกิดขึ้นจากการแลกเปล่ียนเรียนรู้ของสมาชิก

เครือข่าย ท่ีเป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้อย่างเป็น
รปู ธรรม (สมาชกิ เครอื ข่ายมกี ารนำไปใช้ไดอ้ ย่างชดั เจน)

2. มีร่องรอยการรายงานผลการนำองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความรู้ท่ีน่าสนใจ ที่เกิดข้ึนของ
สมาชกิ เครือขา่ ยไปใชต้ ลอดระยะทีด่ ำเนนิ โครงการทกุ คร้งั ที่มีการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้โดยสมาชกิ ทุกคน

3. ผูส้ อนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัตกิ ารจัดกจิ กรรมการเรียนรู้มาอภิปรายเพื่อ
แลกเปล่ียนความคิด โดยมีครผู ู้สอนหลกั เป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกบั ความสำเรจ็ จุดเด่นและจดุ ที่ตอ้ งพัฒนาใน
การจดั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ปัญหา/อุปสรรคทพี่ บ
-

กจิ กรรม/ขน้ั ตอน/งานท่ปี ฏบิ ัติได้ดี
ร่วมศึกษาปญั หา แนวทางแกไ้ ขปัญหา หรอื กระบวนการทจี่ ะใช้ในการแกไ้ ขปัญหา ดังนี้

1) นางสาวขวัญหลา้ เกตุฉิม กล่าวว่าแนวทางการวัดและประเมินผลในชั้นเรียน ในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) ให้สถานศึกษาพิจารณารูปแบบการจัดการศึกษาท่ีขึ้นอยู่กับ
สภาพบริบท ความเหมาะสม และความปลอดภัยของพื้นท่ีแต่ละแห่ง โดยการวัดและประเมินผลผู้เรียนใน
ระดับมัธยมศกึ ษา (อา่ นและเขียนหนังสือได้ เรียนรู้ด้วยตนเองได้ และมีความสามารถในการใช้เทคโนโลย)ี
เป็นการประเมินทมี่ ่งุ เน้นตรวจสอบความรู้ความสามารถ ทักษะและคณุ ลักษณะของผู้เรียน ตามมาตรฐานและ
ตวั ช้วี ดั ในแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
• ใช้วิธีการและรูปแบบท่ีหลากหลายผสมผสานกันไป เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์การตรวจผลงาน การ
ประเมนิ ภาคปฏิบัติ การประเมินโดยใชแ้ ฟ้มสะสมผลงาน และการทดสอบ
• การวัดและประเมินผลอาจมที ั้งการทดสอบโดยใช้ข้อสอบและกระดาษคำตอบ หรือการทดสอบโดยใช้ระบบ
การสอบออนไลน์ การทดสอบโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรปู เปน็ ต้น
• มีการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สำหรับการบริหารจัดการทดสอบและประเมินผู้เรียนดังน้ันในการวัดและ
ประเมินผล ครผู สู้ อนสามารถจัดระบบให้ผูเ้ รียนสามารถส่งขอ้ มลู สารสนเทศ
• ผลการประเมนิ ยอ้ นกลับได้ดว้ ยตนเองไปใหค้ รผู ู้สอน โดยใช้จดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-Mail) หรอื ช่อง

73

ทางการส่ือสารอ่นื ๆ
• ประสานขอความรว่ มมือจากผู้ปกครองใหเ้ ขา้ มามสี ่วนร่วมในการประเมนิ ผู้เรยี น
• สามารถไปตรวจเยี่ยมบ้านของผู้เรียนเพอื่ ประเมนิ และตรวจสอบความรู้ความสามารถของผเู้ รยี น
• จัดทำตารางนัดหมายผู้เรียนเป็นกลุ่มเล็ก ๆ เพื่อทำกิจกรรมการเรียนการสอนควบคู่กับการวัดและ
ประเมินผล ท้ังทสี่ ถานศกึ ษาและท่บี า้ นนกั เรียน
(อา้ งจาก สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.)

ซง่ึ ตามแนวทางดังกล่าวสอดคลอ้ งกับกิจกรรม Lifelong Learning ในการจัดการเรยี นรู้ เพอื่ พฒั นาทักษะ
การเรยี นรู้ของผเู้ รียนแบบยั่งยืนที่เราไดด้ ำเนินการ
2) นางสาวกาญจนา คงทน ให้เพอ่ื นสมาชิกร่วมชม คลปิ “ครจู ะวัดประเมินผลอย่างไรให้ได้ตามสภาพจริง ในยุค
โควิด-19: จนั ทรป์ ลุกโปรย Highlight” https://www.youtube.com/watch?v=BeR8KSvWNHQ

3) นางสาวรัศมี กุลสุวรรณ กล่าวว่าหลังจากที่นักเรียนได้รับคะแนนครึ่งภาคเรียนจากงานทะเบียนวัดผล
นักเรียนหลายคนมีความพึงพอใจต่อคะแนนท่ีได้รับ นักเรียนที่สามารปรับตัวภายใต้สถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 ได้เร็วก็จะไมป่ ญั หาเร่ืองการเรยี นหรอื การสง่ งาน

