The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดกิจกรรมเรื่องการดำรงชีวิตของพืช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2021-05-26 10:30:08

ชุดกิจกรรมเรื่องการดำรงชีวิตของพืช

ชุดกิจกรรมเรื่องการดำรงชีวิตของพืช

Keywords: ว21101

ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ ตามแนวคดิ โยนิโสมนสิการ

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การดำรงชีวิตของพชื

วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 1 ว21101

สอนโดย
นางสาวอโนชา อุทุมสกลุ รตั น์

ครูชำนาญการพิเศษ
ปกี ารศกึ ษา 2564

สำหรบั นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม
ช่ือ-สกุล..................................................ช้นั .........เลขท.่ี .......

สารบญั

บทนำ................................................................................................................................ หนา้

คำช้แี จงการใชช้ ุดกิจกรรม................................................................................................ ก

แบบประเมินตนเองกอ่ นเรยี น........................................................................................... 1
1
หนว่ ยการเรียนรู้เรื่อง การดำรงชวี ติ ของพชื .......................................... 20
27
- การสบื พนั ธุแ์ ละการขยายพนั ธพ์ุ ชื ดอก ......................................... 42
47
- การสังเคราะหด์ ว้ ยแสง .................................................................

- การลำเลยี งน้ำ ธาตุอาหาร และอาหารของพืช ………………………..

แบบประเมินตนเองหลงั เรยี น............................................................................................

อา้ งอิง................................................................................................................................

บทนำ

ชุดกิจกรรมที่ผู้เรียนจะได้ศึกษานี้เรียกว่าชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง การดำรงชีวิตของพืช เป็นส่ือวิทยาศาสตร์ท่ีเน้นให้ผู้เรียนมีความสามารถในการคิด
แก้ปัญหาอย่างมีระบบ พบคำตอบของปัญหาหรือสถานการณ์น้ันด้วยตนเอง ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ด้วยตนเอง ได้คิดและลงมอื ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมต่าง ๆ และ เพือ่ ให้เกิดประโยชนส์ งู สดุ นกั เรยี น

ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการเน้ือหาส่วนใหญ่เน้นการให้นักเรียนสามารถ
นำไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันเพ่ือให้นกั เรียนสามารถเรียนร้เู น้ือหาได้ดว้ ยตนเองจึงได้เรยี บเรยี ง
เน้ือหาให้กระชับและน่าสนใจและนอกจากน้ียงั ได้แทรกรปู ภาพและคำถามชวนคิดไวต้ ลอดทำให้ไม่เบ่อื ในการ
อ่านและทำกจิ กรรม

ผู้จัดทำชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนโิ สมนสิการหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารชุดน้ีจะมี
ประโยชน์ในการเรียนรู้เน้ือหาตามหลักสตู ร ผู้เรยี นมคี วามรู้และความสามารถในการสบื ค้น การจดั ระบบส่ิงท่ี
เรียนรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือสรา้ งองคค์ วามรู้ ได้เป็นอย่างดีสามารถนำความรู้ทีไ่ ด้จากการ
เรียนรไู้ ปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ และเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่สนใจใช้เป็นแนวทาง ในการจดั กระบวนการ
เรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ตอ่ ไป

...........................................
( นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรตั น์ )
ผจู้ ัดทำชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์



คำชีแ้ จงการใชช้ ุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตรต์ ามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ

เร่ือง การดำรงชวี ติ ของพชื

1. สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัตขิ องสิง่ มชี ีวิต หน่วยพนื้ ฐานของส่ิงมชี วี ติ การลาเลียงสารเข้าและออก

จากเซลล์ความสัมพนั ธ์ของโครงสรา้ งและหนา้ ทข่ี องระบบตา่ ง ๆ ของสตั ว์และมนษุ ยท์ ่ีทางานสมั พันธ์กนั
ความสมั พันธ์ของโครงสร้างและหน้าทขี่ องอวัยวะตา่ ง ๆ ของพชื ท่ีทางานสัมพนั ธก์ นั รวมท้ังนำความรูไ้ ปใช้
ประโยชน์
2. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวช้ีวดั เรอื่ งหนว่ ยพื้นฐานของสิง่ มีชีวิต ชุดน้ี ใชเ้ วลา 21 ช่วั โมง

มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวช้วี ัด ว 1.2 ม.1/6, ม.1/7, ม.1/8, ม.1/9, ม.1/10, ม.1/11, ม.1/12,
ม.1/13, ม.1/14, ม.1/15, ม.1/16, ม.1/17, ม.1/18

3. วธิ เี รียนรู้จากชุดกิจกรรมนี้เพ่ือใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ นกั เรียนควรปฏิบัติตามคำชแ้ี จง ต่อไปน้ี
ตามลำดบั

1. ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตรส์ องภาษาตามแนวคดิ แบบโยนิโสมนสิการ เรอ่ื ง หน่วยพื้นฐานของ
สิ่งมชี ีวติ ชดุ น้ี ใชเ้ วลาในการศึกษา 21 ชัว่ โมง
2. ใหน้ ักเรยี นจัดกล่มุ ๆ ละประมาณ 6 คน
3. ใหน้ ักเรียนศกึ ษามาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชว้ี ดั ของชุดการเรยี น
4. ให้นกั เรียนปฏบิ ัติกิจกรรมในชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ โดยใช้

รูปแบบการเรยี นร้แู บบโยนิโสมนสกิ ารตามข้นั ตอนดังน้ี
1. ขัน้ พฒั นาปญั ญา
2. ขั้นนำปัญญาพัฒนาความคิด
3. ขัน้ นำปัญญาพัฒนาตนเอง

4. สาระสำคัญ
พืชดอกทุกชนิดสามารถสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศได้ นอกจากนั้นบางชนิดยังพบการสืบพันธ์ุแบบไม่

อาศัยเพศด้วยการสืบพันธุ์แบบอาศยั เพศของพืชดอกเกิดข้ึนท่ีดอกโดยทัว่ ไปดอกประกอบด้วย กลีบเลี้ยง กลีบ
ดอก เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย ภายในอบั เรณูของเกสรเพศผู้มเี รณูทำหน้าทสี่ รา้ งสเปิร์ม ภายในออวุลของ
เกสรเพศเมียมีถุงเอ็มบริโอทำหน้าที่สร้างเซลล์ไข่ ซึ่งต้องมีการถ่ายเรณู จากอับเรณูไปยังยอดเกสรเพศเมีย
นำไปสู่การปฏิสนธิระหว่างสเปิรม์ กับเซลล์ไข่ และระหว่างสเปิร์มกับโพลาร์นิวคลีไอในถุงเอ็มบริโอ หลังการ
ปฏสิ นธิจะไดไ้ ซโกตและเอนโดสเปริ ์ม ไซโกตจะพฒั นาต่อไปเป็นเอม็ บริโอ โดยมเี อนโดสเปริ ม์ เป็นอาหารสะสม
สำหรับเลี้ยงเอ็มบริโอ ส่วนออวุลพัฒนาไปเป็นเมล็ด และรังไขพ่ ัฒนาไปเป็นผล ผลและเมล็ดเม่ือเจริญเติบโต
เตม็ ท่จี ะกระจายออกจากต้นโดยวิธีการต่าง ๆ เมื่อเมลด็ ไปตกในสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมจะงอกเปน็ ต้นใหม่
ส่วนการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ เป็นการสืบพันธุ์ที่พืชต้นใหม่พัฒนาและเจริญเติบโตมาจากเนื้อเย่ือส่วน
ต่าง ๆ ของพชื ตน้ เดมิ

มนุษย์นำความรเู้ รื่องการสบื พันธ์ุแบบอาศยั เพศและไมอ่ าศยั เพศของพืชมาใชใ้ นการขยายพนั ธุพ์ ืช ซงึ่
การเลือกวธิ ีการขยายพนั ธพ์ุ ืชควรเลือกใหเ้ หมาะสมกับชนดิ พชื และความตอ้ งการของมนุษย์

*** ขอให้นักเรียนทกุ คนไดเ้ รียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์อย่างมคี วามสขุ ***



แบบประเมินตนเองกอ่ นเรยี น

คำช้ีแจง : ใหน้ ักเรียนเลือกคำตอบทถ่ี กู ต้องท่ีสุดเพยี งคำตอบเดียว ใชเ้ วลา 20 นาที
1. จากภาพ เขียน O ล้อมรอบคำว่า “ใช่” หรือ “ไม่ใช่” ในแต่ละข้อความท่ีเก่ียวข้องกับการสืบพันธุ์แบบ
อาศยั เพศของพืชดอก ถา้ ไมใ่ ช่ให้แกไ้ ขใหถ้ ูกตอ้ ง

ข้อความ ใช่ หรือ ไมใ่ ช่

ส่วนทเ่ี กี่ยวข้องกับการสร้างเซลลส์ ืบพันธเ์ุ พศผู้ คือ สว่ น A ใช่ ไมใ่ ช่

ส่วนท่เี กยี่ วข้องกบั การสร้างเซลล์สืบพนั ธุ์เพศเมยี คอื สว่ น B ใช่ ไม่ใช่

การปฏสิ นธิเกิดขึน้ ทีส่ ่วน C ใช่ ไมใ่ ช่

หลังจากเกดิ การปฏิสนธิ สว่ น D จะพัฒนาไปเปน็ เมล็ด ใช่ ไมใ่ ช่

ถ้าต้องการถ่ายเรณูใหก้ บั พืชชนดิ นี้ ตอ้ งนำเรณูจากสว่ น A ไปวางบนส่วน B ใช่ ไมใ่ ช่

2. การสบื พันธแ์ุ บบอาศยั เพศของพืชดอกมีข้ันตอนเรยี งตามลำดับอยา่ งไร

ก. การเกิดเมล็ด การถา่ ยเรณู การปฏสิ นธิ ข. การถ่ายเรณู การปฏสิ นธิ การเกดิ เมลด็

ค. การปฏสิ นธิ การถา่ ยเรณู การเกดิ เมลด็ ง. การถ่ายเรณู การเกดิ เมลด็ การปฏิสนธิ

3. ในการทดลองเพื่อศึกษาการเกิดเมล็ดโดยแบ่งพืชชนิดเดียวกันออกเป็น 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มปลูกห่างกัน

ทดลองโดยเด็ดส่วนประกอบบางส่วนของดอกออกไปแต่บางส่วนยังคงไว้ ดังตาราง จากน้ันปล่อยให้เกิดการ

ผสมพันธ์ุตามธรรมชาติ

กลุ่ม กลบี เลย้ี ง กลบี ดอก เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมยี

1√ √ × √

2√ √ × ×

3× × √ ×

4× × √ √

เคร่อื งหมาย √ แสดงสว่ นประกอบทย่ี งั คงอยู่
เครอื่ งหมาย × แสดงสว่ นประกอบที่ถกู เด็ดออกไป

ข้อความใดไม่ถูกต้อง
ก. พชื กลมุ่ ท่ี 1 ตดิ ผล เพราะเกดิ การถา่ ยเรณมู าจากดอกของพืชกลมุ่ อนื่
ข. พืชกลุ่มท่ี 2 ไมต่ ิดผล เพราะไม่มีกลบี ดอกดงึ ดูดแมลงจึงไมม่ ีการถ่ายเรณู

ค. พชื กลุ่มท่ี 3 ไม่ตดิ ผล เพราะไม่มรี ังไข่ จึงไม่เกดิ การปฏิสนธิ
ง. กลุ่มท่ี 4 ติดผล เพราะเกดิ การถา่ ยเรณูไดจ้ ากอับเรณใู นดอกเดียวกัน

อ่านขอ้ ความแลว้ ตอบคำถามขอ้ 4-5
บัวหลวงเป็นพืชน้ำท่ีมีประโยชน์หลายอย่าง ทงั้ เพ่ือเป็นไม้ประดบั และเพอ่ื นำสว่ นตา่ ง ๆ มาใช้

ประโยชน์ เชน่ นำไหลและเหง้ามาเปน็ อาหาร ใช้ใบในการห่ออาหาร รวมทัง้ ยงั มกี ารนำดบี ัวหรือตน้ อ่อนใน
เมล็ดมาทำเปน็ ส่วนผสมของยาโบราณอกี ด้วย

ดบี วั
ใบเลย้ี ง

4. จากภาพ ข้อใดกล่าวถูกตอ้ ง

ก. ดีบวั เป็นสว่ นหน่งึ ของเอม็ บรโิ อ ข. ดบี ัวเปลย่ี นแปลงมาจากผนังออวุล

ค. ดบี ัวเป็นแหล่งอาหารขณะเมล็ดงอก

ง. ดบี วั เป็นส่วนทจี่ ะงอกออกมาจากเมลด็ เปน็ อบั ดบั แรก

5. จากภาพ เขยี น O ลอ้ มรอบคำวา่ “ใช่” หรอื “ไม่ใช่” ในแต่ละข้อความท่เี กี่ยวข้องกบั บัวหลวง ถ้าไม่ใชใ่ ห้

แก้ไขใหถ้ กู ตอ้ ง

ข้อความ ใช่ หรอื ไม่ใช่
ไหลเป็นส่วนของรากบวั ใช่ ไมใ่ ช่
บัวใชไ้ หลในการสืบพนั ธุแ์ บบไมอ่ าศยั เพศ ใช่ ไมใ่ ช่
เมลด็ บัวสามารถกระจายไปไดโ้ ดยน้ำ ใช่ ไม่ใช่

6. เมลด็ พชื ชนิดหนึ่งสามารถงอกได้ดที อี่ ุณหภูมิ 25 องศาเซลเซยี ส เม่ือนำเมล็ดพืชชนดิ นี้ใสใ่ นหลอดทดลองดัง
ภาพเมลด็ ในหลอดใดมีโอกาสงอกได้

ก. หลอด A และ D ข. หลอด B และ C
ค. หลอด B และ D ง. หลอด C และ E

ข้อความต่อไปนีใ้ ช้ตอบคำถามขอ้ 7 และ 8

“เนอ้ื และน้ำมะพรา้ ว เปน็ อาหารสะสมในเมล็ด ซ่ึงตน้ ออ่ นของมะพรา้ วจะใชเ้ ป็นแหล่งอาหารในขณะ
งอก แตม่ ะพร้าวบางผลมเี นอื้ และน้ำแตกตา่ งจากมะพร้าวท่วั ไปโดยมเี น้อื ฟู หนาน่มุ มนี ้ำข้นเหนยี ว เรียกว่า
มะพรา้ วกะทิ ทำใหต้ น้ อ่อนของมะพรา้ วกะทิไมส่ ามารถใช้เนื้อของมะพร้าวกะทิเป็นแหลง่ อาหารสำหรับการ
เจรญิ เติบโตได้ ในธรรมชาติจงึ ไมม่ ีต้นมะพรา้ วทีเ่ จริญจากเมลด็ ของมะพร้าวกะท”ิ

7. นำ้ และเนอ้ื ของมะพร้าว คอื สว่ นประกอบใดของเมล็ด

ก. เอ็มบรโิ อ ข. รากแรกเกิด ค. เอนโดสเปิรม์ ง. เปลือกหมุ้ เมล็ด
ค. เพาะเมล็ด ง. เพาะเลย้ี งเน้ือเย่อื
8. ถา้ ตอ้ งการขยายพันธ์มุ ะพร้าวกะทิ ควรใชว้ ิธใี ด

ก. ปักชำ ข. ตอนกงิ่

ภาพต่อไปนใี้ ชต้ อบคำถามขอ้ 9 – 10

9. จากภาพ และขอ้ มลู ตอ่ ไปนี้ ข้อใดถกู ต้อง

1. สิ่งทพี่ ืชใช้ในการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง คอื A และ D

2. ผลผลิตทีไ่ ด้จากการสังเคราะหด์ ว้ ยแสง คือ B และ C

3. พชื ลำเลยี ง C ผ่านไซเล็ม

4. พชื ลำเลยี ง D ผ่านโฟลเอม็

ก. ข้อ 1 และ 2 ข. ขอ้ 1 และ 3 ค. ขอ้ 2 และ 3 ง. ขอ้ 3 และ 4

10. A B C D คืออะไร ตามลำดับ
ก. น้ำตาล น้ำ แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ข. แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ แกส๊ ออกซิเจน น้ำ น้ำตาล
ค. แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ แกส๊ ออกซเิ จน น้ำตาล น้ำ
ง. แก๊สออกซเิ จน น้ำตาล แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ น้ำ

ใชส้ ถานการณต์ อ่ ไปน้ี ตอบคำถามข้อ 11-12

นกั เรยี นคนหน่งึ ทดลองวางตน้ พืชที่ปลูกในกระถางไวใ้ นท่มี ดื 2 วัน จากน้ันนำกระดาษทึบเจาะรปู ดาว
ไปปิดทับกับด้านบนและด้านล่างของใบ โดยให้ช่องที่เจาะเป้นรูปดาวอยุ่ด้านบนของใบ ดังภาพ นำต้นพืชไป
วางกลางแดด 3 ช่ัวโมง จากนั้นเดด็ ใบพชื มาสกัดคลอโรฟลี ล์ออกแล้วทดสอบแป้งดว้ ยสารละลายไปโอดีน

