The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2022-08-28 00:39:23

งานวิจัย64

งานวิจัย64

รายงานการศกึ ษาผลสมั ฤทธิ์และการเห็นคุณคา่
ในตนเองของนักเรียนทีไ่ ด้รับการจัดการเรียนรู้
โดยใชช้ ดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนโิ สมนสกิ ารสำหรับ
นกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม

อโนชา อุทมุ สกลุ รตั น์
ตำแหน่งครู วทิ ยฐานะ ครูชำนาญการพเิ ศษ

โรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม
สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษากรงุ เทพมหานคร เขต 1



คำช้ีแจง

รายงานการศกึ ษาผลสัมฤทธแ์ิ ละการเห็นคณุ คา่ ในตนเองของนักเรยี นท่ีได้รบั การจดั การเรียนรู้
โดยใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการสำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6
โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคมท่ีผู้รายงานได้จัดทำข้ึนเพ่ือใช้ประกอบการเรียนสอนนักเรียนจนประสบ
ผลสำเรจ็ จึงได้เป็นผลงานสำหรับเป็นแนวทางให้ผูท้ ี่สนใจไวส้ ำหรับศึกษาค้นคว้า

ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนิโสมนสิการ วิชาเคมี 6 ท่ีจัดทำข้ึนน้ีมีจำนวน 3 เล่มมี
คุณภาพสามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากเป็นการเพ่ิม
ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนแล้ว ยังช่วยให้เกดิ การเห็นคณุ ค่าในตนเองของนักเรยี น และมีความสุขในการเรียน
สนใจเรียนมากข้ึน และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนิโสมนสิการ จะช่วยเป็น
แนวทางให้คุณครู และผู้ที่สนใจได้นำไปใช้ประโยชน์ ในการพัฒนานักเรียน และพัฒนาสื่อการเรียนของ
ทา่ นใหด้ ยี ง่ิ ขึน้ เปน็ ลำดับตอ่ ไป

อโนชา อทุ ุมสกลุ รตั น์



กติ ตกิ รรมประกาศ

รายงานการศกึ ษาผลสมั ฤทธแ์ิ ละการเห็นคุณคา่ ในตนเองของนักเรียนท่ีไดร้ ับการจัดการเรยี นรู้

โดยใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการสำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6

โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคมสำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี เนื่องจากได้รับความอนุเคราะห์ ช่วยเหลืออย่างดียิ่ง

จาก ท่านผู้อำนวยการ นายสุริยันต์ เหล่ามะลึก ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม ให้การ

สนับสนุนในการจัดทำผลงานวชิ าการ ให้คำปรึกษา แนะนำ เสนอแนะ ตรวจสอบ แก้ไขข้อบกพร่อง และ

ใหก้ ำลังใจ ตลอดจนรายงานเสร็จสมบรู ณ์ ผู้รายงานขอขอบพระคุณเป็นอยา่ งสงู มาไว้ ณ ทนี่ ี้

ผู้รายงานขอขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิ ในการตรวจสอบเคร่ืองมือ จำนวน 3 ท่าน ซ่ึงได้แก่ 1)

นางสาววรันต์ภรณ์ คังคะประดิษฐ์ ครู วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ สาขาวิชาเคมี โรงเรียนพระปฐม

วทิ ยาลยั จ. จงั หวัดนครปฐม 2) นางปิยะอนงค์ นศิ าวฒั นานันท์ ครู วทิ ยฐานะชำนาญการพิเศษ สาขาวชิ า

วิทยาศาสตร์-เคมี โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา 6 จ. นนทบุรี 3) นางสาวนิพา สาริพันธ์ ครู วิทยฐานะ

ชำนาญการพิเศษ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์-เคมี วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น ที่ได้ให้คำปรึกษาแนะนำ

เก่ียวกับการหาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเพื่อนครูในโรงเรียนสุวรรณาราม

วทิ ยาคม ทุกคนที่เป็นกำลังใจ ให้ความช่วยเหลือในการค้นคว้าข้อมูลและข้อแนะนำจนทำให้การศึกษาครั้ง

นี้สำเรจ็ ลงไดด้ ้วยดี

ประโยชน์ที่พึงได้จากรายงานฉบับนี้ ผู้รายงานขอมอบคุณความดีนี้ แด่ บูรพาจารย์ ผู้มี

พระคุณทุกท่าน คุณบิดามารดา ตลอดจนผู้มีส่วนช่วยเหลือในการศึกษาคร้ังนี้ จนสำเร็จลุล่วงด้วยดีทุก

ท่าน

อโนชา อทุ มุ สกุลรัตน์



บทคดั ยอ่

อโนชา อุทมุ สกลุ รัตน์. (2564). รายงานการศึกษาผลสมั ฤทธิแ์ ละการเห็นคุณคา่ ในตนเองของนกั เรยี น
ท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการสำหรับ
นกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม เขตบางกอกน้อย จังหวัดกรุงเทพฯ :
สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษากรงุ เทพมหานคร เขต 1.

รายงานการศึกษาผลสัมฤทธ์ิและการเหน็ คณุ คา่ ในตนเองของนกั เรยี นทไี่ ด้รบั การจัดการเรียนรู้โดย
ใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการสำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียน
สุวรรณารามวิทยาคม โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง จากนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6/1-3 ปีการศึกษา
2564 จำนวนนักเรียน 67 คน ไดก้ ลุ่มตวั อย่างจำนวน 30 คน การศึกษาคร้ังน้ีมีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือสร้างและ
พัฒนาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการสำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6
โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 โดยใช้สถิติในการหาค่า
ประสิทธิภาพจากเกณฑ์ 80/80 (E1/E2) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน ก่อนเรียน
และหลังเรียน โดยใช้สถิติ t-test Dependent Sample or Correlated sample และการเห็นคุณค่าใน
ตนเองของนกั เรียน

สรปุ ผลการศึกษา
1. ผลการทดสอบประสิทธภิ าพ (E1/E2) พบวา่ ประสิทธภิ าพชุดกจิ กรรมตามแนวคดิ แบบโยนิโส

มนสิการ สำหรบั นกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 มคี า่ 85.33 / 84.67 ซง่ึ สงู กวา่ เกณฑ์ทกี่ ำหนด 80/80
2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรยี นทไี่ ด้รบั การจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้ ชุดกจิ กรรม

วิทยาศาสตร์ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการสำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนสุวรรณาราม
วทิ ยาคม พบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนสูงกว่ากอ่ นเรยี น อย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติท่ี
ระดับ .01

3. นักเรียนท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ตามแนวคิดแบบโยนิโส
มนสิการสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 6 โรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม นกั เรียนส่วนใหญ่เปน็ ผู้ท่ีเห็น
คุณคาในตนเองอยู่ในระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 63.33 (จำนวน 19 คน) และรองลงมาเป็นผู้ที่เห็น
คุณคาในตนเองอยูใ่ นระดับสูงคิดเป็นร้อยละ 36.67 (จำนวน 11 คน)

ง หนา้

สารบัญ ข

เรือ่ ง ง
คำนำ จ
กิตตกิ รรมประกาศ ฉ
บทคดั ย่อ 1
สารบญั 2
สารบญั ตาราง 2
สารบญั ภาพ 3
บทท่ี 1 บทนำ 3
3
วตั ถุประสงค์ของการศึกษา 4
สมมตฐิ าน 4
ข้อตกลงเบ้ืองตน้ 6
ขอบเขตการศึกษา 6
นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ 6
กรอบแนวคิดในการวจิ ัย 7
ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับ 8
บทท่ี 2 เอกสาร และงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วข้อง 10
เอกสารเกยี่ วกับชุดกจิ กรรม 10
10
ความหมายของชดุ กจิ กรรม 12
แนวคดิ หลกั จิตวทิ ยาที่เก่ยี วข้องกับชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ 12
ประโยชน์ของชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ 14
เอกสารท่เี ก่ียวข้องกบั การเหน็ คณุ ค่าในตนเอง 14
ความหมายของการเหน็ คุณค่าในตนเอง 17
ความสำคญั ของการเหน็ คุณค่าในตนเอง
พัฒนาการของการเห็นคุณค่าในตนเอง
องคป์ ระกอบที่มีอิทธพิ ลตอ่ การเห็นคุณค่าในตนเอง
เอกสารเกี่ยวกับการสอนคดิ แบบโยนโิ สมนสกิ าร
วิธคี ดิ แบบโยนิโสมนสกิ าร
ขน้ั ตอนในการฝึกคดิ แบบโยนิโสมนสิการ

สารบัญ (ต่อ) หน้า

เรอื่ ง 18
18
เอกสารเก่ยี วกบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนวิทยาศาสตร์ 19
ความหมายของผลสัมฤทธิท์ างการเรียน 20
การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 25
เป้าหมายการวดั ผลประเมินผลการเรียนทางวทิ ยาศาสตร์ 26
แนวปฏบิ ตั ิในการวดั ผลประเมินผลการเรียนทางวิทยาศาสตร์ 31
31
งานวิจยั ทเี่ กีย่ วข้อง 31
บทที่ 3 วธิ ดี ำเนนิ การ 32
32
การกำหนดประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพ 35
แบบแผนการทดลอง 36
เครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการศึกษา 40
การสรา้ งเครื่องมือที่ใช้ในการศกึ ษา 40
การเก็บรวบรวมข้อมลู 40
การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 46
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล 47
สญั ลักษณท์ ี่ใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มลู 47
ผลการวิเคราะห์ข้อมลู 48
บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 49
สรปุ
อภปิ รายผล
ข้อเสนอแนะ
บรรณานกุ รม

สารบญั (ตอ่ ) หนา้

เร่อื ง 55
56
ภาคผนวก 58
ภาคผนวก ก รายชอ่ื ผ้เู ชย่ี วชาญ 63
ภาคผนวก ข ตวั อย่างแบบประเมินของเครื่องมือทใ่ี ช้ในการวจิ ัย
ภาคผนวก ค ผลการวเิ คราะห์ค่าความยากงา่ ย (p) ค่าอำนาจจำแนก (r) 67
และค่าความเชื่อม่ัน (rtt) 70
ภาคผนวก ง คะแนนผลสมั ฤทธ์ิ
ภาคผนวก จ เคร่อื งมือท่ีใชใ้ นงานวจิ ัย



สารบัญตาราง

ตาราง หนา้

1 แบบแผนการทดลอง 31

2 แสดงผลการวิเคราะห์คา่ ประสิทธภิ าพของชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตรต์ ามแนวคดิ 40

แบบโยนโิ สมนสกิ าร ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6

3 การเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนวิทยาศาสตร์ ก่อนเรียนและหลงั เรียนท่ี 41

ได้รับการจดั การเรยี นรทู้ ใ่ี ชช้ ุดกิจกรรม โดยใช้สถติ ิ t-test Dependent

Sample

4 ค่ารอ้ ยละของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคมทไ่ี ด้รบั 42

การจัดการเรยี นการสอนโดยใชช้ ดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ แบบโยนโิ ส

มนสกิ าร จำแนกตามความคิดเห็น ที่สะท้อนอัตมโนทัศนท์ ่ีมีตอ่ ตนเอง

(Self Concept)

5 บนั ทกึ การลงความคิดเห็นของผเู้ ช่ียวชาญทป่ี ระเมนิ ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ตาม 60

แนวคดิ แบบโยนโิ สมนสกิ าร

6 บันทึกการลงความคิดเห็นของผู้เชย่ี วชาญที่ประเมินแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ 62

ทางการเรียนวิทยาศาสตร์

7 ผลการวเิ คราะห์ค่าความยากง่าย (p) คา่ อำนาจจำแนก (r) และคา่ 64

ความเชอ่ื มน่ั (rtt) ของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนวทิ ยาศาสตร์

8 ผลการวเิ คราะห์ประสิทธิภาพชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ แบบโยนโิ ส 65

มนสกิ าร วชิ าเคมี 6 เร่ืองการใชค้ วามรู้ทางเคมีในการแก้ปัญหา

9 คะแนนผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรยี นระดับชั้นมธั ยมศึกษา 68

ปที ่ี 6 ก่อนเรียน และหลังเรียน ทีไ่ ดร้ ับการจัดการเรียนรดู้ ้วยชดุ กจิ กรรม

วทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ แบบโยนิโสมนสกิ าร วิชาเคมี 6 เรอื่ งการใชค้ วามรทู้ าง

เคมีในการแก้ปัญหา

ฉ หน้า
4
สารบัญภาพ 20

ภาพประกอบ
1 กรอบแนวคิดในการวิจัย
2 แสดงขน้ั ตอนการวดั ผลประเมินผล

บทที่ 1
บทนำ

ภูมิหลัง

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด- 19 ส่งผลต่อคนในวัยเรียนอย่างเห็นได้ชัด ดังจะ
เห็นจากการจัดการศึกษามีการปรับตัวใหเ้ ข้ากับยุคสมัย มีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในกระบวนการเรียน
การสอน เกิดความปกติใหม่ (New Normal) เป็นรปู แบบการดำเนนิ ชีวติ อยา่ งใหม่ทแ่ี ตกตา่ งจากอดีต
อันเนื่องจากมีบางส่ิงมากระทบจนแบบแผนและแนวทางปฏิบัติท่ีคนในสังคมคุ้นเคยอย่างเป็นปกติ
และเคยคาดหมายล่วงหน้าได้ ต้องเปลี่ยนแปลงไปสู่วิถีใหม่ภายใต้หลักมาตรฐานใหม่ท่ีไม่คุ้นเคย
รูปแบบวิถีชีวิตใหม่นี้ ประกอบด้วยวิธีคิด วิธีเรียนรู้ วิธีสื่อสาร วิธีปฏิบัติ ซึ่งแน่นอนว่าจะเกิดความ
เปล่ียนแปลงในระยะยาว ซ่ึงแม้ว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 จะคลี่คลายลงแล้ว
แต่ก็ยากที่ระบบการศึกษาจะเปล่ียนกลับสู่รูปแบบเดิม (New normal) การกลับมาเปิดโรงเรียนอีก
ครั้งในหลายประเทศจึงแน่นอนว่าไม่ใช่การเปิดแบบปกติเหมือนก่อนเกิดการระบาด หากแต่เป็นการ
เปิดแบบ ‘ก่ึงเปิดก่ึงปิด’ อย่างการสลับวันเรียน บางวันเรียนท่ีโรงเรียน บางวันเรียนออนไลน์ท่ีบ้าน
เพ่ือลดความแออัดในพื้นท่ีโรงเรียน หรือเม่ือการระบาดกลับมาหนักอีก โรงเรียนก็ต้องย้ายการเรียน
การสอนกลับลงไปสูอ่ อนไลน์ไดท้ นั ที เหน็ ได้วา่ การเรยี นออนไลน์ยังไมไ่ ด้ส้นิ สดุ ลงไป แต่กลายเปน็ ส่วน
หนึ่งของวิถีการเรียนการสอนใหม่ในสภาวะไม่ปกติ ห้องเรียนหลายแห่งในช่วงเวลาน้ีจึงอยู่ในสภาพ
ของ ‘ห้องเรียนไฮบริด’ (Hybrid learning) หรือ การเรียนรู้แบบผสมผสาน เป็นการผสมผสานการ
เรียนรู้ในหอ้ งเรียน (แบบรักษาระยะห่าง) ควบคู่ไปกับการเรยี นออนไลน์ การออกแบบบทเรียนจะต้อง
สามารถตอบโจทย์ผู้เรียน ใหผ้ ้เู รียนสามารถนำข้อดขี องเทคโนโลยีมาใช้ประโยชนใ์ นการเรียนรู้ได้

การเรียนการสอนแบบไฮบรดิ เปน็ ระบบการจัดการเรยี นการสอนทีห่ ลอมรวมเอาขอ้ ดีในการ
เรียนรู้แบบออนไลน์ (Online Learning) และการเรียนรู้ในห้องเรียน (Face-to-Face) เข้าไว้ด้วยกัน
อย่างลงตัว โดยเน้นการผสมผสานวิธีการสอนที่หลากหลายเพ่ือสร้างปฏิสัมพันธ์ (Interaction)
ระหว่าง ผู้สอนกับผู้เรียน และ นักศึกษผู้เรียนกับผู้เรียน ผ่านเคร่ืองมือและซอฟต์แวร์ท่ีได้มาตรฐาน
ระดับโลก ซ่ึงจะช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) และได้ใช้กระบวนการ
คดิ (Thinking System) รวมทง้ั สามารถใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ทเี่ อ้อื ประโยชน์ตอ่ การเรยี นรูไ้ ดม้ ากขึ้น

หากแต่การจัดการเรียนการสอนด้วยระบบ Hybrid Learning จะบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้
ได้นั้นผู้เรียนจำเป็นท่ีจะต้องใช้การกำกับตนเองค่อนข้างสูง เช่น การศึกษาเนื้อหาและเตรียมตัวก่อน
เข้าช้ันเรียน การมีระเบียบวินัย เข้าชั้นเรียนตรงเวลา ส่งงานตรง เวลา รู้จักการทำงานเป็นทีม การ
แสดงความคิดเหน็ และการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ การมที ักษะด้านเทคโนโลยีและทักษะดา้ นภาษาอังกฤษ
เพ่ิมข้ึน เป็นตน้ การที่ผู้เรียนจะการกำกับตนเองได้ดีน้ันปัจจัยท่ีเก่ียวข้องสัมพันธ์กันคือ ผู้เรียน
จะต้องมีการเห็นคุณค่าในตัวเอง มีแนวคิดและวิธีการดำเนินชีวิตที่สอดคล้องเหมาะสม รักตัวเองเป็น
กลา้ ท่ีจะเผชญิ หนา้ กบั ความท้าทายใหมๆ่ ยอมรับความแตกตา่ งระหว่างบุคคล รับฟงั ความคิดเห็นของ
ผู้อื่น มีความสามารถในการปรับตัวได้ดี รวมท้ัง มองโลกในแง่ดีและมีเหตุผล ส่วนผู้ที่มีความรู้สึกเห็น
คุณค่าในตัวเองต่ำจะมีทัศนคติเชิงลบต่อตนเองและผู้อ่ืน ขาดความม่ันใจ กลัวความผิดพลาด รู้สึกว่า

ตัวเองไม่ดี เป็นภาระต่อผู้อื่น ไร้ค่า ไม่เป็นที่รัก และมีพฤติกรรมชอบเปรียบเทียบตัวเองกับผู้อ่ืน เป็น
ตน้

จากที่กล่าวมาข้างต้นผู้วิจัย เช่ือว่าการเห็นคุณค่าในตัวเองเป็นส่ิงท่ีฝึกฝนให้เกิดข้ึนได้ ท้ังนี้มี
งานวิจัยที่สะท้อนว่า แนวทางในการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเอง โดยการสร้างบรรยากาศใน
ห้องเรียนหรือความมั่นคงปลอดภัยให้เกิดแก่ผู้เรียนไว้คือจะต้องให้ความคาดหวังในตัวผู้เรียนใน
ระดับสูงและชว่ ยเหลอื ให้ผู้เรียนได้รับสัมฤทธิ์ผลทางการเรยี น ใหข้ ้อมลู ย้อนกลับทางบวกแก่ผู้เรียนทุก
คน พยายามให้คำอธิบายท่ีเกีย่ วกบั เหตุผลหรอื วัตถปุ ระสงคใ์ นการตง้ั เกณฑ์มอบหมายงานและกระทำ
กจิ กรรมทางการเรียน ผู้สอนจะต้องเรียนรูล้ ักษณะพิเศษของผู้เรยี นแต่ละคน และให้ความเอาใจใส่ใน
ลักษณะพิเศษน้ันๆ เห็นคุณค่าในความพยายามของผู้เรียนเท่าเทียมกับสัมฤทธิ์ผลของผู้เรียนทุกคน
ช่วยให้ผเู้ รยี นรู้จกั การยอมรบั ความผดิ พลาดและการประสบความสำเร็จ โดยการให้ผู้เรยี นได้วิเคราะห์
ด้วยตนเองจากประสบการณ์ในความผิดพลาดและประสบความสำเร็จของผู้เรียนเอง ให้การยอมรับ
คุณค่าท่ีมีอยู่ในตัวของผู้เรียน มองผู้เรียนว่าเป็นมนุษย์ที่มีค่า แม้ว่าจะมีพฤติกรรมอย่างที่ครูไม่เห็น
ด้วย ต้องแสดงความยินดีและช่ืนชมในความสามารถและประสบความสำเร็จของผู้เรียน ส่งเสริมให้
ผู้เรียนมีการประเมินพฤติกรรมของตนเองตามวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้และบอก ระดับความสำเร็จของ
ตนเองได้สรา้ งบรรยากาศท่ีอบอุ่นและปลอดภัย เม่ือมีการแสดงความคดิ เห็นท่ีแตกต่างกันเกิดขึ้นเป็น
ตน้ (แรฟฟนี ี อา้ งถงึ ใน กิ่งเพชร ส่งเสริม, 2544 : 12-13) ดังนั้น ผู้วจิ ยั ไดต้ ระหนักถึงความสำคัญของ
การนํานวัตกรรมมาใชในการพัฒนาการเรียนการสอนเพ่ือไม่ให้ผู้เรียนพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเอง
ของผู้เรียนในรูปแบบชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดโยนิโสมนสิการซึ่งเป็นสื่อนวัตกรรม ท่ี
กระตุ้นให้เกิดกระบวนการสร้างเสริมการเห็นคุณค่าในตนเอง อันจะส่งผลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
วชิ า เคมี 6 ที่สูงข้ึน โดยมุ่งหวงั จะพัฒนาระบบการเรยี นการสอนใหมปี ระสิทธภิ าพ เกิดผลสมั ฤทธิ์ทาง
การศึกษาและตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียนและมีความเหมาะสมกับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
เพอ่ื สนบั สนุนการเรยี นรู้ใหมีประสทิ ธภิ าพตอไป

วตั ถปุ ระสงคข์ องการศึกษา
1. เพื่อสร้างชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ สำหรับนักเรียนช้ัน

มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม
2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรยี นก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ชุด

กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนโิ สมนสกิ าร สำหรับนักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6
3. เพื่อพัฒนาการเห็นคณุ ค่าในตนเองของนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6

สมมตฐิ าน
1. ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตรต์ ามแนวคิดแบบโยนิโสมนสกิ าร สำหรับนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษา

ปที ี่ 6 มีประสิทธภิ าพตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80
2. ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนวิชาเคมี 6 ของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 มีผลสัมฤทธิ์

