The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2022-08-28 00:39:23

งานวิจัย64

งานวิจัย64

ตารางที่ 4 คา่ ร้อยละของนักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคมที่ได้รบั การจดั การ
เรียนการสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ แบบโยนิโสมนสกิ าร จำแนกตามความ
คดิ เห็น ทส่ี ะทอ้ นอตั มโนทัศน์ที่มีตอ่ ตนเอง (Self Concept)

ตอนที่ 1 ความคดิ เหน็ ตอ่ ขอ้ ความท่ีสะท้อนอัตมโนทศั น์ ใช่ ไมใ่ ช่
จำนวน ร้อยละ
ท่ีมีต่อตนเอง จำนวน รอ้ ยละ
22 73.33
1. การทำส่ิงท่ีไม่ดีมามาก 8 26.67 27 90.00
15 50.00
2. ฉันเปน็ คนไมเ่ ชอื่ ฟังเวลาทอ่ี ยู่ท่ีบา้ น 3 10.00 28 93.33
4 13.33
3. ฉันเคยได้รบั ความลาํ บากเสมอ 15 50.00 18 60.00
19 63.33
4. ฉนั คดิ ไปในด้านอกศุ ลเสมอ 2 6.67 21 70.00
16 53.33
5. ฉนั เปน็ คนที่ไว้ใจได้ 26 86.67 16 53.33
16 53.33
6. ฉนั เป็นคนเรยี นดี 12 40.00 5 16.67
19 63.33
7. ฉนั เป็นคนฉลาด 11 36.67 6 20.00
20 66.67
8. ฉนั ไม่ค่อยจะรู้เรอ่ื งอะไรเลย 9 30.00 22 73.33
16 53.33
9. ฉันเป็นนักอา่ นท่ดี ี 14 46.67 22 73.33
24 80.00
10. ฉนั เรยี นอะไรแล้วกล็ มื หมด 14 46.67 18 60.00
17 56.67
11. ฉันเปน็ คนหน้าตาดี 14 46.67 25 83.33
28 93.33
12. ฉันมีหน้าตาแจม่ ใสเสมอ 25 83.33

13. ฉนั มีรปู รา่ งไม่ดี 11 36.67

14. ฉนั เปน็ คนแข็งแรง 24 80.00

15. ฉันเป็นผนู้ าํ ในการเลน่ และการกีฬา 10 33.33

16. ฉันรอ้ งไหเ้ กง่ 8 26.67

17. ฉันเป็นคนชอบวิตกกังวล 14 46.67

18. ฉนั หวาดกลวั บ่อยๆ 8 26.67

19. ฉันจะว้าวุ่นใจเมื่อมีคนเรยี กฉัน 6 20.00

20. ฉันเปน็ คนข้ตี กใจ 12 40.00

21. คนมกั เลือกฉันในการเล่นเกมตา่ งๆ 13 43.33

22. ฉันเป็นคนสุดทา้ ยที่ได้รบั เลอื กให้เลน่ เกม 5 16.67

23. ฉนั ลาํ บากใจทจ่ี ะเปนเพอ่ื นกับใคร 2 6.67

42

24. ฉนั มเี พอ่ื นมาก 21 70.00 9 30.00
25. ฉนั เปนคนทีถ่ ูกลมื 5 16.67 25 83.33
26. ฉนั เปนคนท่มี คี วามสุข 25 83.33 5 16.67
27. ฉันเปนคนทไี่ มม่ ีความสขุ 3 10.00 27 90.00
28. ฉนั พอใจในสภาพตัวเองขณะน 23 76.67 7 23.33
29. ฉันอยากเปนอยางอืน่ ที่ไมใชตวั ฉนั ตอนน้ี 4 13.33 26 86.67
30. ฉนั เปนคนราเริง 26 86.67 4 13.33

ตารางท่ี 5 ค่ารอ้ ยละของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 โรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคมทีไ่ ด้รับการจัดการ
เรยี นการสอนโดยใชช้ ุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ แบบโยนิโสมนสกิ าร จำแนกตามความรูสึก
เหน็ คณุ คาในตนเอง (Self–Esteem Scale)

ตอนท่ี 2 ความรสู้ กึ เหน็ คุณค่าในตนเอง เหน็ ดว้ ยอยา่ งยิ่ง/ ไมเ่ หน็ ด้วย/
เหน็ ด้วย ไม่เหน็ ด้วยอย่างยิ่ง
31. ฉนั เปนคนมีคณุ คาทัดเทียมกับผูอ่ืน จำนวน รอ้ ยละ
32. ฉันเปนคนมคี ุณสมบตั ิทดี่ หี ลายอยาง จำนวน รอ้ ยละ
33. ฉนั รูสึกวาฉันทําอะไรไมสาํ เรจ็ เลย 27 90.00 3 10.00
34. ฉนั มีความสามารถทาํ สง่ิ ตาง ๆ ไดดเี ทาผูอ่ืน 25 83.33 5 16.67
35. ฉันมีความภาคภมู ใิ จในตนเองนอยเหลอื เกิน 8 26.67 22 73.33
36. ฉนั คิดถึงตวั เองในทางที่ดี 25 83.33 5 16.67
37. โดยทวั่ ไปแลวฉนั มคี วามพอใจในตัวเอง 11 36.67 19 63.33
38. ฉันหวังวาฉันสามารถนบั ถอื ตัวเองไดมากกวานี้ 27 90.00 3 10.00
39. ขณะนฉ้ี ันรูสึกวาตนเองเปนคนไรประโยชน 27 90.00 3 10.00
40. บางครง้ั ฉนั คดิ วาฉนั ไมมีอะไรดเี ลย 26 86.67 4 13.33
12 40.00 18 60.00
12 40.00 18 60.00

43

ตารางท่ี 6 ค่ารอ้ ยละของนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคมทไ่ี ด้รบั การจดั การ

เรียนการสอนโดยใชช้ ดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ แบบโยนโิ สมนสกิ าร จำแนกตามการ

ประเมนิ อตั มโนทัศน์ (Self Concept Rating)

ตอนท่ี 3 ความรู้สกึ ต่ออัตมโนทศั น์ ไม่เคยเลย ไมบ่ อ่ ย บางครง้ั บ่อยครงั้ ตลอดมา
นกั

41. ฉันเปนเพอื่ นกับทุก ๆ คน 3.33 6.67 20.00 30.00 40.00

(1) (2) (6) (9) (12)

42. ฉันมคี วามสขุ 3.33 6.67 20.00 36.67 33.33

(1) (2) (6) (11) (10)

43. ฉันมีความกรณุ า 3.33 6.67 30.00 36.67 23.33

(1) (2) (9) (11) (7)

44. ฉนั เปนคนกลา 3.33 6.67 26.67 33.33 30.00

(1) (2) (8) (10) (9)

45. ฉนั เปนคนซ่อื สตั ย 3.33 6.67 16.67 36.67 36.67

(1) (2) (5) (11) (11)

46. คนทัว่ ๆ ไปชอบฉนั 3.33 10.00 33.33 33.33 20.00

(1) (3) (10) (10) (6)

47. ฉนั เปนคนทไี่ วใจได 3.33 3.33 16.67 36.67 40.00

(1) (1) (5) (11) (12)

48. ฉนั เปนคนดี 3.33 6.67 26.67 33.33 30.00

(1) (2) (8) (10) (9)

49. ฉนั ภาคภมู ใิ จในตวั ฉนั 3.33 6.67 20.00 26.67 43.33

(1) (2) (6) (8) (13)

50. ฉันเปนคนเกยี จคราน 10.00 33.33 36.67 10.00 10.00

(3) (10) (11) (3) (3)

51. ฉนั ใหความรวมมือกบั ทุกคนเสมอ 3.33 6.67 20.00 36.67 33.33

(1) (2) (6) (11) (10)

52. ฉนั เปนคนราเริงแจมใส 3.33 6.67 20.00 30.00 40.00

(1) (2) (6) (9) (12)

53. ฉนั เปนคนมีความคดิ 3.33 3.33 23.33 36.67 33.33

(1) (1) (7) (11) (10)

54. ฉันเปนทรี่ ูจกั ของคนทวั่ ไป 3.33 6.67 26.67 33.33 30.00

(1) (2) (8) (10) (9)

55. ฉนั เปนคนออนโยน 3.33 6.67 36.67 33.33 20.00

(1) (2) (11) (10) (6)

56. ฉนั เปนคนขอ้ี จิ ฉา 20.00 33.33 33.33 10.00 3.33

44

(6) (10) (10) (3) (1)

57. ฉนั เปนคนทไี่ มด้ือดึง 3.33 16.67 40.00 23.33 16.67

(1) (5) (12) (7) (5)

58. ฉันเปนคนสภุ าพ 3.33 10.00 36.67 33.33 16.67

(1) (3) (11) (10) (5)

59. ฉนั เปนคนขี้อาย 3.33 16.67 30.00 26.67 23.33

(1) (5) (9) (8) (7)

60. ฉันเปนคนสะอาด 3.33 3.33 16.67 33.33 43.33

(1) (1) (5) (10) (13)

61. ฉนั เปนคนที่มีประโยชนตอผูอื่น 3.33 6.67 36.67 36.67 16.67

(1) (2) (11) (11) (5)

62. ฉันเปนคนมคี วามกตญั ญู 3.33 3.33 20.00 30.00 43.33

(1) (1) (6) (9) (13)

การคิดคะแนนรวม
คะแนนรวมคิดโดยการรวมคะแนนทั้ง 62 ขอ ของผู้ตอบแบบทดสอบเข้าด้วยกันเป็นคะแนนการ
เห็นคุณค่าในตนเองของผู้ตอบแบบทดสอบแต่ละคนซึ่งมีช่วงคะแนนโดยทฤษฎี (Theoretical Range of
Scores) ตง้ั แต่ 62 – 190 ในการแบงระดบั ของคะแนนการเห็นคุณคาในตนเอง มีเกณฑการแบ่งต่อไปนี้
ถาได้คะแนนต้งั แต่ 159 - 190 ถือวาเป็นผู้ทเ่ี ห็นคุณคาในตนเอง ในระดับสงู
ถาได้คะแนนตง้ั แต่ 95 - 158 ถอื วาเป็นผู้ท่เี หน็ คณุ คาในตนเอง ในระดับปานกลาง
ถาได้คะแนนตัง้ แต่ 62 - 94 ถอื วาเป็นผู้ทเ่ี ห็นคุณคาในตนเอง ในระดบั ตำ่