11. หลังการทดสอบแป้งด้วยสารละลายไอโอดีน ส่วนใดบ้างที่สีของสารละลายไอโอดีนเปลี่ยนจากสีน้ำตาล
เปน็ สีน้ำเงนิ เขม้

ก. สว่ น A และ B ข. สว่ น A และ C ค. สว่ น B และ C ง. ส่วน B และ D
12. จดุ ประสงค์ของการทดลองน้ีคือขอ้ ใด

ก. แปง้ เกิดขนึ้ ในระหว่างการสงั เคราะห์ด้วยแสง
ข. คลอโรฟิลลแ์ ละแสง จำเปน็ ตอ่ การสังเคราะหด์ ้วยแสง
ค. แกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ จำเปน็ ตอ่ การสงั เคราะห์ด้วยแสง
ง. ไอโอดนี ใช้ทดสอบแปง้ ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
ใชส้ ถานการณ์ในการทดลองของโจเซฟ พรสิ ตล์ ยี ์ (Joseph Priestley) ตอบคำถามขอ้ 13

13. เขียน O ล้อมรอบคำว่า “ใช”่ หรือ “ไม่ใช”่ ในแต่ละขอ้ ความท่ีเก่ยี วขอ้ งกับสถานการณ์ในภาพ ถ้าไม่ใชใ่ ห้
แกไ้ ขให้ถูกตอ้ ง

ขอ้ ความ ใช่ หรือ ไม่ใช่
เหตุทห่ี นใู นภาพ b ตายเพราะในครอบแกว้ ไมม่ แี ก๊สออกซิเจน ใช่ ไมใ่ ช่
เหตทุ ่หี นูในภาพ d ไม่ตายเพราะในครอบแก้วมีแกส๊ ออกซเิ จน ใช่ ไมใ่ ช่
ภาพ c และ d มีการสังเคราะห์ด้วยแสงเกดิ ขึน้ ใช่ ไม่ใช่

14. เพราะเหตใุ ด เม่อื ปลกู พืชในกระถางและเจรญิ เติบโตไปไดร้ ะยะหนง่ึ จึงควรเปล่ียนดนิ ในกระถาง

ก. เพราะรากพืชดูดน้ำไม่ได้ ข. เพราะดูแลรักษาพชื ยากขนึ้

ค. เพราะตน้ พืชมที รงไม่สวยงาม ง. เพราะดินเดมิ มธี าตอุ าหารน้อยลง

ใช้ภาพและข้อมลู ต่อไปนี้ตอบคำถามขอ้ 15

ชาวสวนขยายพันธุ์ชะอมโดยใช้มีดควั่นสว่ น A รอบก่งิ ของชะอมออกยาวประมาณ 2 น้ิว จากน้นั นำ

ต้มุ ตอนมาหุ้มสว่ นท่ีควั่นออก ไมน่ านเปลือกต้นชะอมเหนอื สว่ นท่ีควนั่ ออกมีรากงอกออกมา

15. ส่วน A มเี นอ้ื เย่อื ลำเลยี งชนดิ ใด และการควั่นส่วน A ออก สง่ ผลอย่างไรต่อกิง่ ที่ขยายพันธุด์ ้วยวธิ นี ี้
ก. สว่ น A มีไซเลม และการคว่ันส่วน A ออกส่งผลใหต้ ้นชะอมลำเลยี งน้ำจากรากขนึ้ สใู่ บของกงิ่ นไ้ี ม่ได้
ข. ส่วน A มโี ฟลเอ็ม และการควั่นส่วน A ออกสง่ ผลให้ตน้ ชะอมลำเลยี งน้ำจากใบไปสู่รากของตน้ นไ้ี มไ่ ด้
ค. ส่วน A มไี ซเล็ม และการควั่นส่วน A ออกสง่ ผลให้ต้นชะอมลำเลยี งอาหารจากส่วนลา่ งรอยคว่ันไปสใู่ บ

ของกง่ิ นี้ไม่ได้
ง. สว่ น A มีโฟลเอม็ และการควั่นสว่ น A ออกส่งผลให้ต้นชะอมลำเลยี งอาหารจากใบของก่ิงนไี้ ปสู่ส่วนล่าง

รอยควั่นไมไ่ ด้

คะแนนเต็ม 15 คะแนน

ได้ ........... คะแนน

หน่วยท่ี 4 การดำรงชีวิตของพืช

เวลา 21 ช่วั โมง

ข้นั พัฒนาปัญญา กิจกรรม ฝึ กอ่าน : ฝึ กคิด

1. การสบื พนั ธแุ์ ละการขยายพันธพ์ุ ืชดอก

พชื ดอกทกุ ชนดิ สามารถสืบพนั ธุ์แบบอาศยั เพศได้ นอกจากนั้นบางชนิดยงั พบการสบื พันธ์แุ บบไมอ่ าศัย
เพศด้วยการสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศของพืชดอกเกิดข้ึนท่ีดอกโดยท่ัวไปดอกประกอบด้วย กลีบเล้ียง กลีบดอก
เกสรเพศผู้ และเกสรเพศเมีย ภายในอับเรณูของเกสรเพศผมู้ ีเรณูทำหน้าท่ีสรา้ งสเปิร์ม ภายในออวุลของเกสร
เพศเมียมีถุงเอ็มบริโอทำหน้าท่ีสร้างเซลล์ไข่ ซ่งึ ต้องมีการถ่ายเรณู จากอับเรณูไปยังยอดเกสรเพศเมีย นำไปสู่
การปฏิสนธิระหว่างสเปิรม์ กับเซลล์ไข่ และระหว่างสเปิร์มกบั โพลารน์ ิวคลไี อในถุงเอ็มบริโอ หลังการปฏิสนธิจะ
ได้ไซโกตและเอนโดสเปิร์ม ไซโกตจะพัฒนาต่อไปเป็นเอ็มบริโอ โดยมีเอนโดสเปิร์มเป็นอาหารสะสมสำหรับ
เล้ียงเอ็มบริโอ ส่วนออวุลพัฒนาไปเป็นเมล็ด และรังไข่พัฒนาไปเป็นผล ผลและเมล็ดเม่ือเจรญิ เติบโตเต็มที่จะ
กระจายออกจากต้นโดยวิธีการต่าง ๆ เมื่อเมลด็ ไปตกในสภาพแวดล้อมท่เี หมาะสมจะงอกเป็นต้นใหม่ ส่วนการ
สบื พันธ์ุแบบไม่อาศัยเพศ เป็นการสืบพันธ์ุที่พืชต้นใหม่พัฒนาและเจริญเติบโตมาจากเน้ือเย่ือส่วนต่าง ๆ ของ
พืชต้นเดิม

มนุษย์นำความรูเ้ รือ่ งการสบื พนั ธแ์ุ บบอาศัยเพศและไมอ่ าศัยเพศของพืชมาใช้ในการขยายพันธุพ์ ืช ซ่ึง
การเลอื กวิธีการขยายพนั ธ์พุ ืชควรเลือกใหเ้ หมาะสมกบั ชนดิ พืชและความต้องการของมนุษย์

ทบทวนความรู้ก่อนเรยี น 1

จากรปู โครงสร้างของดอก เขยี นชือ่ และหน้าที่ของส่วนประกอบของดอก

1

สว่ นใดของดอกที่เก่ยี วขอ้ งโดยตรงกับการสบื พนั ธแุ์ บบอาศัยเพศของพืชดอก

เพราะเหตุใด

………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………

การสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศของพืชมีข้ันตอนอย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………

การถ่ายเรณูเกิดขึน้ ได้อยา่ งไร มีส่งิ ใดบา้ งทช่ี ่วยในการถ่ายเรณู
…………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………..………………………………………

การสืบพนั ธแุ์ บบอาศยั เพศของพชื จะเกิดข้นึ ทดี่ อก ส่วนของดอกที่ทำหนา้ ท่ีสรา้ งเซลล์สืบพนั ธ์เุ พศผู้

คือ เรณู ซ่ึงอยใู่ นอบั เรณขู องเกสรเพศผู้ และส่วนท่สี รา้ งเซลล์สบื พนั ธุเ์ พศเมยี คอื ถงุ เอม็ บริโอ ซึง่ อยใู่ นออวุล
ของเกสรเพศเมีย การสืบพันธุแ์ บบอาศยั เพศตอ้ งมกี ารผสมกนั ของเซลล์สืบพันธุ์เพศผ้แู ละเซลล์สืบพนั ธ์เุ พศเมีย
จงึ ตอ้ งมีการเคล่อื นยา้ ยเรณจู ากอับเรณไู ปยังยอดเกสรเพศเมยี เรณจู ากอบั เรณูจะไปตกบนยอดเกสรเพศเมยี ได้
อย่างไรนนั้ จะไดท้ ราบจากการทำกจิ กรรมท่ี 1

กจิ กรรมท่ี 1 การถ่ายเรณูเกิดขึน้ ได้อยา่ งไร

จดุ ประสงค์ : สงั เกต รวบรวมขอ้ มูล และอธบิ ายวิธกี ารถ่ายเรณขู องพืชดอก
วสั ดุและอปุ กรณ์

รายการ ปริมาณ/กลุ่ม

1. ดอกบัวหลวง 2 - 3 ดอก
2. ดอกกล้วยไม้ 2 - 3 ดอก
3. ดอกชบา 2 - 3 ดอก
4. ดอกแก้ว 2 - 3 ดอก
5. ดอกมะละกอ
6. แว่นขยาย 3 ดอก
7. ใบมีดโกน 2-3 อนั
2-3 อัน

วธิ ีการทดลอง (ชมวีดิทศั นเ์ กยี่ วกับการถ่ายเรณูของพืชดอก ของ สสวท.)
1. สงั เกตรูปรา่ งลกั ษณะ สี กลน่ิ และเปรียบเทียบตำแหนง่ ของเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียของดอกพืช
แตล่ ะชนิด วาดภาพและบรรยายสิง่ ที่สงั เกตได้

2

2. รว่ มกันอภปิ รายเกย่ี วกบั ลักษณะของดอกทชี่ ว่ ยให้เกดิ การถ่ายเรณู และคาดคะเนเกีย่ วกับปจั จยั
ภายนอกที่ช่วยให้เกดิ การถ่ายละอองเรณูและคาดคะเนเกยี่ วกบั ปจั จัยภายนอกทีช่ ่วยให้เกดิ การถา่ ย
ละอองเรณูของดอกท่ีศึกษา พรอ้ มทงั้ บอกเหตุผล

3. รวบรวมข้อมลู เกีย่ วกบั วิธีการเกิดการถ่ายเรณูของพืชดอก
4. นำข้อมูลการถา่ ยเรณูของพืชดอกที่ไดจ้ ากการรวบรวมเปรยี บเทยี บท่ีไดจ้ ากการอภปิ รายบนั ทึกผล

ผลการทำกิจกรรม

ตาราง บนั ทกึ ผลการสงั เกตรูปร่างลักษณะ สี กลิ่น และตำแหน่งของเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียของดอกพชื

ชือ่ พืช รูปร่างลักษณะ กลีบเล้ียง กลีบดอก เกสรเพศผู้ เกสรเพศเมีย กลน่ิ

แกว้ ดอกเป็นชอ่ ดอกมี สีเขยี ว กลบี ดอก เกสรเพศผู้มี 10 อัน เกสรเพศเมีย1 อัน มี

ขนาดเล็ก ดอกตมู ขนาดเลก็ สีขาว สั้น 5 อันยาว 5 อัน ก้านเกสรเพศเมีย กลน่ิ

รปู ทรงรี ยาว 5-6 กลีบ เรียงอยู่รอบเกสร สีเขียว ยอดเกสร

ประมาณ 1.5 cm เพ ศเมีย ความสูง เพศเมียพองออก

ดอกบานมีกลีบ ข อ ง อั บ เร ณู ข อ ง เป็น ตุ่ม สีเหลือง

ดอกแยกจากกนั เกสรเพศผู้อันยาว เ ข้ ม ที่ ย อ ด มี

อยู่ในระดับเดียวกับ ของเหลวเหนยี ว

ยอดเกสรเพศเมีย

บัวหลวง ดอกเดี่ยวมีก้าน ดอกบัวมีกลีบรวมมีจำ เกสรเพศผู้มจี ำ นวน รังไข่มีจำนวนมาก มี

ดอกยาว ดอกตูมมี นวนมาก กลีบชั้นนอกมี มากมี 2 แบบ แบบ ฝั งตั ว อ ยู่ ใน ฐาน กลน่ิ

ข น าด ให ญ่ ป ร ะ สีเขียว ชั้นถัดเข้าไปด้าน ท่ี1 มีลักษณะคล้าย ดอกนนู ทม่ี ีลักษณะ

มาณ 1 กำมือ เม่ือ ใน มี สี ข า ว ห รื อ ช ม พู กลีบรวมแต่มีขนาด รูปถ้วยโผล่เฉพาะ

ดอกบานจะเห็น (ขึ้นอยู่กับดอกที่สังเกต) เล็กกว่าที่ ปลายมี ส่วน

เก ส รเพ ศ ผู้ แ ล ะ กลบี ดอกขนาดใหญ่ รยางค์สีขาวแบบที่ ยอดเกสรเพศเมีย

เกสรเพศ 2เรียงตัวถัดเข้าไป ออกมาก้านเกสร

เมียชัดเจน จากแบบแรกมีก้าน เพ ศเมี ยส้ัน ยอ ด

เกสรเพศผู้สั้นมีอับ เกสรเพศเมียคล้าย

เรณู สี เห ลือ งยาว จาน ขน าดเล็ก มี

ป ร ะ ม า ณ 1 ของเหลวเหนียว

เซนติเมตรที่ปลายมี รงั ไขเ่ ปน็ รูปทรงรี

ร ย า ง ค์ สี ข า ว

ตำแหน่งของอับเรณู

อยู่บริเวณกึ่งกลาง

ของฐานดอกนูน

กล้วยไม้ ดอกเปน็ ชอ่ ดอก กลบี เลย้ี ง กลีบดอกมี เกสรเพศผู้และเกสรเกสรเพศเมียเช่ือมตดิ ไม่มี

ตมู มสี ีเขยี วรูปรา่ ง มี 3 กลีบ 3 กลบี แยก กันเปน็ โครงสรา้ งเรียกวา่ เสา้ เกสร กลน่ิ

คล้ายรองเทา้ ดอก รูปขอบ จากกัน สว่ นบน สดุ เป็นอบั เรณูท่ีมฝี าปิด ถัดจาก

บานสมี ่วงแดง (สี ขนาน กลีบดอก1 อบั เรณูคือยอดเกสรเพศเมยี ทีม่ ลี กั ษณะ

ข้ึนกบั ดอกที่ ปลาย กลบี มี เป็นแอ่ง มขี อง เหลวเหนยี วอยู่ในแอ่งมีรงั

3

สังเกต) ขนาดใหญ่ แหลม ลักษณะ ไขเ่ ชื่อมลงมาจาก ยอดเกสรเพศเมีย

กลบี แยกจากกนั ด้านหลัง แตกตา่ ง

ชัดเจน สีขาวดา้ น จากอกี

หนา้ สีม่วง 2 กลบี

(สีข้ึนกับ เรยี กว่า

ดอกท่ี กลีบปาก

สงั เกต) ด้านหลัง

กลบี ดอก สี

ขาวด้าน

หน้าสีมว่ ง

(สขี ึ้นกบั

ดอกท่ี

สงั เกต)

ชบา ดอกบานมขี นาด กลีบเลยี้ ง กลบี ดอกมี ก้านเกสรเพศผู้เช่อื ม เกสรเพสเมียมี 1 ไมม่ ี

ใหญ่ กลบี ดอก สีเขยี วท่ี ขนาดใหญ่ ติดกันเป็นหลอดห่อ อัน รังไข่และก้าน กลน่ิ

แยกจากกนั มกี า้ น ฐานกลีบ สแี ดง ขาว หุ้มก้าน เกสรเพ ศ เก สรเพ ศเมียถูก

ชเู กสรเพศผ้แู ละ เชอื่ มติด ชมพู สม้ เมียไว้และ รังไข่ ท่ี ก้านเกสรเพศผู้หุ้ม

เกสรเพศเมียยนื่ กันเป็น (สีขึ้น อยู่ ปลายมีก้าน เก สร ไว้ ยอดเกสรเพศ

ออกมาจากกลาง หลอด กบั ดอกที่ เพศผู้อันเล็กๆ จำ เมี ย อ ยู่ สู ง ข้ึ น ไป

ดอก เหน็ ชัดเจน ปลายกลีบ สงั เกต) นวนมากอับเรณูสี จากอับเรณู ยอด

แยกจาก จำนวน 5 เหลอื งเหน็ ชัดเจน เกสรเพศเมียแยก

กันเปน็ 5 กลีบทโ่ี คน กันเป็น 5 แฉก มี

กลีบทโ่ี คน เชือ่ มกนั รูป ร่างค่ อ น ข้ า ง

หลอด เลก็ นอ้ ย ก ล ม มี ข น เส้ น

กลบี มรี ิว้ เลก็ ๆ เมือ่ ดอกบาน

ประดบั สี จะเห็น เกสรเพ ศ

เขียว เมยี ชดั เจน

มะละกอ ดอกขนาด กลีบเล้ียง กลบี ดอก เกสรเพศผู้จำนวน 5 เกสรเพศเมียมีจำ มี

(ดอก เล็ก มรี ูปรา่ ง มขี นาด สเี หลอื ง อัน อับเรณูติด อยู่ นวน1 อัน รังไข่รูป กล่นิ