ทางการเรยี น หลงั เรยี นและกอ่ นเรยี นแตกตา่ งกันอย่างมีนยั สำคัญทางสถิติ
3. นักเรียนที่ไดร้ บั การจัดการเรียนรู้โดยใช้ ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ ตามแนวคดิ แบบโยนโิ ส

2

มนสิการสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม มีการเห็นคุณค่าใน
ตนเองของนักเรยี นอยูใ่ น ระดบั สูง

ข้อตกลงเบอื้ งต้น
แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวทิ ยาศาสตร์ของนักเรียนก่อนเรียนและหลงั เรยี นที่

ใช้ในการศึกษาครงั้ นเี้ ป็นฉบับเดียวกนั

ขอบเขตของการศกึ ษา
1. ประชากร
ประชากรท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6/1-3 โรงเรียน

สวุ รรณารามวทิ ยาคม ปีการศกึ ษา 2564 ภาคเรยี นท่ี 2 จำนวน 67 คน
กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6/2 โรงเรียน

สวุ รรณารามวทิ ยาคมปกี ารศึกษา 2564 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 30 คน
โดยการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (purposive sampling) คือ นักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคมปีการศึกษา 2564 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 30
คน

2. เนือ้ หา
เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษาคร้ังน้ีผู้ศึกษาได้นำมาจากแบบเรียนวิทยาศาสตร์ชั้น

มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร และ
เอกสารต่างๆ ซึ่งได้คัดเลือกให้มีความเหมาะสมสำหรับการฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยมี
ความยากง่ายเนื้อหา ที่สอดคล้องกับระดับความสามารถของนักเรียน โดยการวิเคราะห์จาก
ผเู้ ชยี่ วชาญ

3. ตัวแปร
3.1 ตวั แปรตน้ คือ ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ แบบโยนโิ สมนสิการ สำหรับ

นักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 ทผี่ ู้จดั ทำสร้างขน้ึ จำนวน 3 เลม่
3.2 ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนและการเห็นคุณคา่ ในตนเองของนักเรียน

ของนกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม

นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ

1. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ หมายถึง เครื่องมือท่ีผู้ศึกษา

สร้างข้ึนเพื่อใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ประกอบด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นส่วนท่ีให้นักเรียนศึกษาและได้ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนที่
กำหนดไว้ในชุดกิจกรรม เช่น การกำหนดจุดประสงค์ของกิจกรรม การทดลอง การตั้งสมมติฐาน
การตอบคำถาม การหาคำตอบของปัญหา การแสดงความคิดเห็น การปฏิบัติการทดลอง การ

3

บันทึกผลการทดลอง การสรุปผล ตลอดจนการเชื่อมโยงความรู้และการถ่ายทอดความรู้ และยัง
รวมไปถึงวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติกิจกรรม โดยขั้นตอนของกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ใช้
รูปแบบและแนวคดิ ของ สมุ น อมรวิวฒั น์ ซงึ่ มี 3 ขนั้ ตอนดังนี้

ขั้นที่ 1 การหาความรู้ หมายถึง การนำเข้าสู่บทเรียนหรือเรื่องท่ีสนใจ โดยการ
สังเกต ศึกษาหรือปฏิบัติตามสถานการณ์ปัญหา หรือกรณีตัวอย่าง ซ่ึงอาจเป็นข้อความ รูปภาพ
กิจกรรมการทดลองอย่างใดอย่างหน่ึงหรือหลายอย่างประกอบกันที่กระตุ้นท้าทายให้นักเรียนฝึก
ทักษะการคดิ และการปฏิบตั ิในกระบวนการเผชญิ สถานการณ์

ขั้นที่ 2 สร้างความรู้ หมายถึง การฝึกการรวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริง ความรู้ และ
หลักการ โดยใช้ทักษะท่ีเป็นเคร่ืองมือของการเรียนรู้ เช่นทักษะทางวิทยาศาสตร์ ผู้เรียนฝึกสรุป
ประเดน็ สำคญั ฝกึ การประเมินคา่ เพอื่ หาแนวทางแก้ปัญหาว่าทางใดเหมาะสมท่สี ุด

ขั้นท่ี 3 ซึมซับความรู้ หมายถึง การให้นักเรียนได้ประเมินความรู้ความเข้าใจและ
ความสามารถของตนเอง ท้งั ดา้ นทกั ษะกระบวนการและองคค์ วามรู้ทไ่ี ด้

ซ่งึ ประกอบดว้ ยชดุ กจิ กรรม จำนวน 3 เลม่ ดังตอ่ ไปน้ี
เลม่ ท่ี 1 เร่ือง การใชค้ วามรทู้ างเคมใี นการแกป้ ัญหา
เลม่ ท่ี 2 เรื่อง การบรู ณาการความรใู้ นการแกป้ ญั หา
เลม่ ที่ 3 เรอ่ื ง การนำเสนอผลงาน

2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนจากการทำแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test)
และแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หลังจากนักเรียนเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตาม
แนวคดิ แบบโยนิโสมนสกิ าร สำหรับนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 ทผ่ี ูร้ ายงานสร้างขึ้น

4. การเห็นคุณค่าในตนเอง หมายถึง ความรู้สึกของบุคคลท่ีเกิดจากการประเมินตนเองว่า
เป็นคนมีค่า มีความสำคัญ มีความสามารถและเป็นท่ียอมรับของผู้อ่ืนตลอดจนสามารถควบคุมและ
พฒั นาตนเอง สามารถสร้างสรรค์สง่ิ ทีด่ งี ามท้ังตอ่ ตนเอง ครอบครวั และสงั คมได้

กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั ตวั แปรตาม
ตัวแปรตน

ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตรต์ ามแนวคิด - ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น
แบบโยนิโสมนสิการ สำหรับนกั เรียน - การเห็นคณุ คา่ ในตนเอง

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6

ภาพที่ 1 กรอบแนวคดิ ในการวิจัย

ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั
1. ได้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ สำหรับนักเรียนช้ัน

มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ท่ีมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1 / E2 กำหนดเกณฑ์ผ่านที่ระดับ 80/80 จำนวน 3
เล่ม

4

2. ได้แนวทางสำหรับการพัฒนาการของการเห็นคุณค่าในตนเองนักเรียนเพ่ือการลด
พฤติกรรมไม่พึงประสงคข์ องนักเรียนได้

5

บทท่ี 2
เอกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ียวข้อง

การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์และการเห็นคุณค่าในตนเองนักเรียนโดยใช้ชุด
กิจกรรมวิทยาศาสตร์ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน
สุวรรณารามวิทยาคม คร้ังนี้ ผู้ศึกษาได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพ่ือใช้เป็นแนวทางและได้
นำเสนอตามลำดบั หวั ข้อตอ่ ไปนี้

1. เอกสารเกยี่ วกบั ชดุ กจิ กรรม
1.1 ความหมายของชดุ กิจกรรม
1.2 แนวคิดหลักจติ วทิ ยาที่เก่ยี วข้องกบั ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้
1.3 ประโยชนข์ องชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้

2. เอกสารเอกสารทีเ่ ก่ียวขอ้ งกับการเหน็ คณุ ค่าในตนเอง
2.1 ความหมายของการเห็นคณุ ค่าในตนเอง
2.2 ความสำคัญของการเหน็ คุณค่าในตนเอง
2.3 พัฒนาการของการเห็นคณุ คา่ ในตนเอง
2.4 องคป์ ระกอบท่ีมอี ิทธิพลต่อการเหน็ คุณคา่ ในตนเอง

3. เอกสารเกย่ี วกับการสอนคิดแบบโยนิโสมนสกิ าร
3.1 วธิ ีคิดแบบโยนิโสมนสิการ
3.2 ข้ันตอนในการฝกึ คดิ แบบโยนิโสมนสกิ าร

4. เอกสารเก่ียวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวทิ ยาศาสตร์
4.1 ความหมายของผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น
4.2 การวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น
4.3 เป้าหมายการวดั ผลประเมินผลการเรยี นทางวิทยาศาสตร์
4.4 แนวปฏบิ ตั ใิ นการวดั ผลประเมินผลการเรียนทางวทิ ยาศาสตร์

5. งานวิจัยทเี่ กีย่ วข้อง
5.1 งานวิจัยเกี่ยวกบั ชุดกจิ กรรม
5.2 งานวิจัยเก่ียวกับการสอนคดิ แบบโยนิโสมนสิการ
5.3 งานวจิ ัยท่ีเกีย่ วกับการเหน็ คณุ ค่าในตนเอง

1. เอกสารเกี่ยวกับชดุ กจิ กรรม
1.1 ความหมายของชดุ กจิ กรรม
ชุดกิจกรรม ( Activity Packages ) เป็นชื่อที่ต้ังข้ึนมาใหม่แทนชื่อเดิมที่ เรียกว่า ชุดการสอน

หรือ ชุดการเรียน ( Instructional Packages หรือ Learning Packages ) เพราะเป็นสื่อท่ีครู
นำมาใช้ประกอบการสอน และเป็นนวัตกรรมท่ีสามารถช่วยแก้ปัญหาความแตกต่างระหว่างบุคคล
ส่งเสริมให้นักเรียนได้พัฒนาความสามารถของตนเอง ดังน้ัน ผู้ศึกษาจึงขอใช้คำว่า “ ชุดกิจกรรม”
แทนชอื่ ตา่ ง ๆ ดังได้กลา่ วมาแล้วขา้ งตน้ ซึง่ มีผูใ้ ห้ความหมายของชดุ กิจกจิ กรรมไว้ ดงั นี้

แคปเฟอร์ และแคปเฟอร์ (Kapfer and Kapfer. 1972 : 3 – 10 ) ได้ให้ความหมายของชุด
การเรียนหรือชุดกิจกรรมเป็นรูปแบบการสื่อสารระหว่างครูและนักเรียนซึ่งประกอบด้วยคำแนะนำที่ให้
นักเรียนได้ทำกิจกรรมการเรียนจนบรรลุพฤติกรรมท่ีเปน็ ผลของการเรยี นรู้และเน้ือหาท่ีนำมาสร้างเป็นชุด
การเรียนนั้นได้มาจากขอบข่ายของความรู้ที่หลักสูตรต้องการให้นักเรียนได้เรียนรู้เน้ือหาจะต้องตรงและ
ชัดเจนทจี่ ะสื่อความหมายให้ผู้เรียนได้เกิดพฤติกรรมตามเปา้ หมายของการเรยี น

กดู๊ ( Good. 1973 : 306 ) ได้อธิบายถึงชุดกิจกรรมวา่ ชดุ กิจกรรมคือ โปรแกรมทางการสอน
ทุกอย่างท่ีจัดไว้โดยเฉพาะ มีวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการสอน อุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียน คู่มือครู เนื้อหา
แบบทดสอบ ข้อมูลท่ีเช่ือถือได้ มีการกำหนดจุดมุ่งหมายของการเรียนไว้อย่างชัดเจน ชุดกิจกรรมน้ีครู
เป็นผจู้ ดั ให้ผ้เู รยี นแต่ละคนได้ศกึ ษาและฝกึ ฝนตนเอง โดยครเู ปน็ ผู้แนะนำเท่านัน้

นารรี ตั น์ ฟักสมบรู ณ์ ( 2541 : 26 ) ให้ความหมายของชุดการเรียนการสอนหรือชุดกิจกรรมวา่
คอื สอ่ื การเรยี นหลายอยา่ งประกอบกันจดั เข้าเป็นชุด ( Package ) เรยี กว่าสอื่ ประสม
( Multi – Media ) เพือ่ มุง่ ใหผ้ เู้ รยี นเกิดการเรียนรู้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ นอกจากจะใช้สำหรบั ให้ผู้เรยี น
เรียนเป็นรายบุคคล แลว้ ยังใชป้ ระกอบการเรียนการสอนแบบอื่นหรอื ใชส้ ำหรบั การเรียนเป็นกล่มุ ยอ่ ย

เนื้อทอง นาย่ี ( 2544 : 12 ) ได้ให้ความหมายของชุดกิจกรรมว่า ชดุ ของการเรียนหรือการฝึก
ท่ีประกอบด้วยวัสดุอุปกรณ์หลายชนิด และองค์ประกอบอื่นท่ีก่อให้เกิดความสมบูรณ์ในตัวเอง โดยท่ี
ผสู้ รา้ งได้รวบรวมและจัดอยา่ งเป็นระเบียบไว้ในกลุ่มและชุดกิจกรรมนี้จะสรา้ งข้ึน เพื่อสนองวัตถปุ ระสงค์
หนึ่งวัตถุประสงค์ใด โดยมีชื่อเรียกตามการใช้งานน้ัน ๆ เช่น ถ้าสร้างข้ึนเพื่อการศึกษาโดยมี
วัตถุประสงค์จะให้ครูใช้ประกอบการสอน โดยเปล่ียนบทบาทของครูให้พูดน้อยลง นักเรียนรว่ มกิจกรรม
มากข้ึน เรียกว่า “ชุดกิจกรรมสำหรับครู” ( Instructional Package ) แต่ถ้าให้ผู้เรียนเรียนจากชุด
กจิ กรรมนี้ โดยที่ผู้เรียนสามารถช่วยเหลือซึ่งกนั และกันได้ระหวา่ งประกอบกิจกรรมในลักษณะน้ี เรยี กว่า
“ ชดุ กิจกรรม” ( Learning Package )

เพชรรัตดา เทพพิทักษ์ ( 2545 : 30 ) กล่าวว่า ชุดกิจกรรม คือ ชุดการเรียน หรือ ชุดการ
สอนน่ันเอง ซ่ึงหมายถึง ส่ือการสอนที่ครูเป็นผู้สร้างประกอบด้วยวัสดุอุปกรณ์หลายชนิดและ
องค์ประกอบอื่นเพื่อให้นักเรียนศึกษาและประกอบปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง เกิดการเรยี นรู้ด้วยตนเอง
โดยครูเป็นผู้แนะนำช่วยเหลือและมีการนำหลักการทางจิตวิทยามาใช้ในการประกอบการเรียน เพ่ือ
สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียนไดร้ ับความสำเร็จ

จากความหมายที่กล่าวมาข้างต้นพอสรุปได้ว่า ชุดกิจกรรม หมายถึง สื่อการเรียนการสอน
ประเภทส่ิงพิมพ์และกิจกรรม ซึ่งเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาที่ครูเป็นผู้จัดประสบการณ์เรียนรู้ให้กับ
ผู้เรยี นกำหนดเป้าหมายวตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และสามารถสร้างองค์ความรู้
ด้วยตนเอง โดยมีครทู ำหนา้ ทเี่ ป็นผใู้ ห้คำปรกึ ษาเท่าน้ัน

1.2 แนวคิดหลักจิตวิทยาทเี่ กย่ี วข้องกับชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้
การสรา้ งชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ เพ่ือสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียนได้เรียนร้ตู ามความต้องการและทำกจิ กรรม
ตามขน้ั ตอนนั้น มีนกั การศึกษาได้กลา่ วถึงแนวคิด หลกั จติ วิทยาทีเ่ กย่ี วข้องกบั ชดุ กิจกรรมไว้ดังนี้
อดุ มลกั ษณ์ นกพง่ึ พุ่ม (2545 : 11) สรุปไดด้ ังน้ี
1. กฎของธอร์นได้เกี่ยวกับกฎแห่งการฝึกหัด ซึ่งกล่าวว่า ส่ิงใดก็ตามที่มีการฝึกหัดหรือกระทำ
บ่อย ๆ ยอ่ มทำให้ผไู้ ด้รับการฝึกมีความคล่อง สามารถทำได้ ทำให้การเรียนร้นู ั้นคงทนถาวร ในทางตรงกัน

7

ขา้ มส่ิงใดท่ีไม่ได้รับการฝึกหัดหรือทอดท้ิงไปนาน ยอ่ มจะทำให้การเรียนรู้น้ันไม่คงทนถาวรหรือไมเ่ กิดการ
เรียนรู้เลย

2. ความแตกต่างระหว่างบุคคล ควรคำนึงว่าผู้เรียนแต่ละคนมีความรู้ ความถนัด ความสามารถ
และความสนใจแตกต่างกัน ดังน้ันในการสร้างชุดกิจกรรมจึงควรพิจารณาถึงความเหมาะสม คือ ไม่ง่าย
และไม่ยากเกนิ ไป และควรมีหลายๆ แบบ

3. การจูงใจผู้เรยี น โดยการจัดชุดกิจกรรมจากง่ายไปหายาก เพ่ือดึงดูดความสนใจของผู้เรียน
จะทำให้เกิดผลสำเร็จในการฝึกและชว่ ยยัว่ ยใุ หค้ ดิ ตามต่อไป

4. ใชช้ ดุ กิจกรรมส้ัน ๆ เพอ่ื ไมใ่ ห้เกดิ ความเบ่อื หน่าย
บุญเกื้อ ควรหาเวช (2545 : 31) ไดก้ ล่าวถึงการนำชดุ กิจกรรมมาใชน้ ้นั ตอ้ งอาศัยแนวคิดหลักการ
ตา่ งๆ 5 ประการ
1. แนวคดิ ตามหลกั จิตวิทยา เก่ียวกับความแตกต่างระหว่างบุคคลโดยจัดให้ผูเ้ รยี นมีอสิ ระในการ
เรยี นตามความสามารถและอัตราในการเรยี นของแต่ละคน
2. แนวคิดท่ีจะเปลี่ยนการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลาง มาเป็นแบบให้ผู้เรียนศึกษาด้วยตนเอง
โดยใช้สือ่ ประสมท่ีตรงตามเนอ้ื หา โดยมคี รเู ป็นผู้แนะนำ
3. แนวคิดที่จะจัดระบบการผลิต การใช้สื่อการสอนในรูปแบบของสื่อประสม โดยมีจุดมุ่งหมาย
เพือ่ เปลีย่ นจากการใชส้ อื่ ชว่ ยครมู าเปน็ ใช้ส่ือเพื่อช่วยผเู้ รียนในการเรียนรู้
4. แนวคิดท่ีจะสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน และผู้เรียนกับ
สภาพแวดลอ้ ม โดยนำสอ่ื การสอนมาร่วมกบั กระบวนการกล่มุ ในการประกอบกจิ กรรมการเรยี นการสอน
5. แนวคดิ ทีย่ ึดหลักจิตวทิ ยาในการเรียนรู้ มาจัดสภาพการเรยี นการสอน เพื่อให้เกิดการเรยี นรู้
อย่างมีประสิทธภิ าพ โดยจดั สภาพการณ์ให้ผู้เรยี นไดป้ ระกอบกิจกรรม ดว้ ยตนเองมีผลทันทีวา่ ตอบถกู หรือ
ตอบผิดมีการเสรมิ แรงใหผ้ ู้เรยี นเกดิ ความภาคภูมิใจและความตอ้ งการทจ่ี ะเรียนต่อไปได้เรียนรูท้ ีละน้อย ๆ
ตามลำดับข้ันตามความสามารถและความสนใจของแต่ละคน
สุภัสสรา สนธิ์เจริญ (2550 : 25) ได้สรุปแนวคิดหลักจิตวิทยาของการจัดทำชุดกิจกรรมว่า
ชุดกิจกรรมท่ีใช้ในการเรียนการสอนน้ัน ต้องยึดหลักและดำเนินการตามหลักจิตวิทยา ท่ีมุ่งให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้ตามความสามารถจากง่ายไปซบั ซ้อนมากข้ึนตามลำดับประกอบกับผู้เรียนสามารถรถู้ ึงผลกากระทำ
ของตนเอง เน้นผู้เรียนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม เร้าความสนใจด้วยส่ือหลากหลายชุดกิจกรรม
จงึ น่าจะนำมาใช้ เพือ่ ชว่ ยให้การเรียน การสอนมปี ระสิทธภิ าพมากข้ึน
ดั ง น้ั น ก า ร จั ด ก ร ะ บ ว น ก า ร เรี ย น รู้ โ ด ย ใช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เรี ย น รู้ จึ ง จ ำ เป็ น ต้ อ ง ใ ช้ แ น ว คิ ด
หลักจิตวิทยาของชุดกิจกรรมเกี่ยวกับกฎแห่งการฝึกหัด ความแตกต่างระหว่างบุคคล การจูงใจผู้เรียน
โดยการจัดกิจกรรมจากง่ายไปหายาก เพื่อดงึ ดดู ความสนใจของผู้เรียน การใช้ชุดกิจกรรมสน้ั ๆ เพ่ือไม่ให้
เกิดความเบ่ือหน่าย ผู้เรียนมีอิสระในการเรียนตามความสามารถและอัตราในการเรยี นของแต่ละคนศกึ ษา
ได้ด้วยตนเอง โดยนำสื่อการสอนมาร่วมกับกระบวนการกลุ่มซ่ึงมีครูเป็นผู้แนะนำ ชุดกิจกรรมจึงน่าจะ
นำมาใช้ เพื่อช่วยใหก้ ารเรียนการสอนมีประสทิ ธภิ าพมากข้ึน

1.3 ประโยชน์ของชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้

8

การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือช่วยในการจัดกระบวนการเรียนรู้น้ัน ได้มีผู้ศึกษาและสรุป
ประโยชนข์ องการใชช้ ุดกิจกรรมการเรียนรใู้ นการพฒั นาผู้เรียน ดังนี้

