The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ว21102

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2021-11-07 08:17:19

แผนการจัดการเรียนรู้ว21102

แผนการจัดการเรียนรู้ว21102

 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง  6. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน

 7. รกั ความเป็นไทย  8. มจี ติ สาธารณะ

7. ด้านคณุ ลกั ษณะของผ้เู รียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลศิ วชิ าการ  2. สอื่ สารสองภาษา  3. ล้ำหน้าทางความคิด

 4. ผลติ งานอย่างสรา้ งสรรค์  5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก

8. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได)้  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเป็น)

 ทักษะด้านการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะด้านการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)

 ทกั ษะดา้ นความเขา้ ใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะด้านความรว่ มมอื การทำงานเป็นทมี และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทกั ษะด้านการส่ือสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันส่ือ (Communications, Information, and Media

Literacy)

 ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (Computing and ICT Literacy)

 ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)

 ความมีเมตตา (วนิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

9. บรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลมุ่ ให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในหอ้ งเรียนคือ

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตผุ ล : ให้นักเรียนสรา้ งสรรคผ์ ลงานและเกดิ ทักษะการปฏบิ ตั ิ , นกั เรียนเกดิ ความ

ภาคภูมใิ จในผลงานของตนและส่ิงท่เี รียนรู้

3. หลกั ภมู ิคุ้มกัน : ใหน้ กั เรยี นเกดิ ทกั ษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นักเรียนรู้จักการวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกลุ่มได้เหมาะสมกบั ความสามารถของแต่ละบุคคล

4. เง่ือนไขความรู้ : การวางแผนงานท่ีจะทำกอ่ นแลว้ ค่อยลงมือทำอย่างระมดั ระวงั

5. เง่อื นไขคณุ ธรรม : อดทนทจ่ี ะทำงาน และมีความขยันท่ีจะทำงานให้ออกมาไดด้ ีทส่ี ดุ , มวี นิ ัยในการ

ทำงาน

10. ชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตัวช้วี ัด ช้ินงาน ภาระงาน

ว 2.3 ม.1/6 ม.1/7 - รายงานกิจกรรมท่ี 2 การถ่ายโอน -สร้างแบบจำลองเพ่ืออธิบายการถ่าย

ความร้อนของของเหลวและแก๊สเป็น โอนความร้อนของของเหลวและแก๊ส

อยา่ งไร -ออกแบบ เลือกใช้ และสร้างอุปกรณ์

- รายงานกิจกรรมท่ี 3 การถ่ายโอน เพ่ือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันโดยใช้

ความร้อนโดยไม่อาศัยตัวกลางเป็น ความรู้เกี่ยวข้องกับการถ่ายโอนความ
อยา่ งไร รอ้ น

35

11. การวัดประเมินผล

11.1การวดั และประเมนิ ผลช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

วิธกี าร

1.การสังเกตการณ์

2.การใช้ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ร่องรอยบง่ ชี้ 3.การวัดประเมินการปฏิบตั ิ

เครื่องมือ

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมินการปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านต้ังแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1

รายการถอื ว่า ไม่ผา่ น

11.2การวดั และประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรยี นรขู้ อง

หนว่ ยการเรยี นรู้นี้)

ส่ิงที่ตอ้ งการวดั วธิ วี ัดผล เครอ่ื งมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน

1. ความรเู้ ก่ียวกบั -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมินการ - นกั เรียนได้คะแนน

- การถ่ายโอนความร้อนของ ความคิดเห็นอธิบาย อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนข้ึนไป

ของเหลวและแกส๊ และเปรียบเทียบการ คดิ เหน็ หรือร้อยละ 80

- การถ่ายโอนความร้อนโดยไม่ ถ่ายโอนความร้อนวิธี - แบบประเมินการ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์
อาศยั ตัวกลาง ตา่ ง ๆ ตรวจผลงานผู้เรียน - นกั เรยี นไดค้ ะแนน
ประเมินผลงาน
-ก า ร ต ร ว จ ผ ล ง า น
13 คะแนนขึ้นไป
นักเรยี น หรอื รอ้ ยละ 80

ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

2.ทักษะกระบวนการคิด และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมนิ การ -นั ก เรียน ได้ ค ะ แ น น

ทักษะกระบวนการกลมุ่ ค ว าม คิ ด เห็ น ร ะ บุ อภปิ รายแสดงความ 12 ค ะ แ น น ข้ึ น ไ ป

ทกั ษะกระบวน คิดเหน็ หรือร้อยละ 80 ถือว่า

การทางวทิ ยาศาสตรท์ ่ี - แ บ บ ป ร ะ เมิ น ผา่ นเกณฑ์

ได้ปฏิบัตจิ ากกจิ กรรม พฤตกิ รรมการ

- สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม

ทำงานกล่มุ

3. คุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ - สงั เกตค่านิยมในการ - แบบประเมิน - นกั เรยี นไดค้ ะแนน

และสมรรถนะผเู้ รียน ทำงานร่วมกับผู้อน่ื คุณลกั ษณะอันพงึ ประเมินคณุ ลักษณะ

- มวี นิ ัยในการทำงานกลมุ่ และการทำงานใน ประสงค์ อันพงึ ประสงค์

- นกั เรียนเห็นความสำคญั ระบบกลมุ่ - แบบประเมิน 26 คะแนนขึน้ ไป

ของการทำงานร่วมกับผอู้ ่ืนและ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผู้เรยี น หรอื ร้อยละ 80

การทำงานในระบบกลุ่ม คดิ เหน็ เก่ยี วกับผลการ -แบบประเมินระดับ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

36

- ยอมรบั ความคดิ เห็นซง่ึ กนั ทดลอง การเห็นคุณค่าใน - นกั เรียนได้คะแนน
และกนั มีความเสียสละและ ตนเอง หรือ Self- การประเมินสมรรถนะ
อดทน esteem 29 คะแนนขึ้นไป

- นักเรียนมีการเห็นคุณค่าใน หรอื ร้อยละ 80
ตนเอง (Self-esteem) ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

12. กจิ กรรมการเรยี นรู้

ชวั่ โมงท่ี 1
1. ขนั้ ตัง้ ประเดน็ ปญั หา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)

1.1 เชื่อมโยงความรู้ท่ีได้เรียนรู้ไปสกู่ ิจกรรมต่อไปโดยใช้คำถามว่ามีการถ่ายโอนความร้อนด้วยวิธีอ่ืนอีก
หรอื ไม่ อยา่ งไร

1.2 การถา่ ยโอนความร้อนของของเหลวและแกส๊ เป็นอยา่ งไร

ชัว่ โมงที่ 2-3
2. ขัน้ สืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)

2.1ให้นักเรียนอ่านวิธีดำเนินกิจกรรม จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายจุดประสงค์และวิธีดำเนิน
กิจกรรมโดยอาจใช้คำถามดังต่อไปนี้

• กจิ กรรมนเ้ี กยี่ วกับเร่อื งอะไร (เร่อื งการถา่ ยโอนความรอ้ นของน้ำและอากาศ)

• การทำกจิ กรรมมีขั้นตอนโดยสรปุ อยา่ งไร (ตอนท่ี 1 ให้ความร้อนแก่น้ำ สังเกตการเปล่ียนแปลงของเมล็ด
แมงลักในนำ้ วัดอุณหภูมิของน้ำเมื่อได้รับความร้อน สร้างแบบจำลองการถ่ายโอนความร้อนของของเหลวตาม

ความคิดของกล่มุ และสืบค้นข้อมูลการถา่ ยโอนความร้อนของของเหลวจากแหล่งท่ีเชอ่ื ถือได้ แล้วนำมาปรับปรุง
แบบจำลองของตนเอง นำเสนอ ตอนที่ 2 แขวนพู่กระดาษให้สูงจากเทียนไข เม่ือจุดเทียนไขแล้ววัดอุณหภูมิ
ของอากาศ สังเกตการเปลี่ยนแปลงของพู่กระดาษ สร้างแบบจำลองการถ่ายโอนความร้อนของแก๊สตาม

ความคิดของกลุ่ม และสืบค้นข้อมูลการถ่ายโอนความร้อนของแก๊สจากแหล่งที่เช่ือถือได้ แล้วนำมาปรับปรุง
แบบจำลองของตนเอง นำเสนอ)

• ข้อควรระวังในการทำกิจกรรมมีอะไรบ้าง (ควรระวังการใช้ชดุ ตะเกียงแอลกอฮอล์ และการจดุ เทียนไข)
2.2 เปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามเกี่ยวกับขั้นตอนการทำกิจกรรมท่ีนักเรียนยังไม่เข้าใจ จากน้ันครูและ
นักเรียนรว่ มอภิปรายเพ่ือแก้ไขส่งิ ที่นกั เรียนยงั ไม่เข้าใจ เน้นย้ำเกยี่ วกับวธิ ีการบันทึกผล ข้อควรระวังในการทำ

กิจกรรม โดยอาจใช้คำถามดังน้ี
• ในตอนที่ 1 นกั เรียนต้องติดตั้งเทอร์มอมิเตอร์วดั อณุ หภูมิของนำ้ ที่ตำแหน่งใดบา้ ง (จ่มุ กระเปาะเทอรม์ อ

มเิ ตอร์ลงในบรเิ วณใกล้กบั ก้นบีกเกอร์ และจุ่มอีกอันลงในบริเวณใกลก้ ับผิวน้ำ ใหก้ ระเปาะเทอร์มอมิเตอร์จมใต้
ผิวนำ้ )

• ในตอนที่ 1 สิ่งทีต่ ้องสงั เกตและวัดมอี ะไรบา้ ง (สังเกตส่ิงท่เี กดิ ขึ้นกบั เมลด็ แมงลัก และวัดอุณหภมู ิของน้ำ

บรเิ วณใกลก้ บั ก้นบีกเกอร์ และบริเวณใกล้ผิวนำ้ ทกุ ๆ 30 วนิ าที จนนำ้ เดอื ด)
• ในตอนท่ี 2 นักเรียนต้องติดตั้งเทอร์มอมิเตอร์วัดอุณหภูมิของอากาศท่ีตำแหน่งใดบ้าง (จัดเทอร์มอ

มเิ ตอรใ์ หก้ ระเปาะอย่บู รเิ วณปลายบนและปลายลา่ งของพูก่ ระดาษ)
• ในตอนที่ 2 ส่ิงท่ีต้องสังเกตและวัดมีอะไรบ้าง (สังเกตสิ่งท่ีเกิดขึ้นกับพู่กระดาษและวัดอุณหภูมิของ

อากาศที่ตำแหน่งปลายบนและปลายล่างของพกู่ ระดาษ ทุก ๆ 30 วนิ าที เปน็ เวลา 3 นาที)

37

2.3 แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 4 - 5 คน เพ่ือทำกิจกรรมที่ 2 พร้อมทั้งออกแบบตารางบันทึกผลการทำ
กิจกรรม

2.4 ให้นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรมตามวิธีการดำเนินกิจกรรมตอนท่ี 1 ในหนังสือเรียน และสังเกตการ
เปลี่ยนแปลงที่เกดิ ขนึ้

2.5 ให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มอภปิ รายร่วมกัน และวาดแบบจำลองการถ่ายโอนความร้อนของของเหลว โดย
แสดงถึงการจัดเรียงอนุภาคของของเหลวเมื่อได้รับความร้อน จากน้ันนักเรียนนำเสนอแบบจำลองที่สร้างข้ึน
ตามความคิดของกลุ่ม

2.6 ให้นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรมตามวิธีการดำเนินกิจกรรมตอนท่ี 2 ในชุดกิจกรรม สังเกตการ
เปลย่ี นแปลงท่ีเกิดขึ้น

2.7 ให้นักเรียน 1 - 2 กลุ่ม นำเสนอผลการสังเกต นักเรียนกลุ่มอ่ืนฟังการนำเสนอ และเปรียบเทียบผล
การทำกจิ กรรมรว่ ม

2.8 ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกล่มุ อภปิ รายรว่ มกันและวาดแบบจำลองการถา่ ยโอนความรอ้ นของแกส๊ โดยแสดงถึง
การจดั เรียง
อนุภาคของแก๊สเม่อื ได้รับความร้อน จากน้ันนักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอแบบจำลองที่สร้างข้ึนตามความคิดของ
ตนเอง

2.9 ให้นักเรียนร่วมกันสืบค้นข้อมูลการถ่ายโอนความร้อนของแก๊สจากแหล่งข้อมูลท่ีเช่ือถือได้ เช่น
หนังสือ เว็บไซต์หรือวีดิทัศน์ พร้อมทั้งระบุแหล่งท่ีมาของข้อมูลด้วย จากน้ันนำข้อมูลท่ีรวบรวมได้มาปรับแก้
แบบจำลองของตนเอง และอธิบายแนวทางการปรับแกแ้ บบจำลอง

3. ข้ันสรปุ องคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า การพาความร้อนเกิดข้ึนกับสสารท่ีเป็นของเหลวและแก๊ส

ตวั กลางจะพาความรอ้ นไปพรอ้ มกับการเคล่ือนทข่ี องอนุภาคของตัวกลาง และความรเู้ ก่ียวกบั การพาความร้อน
สามารถนำไปใช้อธิบายปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ได้

3.2 ใหน้ กั เรยี นใชข้ ้อมูลท่ีได้จากการอภิปรายรว่ มกัน มาใช้ตอบคำถามทา้ ยกจิ กรรม
4. ขั้นการสอื่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นักเรียนเขียนสรุปส่ิงที่ได้เรียนรู้จากความเข้าใจของตนเองโดยใชแ้ ผนผังเวนน์เปรยี บเทียบความ
เหมือนและความแตกต่างกันระหว่างการพาความร้อนและนำความร้อน