4) นางสาวอโนชา อุทมุ สกุลรัตน์ กล่าวว่าครู ได้มกี ารจัดหาแบบเรยี น เอกสารประกอบการเรยี นการสอน ส่ือการ
เรียนรู้ท้ังแบบออนไลน์และออฟไลน์ไว้อย่างเพียงพอในการจัดการเรียนการสอน ทำให้เมื่อนักเรียนต้องใช้
วิธีการเรียนอยู่บ้านก็สามารถศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติมได้จากส่ือเหล่านั้นและยังสามารถใช้ในการทบทวน
ความรู้กอ่ นที่จะมีการประเมินผลหรือตดิ ตามงานสง่ เม่ือพรอ้ มผลการสัมภาษณ์ที่บง่ ชว้ี ่านกั เรียนเข้าใจ ยอมรับ
และเต็มใจท่ีจะปรับตัวต่อรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานท่ีโรงเรียนจัดข้ึน พยายามจัดหา
อุปกรณท์ างเทคโนโลยีและส่งิ สนบั สนนุ ทเี่ อ้ือตอ่ การเขา้ เรียนแตอ่ ย่างไรก็ตาม ส่งิ ท่ีนกั เรียนต้องปรบั ตวั โดยการ
จัดหาเพิ่มเตมิ เข้ามาใชใ้ นการเรียนและมีผลกระทบตอ่ การเรยี นเป็นอย่างมาก คอื สญั ญาณอินเทอรเ์ น็ตท่ีตอ้ ง
ใช้เพ่ือการเข้าเรียนออนไลน์ ค้นคว้าหาความรู้ที่เกี่ยวข้อง และการส่งงานออนไลน์ที่อาจทำให้ส่งงานล่าช้า
การให้คำปรึกษาเพื่อสร้างเสริมกำลังใจให้กับนักเรียนที่อยู่ในภาวะเครียด มีความวิตกกังวลที่เกิดจากปัญหา
ครอบครัวทไี่ ดร้ ับผลกระทบจาก COVID-19 จะช่วยใหน้ ักเรียนมกี ำลังใจทจี่ ะเรยี นต่อไป

5) นายอรรถพล ภูทอง กล่าวว่าการออกแบบกิจกรรมท่ีออกแบบภายใต้มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของ
COVID-19 และความสมัครใจของนกั เรยี น นกั เรียนจะเหน็ ว่ากจิ กรรมท่ีครจู ดั ข้นึ เป็นโอกาสดีท่ีจะได้เรยี นรู้การ

74

เข้าร่วมกิจกรรมในวิถีใหม่ เพราะอย่างไรก็ต้องเข้าร่วมกิจกรรมภายใต้มาตรการเช่นน้ีเมื่ออยู่ในมหาวิทยาลัย
หรอื เพ่อื การตดิ ตอ่ กับหนว่ ยงานต่าง ๆ ในสังคม
6) นางสาวขวัญหล้า เกตุฉิม กลา่ วว่าเมื่อพิจารณาพบว่านกั เรียนมีการปรบั ตัวอยใู่ นระดบั มาก นกั เรียนพยายาม
จดั หาอุปกรณ์ทางเทคโนโลยีและส่ิงสนับสนุนที่เอ้ือต่อการเข้าเรียนออนไลน์โดยเฉพาะสัญญาณอินเทอร์เน็ต
ซงึ่ จากการสัมภาษณ์พบว่ามีผลกระทบต่อการเรียนเป็นอย่างมาก นักเรียนต้องอาศัยเวลามากในการปรับตัว
เสนอว่า สมาชิกเลือกปัญหาที่ครูพบในชัน้ เรียนเพือ่ ทำวิจัยในช้ันเรียนโดยนำการจัดการเรียนรู้แบบ Lifelong
Learning แกป้ ญั หา

สิ่งทตี่ อ้ งพัฒนาตอ่ ไป
วิจัยในชัน้ เรยี นโดยนำการจดั การเรียนรู้แบบ Lifelong Learning แก้ปัญหา

ผลการประเมินการแก้ปญั หา
 กระบวนการแกไ้ ขปัญหา ประสบความสำเร็จ
 กระบวนการแก้ไขปัญหา ไมป่ ระสบความสำเร็จ
เน่อื งจาก -
ขอ้ เสนอแนะผู้รายงานการบันทึกกจิ กรรม
....................................................นดั หมายครงั้ ต่อไป ...-...............................

ลงชื่อ...............................................................ผรู้ ายงาน
(นางสาวอโนชา อทุ ุมสกลุ รตั น์)

ความคดิ เหน็ / ขอ้ เสนอแนะ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ผู้รับรองกิจกรรมชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ (Professional Learning Community

ลงชื่อ...............................................................................
(นายจงจัด จันทบ)

ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม

75

ภาพการมสี ่วนรว่ ม

76

ภาคผนวก
บนั ทกึ ขอ้ ความขอเปิดกลมุ่

77


Click to View FlipBook Version