สมุ าลี โชตชิ มุ่ (2544 : 29 - 30) ไดส้ รปุ ประโยชนข์ องชดุ กิจกรรมการเรียนร้ดู ังนี้
1. เปิดโอกาสให้ผู้เรียน ได้ใช้ความสามารถตามความต้องการของตน ช่วยให้ทุกคนประสบ
ความสำเรจ็ ในการเรียนรไู้ ด้ทัง้ สิ้น ตามอตั ราการเรียนร้ขู องผู้นั้น
2. ฝึกการตัดสินใจแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และทำให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบต่อตนเองและ
สังคม
3. ช่วยให้ผสู้ อนสามารถถา่ ยทอดเน้ือหาและประสบการณ์ทีซ่ ับซ้อนและมลี ักษณะเป็นนามธรรม
สงู ซึ่งไม่สามารถถ่ายทอดด้วยการบรรยายได้ดี
4. ทำใหก้ ารเรียนรเู้ ป็นอสิ ระจากอารมณแ์ ละบคุ ลิกภาพของครผู สู้ อน
5. ชว่ ยสร้างความพร้อมและความมัน่ ใจใหก้ ับผูส้ อน
6. เร้าความสนใจของผเู้ รยี นไมท่ ำให้เกดิ ความเบอื่ หน่ายในการเรยี น
7. สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความคิดสร้างสรรคเ์ พื่อใหเ้ กดิ การพัฒนาในทุก ๆ ด้าน
สคุ นธ์ สนิ ธพานนท์ (2551 : 89 - 90) ไดเ้ ขยี นถงึ ประโยชนข์ องการใช้ชดุ กจิ กรรมการเรียนร้ดู งั นี้
1. ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเองตามศักยภาพ แต่เด็กแต่ละคนมีความสามารถแตกต่างกัน
ก า ร ให้ ผู้ เรี ย น ได้ จั ด ท ำชุ ด ฝึ ก เห ม า ะ ส ม กั บ ค ว าม ส า ม า ร ถ ข อ งแ ต่ ล ะ บุ ค ค ล ใช้ เว ล า แ ต ก ต่ า งกั น ไป
ตามการเรียนรู้ของแต่ละคนทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพทำให้ผู้เรียนเกิดกำลังใจใน
การเรียนรู้ นอกจากนนั้ ยงั เป็นการซอ่ มเสรมิ ให้ผู้เรยี นไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน
2. ชุดฝึกช่วยเสริมให้ผู้เรียนเกิดทักษะท่ีคงทน ชุดฝึกสามารถให้ผู้เรียนได้ฝึกทันที หลังจากจบ
บทเรียนนั้นๆ การเรียนนั้นๆ หรือให้มีการฝึกซ้ำหลายๆ คร้ัง เพื่อความแม่นยำ ในเร่ืองที่ต้องการฝึก
หรอื เน้นย้ำให้ผเู้ รยี นทำชุดการฝึกเพม่ิ เตมิ ในเร่อื งท่ที ำผดิ
3. ชดุ ฝึกสามารถเป็นเครอื่ งมอื ในการวัดผลหลงั จากท่ผี ู้เรียนเรยี นจบบทเรยี นในแตล่ ะครั้ง ผู้เรียน
สามารถตรวจสอบความรู้ของตนเองได้ เมื่อไม่เข้าใจและทำผิดในเรื่องใดๆ ผู้เรียนก็สามารถซ่อมเสริม
ตัวเองได้ จัดได้ว่าเป็นเครื่องมือท่ีมีคุณค่าท้ังของครูผู้สอนและผู้เรียน ผู้เรียนไม่มีปมด้อยที่ตนทำผิด และ
สามารถแกไ้ ขข้อผดิ พลาดของตนเอง
4. เป็นสื่อท่ีช่วยเสริมบทเรียนหรือหนังสือเรียนหรือคำสอนของครูผู้สอน ชุดการฝึกที่ครูผู้สอน
จัดทำข้ึน เพื่อฝึกทักษะการเรียนนอกเหนือจากความรู้ในหนังสือหรือบทเรียน เช่น ชุดฝึกทักษะการคิด
ในรูปแบบต่าง ๆ เป็นการเสริมสร้างคุณลักษณะของผู้เรียนให้เป็นผู้ท่ีรู้จักคิดเป็นนำไปสู่การแก้ปัญหา
ตา่ งๆ ในการดำเนินชวี ิตตอ่ ไป
5. ชุดฝึกรายบุคคลท่ีผู้เรียนสามารถนำไปฝึกเม่ือไรก็ได้ไม่จำกัดเวลาสถานท่ี นอกจากนี้ยังชว่ ยให้
ผู้เรียนทำแบบฝึกได้ตามความต้องการของตน โดยมีครูผู้สอนคอยกระตุ้นหรือเร้าใจให้ผู้เรียนเกิดความ
กระตือรอื รน้ ทจี่ ะเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง
6. ลดภาระการสอนของครูผู้สอน ไม่ต้องฝึกทบทวนความรู้ให้แกผ่ ู้เรยี นตลอดเวลา ไม่ต้องตรวจ
งานดว้ ยตนเองทุกครัง้ นอกจากกรณีที่ชดุ การฝึกนั้นเป็นการฝึกทักษะการคิดท่ีไม่มีเฉลยตายตัวหรอื มีแนว
เฉลยทห่ี ลากหลาย

9

7. เปน็ การฝึกความรับผิดชอบของผเู้ รยี น การใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รยี นรู้ โดยการทำชดุ ฝกึ ตามลำพังโดย
มภี าระให้ทำตามที่ได้รบั มอบหมาย จัดไดว้ า่ เป็นการสรา้ งเสรมิ การทำงานใหผ้ ู้เรยี นไดน้ ำไปประยุกต์ปฏิบตั ิ
ในการดำเนนิ ชวี ติ

8. ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ การที่ผู้เรียนได้ทำชุดฝึกทักษะการเรียนรู้ ท่ีมีรูปแบบ
หลากหลายทำใหผ้ เู้ รยี นสนุกเพลดิ เพลิน เปน็ การท้าทายให้ลงมอื ปฏิบัตติ ามชุดการฝึก

ดังน้ันหลักการของการใช้ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้เป็นชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ที่เอ้ืออำนวยประโยชน์
ทั้งผู้เรียนและผู้สอน ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ มีความสะดวกในการใช้ทั้งการสอนเพ่ิมเติม และสอน
ซอ่ มเสรมิ ใหก้ ับผูเ้ รียน ตลอดจนเสริมสรา้ งคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ให้เกิดกับผู้เรียนได้อีกทางหนึง่

2. เอกสารท่เี กี่ยวข้องกับการเห็นคณุ ค่าในตนเอง
2.1 ความหมายของการเห็นคณุ คา่ ในตนเอง
คำว่า “การเห็นคุณคา่ ในตนเอง” (Self Esteem) นกั วิชาการบางทา่ นใชค้ ำว่าความนับถอื

ตนเอง ความภาคภมู ิใจในตนเอง หรือความเช่ือมั่นในตนเอง ซง่ึ มีผใู้ หค้ วามหมายไวด้ ังนี้
แบรี่ (Bary, 1984 : 62) ไดใ้ หค้ วามหมายการเหน็ คณุ ค่าในตนเองวา่ หมายถึงความรู้สึกของ

บุคคลทมี่ ีต่อตนเอง เป็นการใหค้ ณุ คา่ แก่ตน ประเมินตนวา่ มคี วามสำคญั และมีคุณคา่
คอสนิ ี (Corsini, 1999 : 877) ได้ใหค้ วามหมายการเห็นคุณค่าในตนเองวา่ หมายถงึ เจตคติ

เกย่ี วกบั การยอมรบั ตนเอง ความพอใจในตนเองและความนบั ถอื ตนเอง
ปรุ มิ าพร แสงพยบั (2553 : 33) ให้ความหมายของการเห็นคุณคา่ ในตนเองว่า หมายถงึ การ

ประเมินตนเองตามความรสู้ กึ ของตน วา่ ตนเปน็ คนมคี ุณค่า มีความสามารถ มีความสำคัญ สามารถประสบ
ผลสำเร็จในการทำงาน มคี วามเช่อื มั่นในตนเอง นบั ถือตนเอง ยอมรับตนเองและบคุ คลอื่น การเห็นคุณคา่
จากคนในสงั คมที่มีต่อตน ตลอดจนมเี จตคติทดี่ ตี ่อตนเอง มีความเช่ือมน่ั ในตนเอง ซ่งึ ส่งผลตอ่ การพฒั นา
ศกั ยภาพของตนเอง

ดังนน้ั ผู้รายงานจงึ สรุปความหมายของการเหน็ คุณคา่ ในตนเอง เปน็ ความรู้สึกของบุคคลทเ่ี กดิ
จากการประเมนิ ตนเองว่าเปน็ คนมีคา่ มีความสำคัญ มคี วามสามารถและเปน็ ทย่ี อมรบั ของผอู้ น่ื ตลอดจน
สามารถควบคุมและพฒั นาตนเอง สามารถสร้างสรรคส์ ิง่ ที่ดีงามทัง้ ต่อตนเอง ครอบครัวและสงั คมได้

2.2 ความสำคัญของการเหน็ คณุ คา่ ในตนเอง
การเห็นคณุ คา่ ในตนเองมีความสำคัญต่อทุกชว่ งชวี ติ ของมนุษย์ บุคคคลท่เี ห็นคุณค่าในตัวเอง

ต่ำหรอื มีความร้สู กึ ท่ีไม่ดีต่อตนเอง กเ็ ปรียบเสมือนเปน็ คนพิการทางบุคลิกภาพ เชน่ เดยี วกบั การพิการทาง
รา่ งกาย ซ่ึงทำให้ประสบความล้มเหลวในชวี ิตทุกๆ ดา้ น การเหน็ คุณคา่ ในตนเองจงึ มีความสำคญั ต่อทุกคน
ทกุ ชว่ งชีวิต เปน็ สง่ิ สำคญั ทกี่ ่อให้เกิดพฤติกรรมที่มปี ระสทิ ธภิ าพ ทำให้มนุษยส์ ามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมี
คณุ ค่าและสามารถบ่งชค้ี ุณภาพชวี ิตของบุคคลไดว้ ่าเปน็ อยา่ งไร การเหน็ คุณค่าในตนเองยงั เป็นปจั จยั
สำคัญในการปรบั ตวั ทางอารมณ์ทางสงั คมและทางการเรียนรู้ เปน็ จุดเรมิ่ ตน้ ของการรับรู้ชีวิตทม่ี ีผลต่อ
ความคิด ความปรารถนา คา่ นยิ ม อารมณ์และการตง้ั เป้าหมายในชวี ติ ของแต่ละบุคคลอันมีผลต่อการ
แสดงพฤตกิ รรม จนกระทั้งกลายเปน็ ลกั ษณะของบุคลิกภาพและการประสบความสำเรจ็ หรอื ความ
ลม้ เหลวทง้ั ในชีวติ ดงั นน้ั การเหน็ คุณคา่ ในตนเองจงึ เป็นสิง่ สำคัญท่ีจะพฒั นาบุคคลไปสกู่ ารเป็นบุคคลที่
สมบรู ณ์ได้ในท่ีสดุ (พรรณราย ทรพั ยะประภา, 2548) สอดคล้องกบั ปรีชา ธรรมา (2547) ได้กล่าวถงึ
ลักษณะต่างๆ ของการเหน็ คุณค่าในตนเองทั้งระดับสงู และระดบั ตำ่ บง่ บอกให้ทราบถงึ บุคลิกภาพที่ตา่ งกัน

10

อยา่ งชัดเจน อันเป็นผลจากพฒั นาการของแตล่ ะคน บคุ คลใดที่มลี กั ษณะของการเห็นคุณค่าในตนเอง
ระดบั สงู นับวา่ เปน็ ผู้ทมี่ ีคณุ สมบัติพน้ื ฐานสำหรับการพัฒนาตนให้ก้าวไปส่ขู ้ันถดั ไป คอื การบรรลุถึง
ศกั ยภาพสงู สดุ แห่งตน (Self-actualization) อันเปน็ พัฒนาการทเ่ี กิดจากการตอบสนองความต้องการขนั้
สงู สดุ ตามแนวทัศนะของมาสโลว์ ส่วนผทู้ ม่ี ีลกั ษณะของการเหน็ คณุ ค่าในตนเองระดับต่ำแสดงวา่ เป็นผทู้ ม่ี ี
พื้นฐานไม่มน่ั คงท่เี อื้อต่อการพัฒนาตนแลว้ ยังเป็นผ้ทู ่ีมีอปุ สรรคขัดขวางทำใหก้ ารพัฒนาตนเปน็ ไปได้ยาก
นอกจากนปี้ .มหาขันธ์ (2536) ได้ สรปุ การ เหน็ คณุ คา่ ในตนเองท่ีมผี ลกระทบตอ่ ด้านตา่ งๆ ไดด้ งั น้ี

1. การเห็นคณุ คา่ ในตนเองกับการเรยี นการเหน็ คุณคา่ ในตนเองจดั วา่ เป็นปจั จัยทีส่ ำคญั
ทสี่ ุดท่ีมตี ่อความสำเรจ็ ในการเรยี นนกั เรียนทม่ี รี ะดบั สตปิ ัญญาสูง มีความเฉลียวฉลาดแตถ่ ้าหากไม่มกี าร
เห็นคณุ คา่ ในตนเองแลว้ นกั เรียนจะไมป่ ระสบความสำเรจ็ ในการเรียนเลย เนอื่ งจากเมื่อนักเรยี นเห็นคุณค่า
ในตนเองต่ำจะไม่พึงพอใจในสภาพทโ่ี รงเรยี น สภาพการเรียนและผลการเรียนของตน นักเรยี นจะไมม่ แี รง
กระตนุ้ ไม่มคี วามสนใจในการเรยี น หากแตจ่ ะใหค้ วามคดิ และการกระทำสว่ นใหญ่ในการแก้ปญั หา
เกย่ี วกับความสมั พันธก์ ับผู้อ่นื ความกลวั และความวติ กกังวล ส่วนนักเรยี นท่ีมรี ะดับสติปญั ญาปานกลาง
แต่มกี ารเหน็ คุณคา่ ในตนเองสูงจะเปน็ ผู้ท่ปี ระสบความสำเร็จในการเรียน

2. การเหน็ คุณคา่ ในตนเองกบั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลนักเรียนทมี่ ีการเห็นคุณค่าใน
ตนเองสูงจะเป็นผู้มีมนุษย์สัมพันธ์ท่ีดี แต่นักเรียนที่ขาดการเห็นคุณค่าในตนเองมักจะแสดงความก้าวร้าว
หรือไม่ก็หลบหลีกการสร้างความสัมพันธ์กับผู้อื่น กล่าวคือ บางครั้งก็ต้องการข่มขู่ผู้อื่นท้ังนี้เพื่อทดแทน
การขาดความนับถือตนเอง ลักษณะเช่นน้ีทำให้นักเรียนไม่พอใจที่จะสร้างความสัมพันธ์กับผู้ใดโดยเช่ือ
อย่างฝังใจว่าผู้อื่นจะคิดต่อตนเหมือนกับที่ตนคิดต่อตนเอง เช่น นักเรียนที่คิดว่าตนเองไร้ค่า ไร้
ความสามารถก็จะมองว่าผู้อื่นคิดต่อตนเช่นน้ีด้วยความคิดของนักเรียนท่ีขาดความเคารพตนเอง จะเป็น
เสมือนรว้ั ทก่ี ั้นไม่ให้คนอื่นเขา้ ถึงตัวได้ง่าย

3. การเห็นคณุ ค่าในตนเองกับความสร้างสรรค์ความคดิ สรา้ งสรรค์จะเกดิ ข้ึนไม่ได้ถา้ มี
ความหวาดกลัว ความวิตกกังวล (เช่น กังวลว่าผู้อ่ืนจะติว่างานของเราไม่ดี ผู้อื่นไม่ยอมรับผลงานของตน)
ดงั นั้นถา้ นักเรยี นยังตอ้ งพึ่งพาผอู้ น่ื ยงั ต้องแสวงหาคํายกยอ่ งชมเชย แสวงหาการยอมรับจากผู้อื่น นักเรยี น
ย่ิงจะต้องทำตามความต้องการของผู้อ่ืนมากข้ึน การที่นักเรียนยังขึ้นอยู่กับผู้อ่ืนนี้ทำให้ไม่สามารถกระทำ
ส่งิ ใดอยา่ งสรา้ งสรรค์ได้

4. การเห็นคณุ ค่าในตนเองกบั ความสำเรจ็ ในชวี ิตการเห็นคณุ ค่าในตนเองมิได้เป็นเพยี ง
ความคิดหรอื ความรู้สึกท่ีบุคคลเก็บเอาไว้ในใจเท่าน้ัน แต่มีอิทธิพลต่อวิธีท่ีบุคคลคิดทำและพูดในทุกๆ แง่
รวมท้ังกิริยาท่าทางที่แสดงออกมาความสัมพันธ์ที่ มีต่อผู้อื่นและความสำเรจ็ ในชีวิต เพราะการเห็นคุณค่า
ในตนเองเก่ียวข้องกันเปน็ วงจร

การเห็นคุณค่าในตนเองเป็นองค์ประกอบสำคัญของพฤติกรรมที่มีประสิทธิภาพ เช่น การกล้า
แสดงออก การเป็นคนวอ่ งไว ส่วนบุคคลที่ประสบความล้มเหลว ทางด้านการศึกษาและด้านสังคมมีความ
ผิดปกตทิ างจิต อันธพาลและอาชญากรมักจะเป็นบุคคลท่ีขาดการเห็นคุณค่าในตนเอง (สุใจ ต้ังทรงสวัสดิ์,
2532) การเห็นคุณค่าในตนเองยังมีความสัมพันธ์กับบุคลิกภาพของบุคคลมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิต
และเป็นพลังทางด้านจิตใจท่ีช่วยให้บุคคลสามารถมีชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ศศิกานต์ธ
นะโสธร, 2529) สอดคล้องกับ (สุใจ ตั้งทรงสวัสดิ์, 2532) บุคคลที่มีการเห็นคุณค่าในตนเองจะเป็นบุคคล

11

ท่ีมีความเชื่อมั่นในตนเอง รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า มีความเข้มแข็งมีความสามารถ มีศักยภาพ มีประโยชน์
และมีความสำคัญต่อสังคม ในทางตรงกันข้าม หากบุคคลนั้นไม่มีการเห็นคุณค่าในตนเอง เขาก็มักจะมี
ความวิตกกังวล มีปมด้อย อ่อนแอช่วยตนเองไม่ได้ รับรู้ตนเองในทางที่ไม่ดีท้อแท้ใจ คิดว่าตนเองไม่มี
ประโยชน์ส้ินหวัง ประเมินคุณค่าในตนเองต่ำกว่าผู้อ่ืนซ่ึงจะส่งผลต่อการปรับตัวของบุคคลน้ันๆ ด้วย
นอกจากนี้บุคคลท่ีเห็นคุณค่าในตนเองต่ำ มีแนวโน้มที่จะโทษผู้อื่น มีสภาพจิตใจไม่เข้มแข็ง ไม่สามารถ
ยอมรับการวจิ ารณจ์ ากผอู้ ่ืนและปฏิเสธการวิจารณ์นั้นทั้งน้เี พราะการวิจารณ์ทำให้เขารูส้ กึ ว่าตนเองด้อยลง
และไม่ไดร้ บั การยอมรบั จากบคุ คลอนื่ ทำใหเ้ ขาขาดความม่ันใจในตนเองและไมป่ ระสบความสำเรจ็ ในชวี ิต

สรุปไดว้ ่าบุคคลที่มกี ารเห็นคุณค่าในตนเองจะมคี วามเช่อื ม่นั ในตนเอง รู้สึกว่า ตนมีคุณค่า มคี วาม
เข้มแข็ง มีความสามารถ มีประโยชน์และมีความสำคัญต่อสังคม ในทางตรงข้าม บุคคลที่ไม่มีการเห็น
คุณค่าในตนเองจะรู้สึกว่าตนเองมีปมด้อย ช่วยตนเองไม่ได้รับรู้ตนเองในทางที่ไม่ดีคิดว่าตนไม่มีประโยชน์
สิน้ หวังประเมนิ ตนเองตำ่ กวา่ ผ้อู ่นื ซ่งึ จะสง่ ผลตอ่ การปรบั ตัวของบุคคลนน้ั ๆดว้ ย

2.3 พฒั นาการของการเห็นคุณค่าในตนเอง
การเห็นคณุ ค่าในตนเอง เป็นกระบวนการของการเรียนรู้ทเ่ี กิดขึ้นอยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดชีวติ และจะ
เปลี่ยนแปลงไปตามวัย ระดับวุฒิภาวะ สิ่งแวดล้อม และประสบการณ์ต่างๆที่ เกิดข้ึนในชีวิต ซึ่ง
กระบวนการเรียนรู้นนั้ เกิดจากปฏสิ ัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสง่ิ แวดล้อมและสังคมรอบๆตวั โดยมีจดุ เริ่มต้น
มาจากครอบครัว ก่อนท่ีจะขยายออกสู่สังคมภายนอก การอบรมเลี้ยงดูของบิดามารดา การดูแล เอาใจใส่
การให้การยอมรับบุตรมาตั้งแตเ่ ยาว์วัย สัมพันธภาพของบิดามารดาและบุคคลอนื่ ๆท่ีมีความสำคัญต่อเด็ก
ล้วนแล้วแตม่ อี ทิ ธพิ ลตอ่ การเหน็ คณุ ค่าในตนเองทั้งสนิ้ ซ่ึงประสบการณ์จากการมีสัมพันธภาพกับ
บคุ คลสำคัญของเด็ก จะส่งผลให้เด็กพัฒนาความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองไปตลอดชีวติ โดยเด็กจะประเมิน
ตนเองจากภาพสะท้อนท่ีคนอ่ืนผู้ซ่ึงมีความสำคัญต่อตัวเขากระทำต่อเขาและเปรียบเทียบตนเองกับคน
อื่นๆ ฉะนั้นหากบุคคลรับรู้ตนเองจากประสบการณ์ที่ได้รับในด้านท่ีดีจะส่งเสริมการเห็นคุณค่าในตนเอง
แต่ถ้าหากบุคคลรับรู้ตนเองจากประสบการณ์ที่ได้รับในด้านท่ีไม่ดีจะเป็นการบ่ันทอนคุณค่าแห่งตนของ
บุคคลให้ลดตำ่ ลง
ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า พัฒนาการการเห็นคุณค่าในตนเองของบุคคลเกิดจากการประเมินเชิงสะท้อน
ของผู้อ่ืนผ่านทางภาษาพดู และภาษาท่าทาง หรอื อาจเกดิ จากการเปรียบเทียบตนเองกบั บุคคลอื่นในสงั คม
อันเปน็ เหตุให้บุคคลแต่ละคนมีความรสู้ กึ เหน็ คณุ ค่าของตนเองในระดบั ท่ีแตกตา่ งกนั
2.4 องค์ประกอบท่มี อี ิทธิพลต่อการเห็นคณุ คา่ ในตนเอง
คูเปอร์สมิธ (Coopersmith, 1981 : 127 - 129) พบว่า องคป์ ระกอบทม่ี อี ทิ ธพิ ล
ต่อการเห็นคุณค่าในตนเองมี 2 ประเภท คือ องค์ประกอบภายในตนและองค์ประกอบภายนอกตน ซึ่ง
สามารถสรปุ รายละเอียดได้ดงั ตอ่ ไปน้ี
2.4.1 องคป์ ระกอบภายในตน หมายถงึ ลกั ษณะเฉพาะของแตล่ ะบคุ คลท่มี ีผลทำให้การเหน็
คุณคา่ ในตนเองของแตล่ ะบุคคลแตกตา่ งกนั ออกไป ประกอบด้วย