4.2 ใชค้ ำถามเพอ่ื ใหน้ ักเรียนเกิดขอ้ สงสัยวา่ ถ้าบริเวณทไี่ ม่มีสสารท่เี ป็นตัวกลางใดเลยในการนำความ
ร้อนหรอื พาความร้อนความร้อนจะถ่ายโอนมายังบริเวณทมี่ ีอุณหภูมติ ่ำกว่าได้หรือไม่ เช่น ในอวกาศระหว่างโลก
และดวงอาทติ ย์ บางช่วงไม่มีตวั กลาง ไมม่ ีอากาศ โลกของเราไดร้ บั พลังงานความร้อนจากดวงอาทิตยไ์ ดอ้ ยา่ งไร
เพื่อเชื่อมโยงเขา้ สู่กิจกรรมที่ 3 การถา่ ยโอนความร้อนโดยไม่อาศยั ตัวกลางเป็นอย่างไร
ต่อไป

5. ขั้นการบรกิ ารสังคมและสาธารณะ (Public Service)
5.1 ใหน้ ักเรยี นรว่ มกันสบื ค้นข้อมูลเก่ียวกับการถา่ ยโอนความร้อนโดยไม่อาศัยตัวกลาง พร้อมท้งั ระบุ

แหล่งท่ีมาของข้อมูลครูแนะนำตัวอย่างแหล่งสืบค้นข้อมูลท่ีเชื่อถือได้ เช่น หนังสือ วีดิทัศน์ เว็บไซต์ของ
หน่วยงานราชการ

5.2 ครูและนักเรียนรว่ มกันอภิปรายเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่าการแผ่รังสีความร้อนเป็นการถ่ายโอนความ
รอ้ นโดยไม่ต้องอาศัยตัวกลางท่ีเป็นอนุภาคของสสาร แต่ความร้อนถ่ายโอนโดยแผ่รังสีอินฟราเรดซ่ึงเป็นคล่ืน
แมเ่ หล็กไฟฟ้า

38

13. สอ่ื การเรยี นรู้/แหล่งเรยี นรู้ 2) หนงั สือแบบเรียน 3) สื่อเพาเวอร์พอยต์
13.1สื่อการเรยี นรู้
1) ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 2) หอ้ งสมุด
13.2แหล่งเรยี นรู้
1) อนิ เตอร์เน็ต รายละเอียด

14. บนั ทกึ หลังการจัดการเรียนรู้ ......................................................................................
ผลการสอน ......................................................................................
......................................................................................
1. ด้านความรู้ : ......................................................................................
- การถา่ ยโอนความรอ้ นของของเหลวและ ................................................................................
แก๊ส ......................................................................................
- การถ่ายโอนความร้อนโดยไม่อาศัยตัวกลาง ......................................................................................
......................................................................................
2. ดา้ นกระบวนการ :
- ทกั ษะกระบวนการคิด ......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการกล่มุ ......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

3. ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นยิ ม ......................................................................................
อันพงึ ประสงค์ : ......................................................................................
- มวี ินัย ......................................................................................

- ใฝเ่ รยี นรู้ ......................................................................................
- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................
- รกั ความเปน็ ไทย
......................................................................................

4. ปัญหาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

39

5. วธิ แี ก้ปัญหา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หวั หน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทมุ สกุลรตั น์..) (นางกณิการ์ พฒั รากุล)

ลงช่ือ...........................................

(นางรพพี ร คำบุญมา)
รองผู้อำนวยการกล่มุ บริหารวิชาการ

ลงชื่อ ........................................................
(นายสรุ ยิ ันต์ เหลา่ มะลึก)

ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวทิ ยาคม

40

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 7
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่……1……. พลงั งานความรอ้ น……..….เรือ่ ง………...สมดุลความรอ้ น ........................................

รายวชิ า……......วทิ ยาศาสตร์……..2.......รหัสวิชา……......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1……………....
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ปกี ารศกึ ษา... 2564... ภาคเรียนท่ี..2...เวลา...7..ชั่วโมง…….…
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกลุ รัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวช้วี ดั /ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพ้นื ฐานมที ้งั มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชว้ี ดั
รายวิชาเพิม่ เตมิ มเี ฉพาะมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละผลการเรียนร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวดั
ว 2.3 ม.1/5

2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (หลอมจากตวั ชีว้ ัดท่ใี ชใ้ นหนว่ ยการเรียนรู้นเ้ี ขยี นเปน็ แบบความเรียง)
ความร้อนถ่ายโอนจากสสารท่ีมีอุณหภูมิสูงกว่าไปยังสสารที่มีอุณหภูมิต่ำกวา่ จนกระทั่งอุณหภูมิของ

สสารทั้งสองเทา่ กันสภาพที่สสารท้ังสองมอี ุณหภมู ิเท่ากัน เรียกวา่ สมดุลความร้อน เมือ่ มกี ารถา่ ยโอนความรอ้ น

ระหว่างสสารซ่ึงมีอุณหภูมิต่างกันจนเกดิ สมดุลความรอ้ น ปรมิ าณความรอ้ นทส่ี สารหน่ึงไดร้ ับจะเทา่ กบั ปริมาณ
ค วา ม ร้ อ น ที่ อี ก ส ส าร ห น่ึ ง สู ญ เสี ย ค วา ม รู้เก่ี ย ว กั บ ก าร ถ่ าย โอ น ค วา ม ร้ อ น ส าม า รถ น ำไ ป ใช้ ป ร ะ โย ช น์ ใน

ชวี ติ ประจำวันหรือใชใ้ นการอธบิ ายปรากฏการณ์ทเ่ี กิดข้นึ ตามธรรมชาติได้
3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง/สาระการเรยี นรูเ้ พิม่ เตมิ (รายวิชาเพิ่มเตมิ )

สาระการเรียนรู้แกนกลาง
• ความร้อนถ่ายโอนจากสสารทมี่ ีอุณหภมู สิ งู กว่า ไปยงั สสารทีม่ อี ุณหภูมิต่ำกว่าจนกระท่ังอณุ หภมู ขิ อง

สสารท้งั สองเท่ากัน สภาพที่สสารทั้งสองมอี ุณหภูมเิ ท่ากัน เรยี กว่า สมดลุ ความรอ้ น
• เม่อื มีการถา่ ยโอนความรอ้ นจากสสารทม่ี ีอุณหภูมติ ่างกนั จนเกดิ สมดลุ ความรอ้ นความรอ้ นท่เี พิ่มขึ้น

ของสสารหนึง่ จะเทา่ กบั ความร้อนที่ลดลงของอีกสสารหนึ่ง ซง่ึ เปน็ ไปตามกฎการอนุรักษ์พลงั งาน

3.2 สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่นิ (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพดู ถึงหลักสูตรท้องถ่ินให้ใส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
นกั เรยี นสามารถ

1. อธบิ ายสมดุลความรอ้ น (K)
2. คำนวณปรมิ าณความร้อนระหวา่ งสสารเมือ่ สมดุลความรอ้ นและปรมิ าณต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง (P)

3. ออกแบบเลือกใชแ้ ละสรา้ งอุปกรณท์ ี่ใช้ความร้เู กย่ี วกบั การถ่ายโอนความรอ้ นในการออกแบบและ

แกป้ ัญหาในชวี ิตประจำวนั (A)

5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน (เลอื กเฉพาะข้อที่เกิดในหนว่ ยการเรียนรูน้ )ี้

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคดิ

 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ

 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

6. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (เลอื กเฉพาะข้อท่ีเกิดในหน่วยการเรยี นรนู้ )ี้

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  2. ซอื่ สัตยส์ ุจริต

 3. มวี ินยั  4. ใฝ่เรียนรู้

41

 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง  6. มงุ่ ม่ันในการทำงาน

 7. รกั ความเปน็ ไทย  8. มจี ิตสาธารณะ

7. ด้านคณุ ลักษณะของผเู้ รียนตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวชิ าการ  2. ส่ือสารสองภาษา  3. ล้ำหนา้ ทางความคิด

 4. ผลติ งานอย่างสรา้ งสรรค์  5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสงั คมโลก

8. ทักษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได้)  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น)

 ทักษะดา้ นการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem
Solving)

 ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)
 ทกั ษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)
 ทักษะดา้ นความรว่ มมอื การทำงานเป็นทมี และภาวะผ้นู ำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทกั ษะดา้ นการส่ือสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media

Literacy)
 ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร (Computing and ICT Literacy)
 ทักษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)

 ความมเี มตตา (วินยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)
9. บรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรยี นคือ

ประมาณกลุม่ ละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตุผล : ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบัติ , นักเรียนเกิดความ

ภาคภมู ใิ จในผลงานของตนและสง่ิ ทเี่ รียนรู้

3. หลักภูมิคุ้มกัน : ให้นักเรียนเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นักเรียนรู้จักการวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชกิ ภายในกลุ่มได้เหมาะสมกับความสามารถของแตล่ ะบุคคล
4. เงือ่ นไขความรู้ : การวางแผนงานท่ีจะทำกอ่ นแลว้ คอ่ ยลงมอื ทำอยา่ งระมัดระวัง
5. เงอ่ื นไขคุณธรรม : อดทนท่ีจะทำงาน และมีความขยันท่ีจะทำงานให้ออกมาได้ดีท่ีสุด , มีวินัยในการ

ทำงาน
10. ช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

ตัวชว้ี ัด ชิน้ งาน ภาระงาน

ว 2.3 ม.1/5 - รายงานกิจกรรมที่ 4 นำ้ อณุ หภมู ิ -วิเคราะหส์ ถานการณก์ ารถา่ ยโอนความ

ตา่ งกันผสมกนั จะเป็นอย่างไร รอ้ นและคำนวณปริมาณความรอ้ นท่ี

ถา่ ยโอนระหวา่ งสสารจนเกดิ สมดุล

ความรอ้ นโดยใช้สมการ Qสูญเสยี = Qได้รบั

11. การวัดประเมนิ ผล
11.1 การวัดและประเมินผลช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

42

วิธกี าร

1.การสงั เกตการณ์

2.การใช้ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์รอ่ งรอยบง่ ชี้ 3.การวัดประเมนิ การปฏบิ ตั ิ

เครอื่ งมอื

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมินการปฏิบตั ิ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1

รายการถือว่า ไมผ่ า่ น

11.2การวดั และประเมินผลระหว่างการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรขู้ อง

หน่วยการเรยี นร้นู ี)้

สงิ่ ท่ีต้องการวัด วิธวี ดั ผล เคร่อื งมอื วดั ผล เกณฑก์ ารประเมนิ

1. ความร้เู ก่ยี วกบั -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมนิ การ - นกั เรยี นได้คะแนน

- สมดลุ ความร้อน ความคิดเห็นอธิบาย อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขน้ึ ไป
หรือรอ้ ยละ 80
- การคำนวณปริมาณความร้อน เก่ียวกับสมดุลความ คิดเห็น
ร้อน - แบบประเมินการ ถือว่าผ่านเกณฑ์
ที่ถ่ายโอนระหวา่ งสสารจนเกดิ -ก า ร ต ร ว จ ผ ล ง า น ตรวจผลงานผู้เรยี น - นกั เรียนได้คะแนน
สมดลุ ความรอ้ นโดยใชส้ มการ
Qสญู เสีย = Qไดร้ บั นกั เรยี น ประเมนิ ผลงาน
13 คะแนนขึน้ ไป

หรอื รอ้ ยละ 80

ถือว่าผ่านเกณฑ์

2.ทักษะกระบวนการคิด และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมนิ การ -นั ก เรียน ได้ ค ะ แ น น

ทักษะกระบวนการกลุม่ ค ว าม คิ ด เห็ น ร ะ บุ อภิปรายแสดงความ 12 ค ะ แ น น ขึ้ น ไ ป

ทกั ษะกระบวน คิดเห็น หรือรอ้ ยละ 80 ถือว่า

การทางวิทยาศาสตร์ท่ี - แ บ บ ป ร ะ เมิ น ผ่านเกณฑ์

ได้ปฏบิ ัตจิ ากกจิ กรรม พฤติกรรมการ

- สังเกตพฤตกิ รรมการ ทำงานกลมุ่

ทำงานกลมุ่

3. คณุ ลักษณะทพ่ี งึ ประสงค์ - สงั เกตค่านิยมในการ - แบบประเมนิ - นักเรียนไดค้ ะแนน

และสมรรถนะผู้เรยี น ทำงานร่วมกบั ผอู้ นื่ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประเมนิ คณุ ลักษณะ

- มวี ินัยในการทำงานกลมุ่ และการทำงานใน ประสงค์ อนั พึงประสงค์

- นักเรียนเห็นความสำคญั ระบบกลุ่ม - แบบประเมนิ 26 คะแนนขน้ึ ไป

ของการทำงานร่วมกับผู้อ่ืนและ อภิปราย แสดงความ สมรรถนะผูเ้ รียน หรือรอ้ ยละ 80

การทำงานในระบบกลุ่ม คดิ เห็นเกีย่ วกับผลการ -แบบประเมนิ ระดบั ถือว่าผ่านเกณฑ์

- ยอมรบั ความคดิ เห็นซ่งึ กนั ทดลอง การเห็นคณุ ค่าใน - นักเรยี นได้คะแนน

และกันมคี วามเสียสละและ ตนเอง หรอื Self- การประเมินสมรรถนะ

43

อดทน esteem 29 คะแนนข้นึ ไป
- นักเรียนมีการเห็นคุณค่าใน หรอื รอ้ ยละ 80
ตนเอง (Self-esteem) ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

12. กจิ กรรมการเรยี นรู้
ชั่วโมงท่ี 1
1. ข้ันตั้งประเดน็ ปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)

1.1 ใช้ภาพในหนงั สอื เรียน และถามคำถามสรา้ งความสนใจ เพ่อื อภปิ รายวา่ ใชอ้ ุปกรณ์ใดในการวดั
อณุ หภูมขิ องร่างกายและมีวธิ ีการวัดอย่างไร จงึ จะทราบผลวา่ อณุ หภูมขิ องรา่ งกายเปน็ เท่าใด (การวัดอณุ หภูมิ