ตารางท่ี 7 คา่ รอ้ ยละของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคมที่ได้รบั การจัดการ
เรยี นการสอนโดยใช้ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ จำแนกตามการเห็น
คณุ คา่ ในตนเอง

ระดับการเห็นคุณค่าในตนเอง จำนวน (n=30) ร้อยละ
ระดบั สูง 11 36.67
ระดบั ปานกลาง 19 63.33
ระดบั ตำ่ 0
0

จากตารางพบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคมที่ได้รับการจัดการ
เรียนการสอนโดยใช้ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ เป็นผู้ท่ีเห็นคุณคาในตนเอง
โดยนักเรียนส่วนใหญ่เป็นผู้ท่ีเห็นคุณคาในตนเองอยู่ในระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 63.33 (จำนวน 19
คน) และรองลงมาเปน็ ผู้ทเ่ี ห็นคุณคาในตนเองอยู่ในระดบั สูงคิดเป็นร้อยละ 36.67 (จำนวน 11 คน)

45

บทที่ 5
สรุป อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

การศกึ ษาค้นคว้าครัง้ นี้เปน็ การวจิ ยั เชิงทดลองเพ่อื ศึกษาผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนวิทยาศาสตร์
และเพื่อศึกษาการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ที่ได้รับการจัดการ
เรยี นรู้ด้วยชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนโิ สมนสกิ าร ซงึ่ สรุปผลการศึกษาได้ดังนี้

ความมุ่งหมายของการวจิ ัย
ในการวิจยั ครัง้ น้ี ผู้วจิ ัยได้ต้งั ความมุง่ หมายไวด้ ังน้ี
1. เพื่อสร้างชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ สำหรับนักเรียนชั้น

มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 โรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม
2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ชุด

กจิ กรรมวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคดิ แบบโยนโิ สมนสกิ าร สำหรบั นกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6
3. เพ่ือพฒั นาการเหน็ คุณคา่ ในตนเองของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6

สมมติฐานในการวจิ ัย
1. ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสกิ าร สำหรบั นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา

ปที ่ี 6 มีประสิทธภิ าพตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80
2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ าเคมี 6 ของนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 มีผลสมั ฤทธิ์

ทางการเรียน หลงั เรียนและก่อนเรียนแตกต่างกันอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติ
3. นกั เรยี นที่ไดร้ ับการจดั การเรียนรู้โดยใช้ ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ตามแนวคดิ แบบโยนโิ ส

มนสิการสำหรบั นักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม มีการเห็นคณุ คา่ ใน
ตนเองของนักเรยี นอยู่ใน ระดับสงู

วธิ ดี ำเนนิ การวจิ ัย
ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ งที่ใช้ในการวจิ ัย

ประชากรทใ่ี ช้ในการวิจัย
ประชากรท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6/1-3 โรงเรียนสุวรรณาราม
วทิ ยาคม ปีการศกึ ษา 2564 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 67 คน
กลมุ่ ตวั อยา่ งท่ีใช้ในการวิจัย
กล่มุ ตัวอยา่ งที่ใช้ในการศกึ ษา ไดแ้ ก่ นกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 6/2 โรงเรียนสวุ รรณาราม
วิทยาคมปีการศกึ ษา 2564 ภาคเรยี นท่ี 2 จำนวน 30 คน
ระยะเวลาท่ีใช้ในการวิจัย
ระยะเวลาท่ใี ชใ้ นการดำเนนิ การวจิ ัย ผวู้ ิจยั ทำการทดลองในภาคเรียนที่ 6 ปีการศึกษา 2564
โดยใชเ้ วลา 60 ช่ัวโมง

เนื้อหาทใี่ ชใ้ นการวิจยั
เน้อื หาที่ใช้ในการศึกษาครง้ั น้ผี ู้ศึกษาได้นำมาจากแบบเรียนวิทยาศาสตรช์ ั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่

6 ของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสาร และเอกสารต่างๆ ซ่ึง
ได้คัดเลือกให้มีความเหมาะสมสำหรับการฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยมีความยากง่ายเนื้อหา
ทีส่ อดคลอ้ งกับระดับความสามารถของนักเรียน โดยการวเิ คราะหจ์ ากผ้เู ชีย่ วชาญ

เคร่อื งมอื ท่ใี ช้ในการวจิ ัย
ผวู้ จิ ัยดำเนนิ การสรา้ งเคร่อื งมือในการวิจยั
1. ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตรต์ ามแนวคิดแบบโยนโิ สมนสิการ
2. แบบทดสอบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวทิ ยาศาสตร์
3. แบบวัดการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรยี น

สรุปผลการวจิ ัย
ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนกั เรียนระดับ

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบ
โยนโิ สมนสิการ หลังเรียนสูงข้ึนอย่างมนี ยั สำคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั .01

นักเรียนส่วนใหญ่เป็นผู้ที่เห็นคุณคาในตนเองอยู่ในระดับปานกลางคิดเป็นร้อยละ 63.33
(จำนวน 19 คน) และรองลงมาเป็นผู้ท่ีเห็นคุณคาในตนเองอยู่ในระดับสูงคิดเป็นร้อยละ 36.67
(จำนวน 11 คน)

อภปิ รายผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
การวจิ ัยครั้งน้ีมีจดุ มงุ่ หมายเพอ่ื ศึกษาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนวิทยาศาสตรแ์ ละพัฒนาการเห็น

คุณค่าในตนเองของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรม
วิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ แบบโยนโิ สมนสกิ าร ผลการวิจยั สามารถอภิปรายผลไดด้ ังน้ี

การศึกษาการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวทิ ยาศาสตร์และพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเอง
ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตาม
แนวคิดแบบโยนโิ สมนสิการนั้น กอ่ นเรยี นและหลงั เรียน พบวา่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวทิ ยาศาสตร์
หลงั เรยี นสงู กว่าก่อนเรยี นอย่างมนี ัยสำคญั ทางสถติ ทิ ี่ระดับ .01 ซ่งึ เปน็ ไปตามสมมตฐิ าน

ผลการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ที่ได้รับการ
จัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการน้ัน ภาพรวมอยู่ในระดับ
ปานกลางมากท่สี ดุ และรองลงมาอยใู่ นระดับสูง จากผลการวิจัยดงั กล่าว สรุปได้ดงั น้ี

ประการแรก ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการเป็นสื่อการเรียน
การสอนที่มีการจัดลำดับข้ันตอนอย่างชัดเจนและเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงออกทางความคิดอย่าง
สร้างสรรค์ ระดมสมองช่วยกันแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์อย่างมีขั้นตอน ได้แก่ การระบุปัญหา
การตั้งสมมติฐาน การทดลอง และการสรุปผลการทดลอง โดยใช้สถานการณ์ในชุดกิจกรรมเป็นตัว
ย่ัวยุให้เกิดปัญหาและคิดแก้ปัญหาตามที่วางแผนที่ปฏิบัติไว้เป็นการดึงดูดความสนใจในการคิดของ

47

ผู้เรียนให้เป็นไปอย่างมีเหตุผลและเกิดการจูงใจในการอยากรู้ อยากเห็น กระตือรือร้นท่ีจะแสวงหา
คำตอบของปัญหาโดยใช้กระบวนการคดิ ไตร่ตรองพิจารณาต่อส่ิงต่าง ๆ อยา่ งรอบคอบและมเี หตุผล
ผู้สอนเป็นผู้กระตุนใหเกิดการเรียนรู โดยสงเสริมแนวทางการสอนโดยเนนผู้เรียนเป็นสำคัญ
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองมีผลสัมฤทธ์ิเพิ่มสูงข้ึน และจากการสังเกตและสัมภาษณ์ผู้เรียนพบว่า
ผูเ้ รียนชอบการเรยี นการสอน ท่ีใชร้ ปู แบบการแกป้ ัญหามากกว่ารปู แบบการสอนแบบเกา่ รวมทง้ั เห็น
วา่ รปู แบบดงั กลา่ ว มีประสิทธิภาพในการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเอง ซ่ึงลักษณะการจัดกิจกรรม
ของชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ ทำให้เกิดการรับรู้ว่าตนเองมีคุณค่า มี
ศักยภาพและภูมิใจในตนเอง ผู้ที่ตระหนักรู้คุณค่าในตนเองจะมีแนวคิดและวิธีการดำเนินชีวิตที่
สอดคล้องเหมาะสม รักตัวเองเป็น กล้าท่ีจะเผชิญหน้ากับความท้าทายใหม่ๆ ยอมรับความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล รับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน มีความสามารถในการปรับตัวไดด้ ี รวมทั้ง มองโลกในแง่ดี
และมีเหตผุ ล

ประการที่สอง บทบาทของครูในการเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเองให้กับนักเรียน ครู
ควรจัดสภาพแวดล้อม และบรรยากาศที่ผ่อนคลาย เข้าใจ ยอมรับ ความสามารถของนักเรียนแต่ละ
คนเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น กระตุ้นให้นักเรียนแสดงออกในทางที่เหมาะสมและเป็น
แบบอย่างทดี่ ีให้นักเรยี นได้เหน็ และปฏิบตั ติ าม ดังน้ันการจัดสร้างนวัตกรรมและวิธีการสอนทส่ี ง่ เสริม
การคดิ การแสดงออก กระตนุ้ ให้เดก็ เกิดการเรียนรู้ และเห็นคุณคา่ ในตนเอง

ขอ้ เสนอแนะ
1. ขอ้ เสนอแนะท่ัวไป
1.1 ครูควรอธบิ ายกระบวนการจัดการด้วยชุดกจิ กรรมใหน้ ักเรียนเข้าใจกอ่ นจัดกิจกรรม

การเรียนการสอน พร้อมท้ังช้ีแจงกำหนดเวลาในการทำกิจกรรมในแต่ละชุดกิจกรรมให้ชัดเจน
เน่อื งจากกจิ กรรมมีหลายข้ันตอน

1.2 ครูควรสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนและบันทกึ พฤติกรรมในแบบประเมินเพ่ือนำผล
ของการบันทกึ นนั้ มาปรับปรุงและพฒั นาผ้เู รยี นเป็นรายบคุ คล

2. ข้อเสนอแนะเพ่ือการวิจัยครงั้ ต่อไป
2.1 ควรศึกษาตัวแปรอ่ืน ๆ ควบคู่ไปกับการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เช่น

ความคิดสร้างสรรค์ ความฉลาดทางอารมณ์ ความรับผิดชอบ การสร้างสิ่งประดิษฐ์ และการทำ
โครงงานวิทยาศาสตร์

48

บรรณานกุ รม

บรรณานุกรม

กรรณกิ าร์ ไผทฉนั ท์. (2541). ผลการใช้ชุดกจิ กรรมส่ิงแวดล้อมตามวิธกี ารวิจยั ในการพัฒนาทกั ษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเจตคติตอ่ สิ่งแวดล้อมตามวธิ ีการวิจัยในกจิ กรรมชุมนุม
วิทยาศาสตร์. ปรญิ ญานพิ นธ์ กศ.ม. (การมธั ยมศึกษา). กรุงเทพฯ : บณั ฑิตวทิ ยาลยั
มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ.