1) ลกั ษณะทางกายภาพ - มคี วามสัมพันธต์ อ่ การเหน็ คณุ คา่ ในตนเอง อันได้แก่ความ
งามด้วยรูปกาย ความแข็งแรงของร่างกาย ความคล่องแคล่วในการเคล่ือนไหวของบุคคลท่ีมีลักษณะทาง
กายภาพทีด่ จี ะมีความพึงพอใจและเห็นคุณคา่ ในตนเองมากกวา่ บคุ คลที่มีลักษณะทางกายภาพท่ีด้อย

12

2) ความสามารถท่วั ไป สมรรถภาพ และผลงาน ซ่ึงลักษณะท้ัง 3 ดา้ น มีความสมั พันธ์
ระหว่างกัน และช่วยส่งเสริมให้บุคคลเกิดความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง โดยเป็นตัวช้ีบอกถึงความถี่ของ
การประสบความสำเรจ็ หรอื ความลม้ เหลวในสิง่ ที่กระทำ ซึง่ จะมีเร่อื งสตปิ ัญญาเขา้ มาเปน็ ตวั สนับสนนุ ด้วย

3) ภาวะทางอารมณ์ เปน็ ภาพสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ความรสู้ ึกพอใจ ความรูส้ กึ เปน็ สุข
ความรู้สึกวิตกกังวลที่อยู่ในตัวบุคคล ท้ังท่ีแสดงออกและไม่แสดงออก ซึง่ เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
และสง่ ผลตอ่ การประเมินตนเองของบคุ คล

4) ค่านิยมส่วนตัว บคุ คลจะประเมนิ ตนเองกับสง่ิ ท่ตี นให้คุณคา่ ท่สี อดคล้องกบั อุดมคติ
ของตน และยังมีแนวโน้มท่ีจะใช้เกณฑ์ค่านิยมของสังคมเป็นตัวตัดสินคุณค่าของตน ถ้ามีความสอดคล้อง
กันการเห็นคณุ คา่ ในตนเองกจ็ ะสงู ขน้ึ

5) ระดับความมุ่งหวัง การตัดสนิ คณุ คา่ ของตนเอง ส่วนหนง่ึ เกดิ จากการเปรยี บเทยี บ
ผลการปฏิบัตแิ ละความสามารถของตนเองกบั ระดับเกณฑค์ วามสำเรจ็ ทต่ี ้ังไว้ ทงั้ นี้เพราะประสบการณ์การ
ไดร้ บั ความสำเร็จจะนำไปสู่ความมุ่งหวงั ตอ่ ความสำเรจ็ ในคร้งั ต่อๆไป การสามารถปฏิบัติได้ตามเกณฑ์หรือ
ดีกว่าเกณฑ์ท่ีตัง้ ไว้จะนำไปสกู่ ารมองตนเองวา่ มีคุณค่า

6) เพศ สงั คมและวฒั นธรรมโดยส่วนใหญ่มักจะให้คา่ นิยมท่ดี ีตอ่ เพศชายโดย เพศชาย
มกั จะไดร้ ับมอบหมายตำแหน่งทมี่ ีอำนาจในสังคม ในขณะทเ่ี พศหญงิ ได้รับตำแหน่งและ บทบาททางสงั คม
ทดี่ ้อยกว่า และเพศหญิงท่ีมีการเห็นคณุ ค่าในตนเองสูงจะประสบความสำเร็จในการเรียนมากกว่าเพศชาย
ท่ีมีการเห็นคณุ ค่าในตนเองสูง

2.4.2 องค์ประกอบภายนอกตน หมายถึง สภาพแวดล้อมท่ีบุคคลมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน ส่งผลให้
บุคคลเกิดความรู้สึกเห็นคณุ ค่าในตนเองที่แตกต่างกันออกไป ประกอบด้วย

1) ความสมั พันธ์กับครอบครัว บิดามารดา ภูมหิ ลงั หรอื ประสบการณ์ ทางครอบครวั ของ
บคุ คลมีสว่ นในการพัฒนาการเห็นคุณคา่ ในตนเองของบุคคล ซง่ึ สัมพันธภาพระหว่างพ่อแมแ่ ละลูกเป็นสง่ิ ที่
มอี านุภาพมาก ซึ่งความสัมพันธ์ในครอบครวั เป็นรากฐานท่ีสำคัญในชีวิต พ่อแม่ยอมรับในตวั เด็ก ให้ความ
รักความอบอุ่น ให้กำลังใจ ให้สิทธิเสรีภาพในการกระทำแก่เด็กโดยมีการกำหนดขอบเขตให้ชัดเจน เน้น
รางวลั มากกวา่ การลงโทษ

2) โรงเรียนและการศึกษา ประสบการณ์ที่โรงเรียนมีส่วนสนบั สนุนต่อจากบ้านโรงเรียน
มีหน้าที่ช่วยให้นักเรียนเกิดความรู้สึกเชื่อมั่นในทักษะ ความสามารถ และการเห็นคุณค่าในตนเอง
ตลอดจนช่วยนกั เรยี นในการแกไ้ ขปัญหาตา่ งๆทำใหเ้ กิดความรู้สึกว่าตนได้รบั การยอมรบั จากครูและเพ่ือน

3) สถานภาพทางสงั คม ไดแ้ ก่ ตำแหนง่ การงาน บทบาททางสังคม วงศ์ตระกูล
สถานภาพทางเศรษฐกิจ สถานท่ีอยู่อาศัย ทำให้บุคคลได้รับการปฏิบัติต่อกันแตกต่างกันออกไป เกิดการ
เปรียบเทียบตนเองกบั บุคคลอ่นื ทำใหเ้ กิดผลต่อการมองเห็นคุณค่าในตนเอง

4) สังคมและเพ่ือน ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับเพื่อนทำให้บุคคลเกิดการประเมินและ
เปรยี บเทียบตนกับผู้อ่นื ในเร่ืองทักษะ ความสามารถ ความถนัด ทำให้เกิดการยอมรับหรอื ไม่ยอมรับ ซึ่งจะ
ส่งผลต่อการพัฒนาความรู้สกึ เห็นคณุ ค่าในตนเอง

13

จากที่กล่าวมาในข้างต้นสามารถสรุปได้ว่า องค์ประกอบที่มีอิทธิพลต่อการเห็นคุณค่า ในตนเอง
น้นั มีท้ังองค์ประกอบภายในตนและองค์ประกอบภายนอกตน การส่งเสรมิ ให้เกิดการเห็นคุณค่าในตนเอง
จะต้องได้รับการร่วมมือ ทั้งในส่วนของพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูอาจารย์ เพ่ือน สถานศึกษา และตัวเด็กเอง
โดยเฉพาะในครอบครัว การอบรมเล้ียงดูของบิดามารดา การให้ความรัก การดแู ลเอาใจใส่และการให้การ
ยอมรับบุตร มีความสำคัญและสง่ ผลต่อการเหน็ คุณคา่ ในตนเองของเด็กเป็นอยา่ งยิง่

3. เอกสารเกีย่ วกบั การสอนคดิ แบบโยนิโสมนสกิ าร
3.1 วิธีคิดแบบโยนโิ สมนสิการ
การคิดเป็นกระบวนการทางปัญญา ซึ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ในโลกปัจจุบัน

การรูจ้ กั คดิ หรอื การคิดเปน็ เปน็ องค์ประกอบที่สำคญั ยง่ิ ของการดำเนินชวี ติ ที่ถูกต้อง โยนโิ สมนสกิ าร
เป็นการใช้ความคิดอยา่ งถกู วิธคี ดิ อยา่ งมรี ะเบยี บ รูจ้ กั คิดวิเคราะห์ ไม่มองเห็นสงิ่ ตา่ ง ๆ อยา่ งตื้น ๆ ผวิ เผิน
( ประยทุ ธ์ ปยตุ โฺ ต . 2549 : 23 )

วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ คือการนำเอาโยนิโสมนสิการมาใช้ในทางปฏิบัติวิธีคิดแบบโยนิโส
มนสิการว่าโดยหลักการก็มี 2 แบบ ดังที่พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต . 2549 :38 – 39)
กล่าวว่า โยนิโสมนสิการแม้จะมีหลายอย่างหลายวิธี แต่โดยหลักการมี 2 แบบ คือ โยนิโสมนสิการท่ีมุ่ง
กำจัดอวิชชาโดยตรง ซง่ึ เป็นแบบท่ตี ้องใช้ในการปฏบิ ัตธิ รรมจนถึงที่สุด เพราะทำใหเ้ กิดความรูค้ วามเข้าใจ
ตามเป็นจริง และโยนิโสมนสิการที่มุ่งเพื่อสกัดหรือบรรเทาตัณหา มักเป็นข้อปฏิบัติขั้นต้น ๆ ซึ่งมุ่ง
พฒั นาตนเองในด้านคุณธรรมให้เปน็ ผู้พรอ้ มสำหรับการปฏิบตั ขิ นั้ สูงขึ้นไป

วิธีโยนิโสมนสกิ าร มที ัง้ หมด 10 แบบ ดังน้ี
1. วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย คือ การพิจารณาปรากฏการณ์ที่เป็นผลให้รู้จักสภาวะ
ที่เป็นจริง หรือพิจารณาปัญหา หาหนทางแก้ไข ด้วยการค้นหาสาเหตุและปัจจัยต่างๆ ที่สัมพันธ์ส่งผล
สืบทอดกนั มาซง่ึ เป็นวิธีโยนิโสมนสิการแบบพืน้ ฐาน มแี นวปฏิบตั ิ 2 วิธีคอื

วิธีท่ี 1 คิดแบบปัจจัยสัมพันธ์ เช่น “เม่ือส่ิงนี้มี ส่ิงนี้จึงมี เพราะส่ิงน้ีเกิดข้ึน
สงิ่ นจี้ งึ เกดิ ขึน้ , เมือ่ ไม่มสี ิง่ นี้ สง่ิ นจ้ี ึงไม่มี เพราะสง่ิ นีด้ ับ สง่ิ น้ีจงึ ดับ”

วธิ ที ี่ 2 คิดแบบสอบสวนหรอื ต้งั คำถาม เช่น “เมือ่ อะไรหนอมอี ยู่ อปุ าทานจึงมี”
2. วธิ ีคิดแบบแยกแยะส่วนประกอบหรือกระจายเน้ือหา เป็นการคิดทมี่ ุ่งให้มองและรจู้ ัก
ส่ิงทัง้ หลายตามสภาวะของมันตามความเป็นจริงเป็นการแยกแยะส่งิ ทั้งหลายออกเปน็ องค์ประกอบย่อย ๆ
และจัดประเภทหรือจัดหมวดหมู่ขององค์ประกอบยอ่ ย ๆ นน้ั อย่างชัดเจนวิธีคิดแบบนี้สามารถเรียกว่า วิธี
คิดแบบวิเคราะห์
3. วิธีคิดแบบสามัญลักษณ์หรือวธิ ีคิดแบบรเู้ ท่าทันธรรมดา คือ มองอย่างรู้เท่าทันความ
เป็นไปของสิ่งท้ังหลายซ่ึงจะต้องเป็นอย่างนั้นๆ ตามธรรมดาของมัน ในฐานะที่มันเป็นสิ่งซ่ึงเกิดจากเหตุ
ปจั จัยตา่ งๆ ปรงุ แตง่ ขน้ึ จะตอ้ งเป็นไปตามเหตปุ ัจจยั วิธีคดิ แบบสามัญลกั ษณ์น้แี บง่ ออกเปน็ 2 ขน้ั ตอน

ข้ันท่ี 1 คือ รู้เท่าทันและยอมรับความจริง เป็นข้ันวางท่าทีต่อส่ิงทั้งหลายโดย
สอดคลอ้ งกบั ความจริงของธรรมชาติเป็นท่าทีแห่งปญั ญา

14

ขน้ั ท่ี 2 คือ แก้ไขและทำการไปตามเหตุปัจจยั เป็นข้ันปฏิบัตติ อ่ สิ่งท้ังหลายโดย
สอดคล้องกับความเป็นจรงิ ของธรรมชาติ เปน็ การปฏิบตั ิดว้ ยปัญญา ดว้ ยความรู้เท่าทนั แลว้ แกไ้ ขทำการ
จดั การทตี่ ัวเหตปุ จั จยั เหล่าน้ัน

4. วิธีคิดแบบอริยสัจจ์ หรือคิดแบบแก้ปัญหา จัดเป็นวิธีคิดแบบหลักอย่างหนึ่งเพราะ
สามารถขยายใหค้ รอบคลมุ วธิ ีคิดแบบอ่นื ๆ ไดท้ ั้งหมดวธิ คี ดิ แบบอรยิ สจั จ์ มลี กั ษณะทัว่ ไป 2 ประการ คอื

ประการที่ 1 เป็นวิธคี ิดตามเหตแุ ละผล หรือเปน็ ไปตามเหตแุ ละผล สืบสาวจาก
ผลไปหาเหตุแล้วแกไ้ ขและทำการท่ตี น้ เหตุ จดั เป็น 2 คู่ คือ

คทู่ ่ี 1 ทุกข์เป็นผล เป็นตัวปญั หาเปน็ สถานการณ์ที่ประสบซึง่ ไมต่ ้องการ
สมุทัยเปน็ เหตุ เปน็ ทีม่ าของปัญหาเป็นจดุ ทตี่ ้องกำจัดหรือแก้ไข
จงึ จะพน้ จากปัญหาได้

คูท่ ี่ 2 นิโรธเป็นผล เปน็ ภาวะสน้ิ ปัญหาเป็นจดุ หมายซึ่งต้องการจะเขา้ ถงึ
มรรคเป็นเหตุ เป็นวธิ ีการ เป็นข้อปฏิบัติที่ตอ้ งกระทำในการแก้ไข
สาเหตุเพ่ือบรรลจุ ุดหมายคือภาวะส้ินปัญหา
อันได้แก่ความดบั ทุกข์

ประการที่ 2 เป็นวิธีคิดที่ตรงจุดตรงเรื่องตรงไปตรงมามุ่งตรงต่อสิ่งท่ีจะต้องทำ
ต้องปฏบิ ตั ิต้องเก่ียวขอ้ งของชวี ิตใชแ้ ก้ปัญหาไมฟ่ ุง้ ซ่านออกไปในเรื่องฟุ้งเฟ้อ

สาระสำคญั ของหลักอริยสจั จ์ คือ การเรม่ิ ต้นจากปัญหาหรือความทุกขท์ ี่ประสบ
โดยกำหนดรู้ ทำความเข้าใจกบั ปัญหาหรอื ความทกุ ข์นัน้ ใหช้ ดั เจนแล้วสืบค้นหาสาเหตเุ พื่อเตรียมแก้ไข

ขั้นที่ 1 ทกุ ข์ คือ สภาพปญั หา ความคับข้อง ตดิ ขัด กดดนั บบี ค้ัน บกพรอ่ ง

ขน้ั ท่ี 2 สมุทัย คอื เหตเุ กิดแห่งทกุ ข์ หรอื สาเหตขุ องปัญหา ได้แก่
เหตปุ ัจจัยตา่ ง ๆ ท่เี ขา้ สมั พันธ์ขัดแยง้ สง่ ผลสืบทอดกัน
มาจนปรากฏเปน็ สภาพ ๆ บีบคนั้

ขั้นท่ี 3 นโิ รธ คอื ความดับทกุ ข์ ความพน้ ทกุ ข์ หมดหรือปราศจาปัญหา
เปน็ จดุ หมายทีเ่ ราต้องการโดยเรามีหนา้ ท่ที ำให้เป็นจรงิ
ทำให้สำเรจ็ หรือ บรรลุ

ขนั้ ท่ี 4 มรรค คือ ทางดับทกุ ข์ ขอ้ ปฏบิ ัติให้ถงึ ความดับทุกข์หรือวธิ ี
แก้ปัญหาเพอื่ กำจดั เหตุปัจจัยของปัญหาสง่ิ ทีพ่ งึ กระทำคือ
กำหนดวางวิธีการ แผนการ และรายการสง่ิ ทจี่ ะตอ้ งทำ
ซ่ึงจะชว่ ยใหแ้ กไ้ ข สาเหตขุ องปญั หาไดส้ ำเรจ็ โดย
สอดคลอ้ งกบั จุดหมายที่ต้องการ

5. วิธีคิดแบบอรรถสัมพันธ์ หรือคิดตามหลักการและความมุ่งหมาย คือ พิจารณาให้
เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง ธรรม กับ อรรถ หรือ หลักการ กับ ความมุ่งหมาย โดยตามความหมาย
ของ ธรรม แปลว่า หลัก หรือ หลักการ คือหลักความจริง หลักความดีความงาม รวมท้ังหลักคำ
สอนท่ีจะประพฤติปฏิบัติและการกระทำได้ถูกต้อง คำว่า อรรถ แปลว่า ความหมาย ความมุ่งหมาย
จุดหมายประโยชน์ท่ีต้องการ หรือสาระที่พึงประสงค์ เป็นความคิดท่ีมีความสำคัญมาก เม่ือจะลงมือ

15

ปฏิบัติหรือทำการตามหลักการอย่างใดอย่างหนึ่ง เพ่ือให้ได้ผลตรงตามความมุ่งหมาย ไม่กลายเป็นการ
กระทำท่ีคลาดเคลื่อนเลื่อนลอยหรอื งมงาย

6. วิธีคิดแบบเห็นคุณโทษและทางออก เป็นการมองสง่ิ ท้ังหลาย ตามความเป็นจริงอีก
แบบหนึ่ง ซึง่ เน้นการยอมรับความจริงตามที่สง่ิ นนั้ ๆ เป็นอยู่ทกุ แงท่ ุกด้าน ทั้งดา้ นดีดา้ นเสยี และเป็นวิธี
คดิ ทีต่ ่อเน่อื งกบั การปฏิบัติ การคดิ แบบน้ีมลี กั ษณะที่พึงยำ้ 2 ประการ

6.1 การทจี่ ะชอ่ื วา่ มองเห็นตามเป็นจริงนั้น จะต้องมองเห็นท้ังด้านดี ดา้ นเสีย
หรอื ทั้งคุณและโทษของสิง่ น้ันๆ ไมใ่ ช่มองแตด่ ้านดหี รอื คณุ อยา่ งเดียวและไม่ใชโ่ ทษหรือดา้ นเสยี อย่างเดียว

6.2 เม่ือจะแก้ปัญหา ปฏิบัติ เพียงรู้คุณโทษ ข้อดีข้อเสียของสิ่งท่ีเป็นปัญหา
หรือภาวะท่ีไม่ต้องการเท่านั้น ยังไม่เพียงพอ จะต้องมองเห็นทางออก มองเห็นจุดหมายและรู้ว่า
จุดหมายหรือที่จะไปน้ัน คืออะไร คืออย่างไร ดีกว่า และพ้นจากข้อบกพร่อง จุดอ่อนโทษส่วนเสีย
ของสิ่งหรือภาวะทเี่ ป็นปัญหาอยูน่ อ้ี ย่างไร ไม่ตอ้ งขึน้ ตอ่ คณุ โทษ ข้อดีขอ้ เสียแบบเกา่ อกี ต่อไป

7. วิธีคิดแบบรู้คุณค่าแท้ – คุณค่าเทียม หรือการพิจารณาเก่ียวกับปฏิเสวนาคือการใช้
สอยหรือบริโภค เป็นวิธีคิดแบบสกัดหรือบรรเทาตัณหา เป็นขั้นฝึกหัดขัดเกลากิเลสหรือตัดทางไม่ให้
กิเลสเขา้ มาครอบงำจติ ใจแล้วชักจูงพฤตกิ รรมตอ่ ๆ ไปวธิ ีคิดแบบน้ใี ช้มากในชีวิตประจำวนั เพราะเก่ยี วข้อง
กับการบริโภคใช้สอยปัจจัย 4 และวัสดุอุปกรณ์อำนวยความสะดวกต่าง ๆ เพราะเรามีความต้องการ
และเห็นว่าสิ่งน้ัน ๆ จะสนองความต้องการของเราได้ สิ่งใดสามารถสนองความต้องการเราได้ ส่ิงน้ันก็มี
คุณค่าแก่เรา หรือที่เรานิยมเรียกว่ามันมีประโยชน์ คุณค่าน้ีจำแนกได้เป็น 2 ประเภท ตามชนิดของ
ความต้องการคือ

ประการที่ 1 คุณค่าแท้ หมายถึง ความหมายคุณค่าหรือประโยชน์ของส่ิง
ทง้ั หลาย ในแง่ที่สนองความต้องการของชีวติ โดยตรง หรือที่มนุษย์นำมาใช้แก้ปัญหาของตน เพื่อความ
ดีงามความดำรงอยูด่ ว้ ยดีของชีวิต หรอื เพือ่ ประโยชน์สขุ ของทง้ั ของตนเองและผู้อนื่

ประการที่ 2 คณุ คา่ พอกเสริม หรือ คณุ ค่าเทียม หมายถึง ความหมายคุณค่า
หรือประโยชน์ของส่ิงท้ังหลายท่ีมนุษย์พอกเพิ่มให้แก่สิ่งนั้น เพื่อเสริมราคาเสริมขยายความม่ันคงย่ิงใหญ่
ของตวั ตนทีย่ ึดถอื ไว้ คณุ คา่ นีอ้ าศยั ตัณหาเป็นเครอ่ื งตีราคาหรือวดั ราคา

วธิ ีคิดแบบน้ีใช้พิจารณาในการเข้าเกี่ยวข้องปฏิบัติต่อสง่ิ ทั้งหลายได้ทว่ั ๆ ไปไม่ว่าจะเป็น
การบริโภคใช้สอยการซื้อหาหรือการครอบครอง โดยมุ่งให้เข้าใจและเลือกเสพคุณค่าแท้ท่ีเป็นประโยชน์
กับชีวิตอย่างแท้จริง เป็นไปเพ่ือประโยชน์สุขทั้งแก่ตนและผู้อ่ืน คุณค่าแท้นี้นอกจากจะเป็นประโยชน์
อย่างแท้จริงแล้วยังเกื้อกูลแก่ความเจริญงอกงามของกุศลธรรม เช่น ความมีสติ เป็นต้น ทำให้พ้นจาก
ความเป็นทาสของวัตถุ เพราะเป็นการเกี่ยวข้องด้วยปญั ญาและมขี อบเขตอันเหมาะสม มีความพอเหมาะ
พอดี ต่างจากคุณค่าพอกเสริมด้วยตัณหา ซึ่งไม่ค่อยเกื้อกูลแก่ชีวิตบางทีเป็นอันตรายแก่ชีวิตทำให้เกิด
อกุศลธรรม เช่น ความโลภ ความมัวเมา ความริษยา มานะทิฏฐิ ตลอดจนการยกตนข่มผู้อ่ืน
เจริญข้นึ ไมม่ ีขอบเขตและเปน็ ไปเพ่ือการแก่งแย่งเบียดเบียน