รา่ งกายโดยใช้เทอร์มอมิเตอร์วัดไข้อาจใช้การอมในปาก หรือสอดใต้รักแร้ เป็นระยะเวลาหนงึ่ เพ่ือให้เทอร์มอ
มเิ ตอรแ์ ละร่างกายเกดิ สมดลุ ความร้อนซึง่ อุณหภมู ิที่อา่ นได้จะมคี า่ คงทค่ี า่ หนึ่ง)

1.2 ให้นักเรียนทำกิจกรรมทบทวนความรู้กอ่ นเรยี น เพื่อประเมินความรู้พ้นื ฐาน เกยี่ วกบั ปัจจัยท่ีมผี ลต่อ

ปริมาณความร้อนท่ีทำให้สสารเปล่ียนสถานะและเปล่ียนอุณหภูมิ หากครูพบว่านักเรยี นยังมีความรู้พื้นฐานไม่
ถูกต้อง ครูควรทบทวนหรอื แกไ้ ขความเขา้ ใจผดิ เพ่ือใหน้ ักเรยี นมคี วามรพู้ ื้นฐานเพียงพอในการเรียนตอ่ ไป

1.3 ต้ังคำถามให้นักเรียนเกิดข้อสงสัยว่าเม่ือมีการถ่ายโอนความร้อนระหว่างน้ำท่ีมีอุณหภูมิต่างกัน
อุณหภูมิของน้ำทั้งสองจะเปล่ียนแปลงไปจนกระท่ังเป็นอย่างไร เพื่อเช่ือมโยงเข้าสู่กิจกรรมท่ี 4 น้ำอุณหภูมิ
ตา่ งกนั ผสมกันจะเป็นอย่างไร

ชว่ั โมงที่ 2-3
2. ขั้นสืบค้นความรู้ (Searching for Information)

2.1 ให้นักเรียนอ่านวิธีดำเนินกิจกรรม จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายจุดประสงค์และวิธีดำเนิน
กิจกรรมโดยอาจใชค้ ำถามดังน้ี

• กิจกรรมนี้เกี่ยวกับเร่อื งอะไร (เร่อื งการถ่ายโอนความร้อนระหว่างน้ำท่ีมอี ณุ หภูมิตา่ งกนั )

• การทำกิจกรรมมีข้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (เทนำ้ เยน็ 25 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร ลงในแคลอรมี ิเตอร์ แล้ววัด
และบนั ทึกอุณหภมู เิ รมิ่ ตน้ วัดและบันทึกอณุ หภมู นิ ้ำรอ้ น 25 ลูกบาศก์เซนตเิ มตร ทีบ่ รรจุในแกว้ แล้วเทนำ้ ร้อน

ลงในแคลอรมี ิเตอร์ปดิ ฝาให้แนน่ จากนั้นวัดอุณหภูมขิ องนำ้ ทกุ ๆ 10 วินาที เป็นเวลา 2 นาที เขียนกราฟแสดง
ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งอณุ หภูมิของน้ำกบั เวลา หลงั จากนั้นทำกจิ กรรมทง้ั หมดซำ้ อีกครัง้ โดยเปล่ียนอณุ หภูมิของ
น้ำให้ต่างจากเดิม)

2.2 เปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามเกี่ยวกับข้ันตอนการทำกิจกรรมที่นักเรียนยังไม่เข้าใจ จากน้ันครูและ
นกั เรยี นร่วมอภปิ รายเพื่อแก้ไขส่งิ ทีน่ กั เรยี นยังไมเ่ ขา้ ใจ เน้นย้ำเก่ียวกับวธิ ีการบันทึกผล

2.3 ให้นกั เรียนแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4 - 5 คน เพอื่ ทำกจิ กรรมท่ี 4
2.4 ให้นกั เรยี นนำผลจากการทำกจิ กรรมมาอภิปรายรว่ มกัน และตอบคำถามทา้ ยกจิ กรรม
2.5 ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่าเม่ือผสมสสารท่ีมีอุณหภูมิต่างกัน สสารจะมีการ

ถา่ ยโอนความร้อนจนกระทงั่ สมดลุ ความรอ้ น ซ่งึ อุณหภูมิของสสารทัง้ สองจะเทา่ กัน
2.6 นักเรยี นอ่านและอภิปรายวธิ กี ารคำนวณปริมาณความรอ้ นของสสารทถี่ ่ายโอนในขณะสมดลุ ความรอ้ น

เพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า ในขณะสมดุลความร้อน ปริมาณความร้อนที่สสารหน่ึงสูญเสียไปจะเท่ากับปริมาณความ
ร้อนท่ีอกี สสารหน่ึงไดร้ ับหรอื เขยี นอธิบายโดยใช้ความสมั พันธ์ Q สูญเสยี = Q ไดร้ ับ

44

2.7 ร่วมกันอภิปรายเพื่อศกึ ษาวิธีการคำนวณหาสมดุลความรอ้ นของสสาร และปรมิ าณอืน่ ๆ ที่เก่ียวข้อง
โดยครูให้นักเรียนอ่านทำความเข้าใจโจทยต์ ัวอย่างในหนังสือเรยี นทีละข้อ เพ่ือใหน้ ักเรยี นเข้าใจแนวทางในการ

วเิ คราะหแ์ ละวธิ กี ารหาคำตอบ
2.8 ใหน้ กั เรียนตอบคำถามระหว่างเรียนและคำถามชวนคดิ แสดงวธิ กี ารคำนวณเพ่อื ตรวจสอบความเขา้ ใจ

จากนน้ั นักเรียนอภิปรายและนำเสนอวิธกี ารคำนวณ
3. ขนั้ สรปุ องค์ความรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ใหน้ กั เรียนร่วมกันสรุปบทเรียนเร่ืองการถ่ายโอนความร้อน จากน้ันนกั เรยี นทำกจิ กรรมตรวจสอบ

ตนเอง เพื่อสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากบทเรียน โดยการเขียนบรรยาย วาดภาพ หรือเขียนผังมโนทัศน์สิ่งที่ได้
เรยี นรู้จากบทเรียนเร่ืองการถา่ ยโอนความร้อน

3.2 นำเสนอผังมโนทัศน์ โดยอาจให้นกั เรียนนำเสนอและอภปิ รายภายในกลุ่ม หรอื อภิปรายรว่ มกนั ใน
ช้ันเรียน หรือติดแสดงผลงานบนผนังห้องเรียน แล้วให้นักเรียนทุกคนร่วมแสดงความคิดเห็น โดยอาจเขียน
ข้อเสนอแนะหรือข้อคิดเห็นลงในกระดาษแผ่นเล็กติดไว้ จากน้ันครูและนักเรียนอภิปรายสรุปองค์ความรู้ที่ได้

จากบทเรียนรว่ มกัน

ชว่ั โมงที่ 4-7
4. ขนั้ การสือ่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 ครูใหน้ กั เรียน สรา้ งตู้ขนสง่ สินคา้ กันความร้อนได้อยา่ งไร

4.2 ครูใช้เวลาในชั้นเรียนเพ่ืออภิปรายและช่วยหาแนวทางในการออกแบบช้ินงานร่วมกับนักเรียน
แล้วให้นักเรยี นสรา้ งและทดสอบช้ินงานนอกเวลาเรียน จากนั้นจึงนำผลการทดสอบที่ได้มาอภิปรายร่วมกนั ใน

หอ้ งเรยี นต่อไป
5. ข้ันการบริการสงั คมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นักเรียนร่วมกันสืบค้นข้อมูลและนำความรู้เกี่ยวกับการถ่ายโอนความร้อนมาใช้ในการสร้าง

ช้นิ งานอย่างไรบ้าง
5.2 ครูและนักเรียนร่วมกันเปรียบเทียบประสิทธิภาพตู้ขนส่งสินค้ากันความร้อนของกลุ่มตนเองกับ

กลุม่ อื่น ๆ ให้มีความน่าเช่อื ถอื ทางวิทยาศาสตรต์ ้องควบคมุ ปจั จยั ใดบา้ ง
13. ส่อื การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้

13.1ส่ือการเรยี นรู้ 2) หนังสอื แบบเรียน 3) สอ่ื เพาเวอร์พอยต์

1) ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์
13.2 แหล่งเรียนรู้

1) อนิ เตอรเ์ น็ต 2) ห้องสมดุ
14. บนั ทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ดา้ นความรู้ : ......................................................................................
- สมดุลความร้อน ......................................................................................
- การคำนวณปรมิ าณความร้อนทถี่ ่ายโอนระ
หว่างสสารจนเกิดสมดุลความรอ้ นโดยใช้ ......................................................................................
สมการ Qสูญเสีย = Qไดร้ ับ ......................................................................................
................................................................................

......................................................................................

45

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการคดิ ......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ......................................................................................

......................................................................................

3. ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรมและคา่ นยิ ม ......................................................................................
อนั พงึ ประสงค์ : ......................................................................................

- มีวินัย ......................................................................................
- ใฝ่เรยี นรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................
- รักความเป็นไทย ......................................................................................

4. ปัญหาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................

5. วิธแี ก้ปญั หา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

ลงช่อื ........................................ครูผู้สอน ลงชอื่ ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทมุ สกุลรตั น.์ .) (นางกณิการ์ พฒั รากุล)

ลงชือ่ ...........................................
(นางรพพี ร คำบุญมา)

รองผ้อู ำนวยการกลุม่ บรหิ ารวิชาการ

ลงช่อื ........................................................
(นายสรุ ยิ นั ต์ เหล่ามะลกึ )

ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวทิ ยาคม

46

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 8
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี…2…กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ…….เรื่อง……..ลมฟ้าอากาศรอบตวั .(ตอนท่ี 1)....

รายวิชา……......วิทยาศาสตร์……..2.......รหัสวิชา……......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี....1.....
กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีการศกึ ษา... 2564... ภาคเรยี นท.ี่ .2...เวลา...3..ชั่วโมง……
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อุทมุ สกุลรัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพนื้ ฐานมีทง้ั มาตรฐานการเรียนร้แู ละตวั ชว้ี ัด
รายวิชาเพม่ิ เติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละผลการเรยี นรู)้

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ดั
ว 3.2 ม.1/1

2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (หลอมจากตัวชีว้ ัดที่ใช้ในหน่วยการเรียนรูน้ ้เี ขียนเป็นแบบความเรียง)
บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกเราน้ันมีการเปล่ียนแปลงและพัฒนาตั้งแต่เริ่มกำเนิดโลกจนกระท่ังปัจจุบัน

บรรยากาศส่งผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์และส่ิงแวดล้อม บรรยากาศมีสมบัติและองค์ประกอบแตกต่างกัน
ไปตามระดับความสูงจากผิวโลก นักวิทยาศาสตร์ใช้เกณฑ์การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามความสูง แบ่ง
บรรยากาศเป็น 5 ช้ัน ได้แก่ ช้ันโทรโพสเฟียร์ช้ันสตราโตสเฟียร์ ชน้ั มีโซสเฟียร์ ชั้นเทอร์โมสเฟียร์ และชั้นเอก
โซสเฟียร์ ด้วยสมบัติและองค์ประกอบ ทำให้บรรยากาศแต่ละช้ันเกิดปรากฏการณ์และส่งผลต่อมนุษย์และ
สิ่งแวดล้อมแตกต่างกนั
3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/สาระการเรียนร้เู พ่ิมเตมิ (รายวิชาเพ่ิมเตมิ )
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
• โลกมีบรรยากาศหอ่ หุ้ม นักวทิ ยาศาสตรใ์ ชส้ มบัตแิ ละองคป์ ระกอบของบรรยากาศในการแบ่ง

บรรยากาศของโลกออกเปน็ ชน้ั ซ่ึงแบ่งได้หลายรปู แบบตามเกณฑ์ทแ่ี ตกตา่ งกัน โดยทวั่ ไปนักวิทยาศาสตร์ใช้
เกณฑก์ ารเปล่ยี นแปลงอณุ หภูมติ ามความสงู แบ่งบรรยากาศได้เปน็ 5 ชน้ั ไดแ้ ก่ ชน้ั โทรโพสเฟียร์ ชั้นสตราโตส
เฟียร์ ชั้นมีโซสเฟียร์ชัน้ เทอร์โมสเฟียร์ และช้ันเอกโซสเฟยี ร์

• บรรยากาศแตล่ ะช้นั มปี ระโยชน์ตอ่ สงิ่ มีชีวิตแตกต่างกนั โดยชนั้ โทรโพสเฟียรม์ ปี รากฏการณ์ ลมฟ้า
อากาศท่ีสำคญั ต่อการดำรงชีวิตของส่งิ มีชวี ติ ชน้ั สตราโตสเฟียร์ชว่ ยดูดกลนื รงั สอี ลั ตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์
ไมใ่ ห้มายงั โลกมากเกินไปชั้นมโี ซสเฟียร์ช่วยชะลอวตั ถนุ อกโลกที่ผา่ นเข้ามา ใหเ้ กดิ การเผาไหม้กลายเป็นวตั ถุ
ขนาดเลก็ ลดโอกาสทจ่ี ะทำความเสยี หายแก่สง่ิ มีชีวติ บนโลก ช้ันเทอรโ์ มสเฟยี รส์ ามารถสะทอ้ นคล่นื วิทยุ และ
ชน้ั เอกโซสเฟยี รเ์ หมาะสำหรับการโคจรของดาวเทียมรอบโลกในระดบั ตำ่

3.2 สาระการเรียนรทู้ อ้ งถิ่น (ถ้าในคำอธิบายรายวิชาพดู ถึงหลักสูตรท้องถน่ิ ให้ใส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

นกั เรยี นสามารถ

1. สรา้ งแบบจำลองช้ันบรรยากาศแสดงการแบ่งช้นั บรรยากาศของโลกตามเกณฑ์ทต่ี นเองสรา้ งขึ้น(P)

2. เปรียบเทยี บประโยชน์ของช้ันบรรยากาศแตล่ ะช้ัน (K)

5. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน (เลอื กเฉพาะขอ้ ทีเ่ กิดในหนว่ ยการเรยี นรนู้ ี)้