สมบูรณ์ เป็นหลอดท่ี เล็กมาก อมเขียว บนหลอดกลีบดอก ร่างรียาวก้านเกสร

เพศ) ปลายกลีบ 5 กลีบ ท่ีโคนกลบี ระดับความสูงต่ำ เพ ศเมี ยส้ัน ยอ ด

แยกจากกนั เชื่อมติด กว่ายอดเกสรเพศ เกสรเพศแยกเป็น

กนั เป็น เมยี 5 แฉกแตล่ ะแฉก

หลอด จะแตกแขนงเลก็ ๆ

ปลายกลีบ

แยกจาก

กัน5 กลีบ

รูปร่างขอบ

4

ขนาน

ปลาย

แหลมกลบี

บิดเลก็ นอ้ ย

มะละกอ ดอกขนาดเลก็ มี กลบี เลย้ี ง กลบี ดอก เกสรเพศผู้จำนวน 5 ไมม่ ี มี

(ดอก รูปร่างเปน็ หลอดท่ี มีขนาด สเี หลอื ง อนั อบั เรณูตดิ อยู่ กลน่ิ

เพศผู)้ ปลายกลีบแยก เลก็ มาก 5 อมเขียว ที่ บนหลอดกลบี ดอก

จากกัน กลบี โคนกลบี

เชือ่ มตดิ

กนั เปน็

หลอด

ปลายกลีบ

แยกจาก

กนั 5 กลบี

รปู รา่ งขอบ

ขนาน

ปลาย

แหลม

กลบี บดิ

เลก็ นอ้ ย

มะละกอ ดอกขนาดเล็ก มี กลีบเลี้ยง กลีบดอกสี ไมม่ ี เกสรเพศเมียมีจำ มี

(ดอก รูปรา่ งเปน็ หลอดที่ มขี นาด เหลืองอม นวน 1 อันรังไข่รูป กลนิ่

เพศ ป ล าย ก ลี บ แ ย ก เลก็ มาก เขียว ที่ ร่างคอ่ นข้างกลม

เมยี ) จากกนั 5 กลีบ โคนกลีบ ก้านเกสรเพศเมีย

เช่อื ม สน้ั ยอดเกสรเพศ

ตดิ กันเป็น แยกเป็น 5 แฉก

หลอด แต่ละแฉกจะแตก

ปลาย แขนงเล็กๆ

กลีบแยก

จากกนั 5

กลบี รปู

รา่ งขอบ

ขนาน

ปลาย

แหลม

กลบี บดิ

เล็กนอ้ ย

5

ผลการอภิปรายเกีย่ วกับส่งิ ท่ีชว่ ยในการถ่ายเรณูของพชื ดอกแต่ละชนิด

พืช ส่งิ ทีช่ ว่ ยในการถ่ายเรณู เหตผุ ล

สัตว์ เชน่ นก แมลงต่าง ๆ ดอกบัวมีขนาดใหญ่ มีสีสัน มีกลิ่น มีอับเรณูอยู่ต่ำกว่ายอด

บัวหลวง เกสรเพศเมียในดอกเดียวกัน ลักษณะเช่นนี้สามารถใช้สีสัน

และกล่ินดึงดูดสัตว์ให้ช่วยถา่ ยเรณูได้ ทั้งสัตว์ท่ีมีขนาดใหญ่

เช่น นกและสัตว์ท่ีมีขนาดเลก็ เชน่ แมลงต่าง ๆ

สัตว์ เช่น ผึง้ และแมลงอื่น ๆ ดอกกล้วยไม้มีลักษณะท่ีค่อนข้างจำเพาะ และมีกลีบปากท่ี

กล้วยไม้ ปิดส่วนของเส้าเกสรไว้ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีสีสัน ไม่มี

กลิ่น ลักษณะเช่นน้เี หมาะกับการถา่ ยเรณูโดนสตั ว์ที่มีขนาด

ใกลเ้ คยี งกบั กลบี ปาก เช่น ผ้งึ และแมลงอื่น ๆ

สตั ว์ เช่น ผงึ้ และแมลงอื่น ๆ ดอกชบามีกลบี ดอกขนาดใหญ่ มีสีสัน ไม่มกี ลิ่น อับเรณูและ

และลม ยอดเกสรเพศเมียติดอยู่บนหลอดท่ีย่ืนออกมาจากส่วนอ่ืนๆ

ชบา ของดอก และอับเรณูต่ำกว่ายอดเกสรเพศเมีย ลักษณะ
เช่นน้ีสามารถใช้สีสันดึงดูดสัตวใ์ ห้ช่วยถ่ายเรณูได้ ส่วนใหญ่

จะเป็นสัตว์ขนาดเล็กต่าง ๆ ท่ีสามารถเกาะท่ีอับเรณูแล้ว

สามารถเคล่อื นท่ีต่อไปยังยอดเกสรเพศเมียได้หรืออาจมีการ

ถา่ ยเรณูขา้ มไปยงั ดอกท่ีอยู่ตำแหนง่ ต่ำกว่าได้โดยลม

สัตว์ เช่น ผง้ึ และแมลงอน่ื ๆ ดอกแกว้ มขี นาดเลก็ กลบี ดอกสีขาว มกี ลิ่น อับเรณอู ยู่

แกว้ ล้อมรอบยอดเกสรเพศเมีย ลกั ษณะดอกเชน่ น้ีสามารถใช้

กลนิ่ ดงึ ดดู สตั ว์ให้ช่วยถา่ ยเรณไู ด้ โดยเฉพาะสัตวท์ ี่มีขนาด

เลก็ เชน่ แมลงต่าง ๆ

สัตว์ เชน่ ผึ้ง และแมลงอนื่ ๆ ดอกมะละกอเปน็ ทดี่ อกมีทั้งสมบูรณ์เพศและไมส่ มบูรณ์

มะละกอ เพศ จำเป็นตอ้ งมีส่ิงที่ชว่ ยในการถ่ายเรณูภายในดอก
เดียวกนั และระหวา่ งดอก ซ่งึ ดอกมะละกอมีขนาดค่อน

ข้างเล็ก ไม่มีสสี นั แต่มกี ลิ่นทีช่ ว่ ยในการดึงดดู แมลงท่ีมี

ขนาดเลก็ ได้

ผลการรวบรวมข้อมลู
..............................................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

คำถามทา้ ยกจิ กรรม
1. ลกั ษณะต่าง ๆ ของดอกมีสว่ นช่วยในการถ่ายเรณูของพืชดอกหรือไม่ อยา่ งไร

คำตอบ ลักษณะต่าง ๆ ของดอกมีส่วนเก่ียวข้องในการถ่ายเรณูของพืชดอก โดยถ้าส่วนของเกสรเพศผู้และ
เกสรเพศเมียอยู่ในระดับเดียวกัน หรือ เกสรเพศผสู้ ูงกว่าเกสรเพศเมยี พืชชนิดน้นั กม็ ีโอกาสท่ีจะถ่ายเรณไู ด้เอง
แต่ถ้าเกสรเพศผู้ตำ่ กว่าเกสรเพศเมีย กจ็ ำเป็นต้องมสี ่ิงที่ช่วยในการถา่ ยเรณเู ช่น ลม สัตว์

6

2. ปัจจยั ภายนอกท่ีช่วยในการถา่ ยเรณูของพืชดอกมีอะไรบ้าง
คำตอบ.................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
3. วิธีการถา่ ยเรณูจากการอภิปรายเหมือนหรือแตกตา่ งจากข้อมลู ทีไ่ ด้จากการสืบคน้ อยา่ งไร
คำตอบ เหมือนกัน คือ ดอกของพืชแต่ละชนิดมีลักษณะรูปร่างที่แตกต่างกัน ซึ่งจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับวิธีการ
ถ่ายเรณูของพืช เช่น ดอกท่ีมกี ลน่ิ มสี สี ันสดใส จะมีสัตว์ชว่ ยในการถ่ายเรณู แตกต่างกัน คือนอกจากการมกี ลีบ
ดอกสีสันสดใสหรอื มีกลิ่นช่วยในการดงึ ดูดสัตวใ์ ห้มาช่วยถ่ายเรณูแล้ว พืชยังถ่ายเรณูโดยมตี ัวกลางอย่างอ่ืนอีก
เชน่ ลม นำ้
4. จากกิจกรรม สรุปไดว้ า่ อย่างไร
คำตอบ.................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................

การถา่ ยละอองเรณู หรือการถ่ายละอองเกสร คอื วธิ ีการท่ีละอองเกสรตวั ผู้เคล่อื นท่ีไป ตกลงบน

ยอดเกสรตัวเมีย เพอื่ ให้เกิดการผสมพันธใ์ นโอกาสต่อไป การถา่ ยละอองเกสรมี 3 แบบ คอื
1. การถา่ ยละอองเกสรในดอกเดียงกัน พืชทม่ี ีดอกเปน็ ดอกสมบรู ณเ์ พศ คอื มีเกสรตัวผู้และตัวเมีย

อย่ใู นดอกเดยี วกนั ละอองเกสรตวั ผู้สามารถรว่ งหรอื ปลวิ มาตกบนยอดเกสรตวั เมียไดพ้ ชื ท่ถี า่ ยละอองเกสรใน
ดอกเดียวกนั ได้แก่ ถว่ั มะเขอื ฝ้ายและพืชที่มดี อกสมบรู ณเ์ พศอืน่ ๆ

2. การถ่ายละอองเกสรขา้ มดอกในตน้ เดียวกัน เกิดกบั พืชทมี่ ดี อกไมส่ มบรู ณ์ ละอองเกสรตัวผูจ้ ะตอ้ ง
เคลอ่ื นที่ไปตกบนยอดเกสรตวั เมยี ของดอกหนง่ึ ในตน้ เดยี วกัน พืชท่ีต้องถ่ายละอองเกสรแบบ
น้ี ได้แก่ ฟักทอง แตงกวา และพืช ทีม่ ดี อกไมส่ มบูรณเ์ พศอน่ื ๆ

3. การถา่ ยละอองเกสรขา้ งต้น เกดิ กับพืชที่มีดอกตวั ผ้หู รอื ดอกตัวเมยี อยู่คนละตน้ จงึ ต้องใชใ้ น
การถ่ายละอองเกสรข้ามต้นพืชทีม่ ีดอกสมบูรณ์เพศ หรือพืชทีม่ ีดอกตัวผแู้ ละดอกตัวเมยี อยู่ในต้นเดียวกัน ก็
อาจจะถา่ ยละอองเกสรข้ามต้นได้ โดย อาศยั ลมหรอื สตั ว์พาไป

ขน้ั ท่ี 1 ข้ันท่ี 2 ข้ันท่ี 3

ละอองเรณูปลวิ ไปตก ละอองเรณงู อกหลอด ละอองเรณไู ปผสมกับโอวลุ
บนยอดเกสรตัวเมีย ไปตามเกสรตวั เมีย เกดิ การปฏสิ นธิ

ภาพการถ่ายละอองเรณู
ทม่ี า:http://www.thaigoodview.com/library/sema/sukhothai/chutima_n/plant/sec03p04.html

7

การปฏสิ นธิ คอื เซลลส์ บื พันธ์ุตวั ผู้ (ละอองเรณู) ผสมกับเซลล์สืบพันธุ์ตวั เมยี (ไขอ่ ่อน) เมอ่ื เกิดการถา่ ย

ละอองรณูละอองเรณตู กลงบนยอดเกสรตวั เมียและ ไดร้ ับอาหารทยี่ อดเกสรตัวเมยี งอกหลอดไปตามเกสรตวั
เมยี และเข้าไปผสม กับเซลล์ไข่ (ไขอ่ อ่ น) ภายในรังไข่
การปฏสิ นธซิ อ้ น

เม่ือละอองเรณูตกลงบนยอดเกสรเพศเมีย ทิวบ์นิวเคลียสของละอองเรณูแต่ละอันจะสร้างหลอด
ละอองเรณูด้วยการงอกหลอดลงไปตามก้านเกสรเพศเมียผ่านทางรูไมโครไพล์ของออวุล ระยะนี้เจเนอเรทิฟ
นิวเคลียสจะแบบนิวเคลียสแบบไมโทซิสได้ 2 สเปิร์มนิวเคลียส (sperm nucleus) สเปิร์มนิวเคลียสหนึ่งจะ
ผสมกับเซลล์ไข่ได้ไซโกต ส่วนอีกสเปิร์มนิวเคลียสจะเข้าผสมกับเซลล์โพลาร์นิวคลีไอได้ เอนโดสเปิร์ม
(endosperm) เรยี กการผสม 2 ครง้ั ของสเปิร์มนิวเคลียสนว้ี ่า การปฏสิ นธิซอ้ น (double fertilization)

ภาพการปฏสิ นธซิ อ้ นของพืชดอก
ทีม่ า: http://happypa.wikispaces.com/การสืบพนั ธแุ์ ละการเจรญิ เตบิ โตของพชื

การเปลี่ยนแปลงของดอกหลังการปฏิสนธิ หลังจากการปฏิสนธิยอดและก้านชูเกสรตัวเมียจะเหี่ยว

ลง กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียก็จะแห้งแล้วร่วงหลุดไป ส่วนรังไข่และโอวุลจะมีการ
เจริญเติบโตต่อไป โดยรังไข่จะเจริญกลายเป็นผล ส่วนโอวุลจะเจริญไปเป็นเมล็ด ซึ่งภายในเมล็ดจะเก็บต้น
ออ่ นและอาหารสะสมไว้ภายในเพอื่ เกดิ เปน็ ต้นใหม่ต่อไป

นักเรียนทราบหรือไม่ว่าปัจจยั ใดบ้างท่ี
สง่ ผลตอ่ การงอกของเมลด็

8

กิจกรรมท่ี 2 เมล็ดงอกไดอ้ ย่างไร
จดุ ประสงค์ :

1. สังเกต รวบรวมขอ้ มลู และระบุสว่ นประกอบและหนา้ ทีข่ องสว่ นประกอบของเมลด็ พชื
2. รวบรวมข้อมูล และระบปุ ัจจยั ในการงอกของเมล็ด
3. อภิปราย ลงมือปฏบิ ตั ิเพ่อื สงั เกตการเปล่ยี นแปลงของเมลด็ ขณะงอก
วสั ดแุ ละอุปกรณ์

รายการ ปริมาณ/กลุม่
1. เมล็ดถวั่ แดง 10 - 15 เมล็ด
2. เมลด็ ข้าวโพด 10 - 15 เมลด็
3. ใบมีดโกน เทา่ จำนวนคนในกล่มุ
4. แวน่ ขยาย
5. นำ้ 2 - 3 อนั

วิธีการทดลอง ตอนที่ 1
1. สังเกตลักษณะภายนอก และภายในของเมล็ดถั่วแดงและเมล็ดข้าวโพดโดยใช้ใบมีดโกนผ่าเมล็ดตาม
ยาวบนั ทกึ ผลโดยการวาดสว่ นประกอบของเมล็ด

2. สืบค้นข้อมูลเก่ียวกับส่วนประกอบและหน้าท่ีของแต่ละส่วนประกอบของเมล็ดถั่วแดงและเมล็ดข้าว
โพดเปรียบเทียบส่วนประกอบของเมล็ดกับภาพวาดในเพิ่มเติมหรือแก้ไขภาพท่ีวาดไวใ้ ห้ถูกต้อง และ

ระบสุ ว่ นประกอบของเมล็ด

ผลการทำกจิ กรรม ตอนท่ี 1
ตาราง ผลการสังเกตลักษณะภายนอก และภายในของเมลด็ ถั่วแดงและเมล็ดขา้ วโพด

เมลด็ พืช ลักษณะภายนอก ลกั ษณะภายใน

ถว่ั แดง

ข้าวโพด

9

ตาราง ผลการสืบค้นและรวบรวมข้อมูลเกย่ี วกับส่วนประกอบและหน้าท่ีของแต่ละส่วนประกอบของเมล็ดถ่ัว
แดงและเมล็ดขา้ วโพด