8. วิธีคิดแบบเร้าคุณธรรมหรือวิธีคิดแบบกุศลภาวนาเป็นวิธีคิดในแนวสกัดก้ันหรือ
บรรเทาและขัดเกลาตัณหา หลักการทวั่ ไปของวธิ ีคดิ นีม้ ีอยู่ว่า ประสบการณ์คือสิ่งที่ไดป้ ระสบหรือได้รับรู้
อย่างเดียวกัน บุคคลผู้ประสบหรือรับรู้ต่างกันอาจมองเห็นและคิดนึกปรุงแต่งไปคนละอย่าง
สดุ แต่โครงสร้างของจิตใจหรอื แนวทางความเคยชินต่าง ๆ ทีเ่ ป็นเคร่ืองปรุงจิต คือ สงั ขารที่ผู้นั้นได้ส่งั สมไว้

16

หรือุดแต่การทำใจในขณะน้ัน ๆ วิธีคิดแบบเร้ากุศลนี้ มีความสำคัญในแง่ท่ีทำให้เกิดความคิด
และการกระทำทด่ี ีงามเปน็ ประโยชน์ในขณะนนั้ ๆ

9. วิธีคิดแบบอยู่กับปัจจุบัน หรือวิธีคิดแบบมีปัจจุบัน เป็นเพียงการมองอีกด้านหนึ่ง
ของการคิดแบบอ่ืน ๆ ลักษณะความคิดชนิดที่อยู่ในปัจจุบัน เป็นการคิดในแนวทางของความรู้ หรือคิด
ด้วยอำนาจปัญญา ถ้าคิดในแนวทางของความรู้ หรือคิดด้วยอำนาจปัญญาแลว้ ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองทีเ่ ป็นไป
อยู่ในขณะน้ีหรือเป็นเรื่องล่วงไปแล้ว หรือเป็นเร่ืองของกาลภายหน้าก็จัดเข้าในการเป็นอยู่ในปัจจุบัน
ทั้งนั้น

10. วิธีคิดแบบวิภชั ชวาท เปน็ วิธีคดิ ทเ่ี ชื่อมโยงกับวิธีพูด เพราะก่อนจะพูดตอ้ งคิดก่อน
สิ่งที่พูดล้วนสำเร็จมาจากความคิดท้ังส้ิน วิภัชชวาท มาจาก วิภัชช + วาท วิภัชช แปลว่า แยกแยะ
แบ่งออกเป็น จำแนก หรือ แจกแจง วาท แปลว่า การกลา่ ว การพดู การแสดงคำสอน วภิ ชั ชวาท
จงึ แปลว่า การพูดแยกแยะ พดู จำแนก หรือพุดแจกแจง หรือแสดงคำสอนแบบวเิ คราะห์ลักษณะสำคัญ
ของความคิดและการพูดแบบน้ี คือ การมองและแสดงความจริง โดยแยกแยะออกให้เห็นแต่ละแง่
แตล่ ะด้านครบทกุ แงท่ ุกด้าน

จากที่กล่าวมาผู้วิจัยจึงสรุปได้ว่า การคิดแบบโยนิโสมนสิการ เป็นกระบวนการ
ทางความคิด ซึ่งการคิดแบบโยนิโสมนสิการทั้ง 10 ประเภทนั้นเป็นเครื่องมือในการฝึกการใช้ความคิด
ให้รู้จักคิดอยา่ งถูกวิธี คิดอย่างมีระเบียบ รู้จักคิดวิเคราะห์ ไม่มองเห็นส่ิงต่าง ๆ อยา่ งต้ืน ๆ ผิวเผินทำให้
เกิดปัญญาที่บริสุทธิ์เป็นอิสระ ทำให้ทุกคนช่วยตนเองได้ และยังเอื้อประโยชน์ในการแก้ปัญหาต่างๆ
ท่ีเกิดขน้ึ ในชีวติ ประจำวันของมนุษยอ์ กี ดว้ ย

3.2 ข้นั ตอนในการฝึกคิดแบบโยนิโสมนสิการ
กระบวนการคิดแบบโยนิโสมนสิการประกอบด้วยข้ันตอนในการคิดและความสามารถหลายๆ
ประการ ซึ่งต้องได้รับการฝึกฝนเป็นข้ันตอนอย่างต่อเน่ืองจึงทำให้คิดเป็นหรือรู้จักคิดได้ท่ีกล่าวกันว่า
ความคิดเป็นตัวชี้นำและควบคุมการปฏิบัตินั้น ท่ีแท้แล้วกระบวนการคิดต่างหากที่เป็นเครื่องมือควบคุม
การกระทำ (Bourne Jr.; Ekstrand; & Dominowski,1971 อ้างถึงใน (วัลนิกา ฉลากบาง, 2548) โดยมี
จดุ เร่มิ ต้นทตี่ วั ปัญหา จากน้นั กระบวนการคิดกจ็ ะดำเนนิ การไปจนกระทง่ั ได้ข้อยุติของปญั หา กระบวนการ
คิดจึงหยุด ดังนั้น กระบวนการคิดแบบโยนิโสมนสิการและ การแก้ปัญหาจึงเป็นกระบวนการที่มี
ความสัมพันธ์สอดคล้องกันและส่งเสริมซึ่งกันและกันเพราะกระบวนการคิดมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อ
ความสามารถในการตัดสินใจ (สุมน อมรวิวฒั น์,2531) อย่างไรก็ตามหากเปรยี บเทียบกระบวนการคดิ แบบ
โยนิโสมนสิการกับวิธีคิดแบบวิทยาศาสตร์หรือบางทีเรียกว่าวิธีแก้ปัญหาแบบวิทยาศาสตร์ จะพบว่ามี
ความแตกต่างกันตรงท่ี วิธีแก้ปัญหาแบบวิทยาศาสตร์ไม่แยกการหาสาเหตุเป็นขั้นหน่ึงต่างหาก แต่แฝง
ไว้ในข้ันการต้ังสมมติฐาน และแม้ท้ังสองวิธีจะมีเป้าหมายที่การแก้ปัญหา แต่วิธีแก้ปัญหาตาม
กระบวนการคิดแบบโยนิโสมนสิการ จะเป็นวิธที ถ่ี ูกต้องตามทำนองคลองธรรม ไม่ก่อปัญหาสืบเนอื่ งต่อไป
ด้วยเหตุดังกล่าว จึงควรนำกระบวนการคิดแบบโยนิโสมนสิการไปฝึกเพ่ือเพ่ิมพูนและเสริมสร้าง
ความสามารถในการตัดสินใจ และการแก้ไขปัญหาหรือความสามารถในการรู้จักคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ซึ่งการใช้โยนิโสมนสิการขั้นพื้นฐาน ในทัศนะของพระธรรมปิฎก จัดลำดับให้สัมพันธ์และเชื่องโยงกัน
โดยวิธีคิดแบบอริสัจหรือคิดแบบแก้ปัญหาเป็นวิธีหลัก วิธีคิดแบบแยกแยะส่วนประกอบของวิธีคิดแบบ

17

สืบสาวเหตุปัจจัย วิธีคิดแบบคุณค่าแท้คุณค่าเทียม และวิธีคิดแบบคุณโทษ ทางออกเป็นส่วนที่ต่อเน่ือง
หรอื สว่ นขยายพระธรรมปฎิ ก ดงั น้ี (วลั นภิ า ฉลากบาง, 2548)

1. การกำหนดปัญหา คือ การทำความเข้าใจในปัญหา ตระหนักถึงการมีอยู่ของปัญหา
และนยิ ามปญั หาได้แมน่ ยำ ซ่ึงถือเป็นจุดเรม่ิ ต้นของการแกป้ ญั หา

2. การสืบสาวสาเหตุของปัญหา คือ การพิจารณาถึงสาเหตุท่ีทำให้เกิดปัญหาและ
วเิ คราะหแ์ ยกแยะไดว้ า่ สาเหตใุ ดเปน็ ปจั จยั หลกั ทีท่ ำให้เกดิ ปัญหา

3. การต้ังสมมติฐาน คือ การนำข้อมูลท่ีวิเคราะห์แยกแยะแล้วมาเช่ือมโยงหา
ค ว า ม สั ม พั น ธ์ เพ่ื อ ก ำห น ด จุ ด ห ม า ย แ ล ะ ท า งเลื อ ก ที่ น่ า จ ะ เป็ น ไป ได้ ม า ก ที่ สุ ด เพ่ื อ ใช้ ท ด ส อ บ ต่ อ ไป
ความสามารถท่ตี ้องใช้คอื การหาความสมั พันธ์เชงิ เหตผุ ลระหวา่ งข้อมูลทีม่ อี ยเู่ พ่ือระบุทางเลือกท่ีเปน็ ไปได้

4. การรวบรวมและพิจารณาข้อมูล คือ การรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากแหล่งต่าง ๆ
ให้ครอบคลุมปัญหาหรือข้อโต้แย้งรวมถึงการดึงความรู้ จากประสบการณ์เดิมมาใช้แล้วพิจารณาความ
นา่ เชื่อถือและความพอเพยี งของข้อมลู

5. การตรวจสอบวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์ ตีความ เปรียบเทียบแยกแยะเพื่อ
ประเมินว่าเปน็ ความคิดเห็น ขอ้ เท็จจรงิ เก่ียวขอ้ งหรอื ไมเ่ ก่ยี วข้อง เปน็ ต้น

6. การสรุปผล คือ การตัดสินใจเลือกแนวทางที่สมเหตุสมผลและชอบธรรมท่ีสุดจาก
ข้อมลู และหลกั ฐานทม่ี ีโดยใชเ้ หตุผลเปน็ สำคญั แตก่ ่อนจะตัดสนิ ใจเลือกจะตอ้ งประเมนิ ความนา่ เช่อื ถือ

จากการศึกษาที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่า การนำหลักการสอนคิดแบบโยนิโสมนสิการมาเป็น
แนวทางในการสอนนั้นสามารถให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะในการคิด โดยให้รู้จักคิดอย่างถูกวิธีคิดอย่างมี
ระเบยี บ รู้จกั คิดวเิ คราะห์ มีการตัดสนิ ใจ และการแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม
4. เอกสารเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิทยาศาสตร์

เอกสารเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เป็นคุณลักษณะเก่ียวกับความรู้
ความสามารถของบุคคลที่ได้เปล่ียนแปลงพฤติกรรมในด้านต่างๆ และประสบการณ์ อันเป็นผลจากการ
เรยี นการสอนซง่ึ มีความเกี่ยวขอ้ งกับองคป์ ระกอบและแนวทางในการวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนดังนี้

4.1 ความหมายของผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Learning Achievement) เป็นผลท่ีเกิดจากปัจจัยต่างๆ ในการจัด
การศึกษานักศกึ ษาได้ใหค้ วามสำคัญกับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและเนื่องจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็น
ดัชนีประการหน่ึงท่ีสามารถบอกถึงคุณภาพการศึกษาดังท่ีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเป็น ความสามารถของ
นักเรียนในด้านต่างๆ ซ่ึงเกดิ จากนักเรียนได้รบั ประสบการณ์จากกระบวนการเรียนการสอนของครู โดยครู
ต้องศึกษาแนวทางในการวัดและประเมินผล การสร้างเคร่ืองมือวัดให้มีคุณภาพนั้น ได้มีผู้ให้ความหมาย
ของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไว้ดงั นี้
สมพร เช้ือพันธ์ (2547, หน้า 53) สรุปว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์หมายถึง
ความสามารถ ความสำเร็จและสมรรถภาพด้านต่างๆ ของผู้เรียนที่ได้จากการเรียนรู้อันเป็นผลมาจากการ
เรียนการสอน การฝึกฝนหรือประสบการณ์ของแต่ละบุคคลซึ่งสามารถวัดได้จากการทดสอบด้วยวิธีการ
ตา่ งๆ
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข (2548, หน้า 125) กล่าวว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
หมายถงึ ขนาดของความสำเรจ็ ที่ได้จากกระบวนการเรียนการสอน

18

ปราณี กองจินดา (2549,หน้า 42) กล่าว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึงความสามารถหรือ
ผลสำเร็จที่ได้รับจากกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและประสบการณ์เรียนรู้
ทาง ด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย และยังได้จำแนกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไว้ตามลักษณะของ
วตั ถุประสงค์ของการเรียนการสอนทแ่ี ตกต่างกนั

อนาตาซี(1970: 107 อ้างถึงใน ปริยทิพย์บุญคง, 2546: 7) กล่าวไว้พอสรุปได้ว่าผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนมีความสัมพันธ์กับองค์ประกอบด้านสติปัญญาและองค์ประกอบด้านท่ีไม่ใช้สติปัญญาได้แก่
องคป์ ระกอบดา้ นเศรษฐกิจสงั คมแรงจูงใจและองค์ประกอบท่ีไม่ใช้สตปิ ญั ญาด้านอื่น

ไอแซงค์อาโนลด์และไมลี(อ้างถึงใน ปริยทิพย์ บุญคง, 2546: 7) ให้ความหมายของคำว่า
ผลสัมฤทธ์ิหมายถงึ ขนาดของความสำเรจ็ ที่ไดจ้ ากการทำงานทต่ี ้องอาศัยความพยายามอย่างมากซึ่งเป็นผล
มาจากการกระทำท่ีต้องอาศัยทัง้ ความสามารถทั้งทางรา่ งกายและทางสติปญั ญา ดังน้ันผลสมั ฤทธ์ิทางการ
เรียนจึงเป็นขนาดของความสำเร็จที่ได้จากการเรียนโดยอาศัยความสามารถ เฉพาะตัวบุคคลผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นอาจได้จากกระบวนการท่ไี ม่ต้องอาศยั การทดสอบ เช่นการสังเกตหรือการตรวจการบ้านหรือ
อาจได้ในรูปของเกรดจากโรงเรียน ซึ่งต้องอาศัยกระบวนการท่ีซับซ้อนและระยะเวลานานพอสมควรหรือ
อาจได้จากการวัดแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั่วไปซ่ึงสอดคล้องกับ ไพศาล หวังพานิช (2536: 89) ที่
ใหค้ วามหมายผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวา่ หมายถงึ คุณลักษณะและความสามารถของบุคคลอันเกิดจากการ
เรียนการสอนเป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและประสบการณ์การเรียนท่ีเกิดข้ึนจากการฝึกอบรมหรือ
การสอบจึงเป็นการตรวจสอบระดับความสามารถของบุคคลว่าเรียนแล้วมีความรู้เท่าใดสามารถวัดได้โดย
การใช้แบบทดสอบตา่ งๆ เช่นใชข้ อ้ สอบวัดผลสมั ฤทธข์ิ ้อสอบวัดภาคปฏิบตั ิสามารถวัดได้ 2 รูปแบบ ดังน้ี

1. การวดั ด้านปฏิบัตเิ ปน็ การตรวจสอบระดบั ความสามารถในการปฏบิ ัตโิ ดยทกั ษะของ
ผเู้ รยี นโดยมุ่งเนน้ ให้ผู้เรยี นแสดงความสามารถดงั กล่าวในรปู ของการกระทำจรงิ ให้ออกเปน็ ผลงานการ
วดั ต้องใช้ข้อสอบภาคปฏบิ ตั ิ

2. การวัดด้านเน้ือหาเป็นการตรวจสอบความสามารถเก่ียวกับเน้ือหาซึ่งเป็นประสบการณ์เรียน
รวมถงึ พฤติกรรมความสามารถในด้านต่างๆ สามารถวดั ไดโ้ ดยใชแ้ บบวดั ผลสัมฤทธิ์จากความหมายข้างต้น
สรุปได้ว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหมายถึงผลการวัด การเปล่ียนแปลงและประสบการณ์การเรียนรู้ใน
เน้ือหาสาระท่ีเรียนมาแล้วว่าเกิดการเรียนรู้เท่าใดมีความสามารถชนิ ดใดโดยสามารถวัดได้จาก
แบบทดสอบวัดสัมฤทธิ์ในลักษณะต่างๆ และการวัดผลตามสภาพจริงเพ่ือบอกถึงคุณภาพการศึกษา
ความหมายของการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและสามารถวัดได้โดยการแสดงออกมาท้ัง 3 ด้าน คือ ด้าน
พทุ ธพิ สิ ัย ดา้ นจิตพสิ ยั และดา้ นทกั ษะพสิ ยั

4.2 การวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2546:7) ได้เสนอกระบวนการวัดผล
และประเมินผลการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ไว้อย่างมีระบบ ที่ประกอบด้วย การกำหนดจุดมุ่งหมาย
และวิธีการวัดผลประเมินผล การสร้างเครื่องมือ และการดำเนินการตามที่วางแผนไว้ ข้ันตอนท่ีเป็นไปได้
ในการวดั ผลประเมินผล แสดงไดด้ ังแผนภาพ 1

19

กำหนดจุดมงุ่ หมายของการเรียนรู้

ความร้คู วามคิด กระบวน เจตคติ โอกาสการเรียนรู้
การเรยี นรู้

กำหนดวธิ ีการวัดผลประเมนิ ผล

ประเมนิ จากแบบทดสอบ ประเมินตามสภาพจรงิ

ผลท่ไี ด้จากการประเมนิ นำมาตัดสนิ ระดบั คุณภาพโดยใช้เกณฑ์ท่ีกำหนดเพื่อสรปุ
ความก้าวหน้าและผลสมั ฤทธ์ิของการเรียนรู้

ภาพท่ี 2 แสดงขั้นตอนการวดั ผลประเมินผล
ท่มี า : สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2546:7)

การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนที่เร่ิมจากการกำหนดจุดมุ่งหมาย
ด้านต่าง ๆ ซ่ึงอาจประกอบด้วย ความรู้ความคิด กระบวนการเรียนรู้ เจตคติและโอกาสในการเรียนรู้
ต่อจากนั้นจึงกำหนดวิธีการวัดผลประเมินผลที่หลากหลายท้ังการประเมินจากการทดสอบด้วยข้อสอบ
และการประเมินตามสภาพจริงจากการปฏิบัติงานและผลงานของผู้เรียน ท้ังน้ีจะต้องกำหนดเกณฑ์
ที่สามารถนำไปใช้ประเมินได้อย่างเท่ียงตรง การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในปัจจุบัน
เป็นการประเมินตามสภาพจริงมากกว่า การประเมินจากการทดสอบด้วยข้อสอบ เนื่องจากการประเมิน
ตามสภาพจรงิ ชว่ ยสะทอ้ นถงึ สมรรถภาพของผเู้ รยี นได้ครอบคลุมทุกดา้ น

ดังนั้นในการวัดประเมินผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จะต้องวัดความ รู้ทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์เจตคติทางวิทยาศาสตร์ และทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรแ์ ละเจตคติ

4.3 เปา้ หมายการวัดผลประเมินผลการเรียนทางวิทยาศาสตร์
การประเมินสมรรถภาพของผู้เรียนมีเป้าหมายและแนวปฏิบัติเดียวกับการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์ โดยเป็นการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนครอบคลุมทั้งความรู้ความคิด

20

กระบวนการเรียนรู้ด้านการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา การสื่อสารและการนำความรู้ไปใช้ รวมทั้ง
คุณลักษณะดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์ โดยมีรายละเอียดของเป้าหมายแนวปฏิบตั ิ มดี ังตอ่ ไปนี้

บลูม (Bloom อ้างถึงใน สุรางค์ โค้วตระกูล, 2541 : 272-273) แห่งมหาวิทยาลัย ชิคาโก
และผรู้ ่วมงานไดจ้ ัดกลุ่มของวัตถุประสงคข์ องการศกึ ษาออกเป็น 3 ดา้ น

1. พุทธิพิสัย (cognitive domain) เป็นวัตถุประสงค์ที่เก่ียวกับ ความรู้ ความคิดและ
การนำความรูไ้ ปใช้

2. จิตพิสัย (affective domain) เป็นวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวกับด้านความรู้สึก อารมณ์
และทศั นคตซิ ่ึงมีอิทธิพลตอ่ พฤตกิ รรม

3. ทักษะพิสัย (psychomotor domain) เป็นวัตถุประสงค์ท่ีเกี่ยวกับทักษะในการใช้
สว่ นต่าง ๆ ของร่างกาย การประสานงานของการใชอ้ วยั วะตา่ ง ๆ เชน่ การเขยี น การอ่าน การพดู การว่ิง
เปน็ ต้น

โดยบลมู และคณะได้แบ่งการวัดและประเมินผลดา้ นพุทธพิ ิสยั ออกเป็น 6 ดา้ น ดังต่อไปน้ี
1. ความรู้ (knowledge) บลูม ได้แบ่งความร้อู อกเปน็ 2 ดา้ น ดังนี้
1.1 ความรู้ที่เก่ียวกับความจริงเฉพาะต่าง ๆ โดยมีความรู้เกี่ยวกับคำจำกัด

ความของส่ิงตา่ งๆ เชน่ คำจำกดั ความของคำว่า นาม กริยา เป็นตน้
1.2 ความรู้เกีย่ วกบั วิธีการท่ีจะใช้เก่ียวกับส่ิงเฉพาะต่าง ๆ เช่น ความรเู้ กี่ยวกับ

การแบ่งประเภทหรือการจัดกลุ่มตัวอย่าง เช่น การปกครองแบบประชาธิปไตยและการปกครองแบบ
อัตตาธิปไตย เปน็ ตน้

2. ความเข้าใจ (comprehension) หมายถึง การมีความเข้าใจในความรู้ที่เรียน โดย
สามารถอธิบายด้วยคำพูดของตนเอง หรืออาจจะสามารถแปลความหมาย (translation) หรือ
ตคี วามหมาย (interpretation) ได้หรืออาจจะบอกผลตามการกระทำได้

3. การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ (application) หมายถึง ความสามารถจะนำส่ิงท่เี รยี นรู้
มาใช้ในประสบการณ์ชีวิตประจำวัน ตัวอย่างเช่น ถ้าเรียนเกี่ยวกับการหาพ้ืนท่ีของส่ีเหลี่ยมผืนผ้าใน
ห้องเรียน สามารถที่จะหาพ้ืนท่ขี องสนามทีเ่ ป็นรปู สเี่ หลี่ยมผนื ผา้ ได้