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2547). คู่มือส่งเสริมสุขภาพจิตนักเรียนระดับมัธยมศึกษา
สำหรับครู. พมิ พค์ ร้งั ท่ี 4. กรุงเทพฯ: เอส.อาร์ พรน้ิ ตงิ้ แมสโปรดกั ส์.

ชลสีต์ จันทาสี. (2543). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และความ
สามารถในการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ของนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการ
สอนโดยใช้ชุดกิจกรรมการตัดสินใจทางวิทยาศาสตร์กับการสอนตามคู่มือครู. ปริญญา
นิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการมัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนคริ
นทรวโิ รฒ.

นภสั นนั ท์ สนิ สุ. (2549). ศกึ ษาการใช้กจิ กรรมกล่มุ เพ่ือพัฒนาการเห็นคณุ คา่ ในตนเองของผู้สงู อายุ
ในศูนย์สง่ เสริมสุขภาพผู้สูงอายุ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง. เชยี งใหม่ :
รายงานการค้นคว้าแบบอสิ ระ, มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่.

นารีรัตน์ ฟักสมบูรณ์. (2541). การใช้ชุดส่งเสริมศักยภาพทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหาทาง
วิทยาศาสตร์และบุคลิกภาพนักวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1. ปริญญา
นพิ นธ์ การศึกษามหาบณั ฑิต สาขาการมธั ยมศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั
ศรนี ครินทรวิโรฒ.

เนื้อทอง นาย่ี. (2544). ผลการใช้ชุดกิจกรรมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กับการสอน
โดยครูเป็นผู้สอนท่ีมีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และความสนใจทาง
วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต
สาขาการมธั ยมศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ.

บญุ เกอื้ ควรหาเวช. (2545). นวัตกรรมการศกึ ษา. พิมพ์คร้ังท่ี 6. กรงุ เทพฯ : ภาควชิ าเทค
โนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ.

ป. มหาขันธ์. (2536). สอนเด็กให้มีความนับถือตนเอง. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ประเทิน มหาขนั ธ. (2536). สอนเด็กใหนับถือตนเอง. กรงเทพฯ ุ : โอเดยี นสโตร.
ปราณี กองจินดา. (2549). การเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นคณติ ศาสตรแ์ ละทักษะการคดิ

เลขในใจของนักเรียนที$ได้รับการสอนตามรูปแบบซิปปาโดยใช้แบบฝึกหัดท่ีเน้นทักษะ
การคิดเลขในใจกบั นักเรียนที$ได้รับการสอนโดยใชค้ ู่มอื ครู.วทิ ยานพิ นธ์ ค.ม.(หลกั สูตรและ
การสอน). พระนครศรีอยุธยา : บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรีอยุธยา.
ปรชี า ธรรมา. (2547). จติ วทิ ยาและจิตวทิ ยาพฒั นาการ. โครงการสารานุกรมศึกษาศาสตร์ คณะ
ศึกษาศาสตร์มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. กรุงเทพฯ: พฒั นาศกึ ษา.(2547, เมษายน).
การเหน็ คุณค่าในตนเอง. วารสารสารามกุ รมศึกษาศาสตร์.

50

บรรณานุกรม (ตอ่ )

ปริยทพิ ยบ์ ญุ คง. (2546). การศึกษาปจั จัยบางประการท่สี ัมพันธ์กับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวิชา
คณิตศาสตร์ ของนกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปี ที่1.วิทยานิพนธก์ ารศึกษามหาบัณฑติ ,
สาขาวชิ าการวจิ ยั และสถิตทิ างการศึกษา,คณะศึกษาศาสตร์,มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ.

ปุรมิ าพร แสงพยบั . 2553. ผลการใหค้ ำปรึกษาแบบกลมุ่ ตามทฤษฎีเผชิญความจรงิ ท่ีมีต่อการ
ตระหนักรแู้ ละการเห็นคุณค่าในตนเองของนกั ศึกษามหาวิทยาลัยเกษมบณั ฑติ .
กรงุ เทพมหานคร : วทิ ยานิพนธ์, มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง.

พรรณราย ทรัพยะประภา. 2548. จิตวิทยาประยกุ ต์ในชวี ิตและในการทำงาน. กรงุ เทพมหานคร :
โรงพมิ พแ์ ห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั .

พจนารถ บัวเขียว. (2535). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการวิเคราะห
ตนเองของช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ที่สอนโดยการสอนแบบแกปญหาท่ีใช้วิธีคิดแบบโยนิโส
มนสิการ. วิทยานิพนธ กศ.ม. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ.

พรศรี ดาวรงุ่ . ( 2548 ). การศกึ ษาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นวทิ ยาศาสตร์และความสามารถในการ
คิดอยา่ งมวี ิจารณญาณของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนโดยชดุ กิจกรรม
แก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์.สารนิพนธ์ กศ.ม. ( การมัธยมศึกษา ). กรุงเทพฯ : บัณฑิต
วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. ถ่ายเอกสาร.

พวงรตั น์ ทวรี ัตน.์ ( 2540. ).วิธกี ารวิจยั ทางพฤตกิ รรมศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์. พมิ พ์ครง้ั ที่ 7
กรุงเทพฯ: สำนักทดสอบทางการศกึ ษาและจิตวทิ ยา มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต). (2549). พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ (พิมพ์ครั้งที่
11). กรงุ เทพฯ: โรงพิมพบ์ รษิ ทั สหธรรมกิ จำกัด.

พมิ พนั ธ์ เดชะคปุ ต.์ (2545). พฤติกรรมการสอนวิทยาศาสตร์. กรงุ เทพฯ : พฒั นาคณุ ภาพ
วิชาการ.

พมิ พันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยนิ ดสี ขุ . 2548. วธิ วี ทิ ยาการสอนวิทยาศาสตร์ทั่วไป. กรงุ เทพฯ:
พฒั นาคณุ ภาพวชิ าการ

เพชรรตั ดา เทพพิทักษ์. ( 2545 ) .การพฒั นาชุดกจิ กรรม เร่ืองเทคโนโลยที ี่เหมาะสม เพ่อื การคดิ
ทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ สำหรบั นักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3. ปริญญานพิ นธ์ กศ.ม.
( วทิ ยาศาสตรศ์ กึ ษา ). กรงุ เทพฯ: บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ. ถ่าย
เอกสาร.

ไพศาล หวังพานิช. (2536). การวดั ผลการศึกษา.กรงุ เทพฯ: ไทยวฒั นาพานิช.
ลกั ษณา สกุลทอง. (2550). ศึกษาการพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปี

ที่ 2 โดยใช้โปรแกรมฝึกการคิดแบบโยนิโสมนสิการ. ขอนแก่น : วิทยานิพนธ์,
มหาวิทยาลยั ขอนแก่น.
วรรณทิพา รอดแรงค้า. (2544). การสอนวิทยาศาสตร์ท่ีเน้นกระบวนการ (พิมพ์คร้ังที่ 2).
กรุงเทพฯ : สถาบนั พัฒนาคณุ ภาพวิชาการ (พว.).

51

บรรณานุกรม (ตอ่ )

วัลนิกา ฉลากบาง. (2548). การพัฒนาความสามารถในการรูจักคิดแบบโยนิโสมนสิการและการ
บริโภคดวยปญญาของนักศึกษาสถาบันราชภัฏสกลนคร. (ปริญญานิพนธการวิจัย
พฤติกรรมศาสตรประยกุ ตสาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยศรีนคริ
นทรวโิ รฒ).

ธนะโสธร. (2529). ผลของการมตี าแหนงเป็นหวั หน้าหอ้ งต่อความรสู ึกเหน็ คณุ คา่ ใน ตนเอง
ของนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1. วิทยานิพนธ ค.ม. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สาํ รอง บุตรโท. (2543). ผลการสอนเร่ืองทิฏฐธัมมกิ ัตถประโยชน์ ดว้ ยวธิ ีสรา้ งศรทั ธาและโยนิโส
มนสิการสาํ หรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาช้ันปีท่ี 6 โรงเรียนบานพับ และโรงเรยี นบานกอ
จงั หวดั อุบลราชธาน.ี วิทยานพิ นธป์ รญิ ญามหาบัณฑิต ศกึ ษาศาสตร์ (หลกั สูตรและการสอน)
บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช.

เสาวนีย์ สิกขาบัณฑิต (2528).การผลติ วัสดเุ ทคโนโลยที างการศึกษา กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าพระนครเหนือ

สิริมา กลน่ิ กุหลาบ. (2546). การศึกษาผลสมฤทธท์ิ างการเรียนและความสามารถในการตดั สนใจ
ของผูเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 ที่เรียนคุณธรรมท่ีสงเสริมการเปนพลเมืองดีตามระบบ
ประชาธปิ ไตยดวยชุดการสอนแบบโยนิโสมนสิการกบั ชุดการสอนแบบกระบวนการกระ
จางค่านยิ ม. วทิ ยานพนธิ์ การศกึ ษามหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ.

สมพร เชื้อพันธ์. (2547). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่3 โดยใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนแบบสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองกับ
การจดัการเรียนการสอนตามปกติ.วิทยานิพนธ์ ค.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏ
พระนครศรอี ยุธยา.

สคุ นธ์ สินธพานนท์. (2551) . นวัตกรรมการเรยี นการสอนเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพเยาวชน. พิมพ์คร้งั ที่
2. กรงุ เทพฯ : 9119 เทคนคิ พร้นิ ติง้ .