 1. ความสามารถในการส่ือสาร  2. ความสามารถในการคิด

47

 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต

 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

6. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (เลือกเฉพาะข้อท่เี กิดในหน่วยการเรยี นรนู้ ้ี)

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  2. ซือ่ สตั ยส์ ุจรติ

 3. มวี นิ ยั  4. ใฝเ่ รียนรู้

 5. อยอู่ ย่างพอเพียง  6. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน

 7. รักความเป็นไทย  8. มีจติ สาธารณะ

7. ด้านคุณลกั ษณะของผู้เรยี นตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลศิ วิชาการ  2. สอ่ื สารสองภาษา  3. ล้ำหน้าทางความคิด

 4. ผลติ งานอย่างสร้างสรรค์  5. รว่ มกันรับผิดชอบต่อสงั คมโลก

8. ทักษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได)้  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเป็น)

 ทักษะดา้ นการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะด้านความเขา้ ใจความต่างวฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะด้านความรว่ มมอื การทำงานเป็นทมี และภาวะผนู้ ำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทักษะดา้ นการสอ่ื สาร สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันส่ือ (Communications, Information, and Media

Literacy)

 ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร (Computing and ICT Literacy)

 ทักษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)

 ความมีเมตตา (วินัย คณุ ธรรม จริยธรรม (Compassion)

9. บูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรียนคือ

ประมาณกลมุ่ ละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตุผล : ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบัติ , นักเรียนเกิดความ

ภาคภูมใิ จในผลงานของตนและส่ิงทเี่ รียนรู้

3. หลักภูมิคุ้มกัน : ให้นักเรียนเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นักเรียนรู้จักการวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานใหส้ มาชกิ ภายในกลุ่มได้เหมาะสมกบั ความสามารถของแต่ละบุคคล

4. เงอ่ื นไขความรู้ : การวางแผนงานท่ีจะทำกอ่ นแล้วค่อยลงมอื ทำอย่างระมดั ระวงั

5. เง่ือนไขคณุ ธรรม : อดทนท่ีจะทำงาน และมีความขยันท่ีจะทำงานให้ออกมาได้ดีท่ีสุด , มีวินัยในการ

ทำงาน

48

10. ชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ช้ีวดั ชิน้ งาน ภาระงาน
- สร้างแบบจำลองที่อธิบายการแบ่งชั้น
ว.3.2ม.1/1 - รายงานกจิ กรรมที่ 1 บรรยากาศของ
บรรยากาศของโลกและอธิบายประโยชน์
โลกเป็นอย่างไร
ของชั้นบรรยากาศแตล่ ะช้ัน

11. การวัดประเมินผล

11.1 การวัดและประเมินผลช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

วิธีการ

1.การสังเกตการณ์

2.การใชช้ ดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตรร์ อ่ งรอยบ่งชี้ 3.การวัดประเมินการปฏบิ ตั ิ

เคร่อื งมือ

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมนิ การปฏบิ ตั ิ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถอื วา่ ผ่าน ผ่าน 1

รายการถอื วา่ ไม่ผา่ น

11.2การวัดและประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ประเมินจากแผนการจดั การเรียนรู้ของ

หนว่ ยการเรยี นรนู้ )ี้

ส่ิงทต่ี ้องการวดั วธิ วี ัดผล เครื่องมือวดั ผล เกณฑ์การประเมิน

1. ความร้เู กีย่ วกับ -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมนิ การ - นกั เรียนได้คะแนน

- การแบง่ ชนั้ บรรยากาศของ ความคิดเห็นอธิบาย อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขนึ้ ไป
เกี่ยวกับการแบ่งช้ัน คิดเห็น หรือรอ้ ยละ 80
โลก บรรยากาศของโลก - แบบประเมนิ การ ถือว่าผ่านเกณฑ์
- ประโยชนข์ องช้ันบรรยากาศ ป ร ะ โย ช น์ ข อ ง ชั้ น ตรวจผลงานผูเ้ รยี น - นกั เรียนไดค้ ะแนน
แตล่ ะชนั้ ประเมินผลงาน
บรรยากาศแต่ละช้นั 13 คะแนนขนึ้ ไป
หรือร้อยละ 80
-ก า ร ต ร ว จ ผ ล ง า น ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์
นกั เรียน

2.ทักษะกระบวนการคิด และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมินการ -นั ก เรียน ได้ ค ะ แ น น

ทักษะกระบวนการกลุม่ ค ว าม คิ ด เห็ น ร ะ บุ อภปิ รายแสดงความ 12 ค ะ แ น น ขึ้ น ไ ป

ทักษะกระบวน คดิ เหน็ หรือร้อยละ 80 ถือว่า

การทางวิทยาศาสตร์ที่ - แ บ บ ป ร ะ เมิ น ผา่ นเกณฑ์

ได้ปฏิบตั ิจากกิจกรรม พฤตกิ รรมการ

- สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุ่ม

49

ทำงานกลมุ่

3. คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ - สังเกตค่านิยมในการ - แบบประเมิน - นกั เรยี นได้คะแนน

และสมรรถนะผู้เรียน ทำงานร่วมกับผ้อู ืน่ คุณลกั ษณะอันพงึ ประเมินคุณลกั ษณะ

- มีวนิ ัยในการทำงานกลุม่ และการทำงานใน ประสงค์ อันพึงประสงค์

- นักเรียนเห็นความสำคญั ระบบกลุ่ม - แบบประเมิน 26 คะแนนขึน้ ไป

ของการทำงานร่วมกับผู้อื่นและ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผเู้ รยี น หรอื รอ้ ยละ 80

การทำงานในระบบกลุ่ม คิดเห็นเกยี่ วกับผลการ -แบบประเมินระดับ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

- ยอมรับความคิดเห็นซง่ึ กนั ทดลอง การเหน็ คุณค่าใน - นกั เรยี นไดค้ ะแนน

และกันมคี วามเสียสละและ ตนเอง หรือ Self- การประเมินสมรรถนะ

อดทน esteem 29 คะแนนขนึ้ ไป

- นักเรียนมีการเห็นคุณค่าใน หรอื รอ้ ยละ 80

ตนเอง (Self-esteem) ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรยี นรู้

ชัว่ โมงที่ 1

1. ขน้ั ต้ังประเดน็ ปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครูต้ังประเด็นให้นักเรียนรว่ มกันยกตัวอยา่ งและอภิปรายดงั นี้

• จากข้อมูลขา่ วสาร หรือประสบการณ์ตรงของนักเรียนพบขอ้ มูลเก่ียวกับสถานการณ์ทางธรรมชาติ

เก่ียวกับลมฟ้าอากาศท่ีผิดปกติอย่างไรบ้าง (นักเรียนตอบได้โดยอิสระ เชน่ อากาศร้อนจัดพายฤุ ดูรอ้ น ลูกเห็บ

ตก)

• สถานการณ์ดังกล่าวส่งผลกระทบต่อชวี ิตและทรัพย์สินอย่างไรบ้าง (นักเรยี นตอบได้โดยอิสระ เช่น

หลังคาบ้านปลวิ รถยนต์เสียหาย ความเจบ็ ป่วยหรือได้รับบาดเจบ็ )

1.2 ให้นักเรียนดูภาพนำหน่วย คือ ภาพเฮอรเิ คนแคทรีนาซึ่งเป็นพายทุ ่ีมคี วามรนุ แรงมากท่ีสดุ ลกู หน่ึงใน

ประวัติศาสตรข์ องประเทศสหรัฐอเมรกิ า และสรา้ งความเสียหายนับเป็นมูลค่าถงึ นบั แสนล้านดอลล่าห์ เกดิ ขึ้น

ระหว่างวันท่ี 23-31 สงิ หาคม 2548

1.3 ใช้คำถามต่อไปนี้

• ปัจจัยใดบ้างส่งผลให้เกิดสภาพลมฟ้าอากาศในพื้นท่ีนั้น ๆ (องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ

เปลย่ี นแปลง สภาพลมฟ้าอากาศเปลีย่ นแปลง)

• องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศมีอะไรบ้าง(อุณหภูมิ ความชื้น ความกดอากาศ ลม เมฆ และหยาด

น้ำฟ้า)

1.4 ทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียน แล้วนำเสนอผลการทำกิจกรรม หากครูพบว่านักเรียนยังทำ

กจิ กรรมทบทวนความรู้กอ่ นเรียนไม่ถูกต้องครูควรทบทวนหรือแก้ไขความเข้าใจผิดของนกั เรียนเพื่อให้นักเรียน

มีความรูพ้ น้ื ฐานทถี่ กู ต้องและเพยี งพอที่จะเรยี นเร่อื งบรรยากาศต่อไป

ชัว่ โมงท่ี 2

2. ขัน้ สบื คน้ ความรู้ (Searching for Information)

2.1 ให้นักเรียนอ่านเน้ือหาในชุดกิจกรรมและตอบคำถามเกี่ยวกับ การเกิดบรรยากาศของโลก ต้ังแต่

เริม่ ตน้ จนถึงปัจจุบันจากนนั้ ครูและนกั เรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับการเกิดบรรยากาศของโลก เพื่อให้ได้

ข้อสรุปว่า เม่ือโลกเกิดข้ึนในช่วงแรกไม่มีบรรยากาศห่อหุ้ม บรรยากาศของโลกมีการเปล่ียนแปลงต้ังแต่อดีต

50

จนถึงปัจจุบัน โดยมีเหตุการณ์ต่าง ๆเข้ามาเก่ียวข้อง บรรยากาศของโลกในปัจจุบันเหมาะสมต่อการดำรงชีวิต
ของมนษุ ย์

2.2 นำเขา้ สู่กิจกรรมท่ี 1 บรรยากาศของโลกเป็นอย่างไร โดยตั้งคำถามสร้างความสนใจว่า บรรยากาศที่
หอ่ หุ้มโลกมีลักษณะและสมบัตเิ หมือนกันโดยตลอดต้งั แตร่ ะดับผิวโลกจนถึงอวกาศหรอื ไม่ อย่างไร

2.3 ใหน้ ักเรยี นอ่านวิธดี ำเนนิ กจิ กรรมในหนงั สือเรียน และร่วมกันอภิปรายในประเดน็ ดงั ตอ่ ไปน้ี
• กจิ กรรมนี้เกยี่ วกบั เรอื่ งอะไร (บรรยากาศของโลก)
• กจิ กรรมนม้ี ีจดุ ประสงคอ์ ย่างไร (นักเรยี นตอบตามความคิดของตนเอง)

• วธิ ดี ำเนนิ กิจกรรมมขี ั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (อา่ นขอ้ มูลสมบัตแิ ละองคป์ ระกอบของบรรยากาศจาก
ตาราง จากน้ันสร้างแบบจำลองชั้นบรรยากาศของโลกตามเกณฑ์ของตนเองและนำเสนอ รวบรวมข้อมูลการ

แบง่ ช้ันบรรยากาศตามเกณฑ์ของนกั วทิ ยาศาสตร์ และเปรยี บเทยี บกบั เกณฑ์ทต่ี นเองสรา้ งขึ้น)
2.4 ให้นักเรียนแต่ละกลุม่ เสนอแบบจำลองชัน้ บรรยากาศ โดยนำผลงานตดิ แสดงไวร้ อบห้องเรยี นนกั เรยี น

ทกุ คนร่วมชมผลงาน

2.5 นักเรียนสบื ค้นข้อมูลการแบ่งชั้นบรรยากาศตามเกณฑ์ของนักวทิ ยาศาสตร์ จากแหล่งข้อมูลที่เช่ือถือ
ได้ เช่น เว็บไซต์หรือหนงั สอื จากหนว่ ยงานของรัฐที่เก่ียวข้อง และอภิปรายภายในกลุม่ เพอ่ื เปรียบเทียบการแบ่ง

ชั้นบรรยากาศตามเกณฑ์ของนักวิทยาศาสตร์ และเกณฑ์ของตนเอง โดยให้เขียนผลการอภิปรายบนผลงาน
แบบจำลองชน้ั บรรยากาศทน่ี ักเรยี นไดต้ ิดแสดงไว้รอบห้องเรียน

ชวั่ โมงที่ 3

3. ขนั้ สรปุ องค์ความรู้ (Knowledge Formation)

3.1 นกั เรยี นตอบคำถามท้ายกิจกรรม จากนั้นนำเสนอ และอภิปรายคำตอบร่วมกันเพ่ือให้ได้ข้อสรุป

วา่ ในแต่ละระดับความสูง บรรยากาศมีสมบัติและองคป์ ระกอบแตกต่างกันไป การแบ่งช้ันบรรยากาศมีหลาย

เกณฑ์ โดยท่ัวไปนักวิทยาศาสตร์ใช้การเปลยี่ นแปลงอณุ หภูมิตามความสงู ในการแบ่งชนั้ บรรยากาศ

4. ขั้นการสอ่ื สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ เพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า โลกของเรามีบรรยากาศ

ห่อหุม้ บรรยากาศทหี่ อ่ หุ้มโลกมีสมบัติและองคป์ ระกอบแตกต่างกนั ไปตามความสูงจากพ้นื โลก นักวิทยาศาสตร์

ใช้เกณฑ์ต่าง ๆ ในการแบ่งชั้นบรรยากาศของโลก โดยทั่วไปนักวิทยาศาสตร์ใช้การเปล่ียนแปลงอุณหภูมิตาม

ความสูงในการแบ่งช้นั บรรยากาศ ได้แก่ ชั้นโทรโพสเฟียร์ สตราโตสเฟียร์ มีโซสเฟียร์ เทอร์โมสเฟียร์ และเอก

โซสเฟียร์ บรรยากาศแต่ละช้ันมีประโยชน์ต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมในด้านต่าง ๆ เช่น เกิดฝน ป้องกันรังสี

อัลตราไวโอเลต เผาไหม้อุกกาบาต สะท้อนคล่ืนวิทยุ บรรยากาศของโลกจึงมีความเหมาะสมและเอ้ือต่อการ

ดำรงชีวิตของสงิ่ มีชีวิต

5. ขัน้ การบรกิ ารสงั คมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 ให้นักเรียนสบื ค้นข้อมูลเพ่ิมเติมเก่ียวกับประโยชน์ของชั้นบรรยากาศจากแหล่งข้อมูลท่ีเชื่อถือได้

หรือหนังสือเรียน จากนั้นตอบคำถามระหว่างเรียน และทำกิจกรรมเสริม แบบจำลองชั้นบรรยากาศของ

นักเรียนเป็นอย่างไร โดยให้นักเรียนสร้างแบบจำลองที่แสดงสมบัติ องค์ประกอบ และประโยชน์ของช้ัน

บรรยากาศแตล่ ะชนั้

13. สอ่ื การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้

12.1สือ่ การเรียนรู้

1) ชุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 2) หนังสอื แบบเรียน 3) สอื่ เพาเวอรพ์ อยต์

51

12.2แหลง่ เรียนรู้ 2) หอ้ งสมุด
1) อินเตอร์เนต็

14. บันทกึ หลังการจัดการเรียนรู้ รายละเอยี ด
ผลการสอน
......................................................................................
1. ดา้ นความรู้ : ......................................................................................
......................................................................................
- การแบง่ ช้นั บรรยากาศของโลก ......................................................................................
......................................................................................
- ประโยชน์ของช้ันบรรยากาศแต่ละชน้ั ......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการคิด ......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................
......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................