4. การวิเคราะห์ (analysis) หมายถึง ความสามารถท่ีจะแบ่งสิ่งที่เรียน ที่ต้องเรียนรู้
ออกเป็นส่วนย่อยและแสดงความสัมพันธ์ของส่วนย่อยเหลา่ น้ัน ตวั อย่างเชน่ สามารถท่ีจะหยิบยกข้อความ
จรงิ เหลา่ น้ันได้หรอื สามารถจะวเิ คราะห์วา่ ประโยคใดเปน็ ความจริงและประโยคใดเป็นความคิดเหน็ เฉย ๆ

5. การสังเคราะห์ (synthesis) หมายถึง ความสามารถท่ีจะรวบรวมสิ่งที่เรียนรู้หรือ
ประสบการณ์เข้าเป็นส่วนรวมเป็นส่ิงใหม่ ตัวอย่างเช่น ผู้เรียนสามารถจะเขียนเรียงความเรียบเรียง
ประสบการณ์ท่ีได้จากการไปเยี่ยมสถานเลี้ยงดูเด็กกำพร้าหรือประสบการณ์ของตนเองตอนโรงเรียนปิด
เทอมหรอื การเขียน term paper เกยี่ วกับวชิ าทีเ่ รียน

6. การประเมินผล หมายถึง ความสามารถท่ีจะใช้ความรู้ท่ีเรียนมาในการตัดสินใจ
วินิจฉัยคุณค่าของส่งิ ที่ได้เรียนรู้ หรอื ประสบการณ์จากการอ่านหรือการฟังมีความสามารถในการใช้เกณฑ์
การประเมินตดั สนิ ใจเลอื ก

21

บลูม (Bloom อ้างถึงใน วรรณทิพา รอดแรงค้า, 2544:8) แบ่งการประเมินการศึกษา
ด้านพุทธิพิสัยของ ท่ีใช้เป็นแนวในการประเมินผลการเรียนการสอน ออกเป็น 3 ด้าน คือ ความรู้ การใช้
ความรู้ และการขยายความรู้ ซ่งึ ทง้ั 3 ดา้ นนีม้ คี วามเชื่อมโยงกับวัตถุประสงค์ของ บลมู (Bloom) ดงั นี้

1. ด้านความรู้ เม่ือเปรียบเทียบ กับ วัตถุป ระสงค์ข อง บ ลูม (Bloom) ได้แก่
ด้านความรู้ความจำ

2. ด้านการใช้ความรู้ เม่ือเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของบลูม (Bloom) ได้แก่ด้าน
ความเขา้ ใจและการนำไปใช้

3. ด้านการขยายความรู้ เม่ือเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของบลูม (Bloom) ได้แก่
ดา้ นการวเิ คราะห์ การสังเคราะหแ์ ละการประเมินผล

พิมพันธ์ เดชะคุปต์ (2545 : 110-113) ได้กล่าวถึงผลการประเมินผลการเรียนรู้
ดา้ นความรู้ ซึ่งวดั ไดจ้ ากพฤตกิ รรม 4 ด้าน ดังนี้

1. พฤติกรรมด้านความรู้ หมายถึง พฤติกรรมท่ีแสดงว่า ผู้เรียนมีความจำด้านต่าง ๆ
ท่ีได้รับจากการค้นคว้า ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ จากการอ่านหนังสือ และการฟังคำบรรยาย
เปน็ ต้น ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ แบ่งเป็น 9 ประเภท คือ

1.1 ความรู้เก่ียวกับความจริงเด่ยี ว
1.2 ความรเู้ กี่ยวกบั มโนทศั น์หรือมโนคติ
1.3 ความรู้เกี่ยวกับหลักการและกฎวทิ ยาศาสตร์
1.4 ความรู้เกี่ยวกบั ข้อตกลง
1.5 ความรูเ้ กย่ี วกับลำดบั ขนั้ ตอนของปรากฏการณ์ต่าง ๆ
1.6 ความรู้เกี่ยวกบั เกณฑ์ในการแบง่ สิง่ ตา่ ง ๆ
1.7 ความรเู้ กย่ี วกับเทคนคิ และกรรมวิธีทางวิทยาศาสตร์
1.8 ความรู้เก่ียวกับศัพทว์ ิทยาศาสตร์
1.9 ความรู้เกยี่ วกับทฤษฎี
2. พฤติกรรมด้านความเข้าใจ หมายถึงพฤติกรรมท่ีผู้เรียนใช้ความคิดที่สูงกว่า ความรู้ -
ความจำ แบ่งเป็น 2 ประเภท คอื
2.1 ความเข้าใจข้อเท็จจริง วิธีการ กำหนดเกณฑ์ หลักการ และทฤษฎีต่าง ๆ
คือเป็นการบรรยายในรปู แบบใหม่ทแ่ี ตกตา่ งจากทเ่ี คยเรยี น
2.2 ความเข้าใจเก่ียวกับการแปลความหมายของข้อเท็จจริง คำศัพท์
มโนทศั น์ หลักการและทฤษฎีทอี่ ย่ใู นรปู ของสญั ลักษณ์อนื่ ได้
3. พฤติกรรมด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง พฤติกรรมที่ผู้เรียน
แสวงหาความรู้และแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซ่ึงการดำเนินการต้องอาศัยวิธีการทาง
วิทยาศาสตรท์ ักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเจตคตทิ างวิทยาศาสตร์
4. พฤติกรรมด้านการนำความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ หมายถึง
พฤติกรรมที่ผู้เรียนนำความรู้ มโนทัศน์ หลักการ กฎ ทฤษฎีตลอดจนวิธีการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการ
แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่ได้ โดยสามารถแกป้ ญั หาได้อย่างน้อย 3 ประเภท คือ
1) แก้ปญั หาท่ีเปน็ เรอ่ื งวิทยาศาสตรใ์ นสาขาเดีย่ วกัน

22

2) แกป้ ญั หาทเ่ี ป็นเรื่องของวิทยาศาสตรส์ าขาอ่ืน
3) แกป้ ัญหาท่นี อกเหนอื จากเรื่องของวิทยาศาสตร์
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2546 : 11-15) จึงกำหนดเป้าหมาย
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิธีการเรียนรู้อย่างหลากหลาย ทั้งการทดสอบด้วยข้อสอบ
และการประเมินจากกจิ กรรมต่าง ๆ ท่ีสะทอ้ นถงึ สมรรถภาพของผู้เรียนนั้น มีเปา้ หมายสำคญั ทต่ี ้องการวัด
ประเมนิ ผล จำแนกได้เปน็ 3 ดา้ น ดังน้ี
1. ความรู้ความคิด หมายถึง ความรอบรู้ในหลักการ ทฤษฎี ข้อเท็จจริง เน้ือหา หรือ
แนวคดิ หลัก ซึ่งสอดคล้องกับแนวคดิ ของบลมู (Bloom) ถือวา่ ส่ิงใดก็ตามท่ีมีปริมาณอยู่จรงิ สง่ิ นั้นสามารถ
วัดได้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก็อยู่ภายใต้กรอบแนวคิดดังกล่าว ซ่ึงผลการวัดจะเป็นประโยชน์ในลักษณะ
ทราบและประเมินระดับความรู้ ทักษะและเจตคติของผู้เรียน ซ่ึงประกอบด้วยองค์ความรู้ในเนื้อหาที่
ต้องการวัด (knowledge) คุณลักษณะของพฤติกรรม (traits) และองค์ประกอบ (components) ซึ่ง
จำแนกตัวองค์ความรู้ในเน้ือหาที่ต้องการวัดและคุณลักษณะของพฤติกรรมออกตามความเชื่อ เช่น ระดับ
ความรู้ ความสามารถ มี 6 ระดับ ดังน้ี
1.1 ความจำ คือสามารถจำเรื่องต่าง ๆ ได้ เช่น คำจำกัดความ สูตรต่าง ๆ
วิธีการ เช่น ผู้เรียนสามารถบอกช่ือสารอาหาร 5 ชนิดได้ ผู้เรียนสามารถบอกชื่อธาตุท่ีเป็นองค์ประกอบ
ของโปรตีนไดค้ รบถ้วน
1.2 ความเขา้ ใจคือ สามารถแปลความ ขยายความและสรปุ ใจความสำคัญได้
1.3 การนำไปใช้คือ สามารถนำความรู้ ซึ่งเป็นหลักการ ทฤษฎี ฯลฯ ไปใช้ใน
สภาพการณท์ ่ตี า่ งออกไปได้
1.4 การวิเคราะห์คือ สามารถแยกแยะข้อมูลและปัญหาต่าง ๆ ออกเป็น
ส่วนยอ่ ย เช่น วเิ คราะหอ์ งค์ประกอบ ความสัมพันธ์ หลกั การดำเนนิ การ
1.5 การสงั เคราะห์ คือ สามารถนำองค์ประกอบ หรือส่วนตา่ ง ๆ เข้ามารวมกัน
เป็นหมวดหมูอ่ ย่างมีความหมาย
1.6 การประเมินค่า คือ สามารถพิจารณาและตัดสินจากข้อมูล คุณค่าของ
หลักการโดยใช้มาตรการทผ่ี ู้อ่ืนกำหนดไวห้ รือตวั เองกำหนดข้ึน
การประเมนิ โดยการทดสอบด้วยข้อสอบไมส่ ามารถวัดประเมินผลความรู้ ความคิดในสว่ นของการ
วเิ คราะห์ สังเคราะหแ์ ละประเมนิ การแสดงออกของผ้เู รยี นจากการลงมือปฏบิ ตั ิจรงิ ให้มากยิ่งขนึ้
2. กระบวนการเรียนรู้ ประกอบด้วย ทักษะกระบวนการ กระบวนการคิด การจัด
การเผชิญสถานการณ์ การประยุกต์ความรู้ การลงมือปฏิบัติจริง ท่ีแสดงออกถึงทักษะเชาวน์ปัญญา
และทักษะปฏิบัติ ใช้วิธกี ารสังเกตจากพฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียนท่ีมีพัฒนาการอย่างเป็นข้ันตอน
ดังน้ี
2.1 การรับรู้ โดยใช้ประสาทสัมผสั เพือ่ รับรเู้ รื่องราวตา่ ง ๆ
2.2 เตรียมความพร้อม คือ มีความพร้อมท่ีจะลงมือปฏิบัติ มีการวางแผนการ
ปฏิบตั ิ
2.3 การตอบสนอง คือ การลงมือปฏิบตั ิตามคำแนะนำหรือตามแผนท่ีวางไว้
2.4 การฝึกฝน คอื การฝึกฝนทักษะเพือ่ ความชำนาญ

23

2.5 ปฏบิ ัตจิ นจำได้ คอื การฝกึ ฝนจนทำได้เองโดยอัตโนมัติ
2.6 การเชื่อมโยงทักษะ คือ การประยุกต์หรือใช้ทักษะที่ฝึกฝนไว้ให้สัมพันธ์กับ
ทักษะอ่นื หรอื ใช้ร่วมกบั ทักษะอื่น
3. เจตคติ เป็นจิตสำนึกของบุคคลท่ีก่อให้เกิดลักษณะนิสัยหรือความรู้สึกทางจิตใจ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของผเู้ รียนควรได้รับการประเมนิ เจตคติ 2 สว่ น คือเจตคตทิ างวิทยาศาสตรแ์ ละเจต
คติต่อวิทยาศาสตร์ ด้วยการสังเกตคุณลักษณะของผู้เรยี นที่ใช้ระยะเวลานานพอสมควรและมีการประเมิน
อยา่ งสม่ำเสมอ โดยทัว่ ไปพฤติกรรมการแสดงออกผ้เู รียนดา้ นเจตคติมีการพัฒนาอย่างเปน็ ขนั้ ตอน ดงั นี้
3.1 การรับรู้ ผู้เรียนมีพฤติกรรมการแสดงออกสนใจและรับรู้ข้อสนเทศหรือ
ส่งิ เร้าดว้ ยความตัง้ ใจ
3.2 ตอบสนอง ผู้เรียนมีพฤติกรรมการแสดงออกตอบสนองต่อข้อสนเทศหรือ
สิ่งเรา้ อย่างกระตือรอื รน้
3.3 เห็นคุณค่า ผู้เรียนมีพฤติกรรมการแสดงออกแสดงความรสู้ ึกชื่นชอบและมี
ความเชอื่ เก่ยี วกบั คุณคา่ ของเรอ่ื งท่ีจะเรียนรู้
3.4 จัดระบบ ผู้เรียนมีพฤติกรรมการแสดงออก ในการจัดระบบ จัดลำดับ
บูรณาการเจตคตกิ บั คุณค่า เพ่อื นำไปใช้หรอื ปฏิบตั ไิ ด้
3.5 สร้างคณุ ลกั ษณะ เลือกปฏิบัติหรอื ไม่ปฏิบัติในสงิ่ ต่างๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
เจตคติทางวิทยาศาสตร์เป็นคุณลักษณะหรือนิสัยของผู้เรียนที่เกิดจากการศึกษาหาความรู้
หรือการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ส่วนเจตคติต่อวิทยาศาสตร์เป็นความรู้สึกของผู้เรียน
ที่มีต่อการทำกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ประกอบด้วย ความพอใจ ศรัทธาและซาบซึ้ง เห็นคุณค่า
และประโยชน์ รวมท้ังมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมทางวิทยาศาสตร์ คุณลักษณะที่บ่งชี้
ทางวิทยาศาสตร์ทั้งด้านเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ประกอบด้ วยคุณลักษณะ
ตอ่ ไปนี้
1. เจตคติทางวิทยาศาสตร์ เป็นลักษณ ะนิสัยของผู้เรียนที่คาดหวังจะได้รับ
การพัฒนาในตัวผู้เรียน โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ คุณลักษณะของเจตคติทาง
วิทยาศาสตร์ประกอบดว้ ย
1.1 ความสนใจใฝร่ หู้ รอื ความอยากรอู้ ยากเห็น
1.2 ความม่งุ มน่ั อดทน รอบคอบ
1.3 ความซื่อสัตย์
1.4 ความประหยัด
1.5 ความใจกว้าง ร่วมแสดงความคดิ เห็นและรับฟังความคิดเห็นของผูอ้ น่ื
1.6 ความมเี หตมุ ีผล
1.7 การทำงานร่วมกบั ผอู้ ืน่ อยา่ งสรา้ งสรรค์
2. เจตคติต่อวทิ ยาศาสตร์ เป็นความรูท้ ่ีผู้เรียนมีต่อกิจกรรมการเรียนรูท้ างวิทยาศาสตร์
ดว้ ยกจิ กรรมทห่ี ลากหลาย คุณลักษณะของเจตคตติ ่อวิทยาศาสตร์ ประกอบดว้ ย
2.1 พอใจในประสบการณ์เรยี นรทู้ ่เี ก่ยี วกับวทิ ยาศาสตร์
2.2 ศรัทธาและซาบซ้ึงในผลงานทางวทิ ยาศาสตร์

24

2.3 เหน็ คุณคา่ และประโยชนข์ องวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2.4 ตระหนักในคณุ และโทษของการใชเ้ ทคโนโลยี
2.5 เรยี นหรือเข้าร่วมกจิ กรรมทางวทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งสนุกสนาน
2.6 เลอื กใช้วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ในการคิดและปฏบิ ัติ
2.7 ตง้ั ใจเรยี นวทิ ยาศาสตร์
2.8 ใช้ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยอี ยา่ งมคี ณุ ธรรม
2.9 ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยใคร่ครวญ ไตร่ตรองถึงผลดี
และผลเสยี
คุณลักษณะต่าง ๆ ตามที่กล่าวนเี้ หน็ ได้จากพฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรยี น ซ่ึงสามารถใช้เป็น
ตัวบ่งช้ีเพ่ือการประเมินผลจิตวิทยาศาสตร์ของผู้เรียนจากการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้สอนต้องสังเกต
พฤติกรรมของผู้เรียนอย่างใกล้ชิดสม่ำเสมอ บันทึกพฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรยี นอย่างต่อเน่ือง และ
นำไปใช้ปรับปรุงเพ่ือการจัดการเรียนการสอน โดยใช้ผลการประเมินของผู้สอนและผู้เรียนมาพิจารณาถึง
ความสอดคลอ้ ง ความสมเหตุสมผลก่อนจะนำผลท่ีได้ไปใช้ลงข้อสรุปเป็นข้อมูลการพัฒนาด้านเจตคติ เพื่อ
ใช้เปน็ องคป์ ระกอบส่วนหน่งึ ในการตดั สินผลสมั ฤทธ์ิรายภาค รายปหี รอื ชว่ งชนั้
ดังนั้นในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นการวัดความรู้
ความคิดของผู้เรียนท่ีได้เรียนรู้เน้ือหา ผู้รายงานได้จำแนกพฤติกรรมด้านความรู้ความคิดในการวัดผลและ
ประเมินผล ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อใช้ในการสร้างแบบทดสอบวัด
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยพิจารณาให้ครอบคลุมผลการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น
มัธยมศึกษาปที ่ี 6

4.4 แนวปฏิบัติในการวัดผลประเมินผลการเรียนทางวิทยาศาสตร์
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ใช้แนวการประเมินผลตามสภาพจริงด้วยการ
ประเมนิ อยา่ งหลากหลายใหไ้ ด้ขอ้ มลู ท่ีครบถ้วน โดย (สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,
2546 : 16) กำหนดวัตถุประสงค์สำคญั ประกอบด้วย

1. วินิจฉยั ผู้เรียนเกีย่ วกับความรคู้ วามคดิ กระบวนการเรียนรดู้ า้ นการสืบเสาะหาความรู้
การแก้ปัญหา การส่ือสาร การนำความรู้ไปใช้ การใช้เทคโนโลยี รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนด้านจิต
วิทยาศาสตร์และโอกาสของผ้เู รยี น เพ่ือนำผลท่ีได้ไปเปน็ แนวทางในการพัฒนาผเู้ รียนอยา่ งเต็มศักยภาพ

2. ตรวจสอบผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ ของสาระ การเรียนรู้
กลมุ่ วทิ ยาศาสตร์ เพื่อใช้ชบี้ ่งคุณภาพการจัดการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์

3. รวบรวมข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ เพ่ือมี
ข้อสนเทศท่ีสมบูรณ์ทันต่อการนำไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน และพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์ใช้เป็นแนวทางในการกำหนดนโยบายการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้ได้
มาตรฐานทสี่ งู ขน้ึ อย่างต่อเนอื่ งและมีความเทา่ ทันกบั นานาชาติ

การประเมินผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของผู้เรียนตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวเป็นการประเมิน
สมรรถภาพของผู้เรียน ท่ีจะต้องมีเครื่องมือการประเมินผลท่ีมีประสิทธิภาพ ท้ังวิธีการประเมินกิจกรรม
เกณฑ์การประเมิน และแบบประเมิน เป็นส่วนหนึ่งของเครื่องมือท่ีผู้สอนต้องให้ความสำคัญและกำหนด

25

สาระสำคัญของการประเมินไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือเป็นการเตรียมความพร้อมไว้ก่อนการจัดการ
เรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์

5. งานวิจัยทเ่ี กย่ี วข้อง
ในการวจิ ัยครง้ั นผ้ี ู้วิจยั ได้ศึกษาเอกสารงานวยั ท่เี ก่ียวข้อดังต่อไปนี้
5.1 งานวิจัยเกีย่ วกบั ชุดกิจกรรม
งานวจิ ัยต่างประเทศ
วิวาส (Vivas. 1985 : 603) ได้ทำการวิจัยเก่ียวกับ การออกแบบพัฒนา และการประเมินค่า

ของการรับรู้ทางความคิดของนักเรียนเกรด 1 ในประเทศเวเนซูเอล่า โดยใช้ชุดการสอนจาการศึกษา
เกี่ยวกับความเข้าใจในการพัฒนาทักษะทั้ง 5 ด้าน ความคิด ด้านความพร้อมในการเรียน ด้านความคิด
สร้างสรรค์ ด้านเชาวน์ปัญญา และด้านการปรับตัวทางสังคม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนเกรด 1
จากโรงเรียนเรนีสกัวเนียร์ เขตรัฐมิลันด้า ประเทศเวเนซูเอล่า จำนวน 214 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง
3 ห้องเรียน จำนวน 114 คน ได้รับการสอนโดยใชช้ ดุ การสอน กลุ่มควบคุม 3 หอ้ งเรยี น จำนวน 100 คน
ได้รับการสอนปกติ ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้ชุดการสอนมีความสามารถเพ่ิมข้ึน
ในด้นความคิด ความพรอ้ มในการเรยี น ด้านความคิดสรา้ งสรรค์ ด้นเชาวน์ปัญญาและดา้ นการปรับตัว
ทางสังคม หลงั จากไดร้ ับการสอนด้วยชดุ การสอนสูงกว่านกั เรยี นทีไ่ ด้รับการสอนแบบปกติ

วลิ เลยี ม (William. 1999 : 40-62) ได้ศึกษาการเชอ่ื มโยงความคดิ รวบยอดเร่อื งจำนวนกับการคิด
ในใจ ด้วยการทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นและการคดิ ในใจ ของนกั เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
กลุ่มตัวอย่างเป็น นักเรียนเกรด 8 จำนวน 13 คน โดยแบ่งกลุ่มทดลอง 183 คน กลุ่มควบคุมจำนวน
230 คนและครูเข้าร่วมในการศึกษาจำนวน 6 คน กลุ่มทดลองใช้ชุดการสอน 83 บทเรียน เรื่อง จำนวน
กลุ่มควบคุมใช้การสอนตามปกติ เครื่องมือท่ีใช้ในการศึกษาครั้งน้ีคือ แบบวัดผลสัมฤทธ์ิการคิดในใจ
โดยวัดก่อนเรียนและหลังเรียนทั้งสองกลุ่ม และแบบสัมภาษณ์กระบวนการคิดของนักเรียนกลุ่มทดลอง
จำนวน 9 คน โดยสัมภาษณ์ท้ังก่อนและหลังการทดลอง ผลการศึกษาพบว่า ชุดการสอนท่ีใช้มีผล
ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และกลุ่มทดลองมีผลสัมฤทธิ์ด้านการคิดในใจแตกต่างกับกลุ่มควบคุม
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ผลจากการสัมภาษณ์กลุ่มทดลอง พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงเพียง
เลก็ น้อยในกระบวนการคดิ ในใจของนักเรยี นก่อนและหลังการอนโดยใชช้ ุดการสอน