สภุ ัสสรา สนธ์ิเจริญ. (2550). การพัฒนาชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้แบบวงจรสบื เสาะหาความรู้ใน
วิชาวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์
มหาบณั ฑติ สาขาการศกึ ษาและการสอน (มธั ยมศกึ ษา) วิทยาลัยราชภฏั จนั ทรเกษม.

สุมน อมรววิ ฒั น์ . ( 2531 ) . คดิ เป็นตามนัยแหง่ พทุ ธธรรม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพจ์ ฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั .

สุมน อมรวิวัฒน.์ ( 2531 ) การสอนโดยสรา้ งศรทั ธาและโยนิโสมนสกิ าร. พิมพค์ ร้งั ที่ 2.
กรุงเทพมหานคร: โอเดยี นสโตร์.

สุมาลี โชติชุ่ม. (2544). การศึกษาผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนวชิ าวทิ ยาศาสตร์และเชาว์อารมณ์ของ
นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการสอนตามคู่มือครู. ปริญญานิพนธ์ การศึกษา
มหาบณั ฑติ สาขาการมธั ยมศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ.

สุรางค์ โคว้ตระกูล. (2541). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งท่ี 4. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย.

52

บรรณานุกรม (ต่อ)

สุใจ ตั้งทรงสวัสดิ์. (2532). การเปรียบเทียบผลของการให้ข้อมูลย้อนกลับเก่ียวกับการบ้านที่มี
ต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนนาสาร
อำเภอนาสาร จังหวัดสุราษฎรธานี, ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

--------------------. (2532). การใช้เพื่อนผู้ให้การช่วยเหลือในกลุ่มเพื่อการเพิ่มความรู้สึกการเห็น
คุณค่าในตนเองของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหา
บัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2546).การจัดสาระการเรียนรู้กลุ่ม
วิทยาศาสตร์ หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: สถาบนั ส่งเสริมการสอน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

อารมณ กัณฑศรีวิกรม. (2536). ผลของการสอนโดยสรางศรัทธาและโยนิโสมนสิการโดยใชวิธี
คิดแบบคุณโทษและทางออกที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสรางเสริม
ประสบการณ์ชีวิตตของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 5. วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตร์
มหาบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

อุดมลกั ษณ์ นกพงึ่ พุ่ม. (2545). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถ ในการแก้
ปัญญาวิทยาศาสตร์ ของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ที่ได้รับการสอนโดยใชช้ ดุ ฝึก
กระบวนการการคิดกบั การสอนโดยใช้ผังมโนมติ. ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต
สาขาการมธั ยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ.

Bary, P.D. 1984. Personality styles Seen in General Hospital Patient. In
Psychosocial Nursing Assessment and Intervention. Philadelphia : J.B.
LIPPINCOTT Company.

Coopersmith, S. (1981). The Antecedent of Self-Esteem. 2nd. ed. Californai:
Consulting Psychologist Press, Inc.

Corsini, R.J. 1999. The dictionary of psychology. Ann Arbor, MI : Braun Brumfield.
Bloom, Benjamin S. (1956). Taxonomy of Educational Objectives, the classification
of educational goals – Handbook I: Cognitive Domain. New York: McKay.
Good. ( 1973 ). C.V.Dictionary of Learning.3 rd ed. New York : Mc Grow Hill.
Kapfer , Phillip and Miriam Kapfer . ( 1972 ) . Instructional To Laern Package in

American Education . New Jersey : Education Technology Publication ,
Englewoog Cliffs

53

บรรณานกุ รม (ตอ่ )

Lynn, Poirer. 1991. A Multifaceted Program to Improve Self – Esteem and Social Skill
while Reducing Anxiety in Emotionally Handicapped Middle School Student.
Ed. D. Diss., Nova University.

Satterfielf, Melanie. ( 2001 ). “ Geometer “ s Sketchpad: single – user package ,
version 3 ” Dissertation Abstracts International . ( Online ). Available :

Smith, Julia Ann. “The Efficacy of a School-Based Support Group on Adolescent
Self Esteem and Social Support” Dissertation Abstracts International. 66(03)
: 1402-B ; September, 2005.

Vivas, Davis A. (1985). The Design and Evaluation of a Course in Thinking
Operation for First Grades in Vinezuela (Cognitive, Elamentary
Learning). Dissertation Abstracts International. 46 (034) : 603. (September).

William, Weber , B.Jr. ( 1999, February ) . “ Connecting Concepts of Number to
Mental Computation Procedures : An Examination of Middle Grade
Students, Achievement And Thinking,” Focus on Learning Problems in
Mathematics . 21 ( 4 ) : 40 – 62

54

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
- รายนามผเู้ ชยี่ วชาญในการตรวจเคร่อื งมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั

56

รายนามผู้เชยี่ วชาญในการตรวจเครอื่ งมือทใ่ี ช้ในการวจิ ัย
ผู้เช่ียวชาญ ด้านทางการสอนและวดั ผลทาง วิทยาศาสตร์-เคมี

1) นางสาววรนั ตภ์ รณ์ คงั คะประดิษฐ์ ครู วทิ ยฐานะชำนาญการพเิ ศษ สาขาวชิ า
เคมี โรงเรยี นพระปฐมวิทยาลัย จ. จังหวัดนครปฐม

2) นางปยิ ะอนงค์ นศิ าวัฒนานันท์ ครู วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ สาขาวิชา
วทิ ยาศาสตร์-เคมี โรงเรียนกีฬานครนนท์วทิ ยา 6 จ. นนทบรุ ี

3) นางสาวนิพา สารพิ ันธ์ ครู วทิ ยฐานะชำนาญการพเิ ศษ สาขาวชิ าวิทยาศาสตร์-
เคมี วิทยาลัยการอาชพี ขอนแกน่

57

ภาคผนวก ข
ตวั อยา่ งแบบประเมนิ ของเครื่องมือทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั โดยผู้เช่ยี วชาญ

58

แบบประเมิน
ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ แบบโยนโิ สมนสกิ าร

โดย : ผเู้ ชย่ี วชาญทางการสอนวชิ าวิทยาศาสตร์
คำชีแ้ จง

1. การประเมินชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตรต์ ามแนวคิดแบบโยนิโส เพ่ือวิเคราะห์หาค่า IC
พจิ ารณารายละเอยี ดสำคญั ได้ดังนี้

1.1 ความเหมาะสมและความสอดคล้องของชุดกิจกรรมตอ่ จดุ ประสงค์
1.2 ความเหมาะสมและความสอดคลอ้ งของชดุ กิจกรรมต่อเนื้อหา
1.3 ความเหมาะสมของกิจกรรมตามรปู แบบแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
1.4 ความเหมาะสมและความถูกต้องของภาษาทใี่ ชใ้ นชุดกิจกรรม
2. การลงความคดิ เห็นของผเู้ ชี่ยวชาญ ดา้ นการสอนวิชาวทิ ยาศาสตร์ ใช้เกณฑ์การให้คะแนน
ดงั น้ี

+1 = มคี วามเหมาะสม มีความสอดคล้องของแผนการสอน
0 = ไมแ่ น่ใจ
-1 = ไมม่ ีความเหมาะสม ไม่มีความสอดคล้องของแผนการสอน
3. เม่อื พจิ ารณาแลว้ ทำเครื่องหมาย / ลงในแบบประเมนิ และขอความกรุณาแกไ้ ขความ
ถูกต้อง ความเหมาะสมลงในแผนการสอน

*****************************************************************

59

ตาราง 5 บันทึกการลงความคดิ เห็นของผู้เชี่ยวชาญที่ประเมนิ ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด
แบบโยนโิ สมนสกิ าร

ความเหมาะสมและความสอดคลอ้ งด้าน

ชดุ กิจกรรม ชุดกิจกรรม กิจกรรมตาม ความถูกตอ้ งของ
ภาษาท่ใี ช้ในชุด
ชุดกิจกรรม กิจกรรมตาม กจิ กรรมตาม รูปแบบแนวคิด
วทิ ยาศาสตรต์ าม รูปแบบแนวคดิ กจิ กรรม
แนวคิดแบบโยนิ รปู แบบแนวคดิ แบบโยนโิ ส วทิ ยาศาสตร์ รวม
แบบโยนโิ ส
โสมนสกิ าร มนสิการตอ่ แบบโยนโิ ส มนสกิ าร

จดุ ประสงค์ มนสกิ าร

ต่อเนือ้ หา

+1 0 -1 +1 0 -1 +1 0 -1 +1 0 -1

เรือ่ ง การใช้
ความรทู้ างเคมใี น
การแก้ปัญหา

เรอื่ ง การบูรณา
การความรู้ในการ
แกป้ ัญหา

เร่อื ง การนำเสนอ
ผลงาน

ขอ้ เสนอแนะ
.......................................................................................................... ............................................................
............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................................................................................................
........................................................................................................................ ..............................................
............................................................................................................................. .........................................