3. ด้านคณุ ธรรมจริยธรรมและค่านิยม ......................................................................................

อันพึงประสงค์ : ......................................................................................
- มวี ินัย ......................................................................................
- ใฝ่เรียนรู้ ......................................................................................
- อยู่อย่างพอเพียง
- รักความเปน็ ไทย ......................................................................................
......................................................................................

4. ปัญหาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................

52

5. วธิ แี กป้ ัญหา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

......................................................................................

ลงช่ือ........................................ครูผสู้ อน ลงชอื่ ...........................................หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกุลรัตน์..) (นางกณกิ าร์ พัฒรากุล)

ลงช่อื ...........................................
(นางรพีพร คำบญุ มา)

รองผอู้ ำนวยการกลุม่ บริหารวิชาการ

ลงชอ่ื ........................................................
(นายสรุ ยิ ันต์ เหลา่ มะลกึ )

ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวทิ ยาคม

53

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 9
หน่วยการเรียนรทู้ ี่…2…กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟา้ อากาศ…….เรื่อง……..ลมฟ้าอากาศรอบตวั .(ตอนท่ี 2)....

รายวชิ า……......วิทยาศาสตร์……..2.......รหัสวิชา……......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี....1.....
กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีการศึกษา..2564...ภาคเรยี นที.่ .2...เวลา...2..ช่ัวโมง……

ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รัตน์.........................................................................................
1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ (รายวิชาพื้นฐานมีทัง้ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชว้ี ัด
รายวชิ าเพิม่ เติมมเี ฉพาะมาตรฐานการเรยี นรู้และผลการเรียนรู้)

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั ว 3.2 ม.1/2

2. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวชวี้ ัดทีใ่ ช้ในหนว่ ยการเรียนรู้น้ีเขยี นเป็นแบบความเรียง)

มนุษย์ดำรงชวี ิตอยู่ภายใต้บรรยากาศชั้นโทรโพสเฟยี ร์ซงึ่ เกิดสภาพลมฟ้าอากาศต่าง ๆ เช่น ลม เมฆ

ฝน ฟา้ แลบ ฟา้ รอ้ งองคป์ ระกอบของลมฟ้าอากาศ

3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรียนรู้เพิม่ เตมิ (รายวชิ าเพมิ่ เติม)

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

• ลมฟา้ อากาศ เป็นสภาวะของอากาศในเวลาหนึ่งของพน้ื ทห่ี นงึ่ ท่ีมีการเปลย่ี นแปลงตลอดเวลา

ข้ึนอยู่กับองค์ประกอบลมฟา้ อากาศ ได้แก่ อุณหภูมอิ ากาศ ความกดอากาศ ลม ความชน้ื เมฆ และหยาดนำ้ ฟ้า

โดยหยาดน้ำฟา้ ทพ่ี บบอ่ ยในประเทศไทยได้แก่ ฝน องค์ประกอบ

ลมฟา้ อากาศเปลย่ี นแปลงตลอดเวลาขึน้ อยกู่ ับปัจจัยตา่ ง ๆ เช่น ปริมาณรงั สีจากดวงอาทติ ย์และลกั ษณะ

พืน้ ผวิ โลกสง่ ผลตอ่ อุณหภูมิอากาศ อุณหภูมอิ ากาศและปริมาณไอน้ำสง่ ผลตอ่ ความช้นื ความกดอากาศสง่ ผลตอ่

ลม ความชน้ื และลมสง่ ผลตอ่ เมฆ

3.2 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่น (ถา้ ในคำอธิบายรายวิชาพูดถงึ หลกั สูตรทอ้ งถน่ิ ให้ใส่ลงไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. วิเคราะห์และอธิบายปัจจัยทีม่ ีผลตอ่ การเปลีย่ นแปลงองคป์ ระกอบของลมฟา้ อากาศได้ (K)

2. ทดลองหาอุณหภูมิอากาศ และการเปล่ียนแปลงอุณหภูมอิ ากาศได้ (P)

3. ต้ังใจเรียนรูแ้ ละแสวงหาความรู้ (A)

5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น (เลอื กเฉพาะข้อท่ีเกิดในหนว่ ยการเรียนรู้น้)ี

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคิด

 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ

 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (เลอื กเฉพาะขอ้ ท่ีเกิดในหนว่ ยการเรียนรนู้ ี้)

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  2. ซ่อื สตั ยส์ ุจริต

 3. มีวินยั  4. ใฝ่เรียนรู้

 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง  6. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน

 7. รักความเปน็ ไทย  8. มจี ิตสาธารณะ

7. ดา้ นคณุ ลกั ษณะของผ้เู รยี นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลศิ วชิ าการ  2. สือ่ สารสองภาษา  3. ล้ำหนา้ ทางความคิด

 4. ผลติ งานอย่างสร้างสรรค์  5. รว่ มกนั รับผิดชอบต่อสงั คมโลก

54

8. ทักษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คือการเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได้)  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเปน็ )

 ทกั ษะดา้ นการคดิ อย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)

 ทกั ษะดา้ นความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะดา้ นความร่วมมอื การทำงานเป็นทมี และภาวะผนู้ ำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทกั ษะดา้ นการส่ือสาร สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันสอื่ (Communications, Information, and Media

Literacy)

 ทกั ษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร (Computing and ICT Literacy)

 ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)

 ความมเี มตตา (วินัย คณุ ธรรม จริยธรรม (Compassion)

9. บรู ณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลมุ่ ใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรยี นคือ

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตุผล : ใหน้ ักเรยี นสร้างสรรคผ์ ลงานและเกิดทักษะการปฏิบตั ิ , นักเรียนเกิดความ

ภาคภูมใิ จในผลงานของตนและส่งิ ทเ่ี รยี นรู้

3. หลักภูมิค้มุ กนั : ใหน้ ักเรียนเกิดทักษะการทำงานกล่มุ และกลา้ แสดงออก , นักเรียนรจู้ กั การวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชกิ ภายในกลุม่ ได้เหมาะสมกบั ความสามารถของแต่ละบุคคล

4. เง่ือนไขความรู้ : การวางแผนงานทจี่ ะทำกอ่ นแลว้ คอ่ ยลงมือทำอยา่ งระมดั ระวงั

5. เง่อื นไขคุณธรรม : อดทนทจี่ ะทำงาน และมคี วามขยนั ท่ีจะทำงานให้ออกมาได้ดที ีส่ ดุ , มีวินัยในการ

ทำงาน

10. ช้นิ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตัวช้วี ัด ชนิ้ งาน ภาระงาน

ว.3.2ม.1/2 - รายงานกิจกรรมที่ 2 อณุ หภมู ิอากาศ - วเิ คราะหแ์ ละอธิบายปัจจัยทม่ี ีผลต่อ

เปลีย่ นแปลงอย่างไร การเปล่ียนแปลงองค์ประกอบของลมฟา้

อากาศ

11. การวัดประเมินผล 3.การวัดประเมนิ การปฏิบัติ
3. แบบวัดประเมินการปฏิบตั ิ
11.1การวดั และประเมนิ ผลชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด
วิธีการ

1.การสงั เกตการณ์
2.การใชช้ ุดกิจกรรมวิทยาศาสตรร์ ่องรอยบ่งช้ี
เคร่ืองมือ

1. แบบสังเกตการณ์
2. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์

55

เกณฑ์
1.การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรม ผา่ นตัง้ แต่ 2 รายการ ถอื วา่ ผา่ น ผ่าน 1
รายการถือวา่ ไม่ผา่ น

11.2การวัดและประเมินผลระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจดั การเรยี นร้ขู อง
หน่วยการเรียนรนู้ ี้)

สงิ่ ท่ีตอ้ งการวัด วิธีวดั ผล เครอื่ งมือวดั ผล เกณฑ์การประเมนิ
- นกั เรยี นได้คะแนน
1. ความรูเ้ กี่ยวกับ -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมนิ การ 12 คะแนนข้นึ ไป
อภิปรายแสดงความ หรอื รอ้ ยละ 80
- ปจั จัยทม่ี ีผลตอ่ การเปล่ียน ความคดิ เหน็ อธบิ าย คดิ เหน็ ถือว่าผ่านเกณฑ์
แปลงองค์ประกอบของลมฟา้ เกีย่ วกบั ปัจจัยทีม่ ีผลตอ่ - แบบประเมินการ - นักเรยี นไดค้ ะแนน
อากาศ การเปลย่ี นแปลง ตรวจผลงานผูเ้ รยี น ประเมนิ ผลงาน
13 คะแนนขึน้ ไป
องค์ประกอบของลมฟ้า หรือร้อยละ 80
ถือว่าผา่ นเกณฑ์
อากาศ -นกั เรียนได้คะแนน
12 คะแนนข้ึนไป
-การตรวจผลงาน หรือรอ้ ยละ 80 ถือว่า
นักเรียน ผา่ นเกณฑ์

2.ทกั ษะกระบวนการคดิ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมินการ - นกั เรยี นได้คะแนน
ประเมินคณุ ลักษณะ
และทักษะกระบวนการกลุม่ ความคดิ เหน็ ระบทุ ักษะ อภิปรายแสดงความ อนั พึงประสงค์
26 คะแนนข้ึนไป
กระบวน คดิ เห็น หรือร้อยละ 80
ถือว่าผา่ นเกณฑ์
การทางวิทยาศาสตร์ท่ไี ด้ - แบบประเมิน - นกั เรียนได้คะแนน
การประเมินสมรรถนะ
ปฏิบตั จิ ากกิจกรรม พฤตกิ รรมการ 29 คะแนนขึ้นไป
หรอื รอ้ ยละ 80
- สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลุม่ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

ทำงานกลุม่

3. คณุ ลักษณะท่พี งึ - สังเกตค่านิยมในการ - แบบประเมิน

ประสงค์ ทำงานร่วมกบั ผอู้ นื่ และ คณุ ลกั ษณะอันพงึ

และสมรรถนะผู้เรยี น การทำงานในระบบกลมุ่ ประสงค์

- มวี นิ ัยในการทำงานกลมุ่ อภปิ ราย แสดงความ - แบบประเมิน

- นกั เรียนเหน็ ความสำคญั คดิ เห็นเกย่ี วกบั ผลการ สมรรถนะผ้เู รยี น

ของการทำงานร่วมกับผ้อู ืน่ ทดลอง -แบบประเมนิ ระดับ

และการทำงานในระบบกลุ่ม การเห็นคณุ ค่าใน

- ยอมรบั ความคดิ เห็นซ่งึ ตนเอง หรือ Self-

กันและกนั มคี วามเสียสละ esteem

และอดทน

- นกั เรยี นมีการเหน็ คณุ ค่า

ในตนเอง (Self-esteem)

56

12. กิจกรรมการเรยี นรู้
ชั่วโมงที่ 1
1. ขนั้ ตั้งประเดน็ ปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)
1.1 ทบทวนความรู้ เกี่ยวกับองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศท่ีทำให้สภาพลมฟ้าอากาศเปลี่ยนแปลงว่ามี

อะไรบ้าง (อุณหภมู ิอากาศ ความช้นื อากาศความกดอากาศ ลม เมฆ และฝน)
1.2 กระตุ้นความสนใจนกั เรียนต่อการเรียนเก่ียวกับองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ องค์ประกอบแรกคือ

อณุ หภมู ิ โดยใชภ้ าพ วีดทิ ัศน์ หรือเรือ่ งราวท่ีน่าสนใจเก่ยี วกบั อณุ หภมู ิอากาศ เช่น การถาม คำถามวา่ ในรอบ 1
วันอณุ หภมู ิอากาศมีคา่ แตกต่างกนั ไดม้ ากทส่ี ดุ เทา่ ใด

1.3 ใหน้ กั เรียนดภู าพนำเร่ือง อ่านเนอื้ หานำเรื่องและรูจ้ ักคำสำคัญ โดยครอู าจจะใช้คำถามดงั นี้
• จากสถิติโลกอุณหภูมิอากาศที่แตกต่างกันมากที่สุดในรอบวันมีค่าเท่าใด (จากสถิติโลกพบว่าวันท่ี

อุณหภูมิอากาศ ในรอบวันท่ีมีค่าแตกต่างกันมากที่สุด เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2459 ณเมืองบราวนิ่ง รัฐมอนทานา
ประเทศสหรัฐอเมริกาโดยอุณหภูมิในรอบวันมีค่าแตกต่างกันถึง 56องศาเซลเซียส ในวันดังกล่าวอุณหภูมิ
อากาศสงู สุด มีค่า 7 องศาเซลเซียส และอุณหภมู อิ ากาศตำ่ สุดมคี า่ -49 องศาเซลเซียส)