เมลด็ พืช ส่วนประกอบ หนา้ ทีข่ องส่วนประกอบ
ถัว่ แดง เปลือกหุม้ เมล็ด ห่อหุ้มสว่ นประกอบอน่ื ๆ ของเมลด็
เอม็ บริโอ
ข้าวโพด ประกอบด้วย - จะเจรญิ เติบโตตอ่ ไปเปน็ รากแก้ว
- รากแรกเกิด (radicle) - จะเจรญิ เตบิ โตเปน็ ต่อไปลำตน้
- ตน้ ออ่ น (caulicle) - เปน็ แหลง่ อาหารของต้นออ่ นในขณะงอก
- ใบเล้ียง (cotyledon) หอ่ หมุ้ ส่วนประกอบอ่นื ๆ ของเมลด็
เปลือกหมุ้ เมล็ด
เอ็มบรโิ อ - จะเจรญิ เตบิ โตตอ่ ไปเปน็ รากแก้ว
ประกอบดว้ ย - จะเจริญเติบโตตอ่ ไปเปน็ ลำต้น
- รากแรกเกิด (radicle) - สรา้ งเอนไซม์มาชว่ ยดงึ อาหารจากเอนโดสเปริ ม์ มาใช้
- ต้นออ่ น (caulicle) ขณะงอก
- ใบเล้ยี ง (cotyledon) เป็นแหลง่ อาหารของตน้ อ่อนในขณะงอก

เอนโดสเปริ ม์

คำถามท้ายกจิ กรรม ตอนท่ี 1

1. 1.เมล็ดถั่วแดงและเมลด็ ข้าวโพดมสี ว่ นประกอบเหมอื นหรือแตกต่างกัน อย่างไร
แนวคำตอบ เมล็ดถ่ัวแดงและเมล็ดข้าวโพดมีเปลือกหุ้มเมล็ด และเอม็ บริโอ เหมือนกัน แต่เมล็ดข้าว

โพดมีเอนโดสเปริ ์ม ซง่ึ เมลด็ ถั่วแดงไมม่ ี
2. สว่ นประกอบตา่ ง ๆ ของเมล็ดมีหน้าทอี่ ย่างไร

แนวคำตอบ

- เปลือกหุ้มเมล็ดเปน็ ส่วนที่อยชู่ น้ั นอกสุดทำหน้าที่หอ่ หมุ้ ส่วนประกอบอืน่ ๆ ของเมล็ด
- เอ็มบรโิ อจะประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ รากแรกเกิด จะเจรญิ เติบโตเป็นรากแก้ว ต้นออ่ น จะเจริญ

เป็นลำตน้ และ ใบเล้ียง ทำหนา้ ที่เปน็ แหล่งอาหารให้แกต่ ้นออ่ นขณะงอก
- เอนโดสเปิร์มมีหนา้ ทสี่ ะสมอาหารสำหรบั ต้นออ่ นทีก่ ำลงั งอก
3. จากกิจกรรมตอนที่ 1 สรุปไดว้ ่าอย่างไร

.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
วธิ กี ารทดลอง ตอนที่ 2

1. รวบรวมปัจจัยในการงอกของเมล็ด ออกแบบวิธีการเพาะเมลด็ และตารางบันทึกผลการเปล่ียนแปลง
ของเมล็ดแตล่ ะชนดิ กำลังงอก

10

2. เพาะเมล็ดถวั่ แดงและเมล็ดข้าวโพดตามวิธีท่ีออกแบบสงั เกตการเปลย่ี นแปลงของเมล็ดต้ังแตเ่ ร่ิมเพาะ
จนตน้ ถว่ั แดงและต้นข้าวโพดมใี บแท้แทงออกจากเมลด็ บนั ทกึ ผล

ผลการทำกิจกรรม ตอนท่ี 2
ตารางบันทึกผลเพื่อบนั ทึกการเปลยี่ นแปลงของเมล็ดถ่วั แดงในแตล่ ะวนั

วันท่ี ภาพวาด/ภาพถ่าย การเปล่ยี นแปลง

เมล็ดยังไมม่ กี ารเปลี่ยนแปลง
1

2 เมลด็ ขยายขนาดขึน้ มีรากสีขาวแทงออกจากเมล็ดแทงฝงั ลงในทราย

เมล็ดขยายขนาดขึ้น เปลอื กหุม้ เมล็ดแตก รากเจริญเติบโตยาวขึน้
3 และมีรากแขนง

รากเจริญเตบิ โตยาวขึ้น เมลด็ ดันทรายข้นึ ไปด้านบน เรมิ่ เห็นใบเล้ียงสี
4 เขียว

รากเจริญเติบโตยาวขนึ้ มาก เมล็ดโผลข่ น้ึ เหนือทราย เห็นลำต้นโค้งงอ
5 เปลอื กหุ้มเมล็ดหลุดออก ใบเลย้ี ง 2 ใบ เห็นใบแท้

ลำตน้ เจริญเตบิ โตสงู ขนึ้ และมลี ำต้นส่วนเหนอื ใบเล้ียง ใบเลยี้ งแยก
6 จากกัน 2 ใบ มีใบแท้ 2 ใบ

ลำต้นเจริญเตบิ โตสูงข้นึ ใบเลยี้ งเลก็ ลง ใบแท้ 2 ใบ กางออก เร่มิ มีใบ
7 แท้คู่ที่ 2

11

ตารางบันทกึ ผลเพื่อบนั ทกึ การเปลีย่ นแปลงของเมล็ดข้าวโพดในแต่ละวนั

วนั ที่ ภาพวาด/ภาพถ่าย การเปลีย่ นแปลง

เมลด็ ยงั ไมม่ กี ารเปลี่ยนแปลง
1

2 เมล็ดขยายขนาดขน้ึ มรี ากสีขาวแทงออกจากเมล็ดแทงฝงั ลงใน
ทราย

เมลด็ ขยายขนาดขึ้น เปลือกหมุ้ เมลด็ แตก รากเจริญเติบโตยาวขนึ้
3 และมีรากแขนง

รากเจริญเติบโตยาวขึน้ เมล็ดดนั ทรายขน้ึ ไปดา้ นบน เริ่มเห็นใบ
4 เลีย้ งสีเขียว

รากเจริญเติบโตยาวขึน้ มาก เมลด็ โผล่ขนึ้ เหนอื ทราย เหน็ ลำตน้
5 โคง้ งอ เปลือกห้มุ เมล็ดหลุดออก ใบเลีย้ ง 2 ใบ เห็นใบแท้

ลำต้นเจรญิ เตบิ โตสูงข้ึน และมลี ำตน้ สว่ นเหนอื ใบเลย้ี ง ใบเล้ยี ง
6 แยกจากกนั 2 ใบ มีใบแท้ 2 ใบ

ลำตน้ เจรญิ เติบโตสูงข้นึ ใบเล้ยี งเล็กลง ใบแท้2 ใบ กางออก เรมิ่
7 มีใบแท้คทู่ ่ี 2

12

คำถามท้ายกิจกรรม ตอนที่ 2
1.ปัจจยั ในการงอกของเมลด็ มีอะไรบา้ ง และปจั จัยเหล่าน้ันมีส่วนชว่ ยในการงอก อยา่ งไร

แนวคำตอบ ปจั จัยในการงอกของเมล็ด ไดแ้ ก่
- น้ำหรอื ความชน้ื ช่วยให้เมล็ดหยุดการพักตัวและพองขยายขนาดขนึ้ เปลือกหุ้ม เมล็ดอ่อนตัวลงทำ
ใหร้ ากแรกเกิดงอกแทงออกจากเมลด็ ได้
- แกส๊ ออกซเิ จน เมลด็ ใชแ้ กส๊ ออกซิเจนในกระบวนการสร้างพลังงานในการงอก
- อณุ หภมู ิ อุณหภูมิท่ีเหมาะสมจะสง่ ผลต่อกระบวนการทำงานภายในเซลลข์ องเมลด็

2. วิธกี ารเพาะเมลด็ ของนักเรยี น จัดใหม้ ีปจั จยั ใดบ้างท่ชี ว่ ยในการงอก เพราะเหตใุ ด
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................

3. การเปล่ยี นแปลงขณะงอกของเมล็ดถว่ั แดงและเมลด็ ข้าวโพดเหมอื นหรือแตกต่างกัน อย่างไร
แนวคำตอบ การเปล่ียนแปลงขณะงอกของเมล็ดถั่วแดงและเมล็ดข้าวโพดแตกต่างกัน โดยขณะที่

เมลด็ ข้าวโพดงอก รากแรกเกิดแทงออกจากเมลด็ ในเวลาไล่เลยี่ กันกับต้นอ่อน เมื่อใบแท้ใบแรกเจริญโผล่ขึน้ พ้น
ดิน เมล็ดจะเห่ียวและลีบไป สว่ นการงอกของเมลด็ ถั่วแดงรากแรกเกิดจะงอกออกจากเมลด็ กอ่ นจากน้นั ตน้ อ่อน
จะเจริญเติบโตและโผลอ่ อกจากเมล็ด ต้นอ่อนจะงอตัวดงึ ใบเล้ยี งและยอดออ่ นออกจากเปลือกหุม้ เมลด็ เมื่อต้น
ออ่ นส่วนใตใ้ บเลี้ยงต้ังตรง ต้นอ่อนเหนือใบเลี้ยงยดื ตัว ใบเลย้ี งจะกางออกทำใหเ้ หน็ ใบแทแ้ ละยอดออ่ น

4. จากกิจกรรมตอนท่ี 2 สรุปไดว้ า่ อย่างไร
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................

5. จากกิจกรรมท้งั 2 ตอน สรุปได้ว่าอย่างไร
แนวคำตอบ เมล็ดจะงอกได้ต้องอยู่ในสภาพที่มีน้ำหรือความชื้น มีแก๊สออกซิเจน และมีอุณหภูมิท่ี

เหมาะสม ในขณะงอกเมล็ดจะมกี ารเปล่ยี นแปลง ซ่ึงเมล็ดพืชทมี่ ีสว่ นประกอบแตกต่างกนั เมอ่ื มีการงอกกจ็ ะมี
การเปล่ียนแปลงทแ่ี ตกตา่ งกัน

ร่วม กนั คดิ 1

จากรูปโครงสรา้ งของเมลด็ เขียนชอื่ และหนา้ ทขี่ องสว่ นประกอบลกั ษณะภายนอก และภายในของเมลด็ ถ่วั
แดงและเมล็ดขา้ วโพด

เมลด็ ถวั่ แดง
ลักษณะภายนอก

13

ลกั ษณะภายใน

เมลด็ ข้าวโพด
ลักษณะภายนอก

ลกั ษณะภายใน

โครงสรา้ งของเมลด็

เมล็ดมสี ว่ นประกอบดงั นี้
1. เปลือกหุ้มเมล็ด เป็นส่วนท่ีอยู่นอกสุดทำหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่เมล็ด ที่ด้านเว้าของเมล็ดจะมีรอย
แผลเป็น ซ่ึงเป็นส่วนที่เคยติดกับรังไข่ และมีรูไมโครไพล์อยู่บริเวณน้ี ซึ่งรากแรกเกิดจะงอกออกทางรูไมโคร
ไพล์นี้

14

2. เนื้อเมลด็ เปน็ สว่ นท่ีสะสมอาหารไว้เล้ยี งต้นอ่อน

พชื ใบเล้ยี งคู่ เนือ้ เมลด็ คอื ใบเลีย้ ง เช่น พืชตระกลู ถวั่
พชื ใบเลี้ยงเดยี่ ว เนือ้ เมล็ดคอื เอนโดสเปิร์ม เชน่ ข้าวโพด ขา้ ว มะพรา้ ว

3. ต้นออ่ น ประกอบดว้ ย
1) ยอดแรกเกดิ จะเจรญิ ไปเป็นใบ

2) ใบเล้ียง ทำหน้าที่สะสมอาหาร ถ้าใบเลี้ยงคู่จะมีใบหนาเพราะมีอาหารสะสมแต่ใบเล้ียงเดี่ยวจะมีใบบาง
เพราะไมม่ อี าหารจะสะสม แตอ่ าหารสะสม ของใบเล้ียงเดีย่ วจะพบในเอนโดสเปริ ์มที่อยใู่ นเมล็ด
3) สว่ นของต้นอ่อนทอ่ี ยเู่ หนอื ใบเล้ียง จะเจริญเป็นลำต้นสว่ นบน ใบ และ ดอก

4) สว่ นของต้นออ่ นท่ีอย่ใู ต้ใบเลยี้ ง จะเจรญิ เปน็ ลำต้นสว่ นกลาง
5) รากแรกเกดิ จะเป็นส่วนแรกท่ีงอกผา่ นเมล็ดออกทางรไู มโครไพล์ออกมา กอ่ นแลว้ เจริญไปเป็นรากแก้ว

รูปแสดงเมลด็ ถั่วผา่ ซีก รปู แสดงเมล็ดขา้ วโพด

ลักษณะการงอกของเมล็ด
1. การงอกท่ีชูใบเล้ียงข้ึนมาเหนือดิน (Epigeal germination)รากอ่อนงอกโผล่พ้นเมล็ดออกทางรูไมโคร

โพล(์ micropyle) เจริญสู่พ้ืนดินจากน้ัน ไฮโปคอติล(hypocotyl) จะงอกและเจริญยึดยาวตามอย่างรวดเร็ว ดึง
สว่ นของใบเลี้ยง (cotyldon) กับ เอปคิ อติล(epicotyl) ขึ้นมาเหนือดนิ เช่น การงอกของพืชในเลีย้ งคู่ตา่ ง ๆ

รากแรกเกิด → ตน้ อ่อนทอ่ี ยใู่ ตใ้ บเลี้ยง → ใบเลี้ยง → ยอดแรกเกดิ

ภาพการงอกแบบEpigeal germination ของถ่วั เขยี ว

15

2. การงอกที่ฝังใบเลย้ี งไว้ใตด้ นิ (Hypogeal germination) พบใน พืชใบเลย้ี งเด่ียวพชื พวกน้ีมไี ฮโปคอตลิ
(hypocotyl) สนั้ เจรญิ ชา้ สว่ นเอปคิ อติล (epicotyl) และยอดอ่อน (plumule) เจรญิ ยดื ยาวได้อย่างรวดเรว็
เช่น เมล็ดข้าว ข้าวโพด หญ้าฯลฯ การพกั ตวั ของเมล็ด(Dormancy) หมายถึง สภาพที่เอมบรโิ อในเมลด็
สามารถคงสภาพและมีชวี ติ อยู่ไดโ้ ดยไม่เกดิ การงอก

รากแรกเกิด → ต้นออ่ นทีอ่ ยเู่ หนอื ใบเลี้ยง → ยอดแรกเกดิ

ภาพการงอกแบบ Hypogeal germination ของเมลด็ ข้าวโพด

การสืบพนั ธุแ์ บบไมอ่ าศยั เพศ

1. การปักชำ เปน็ การขยายพันธุ์พืชโดยการตัดส่วนของพืชออกจากต้นเดิมมาปักลงในดินหรอื ทราย ทมี ี
ความช้นื สมควร แล้วรดน้ำทกุ วนั จนเกิดรากแตก ออกมาปริมาณมากและแข็งแรงจึงนำไปปลูกลง
ในดิน

2. การตอนก่ิง คือ การทำให้ก่ิงหรือต้นพืชเกิดรากขณะติดอยู่กับต้นแม่ จะทำให้ได้ต้นพืชใหม่ ที่มี
ลกั ษณะทางสายพันธุ์ เหมือนกับตน้ แม่

3. การทาบก่ิง คือ การนำต้นพืช 2 ต้นเป็นต้นเดียวกัน โดยส่วนของต้นตอท่ีนำมาทาบก่ิง จะทำหน้าท่ี
เปน็ ระบบรากอาหารใหก้ ับตน้ พนั ธุ์ดี

4. การติดตา คือ การเชื่อมประสานส่วนของต้นพชื เข้าด้วยกนั เพอ่ื ให้เจรญิ เป็นพืชต้น เดียวกัน โดยการ
นำแผ่นตาจากกิง่ พนั ธ์ุดี ไปตดิ บนต้นตอ

5. การเสียบยอด การเช่ือมประสานเนื้อเย่ือของต้นพืช 2 ต้นเข้าด้วยกัน เพ่ือให้เจริญเติบโต เป็นต้น

เดียวกัน

เทคโนโลยีชีวภาพที่เกีย่ วข้องกับพชื

1.การขยายพนั ธ์ุและการปรบั ปรุงพันธุพ์ ชื
เทคโนโลยีการปรับปรงุ พันธ์ุพืช หมายถึง การเปลี่ยนแปลงหรอื ปรับปรุงพันธุกรรมของพืช เพื่อให้ได้