60

แบบประเมนิ แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์
โดย : ผ้เู ชี่ยวชาญทางการสอนวชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละการวดั ผลประเมินผล
คำช้ีแจง
1. การประเมนิ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าวิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง
หน่วยของส่ิงมีชวี ติ เพือ่ วเิ คราะห์หาคา่ IC แบง่ คุณลักษณะทีต่ ้องการประเมนิ ได้ดังนี้
1.1 ความชดั เจนของคำถาม
1.2 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์
1.3 ความเหมาะสมของตัวเลอื ก
2. เกณฑก์ ารประเมินของผู้เชย่ี วชาญดา้ นการสอนวิชาวิทยาศาสตร์และด้านการวดั ผล
ประเมนิ ผล มเี กณฑก์ ารให้คะแนน ดงั นี้
+1 = เม่อื ท่านแนใ่ จว่าข้อสอบน้ัน สามารถวัดไดต้ รงตามพฤติกรรมทตี่ ้องการวดั

0 = เม่ือท่านไม่แนใ่ จวา่ ขอ้ สอบนั้น สามารถวัดได้ตรงตามพฤตกิ รรมทต่ี ้องการวัด
-1 = เมอื่ ทา่ นแน่ใจวา่ ข้อสอบน้ัน ไม่สามารถวดั ไดต้ รงตามพฤติกรรมที่ต้องการวดั
3. ในการประเมินครั้งน้ีใหท้ ่านทำเคร่ืองหมาย / ลงในช่องทท่ี า่ นพจิ ารณาแล้วตามเกณฑแ์ ต่ละ
ขอ้
4. ในการประเมินครงั้ นใี้ ห้ท่านแกไ้ ขข้อคำถาม ตัวเลอื กและภาษา ลงในข้อสอบได้ตามที่
ท่านเห็นวา่ เหมาะสม

*****************************************************************

61

ตาราง 6 บนั ทึกการลงความคดิ เหน็ ของผู้เชีย่ วชาญท่ีประเมนิ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น
วิทยาศาสตร์

ความชดั เจน ความสอด ความเหมาะ ความชดั เจน ความสอด ความเหมาะ
ขอ้ ของคำถาม คล้องกับจุด สมของตัว ข้อ ของคำถาม คล้องกับจดุ สมของตัว
ท่ี ประสงค์ เลือก ที่ ประสงค์ เลือก

+1 0 -1 +1 0 -1 +1 0 -1 +1 0 -1 +1 0 -1 +1 0 -1
1 17
2 18
3 19
4 20
5 21
6 22
7 23
8 24
9 25
10 26
11 27
12 28
13 .
14 .
15 .
16 40

62

ภาคผนวก ค
- ผลการวเิ คราะห์คา่ ความยากง่าย (p) คา่ อำนาจจำแนก (r) และค่าความเชือ่ ม่ัน (rtt)

ของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนวทิ ยาศาสตร์
- คะแนนผลการวเิ คราะห์ประสิทธิภาพชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ แบบโยนิโส

มนสิการ วิชาเคมี 6 เร่ืองการใช้ความรู้ทางเคมีในการแกป้ ัญหา

63

ตาราง 7 ผลการวิเคราะห์ค่าความยากง่าย (p) คา่ อำนาจจำแนก (r) และค่าความเชอ่ื ม่นั (rtt)
ของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวทิ ยาศาสตร์

ข้อที่ p r การพจิ ารณา ขอ้ ที่ p r การพิจารณา

1 0.52 -0.07 ตดั ท้งิ 6 0.48 0.37 คัดเลือกไว้
2 0.59 0.37 คัดเลือกไว้ 7 0.46 0.48 คดั เลือกไว้
3 0.50 0.19 ปรบั ปรุง คดั เลอื กไว้ 8 0.50 0.33 คดั เลือกไว้
4 0.72 0.19 ปรับปรุง คดั เลอื กไว้ 9 0.46 0.19
5 0.59 -0.15 10 0.59 0.22 ตดั ท้งิ
ตดั ท้ิง คดั เลือกไว้

ค่าความยากง่าย (p) ควรอยรู่ ะหวา่ ง (0.2 - 0.8)
ค่าอำนาจจำแนก (r) ควรอยู่ระหวา่ ง (0.2 - 1)
หมายเหตุ คัดเลือกไว้ 5 ขอ้

คา่ ความเชื่อมนั่ ของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ rtt = 0.72

64

ตาราง 8 ผลการวิเคราะหป์ ระสทิ ธิภาพชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ แบบโยนโิ สมนสิการ วิชาเคมี

6 เรอ่ื งการใช้ความรู้ทางเคมีในการแก้ปัญหา

ประสทิ ธิภาพเลม่ ท1ี่

ภาคปฏบิ ตั ริ ะหวา่ งฝึก ภาคปฏบิ ตั ิหลังการฝึก

นกั เรยี น คะแนนเตม็ 10 รวม 10 คะแนน (X) (คะแนนเต็ม 10)

คนท่ี สอบครง้ั ที่ (F)

1 2 34

1 2 3 22 8 8

2 2 3 21 9 8

3 2 3 22 9 9

4 3 2 22 9 9

5 2 3 21 9 8

รวมคะแนน 11 14 10 8 44 42

E1=88 E2=84

ประสทิ ธภิ าพเล่มท2ี่

ภาคปฏิบตั ิระหวา่ งฝกึ ภาคปฏิบตั ิหลงั การฝกึ

นกั เรยี น คะแนนเต็ม 10 รวม 10 คะแนน (X) (คะแนนเต็ม 10)

คนท่ี สอบครงั้ ท่ี (F)

1 2 34

1 3 3 22 7 8

2 2 3 21 8 7

3 2 3 22 9 9

4 3 3 12 9 9

5 2 3 21 8 8

รวมคะแนน 12 15 9 8 41 41

E1=82 E2=82

65

ประสทิ ธภิ าพเลม่ ท3่ี ภาคปฏิบตั ริ ะหว่างฝกึ รวม 10 คะแนน ภาคปฏิบัตหิ ลังการ
คะแนนเตม็ 10 (X) ฝกึ
นักเรยี น
คนที่ สอบครั้งท่ี 9 (คะแนนเต็ม 10)
1 2 34 8 (F)
1 3 3 21 9
2 2 3 21 9 8
3 2 3 22 8 9
4 3 3 12 43 9
5 2 3 21 E1=86 9
รวมคะแนน 12 15 9 7 9
44
E2=88

เล่มที่ ชอ่ื เร่อื ง E1/E2

1 เร่อื ง การใช้ความรู้ทางเคมใี นการแกป้ ัญหา 88.00 / 84.00
2 เรอ่ื ง การบรู ณาการความร้ใู นการแก้ปัญหา 82.00 / 82.00
3 เรอื่ ง การนำเสนอผลงาน 86.00 / 88.00
85.33 / 84.67
รวมเฉล่ีย

66

ภาคผนวก ง
- คะแนนผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ของนกั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 กอ่ น
เรยี นและหลังเรยี น ทไี่ ดร้ บั การจัดการเรียนรู้ด้วยชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบ
โยนิโสมนสิการ วชิ าเคมี 6 เรอื่ งการใช้ความร้ทู างเคมีในการแก้ปญั หา

67

ตาราง 9 คะแนนผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนวิทยาศาสตรข์ องนกั เรยี นระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 6 ก่อน
เรียน และหลังเรยี น ทไี่ ด้รบั การจดั การเรียนรู้ดว้ ยชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ แบบ
โยนโิ สมนสกิ าร วิชาเคมี 6 เรอ่ื งการใชค้ วามรู้ทางเคมีในการแก้ปัญหา

คนท่ี ก่อนเรียน หลังเรียน ผลต่าง คนที่ ก่อนเรยี น หลงั เรียน ผลต่าง
X1 X2 D D2 X1 X2 D D2

1 13 22 9 81 18 13 19 6 36

2 12 20 8 64 19 10 8 -2 4

3 8 22 14 196 20 9 18 9 81

48 18 10 100 21 8 19 11 121

5 12 25 13 169 22 10 20 10 100

6 11 16 5 25 23 12 25 13 169

7 11 25 14 196 24 9 21 12 144

8 13 26 13 169 25 15 28 13 169

9 12 20 8 64 26 7 15 8 64

10 13 24 11 121 27 10 7 -3 9

11 7 19 12 144 28 15 23 8 64

12 9 20 11 121 29 14 22 8 64

13 13 27 14 196 30 12 20 8 64

14 11 22 11 121

15 12 21 9 81

16 8 19 11 121

17 14 25 11 121

∑X - - -- - 385 715 --

X - - - - - 11 20.43 - -

∑D - - -- -- - 330 -

∑ D2 - - - - -- - - 3,612

68

การคำนวณค่า t-test Dependent

t= ∑D , df = N - 1
√ , df = N - 1
N∑D2 − ( ∑D )2
N−1

t= 330

35 (3,612) − ( 330 )2
35 − 1

t = 14.54

69

ภาคผนวก จ
เครื่องมอื ท่ีใช้ในงานวจิ ัย
- ตวั อย่างแบบประเมินผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
- ตวั อย่างแบบวดั การเห็นคุณคา่ ในตนเองของนักเรยี น
- ตวั อย่างชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคิดแบบโยนโิ สมนสิการ วิชาเคมี 6 เรื่องการใช้
ความรู้ทางเคมใี นการแก้ปัญหา

70

ตัวอย่างแบบประเมนิ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

คำชีแ้ จง
1. แบบทดสอบฉบบั น้ีเปน็ แบบปรนัยเลอื กตอบ 4 ตวั เลือก จำนวน 40 ขอ้ ใช้เวลาในการสอบ 50 นาที
2. ใหน้ กั เรียนเลือกคำตอบทถ่ี ูกตอ้ งท่ีสุดเพยี งคำตอบเดยี ว แลว้ ทำเคร่อื งหมาย × ลงในกระดาษคำตอบ

1. กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมหมายถึงข้อใด

ก. กระบวนการแก้ปญั หาอย่างเป็นระบบในด้านตา่ งๆ

ข. กระบวนการแกป้ ญั หาอยา่ งถกู ต้องและไดผ้ ลลัพธ์มากที่สดุ

ค. กระบวนการแก้ปัญหาท่ดี ำเนินการอย่างเปน็ ระบบและคุ้มคา่ มากท่ีสุด

ง. กระบวนการแก้ปัญหาอยา่ งเปน็ ระบบภายใต้ทรพั ยากร ขอ้ จำกดั ต่างๆและความคุม้ ทุน

2. กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมประกอบด้วยข้ันตอนการทำงานสำคญั คือ

ก. กำหนดปัญหา สรา้ งแนวทางแก้ปัญหา ลงมอื ปฏบิ ัติ

ข. กำหนดปญั หา ดำเนนิ การแก้ปญั หา ทดสอบ ประเมินผล

ค. กำหนดปัญหา สรา้ งแนวทางแกป้ ญั หา ดำเนินการแก้ปัญหา ประเมนิ ผล

ง. กำหนดปัญหา สร้างแนวคิด ดำเนินการแก้ปัญหา ประเมนิ ผล นำเสนอผล

3. ขอ้ ใดเปน็ ประโยชนข์ องกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม

ก. ทำใหม้ นุษย์สุขภาพดีข้ึน ข. ทำใหม้ นษุ ย์มีความสขุ มากข้นึ

ค. ทำใหม้ นุษย์เพมิ่ จำนวนมากขน้ึ ง. ช่วยในการแก้ปัญหาการดำรงชวี ิตของมนุษย์

4. สมาคมนักเทคโนโลยีและวศิ วกรรมศึกษานานาชาติกำหนดขนั้ ตอนของแกป้ ัญหาทางเทคโนโลยีไวใ้ น