• นักเรียนคิดว่าช่วงไหนของวันอุณหภูมิอากาศสูงสุดและต่ำสุด เพราะเหตุใด (นักเรียนตอบได้โดย
อสิ ระ)

1.4 ทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียน แล้วนำเสนอผลการทำกิจกรรม หากครูพบว่านักเรียนยังทำ
กิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียนไม่ถูกตอ้ งครูควรทบทวนหรือแก้ไขความเข้าใจผดิ ของนกั เรยี นเพ่ือให้นักเรียน
มีความร้พู น้ื ฐานทถ่ี ูกตอ้ งและเพียงพอท่จี ะเรยี นเร่ืองอุณหภมู อิ ากาศตอ่ ไป
ชัว่ โมงท่ี 2
2. ขนั้ สบื ค้นความรู้ (Searching for Information)

2.1 นำเข้าสู่การทำกิจกรรมท่ี 2 อณุ หภูมิอากาศเปล่ียนแปลงอย่างไร โดยต้ังคำถามกระตุ้นความสนใจว่า
จากสถิติโลกที่อุณหภูมิอากาศมีค่าแตกต่างกันมากท่ีสุดในรอบวันถึง 56 องศาเซลเซียส ซ่ึงเป็นความผิดปกติ
ของการเปล่ียนแปลงอุณหภมู อิ ากาศ ดังน้ันในวันท่ีอณุ หภมู อิ ากาศมีการเปลย่ี นแปลงแบบปกติ อุณหภมู ิอากาศ
จะมีการเปลีย่ นแปลงอย่างไรและมีคา่ แตกต่างกนั ประมาณเทา่ ใด

2.2 ให้นกั เรยี นอา่ นวธิ ดี ำเนนิ กจิ กรรมในหนงั สือเรยี น และรว่ มกันอภิปรายประเดน็ ดังต่อไปนี้
• กจิ กรรมน้เี กย่ี วกับเร่อื งอะไร (การเปล่ียนแปลงอุณหภมู อิ ากาศในรอบวนั )
• กิจกรรมนี้มีจุดประสงค์อะไร (ตรวจวัดอุณหภูมิอากาศและวิเคราะห์การเปล่ียนแปลงอุณหภูมิ

อากาศในรอบวนั )
• วิธีดำเนินกิจกรรมมีข้ันตอนโดยสรปุ อย่างไร (อ่านวิธกี ารใช้เทอร์มอมิเตอร์ และเทอร์มอมิเตอร์รูป

ตัวยู วางแผนการตรวจวัดอุณหภูมิอากาศ บันทึกลักษณะทางกายภาพของพื้นท่ีที่ตรวจวัด วัดและบันทึก
อณุ หภมู ิอากาศตามแผนทีว่ างไว้ นำข้อมูลมาเขียนกราฟเส้นแสดงการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิอากาศในช่วงเวลา
ต่าง ๆ)

• วัสดุและอุปกรณ์พิเศษที่ใช้ในกิจกรรมมีอะไรบ้างและใช้งานอย่างไร (เทอร์มอมิเตอร์รูปตัวยูซ่ึงมี
วธิ ีการใชง้ านดงั แสดงในหนงั สอื เรียน)

• ข้อควรระวงั ในการทำกจิ กรรมมีหรือไม่อย่างไร (การใช้เทอร์มอมิเตอร์วัดค่าอุณหภูมิอากาศไมค่ วร
สัมผัสกระเปาะเทอรม์ อมเิ ตอร์ และไม่ควรให้กระเปาะเทอรม์ อมิเตอรส์ ัมผสั แสงจากดวงอาทิตยโ์ ดยตรง)

2.3 ให้นักเรียนศึกษาและอภิปรายวิธกี ารใชเ้ ทอรม์ อมิเตอรร์ ูปตัวยู โดยอ่านข้อมลู ในหนงั สือเรียน

57

2.4 ให้นักเรียนร่วมกันวางแผนเพ่ือเลือกสถานท่ีและเวลาที่ใช้ในการวัดอุณหภูมิอากาศ รวมท้ังออกแบบ
วิธีการบนั ทกึ ผลคา่ อณุ หภมู ิอากาศทส่ี ังเกตได้

2.5 ให้นักเรียนทำกิจกรรมตามแผนที่วางไว้ ครูสังเกตและให้คำแนะนำเกี่ยวกับการตรวจวัดอุณหภูมิ
อากาศของนกั เรียนรวมทง้ั การนำขอ้ มูลมาใชป้ ระกอบการอภปิ รายหลังกจิ กรรม

2.6 เนน้ ใหน้ กั เรียนเก็บข้อมูลลกั ษณะทางกายภาพของพน้ื ทท่ี นี่ ักเรียนเลือกศกึ ษา เช่น ปริมาณแสงแดด
ความชน้ื แหลง่ น้ำ ปรมิ าณตน้ ไม้ การนำข้อมลู ทไ่ี ด้จากการตรวจวัดมาสร้างกราฟเส้นทีแ่ สดงการเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิอากาศในช่วงเวลาตา่ ง ๆ ท่ีตรวจวดั และเตรียมนำเสนอ โดยครแู นะนำวิธีการสรา้ งกราฟใหแ้ กน่ กั เรียน

3. ขน้ั สรปุ องคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

3.1 ใหน้ ักเรยี นนำผลการทำกิจกรรมติดแสดงหนา้ หอ้ งเรยี นเพ่อื เปรียบเทยี บข้อมูลของแตล่ ะกลุม่ หาก

ขอ้ มลู ทีไ่ ด้จากแตล่ ะกล่มุ แตกต่างกัน ใหน้ ักเรียนอภิปรายสาเหตแุ ละสรุปข้อมลู ท่ีควรจะเป็น

3.2 ให้นกั เรียนตอบคำถามท้ายกิจกรรม จากนนั้ ครแู ละนกั เรยี นอภปิ รายคำตอบร่วมกนั

4. ขัน้ การสอื่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 ให้นักเรยี นอ่านข้อมูลในหนังสือเรียนเกี่ยวกับการเปลีย่ นแปลงอุณหภูมิอากาศในรอบ 24 ช่ัวโมง

และตอบคำถามระหวา่ งเรียน

4.2 นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเก่ียวกับการเปลีย่ นแปลงอณุ หภมู ิอากาศในรอบ 24 ชัว่ โมงจนไดข้ ้อสรุป

รว่ มกันวา่ อุณหภูมิ

อากาศในรอบวันมีการเปลี่ยนแปลงในแบบรูปเดียวกัน โดยอุณหภูมิอากาศในช่วงเช้าจะมีค่าต่ำ และค่อย ๆ

สูงขน้ึ จนกระทง่ั มีค่าสูงทส่ี ดุ ในชว่ งบ่าย จากน้ันจะค่อย ๆ ลดต่ำลง จนตำ่ ท่ีสดุ ในช่วงเวลาเชา้ มดื

5. ขนั้ การบริการสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นกั เรียนอ่านขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ จากหนังสอื เรียนเกีย่ วกับปัจจยั ท่ีส่งผลให้อุณหภูมิอากาศเปลยี่ นแปลง

และตอบคำถามระหว่างเรยี น จากน้ันครูและนักเรยี นร่วมกันอภปิ รายคำตอบ

5.2 นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นว่า ในวันท่ีเมอื งบราวน่ิงมีค่าอุณหภูมอิ ากาศแตกต่างกันมากที่สุด

นา่ จะมเี หตุการณใ์ ดเกดิ ขน้ึ (อาจแสดงความเหน็ ได้หลากหลายเชน่ เกิดพายุหมิ ะ)

5.3 นักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเนื้อหาทั้งหมดท่ีได้เรียนรู้จากการทำกิจกรรมและการอ่าน

เพ่ิมเติม เพ่ือใหไ้ ดข้ ้อสรุปวา่ อุณหภมู อิ ากาศมกี ารเปลีย่ นแปลงไปในรอบวนั เน่อื งจากพื้นโลกไดร้ ับพลงั งานจาก

ดวงอาทิตย์และถ่ายโอนให้แก่อากาศเหนือบริเวณนั้น เมื่อโลกได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ในช่วงเช้าทำให้

อณุ หภูมอิ ากาศค่อย ๆ เพ่ิมสูงข้ึนและสะสมพลังงานไปเรือ่ ย ๆ จนมีอณุ หภูมิอากาศสงู สุดในช่วงบ่าย เมื่อดวง

อาทิตย์ค่อย ๆ ลับขอบฟ้า การส่งพลังงานมายังโลกน้อยลง และพื้นโลกมีการถ่ายโอนความร้อนแก่อากาศใน

ปรมิ าณท่ีน้อยลง จึงทำให้อุณหภูมิอากาศค่อย ๆลดตำ่ ลง ส่วนในเวลากลางคืนพ้ืนโลกไม่ไดร้ ับพลังงานจากดวง

อาทิตยแ์ ต่พ้ืนดินกย็ ังถ่ายโอนความร้อนแก่อากาศเหนือบรเิ วณนั้น ทำใหอ้ ุณหภูมิอากาศในชว่ งกลางคืนต่ำกว่า

กลางวัน และมีค่าต่ำสุดในช่วงเช้ามืด นอกจากนั้นยังมีปัจจัยอนื่ ๆ ทีส่ ่งผลต่อการเปลย่ี นแปลงอุณหภูมิอากาศ

เชน่ ลกั ษณะทางกายภาพของพ้ืนท่ี ระดับความสูงของพนื้ ท่ี เปน็ ตน้

5.4 ครเู ชือ่ มโยงไปสู่การเรยี นเรือ่ งต่อไปว่า อุณหภูมอิ ากาศ เป็นองค์ประกอบหน่ึงของลมฟ้าอากาศ

ซ่ึงนักเรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกบั องค์ประกอบอนื่ ๆ ของลมฟ้าอากาศในเรอื่ งต่อไป

13. สือ่ การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้

13.1ส่อื การเรียนรู้

1) ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 2) หนงั สอื แบบเรยี น 3) สอ่ื เพาเวอร์พอยต์

58

13.2แหลง่ เรียนรู้ 2) ห้องสมุด
1) อินเตอรเ์ นต็
รายละเอยี ด
14. บันทึกหลงั การจัดการเรียนรู้ ......................................................................................
ผลการสอน ......................................................................................
......................................................................................
1. ด้านความรู้ : ......................................................................................
- ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการเปลีย่ นแปลงองค์ ......................................................................................
ประกอบของลมฟ้าอากาศ ......................................................................................
......................................................................................
2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการคดิ ......................................................................................
- ทักษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

3. ด้านคณุ ธรรมจริยธรรมและค่านยิ ม ......................................................................................

อนั พึงประสงค์ : ......................................................................................

- มวี นิ ยั ......................................................................................

- ใฝ่เรียนรู้ ......................................................................................

- อยอู่ ย่างพอเพียง ......................................................................................
- รักความเปน็ ไทย
......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

4. ปัญหาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

59

5. วธิ ีแก้ปัญหา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

ลงช่ือ........................................ครูผู้สอน ลงช่อื ...........................................หวั หน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รัตน.์ .) (นางกณกิ าร์ พัฒรากุล)

ลงช่ือ...........................................
(นางรพีพร คำบญุ มา)

รองผู้อำนวยการกลมุ่ บริหารวิชาการ

ลงช่ือ ........................................................
(นายสุรยิ ันต์ เหล่ามะลกึ )

ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสุวรรณารามวิทยาคม

60

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 10
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี…2…กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ…….เร่ือง……..ลมฟ้าอากาศรอบตัว.(ตอนท่ี 3)....

รายวิชา……......วทิ ยาศาสตร์……..2.......รหัสวิชา……......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีการศกึ ษา... 2564...ภาคเรียนท.่ี .2...เวลา...2..ช่ัวโมง……
ผูส้ อน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ (รายวชิ าพ้ืนฐานมที ้งั มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชวี้ ดั
รายวชิ าเพ่มิ เติมมเี ฉพาะมาตรฐานการเรยี นร้แู ละผลการเรยี นรู้)

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวัด
ว 3.2 ม.1/2

2. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตวั ชวี้ ัดทใี่ ชใ้ นหนว่ ยการเรียนร้นู ้ีเขยี นเป็นแบบความเรยี ง)

มนุษย์ดำรงชวี ิตอยู่ภายใต้บรรยากาศช้ันโทรโพสเฟยี ร์ซึ่งเกิดสภาพลมฟ้าอากาศต่าง ๆ เช่น ลม เมฆ
ฝน ฟ้าแลบ ฟ้าร้ององค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรยี นร้แู กนกลาง/สาระการเรยี นรู้เพม่ิ เตมิ (รายวชิ าเพิม่ เติม)
สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

• ลมฟ้าอากาศ เปน็ สภาวะของอากาศในเวลาหนึ่งของพ้นื ท่ีหน่งึ ทมี่ กี ารเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
ขึ้นอยกู่ บั องค์ประกอบลมฟา้ อากาศ ได้แก่ อุณหภูมิอากาศ ความกดอากาศ ลม ความชืน้ เมฆ และหยาดน้ำฟ้า
โดยหยาดน้ำฟ้าที่พบบอ่ ยในประเทศไทยไดแ้ ก่ ฝน องค์ประกอบลมฟ้าอากาศเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาขึ้นอยู่กับ

ปัจจัยต่าง ๆ เช่น ปริมาณรงั สีจากดวงอาทิตยแ์ ละลักษณะพื้นผิวโลกส่งผลต่ออุณหภูมอิ ากาศ อุณหภูมิอากาศ
และปรมิ าณไอน้ำส่งผลต่อความชนื้ ความกดอากาศสง่ ผลต่อลม ความช้ืนและลมสง่ ผลตอ่ เมฆ

3.2 สาระการเรียนร้ทู อ้ งถ่นิ (ถา้ ในคำอธิบายรายวชิ าพูดถงึ หลักสูตรท้องถน่ิ ใหใ้ ส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธบิ ายปจั จยั ทีม่ ีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของความกดอากาศ (K)