พนั ธใุ์ หม่ที่ดีกว่าเดิมในแง่ของผลผลิต ความตา้ นทานโรคและแมลง อายุเก็บเกย่ี ว การเจริญเติบโต รูปทรงของ
ตน้ ซงึ่ อาจทำได้หลายวธิ คี ือ

1.1 การผสมพนั ธ์ุและการคัดเลือกพันธ์ุ เป็นการผสมเกสรให้พชื แทนการปล่อยให้พืช ผสมเกสรเอง
ตามธรรมชาติ โดยคัดเลือกพันธ์ุพืชท่ีต้องการ แล้วนำเกสรตัวผู้และตัวเมียมาผสมกันเพ่ือให้ได้ลักษณะของ
ลูกผสมทด่ี ขี ึน้

16

1.2 การเพาะเล้ียงเนื้อเย่ือ เป็นวิธีการคัดเลือกพันธุ์วิธีหน่ึงที่นิยมใช้กับพืชท่ีมีปัญหาเร่ืองการ
ขยายพนั ธุ์หรอื พืชที่มีปัญหาเรอ่ื งโรคท่ีตดิ มากบั ก่ิงพันธ์ุ เชน่ กล้วยไม้ ขิง แครอท หลวิ มันฝร่ัง ขา้ ว มะพรา้ ว ถั่ว
มะเขือเทศ มะม่วง เป็นต้น จุดประสงค์หลักของการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือ คือ เพื่อให้ได้พืชที่มีความทนทานต่อ
สภาพแวดล้อมท่ีกำหนด และพฒั นาลกั ษณะพนั ธใ์ุ ห้ดขี น้ึ เช่น มภี ูมิคุม้ กนั โรค

การนำส่วนใดส่วนหน่ึงของพืชมาเลย้ี งในอาหารวทิ ยาศาสตรท์ ่ี
ปลอดเชอ้ื จุลนิ ทรีย์ และอยใู่ นสภาวะทเี่ หมาะสม

ข้นั ตอนการเพาะเลยี้ งเน้อื เย่ือพชื
1) นำชิ้นสว่ นพืชทตี่ อ้ งการมาลา้ งนำ้ ใหส้ ะอาด
2) ตกแต่งช้ินสว่ นพชื ตดั สว่ นทีไ่ ม่ต้องการออก
3) นำชิ้นสว่ นพชื จ่มุ ในแอลกอฮอล์ 95 % เพ่อื ลดแรงตงึ ผวิ บรเิ วณนอกช้ินส่วนพชื
4) นำชิน้ ส่วนพืชมาเขย่าในสารฆ่าเชอื้ จุลนิ ทรีย์ท่ีเตรียมไวน้ าน 10 – 15 นาที
5) ใชป้ ากคบี คีบช้ินส่วนพชื ล้างในน้ำกลัน่ ที่นง่ึ ฆา่ เช้ือ 3 คร้งั
6) ตดั ช้นิ สว่ นพืชตามขนาดทต่ี ้องการแลว้ วางบนอาหารสังเคราะห์
7) ลงรายละเอยี ด เช่น ชนดิ พชื วนั เดือนปี หรอื รหสั ในการทำการฆ่าเชื้อท่ีตดิ มากับผิวพืช

และการนำไปเลย้ี งบนอาหารทำในตถู้ ่ายเนือ้ เย่ือ โดยตลอด

ภาพแสดงข้นั ตอนการเพาะเลย้ี งเน้ือเย่ือพชื

1.3 พันธวุ ศิ วกรรม กระบวนการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรมด้วยการตัดต่อยนี และ เปล่ยี นยนี ใน
เซลล์ เพ่อื ให้ได้สิ่งมชี ีวิตใหม่ท่มี ีสมบตั ติ ามที่ต้องการ

ข้อดขี องพนั ธุวิศวกรรม
ใช้เวลานอ้ ยกว่าวธิ กี ารปรับปรงุ พนั ธตุ์ ามธรรมชาติหรอื วธิ กี ารดั้งเดมิ ผลิตผลท่ีไดจ้ ะมคี ุณสมบัติตรง
ตามความตอ้ งการมากกว่า เนือ่ งจากใช้ยีนทม่ี ีคุณสมบัตทิ ่ีตอ้ งการโดยตรงไม่มีขอ้ จำกัดของแหลง่ ยีนทจ่ี ะนำมา
ตัดตอ่ อาจเปน็ ยนี ทไี่ ด้มาจากการสงั เคราะห์ข้ึนหรอื อาจไม่เกยี่ วขอ้ งกบั สายพันธเุ์ ดิมเลยก็ได้

มารูจ้ ักGMOs กนั เถอะ

GMO ยอ่ มาจาก Genetically Modified Organis (หากมีs ขา้ งท้ายแสดงว่ามีหลายชนิด)
คือส่ิงมชี วี ติ ท่ีไดม้ ีการเปลยี่ นแปลงสารพนั ธกุ รรม โดยอาศยั เทคนิค ทางพนั ธวุ ิศวกรรม

17

2. การเพิ่มผลผลิตของพชื
2.1 การรกั ษาสภาพของดนิ ใหค้ งสภาพทด่ี อี ย่เู สมอ
2.1.1 การปลูกพืชหมนุ เวยี นการปลกู พืชหมนุ เวียน คือ การปลูกพชื ตา่ งชนิดกนั บนพ้นื ท่ี

เดยี วกนั หมนุ เวยี นไป เพื่อให้ดนิ มคี วามอุดมสมบูรณ์ ลดการระบาดของศัตรพู ืชและช่วยใหไ้ ด้ผลผลิตมากขนึ้
2.1.2 การปลกู พืชแซมการปลกู พชื แซม คือ การปลูกพชื ทีม่ รี ากตื้นสลับกบั พืชทมี่ รี ากหยั่งลกึ

ลงบนพืน้ ที่ปลูก พืชแซมนม้ี กั มีขนาดเล็กโดยปลกู แซมอยู่ระหวา่ งแถว เชน่ ปลกู สับปะรดแซมอยู่ระหว่างแถว
ของยางพารารกั ษาความช่มุ ช้ืนและบรรเทาความร้อนในดนิ

2.1.3 การปลูกพชื ตามแนวระดบั หรือแบบขั้นบนั ได การปลูกพืชตามแนวระดบั หรอื แบบ
ขั้นบันได คือ การปลกู พชื ในลักษณะน้ีเป็นการปลูกพืชในลกั ษณะขวางความลาดเอียงของพืน้ ที่ ทำใหช้ ่วย
ป้องกนั การกดั เซาะพงั ทลายของดิน

ร่วม กนั คดิ 2

1. การเพาะเมล็ด เหมือนหรอื แตกต่างจากการขยายพนั ธุ์วิธอี ื่น ๆ อย่างไร
แนวคำตอบ การเพาะเมล็ดเป็นการขยายพันธ์ุพืชท่ีเกี่ยวกับการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช ส่วน

วิธีการอ่ืน ๆ เชน่ การติดตา ตอนกิง่ เพาะเลี้ยงเนือ้ เยอ่ื เปน็ การนำความรเู้ ร่อื งการสบื พันธ์ุแบบไมอ่ าศยั เพศของ
พืชมาใช้

2. การปักชำและการตอนก่ิง แตกต่างจากการทาบก่งิ การตอ่ กิ่ง และการตดิ ตาอยา่ งไร
แนวคำตอบ การปักชำและการตอนก่ิงเป็นการทำให้เนื้อเย่ือลำเลียงของกิ่งขาดออกจากกันแล้ว

เนือ้ เยื่อส่วนนั้นจะสรา้ งรากขึ้นมาใหม่ ทำใหไ้ ดพ้ ืชตน้ ใหมเ่ พมิ่ ขึน้ จากเดิม ซ่ึงแตกต่างจากการทาบก่งิ การตอ่ ก่ิง
และการตดิ ตา ทเ่ี ปน็ การทำใหเ้ นอ้ื เยอ่ื ของพืชต้นตอและกง่ิ ทาบ ตา หรือยอดทน่ี ำมาเสียบประสานติดกนั ซึ่งทำ
ให้พืชท่ีต้องการเพ่ิมจำนวนเจริญเติบโตอยู่บนพืชต้นอื่น สำหรับการทาบกิ่งเมื่อเนื้อเยื่อส่วนที่ทาบประสาน
ตดิ กนั ดแี ลว้ สามารถตัดกิ่งใต้รอยทาบมาปลกู ได้

3. เพราะเหตุใด จึงนิยมขยายพนั ธสุ์ บั ปะรดโดยการปักชำหนอ่ หรอื จุก
แนวคำตอบ เพราะสับปะรดเป็นพืชทม่ี เี มลด็ น้อย เมลด็ งอกยาก และเจรญิ เตบิ โตจากเมลด็ ช้าจึงไม่

เหมาะสำหรบั การเพาะเมล็ด และเปน็ พืชท่ีเนื้อไม้อ่อน มีใบซ้อนกันแน่นอยบู่ นลำตน้ ยากตอ่ การขยายพันธโ์ุ ดย
การตดิ ตา ต่อกง่ิ ทาบก่ิง ตอนก่ิง ซ่ึงจากลักษณะของต้นสับปะรดจะเหน็ ว่าหนอ่ หรือจุกนน้ั เป็นสว่ นของตาท่ี
สามารถแตกเปน็ ต้นใหมไ่ ด้ การนำหน่อหรือจกุ มาปกั ชำทำให้ไดต้ น้ ใหมท่ เ่ี จรญิ เตบิ โตไดเ้ รว็ และเปน็ วธิ ีทม่ี ี
ประสิทธิภาพ ทำไดง้ ่ายและต้นทไ่ี ดจ้ ะไมก่ ลายพันธุ์

4. เพราะเหตุใดการเพาะเล้ยี งเนอ้ื เยอ่ื จึงได้รบั ความนยิ มเพ่มิ มากขึ้นเรือ่ ย ๆ
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................

18

5. จงเขยี นผงั มโนทศั น์ การสรปุ องคค์ วามร้ใู นบทเรยี นการสบื พนั ธุแ์ ละการขยายพันธขุ์ องพชื ดอก

แบบฝึ กหดั ท้ายบทเรยี น

1. พืชดอกมีการสืบพนั ธุ์แบบใดบ้าง แต่ละแบบมีวิธอี ย่างไร
แนวคำตอบ พชื ดอกทุกชนดิ มกี ารสบื พันธ์แุ บบอาศัยเพศ และบางชนิดพบวา่ มกี ารสบื พันธุ์แบบไม่

อาศัยเพศได้ด้วย การสบื พันธุแ์ บบอาศยั เพศเกิดขน้ึ ท่ีดอก มีการปฏสิ นธิของเซลล์สืบพันธเ์ุ พศผแู้ ละเซลล์
สืบพันธุเ์ พศเมีย สว่ นการสบื พนั ธแ์ุ บบไม่อาศัยเพศไมม่ กี ารปฏิสนธิ โดยพชื ตน้ ใหมจ่ ะเกดิ จากการพฒั นาและ
เจรญิ เติบโตของเนอื้ เยือ่ จากส่วนตา่ ง ๆ ของพชื ต้นเดมิ
2. การขยายพนั ธุพ์ ืชมีวธิ กี าร และประโยชน์อยา่ งไร

แนวคำตอบ การขยายพันธุ์พชื มหี ลายวิธี เช่น เพาะเมลด็ ปักชำ ตดิ ตา ตอนก่ิง ต่อก่งิ ทาบกง่ิ
เพาะเล้ยี งเน้อื เยอื่ ซ่ึงแต่ละวิธีมีวิธกี ารท่ีแตกตา่ งกนั การขยายพนั ธ์ุพชื มีประโยชนใ์ นการเพ่มิ จำนวนพชื ให้ได้
ลกั ษณะและจำนวนท่ตี อ้ งการ
3. เพราะเหตุใด เกษตรกรบางพ้นื ที่จึงเล้ียงผ้ึงไวใ้ นสวนผลไม้
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
4. การฉดี สารกำจัดศัตรูพืชในพน้ื ทีก่ ารเกษตรส่งผลกระทบตอ่ การสบื พนั ธุ์ของพืชดอกหรือไม่ อย่างไร

แนวคำตอบ ส่งผลกระทบตอ่ การสบื พันธข์ุ องพืชดอก เนือ่ งจากสารกำจดั ศัตรพู ืชสามารถทำลายแมลง
ที่เป็นพาหะของการถ่ายเรณดู ้วย จึงทำให้ทำให้พชื มีโอกาสในการถา่ ยเรณูและการปฏสิ นธิน้อยลง ส่งผลให้
ผลผลติ นอ้ ยลงไปดว้ ย

19

5.หลอดเรณูมีความสำคัญอยา่ งไร
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
6. ไซโกตและเอ็มบรโิ อเกดิ ไดอ้ ยา่ งไร และเจริญอยใู่ นสว่ นใด ตามลำดับ
.............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
7.ดอก ผล และเมล็ดของพชื เกี่ยวขอ้ งกันหรือไม่ อย่างไร

แนวคำตอบ ดอก ผล และเมล็ดของพืชมีความเก่ียวข้องกัน เพราะดอกมสี ่วนประกอบท่ที ำหนา้ ท่ี
สรา้ งเซลล์สืบพนั ธุ ์ของพืช หลังจากเกดิ การปฏิสนธขิ ้ึนในดอก รังไข่จะพฒั นาไปเป็นผล และออวลุ ในรังไข่จะ
พฒั นาไปเปน็ เมล็ด จึงสงั เกตไดว้ า่ บางส่วนของดอกของพชื จะกลายเปน็ สว่ นของผล

2. การสงั เคราะห์ด้วยแสง

หลงั จากงอกออกจากเมลด็
แลว้ พชื ใช้อาหารจากแหล่งใด
ในการเจรญิ เตบิ โต

ทบทวนความรู้ก่อนเรยี น 2

เขยี นเครอ่ื งหมาย  หนา้ คำตอบท่ีถกู ต้อง

พืชต้องการนำ้ อากาศ และแสงในการดำรงชวี ิตและการเจริญเตบิ โต
รากมหี นา้ ทีด่ ูดอาหารจากดินแลว้ ส่งไปยังส่วนต่าง ๆ ของพชื
ใบมหี น้าทสี่ ร้างอาหาร
คลอโรฟิลล์เป็นออรแ์ กเนลล์ท่มี ีหน้าท่ีสร้างอาหารของพืช
แป้งเป็นอาหารสะสมทพ่ี ืชสรา้ งข้นึ
การทดสอบแปง้ สามารถทำไดโ้ ดยใช้สารละลายไอโอดนี

20

กิจกรรมท่ี 3 ปจั จัยในการสรา้ งอาหารของพชื มีอะไรบ้าง

จุดประสงค์ : ทดลอง สังเกต และระบุปจั จัยในการสรา้ งอาหารของพืช

อปุ กรณ์

รายการ ปรมิ าณ/กลุม่

1. ต้นผักบงุ้ 1 กระถาง

2. ใบชบาด่าง 1 ใบ

3. ชุดตะเกยี งแอลกอฮอล์ 1 ชุด

4. หลอดหยด 1 อัน

5. บีกเกอรข์ นาด 250 cm3 1 ใบ

6. หลอดทดลองขนาดใหญ่ 1 หลอด

7. ทจ่ี บั หลอดทดลอง 1 อัน

8. ทว่ี างหลอดทดลอง 1 อัน

9. ปากคีบ 1 อัน

10. จานเพาะเชื้อ 1 ใบ

11. กระดาษทึบแสงสีดำ (ขนาดขน้ึ อย่กู ับขนาดใบผกั บุง้ ) 1 แผ่น

12. กระปอ๋ งทราย 1 ใบ

13. ไม้ขดี ไฟ 1 กลัก

14. สารละลายไอโอดีน -

15. เอทานอล ประมาณ 20 cm3

16. นำ้ เปลา่ -

วธิ กี ารทดลอง ตอนที่ 1
1. เพาะเมลด็ ผักบ้งุ ในกระถาง ให้ผักบุ้งสูงประมาณ 20 cm จากนน้ั นำต้นผกั บงุ้ ไปไว้ ในท่มี ืดกอ่ น 2 วนั
2. นำกระดาษทบึ แสงสดี ำมาหมุ้ ใบผักบุ้งท้ังใบ จำนวน 1 ใบ
3. นำกระถางต้นผกั บงุ้ ไปวางกลางแดด 3 ชวั่ โมง

ภาพใบที่หุ้มด้วยกระดาษทึบแสงสีดำ

4. เดด็ ใบผักบุ้งทีไ่ มไ่ ด้หมุ้ ด้วยกระดาษทบึ แสงสีดำมา 1 ใบ และใบที่หมุ้ ด้วยกระดาษทึบแสงสีดำมา 1 ใบ
ทำเครื่องหมายแสดงความแตกต่างใบพืชแต่ละใบ สงั เกตลกั ษณะใบผกั บ้งุ ทั้ง 2 ใบ
5. ทดสอบการสงั เคราะห์ด้วยแสงของใบผักบ้งุ ตามข้ันตอนตอ่ ไปน้ี