มาตรฐานการรเู้ รียกวา่ อะไร

ก. กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม ข. กระบวนการแกป้ ัญหาทางวิศวกรรม

ค. กระบวนการแกป้ ญั หาทางเทคโนโลยี

ง. กระบวนการแก้ปญั หาทางเทคโนโลยีและวิศวกรรม

5. พพิ ธิ ภัณฑ์วิทยาศาสตร์บอสตนั ขบั เคล่ือนหลักสูตรใช้กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมกับนกั เรยี นใน

ระดับใด

ก. ระดับอนุบาล ข. ระดับประถมศึกษา

ค. ระดับมัธยมศึกษา ง. ระดบั อุดมศกึ ษา

6. ข้อใดไม่ได้กล่าวถึงความสำคัญของกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม

ก. เปน็ วธิ กี ารทำงานภายใต้เง่ือนไขและข้อจำ

ข. เป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการวิจยั เพ่ือสอบสนองความต้องการของมนุษย์

ค. เปน็ เคร่ืองมือที่ช่วยเสริมสรา้ งและพัฒนาการเรียนร้ดู า้ นวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และ

เทคโนโลยีใหก้ บั ผ้เู รียน

ง. เป็นกระบวนการท่เี อาแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และ วศิ วกรรมศาสตร์

มาพัฒนาแนวทางแกป้ ัญหาที่เหมาะสมท่สี ุด

71

7. ข้อใดกลา่ วถึงความสำคญั ของกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมได้ถกู ที่สุด

ก. เป็นเครอ่ื งมือสำหรบั นักวิศวกรรมศึกษานานาชาติ

ข. เปน็ เคร่อื งมือการวางแผนเพือ่ หาแนวทางแกป้ ัญหา

ค. เป็นเครอื่ งมือค้นหาปญั หางานภายใตเ้ งื่อนไขและข้อจำกัด

ง. เปน็ เครื่องมือทช่ี ่วยเสรมิ สร้างและพฒั นาการเรยี นรดู้ ้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ

เทคโนโลยีให้กับผเู้ รียน

8. ข้อใดหมายถึงกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

ก. Efficient Design Process ข. Education Design Process

ค. Engineering Design Process ง. Elementary Design Process

9. ข้อใดคือส่วนประกอบของการออกแบบเชิงวศิ วกรรม

ก. วิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ ข. คณิตศาสตร์ เทคโนโลยแี ละกำลงั ไฟฟา้

ค. วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี

ง. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสมองกลฟงั ตัว

10. กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมเปน็ การประยกุ ต์ใช้ศาสตรใ์ ดบา้ ง

ก. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ศลิ ปะศาสตร์ ข. วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี

ค. คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คมศาสตร์ ง. วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คมศาสตร์

11. ขอ้ ใดคอื ความหมายของการนำเสนอขอ้ มูล

ก. การส่อื สารเพ่ือเสนอข้อมูล ข. การแสดงความคดิ เหน็

ค. การตัดสนิ ใจในการดำเนนิ งาน ง. การแลกเปลย่ี นข้อมลู

12. ข้อใดไมใ่ ชว่ ัตถปุ ระสงค์ในการนำเสนอขอ้ มูล

ก. เพอื่ ใหผ้ ้รู ับการนำเสนอขอ้ มลู รับทราบความคดิ เหน็

ข. เพอ่ื ให้ผ้รู บั การนำเสนอข้อมลู ไดร้ บั ความรจู้ ากข้อมลู ทีน่ ำเสนอ

ค. เพอื่ บรรยายข้อมูลทางดา้ นวชิ าการ

ง. เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์

13. การจดั เรียงลำดบั ข้อใดจัดเปน็ ลำดับแรก

ก. แสดงช่อื เรอ่ื ง พรอ้ มช่ือของผูน้ ำเสนอ ข. แสดงวัตถปุ ระสงค์

ค. แสดงหัวข้อในการนำเสนอ ง. แสดงเนอ้ื หาในการนำเสนอ

14. นิยาม หมายถึงอะไร

ก. การกำหนด หรือการจำกัดความหมายท่ีแน่นอน ข. ศัพทเ์ ฉพาะ

ค. ศพั ท์ปกติ

ง. ความหมายของคำทก่ี ำหนดตามพจนานุกรม

15. ขอ้ ใดกล่าวถงึ ประโยชน์ของการ นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ ได้ถูกตอ้ งทสี่ ดุ

ก. ชว่ ยใหน้ ยิ ามศพั ท์ได้ถูกต้องตามแบบพจนานุกรม

ข. ชว่ ยให้ผู้อ่านเขา้ ใจความหมายของศัพท์ได้ตรงกับผศู้ ึกษาค้นคว้ากำหนด

72

ค. ช่วยให้ผู้อา่ นเขา้ ใจความหมายของศัพท์ไดต้ รงกับทส่ี ารานกุ รมกำหนด

ง. ช่วยใหผ้ ลการศกึ ษาค้นควา้ ถกู ต้อง ชดั เจนตามจดุ มุ่งหมาย

16. ขอ้ ใด หมายถงึ ประชากรในการศกึ ษาคน้ คว้า

ก. คน ข. คน สัตว์

ค. คน สัตว์ ส่ิงของ

ง. คน สัตว์ ส่ิงของ และลกั ษณะทางจิตวทิ ยา

17. การศึกษาคน้ ควา้ ตามข้อใดควรใชก้ ลมุ่ ตัวอย่างน้อย

ก. การใชแ้ บบสอบถาม ข. การใชแ้ บบทดสอบ

ค. การทดลอง และการสมั ภาษณ์ ง. การสมั ภาษณ์

18. ข้อใดเป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่าง โดยการสุ่ม

ก. มงคล เลือกแบบบังเอิญ ข. ดนภัทร เจาะจงตามความสะดวก

ค. ปรัชญา ใชว้ ธิ ีจับฉลาก ง. มารี ไม่อาศัยความน่าจะเป็น

19. ข้อใดเป็นความหมายของแบบสอบถาม

ก. เครื่องมือที่ผู้ศึกษาคน้ ควา้ ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

ข. คำถามท่กี ำหนดให้กลุ่มตวั อย่างตอบโดยกาเครื่องหมาย

ค. การเขยี นอธบิ ายตอบคำถามตามทผ่ี ูถ้ ามกำหนด

ง. ข้อเท็จจรงิ หรือความคิดเห็นของบุคคล

20. ข้อใดเป็นคำช้แี จงในการตอบแบบสอบถาม

ก. เพศ ระดบั การศึกษา อายุ อาชพี

ข. แจง้ จุดม่งุ หมาย อธบิ ายลกั ษณะ ตัวอย่างการตอบแบบสอบถาม

ค. ตง้ั คำถามแบบปลายปิด

ง. ต้งั คำถามแบบปลายเปิด

21. ข้อใดกล่าวถึง ข้อคำถาม ไดถ้ ูกต้อง

ก. แบบปลายปิด ผเู้ ขยี นอธบิ ายตอบดว้ ยตนเอง

ข. แบบปลายเปิด จะมีคำตอบให้เลือกตอบ

ค. ไมส่ ามารถสรา้ งคำถามแบบปลายเปิด กบั ปลายปดิ ให้อยู่ในแบบสอบถามชดุ เดยี วกันได้

ง. เป็นสว่ นสำคัญทีส่ ุดที่จะชว่ ยให้ได้ข้อมลู เกย่ี วกบั เรือ่ งทีศ่ ึกษาคน้ ควา้

22. การตงั้ คำถามในแบบสอบถาม ควรให้สอดคลอ้ งกับเรื่องใดมากที่สุด

ก. นิยามศัพท์เฉพาะ ข. บรรณานุกรม

ค. สมมตุ ฐิ าน ง. จุดมุ่งหมาย

23. ลักษณะของแบบสอบถาม ข้อใดถูกตอ้ ง

ก. ใชค้ ำอธิบาย ขยายความใหม้ ากท่ีสดุ

ข. ควรเกบ็ รวบรวมข้อมลู ด้วยตนเอง

ค. คำถามครอบคลุมประเดน็ ทงั้ หมดของการศกึ ษาค้นควา้

ง. เลือกถามเฉพาะประเดน็ ทีม่ ีความสำคัญ

73

24. แหล่งทมี่ าของข้อมลู ท่ไี ด้จากการศึกษาค้นควา้ จะมีความน่าเช่อื ถือได้มากหรือน้อย ขนึ้ อยู่กับอะไร

ก. ข้อมูล ข. ทฤษฏี

ค. ผู้ศึกษาค้นควา้ ง. การตรวจสอบ

25. การตรวจสอบสถานที่เดียวกัน ผลออกมาเหมือนกนั ควรปฏิบัตอิ ย่างไร

ก. ผู้ศึกษาควรตรวจสอบในแหล่งสถานท่ีอ่นื ด้วย ข. ผศู้ กึ ษาไมต่ ้องตรวจสอบแหลง่ สถานท่อี น่ื

ค. ถูกทั้งข้อ ก และข้อ ข

ง. ผู้ศึกษาควรตรวจสอบในชว่ งเวลาทต่ี า่ งกนั ดว้ ย

26. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการตรวจสอบผศู้ ึกษา

ก. เปน็ หลักการท่ีต้องปฏิบัตใิ นการศกึ ษาคน้ ควา้ ข. สรา้ งความน่าเช่อื ถือได้มากข้นึ

ค. เพ่ือให้สอดคล้องกบั หลักการตรวจสอบขอ้ มูล

ง. การตรวจสอบทฤษฏีต้องตรวจสอบผู้ศึกษากอ่ น

27. ข้อใดเป็นการตรวจสอบทฤษฏี

ก. การพสิ จู น์ว่าข้อมูลท่ผี ้ศู ึกษาค้นคว้ามา ถูกต้องหรือไม่

ข. การตรวจสอบในสถานท่ีเดียวกนั หรอื ตา่ งกัน มีผลเหมือนกนั หรอื ไม่

ค. การตรวจสอบวา่ ผู้ศกึ ษาใช้แนวคดิ ตีความข้อมลู ตา่ งกันมากน้อยเพียงใด

ง. การตรวจสอบจากบคุ คลหลายคน

28. เพราะเหตุใด จงึ ต้องมีการรวบรวมขอ้ มูลเรื่องเดียวกัน ประกอบกบั การซักถาม และศกึ ษาขอ้ มลู