สทั เทอรเ์ ฟียลฟ์ (Satterfielf. 2001 : Online)ได้ทำการศึกษาการใช้ชดุ การสอนเรขาคณิตโดยใช้
โปรแกรม Sketchpad Version 3 เปน็ โปรแกรมทจ่ี ดั ทำขึ้นเพื่อใช้คอมพวิ เตอร์เป็นสื่อให้เห็นถึงโครงสร้าง
ของวิชาเรขาคณิตและเป็นสอ่ื ที่จะอธิบายการเรียนในหอ้ งเรียน ผลการทดลองพบว่า ชุดการสอนช่วยให้
นักเรียนเกิดการพัฒนาการคิดในรูปแบบทางเรขาคณิตและเป็นส่ิงที่สร้างความถูกต้องแม่ นยำในการคิด
ของนกั เรยี นด้วย

งานวจิ ัยในประเทศ
กรรณิการ์ ไผทฉันท์ ( 2541 : 103 ) ได้ศึกษาผลการใช้ชุดกิจกรรมสิ่งแวดล้อมตามวิธีการวิจัย
ในการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อส่ิงแวดล้อม ในชุดกิจกรรมชุมนุม
วิทยาศาสตร์ของนักเรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ผลการศึกษาพบว่า ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ข้ั น บู รณ าก า รข อ งนั ก เรี ย น ท่ี ได้ รั บ ก าร ส อ น โ ด ย ใช้ ชุ ด กิ จ ก ร รม สิ่ งแ ว ด ล้ อ ม ต า ม วิ ธีวิ จั ย กั บ ก า รส อ น

26

แบบสืบเสาะหาความรู้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 และเจตคติต่อสิ่งแวดล้อม
ของนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมสิ่งแวดล้อมตามวิธีวิจัยกับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญสถิติท่รี ะดับ .05

ชลสีต์ จันทาสี ( 2543 : บทคัดย่อ ) ได้เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์
และความสามารถในการตัดสนิ ใจอย่างสร้างสรรค์ของนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 ท่ไี ดร้ ับการสอนโดยใช้
ชุดกิจกรรมการตัดสินใจทางวิทยาศาสตร์กับการสอนตามคู่มือครูผลการวิจัย พบว่า นักเรียนท่ีได้รับ
การสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมการตัดสินใจทางวิทยาศาสตร์กับการสอนตามคู่มอื ครมู ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิชาวิทยาศาสตร์และความสามารถในการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ท่ีระดบั .05

สมุ าลี โชติชุ่ม ( 2544 : บทคัดยอ่ ) ได้ศกึ ษาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และเชาวน์
อารมณ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการสอนโดยใช้ชุดการเรียนวิทยาศาสตร์ที่ส่งเสริมเชาวน์
อารมณ์กับการสอนตามคู่มือครู ผลการวิจัยพบว่านักเรียนท่ีได้รับการสอนโดยใช้ชุดการเรียนวิชา
วิทยาศาสตร์ที่ส่งเริมเชาวน์อารมณ์กับการสอนตามคู่มือครู มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์
แตกต่างกันอย่างมนี ัยสำคัญทางสถติ ิทร่ี ะดับ .01 และนักเรยี นท่ีได้รบั การสอนโดยใช้ชุดการเรยี นท่สี ่งเสริม
เชาวน์อารมณ์ กับการสอนตามคู่มือครูมีเชาวน์อารมณ์แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ
ส่วนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ กับเชาวน์อารมณ์ของนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้ชุด
การเรยี นที่ส่งเสรมิ เชาวน์อารมณ์กบั การสอนตามคูม่ ือครูมคี วามสัมพนั ธก์ นั อยา่ งไมม่ ีนยั สำคัญทางสถติ ิ

พรศรี ดาวรุ่ง (2548 : บทคัดยอ่ )ไดศ้ ึกษาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนวิทยาศาสตรแ์ ละความสามารถ
ในการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ที่ได้รับการสอนโดยชุดกิจกรรมแก้ปัญหา
ทางวิทยาศาสตร์ ผลการวิจัยพบว่านักเรียนท่ีได้รับการสอนโดยชุดกิจกรรมแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
และนกั เรยี นทไ่ี ดร้ บั การสอน โดยชดุ กิจกรรมแกป้ ัญหาทางวิทยาศาสตร์ มคี วามสามารถในการคิดอย่างมี
วจิ ารณญาณหลงั เรียนสงู กว่าก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดบั .01

จากการศึกษางานวิจัยท้ังภายในประเทศและต่างประเทศ พอสรุปได้ว่าการสอนโดยใช้ชุด
กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ สามารถพัฒนาการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี สามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ท่ีพบได้
ในการจดั การเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ อีกทั้งชุดกิจกรรมยังถือเป็นนวัตกรรมท่ีส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนได้
คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง อีกท้ังยังเป็นวิธีในการปลูกฝังความ
รับผิดชอบในตนเอง การตัดสินใจด้วยตนเอง และยังช่วยให้การจัดการเรี ยนการสอนของครู
มีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น ด้วยเหตุน้ีจึงทำผู้วิจัยสนใจท่ีจะสร้างชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่องวิทยาศาสตร์
เพอ่ื การสรา้ งสรรค์ ซึ่งจะเปน็ แนวทางในการเรยี นการสอนในระดบั มัธยมศกึ ษาต่อไป

5.2 งานวจิ ัยเกย่ี วกับการสอนคดิ แบบโยนิโสมนสกิ าร
งานวจิ ยั ในประเทศ
เม่ือรู้จักนำวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการไปใชใ้ นการเรียนการสอน ผู้เรียนจะมีความคิดและมีทัศนะ
ที่ลึกซ้ึงกว้างไกล ในการใช้ความคิดอย่างถูกวิธี คิดอย่างมีระเบียบ จากแนวคิดดังกล่าวได้มีผู้ทำการวิจัย
โดยนำหลักการสอนคิดแบบโยนโิ สมนสกิ ารมาทดลองสอนหลายท่าน เช่น

27

พจนารถ บัวเขียว (2535 : บทคดั ย่อ) ได้ทำการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถ
ในการวิเคราะห์ตนเองของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ที่สอนโดยการสอนแบบแก้ปัญหาท่ีใช้วิธีคิด
แบบโยนิโสมนสิการ ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาจริยธรรมกับบุคคลของกลุ่มทดลอง
และกลุ่มควบคุม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนความสามารถในการวิเคราะห์
ของตนเองของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01
และความสามารถในการวิเคราะห์ตนเองของกลุ่มทดลองหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมี
นยั สำคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ .01

อารมณ์ กัณฑศรีวิกรม ( 2536 : บทคัดย่อ ) ศึกษาผลการสอนโดยการสร้างศรัทธาและโยนิโส
มนสกิ ารโดยใช้วิธีคดิ แบบคุณโทษและทางออกที่ดตี ่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสรา้ งเสริมประสบการณ์
ชวี ิตของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่เรียนด้วยการสอนโดยสร้างศรัทธา
และโยนิโสมนสิการโดยใช้วิธีคิดแบบคุณโทษและทางออก มีคะแนนความรู้เรื่องส่ิงแวดล้อมสูงกว่า
นักเรียนท่ีเรียนด้วยวิธีสอนปกติอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 และมีความสามารถในการตัดสินใจเรื่อง
สง่ิ แวดล้อมสงู กว่านักเรยี นท่ีเรียนด้วยการสอนปกติอยา่ งมนี ยั สำคญั ที่ระดับ .01

สำรอง บุตรโท ( 2543 : บทคัดย่อ ) ศึกษาผลการสอนหลักธรรม เร่ืองทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์
ด้วยวิธีสร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ ในด้าน (1) ความรู้ใน หลักธรรม (2) พฤติกรรมการปฏิบัติตาม
หลักธรรม (3) ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งความรู้กับพฤติกรรมการปฏิบตั ิตามหลักธรรม และ (4) ความพงึ พอใจ
ของนักเรียนต่อการเรียน กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนบ้านพับ และโรงเรียน
บ้านก่อ จังหวัดอุบลราชธานี ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2542 จำนวน 20 คน ได้มาโดยเลือกใช้กลุ่ม
ตัวอย่างแบบเจาะจง ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง 15 ช่ัวโมง เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยประกอบด้วย
แผนการสอนด้วยวิธี สร้างศรัทธาและโยนิโสมนสิการ แบบทดสอบความรู้หลักธรรม แบบประเมิน
พฤติกรรมการปฏิบัติตามหลักธรรมเรื่องทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ และแบบ ประเมินความพึงพอใจของ
นักเรียน สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉล่ียเลขคณิต ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์
สหสัมพนั ธ์ และ การทดสอบค่าที ผลการวจิ ัยที่สำคัญมีดังต่อไปน้ี (1) นักเรยี นมีความรแู้ ละ พฤติกรรมการ
ปฏิบัติตามหลักธรรมหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 (2) ความรู้กับ
พฤติกรรมการปฏิบัติ ตามหลักธรรม มีความสัมพันธ์กัน โดยมีค่าสหสัมพันธ์เท่ากับ .77 และ มีนัยสำคัญ
ทางสถิติท่ีระดับ .01 และ (3) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยวิธีสร้างศรัทธาและโยนิโส
มนสกิ ารอยใู่ นระดบั มากทีส่ ดุ

สิริมา กลิ่นกุหลาบ ( 2546 ) ศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและความสามารถในการตัดสินใจ
ของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ท่ีเรียนคุณธรรมท่ีส่งเสริมการเป็นพลเมืองดีตามระบอบประชาธิปไตย
ด้วยชุดการสอนแบบโยนิโสมนสิการกับชุดการสอนแบบกระบวนการกระจ่างค่านิยม ผลการวิจัยพบว่า
ผู้เรียนท่ีเรียนด้วยชุดการสอนแบบโยนิโสมนสิการกับชุดการสอนแบบกระบวนการกระจ่างค่านิยม
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการตัดสินใจแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ
ผ้ทู ่ีเรียนดว้ ยชดุ การสอนแบบโยนิโสมนสิการมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและมีความสามารถในการตัดสินใจ
สูงข้นึ อย่างมนี ัยสำคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดบั .01

28

จากการศกึ ษางานวิจยั ภายในประเทศ พอสรุปไดว้ ่า การสอนคดิ แบบโยนโิ สมนสิการ เป็นวธิ ีการ
สอนที่สอดคล้องกบั เจตนารมของหลักสูตรปัจจุบนั ที่เน้นการแก้ปัญหาเป็น เน้นการคดิ การปฏิบตั ิจริงเป็น
หลกั ใหญ่ สามารถสง่ เสริมกระบวนการคิดอย่างมขี นั้ ตอน

5.3 งานวิจัยที่เก่ียวกับการเหน็ คณุ คา่ ในตนเอง
งานวิจัยตา่ งประเทศ
ลินน์ (Lynn, 1991) ได้ศึกษาโปรแกรมในการเพิ่มความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองการฝึกทักษะ
สังคม เพือ่ ลดความวติ กกังวลในเดก็ ทุพพลภาพในเด็กชาย โรงเรยี นมัธยมจำนวน 13 คนแ ล ะ มี ก า ร ใ ห้
ความรู้และทักษะแก่ผู้ปกครองในการช่วยให้เด็กพัฒนาความรู้สึกและเห็นคุณค่าในตนเองใช้เวลาฝึก 8
เดือน ผลการวิจยั พบว่า เด็กทุพพลภาพมีความรสู้ ึกเห็นคุณคา่ ในตนเองสูงขึ้น มีความวิตกกังวลลดลง และ
เพิ่มความร้สู ึกเหน็ คณุ ค่าในตนเองอย่างมนี ยั สำคญั
สมิธ (Smith, 2005 : 1402-B) ได้ศึกษาผลการใช้กลุ่มประคับประคองในโรงเรียนต่อการเห็น
คุณค่าในตนเอง และการสนับสนุนสังคมของวัยรุ่น กลุ่มตัวอย่างคือนกั เรียนระดบั มัธยมศึกษาตำบลในเขต
ภาคตะวันตกเฉียงใต้จำนวน 37 คน โดยได้รับการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มประคับประคอง ระยะเวลา 10
สปั ดาห์ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มประคับประคองสามารถสามารถพัฒนาคุณค่าในตนเองและการสนับสนุน
ทางสังคมในระดับปานกลางและมีความสัมพันธ์ทางบวกต่อกัน และไม่มีรายงานผลว่ามีการเปลี่ยนแปลง
การเห็นคณุ คา่ ในตนเองหรือการสนบั สนุนทางสงั คมอยา่ งมนี ยั สำคญั
งานวจิ ัยในประเทศ
สมพร จำรัสเฟื่องฟู (2549 : บทคัดย่อ) ศึกษาการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อพัฒนาการเห็นคุณค่าใน
ตนเองของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา โรงเรียนอรุโณทัย จังหวัดลำปางกลุ่มตัวอย่าง 5 คน ผลการศึกษา
พบว่าหลังท ากิจกรรมกลุ่ม นักเรียนมี 30 จำนวน 5 เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ความร้สู ึกเห็นคุณค่าใน
ตนเองเพ่ิมข้ึนอยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถิติที่ระดับ 01
นภัสนันท์ สินสุ (2549 : บทคัดย่อ) ศึกษาการใช้กิจกรรมกล่มุ เพ่ือพัฒนาการเห็นคณุ ค่าในตนเอง
ของผู้สูงอายุ ในศูนยส์ ่งเสรมิ สุขภาพผู้สูงอายุ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง กลุ่มตวั อยา่ งเป็น
ผสู้ งู อายุในศนู ย์สง่ เสริมสุขภาพผู้สูงอายุ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนครลำปาง จำนวน 15 คน โดยใช้
แบบวดั การเห็นคุณค่าในตนเองและกิจกรรมกลุ่ม 10 กิจกรรม ผลการวิจัยพบว่าหลังการทำกิจกรรมกลุ่ม
ผ้สู ูงอายมุ ีความรสู้ ึกเห็นคุณคา่ ในตนเองเพิม่ ขึ้นอยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถติ ิท่ีระดบั .01
ลักษณา สกุลทอง (2550 : บทคัดย่อ) ศึกษาการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนชั้น
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 โดยใช้โปรแกรมฝกึ การคิดแบบโยนิโสมนสกิ าร กลุ่มตัวอยา่ งเป็นนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษา
ปีท่ี 2 โรงเรียนเทศบาลวัดกลางจำนวน 20 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ
10 คน เครื่องมือท่ีใช้เป็นแบบวัดการเห็นคุณค่าในตนเอง แบบประเมินกิจกรรมและโปรแกรมฝึกการคิด
แบบโยนิโสมนสิการ ผลการศึกษาพบว่านักเรียนที่เข้าร่วมโปรแกรมฝึกการคิดแบบโยนิโสมนสิการเพ่ือ
พัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเองหลังการทดลองมีคะแนนการเห็นคุณค่าในตนเองสูงกว่าก่อนการทดลอง
อยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดบั .05
จากงานวิจัยที่ผ่านมาท้ังในประเทศและต่างประเทศ พบว่า การพัฒนาคุณค่าในตนเองสามารถ
กระทำได้หลายวิธี ซึ่งการจัดกิจกรรมกลุ่มและ กิจกรรมการประมวลพฤติกรรม จัดเป็นวิธีการหน่ึงที่

29

สามารถนำหลักการของพลังกลุ่มมาใช้เพื่อให้สมาชิกเกิดการเรียนรู้ โดยอาศัยปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก
ภายในกลุ่มที่มีการเปิดเผยตนเอง มีการให้การยอมรับซ่ึงกันและกัน ซึ่งสามารถเข้าใจในความคิดและ
ความรู้สึกของผู้อ่ืนอย่างแท้จริง สมาชิกได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็นให้ข้อมูลย้อนกลับตลอดจนสามารถ
นำประสบการณท์ ี่ได้รับไปใช้ปรับปรุงประสิทธิภาพในการส่ือสารระหว่างบุคคลรวมท้ังวธิ กี ารปรับตวั ใหเ้ ข้า
กบั ผอู้ น่ื ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ผู้วิจัยมีความเช่ือว่ากิจกรรมกลุ่ม สามารถพัฒนาการเห็นคุณค่าใน
ตนเอง ความเข้าใจตนเองการลดพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ของผู้เรียนได้ และจะช่วยให้การเห็นคุณค่าใน
ตนเองเพมิ่ ขึ้น มีความม่ันคงทางจิตใจ อนั เป็นรากฐานสำคญั ของการดำเนินชีวิตทเี่ ขม้ แข็งในสังคมต่อไป

30

บทที่ 3
วิธดี ำเนินการศกึ ษา

การศึกษาครัง้ นี้ มีวัตถุประสงคเ์ พื่อเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นและพฒั นาการเห็น
คุณค่าในตนเองของนกั เรียนโดยใชช้ ุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสกิ าร สำหรับ
นักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 โดยผู้ศกึ ษาดำเนินการตามข้นั ตอน ดงั น้ี

1. ประชากร
2. เคร่อื งมือทีใ่ ช้ในการศึกษา
3. การสร้างเครือ่ งมอื ที่ใชใ้ นการศึกษา
4. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
5. การวิเคราะห์ข้อมลู
ประชากร
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1-3 โรงเรียนสุวรรณา
รามวิทยาคม ปีการศกึ ษา 2564 ภาคเรยี นที่ 2 จำนวน 67 คน
กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนสุวรรณาราม
วทิ ยาคมปกี ารศึกษา 2564 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 30 คน

แบบแผนการทดลอง
การศึกษาครั้งน้ีเป็นการศึกษาเชิงทดลอง ซึ่งดำเนินการทดลองตามแบบแผนการทดลอง

One Group Pretest – Posttest Design (พวงรัตน์ ทวีรัตน์. 2543:59 - 60) ซึ่งมีแบบแผน
ทดลองดังน้ี

ตารางท่ี 1 แบบแผนการทดลอง

กลมุ่ ตวั อยา่ ง สอบก่อนเรียน การทดลอง สอบหลังเรียน
E1 T1 X1 T2

สญั ลักษณ์ที่ใชใ้ นแบบแผนการทดลอง
E แทน กลมุ่ ทดลองทไี่ ดจ้ ากการสุ่ม
T1 แทน การทดสอบก่อนการทดลอง
T2 แทน การทดสอบหลังการทดลอง
X 1 แทน ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ

เครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการศึกษา
เคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการศกึ ษาประกอบดว้ ย
1. ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ จำนวน 3 เล่ม
2. แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นวทิ ยาศาสตร์
3. แบบวดั การเห็นคณุ ค่าในตนเองของนักเรยี น

การสรา้ งเคร่อื งมือที่ใช้ในการศึกษา
ผู้ศกึ ษาไดด้ ำเนินการสร้างเคร่ืองมือในการศึกษา ตามลำดับดังนี้
1. ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสกิ าร
1.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับชุดกิจกรรม เพ่ือเป็นแนวทางในการ

จัดเน้อื หาและกจิ กรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสม
1.2 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้องกบั การสอนคิดแบบโยนิโสมนสิการ ซึ่งใน

การวจิ ัยนี้ผ้วู ิจัยไดใ้ ช้กระบวนการคดิ แบบโยนโิ สมนสกิ าร ของสุมน อมรววิ ัฒน์ ซง่ึ มี 3 ข้นั ตอนคอื
ขน้ั ที่ 1 การหาความรู้
ขั้นท่ี 2 สรา้ งความรู้
ขั้นท่ี 3 ซึมซับความรู้

1.3 ศึกษารายละเอยี ดของเนื้อหาท่ีใช้ในการวจิ ัยครั้งนจี้ ากค่มู ือครูและหนังสือเรียน
วชิ าวิทยาศาสตร์เคมี ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 ตามหลกั สูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย

1.4 นำชุดกิจกรรมวิทยาศาสตรต์ ามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ ไปให้ผู้เช่ียวชาญ
ทางการสอนวิชาวิทยาศาสตร์จำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบเกี่ยวกบั ความเที่ยงตรงเชิงเนือ้ หา ภาษาท่ีใช้
แล้วนำมาปรบั ปรงุ แกไขดา้ นภาษา และรปู แบบการนำเสนอเนอ้ื หาซ่งึ เปน็ ความรู้เพิ่มเตมิ

1) นางสาวนิพา สาริพันธ์ ครู วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ สาขาวิชา
วทิ ยาศาสตร์-เคมี วทิ ยาลยั การอาชีพขอนแกน่

2) นางปิยะอนงค์ นิศาวัฒนานันท์ ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนกีฬานคร
นนท์วิทยา 6 อ.เมอื งนนทบุรี จ.นนทบุรี

3) นางสาววรันต์ภรณ์ คังคะประดิษฐ์ ครู วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ
สาขาวชิ าเคมี โรงเรียนพระปฐมวทิ ยาลยั จ. นครปฐม

1.5 นำชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการที่ปรับปรุงแก้ไข
แล้วไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ท่ีไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง เพ่ือหาประสิทธิภาพของชุด
กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ แบบโยนโิ สมนสิการ โดยดำเนินการ ดังน้ี

1.5.1 ทดลองเป็นรายบุคคล เพอ่ื ดูความเหมาะสมของกิจกรรม เวลาทใ่ี ช้
และปัญหาที่เกิดข้ึน แล้วนำมาปรับปรุงแก้ไขโดยเพิ่มเวลาในแต่ละชุดให้มากขึ้น และปรับการใช้
ภาษาให้เหมาะสมกับวัยของผเู้ รยี น

1.5.2 ทดลองกลุ่มเล็ก 5 คน เพื่อหาข้อบกพร่องของชุดกิจกรรม
วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ แล้วนำมาปรับปรุงแก้ไข ด้านกิจกรรม
ในแตล่ ะสถานการณ์

32

1.5.3 ทดลองภาคสนาม นำชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบ
โยนิโสมนสกิ าร ท่ีปรับปรุงแก้ไขแลว้ ไปทดลองใช้กับเด็ก 30 คน แล้วนำมาปรับปรงุ ด้านคำถามท้าย
กจิ กรรม และกิจกรรมท่ีใหน้ ักเรียนได้ลงมือปฏิบัติเกณฑ์ท่ีใช้ในการปรับปรุงชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์
ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ พิจารณาจากการตอบคำถามท้ายกิจกรรมในแต่ละชุด ตามเกณฑ์
มาตรฐาน 80 / 80

80 ตวั แรก หมายถงึ คะแนนเฉล่ยี ของนักเรยี นท้งั หมดที่ตอบคำถามทา้ ย
กิจกรรมในแตล่ ะชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ ได้คะแนนไมต่ ่ำกว่า 80 %

80 ตัวหลัง หมายถึง คะแนนเฉล่ียของนักเรียนท้ังหมดท่ีทำแบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์หลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบ
โยนิโสมนสิการไดค้ ะแนนไม่ตำ่ กว่า 80 %