2. ทำทดลอง สงั เกตและอธิบายแรงและทศิ ทางของแรงที่อากาศกระทำตอ่ วัตถ(ุ P)
3. ตัง้ ใจเรียนร้แู ละแสวงหาความรู้ (A)
5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น (เลือกเฉพาะข้อท่เี กิดในหน่วยการเรยี นร้นู )ี้

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคิด

 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ

 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (เลอื กเฉพาะขอ้ ท่ีเกิดในหนว่ ยการเรียนรนู้ )ี้

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  2. ซ่อื สัตย์สุจรติ

 3. มีวนิ ัย  4. ใฝ่เรียนรู้

 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง  6. มุ่งมั่นในการทำงาน

 7. รกั ความเปน็ ไทย  8. มจี ิตสาธารณะ

7. ด้านคุณลักษณะของผู้เรยี นตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวิชาการ  2. สอื่ สารสองภาษา  3. ล้ำหน้าทางความคิด

61

 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  5. ร่วมกนั รับผดิ ชอบต่อสงั คมโลก
8. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได)้  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเปน็ )
 ทกั ษะดา้ นการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)
 ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)
 ทกั ษะด้านความเขา้ ใจความต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะดา้ นความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ (Collaboration, Teamwork and
Leadership)

 ทักษะดา้ นการสือ่ สาร สารสนเทศและรู้เทา่ ทันส่ือ (Communications, Information, and Media
Literacy)

 ทักษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร (Computing and ICT Literacy)

 ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
 ความมเี มตตา (วินยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในหอ้ งเรียนคือ

ประมาณกลมุ่ ละ 4 – 6 คน

2. หลกั ความมีเหตุผล : ให้นกั เรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบัติ , นักเรยี นเกิดความ
ภาคภมู ใิ จในผลงานของตนและส่ิงที่เรยี นรู้

3. หลักภูมิคมุ้ กนั : ใหน้ ักเรยี นเกดิ ทักษะการทำงานกลุ่ม และกลา้ แสดงออก , นักเรยี นร้จู กั การวาง
แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกล่มุ ได้เหมาะสมกบั ความสามารถของแต่ละบุคคล

4. เง่ือนไขความรู้ : การวางแผนงานท่ีจะทำก่อนแลว้ ค่อยลงมอื ทำอย่างระมดั ระวงั

5. เง่ือนไขคณุ ธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยนั ท่ีจะทำงานใหอ้ อกมาไดด้ ที ่สี ดุ , มีวินัยในการ
ทำงาน

10. ช้นิ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ช้วี ัด ช้ินงาน ภาระงาน
- วิเคราะห์และอธบิ ายเรื่องอากาศมี
ว.3.2 ม.1/2 - รายงานกิจกรรมท่ี 3 อากาศมแี รง
แรงดัน
กระทำตอ่ วตั ถอุ ย่างไร - วิเคราะห์และอธบิ ายการเปล่ียนแปลง

ของความกดอากาศ

11. การวัดประเมนิ ผล 3.การวัดประเมินการปฏิบัติ
11.1การวัดและประเมนิ ผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ ีการ
1.การสังเกตการณ์
2.การใชช้ ุดกิจกรรมวิทยาศาสตรร์ อ่ งรอยบ่งช้ี

62

เครื่องมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมนิ การปฏบิ ตั ิ

เกณฑ์

1.การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือวา่ ผา่ น ผ่าน 1

รายการถอื ว่า ไม่ผ่าน

11.2การวัดและประเมนิ ผลระหวา่ งการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรียนรขู้ อง

หนว่ ยการเรยี นรนู้ ี้)

ส่ิงทตี่ ้องการวัด วิธีวดั ผล เครอื่ งมือวัดผล เกณฑก์ ารประเมิน
- นกั เรียนไดค้ ะแนน
1. ความร้เู กยี่ วกับ -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมนิ การ 12 คะแนนขึน้ ไป
หรือร้อยละ 80
- อากาศมีแรงดนั ความคิดเหน็ อธิบาย อภิปรายแสดงความ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์
- นกั เรยี นไดค้ ะแนน
- การเปลี่ยนแปลงของความกด เกย่ี วกับการเปลี่ยน คิดเห็น ประเมนิ ผลงาน
13 คะแนนขึ้นไป
อากาศ แปลงของความกด - แบบประเมินการ หรอื ร้อยละ 80
ถอื ว่าผ่านเกณฑ์
- อุปกรณ์ที่ใชว้ ัดความกด อากาศ ตรวจผลงานผูเ้ รียน -นกั เรยี นได้คะแนน
12 คะแนนข้นึ ไป
อากาศ -การตรวจผลงาน หรือรอ้ ยละ 80 ถอื ว่า
ผา่ นเกณฑ์
นกั เรียน
- นกั เรียนไดค้ ะแนน
2.ทักษะกระบวนการคดิ และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมินการ ประเมนิ คณุ ลกั ษณะ
อันพึงประสงค์
ทกั ษะกระบวนการกล่มุ ความคดิ เห็นระบุ อภปิ รายแสดงความ 26 คะแนนขน้ึ ไป
หรอื รอ้ ยละ 80
ทักษะกระบวน คิดเหน็ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์
- นักเรยี นได้คะแนน
การทางวิทยาศาสตร์ที่ - แบบประเมิน การประเมนิ สมรรถนะ
29 คะแนนขน้ึ ไป
ได้ปฏิบตั ิจากกิจกรรม พฤติกรรมการ หรอื รอ้ ยละ 80
ถือว่าผา่ นเกณฑ์
- สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกล่มุ
63
ทำงานกล่มุ

3. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ - สงั เกตค่านยิ มในการ - แบบประเมนิ

และสมรรถนะผู้เรียน ทำงานรว่ มกบั ผอู้ น่ื คุณลกั ษณะอันพึง

- มีวนิ ยั ในการทำงานกลุ่ม และการทำงานใน ประสงค์

- นักเรียนเห็นความสำคัญ ระบบกลุม่ - แบบประเมนิ

ของการทำงานร่วมกับผู้อ่ืนและ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผู้เรยี น

การทำงานในระบบกลุ่ม คดิ เหน็ เกี่ยวกับผลการ -แบบประเมินระดับ

- ยอมรบั ความคดิ เห็นซ่ึงกัน ทดลอง การเห็นคุณค่าใน

และกันมีความเสยี สละและ ตนเอง หรอื Self-

อดทน esteem

- นักเรียนมีการเหน็ คณุ ค่าใน

ตนเอง (Self-esteem)

12. กิจกรรมการเรยี นรู้
ชัว่ โมงท่ี 1
1. ขัน้ ตั้งประเดน็ ปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครูใช้คำถามกระตุ้น ดังน้ี
• ว่าวที่มนี ้ำหนกั มากสามารถลอยขนึ้ ไปในอากาศไดอ้ ย่างไร (นกั เรียนตอบตามความเข้าใจ)
1.2 นกั เรยี นทำกิจกรรมทบทวนความรกู้ อ่ นเรียนแลว้ นำเสนอผลการทำกิจกรรม หากพบว่านกั เรยี นยังทำ

กจิ กรรมทบทวนความร้กู อ่ นเรยี นไม่ถูกต้องครคู วรทบทวนหรอื แก้ไขความเข้าใจผิดของนักเรียนเพอื่ ใหน้ ักเรยี น
มคี วามรูพ้ นื้ ฐานท่ีถูกต้องและเพียงพอท่จี ะเรียนเรอื่ งความกดอากาศและลมตอ่ ไป

1.3 นำเข้าส่กู ิจกรรมท่ี 3 อากาศมีแรงกระทำต่อวตั ถุหรอื ไม่อยา่ งไร โดยเชอื่ มโยงจากภาพว่าวทลี่ อยบนฟา้
วา่ เกิดขนึ้ ไดอ้ ย่างไร
2. ขน้ั สืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)

2.1 ใหน้ ักเรยี นอ่านวธิ ดี ำเนินกจิ กรรมในหนงั สอื เรยี น และร่วมกนั อภิปรายในประเด็นดังตอ่ ไปน้ี
• กิจกรรมน้ีเกี่ยวกับเรอ่ื งอะไร (แรงและทิศทางของแรงที่อากาศกระทำต่อวตั ถุ)
• กิจกรรมนี้มจี ดุ ประสงคอ์ ย่างไร (นกั เรยี นตอบตามความคิดของตนเอง)
• วิธีดำเนนิ กิจกรรมมขี ั้นตอนโดยสรปุ อย่างไร (บรรจุถงุ พลาสตกิ ลงในขวดโหลโดยไม่รีดถงุ ให้แนบกับ

ขวดจากน้นั ดงึ ถุงพลาสติกขนึ้ จากก้นขวด บนั ทึกผล ทดลองอีกครัง้ หน่งึ โดยบรรจุถงุ พลาสตกิ ลงในขวดโหลและ
รดี ถงุ ให้แนบกับขวด คาดคะแนผลท่ีจะเกดิ ขึ้นจากน้ันดึงถงุ พลาสติกขึน้ จากก้นขวด โดยจดั ขวดให้อยใู่ นมมุ ต่าง
ๆ สังเกตส่ิงที่เกดิ ข้นึ และบนั ทกึ ผล)

2.2 ให้นักเรียนทำกิจกรรม โดยครสู ังเกตการทำกิจกรรมของนักเรียนอยา่ งใกลช้ ิด เพื่อให้คำแนะนำ ครู
นำ ข้อมูลท่ไี ด้จากการสังเกตมาใช้ประกอบการอภปิ รายหลงั กจิ กรรม เชน่ ครแู นะนำเกี่ยวกับการดึงถุงพลาสติก
ออกจากขวดโหล หรือการรีดถงุ พลาสติกใหแ้ นบกับดา้ นในของขวดโหล
ชว่ั โมงที่ 2

3. ขั้นสรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)
3.1 ให้นกั เรียนตอบคำถามท้ายกิจกรรม จากนัน้ นำเสนอ และอภปิ รายคำตอบรว่ มกันเพือ่ ใหไ้ ด้

ขอ้ สรุปวา่ อากาศมแี รงกระทำตอ่ วัตถุทุกทิศทุกทาง
3.2 ให้นกั เรียนอ่านขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ จากหนังสอื เรยี นเก่ียวกับแรงดันและความดนั ความดันในระดับ

ความสูงตา่ ง ๆ ผลของอุณหภูมิตอ่ ความดันอากาศ และผลของความดันอากาศต่อการดำรงชีวติ จากน้นั ตอบ
คำถามระหวา่ งเรยี น ครูและนกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายคำตอบ

4. ขั้นการสอ่ื สารและนำเสนอ (Effective Communication)
4.1 นักเรยี นร่วมกันอภิปรายและสรุปสิ่งท่ีได้เรียนรู้ เพื่อให้ได้ข้อสรปุ ว่าความดันอากาศเปล่ียนแปลง

ได้โดยมีปัจจยั สำคัญคือระดับความสูงของพ้ืนที่และอุณหภูมิของอากาศ พ้ืนท่ีที่มีระดับความสูงมาก ความดัน
อากาศมีคา่ ต่ำ ส่วนพ้ืนท่ีที่มีความสูงนอ้ ย ความดนั อากาศจะมีค่าสูง เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกทำใหบ้ ริเวณ
ใกล้พื้นผิวโลกมีโมเลกุลอากาศอยู่หนาแน่นกว่าบริเวณท่ีอยู่สูงข้ึนไป อากาศบริเวณใกล้ผิวโลกจึงมีความดัน
มากกวา่ อากาศบรเิ วณท่ีอยสู่ ูงขนึ้ ไป นอกจากนั้นอณุ หภูมิอากาศยังส่งผลต่อความดันอากาศ เนื่องจากอากาศที่
มอี ณุ หภูมิสงู กว่าจะเคลือ่ นทไี่ ด้อย่างอิสระกวา่ จงึ มีความหนาแน่นน้อยกว่า อากาศท่ีมอี ณุ หภูมิสูงกว่าจึงมีความ
ดนั อากาศตำ่ กวา่

5. ขนั้ การบรกิ ารสงั คมและสาธารณะ (Public Service)

64

5.1 นักเรียนร่วมกันเขียนความสัมพันธ์ระหว่างความดันอากาศกับความสูงจากพ้ืนโลกควรเป็น

อย่างไร ให้สร้างแบบจำลองหรือเขียนแผนภาพอธิบายความสัมพันธ์ดังกล่าวแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันภายในช้ัน

เรยี น

13. สื่อการเรยี นรู้/แหล่งเรยี นรู้

12.1สอ่ื การเรียนรู้

1) ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนังสือแบบเรียน 3) ส่ือเพาเวอร์พอยต์

12.2แหล่งเรยี นรู้

1) อินเตอร์เน็ต 2) ห้องสมุด

14. บันทึกหลงั การจดั การเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ดา้ นความรู้ : ......................................................................................

- อากาศมีแรงดัน ......................................................................................

- การเปลีย่ นแปลงของความกดอากาศ ......................................................................................

- อปุ กรณ์ท่ีใช้วัดความกดอากาศ ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการคดิ ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการกล่มุ ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

3. ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรมและค่านิยม ......................................................................................

อนั พึงประสงค์ : ......................................................................................

- มีวินยั ......................................................................................

- ใฝ่เรียนรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ......................................................................................

- รกั ความเป็นไทย

65

4. ปญั หาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

5. วธิ ีแก้ปัญหา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

ลงชื่อ........................................ครผู ้สู อน ลงช่อื ...........................................หวั หน้ากลมุ่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรตั น.์ .) (นางกณิการ์ พัฒรากลุ )

ลงชือ่ ...........................................
(นางรพพี ร คำบุญมา)

รองผู้อำนวยการกลมุ่ บริหารวชิ าการ

ลงชอื่ ........................................................

(นายสุริยันต์ เหล่ามะลึก)
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

66

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 11
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี…2…กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟา้ อากาศ…….เรอื่ ง……..ลมฟ้าอากาศรอบตวั .(ตอนที่ 4)....