เพ่ิมเติมจากแหล่งเอกสาร

ก. ใชต้ รวจสอบวา่ ผศู้ กึ ษาใช้แนวคิด ทฤษฏีใดในการศึกษาค้นคว้า

ข. เพ่ือตรวจสอบผลการศึกษาเรอ่ื งลักษณะเดยี วกัน จากผู้ศกึ ษาหลายคน

ค. ใช้ประกอบการตรวจสอบความนา่ เช่อื ถือของแหลง่ ทมี่ าของขอ้ มลู

ง. เพือ่ พิสจู น์วา่ ข้อมลู ทผี่ ู้ศึกษาคน้ ควา้ ได้มานนั้ ถูกต้อง หรอื ไม่

29. ภาพประกอบ และตาราง จำเปน็ ตอ้ งมีในรายงาน หรอื ไม่

ก. มี ข. ไมม่ ี

ค. มี หรือไม่มีก็ได้ ง. ยงั ไมส่ รุป

30. เมอ่ื มีภาพประกอบ และตารางในรายงาน ควรมรี ายการใดประกอบ

ก. ช่ือภาพ ข. ชอ่ื ตาราง

ค. การอา้ งองิ แหล่งที่มาของข้อมูล ง. ชอ่ื ภาพ ช่ือตาราง และการอ้างอิง

31. ข้อใดเป็น “ส่วนนำ” ของรายงาน

ก. บทนำ ข. สารบญั

ค. บรรณานุกรม ง. ประวตั ิยอ่ ผรู้ ายงาน

32. ขอ้ ใดถกู ต้อง

ก. บทที่ 5 วรรณกรรมที่เกีย่ วข้อง ข. บทท่ี 4 ผลการศึกษาค้นคว้า

ค. บทที่ 3 สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ง. บทที่ 2 วธิ กี ารศึกษาคน้ คว้า

74

33. รายการใดท่ีต้องสอดคล้องกับการอา้ งองิ แทรกในเน้ือหา

ก. บรรณานุกรม ข. ภาคผนวก

ค. อภธิ านศัพท์ ง. ประวัติยอ่ ผทู้ ำรายงาน

34. เพราะเหตุใดจึงต้องเลอื กใชเ้ ครอื่ งมือการเก็บรวบรวมข้อมลู ทเ่ี หมาะสม

ก. เป็นเทคนิคสำคัญในการใช้เครอ่ื งมือการเกบ็ รวบรวมข้อมูล

ข. เพอ่ื ให้ไดข้ ้อมูลท่ีถกู ต้อง และสรปุ ผลไดต้ รงกับจุดประสงคข์ องการศกึ ษาค้นคว้า

ค. เปน็ หลักการสำคัญของการศกึ ษาคน้ คว้าท่ตี ้องใชเ้ ครือ่ งมือการเกบ็ รวบรวมข้อมลู

ง. เพอ่ื ช่วยใหส้ ามารถวเิ คราะห์ พิจารณาเปรยี บเทียบข้อมูลไดโ้ ดยสะดวกรวดเร็ว

35. แบบทดสอบใช้ให้กลุ่มตวั อย่างตอบได้ในรูปแบบใด

ก. เขียนตอบ การคิด และการพดู ข. การพดู การปฏิบตั ิ และการคดิ

ค. เขยี นตอบ การพูด และการปฏิบัติ ง. เขียนตอบ การคดิ และการปฏิบัติ

36. เคร่อื งมือท่ีมขี ้อคำถามให้กลุม่ ตวั อยา่ งตอบ โดยกาเคร่ืองหมาย เขียนตอบ หรือสัมภาษณ์ นิยมถาม

เกี่ยวกบั ข้อเท็จจรงิ และความคิดเหน็ เปน็ ความหมายของอะไร

ก. การสัมภาษณ์ ข. การสังเกต

ค. แบบทดสอบ ง. แบบสอบถาม

37. การสังเกตการณ์ เปน็ เครอ่ื งมือการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ท่ีเหมาะสมกบั ข้อใด

ก. ข้อมูลสว่ นตวั บคุ ลกิ ภาพ เจตคติ และความคิดเห็น

ข. การเกบ็ รวบรวมข้อมูลที่สามารถสงั เกต หรือวัดใหเ้ ปน็ ปริมาณได้

ค. การศึกษาข้อมลู เก่ยี วกบั ข้อเทจ็ จริง และความคิดเห็นของบคุ คล

ง. การศกึ ษาเหตกุ ารณ์เพ่ือให้เข้าใจลักษณะธรรมชาติ

38. การเร่มิ ตน้ สมั ภาษณ์ เพราะเหตใุ ดจึงควรสนทนาเร่ืองที่คาดว่าผ้ใู ห้สัมภาษณ์สนใจ

ก. สร้างความคุ้นเคย ข. มารยาทในการสมั ภาษณ์

ค. มนุษยสมั พนั ธ์ ง. หลักการสมั ภาษณ์

39. วธิ ดี ำเนินการศกึ ษาคน้ คว้า ข้อใดถกู ต้องทีส่ ุด

ก. กลุ่มตัวอย่างจะมเี ทา่ กบั หรอื มากกว่าประชากรก็ได้

ข. กลมุ่ ตวั อย่างจะมเี ท่ากบั หรือน้อยกวา่ ประชากรกไ็ ด้

ค. ประชากรจะมีนอ้ ยกวา่ กลุ่มตัวอยา่ ง

ง. ประชากรจะมีมากกวา่ กลุ่มตัวอย่าง

40. ส่งิ ทีค่ วรกลา่ วถงึ เครื่องมือในการศึกษาคน้ คว้า คอื อะไร

ก. ลักษณะ เนอ้ื หา สว่ นประกอบ วิธใี ช้ ข. เนือ้ หา สว่ นประกอบ ประชากร

ค. ส่วนประกอบ วธิ ีใช้ กลุม่ ตัวอยา่ ง

ง. กระบวนการสรา้ ง ประชากร กลุม่ ตัวอย่าง

75

ตวั อยา่ งแบบวัดการเหน็ คุณคา่ ในตนเองของนกั เรยี น

คำช้ีแจง แบบสอบถามทงั้ หมดมี 3 ตอน โปรดอา่ นคำชแ้ี จงแตล่ ะตอนอย่างถถ่ี ว้ น คำตอบไมม่ กี ารตดั สนิ

วา่ ถูกหรอื ผดิ เพราะเป็นความรู้สกึ ของคนแตล่ ะคนไม่จำเป็นจะต้องเหมอื นกบั ผอู้ ่นื โปรดตอบทกุ ๆขอ้

ตอนที่ 1 โปรดอา่ นแต่ละประโยคอย่างระมัดระวงั ถา้ ประโยคไหนเหมือนตวั คณุ เองกต็ อบวา่ ใช่

ถ้าเหน็ ว่าไมเ่ หมอื นกต็ อบวา่ ไมใ่ ช่ โดยกาเคร่อื งหมาย X ทบั คำตอบนนั้

1. ฉนั ทำสิ่งทีไ่ มด่ มี ามาก ใช่ ไม่ใช่
ไม่ใช่
2. ฉันเป็นคนไมเ่ ชือ่ ฟงั เวลาทอี่ ยบู่ า้ น ใช่ ไม่ใช่
ไม่ใช่
3. ฉันเคยไดร้ บั ความลำบากเสมอ ใช่ ไม่ใช่
ไม่ใช่
4. ฉนั คิดไปในด้านอกศุ ลเสมอ ใช่ ไมใ่ ช่
ไมใ่ ช่
5. ฉนั เปน็ คนท่ไี วใ้ จได้ ใช่ ไม่ใช่
ไม่ใช่
6. ฉนั เป็นคนเรยี นดี ใช่ ไมใ่ ช่
ไมใ่ ช่
7. ฉันเปน็ คนฉลาด ใช่ ไมใ่ ช่
ไม่ใช่
8. ฉันไมค่ ่อยจะรู้เร่ืองอะไรเลย ใช่ ไมใ่ ช่
ไมใ่ ช่
9. ฉันเป็นนกั อ่านที่ดี ใช่ ไมใ่ ช่
ไม่ใช่
10. ฉนั เรยี นอะไรแล้วกล็ มื หมด ใช่ ไม่ใช่
ไม่ใช่
11. ฉันเปน็ คนหน้าตาดี ใช่ ไม่ใช่
ไม่ใช่
12. ฉนั มีหนา้ ตาแจม่ ใสเสมอ ใช่ ไม่ใช่
ไม่ใช่
13. ฉันมีรูปร่างไมด่ ี ใช่ ไม่ใช่
ไม่ใช่
14. ฉนั เปน็ คนแขง็ แรง ใช่ ไมใ่ ช่
ไม่ใช่
15. ฉนั เป็นผนู้ ำในการเลน่ และการกีฬา ใช่ ไม่ใช่
ไม่ใช่
16. ฉนั ร้องไหเ้ ก่ง ใช่

17. ฉนั เปน็ คนชอบวิตกกังวล ใช่

18. ฉันหวาดหลวั บอ่ ย ๆ ใช่

19. ฉนั จะวา้ วนุ่ ใจเมอ่ื มีคนเรยี กฉัน ใช่

20. ฉันเป็นคนขีต้ กใจ ใช่

21. คนมักเลือกฉนั ในการเล่นเกมต่าง ๆ ใช่

22. ฉันเป็นคนสดุ ทา้ ยที่ได้รบั เลือกให้เล่นเกม ใช่

23. ฉันลำบากใจทจ่ี ะเปน็ เพื่อนกบั ใคร ใช่

24. ฉันมีเพื่อนมาก ใช่

25. ฉันเป็นคนที่ถกู ลืม ใช่

26. ฉนั เปน็ คนท่มี ีความสุข ใช่

27. ฉนั เปน็ คนท่มี คี วามสุข ใช่

28. ฉนั พอใจในสภาพตวั เองขณะนี้ ใช่

29. ฉันอยากเปน็ อยา่ งอ่ืนทไ่ี ม่ใชต่ ัวฉันตอนนี้ ใช่

30. ฉันเป็นคนรา่ เรงิ ใช่

ตอนที่ 2 โปรดอา่ นแต่ละขอ้ ต่อไปน้ีอยา่ งระมัดระวัง แลว้ เลือกทำเครอื่ งหมาย ¡ ล้อมรอบ ข้อ ก. หรอื ข.