ประสทิ ธภิ าพของชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคิดแบบโยนโิ สมนสกิ าร
เรอ่ื งไฟฟา้ เคมี ประสิทธภิ าพ 85.33 / 84.67

2. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นวทิ ยาศาสตร์
ในการสร้างแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ซ่ึงเป็นแบบทดสอบวัด
ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ดำเนนิ การสรา้ งตามขัน้ ตอน ดงั น้ี

2.1 ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลวิธีการสร้างแบบทดสอบและการ
เขียนขอ้ สอบสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

2.2 ศึกษาผลการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง เคมีกับการแก้ปัญหา เพ่ือสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ โดยแบ่งพฤติกรรมด้าน
ต่าง ๆ ออกเป็น 4 ด้าน คือ ด้านความรู้ความจำ ด้านความเข้าใจ ด้านการนำไปใช้ ด้านทักษะ
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

2.3 สร้างข้อสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน แบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก
มจี ำนวนข้อสอบ 30 ข้อ

วธิ กี ารหาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
ในการหาคณุ ภาพของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นวิทยาศาสตร์กระทำ
ตามขน้ั ตอนดงั ต่อไปนี้
1) นำแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ไปใหผ้ ู้เชย่ี วชาญทางการ
สอนวิทยาศาสตรจ์ ำนวนและเชี่ยวชาญทางการวัดผลจำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบลกั ษณะการใช้คำถาม
ตัวเลือก ความสอดคล้องระหว่างจุดประสงค์กับพฤติกรรมที่ต้องการวัด ความถูกต้องด้านภาษา
แล้วนำมาปรับปรุงแก้ไขด้านความสอดคล้อง ระหว่างจุดประสงค์และพฤติกรรมที่ต้องการวัด รวมถึง
การใช้ภาษาทั้งคำถามและตัวเลือก ทำการคัดเลือกข้อสอบท่ีมีความเที่ยงตรงตามเน้ือหา ( Content
Validity ) โดยมีค่าดัชนีความสอดคล้อง ( IOC ) เทา่ กับ 0.5 หรือมากกวา่ 0.5 ขนึ้ ไป

33

2) นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ที่ปรับปรุงแก้ไขแล้ว
นำไปทดลองใชก้ ับนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 6 ท่ผี า่ นการเรียนเนือ้ หาดังกลา่ วมาแลว้ จำนวน 50 คน

3) นำกระดาษคำตอบท่ีนักเรียนตอบแล้วมาตรวจให้คะแนนโดยข้อท่ีตอบถูกให้ 1
คะแนน ข้อท่ตี อบผิดหรือตอบเกนิ 1 คำตอบให้ 0 คะแนน เมือ่ ตรวจรวมคะแนนเรยี บร้อยแลว้ นำมา
วเิ คราะหด์ งั ต่อไปน้ี

หาค่าความยาก ( p ) และอำนาจจำแนก ( r ) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรท์ ี่สรา้ งขน้ึ เป็นรายข้อโดยใชเ้ ทคนิค 27 % ของ จุง เตห์ ฟาน เลือกข้อ
ที่มคี า่ ความยากง่ายอยู่ระหวา่ ง 0.20 – 0.80 มคี ่าอำนาจจำแนกตง้ั แต่ 0.20 ขน้ึ ไปจำนวน 40 ข้อ

4) นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ที่คัดเลือกไว้ไปทดสอบ
กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ที่ผ่านการเรียนเน้ือหาดังกล่าวมาแล้ว จำนวน 50 คน เพ่ือหาค่า
ความเช่อื ม่นั ของแบบทดสอบ โดยคำนวณจากสูตร KR – 20 ของคูเดอร์ – รชิ ารด์ สัน
( พวงรัตน์ ทวีรตั น.์ 2540 : 123 ) ได้คา่ ความเชือ่ มั่นของแบบทดสอบเท่ากบั 0.89

5) นำแบบทดสอบไปเก็บข้อมลู กบั กล่มุ ตัวอย่างจริงต่อไป

3. แบบวดั การเหน็ คุณค่าในตนเองของนักเรียน
3.1 แบบทดสอบคุณคาในตนเอง Rubin’s Self Esteem Scale (อ้างถึงใน กรม

สุขภาพจิต, 2547) ประกอบด้วยข้อความ 62 ข้อ แบ่งออกเป็น 3 ตอน เป็น ข้อความ
เกี่ยวกับอัตมโนทัศน์ (self concept) จำนวน 30 ข้อ เป็นแบบวัดการเห็นคุณค่าในตนเอง (self-
esteem scale) จำนวน 10 ขอ้ เป็นการประเมินอตั มโนทัศน์ (self concept rating) จำนวน 22 ข้อ
ในการวจิ ัยครัง้ น้ี ใช้แบบทดสอบข้อมลู สำเรจ็ รปู ของ Rubin’s Self Esteem Scale

3.2 ผู้วิจัยนําแบบทดสอบการเห็นคุณคาในตนเอง Rubin’s Self-Esteem Scale

ไปทดสอบกับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคมหลังการจัดการเรียน

การสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ โดยแบบทดสอบ ด้วย

ขอ้ ความ 62 ขอ แบงออกเป็น 3 ตอน ดงั น้ี

ตอนที่ 1 ความคิดเห็นต่อข้อความท่ีสะท้อนอัตมโนทัศน์ที่มีต่อตนเอง (Self

Concept)

แบบทดสอบคณุ คาในตนเอง Rubin’s Self-Esteem Scale ตอนท่ี 1 เป็นการทด

สอบการมองอัตมโนทัศน การมองอัตมโนทัศน คือ การรับรู การมองตนเอง เป็นความรูสึกนึกคิดท่ีมีต

อตนเองวาตนเองเป็นอย่างไร ขอคําถามมีจำนวน 30 ขอ เป็นแบบเลือกรับหรือ ปฏิเสธ ตอบโดยกา

เครื่องหมาย X (กากบาท) ลงบนคําวา “ใช” หรือ “ไม่ใช” ขอละเคร่ืองหมาย ในแต่ละขอมีการให

คะแนนแตกตา่ งกนั ตามลกั ษณะของข้อความ ดังน้ี

- เมือ่ ขอ้ ความมีลักษณะทางบวก ได้แก ขอ 5, 6, 7, 9, 11, 12, 14, 15, 21, 24,

26, 28 และ 30

ถ้าตอบ “ใช” ได้ 2 คะแนน

34

ถ้าตอบ “ไมใ่ ช” ได้ 1 คะแนน
- เมือ่ ข้อความมีลกั ษณะทางลบ ได้แก ขอ 1, 2, 3, 4, 8, 10, 13, 16, 17, 18, 19,
20, 22, 23, 25, 27 และ 29

ถ้าตอบ “ใช” ได้ 1 คะแนน

ถา้ ตอบ “ไมใ่ ช” ได้ 2 คะแนน

ตอนท่ี 2 ความรูสึกเห็นคุณคาในตนเอง (Self – Esteem Scale)

แบบทดสอบการมองเหน็ คุณคาในตนเอง Rubin’s Self-Esteem Scale ตอนท่ี 2

เป็นการวัดความรูสึกเห็นคุณคาในตนเอง ซ่ึงหมายถึง ความคิดต่าง ๆ เก่ียวกับตนเอง เป็นขอสันนิษ

ฐานจุดอ่อน จุดแข็ง ความเจริญงอกงามเก่ียวกับพฤติกรรมตามปกติของตน ซ่ึงสามารถ

เปลี่ยนแปลงได้ตามสภาพการณ ความรูสกึ มีคุณคายังเก่ียวของกับความเช่ือมั่นของตนเองวาสามารถ

ทำสิ่งต่าง ๆ ได้ด้วยความเพียรพยายามของตนเอง ซึ่งคนเราจะเห็นคุณคาในตนเองได้ตองเกิดจาก

ความสำเร็จท่ีเป็นไปตามทีเ่ ราคาดหวงั ไวและการได้รบั การยอมรับจากผู้อื่น คุณคาในตนเองได้

จากการเรียนรูจากผู้อื่นเป็นสวนสะทอนใหบุคคลอ่ืนเห็นคุณคาในตัวเรา แบบทดสอบความรูสึกเห็น

คุณคาในตนเองมีจำนวน 10 ขอ เป็นแบบ rating scale 4 ระดับ (ก - ง) ดังน้ี ก. เห็นด้วยอย่างยิ่ง

ข. เห็นด้วย ค. ไม่เห็นด้วย ง. ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ตอบโดยการทำเคร่ืองหมาย  (วงกลม) ลอม

รอบตัวอักษร ขอละ 1 เครื่องหมาย แต่ละขอมีการใหคะแนนแตกต่างกันตามลักษณะ ของ

ข้อความ ดงั น้ี

- เมื่อขอ้ ความมลี กั ษณะทางบวก

ได้แก ขอ 31, 32, 34, 36 และ 37

ถา้ ตอบ “ก” หรอื “ข” ได้ 2 คะแนน

ถ้าตอบ “ค” หรอื “ง” ได้ 1 คะแนน

- เมื่อขอ้ ความมีลกั ษณะทางลบ

ได้แก ขอ 33, 35, 38, 39 และ 40

ถา้ ตอบ “ก” หรือ “ข” ได้ 1 คะแนน

ถา้ ตอบ “ค” หรอื “ง” ได้ 2 คะแนน

การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล

ในการวิจยั ครง้ั น้ีดำเนินการเกบ็ รวบรวมข้อมูลตามลำดับ ดงั นี้

1. ส่มุ นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 เป็นกล่มุ ทดลอง ดังได้กล่าวมาแล้วในเรอื่ งการเลือกแบบ

เจาะจง

2. แนะนำข้นั ตอนการทำกจิ กรรมและบทบาทของนักเรียนในการเรียนการสอน

3. ทดสอบก่อนเรียน( Pretest ) จำนวน 1 ช่ัวโมงใช้แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน

จำนวน 1 ช่ัวโมง

4. ดำเนินการสอนโดยผู้วิจัยเป็นผู้สอนเองกับกลุ่มทดลองดำเนินการสอนโดยใช้ชุดกิจกรรม

วทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคิดแบบโยนโิ สมนสิการ

35

5. เม่ือส้ินสุดการสอนตามกำหนดแล้วจึงทำการทดสอบหลังเรียน ( Posttest ) โดยใช้
แบบทดสอบวัดวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ซ่ึงเป็นแบบทดสอบชุดเดียวกันกับที่ใช้ทดสอบก่อนเรียน
นำแบบวัดการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนต่อการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโส
มนสิการให้นักเรียนตอบแบบสอบถาม แสดงความคิดเห็นตามระดับความคิดเห็น ของตนเอง
รวมใช้ระยะเวลาในการดำเนินการวิจัย 60 ชัว่ โมง

6. ตรวจผลการสอบแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและแบบวัดการเห็นคุณค่าใน
ตนเองของนักเรียน แลว้ นำคะแนนทไ่ี ดม้ าวิเคราะหโ์ ดยวธิ กี ารทางสถิตเิ พ่อื ตรวจสอบสมมติฐานต่อไป

การวเิ คราะห์ข้อมลู
สถิตทิ ใี่ ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูล
1. สถิตพิ น้ื ฐาน
1.1 หาคา่ เฉล่ียของคะแนนทดสอบก่อนและหลังเรียน(พวงรัตน์ ทวรี ตั น์. 2540:137)

x= x
n

เมื่อ x แทน คะแนนเฉลย่ี
X
n แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด
แทน จำนวนนักเรยี นในกลมุ่ ทดลอง

หาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

S = N  X 2 − ( X )2

N (N −1)

เมอ่ื S แทน ความเบยี่ งเบนมาตรฐานของคะแนน
 X2 แทน ผลรวมของกำลงั สองของคะแนน
( X)2 แทน กำลังสองของผลรวมของผลรวมคะแนน

N แทน จำนวนนกั เรียนในกลุ่มตัวอยา่ ง

หาค่าความแปรปรวน ( Variance )

จากสตู ร NX2 −(X)2
N(N −1)
S2 =

36

เมอ่ื S2 แทน ความเบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนน
X แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด
X2
แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละตวั ยกกำลงั สอง
N แทน จำนวนนกั เรยี นในกลุ่มตวั อย่าง

2. สถติ ิทีใ่ ช้ในการตรวจสอบคุณภาพเครือ่ งมือ
2.1 หาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างขอคำถามกับพฤติกรรมท่ีต้องการวัดของ

แ บ บ ท ด ส อ บ วั ด ผ ล สั ม ฤ ท ธ์ิ แ ล ะ ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ท า ง ก า ร เรี ย น โด ย ใ ช้ ดั ช นี ค ว า ม ส อ ด ค ล้ อ ง
(พวงรัตน์ ทวีรตั น.์ 2540:117)

จากสตู ร

IOC =  R

N

IOC แทน ดัชนคี วามสอดคล้องระหว่างข้อสอบกับผลการ
เรียนรู้ท่คี าดหวัง

 R แทน ผลรวมของคะแนนความคดิ เหน็ ของผ้เู ช่ยี วชาญ
N แทน จำนวนผ้เู ชีย่ วชาญ

2.2 หาค่าความยากง่าย ( p ) และค่าอำนาจจำแนก ( r ) ของแบบทดสอบวัดผล
สัมฤทธ์ิทางการเรียน วิเคราะห์ข้อสอบเป็นรายข้อ ( Item Analysis ) โดยใช้เทคนิค 27 % ของ
จุง เตห์ ฟาน ( พวงรตั น์ ทวรี ตั น.์ 2540 : 131 )

2.3 หาคา่ ความเชือ่ มั่นของแบบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน โดยใช้
สตู ร K.R. 20 ของคูเดอร์ ริชารด์ สัน ( พวงรัตน์ ทวีรัตน.์ 2540 : 131 )

จากสตู ร

R tt = n n 1 −  pq 
−1  S2 

t

เมือ่ Rtt แทน คา่ ความเช่ือมั่นของแบบทดสอบ
n แทน จำนวนข้อของแบบทดสอบ

37

P แทน สัดสว่ นของผทู้ ่ีทำไดใ้ นข้อหน่ึงๆ หรือ

จำนวนคนที่ตอบถูก

จำนวนคนท้งั หมด
q แทน สดั ส่วนของผู้ทที่ ำผดิ ในข้อหนึ่งๆ คือ 1-P
S2
t แทน คะแนนความแปรปรวนของเคร่ืองมือฉบบั นั้น

2.4 คำนวณหาประสิทธิภาพ ของชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบ

โยนโิ สมนสกิ าร โดยใชส้ ูตร E1 / E2 ( เสาวนยี ์ สิกขาบัณฑิต 2528 : 285 )
สตู รที่ 1

X 

E1 =  N  100
A

เมอื่ E1 แทน ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการท่จี ัดไวใ้ ชใ้ นชดุ กิจกรรม

 X แทน คิดเป็นรอ้ ยละของคะแนนเฉลย่ี ที่ได้จากการทำแบบฝกึ หดั
N แทน และหรอื การประกอบกจิ กรรมระหวา่ งเรียน
A แทน
คะแนนรวมจาการทำแบบฝึกหัดและหรือการประกอบ
สตู รท่ี 2 กจิ กรรมระหวา่ งการเรียนของนกั เรียน
จำนวนนักเรยี นท้งั หมด
E2 = คะแนนเตม็ ของแบบฝึกหัดระหวา่ งเรยี น และหรอื กิจกรรม
การเรียน

F

E2F= N  100
B


 N  100
B

เมื่อ E2 แทน ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการทจี่ ัดไว้ใช้ในชุดกิจกรรม คดิ
เปน็ รอ้ ย ละของคะแนนเฉลยี่ ที่ได้จากการท แบบฝึกหดั และ
หรือการประกอบกิจกรรมระหวา่ งเรยี น

F แทน คะแนนรวมจาการทำแบบฝึกหัดและหรือการประกอบกิจ
กรรรมระหวา่ งการเรียนของนักเรยี น

N แทน จำนวนนักเรยี นท้งั หมด
B แทน คะแนนเต็มของการสอบหลงั เรยี นและหรอื กิจกรรมหลัง

38

เรียน

3. สถติ ิท่ีใชใ้ นการตรวจสอบสมมติฐาน
3.1 สถิติเพ่ือทดสอบสมมติฐานข้อที่ 1 คำนวณหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม

วทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ แบบโยนโิ สมนสิการ โดยใชส้ ตู ร E1/E2 (เสาวนยี ์ สกิ ขาบัณฑติ . 2528:285)
3.2 สถิติเพ่ือทดสอบสมมติฐานข้อท่ี 2 และ 3 การทดสอบผลวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการ

เรียนรู้ และการคิดวิเคราะห์ ทางสถิติแบบ t – test แบบ Correlated Samples or Dependent
Samples (พวงรตั น์ ทวีรตั น์. 2540:165 )

จากสูตร D
ND2 −(D)2
t= df = N −1

N −1

เมอื่ t แทน ผลตา่ งของคะแนนแตล่ ะคู่
 D แทน ผลรวมของความแตกตา่ งระหวา่ งคะแนนทดสอบ
ของนกั เรียนก่อนเรียนและหลังเรียน
 D2 แทน ผลรวมของกำลังสองของความแตกตา่ งระหว่าง
คะแนนทดสอบของนักเรยี นกอ่ นเรยี นและหลังเรียน
N แทน จำนวนผูเ้ รยี นในกลมุ่ ตวั อยา่ ง

39

บทท่ี 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมลู

สัญลกั ษณท์ ีใ่ ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มลู

ในการวเิ คราะห์ข้อมูล ผู้วิจยั ใช้สัญลกั ษณใ์ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ดงั นี้

n แทน จำนวนนักเรยี นกลุ่มตวั อย่าง

X แทน ค่าเฉล่ยี ของคะแนนของกลมุ่ ตวั อย่างจากการทดลองก่อนเรียน

และหลงั เรียน

S.D. แทน คา่ ความเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
 D แทน คะแนนของผลตา่ งระหว่างของคะแนนการทดสอบของก่อน

 D2 แทน เรยี นและหลังเรียน

คะแนนของผลตา่ งระหว่างของคะแนนการทดสอบของกอ่ น

เรียนและหลังเรียนยกกำลัง

t แทน คา่ สถติ ทิ ี่ใช้พิจารณาใน t-test แบบ dependent

** แทน ความแตกต่างอย่างมนี ยั สำคัญทางสถิติทร่ี ะดับ .01

กลมุ่ ทดลอง แทน นักเรียนกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรยี นรูด้ ว้ ยชดุ กิจกรรม

วทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ แบบโยนโิ สมนสิการ

ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล

การนำเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูลและแปรข้อมลู ผวู้ จิ ัยได้เสนอตามขนั้ ตอนดงั นี้

1. เพื่อสร้างและพัฒนาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสกิ าร ชัน้ มธั ยมศึกษา

ปที ่ี 6 ท้งั 3 เล่ม ให้มปี ระสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80

2. เพอื่ เปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรียนก่อนเรยี นและหลังเรียน โดยใช้ชุด

กิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ แบบโยนิโสมนสิการ สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6

3. เพื่อพัฒนาการเหน็ คุณค่าในตนเองของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6

จากการศึกษารวบรวมข้อมูล เพ่ือตรวจสอบประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตาม

แนวคดิ แบบโยนิโสมนสิการ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ปรากฏผล ดังน้ี

ตารางที่ 2 แสดงผลการวเิ คราะหค์ ่าประสิทธภิ าพของชุดกิจกรรมวิทยาศาสตรต์ ามแนวคิดแบบโยนโิ ส

มนสิการ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 จำนวน 30 คน (การทดลองภาคสนาม) เลม่ ท่ี 1 ถึงเล่มที่ 3 แยกเปน็

รายเล่ม

เล่มท่ี ชือ่ เร่ือง E1/E2

1 เร่ือง การใชค้ วามรู้ทางเคมใี นการแกป้ ัญหา 88.00 / 84.00

2 เรื่อง การบรู ณาการความร้ใู นการแก้ปัญหา 82.00 / 82.00

3 เรอื่ ง การนำเสนอผลงาน 86.00 / 88.00

รวมเฉลย่ี 85.33 / 84.67

จากตาราง 2 แสดงผลการหาค่าประสิทธภิ าพของชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคิดแบบโยนโิ ส
มนสิการ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ของนักเรียนท่ีไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง (การทดลองภาคสนาม) แบบกลุ่มใหญ่
จำนวน 30 คนพบว่า ในภาพรวมประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโส
มนสิการ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 ท้ัง 3 เล่ม มีประสิทธิภาพด้านกระบวนการคิดเป็นร้อยละของคะแนนจาก
การทำกิจกรรมและการตอบคำถาม.(E1).เฉลี่ยร้อยละ 85.33 และประสิทธิภาพของผลลัพธ์ เฉล่ียร้อยละ
ของคะแนนท่ีนักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน (E2) คิดเป็นร้อยละ 84.67 ซึ่งพบว่าสูงกว่าเกณฑ์
มาตรฐานทีก่ ำหนด คอื 80/80 ซึ่งมปี ระสทิ ธภิ าพสามารถนำไปใชไ้ ด้

จากการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด
แบบโยนิโสมนสกิ าร ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ก่อนเรียนและหลังเรียน เพื่อศึกษาความก้าวหน้าในการเรยี นรู้
จากชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนโิ สมนสกิ ารท่ีผรู้ ายงานสร้างขึ้น ดังตาราง 3

ตารางที่ 3 การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิทยาศาสตร์ กอ่ นเรียนและหลังเรียนทีไ่ ด้รับการ
จัดการเรียนรูท้ ี่ใชช้ ดุ กจิ กรรม โดยใช้สถติ ิ t-test Dependent Sample

กลุ่มทดลอง n K X S.D. ∑D ∑D2 t
ก่อนเรยี น 30 40 11.00 2.55 330 3,612 14.54**
หลงั เรยี น 30 40 20.43 4.12
**(t.01 df = 30 = 2.462) df=n-1

จากตาราง 3 พบว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนหลังเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการเรื่องเคมีกับการแก้ปัญหา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 6 แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทั้งน้ีโดยค่าเฉล่ีย ของผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ดังน้ี ค่าเฉล่ียก่อนเรียน (  ) เท่ากับ 11.00 ค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน เท่ากับ 2.55.และคะแนนทดสอบหลังเรียนมีค่าเฉลี่ย (  ) เท่ากับ 20.43 ค่าเบ่ียงเบน
มาตรฐาน เทา่ กับ 4.12

41


Click to View FlipBook Version