21

5.1 ใส่น้ำ 150 ลูกบาศก์เซนติเมตรในบีกเกอรต์ ้มจนเดอื ดใส่ใบผักบุ้งลงไปต้ม ต่อไปประมาณ 1 นาที

ในบกี เกอร์จนเดือด ใส่ใบผักบุ้งลงไปต้ม ต่อไปประมาณ 1 นาที
5.2 คีบผักบุ้งข้ึนจากน้ำเดือดใส่ลงในหลอดทดลองขนาดใหญ่ใบละ 1 หลอดเติมแอลกอฮอล์ลงไปพอ

ทว่ มใบแช่หลอดทดลองในบีกเกอร์ท่มี ีน้ำต้มอยู่ต้มตอ่ ไปอีกประมาณ 2 นาทีจนกระท่ังสีใบซีดสังเกตสีของ
แอลกอฮอลใ์ นหลอดทดลองหยบิ ใบผักบงุ้ จากหลอดทดลองจุม่ ลงในนำ้ เย็น

5.3 แบใบผักบุ้งบนกระจกนาฬิกาแล้วหยดสารละลายไอโอดีนบนใบผักบุ้งแต่ละใบเพื่อทดสอบแป้ง
สงั เกตและบันทึกผล
ผลการทำกจิ กรรม ตอนท่ี 1

ใบผกั บุง้ ทห่ี มุ้ ดว้ ยกระดาษทึบแสง ใบผักบุง้ ที่ไม่ไดห้ มุ้ ด้วยกระดาษทบึ แสง

ผลการทดสอบด้วยสารละลายไอโอดีน

คำถามท้ายกิจกรรม ตอนที่ 1

1. การเปลย่ี นแปลงของสีสารละลายไอโอดีนบนใบผกั บงุ้ ท้งั 2 ใบ เหมือนหรอื แตกตา่ งกนั อยา่ งไร

แนวคำตอบ เมื่อหยดสารละลายไอโอดีนบนใบผักบุ้งท่ีไม่ได้หุ้มด้วยกระดาษทึบแสงสีดำ สีของ

สารละลายไอโอดีนเปล่ียนจากสนี ้ำตาลเปน็ สนี ้ำเงนิ เขม้ ถงึ สีดำ ส่วนใบผักบุ้งท่ีหมุ้ ด้วยกระดาษทึบแสง

สีดำ สขี องสารละลายไอโอดนี ไมม่ กี ารเปลยี่ นแปลง

2. การทดลองนีใ้ บผกั บุ้งใบใดทมี่ แี ปง้ และใบใดไมม่ แี ป้ง ทราบไดอ้ ย่างไร และเหตุใดจึงเป็นเช่นนน้ั

แนวคำตอบ ใบผักบุ้งท่ีไม่ได้หุ้มด้วยกระดาษทึบแสงมีแป้ง ทราบได้จากการเปล่ียนสีของสารละลาย

ไอโอดีนเมื่อหยดลงบนใบ ส่วนใบผักบุ้งท่ีหุ้มด้วยกระดาษทึบแสงสีดำไม่มีแป้งเพราะสีของสารลาย

ไอโอดีนบนใบไม่เกิดการเปล่ียนแปลง เหตุท่ีเป็นเช่นน้ีเพราะว่าแสงเป็นสิ่งที่ทำให้ใบพืชสังเคราะห์

นำ้ ตาลขึ้น จากนัน้ น้ำตาลจะเปลี่ยนไปเปน็ แปง้ เม่อื ไม่ไดร้ ับแสงจึงไมม่ ีการสร้างน้ำตาล

3. เพราะเหตุใด ต้องนำต้นผกั บงุ้ ไปไวใ้ นที่มืดก่อน 2 วนั

…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………

………………………………………………………………………………………………………………………………………….……

4. เพราะเหตุใดจงึ ตอ้ งนำต้นผักบงุ้ ไปวางกลางแดด

…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………

5. จากกิจกรรมตอนที่1 สรุปได้วา่ อย่างไร

…………………………………………………………………………………………….…………………………………………………

6. การทดลองนี้ส่ิงใดเปน็ ตัวแปรต้น ตวั แปรตาม และตัวแปรควบคมุ

แนวคำตอบ ตัวแปรต้น คอื ……………………………………………………………………………………….

ตวั แปรตาม คือ ……………………………………………………………………………………….

ตวั แปรควบคมุ คอื ขนาดและอายขุ องใบผักบ้งุ บรเิ วณทีว่ างกระถางผกั บุ้ง

22

วิธกี ารทดลอง ตอนที่ 2
1. เด็ดใบชบาดา่ งจากต้นทไ่ี ดร้ ับแสงมาแล้วประมาณ 3 ช่วั โมง สงั เกตุลกั ษณะของใบชบาดา่ ง
2. ทดสอบการสังเคราะห์ดว้ ยแสงของใบชบาดา่ งตามข้นั ตอนตอ่ ไปน้ี

2.1 ต้มใบชบาด่างลงในนำ้ เดอื ด ประมาณ 5 นาที เพื่อทำให้เซลล์ใบชบาดา่ งตาย
2.2 เม่อื ครบ 5 นาที สกัดคลอโรฟลิ ออกจากใบชบาดา่ งด้วยแอลกอฮอล์ โดยคีบใบชบาด่างขน้ึ จากนำ้

เดือดใสล่ งในหลอดทดลองขนาดใหญ่ เตมิ แอลกอฮอลล์ งไปพอท่วมใบแชห่ ลอดทดลองในบกี เกอร์ที่มีนำ้ ตม้ อยู่
ตม้ ตอ่ ไปอกี ประมาณ 2 นาทีจนกระทงั่ สใี บซีดสงั เกตสีของแอลกอฮอลใ์ นหลอดทดลองหยบิ ใบชบาดา่ งจาก
หลอดทดลองจมุ่ ลงในน้ำเย็น พับใบชบาดา่ งไปมาเพอ่ื ใหเ้ ส้นใบหกั

2.3 แบใบชบาดา่ งบนกระจกนาฬิกาแล้วหยดสารละลายไอโอดนี บนใบชบาดา่ งเพื่อทดสอบแปง้ สงั เกต
และบันทึกผล
ผลการทำกิจกรรม ตอนที่ 2

ใบชบาดา่ งกอ่ นตม้ และกอ่ นทดสอบ ใบชบาด่างหลังตม้ และทดสอบ
ด้วยสารละลายไอโอดีน ดว้ ยสารละลายไอโอดนี

คำถามท้ายกจิ กรรม ตอนท่ี 2
1. เมอ่ื หยดสารละลายไอโอดีนลงบนใบชบาดา่ ง เกิดการเปล่ียนแปลงหรือไม่อย่างไร

แนวคำตอบ เมื่อหยดสารละลายไอโอดีนลงบนใบชบาด่าง ส่วนของใบชบาด่างท่ีเคยเป็นสีเขียวจะมี
การเปลี่ยนแปลงสีของสารละลายไอโอดนี จากสนี ้ำตาลเปน็ สนี ้ำเงินเข้มถึงสีดำ และตรงส่วนท่ีเคยเปน็ สี

ขาวของใบชบาดา่ งจะเหน็ สขี องสารละลายไอโอดีนจะไม่มีการเปล่ียนแปลง
2. การเปลีย่ นแปลงทเ่ี กิดขึ้น เป็นเพราะเหตใุ ด

แนวคำตอบ เพราะใบชบาด่างส่วนที่เป็นสีเขียวนี้มีการสังเคราะห์ด้วยแสง จึงมีการสร้างน้ำตาลและ

เปลี่ยนเป็นแป้งดังน้ันเม่ือทดสอบด้วยสารละลายไอโอดีนสีของสารละลายไอโอดีนจึงเปลี่ยนเป็นสีน้ำ
เงนิ

3. จากกิจกรรมตอนท่ี 2 สรุปไดว้ ่าอยา่ งไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

4. สมมติฐานของการทดลองน้คี อื อะไร

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

5. นยิ ามเชงิ ปฏิบัติการของการทดลองคืออะไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

23

วิธีการทดลอง ตอนท่ี 3
1. นำต้นชบาไปครอบด้วยกล่องทึบแสง หรอื วางในที่มืดอย่างน้อย 48 ช่ัวโมง เพือ่ ไม่ให้มีการสังเคราะห์ด้วย

แสง เม่ือวางต้นชบาในท่ีมืดครบ 48 ชั่วโมง ลือกใบชบาท่ีมีขนาดใกล้เคียงกัน 2 ใบมาทำการทดลอง ใส่

โซดาไฟในถ้วยพลาสติก 20 กรมั นำถ้วยพลาสติกที่ใส่โซดาไฟใส่ในถุงพลาสติกใส แล้วใสใ่ บชบา 1 ใบ ใน
ถุงพลาสติกใสผูกปากถุงให้แน่น ใส่ใบชบาอีก 1 ใบ ในถุงพลาสติก เปล่าผูกปากถุงให้แน่น นำต้นชบาไป

วางไว้กลางแดดนาน 2-3 ชั่วโมง เมอ่ื ครบ 3 ชว่ั โมงเด็ดใบชบา ทั้ง 2 ใบทำเครอ่ื งหมายท่ีแตกต่าง สังเกตใบ
ชบาทงั้ 2 ใบ

ใบชบา ใบชบา
ถงุ พลาสตกิ ใส ถงุ พลาสติกใส

โซดาไฟ

ภาพแสดงการทดสอบปัจจยั จำเปน็ ต่อการสร้างอาหารของพืช

2. ทดสอบการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของใบชบาตามขนั้ ตอนดงั น้ี
2.1 ตม้ ใบชบาลงในน้ำเดือด ประมาณ 5 นาที เพ่ือทำใหเ้ ซลลใ์ บชบาตาย
2.2 เมื่อครบ 5 นาที สกัดคลอโรฟิลออกจากใบชบาด้วยแอลกอฮอล์ โดยคีบใบชบาข้ึนจากน้ำเดือดใส่

ลงในหลอดทดลองขนาดใหญ่ เตมิ แอลกอฮอลล์ งไปพอทว่ มใบแช่หลอดทดลองในบกี เกอร์ท่ีมนี ้ำตม้ อย่ตู ม้ ต่อไป
อกี ประมาณ 2 นาทีจนกระทั่งสใี บซีดสงั เกตสีของแอลกอฮอล์ในหลอดทดลองหยิบใบชบาจากหลอดทดลองจุ่ม
ลงในน้ำเยน็ พบั ใบชบาไปมาเพือ่ ใหเ้ ส้นใบหัก

2.3 แบใบชบาบนกระจกนาฬิกาแล้วหยดสารละลายไอโอดีนจนทั่วใบชบาท้ังสองใบเพื่อทดสอบแป้ง
สงั เกตและบันทึกผล

ผลการทำกิจกรรม ตอนที่ 3

สมมตฐิ านการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

นิยามเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร ………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ตัวแปรต้น ………………………………………………………………………………….....……………………………………………

ตวั แปรตาม ……………………………………………………………………………………………………..……………………………
ตวั แปรควบคุม ……………………………………………………………………………………………………..……………………………

ใบชบาทีอ่ ยู่ในถงุ พลาสติกใสท่ไี มม่ ีโซดาไฟ ใบชบาท่ีอยู่ในถงุ พลาสตกิ ใสทีม่ ีโซดาไฟ
หลงั ทดสอบด้วยสารละลายไอโอดนี หลังทดสอบด้วยสารละลายไอโอดนี

24

คำถามทา้ ยกิจกรรม ตอนที่ 3
1. การเปล่ียนแปลงของสสี ารละลายไอโอดนี บนใบชบาทง้ั 2 ใบ เหมือนหรอื แตกตา่ งกัน อย่างไร
แนวคำตอบ การเปลี่ยนแปลงของสีสารละลายไอโอดีนบนใบผักชบาทั้ง 2 ใบ แตกตา่ งกัน โดยสี
ของสารละลายไอโอดีนที่หยดลงบนใบชบาในถุงพลาสติกท่ีไม่มีซาดาไฟเปลี่ยนจากสีน้ำตาลเป็นสีน้ำ
เงินเข้ม ส่วนสสี ารละลายไอโอดนี ทีห่ ยดลงบนใบชบาท่อี ยูใ่ นถงุ พลาสติกมีโซดาไฟไม่เปลีย่ นแปลง
2. การทดลองนี้ใบชบาใบใดบ้างทีม่ แี ป้ง ใบชบาใบใดบ้างท่ไี มม่ ีแป้ง ทราบไดอ้ ยา่ งไร เหตุใดจึงเปน็ เช่นนนั้
แนวคำตอบ ใบชบาที่อยู่ในถงุ พลาสติกไม่มีซาดาไฟมีแป้งเพราะสีสารละลายไอโอดีนเปลี่ยนจาก
สีน้ำตาลเป็นสีน้ำเงินเข้ม ส่วนใบชบาที่อยู่ในถุงพลาสติกไม่มีโซดาไฟไม่มีแป้งเพราะสีสารละลาย
ไอโอดีนไม่เปล่ยี นแปลง
3. เพราะเหตใุ ดจงึ ตอ้ งใส่โซดาไฟในถุงพลาสติก
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
4. กจิ กรรมนจ้ี ัดชุดทดลองเปน็ ก่ชี ดุ อะไรบ้าง
แนวคำตอบ กิจกรรมนี้จัดชุดทดลองเป็น 2 ชุด ได้แก่ ใบชบาท่ีอยู่ในถุงพลาสติกไม่มีซาดาไฟ
และใบชบาท่ีอยู่ในถุงพลาสติกมีโซดาไฟ
5. จากกจิ กรรมตอนท่ี 3 สรุปไดว้ า่ อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
6. จากกิจกรรมทงั้ 3 ตอน สรปุ ไดว้ า่ อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

25

กิจกรรมท่ี 4 การสังเคราะห์ด้วยแสงไดผ้ ลผลิตใดอีกบ้าง

จุดประสงค์ : ทดลอง และระบผุ ลผลิตของการสังเคราะห์ด้วยแสง

วัสดอุปกรณ์

รายการ ปริมาณ/กลมุ่

1. สาหรา่ ยหางกระรอก 1 ช่อ

2. บกี เกอรข์ นาด 1000 cm3 1 ใบ

3. กรวยแก้ว 1 อัน
4. หลอดทดลอง ขนาด 10 cm3
1 หลอด

5. ชอ้ นเบอร์1 1 อัน

6. กระป๋องทราย 1 ใบ

7. ธปู 1 ก้าน

8. ไม้ขีดไฟ 1 กลกั

9. ผงฟ 1 ช้อนเบอร์ 1

10. น้ำเปลา่ -

วธิ ีการทดลอง

1. ใสต่ ้นสาหร่ายหางกระรอกไว้ในกรวยแก้ว กา้ นสั้นแล้วควำ่ ลงในอ่างแก้วหรือบีกเกอร์ขนาด 2 ลติ ร ซ่ึง

มีนำ้ และผงฟูจำนวน 1 ชอ้ นเบอร์ 1 อยู่ดว้ ยโดย ให้ปลายก้านกรวยแกว้ จมอยู่ในน้ำ

2. ใส่น้ำจนเต็มหลอดทดลองที่มีขนาดใหญ่กว่าก้านกรวยแก้วเล็กน้อยคว่ำหลอดทดลองครอบก้านกรวย

แก้วดังภาพระวังอย่าให้มีฟองอากาศเกิดข้ึนในหลอดทดลองนำอ่างน้ีไปตั้งไว้กลางแดดประมาณ 3-4

ชว่ั โมงสังเกตและบนั ทกึ ผลการเปล่ยี นแปลงทเ่ี กิดขึน้ ในหลอดทดลอง

3. ค่อยๆ ยกหลอดทดลองให้สูงขึ้นเหนือกรวยแก้วแต่ปากหลอดทดลองยังอยู่ใต้ระดับน้ำใช้นิ้วอุดปาก

หลอดทดลองไว้แล้วยกหลอดทดลองขึ้น ขณะเดียวกันรีบแหย่ธูปติดไฟแดงๆ ลงไปในหลอดทดลอง

สังเกตการเปล่ียนแปลงทีเ่ กิดข้ึน

ภาพข้นั ตอนการทดลองเรื่องผลผลติ ทเี่ กิดจากการสังเคราะหด์ ้วยแสง

กิจกรรมน้ีมกี ารใช้ไม้ขดี ไฟ และการจุดธูป ควรระวงั ไม่ให้ปลายธปู
ถูกรา่ งกาย และควรดบั ให้สนทิ ในกระป๋องทรายกอ่ นท้งิ