หรอื ค. หรอื ง.ตามทค่ี ณุ เหน็ ว่าตรงกับความรสู้ กึ ของคณุ มากทีส่ ุดเพยี งขอ้ เดยี ว

ก. เหน็ ดว้ ยอยา่ งยิ่ง ข. เห็นดว้ ย ค. ไมเ่ ห็นด้วย ง. ไมเ่ หน็ ดว้ ยอยา่ งยิ่ง

31. ฉนั เป็นคนมคี ณุ คา่ ทดั เทียมกบั ผอู้ ืน่ กขค ง

32. ฉนั เป็นคนมีคณุ สมบตั ิทด่ี ีหลายอยา่ ง กขค ง

33. ฉนั รูส้ กึ วา่ ฉนั ทำอะไรไม่สำเร็จเลย กขค ง

34. ฉนั มีความสามารถทำส่งิ ต่าง ๆ ได้ดีเทา่ ผูอ้ ื่น กขค

35. ฉันมีความภาคภูมใิ จในตนเองนอ้ ยเหลือเกิน กขค

76

36. ฉันคดิ ถงึ ตัวเองในทางทีด่ ี กขคง
37. โดยทั่วไปแลว้ ฉนั มีความพอใจในตัวเอง กขคง
38. ฉนั หวงั ว่าฉนั สามารถนบั ถือตวั เองไดม้ ากกว่าน้ี กขคง
39. ขณะนฉ้ี นั รู้สึกวา่ ตนเองเปน็ คนไร้ประโยชน์ กขคง
40. บางครัง้ ฉนั คดิ ว่าฉันไม่มอี ะไรดเี ลย กขคง

ตอนท่ี 3 โปรดอา่ นข้อความต่อไปนี้ตามลำดับอยา่ งถถี่ ้วน แลว้ ทำเคร่อื งหมาย  ลอ้ มรอบ

ตัวเลข 1 หรอื 2 หรอื 3 หรอื 4 หรือ 5 ซ่งึ ตรงกับรสู้ กึ ของคณุ มากท่สี ดุ เพยี งข้อเดยี ว

1. ไมเ่ คยเลย 2. ไมบ่ ่อยนัก 3. บางคร้ัง 4. บ่อยครงั้ 5. ตลอดมา
34
41. ฉนั เป็นเพอื่ นกบั ทกุ ๆ คน 12 34 5
34 5
42. ฉนั มคี วามสุข 12 34 5
34 5
43. ฉันมคี วามกรุณา 12 34 5
34 5
44. ฉนั เป็นคนกลา้ 12 34 5
34 5
45. ฉันเปน็ คนซอื่ สตั ย์ 12 34 5
34 5
46. คนทั่ว ๆ ไปชอบฉนั 12 34 5
34 5
47. ฉันเป็นคนทไ่ี ว้ใจได้ 12 34 5
34 5
48. ฉนั เป็นคนดี 12 34 5
34 5
49. ฉนั ภาคภมู ใิ จในตวั ฉัน 12 34 5
34 5
50. ฉันเปน็ คนเกยี จคร้าน 12 34 5
34 5
51. ฉันให้ความรว่ มมือกับทกุ คนเสมอ 12 34 5
5
52. ฉันเปน็ คนร่าเริงแจ่มใส 12

53. ฉันเป็นคนมีความคดิ 12

54. ฉันเป็นทร่ี จู้ กั ของคนทัว่ ไป 12

55. ฉนั เป็นคนอ่อนโยน 12

56. ฉนั เป็นคนข้อี จิ ฉา 12

57. ฉนั เป็นคนท่ีไมด่ ื้อดงึ 12

58. ฉันเป็นคนสุภาพ 12

59. ฉนั เป็นคนขีอ้ าย 12

60. ฉันเปน็ คนสะอาด 12

61. ฉันเปน็ คนทมี่ ปี ระโยชนต์ อ่ ผอู้ ื่น 12

62. ฉนั เปน็ คนมคี วามกตัญญู 12

การตรวจและการแปลผลแบบทดสอบ (Rubin’s Self Esteem Scale)
แบบทดสอบนเี้ ป็นแบบวดั ที่ใหร้ ายงานตวั เองประกอบดว้ ยขอ้ ความ 62 ขอ้ แบ่งออกเปน็ 3 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 เป็นข้อความเกย่ี วกบั อัตมโนทศั น์ (Self Concept) จำนวน 30 ข้อ เปน็ แบบเลือกรับหรือปฏิเสธ ตอบโดยกาเคร่อื งหมาย 
(กากบาท) ลงกบั คำว่า “ใช”่ หรอื “ไมใ่ ช่” ข้อละเครอื่ งหมาย
ในแต่ละข้อมกี ารตรวจให้คะแนนแตกตา่ งกนั ตามลักษณะของข้อความ ดังนี้
เมอื่ ขอ้ ความมีลักษณะทางบวก
ถ้าตอบ “ใช”่ ได้ 2 คะแนน
ถา้ ตอบ “ไม่ใช”่ ได้ 1 คะแนน
ได้แก่ ข้อ 5, 6, 7, 9, 11, 12, 14, 15, 21, 24, 26, 28 และ 30
เมอ่ื ขอ้ ความมลี ักษณะทางลบ
ถ้าตอบ “ใช่” ได้ 1 คะแนน
ถ้าตอบ “ไม่ใช่” ได้ 2 คะแนน
ไดแ้ ก่ ขอ้ 1, 2, 3, 4, 8, 10, 13, 16, 17, 18, 19, 20, 22, 23, 25, 27 และ 29

77

ตอนที่ 2 เป็นแบบวดั ความร้สู ึกเหน็ คณุ ค่าในตนเอง (Self – Esteem Scale) จำนวน 10 ขอ้
เป็นแบบ rating scale 4 ระดับ (ก - ง) ตอบโดยการทำเครอ่ื งหมาย  (วงกลม) ล้อมรอบตัวอกั ษร
ทแี่ สดงว่า “เหน็ ด้วยอย่างยงิ่ ” “เหน็ ดว้ ย” “ไม่เห็นด้วย” หรอื “ไม่เหน็ ด้วยอยา่ งยง่ิ ”
ขอ้ ละ 1 เครอ่ื งหมาย ในแต่ละขอ้ มกี ารตรวจใหค้ ะแนนแตกตา่ งกันตามลักษณะของข้อความ ดงั น้ี
เมือ่ ข้อความมีลกั ษณะทางบวก
ถ้าตอบ “ก” หรอื “ข” ได้ 2 คะแนน
ถ้าตอบ “ค” หรอื “ง” ได้ 1 คะแนน
ไดแ้ ก่ ขอ้ 31, 32, 34, 36 และ 37
เม่อื ขอ้ ความมีลกั ษณะทางลบ
ถ้าตอบ “ก” หรอื “ข” ได้ 1 คะแนน
ถา้ ตอบ “ค” หรอื “ง” ได้ 2 คะแนน
ไดแ้ ก่ ข้อ 33, 35, 38, 39 และ 40

ตอนที่ 3 เป็นการประเมนิ อตั มโนทัศน์ (Self Concept Rating) จำนวน 22 ขอ้ เปน็ แบบ rating scale
5 ระดบั (1-5) ใหต้ อบโดยการทำเครือ่ งหมาย  (วงกลม) ล้อมรอบตัวอกั ษรท่ีแสดงวา่ “ไมเ่ คยเลย”
“ไม่บอ่ ยนกั ” “บางครง้ั ” หรือ “ตลอดมา” และในแต่ละขอ้ มีการตรวจให้คะแนนแตกต่างกันตามลกั ษณะ
ของขอ้ ความ ดังนี้
เม่อื ขอ้ ความมีลกั ษณะทางบวก
ถ้าตอบ “1” จะได้ 1 คะแนน
ถา้ ตอบ “2” จะได้ 2 คะแนน
ถา้ ตอบ “3” จะได้ 3 คะแนน
ถ้าตอบ “4” จะได้ 4 คะแนน
ถา้ ตอบ “5” จะได้ 5 คะแนน
ไดแ้ กข่ ้อ 41, 42, 43, 44, 45, 46, 47, 48, 49, 51, 52, 53, 54, 55, 57, 58, 60, 61 และ 62

เม่อื ข้อความมลี กั ษณะทางลบ
ถา้ ตอบ “1” จะได้ 5 คะแนน
ถ้าตอบ “2” จะได้ 4 คะแนน
ถ้าตอบ “3” จะได้ 3 คะแนน
ถ้าตอบ “4” จะได้ 2 คะแนน
ถ้าตอบ “5” จะได้ 1 คะแนน

การคดิ คะแนนรวม
คะแนนรวมคิดโดยการรวมคะแนนท้งั 62 ขอ้ ของผตู้ อบแบบทดสอบเขา้ ดว้ ยกนั
เป็นคะแนนความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองของผู้ตอบแบบทดสอบแต่ละคนซึ่งมีช่วงคะแนนโดยทฤษฎี (Theoretical Range of Scores)
ต้งั แต่ 62 – 190
ในการแบง่ ระดบั ของคะแนนความรสู้ กึ เหน็ คุณคา่ ในตนเอง มีเกณฑก์ ารแบง่ ตอ่ ไปนี้
ถา้ ได้คะแนนตงั้ แต่ 159 - 190 ถือว่าเปน็ ผู้ท่มี คี วามรู้สกึ เห็นคณุ คา่ ในตนเอง ในระดับสูง
ถ้าไดค้ ะแนนตง้ั แต่ 95 - 158 ถอื ว่าเป็นผู้ทม่ี คี วามร้สู กึ เห็นคุณคา่ ในตนเอง ในระดับปานกลาง
ถา้ ไดค้ ะแนนต้งั แต่ 62 - 94 ถอื วา่ เปน็ ผู้ที่มีความรูส้ ึกเห็นคุณค่าในตนเอง ในระดับต่ำ

ที่มา : คูม่ ือ พฒั นาทกั ษะการดำเนินชวี ติ ระดบั มธั ยมศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

78

ตัวอย่างชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ แบบโยนโิ สมนสกิ าร วชิ าเคมี 6
เร่อื งการใช้ความรู้ทางเคมีในการแก้ปัญหา

79

80


Click to View FlipBook Version