26

ผลการทำกจิ กรรม ผลการสังเกต
ตาราง ผลการสงั เกตการเปล่ยี นแปลงในหลอดทดลอง

ชุดการทดลอง
ชดุ การทดลองท่วี างกลางแดดจัด
ชดุ การทดลองที่วางไวใ้ นกล่องทบึ แสง

ตาราง ผลการสังเกตจากการแหย่ธูปทตี่ ิดไฟแต่ไมม่ ีเปลวไฟลงในหลอดทดลอง

ชดุ การทดลอง ผลการสงั เกต
ชดุ การทดลองท่วี างกลางแดดจัด
ชุดการทดลองทว่ี างไวใ้ นกลอ่ งทึบแสง

คำถามทา้ ยกิจกรรม
1. เพราะเหตุใดจงึ ตอ้ งใสผ่ งฟใู นบกี เกอร์

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
2. ชุดทดลองที่วางไวก้ ลางแดดจัดมีการเปลีย่ นแปลงหรือไมอ่ ยา่ งไร
แนวคำตอบ คำตอบข้ึนอยู่กับผลการทำกจิ กรรมของนักเรยี น เช่น ชดุ ทดลองทีว่ างไวก้ ลางแดดจดั เกิด
การเปลย่ี นแปลง คอื จะมีฟองแก๊สผดุ ข้ึนในหลอดทดลอง
3. ชดุ ทดลองทว่ี างไวใ้ นกลอ่ งทบึ มกี ารเปล่ียนแปลงหรือไม่อย่างไร
แนวคำตอบ คำตอบข้ึนอยู่กับผลการทำกิจกรรมของนักเรียน เช่น ชุดทดลองท่ีวางไว้ในกล่องทึบแสงไม่
เกิดฟองแก๊สในหลอดทดลอง
4. สาหรา่ ยหางกระรอกในชดุ ทดลองทไี่ ด้รับแสง มกี ารสังเคราะหด์ ้วยแสงหรอื ไมอ่ ยา่ งไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
5. สิ่งทเ่ี กิดข้ึนจากการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงในกจิ กรรมนคี้ อื อะไร ทราบได้อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
6. จากกจิ กรรม สรปุ ได้ว่าอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….……

3. การลำเลยี งน้ำ ธาตอุ าหาร และอาหารของพชื

พืชต้องการอากาศ น้ำ แสง และธาตุอาหารในการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิต พืชดูดน้ำและธาตุ
อาหารจากดนิ เข้าสู่รากและลำเลยี งผา่ นทางไซเล็มไปสู่ลำต้น ใบ และสว่ นอื่น ๆ ของพืช เพือ่ ใช้ในการสังเคราะห์

ด้วยแสงรวมถึงกระบวนการอื่น ๆ และมีโฟลเอ็มลำเลียงอาหารท่ีได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงไปสู่ส่วนต่าง ๆ
ของพืช

27

พืชใช้สงิ่ ใดบา้ งในการสังเคราะหด์ ้วยแสง และได้สิ่งเหล่านัน้ จากแหล่งใด
……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………..

พืชได้รับน้ำ ธาตุอาหารและอาหารจากการดูดน้ำและธาตุอาหารจากดิน และได้รับอาหารโดยการ
สรา้ งขึ้นเอง พืชนำน้ำจากดนิ และอาหารท่ีสร้างขึ้นท่ีใบไปยังส่วนต่างๆของพืชโดยการลำเลียงผ่านลำต้น สังเกต
ไดว้ ่าเมล็ดทเ่ี พงิ่ งอกจะมรี ากแรกเกิดงอกออกมากอ่ น และท่บี รเิ วณเหนอื ปลายรากมีขนรากจำนวนมาก

นักเรียนทราบหรอื ไมว่ า่ พืชลำเลยี งนำ้ และอาหารอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………..

3.1 ธาตุอาหารของพชื

ภาพ ดินและสว่ นประกอบของดินทีเ่ หมาะสมสำหรบั การปลูกพืช
ทม่ี า : หนังสอื แบบเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 สสวท

พืชต้องการธาตุอาหารในการเจริญเติบโตและการดำรงชีวิตเพราะธาตุอาหารเป็นองค์ประกอบของ
โครงสร้างต่างๆของพืชและยังเป็นส่วนประกอบของสารที่ทำหน้าที่ในกระบวนการสำคัญเช่นการสงั เคราะห์ด้วย
แสงและการหายใจ ในดินมีธาตุอาหารหลายชนิดท่จี ำเป็นต่อพืชแต่ดินในแต่ละพื้นที่อาจมีชนิดและปริมาณของ
ธาตอุ าหารแตกต่างกันขึ้นอย่กู ับชนิดของอนิ ทรยี ์วัตถุและอนินทรียว์ ตั ถทุ เ่ี ปน็ สว่ นประกอบของดนิ

รหู้ รือไม่ว่าธาตุอาหารชนิดใดบ้างที่มีความจำเป็นต่อพืชและถ้าดินมีธาตุอาหารไม่เพียงพอต่อความ

ตอ้ งการของพชื ควรแกไ้ ขอยา่ งไร

28

ทบทวนความรู้ก่อนเรยี น 3

เขียน O ล้อมรอบคำท่ีเปน็ สว่ นประกอบของดนิ

น้ำ ไสเ้ ดือนดิน ฮิวมสั อากาศ

เศษขยะ ทราย

ราก เน้อื เยื่อหลายชน้ั เน้ือเยื่อชั้นทอ่ี ยู่นอกสดุ เรยี กว่า เอพเิ ดอรม์ สิ (Epidermis) ซึ่งมักประกอบดว้ ย

เซลล์เพียงช้ันเดียวเอพิเดอร์มิสมีลักษณะพิเศษคือ ผิวด้านนอกท่ีสัมผัสกับดินจะยื่นออกไป เรียกว่า ขนราก
(Root hair) เพื่อเพ่มิ พื้นที่ผิวสมั ผสั ของราก ทำให้รากดดู น้ำได้มากข้นึ

ขนรากไมใ่ ช่เซลล์ เพราะ
เป็นสว่ นของผนงั เซลล์ผิวรากทย่ี ืน่ ยาวออกไป

ภาพ เมลด็ ขา้ วโพดทก่ี ำลังงอกแสดงส่วนขนราก ภาพ แสดงการเพิ่มพน้ื ท่ีผวิ ในการสมั ผัสน้ำและแรธ่ าตุ

ที่มา: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2548). ที่มา: ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ และคณะ. (2545). สื่อการเรียนรู้และ
หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พ้ืนฐาน ชีวิตกับ ส่ิงแวดล้อม สง่ิ มีชีวิตกับ เส ริ ม ส ร้ า ง ทั ก ษ ะ ต า ม ม า ต ร ฐ า น ก า ร เรี ย น รู้ ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เรี ย น รู้
วทิ ยาศาสตร์ช่วงชน้ั ท่ี 3. : 26
กระบวนการดำรงชวี ิต. : 52

กิจกรรมท่ี 3 ธาตอุ าหารสำคัญต่อพืชอยา่ งไร

จดุ ประสงค์ :

1. รวบรวมข้อมลู อธิบายความสำคัญของธาตอุ าหารของพืชท่มี ีผลต่อการเจรญิ เตบิ โตและการดำรงชีวิ

ของพืช รวมทัง้ การแก้ปญั หาการขาดธาตุอาหารของพชื

2. เสนอแนวทางการแกป้ ัญหาการขาดแคลนธาตุอาหารของพชื

แหลง่ สืบค้นขอ้ มมูล

สบื ค้นจากแหล่งเรยี นรู้ต่อไปน้ี

• หนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์ระดบั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 สสวท.

• หนงั สอื ธาตุอาหารพืช ของสำนักพิมพ์ต่าง ๆ

• หนงั สอื หรอื เอกสารท่เี กี่ยวกบั การวเิ คราะหด์ ิน การจัดการดนิ การใช้ปยุ๋ สำหรับการปลกู พืช

29

• เวบ็ ไซต์ของกรมพัฒนาท่ีดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
• แหลง่ เรยี นรูท้ างการเกษตรและการจัดการดิน เช่น กรมพฒั นาที่ดิน สถานพี ัฒนาท่ดี ินจังหวดั
วธิ กี ารทำกจิ กรรม
ให้นกั เรียนรวบรวมข้อมูล อธิบายความสำคัญของธาตุอาหารของพืชทีม่ ีผลตอ่ การเจริญเติบโตและการ
ดำรงชีวิตของพืช รวมทั้งการแก้ปัญหาการขาดธาตุอาหารของพืช พร้อมเสนอแนวทางการแก้ปัญหาการขาด
แคลนธาตุอาหารของพืช
ผลการทำกจิ กรรม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………..
คำถามทา้ ยกิจกรรม
1. จากงานวิจยั ข้าวโพดขาดธาตอุ าหารชนดิ ใดและสง่ ผลใหข้ า้ วโพดมีลกั ษณะอาการเปน็ อยา่ งไร
แนวคำตอบ จากงานวิจัย ข้าวโพดขาดธาตุไนโตรเจน ทำให้ใบเร่ิมเหลืองจากปลายใบแล้วลามเข้าไปใน
แผ่นใบคล้ายตัววีจากนน้ั ใบกลายเป็นสีน้ำตาลและเหยี่ วแห้ง สง่ ผลใหผ้ ลผลิตขา้ วโพดลดลง
2. ขา้ วโพดที่ปลกู สลับกบั ถ่วั เหลอื งให้ปริมาณผลผลิตเป็นอย่างไร เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นน้นั
แนวคำตอบ ข้าวโพดท่ีปลูกสลับกับถั่วเหลืองให้ปริมาณผลผลิตเพิ่มข้ึน เพราะดินมีปริมาณของธาตุ
ไนโตรเจนเพิม่ ขึน้ จากปมรากของถว่ั เหลือง ทำใหข้ า้ วโพดทีป่ ลกู ในปีหลงั ๆ ไม่มีอาการขาดธาตไุ นโตรเจน
ผลผลิตจึงเพิม่ ขน้ึ
3. พืชตอ้ งการธาตอุ าหารชนิดใดในปริมาณมาก และถ้าขาดธาตอุ าหารเหล่านั้นจะมผี ลอยา่ งไรต่อพืช
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………..
4. ถ้าพืชขาดธาตุโพแทสเซยี มจะมแี นวทางในการแก้ไขอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………..
5. จากกิจกรรมสรุปได้ว่าอยา่ งไร
แนวคำตอบ ในดินมีธาตุอาหารท่ีพชื ใชใ้ นการเจริญเติบโต และดำรงชวี ิต ธาตุอาหารท่ีจำเป็นต่อพืชมี 17
ชนิด ถ้าพืชขาดธาตุอาหาร พืชจะแสดงอาการผิดปกตกิ ารหาสาเหตุเพื่อแก้ปัญหาการขาดธาตุอาหารของพืช
ตอ้ งสงั เกตลักษณะอาการ ร่วมกับการวเิ คราะหด์ ิน เพอ่ื หาชนิดและปริมาณของธาตุอาหารท่ีขาดไปในดนิ หรือ

30

มีธาตุอาหารแต่อยู่ในรูปท่ีพืชนำมาใช้ไม่ได้เพ่ือประเมินระดับความขาดแคลนธาตุอาหารถ้าพบว่าดนิ ขาดธาตุ
อาหารตอ้ งทำการเพิ่มธาตอุ าหารของพืชในดนิ โดยการใส่ปยุ๋ ท่ีเหมาะสมกบั ความตอ้ งการของพชื

3.2 การลำเลยี งในพชื

ภาพ ภาพรากสะสมอาหารและลำตน้ มนั สำปะหลัง
ทม่ี า : หนงั สือแบบเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 สสวท

มันสำปะหลงั เป็นพืชที่มีการสะสมแป้งไว้ท่ีรากมนุษย์สามารถนำมันสำปะหลังมาใช้ประโยชน์ได้อย่าง
หลากหลายท้ังใชส้ ำหรับการบริโภคและในอุตสาหกรรมแป้งที่เก็บสะสมไว้ที่รากนเี้ ปลี่ยนแปลงมาจากนำ้ ตาลซ่ึง
เป็นผลผลิตแรกของการสงั เคราะหด์ ้วยแสงซง่ึ เกิดที่บริเวณใดของมันสำปะหลัง

เคยสงสยั หรอื ไม่วา่ มันสำปะหลังมีการสงั เคราะห์ด้วยแสงที่ใบแตส่ ่งน้ำตาลไปเกบ็ ไว้ทีร่ ากได้อย่างไร

ทบทวนความรู้ก่อนเรยี น 3

1. เขียนเครอ่ื งหมาย  หนา้ ขอ้ ความที่กลา่ วถูกตอ้ ง
สารจะแพรจ่ ากบริเวณท่มี ีความเข้มข้นของสารมากไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารน้อยกว่า
การแพร่เข้าและออกจากเซลล์ของสารเป็นการแพร่ผา่ นเย่ือเลอื กผา่ น
ออสโมซิสเป็นการเคลื่อนท่ขี องน้ำจากบริเวณท่ีมคี วามเขม้ ข้นของสารละลายมากไปยงั บรเิ วณที่มี
ความเขม้ ขน้ ของสารละลายนอ้ ย

2. จากภาพ เขียน O ล้อมรอบส่วนที่สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงไดข้ องพืช

31

พืชได้รับน้ำ และธาตุอาหารจากดิน พืชสามารถสร้างอาหารได้เองโดย

กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงซึ่งเกิดขึ้นท่ี โครงสร้างที่มีคลอโรฟิลล์ของพืช
ส่วนพืชจะลำเลยี งสารเหลา่ น้ไี ปยังส่วนตา่ ง ๆ ของพืชไดอ้ ย่างไร

กิจกรรมท่ี 4 พชื ลำเลยี งน้ำและธาตุอาหารอย่างไร

จุดประสงค์ : สงั เกตรวบรวมขอ้ มูลเขยี นแผนภาพทศิ ทางการเคลื่อนท่ขี องน้ำ และบรรยายลักษณะและหน้าท่ี

ของเนื้อเยอื่ ท่อลำเลยี งน้ำ

อปุ กรณ์

รายการ ปรมิ าณ/กล่มุ

1. ต้นเทยี น 1 ต้น

2. แว่นขยาย 2-3 อัน

3. บีกเกอรข์ นาด 250 cm3 1 ใบ

4. สไลด์ 5-6 แผ่น

5. กระจกปดิ สไลด์ 5-6 แผน่

6. กลอ้ งจุลทรรศน์ 1 กล้อง

7. ใบมีดโกน 2 ใบ

8. นำ้ สีแดง ประมาณ 150 cm3
10 cm3
9. สารละลายซาฟรานิน

วิธีการทดลอง
1. สงั เกตลักษณะภายนอกของราก ลำต้นและใบของพืชท่ีศกึ ษาดว้ ยแว่นขยาย

2. นำต้นพืชมาล้างรากและวางผ่ึงลมไว้ ประมาณ 2 ชั่วโมง แล้วแช่รากในน้ำสีแดง สังเกตทิศทางในการ
เคลอ่ื นที่ของน้ำสีแดงในตน้ เทยี นเปน็ เวลา 1 ชว่ั โมง

3. เม่ือครบ 1 ช่ัวโมง ตัดลำต้นของพืชท่ีศึกษาที่ผ่านการแช่น้ำสีตามขวางและตามยาวบางๆ แช่เนื้อเยื่อใน

น้ำเปลา่ จากนั้นย้ายไปแชใ่ นสารละลายซาฟรานนิ เป็นเวลา 10 วินาที
4. นำเน้ือเยอ่ื ไปวางบนหยดน้ำบนสไลด์ ปิดด้วยกระจกปิดสไลด์ แลว้ สงั เกตดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์ บนั ทกึ ผลโดย

การวาดภาพหรอื ถ่ายรปู
ผลการทำกจิ กรรม

ลักษณะของต้นเทยี นก่อนแช่น้ำสีแดง

32

ตาราง ผลการสงั เกตรากและลำตน้ ของเทียนหลังแช่น้ำสีแดงดว้ ยแวน่ ขยาย

ส่งิ ทส่ี งั เกต ผลการสงั เกตุ

ลักษณะของต้น

เนอื้ เยอื่ รากตดั ตามยาว
เนือ้ เย่อื รากเทียนตัดตามขวาง
เน้ือเย่ือลำต้นเทยี นตดั ตามยาว
เนือ้ เย่อื ลำตน้ เทยี นตัดตามขวาง

การตัดเนือ้ เยอ่ื พืชต้องระวงั ใบมดี โกนบาด และระวังไมใ่ ห้สไลด์หรือกระจกปดิ สไลด์
แตกเนือ่ งจากอาจเกดิ อันตรายเพราะเศษกระจกบาดได้

33

ตาราง ผลการสังเกตเนื้อเยอื่ รากและลำต้นของต้นเทยี นหลงั แชน่ ้ำสดี ้วยกล้องจุลทรรศน์

วิธีการตัด เนอ้ื เยอ่ื ราก เนือ้ เย่อื ลำต้น

ตัดตามยาว

ตดั ตามขวาง
แผนภาพแสดงทศิ ทางการเคลื่อนท่ขี องน้ำและธาตุอาหารในตน้ เทียน

คำถามท้ายกจิ กรรม
1. น้ำสีเคลือ่ นทเ่ี ขา้ สูพ่ ชื ทางสว่ นใด และมที ศิ ทางการเคล่อื นท่อี ยา่ งไร ทราบได้อยา่ งไร

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. เมอ่ื สังเกตเนื้อเยือ่ รากและลำต้นดว้ ยกลอ้ งจลุ ทรรศน์ ลกั ษณะเนอื้ เยื่อของรากและลำตน้ ของตน้ เทียนเป็น
อย่างไร
แนวคำตอบ เม่อื สังเกตดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์ ลักษณะเนือ้ เยอ่ื ตัดตามขวางของรากเหน็ กลุ่มเซลลเ์ รียงชดิ ติดกัน
และแยกเป็นแฉกคลา้ ยรปู ดาว เม่ือตดั ตามยาวจะเหน็ กลุ่มเซลลเ์ รยี งต่อกันเป็นท่อ ลกั ษณะเนอื้ เยื่อลำต้นของ
ตน้ เทียน เม่ือตัดตามขวางจะเห็นกลุ่มเซลล์ตดิ สีแดงเรียงเป็นกล่มุ ๆ รอบลำต้น และเมอื่ ตัดตามยาวส่วนท่ตี ิดสี
แดงจะเห็นเปน็ กลุม่ เซลลเ์ รียงตอ่ กนั เป็นทอ่ ไปสู่ส่วนยอดและแยกไปสู่ใบ

34

3. เพราะเหตุใดกิจกรรมนจี้ งึ ใช้ตน้ เทยี น
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. จากกิจกรรม สรุปได้อยา่ งไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…
……..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

การลำเลียงน้ำและอาหารของพชื

รับน้ำข้นึ ไปตามไซเลม ใบ
ลำเลยี งอาหารในโฟลเอม
พลงั งานแสง
ตา
คาร์บอนได นำ้ ตาลท่ีสร้างจากกระบวนการ
ออกไซด์ สังเคราะหด์ ้วยแสง
นำ้ ตาลเคลื่อนลงมายังรากท่ีกำลงั
น้ำและแร่ธาตุ เจริญเติบโตหรือข้นึ ไปท่ตี า ซ่ึงกำลัง
จากดนิ เจริญเติบโต

รากดดู น้ำและแรธ่ าตุ

ภาพ แสดงทศิ ทางการลำเลยี งน้ำและอาหาร

ระบบเนอื้ เยือ่ ทอ่ ลำเลียงประกอบดว้ ย 2 ส่วนใหญๆ่ คอื ท่อลำเลยี งนำ้ และแรธ่ ำตุ (xylem) กบั ทอ่

ลำเลียงอำหำร (phloem)

ภาพ แสดงภาคตดั ขวางของลำตน้ พชื ใบเลี้ยงคแู่ ละใบเล้ยี งเด่ียว

35

ภาพ แสดงภาคตดั ขวางของรากพชื ใบเลี้ยงคแู่ ละใบเลย้ี งเดีย่ ว

ภาพตดั ตามขวางของลำตน้ (ซา้ ย) และราก(ขวา)

การทำงานของระบบการลำเลยี งสารของพืช
ระบบลำเลียงของพืชมหี ลกั การทำงานอยู่ 2 ประการ คอื

1. ลำเลยี งนำ้ และแร่ธาตุผา่ นทางท่อลำเลียงน้ำและแร่ธาตุ (xylem) โดยลำเลียงจากรากข้ึนไปสู่
ใบ เพอื่ นำนำ้ และแร่ธาตไุ ปใช้ในกระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสง

2. ลำเลยี งอาหาร (น้ำตาลกลูโคส) ผ่านทางท่อลำเลียงอาหาร (phloem) โดยลำเลียงจากใบไปสู่
สว่ นตา่ งๆ ของพืช เพื่อใชใ้ นการสร้างพลงั งานของพืช

การลำเลียงสารของพืชมีความเกี่ยวข้องกับกระบวนการต่างๆ อีกหลายกระบวนการ ซ่ึงต้องทำงาน
ประสานกันเพ่อื ให้การลำเลียงสารของพืชเป็นไปตามเปา้ หมาย

ระบบลำเลียงของพืชเริ่มต้นท่ีราก บรเิ วณขนราก (root hair) ซึ่งมขี นรากมากถงึ 400 เส้นต่อพ้ืนท่ี 1
ตารางมิลลิเมตร โดยขนรากจะดูดซึมนำ้ โดยวธิ กี ารท่ีเรียกวา่ การออสโมซิส (osmosis) และ วธิ กี ารแพร่แบบ
อื่นๆ อีกหลายวิธี น้ำที่แพร่เข้ามาในพืชจะเคล่ือนที่ไปตามท่อลำเลียงน้ำและแร่ธาตุ (xylem) เพ่ือลำเลียง
ต่อไปยังส่วนต่างๆ ของพืช เมื่อน้ำและแร่ธาตุต่างๆ เคลื่อนที่ไปตามท่อลำเลียงน้ำและแร่ธาตุและลำเลียงไป
จนถงึ ใบ ใบกจ็ ะนำน้ำและแร่ธาตนุ ้ไี ปใช้ในกระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง เมื่อกระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสง
ดำเนินไปเรื่อยๆ จนได้ผลิตภัณฑ์เป็นน้ำตาล น้ำตาลจะถูกลำเลียงผ่านทางท่อลำเลียงอาหาร (phloem) ไป
ตามส่วนต่างๆ เพ่อื เป็นอาหารของพืช และลำเลยี งน้ำตาลบางส่วนไปเกบ็ สะสมไว้ท่ีใบ ราก และลำตน้

36

ถ้ า นั ก เ รี ย น น ำ ถุ ง พ ล า ส ติ ก ม า ค ลุ ม
ใบไม้ในวันท่ีอากาศแจ่มใสเม่ือท้ิงไว้
สั ก ค รู่ จ ะ เ ห็ น ไ อ น้ ำ เ ก า ะ อ ยู่ ภ า ย ใ น
ถุงพลาสติก ไอน้ำเหล่านี้มาจากส่วน
ใดของใบ

การคายน้ำของพืช การคายนำ้ ของพืชมี 2 แบบ คือ
1. การคายน้ำในรูปของไอน้ำ เกดิ ขน้ึ ที่ปากใบหรอื รใู บ
2. การคายนำ้ ในรปู ของหยดน้ำ เกิดข้ึนท่ีตอ่ มบรเิ วณขอบของใบ
การคายน้ำ เป็นกระบวนการแพร่ของน้ำในรูปของไอน้ำออกทางปากใบ ซ่ึงอยู่ระหว่างเซลล์คุม 2 เซลล์

ปากใบจะพบมากทสี่ ุดทางด้านทอ้ งใบ คือ ดา้ นลา่ งของใบทไ่ี ม่ไดร้ ับแสง
การเปิดของปากใบ ปากใบจะเปดิ เมอื่ เซลลค์ ุมซ่ึงคลอโรพลาสต์อยู่ภายในเซลล์ได้รับแสงสว่าง จงึ เกิดการ

สังเคราะห์ด้วยแสงขึ้น ได้น้ำตาลกลูโคสทำให้ความเข้มข้นของสารในเซลล์ข้างเคียง น้ำจากเซลล์ข้างเคียงจึง
ออสโมซสี เข้าสูเ่ ซลล์คุม ทำให้เซลลค์ มุ เต่ง ปากใบจงึ เปดิ กวา้ ง

กัตเตช่ัน (Guttation) หมายถึง กระบวนการทพ่ี ืชกำจัดน้ำออกมาในรูปของหยดน้ำ
ทางรูเปิดเล็กๆ ตามปลายของเส้นใบ (รูเปิดเล็กๆ นี้เรียกว่า ไฮดาโธด (Hydathode)
ซึ่งก็คือ Tracheid น่ันเอง) กระบวนการน้ีจะเกิดเมื่อในอากาศมีความช้ืนสูง เช่น ใน
ตอนเชา้ ทมี่ ไี อน้ำอม่ิ ตวั หรอื หลังฝนตกใหม่ๆ

กลไกที่ทำให้การเกิดคายน้ำออกเป็นหยดๆ คือ แรงดันราก (Root
pressure) ดนั ให้นำ้ ออกมา ทางปลายใบ หรือขอบใบของพืชตระกูลหญ้าหรือตระกูล
บอน ฯลฯ

การคายนำ้ ในรปู ของไอนำ้ การคายน้ำในรปู ของหยดน้ำ

ปัจจัยท่ีมอี ทิ ธิพลต่อการคายน้ำ
1.) แสงสว่าง ถ้ามีความเขม้ ข้นแสงมาก ปากใบจะเปิดไดก้ ว้าง พชื จะคายน้ำได้มาก

2.) อุณหภมู ิ เป็นปัจจัยทอื ิทธพิ ลควบคู่กับแสงสวา่ งเสมอ ถา้ อุณหภมู ิในบรรยากาศสูงพืชจะคายนำ้ ไดม้ าก
และรวดเร็ว

37

3.) ความช้นื ในบรรยากาศ ถา้ บรรยากาศมีความชืน้ สูงจะคายน้ำได้น้อย พืชบางชนิดจะกำจัดน้ำออกมาในรูป
ของหยดน้ำ ทางรูเปิดเลก็ ๆ ตามรเู ปิดของเส้นใบ เรียกวา่ การคายน้ำเปน็ หยดหรือ กัตเตชนั ( guttation
) และถ้าในบรรยากาศมี ความชื้นนอ้ ย พชื จะคายน้ำได้มากและรวดเรว็

4.) ลม ลมจะพัดพาเอาความช้ืนของพืชไปท่ีอ่ืน เป็นสาเหตใุ ห้พืชสูญเสยี น้ำมากขึ้น ในภาวะท่ลี มสงบไอน้ำที่
ระเหยออกไปจะ คงอยูในบรรยากาศใกล้ๆ ใบ บรรยากาศจึงมีความชื้นสูงพืชจะคายน้ำได้ลดลง แต่ถ้าลม
พดั แรงมากพชื จะปิดหรอื หรีแ่ คบลง มีผลทำใหก้ ารคายน้ำลดลง

5.) ปรมิ าณน้ำในดิน ถ้าสภาพดินขาดนำ้ หรอื ปริมาณน้ำในดินน้อย พืชไมส่ ามารถนำไปใช้ได้เพียงพอ ปากใบ
ของพชื จะปดิ หรือแคบหรล่ี ง มีผลทำใหก้ ารคายนำ้ ลดลง

6.) โครงสรา้ งของใบ ตำแหน่ง จำนวน และการกระจายของปากใบ รวมถงึ ความหนาของคิวมเิ คิล ( สาร
เคลือบผวิ ใบ ) ลักษณะเหลา่ นม้ี ีผลต่อการคายน้ำของพชื

ร่วม กนั คดิ 3

1.) ธาตอุ าหารมีความสำคัญต่อพชื อยา่ งไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2.) พชื ลำเลยี งน้ำ ธาตุอาหาร และอาหารไปยงั สว่ นต่าง ๆ ของพชื ได้อยา่ งไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3.) ถา้ พชื ไม่มขี นรากจะมีผลตอ่ การดูดนำ้ และธาตอุ าหารของพชื หรือไม่ อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

38

คิดแบบนกั วทิ ย์

ขนั้ นำปัญญำพฒั นำควำมคดิ กิจกรรม ฝึ กทา : ฝึ กสร้าง

กิจกรรม ทำอยา่ งไรให้พชื มีผลผลิตตามตอ้ งการ

จดุ ประสงค์

สบื ค้นขอ้ มูล วิเคราะห์ และเลอื กใช้ธาตุอาหารให้เหมาะสมกบั ความตอ้ งการของพชื

ผลการทำสบื คน้ ข้อมูล

พชื ธาตุอาหารทจี่ ำเปน็ ปริมาณทตี่ อ้ งการ ประโยชน์ของธาตุอาหาร

ไนโตรเจน มาก ช่วยใหเ้ จรญิ เตบิ โตเร็ว ลำต้นและใบ
อ่อนกรอบ

ผกั กาดหอม ฟอสฟอรสั มาก ช่วยใหต้ ้นตัง้ ตวั ไดเ้ รว็ ข้นึ ในชว่ งแรก
ของการเจรญิ เติบ โต และมรี สดขี ึ้น

โพแทสเซยี ม มาก ช่วยให้ใบบางกรอบ ไม่มจี ดุ บนใบ ใบ
หอ่ ตัวได้ดใี บไมเ่ ห่ียวเฉา

แคลเซียม มาก ชว่ ยใหล้ ำต้นแข็งแรง

ชว่ ยการเจริญเติบโตของต้น และใบ

ไนโตรเจน มาก ทำให้สังเคราะห์ดว้ ยแสงได้ดี ช่วยใน
การเจรญิ ของดอก และการพฒั นา

ของผล

ฟอสฟอรัส น้อย ช่วยในการเจรญิ เติบโตของราก ชว่ ย
ให้รากดูดนำ้ และธาตอุ าหารไดด้ ี
มะเขือเทศ
ช่วยในการเจริญเตบิ โตของผล

โพแทสเซยี ม มาก เนื้อเยอ่ื ผลเหนียวชว่ ยเพม่ิ ขนาดผล

ทนทานต่อโรค

เพ่มิ ความแข็งแรงของโครงสรา้ งตน้

แคลเซยี ม มาก รวมทัง้ ผลและชว่ ยให้พืชนำโพแทส

เซียมไปใชไ้ ดด้ ขี ึน้

ผลวิเคราะห์สถานการณ์ สาเหตุท่ที ำให้ผกั กาดหอมเจริญเติบโตไดด้ ี แต่มะเขอื เทศแสดงอาการผดิ ปกติ
ผกั กาดหอม

ผักกำดหอมเป็นพืชท่ีรับประทำนใบ ซ่ึงเจริญเติบโตได้ดี น่ำจะเป็นเพรำะดินที่ใช้ปลูกพืชมี

ไนโตรเจน ในปริมำณที่เหมำะสมต่อกำรเจริญเติบโตของใบ เนื่องจำกไนโตรเจนมีส่วนช่วยในกำร

เจริญเตบิ โตของใบพชื ทำใหม้ สี ีเขยี วและสงั เครำะหด์ ว้ ยแสงไดด้ ี

39

มะเขือเทศ
มะเขอื เทศเป็นพืชท่ีนิยมรบั ประทำนผล สำเหตทุ ่ีแสดงอำกำรผิดปกติช่วงออกดอก และกน้ ผลเน่ำ

นำ่ จะเป็นเพรำะดินขำดธำตอุ ำหำรที่จำเป็นต่อกำรเจริญเตบิ โตของผล เชน่ แคลเซียม โพแทสเซยี ม ซึง่ ช่วงที่
มดี อกและสรำ้ งผล
ผลการทำกิจกรรม

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
คำถามท้ายกิจกรรม
1. เพราะเหตใุ ด ผักกาดหอมจงึ เจริญเตบิ โตได้ดี แตม่ ะเขอื เทศแสดงอาการผดิ ปกติ
แนวคำตอบ การทผ่ี กั กาดหอมเจริญเตบิ โตได้ดี แต่มะเขือเทศแสดงอาการผดิ ปกติ น่าจะเป็นเพราะดินท่ใี ช้ปลกู
พืชมีธาตุอาหารที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของใบในปริมาณท่ีพอเหมาะ เช่น โนโตรเจน ทำให้พืชกินใบ
อย่างผักกาดหอมเจริญเติบโตได้ดี แต่พืชท่ีกินผลอย่างมะเขือเทศแสดงอาการผิดปกติช่วงออกดอก และมีผล
ผดิ ปกติ น่าจะเป็นเพราะดนิ ขาดธาตุอาหารทีจ่ ำเป็นต่อการเจรญิ เติบโตของผล
เช่น แคลเซยี ม โพแทสเซยี ม
2. ถา้ ตอ้ งการปลูกมะเขือเทศ ใหไ้ ดผ้ ลผลิตท่ีดี ควรปรบั ปรงุ ดนิ อยา่ งไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

40

กจิ กรรม คิดดี ผลงำนดี มีควำมสขุ

ขนั้ นำปัญญำพฒั นำตนเอง

ใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกล่มุ สบื ค้นขา่ วเก่ยี วกับเทคโนโลยชี ีวภาพจากแหลง่ ขา่ วตา่ งๆพร้อมระบแุ หล่งท่ีมาแลว้
บนั ทกึ ขอ้ มลู

ขอ้ มลู ทส่ี ืบคน้

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

แหล่งสืบค้นขอ้ มลู ......................................................................................

............................................... ......................................................................................
...............................................
............................................... ......................................................................................
...............................................
............................................... ......................................................................................
...............................................
............................................... ......................................................................................
...............................................
......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

...................................................................................... 41
......................................................................................

......................................................................................


Click to View FlipBook Version