รายวิชา……......วิทยาศาสตร์……..2.......รหสั วิชา……......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ปกี ารศกึ ษา... 2564...ภาคเรยี นท่ี..2...เวลา...2..ช่วั โมง……
ผ้สู อน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพ้ืนฐานมีท้ังมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
รายวิชาเพิ่มเตมิ มเี ฉพาะมาตรฐานการเรียนรแู้ ละผลการเรยี นร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ดั
ว 3.2 ม.1/2

2. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตวั ชีว้ ัดทใ่ี ช้ในหน่วยการเรยี นร้นู เี้ ขียนเป็นแบบความเรยี ง)

มนุษยด์ ำรงชวี ิตอยู่ภายใต้บรรยากาศช้ันโทรโพสเฟยี ร์ซงึ่ เกิดสภาพลมฟ้าอากาศต่าง ๆ เช่น ลม เมฆ
ฝน ฟ้าแลบ ฟ้าร้ององค์ประกอบของลมฟา้ อากาศ
3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/สาระการเรียนรู้เพ่มิ เตมิ (รายวิชาเพม่ิ เตมิ )
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

• ลมฟา้ อากาศ เปน็ สภาวะของอากาศในเวลาหน่งึ ของพื้นทีห่ นง่ึ ทม่ี กี ารเปล่ียนแปลงตลอดเวลา
ขึ้นอยูก่ บั องค์ประกอบลมฟา้ อากาศ ได้แก่ อณุ หภูมิอากาศ ความกดอากาศ ลม ความชน้ื เมฆ และหยาดน้ำฟ้า
โดยหยาดนำ้ ฟา้ ท่ีพบบ่อยในประเทศไทยได้แก่ ฝน องค์ประกอบลมฟ้าอากาศเปล่ียนแปลงตลอดเวลาขนึ้ อย่กู ับ

ปัจจัยต่าง ๆ เช่น ปริมาณรังสีจากดวงอาทิตย์และลักษณะพ้ืนผิวโลกส่งผลต่ออุณหภูมิอากาศ อุณหภูมิอากาศ
และปรมิ าณไอน้ำส่งผลตอ่ ความช้ืน ความกดอากาศสง่ ผลต่อลม ความชืน้ และลมส่งผลต่อเมฆ

3.2 สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน (ถ้าในคำอธบิ ายรายวชิ าพูดถึงหลักสตู รท้องถน่ิ ใหใ้ ส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จุดประสงค์การเรยี นรู้
นกั เรียนสามารถ

1. อธิบายปัจจยั ที่มีผลต่อการเปลย่ี นแปลงลม (K)
2. ทดลอง วิเคราะหแ์ ละอธิบายปัจจยั ทีม่ ีผลต่ออัตราเร็วลม (P)
3. ต้ังใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้ (A)

5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น (เลือกเฉพาะขอ้ ทีเ่ กิดในหน่วยการเรยี นรนู้ )้ี

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคิด

 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

6. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (เลอื กเฉพาะขอ้ ทเี่ กิดในหน่วยการเรยี นรู้น้ี)

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซอ่ื สตั ย์สุจรติ

 3. มีวินัย  4. ใฝ่เรียนรู้

 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง  6. มุ่งมั่นในการทำงาน

 7. รกั ความเปน็ ไทย  8. มจี ติ สาธารณะ

7. ด้านคณุ ลักษณะของผูเ้ รยี นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

67

 1. เปน็ เลศิ วชิ าการ  2. ส่ือสารสองภาษา  3. ลำ้ หน้าทางความคิด

 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  5. ร่วมกันรับผดิ ชอบต่อสงั คมโลก

8. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คือการเรยี นรู้ 3R X 8C 2L
 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได)้  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเป็น)

 ทักษะดา้ นการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะด้านการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะดา้ นความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะด้านความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทักษะดา้ นการส่ือสาร สารสนเทศและรูเ้ ทา่ ทันสอื่ (Communications, Information, and Media

Literacy)

 ทักษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร (Computing and ICT Literacy)
 ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)

 ความมีเมตตา (วินัย คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

9. บรู ณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลมุ่ ใหเ้ หมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรียนคอื

ประมาณกลมุ่ ละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตผุ ล : ให้นักเรยี นสรา้ งสรรค์ผลงานและเกดิ ทักษะการปฏิบัติ , นักเรยี นเกดิ ความ

ภาคภูมใิ จในผลงานของตนและสง่ิ ทเี่ รยี นรู้
3. หลกั ภูมิคมุ้ กนั : ให้นกั เรยี นเกดิ ทกั ษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นกั เรยี นรจู้ กั การวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกลุ่มได้เหมาะสมกบั ความสามารถของแต่ละบคุ คล

4. เงือ่ นไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำก่อนแลว้ ค่อยลงมือทำอย่างระมดั ระวงั

5. เงอื่ นไขคุณธรรม : อดทนทจี่ ะทำงาน และมคี วามขยันที่จะทำงานใหอ้ อกมาได้ดที ่ีสดุ , มีวินัยในการ

ทำงาน

10. ชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตัวช้วี ัด ชน้ิ งาน ภาระงาน

ว.3.2 ม.1/2 - รายงานกจิ กรรมท่ี 4 เหตุใดลมจึง - วิเคราะหแ์ ละอธบิ ายเร่ืองเคลือ่ นท่ีของ

เคลือ่ นที่เร็วต่างกัน ลมจากบริเวณทมี่ ีความกดอากาศสูงไป

ยงั บริเวณทมี่ ีความกดอากาศตำ่

- วิเคราะหแ์ ละอธิบายลกั ษณะทาง

กายภาพของพื้นท่ีมีผลต่ออตั ราเรว็ ลม

และทิศทางลม

11. การวัดประเมินผล
11.1การวดั และประเมนิ ผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด
วธิ ีการ

68

1.การสงั เกตการณ์

2.การใช้ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตรร์ ่องรอยบง่ ช้ี 3.การวัดประเมนิ การปฏิบตั ิ

เครื่องมือ

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผา่ นต้งั แต่ 2 รายการ ถอื วา่ ผ่าน ผ่าน 1

รายการถือวา่ ไม่ผ่าน

11.2การวัดและประเมินผลระหว่างการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ (ประเมินจากแผนการจดั การเรยี นรู้ของ

หนว่ ยการเรียนรนู้ )้ี

สิ่งท่ีต้องการวดั วิธีวดั ผล เครื่องมือวดั ผล เกณฑก์ ารประเมิน
- นักเรียนได้คะแนน
1. ความรู้เกี่ยวกับ -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมินการ 12 คะแนนข้ึนไป
หรือร้อยละ 80
- การเคล่อื นท่ีของลมจาก ความคดิ เหน็ อธบิ าย อภปิ รายแสดงความ ถือว่าผ่านเกณฑ์
- นักเรียนได้คะแนน
บริเวณที่มีความกดอากาศสูงไป เกีย่ วกบั การเกดิ ลม คดิ เห็น ประเมนิ ผลงาน
13 คะแนนขน้ึ ไป
ยังบริเวณทมี่ คี วามกดอากาศต่ำ -การตรวจผลงาน - แบบประเมนิ การ หรอื รอ้ ยละ 80
ถือว่าผา่ นเกณฑ์
- ลกั ษณะทางกายภาพของ นกั เรียน ตรวจผลงานผู้เรยี น -นักเรยี นได้คะแนน
12 คะแนนขน้ึ ไป
พื้นที่มผี ลตอ่ อัตราเรว็ ลมและ หรือร้อยละ 80 ถือวา่
ผา่ นเกณฑ์
ทศิ ทางลม
- นักเรียนได้คะแนน
- อุปกรณท์ ่ีใชใ้ นการตรวจวัด ประเมนิ คณุ ลกั ษณะ
อนั พงึ ประสงค์
ทศิ ทางลม 26 คะแนนขึน้ ไป
หรือร้อยละ 80
2.ทกั ษะกระบวนการคิด และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมินการ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์
- นกั เรยี นไดค้ ะแนน
ทักษะกระบวนการกลมุ่ ความคิดเห็นระบุ อภปิ รายแสดงความ การประเมนิ สมรรถนะ
29 คะแนนขน้ึ ไป
ทักษะกระบวน คดิ เห็น
69
การทางวิทยาศาสตร์ท่ี - แบบประเมนิ

ไดป้ ฏบิ ตั ิจากกิจกรรม พฤติกรรมการ

- สงั เกตพฤติกรรมการ ทำงานกล่มุ

ทำงานกลุม่

3. คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ - สังเกตค่านิยมในการ - แบบประเมิน

และสมรรถนะผู้เรียน ทำงานร่วมกบั ผอู้ น่ื คณุ ลกั ษณะอันพงึ

- มวี ินัยในการทำงานกล่มุ และการทำงานใน ประสงค์

- นกั เรยี นเหน็ ความสำคัญ ระบบกล่มุ - แบบประเมนิ

ของการทำงานร่วมกับผอู้ ืน่ และ อภิปราย แสดงความ สมรรถนะผเู้ รียน

การทำงานในระบบกลุ่ม คดิ เหน็ เก่ียวกับผลการ -แบบประเมนิ ระดับ

- ยอมรับความคดิ เห็นซง่ึ กัน ทดลอง การเหน็ คุณค่าใน

และกันมคี วามเสยี สละและ ตนเอง หรอื Self-

อดทน esteem

- นักเรียนมีการเห็นคุณค่าใน หรือร้อยละ 80
ตนเอง (Self-esteem) ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรยี นรู้
ช่ัวโมงที่ 1

1. ขั้นตง้ั ประเด็นปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครูใช้คำถามกระตุ้นความสนใจนักเรียนคิดว่าเม่ือความดันอากาศของ2 พื้นท่ีแตกต่างกันจะทำให้
เกิดผลอยา่ งไร

1.2 นกั เรยี นอ่านวธิ ดี ำเนินกจิ กรรมในชุดกิจกรรมและรว่ มกนั อภปิ รายในประเด็นดังตอ่ ไปนี้
• กจิ กรรมนี้เกี่ยวกับเรื่องอะไร (ปจั จัยทม่ี ผี ลต่ออตั ราเร็วลม)

• กจิ กรรมนี้มจี ดุ ประสงค์อยา่ งไร (นักเรยี นตอบตามความคิดของตนเอง)
• วธิ ีดำเนินกจิ กรรมมีข้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (เจาะรบู นขวดพลาสตกิ ท่ีไมม่ ีฝาปดิ 2 ใบ แล้วเชื่อมต่อ
ขวดพลาสติกทั้ง 2 ใบ ดว้ ยแผ่นใสม้วนเป็นท่อ นำชุดขวดพลาสติกทั้งสองไปวางไวใ้ นขันพลาสติก 2 ใบ แล้วริน

น้ำท่ีมีอุณหภุมิต่างกัน จากน้ันแหย่ก้านธูปท่ีติดไฟลงไปในรูที่เจาะไว้ตรงกึ่งกลางท่อใสและสังเกตผลที่เกิดข้ึน
ทำซำ้ อกี ครัง้ โดยจัดให้ความแตกต่างของอณุ หภูมิของน้ำในชุดทดลองท้ังสองชดุ ต่างกัน จากนนั้ ทำซำ้ อกี ครงั้ โดย

จดั ใหค้ วามยาวของท่อใสในชุดทดลองทง้ั สองชุดต่างกนั )
• ข้อควรระวงั ในการทำกิจกรรมมีหรือไม่อยา่ งไร (การใชอ้ ุปกรณ์ในการเจาะรบู นขวดพลาสตกิ ควรทำ

อยา่ งระมัดระวัง)

1.3 นำเขา้ ส่กู จิ กรรมที่ 4 เหตใุ ดลมจึงเคลอ่ื นท่ีเร็วต่างกัน
ชัว่ โมงที่ 2

2. ขนั้ สบื คน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 นักเรียนลองตั้งสมมติฐานว่า เม่ือปล่อยควันธูปเข้าไปในท่อใสแล้ว จะเกิดผลอย่างไร และบันทึก

สมมติฐานท่ตี งั้ ไวก้ อ่ นการทดลองทงั้ 2 ตอน

2.2 นักเรยี นทำกิจกรรมตามแนวทางท่ีได้อภิปรายร่วมกัน ครูสังเกตการทำกิจกรรมเพื่อให้คำแนะนำแก่
นกั เรยี น ครูนำข้อมูลทไ่ี ด้จากการสังเกตมาใช้ประกอบการอภิปรายหลังกิจกรรม เชน่ วิธีการสังเกตการเคลอ่ื นท่ี

ของควันธูป
ชั่วโมงท่ี 3

3. ข้นั สรปุ องค์ความรู้ (Knowledge Formation)

3.1 นักเรียนพิจารณาสมมติฐานท่ีตั้งไว้ก่อนทำกิจกรรมและผลการสังเกตหลังทำกิจกรรมว่าเหมือน
หรือต่างกนั อยา่ งไรจากนั้นนำเสนอและอภปิ รายข้อสรปุ ที่ถูกต้องร่วมกนั

3.2 นักเรียนตอบคำถามท้ายกจิ กรรม จากนน้ั นำเสนอและอภิปรายคำตอบรว่ มกนั เพอื่ ให้ไดข้ ้อสรุปว่า
ถ้าความแตกตา่ งของความดันอากาศระหวา่ งบรเิ วณ 2 บริเวณ มีค่ามากกว่า อากาศจะเคลือ่ นที่จากบรเิ วณหน่ึง
ไปยังอีกบริเวณหนึ่งได้เร็วกว่า และระยะทางระหว่างบริเวณท่ีมีความดันอากาศแตกต่างกันนั้นมีค่ามากกว่า

อากาศจะเคลอ่ื นท่จี ากบรเิ วณหน่งึ ไปยงั อกี บริเวณหนง่ึ ได้ชา้ กว่า
4. ขน้ั การส่ือสารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นักเรียนอ่านข้อมูลเพิ่มเติมจากหนังสือเรียน เก่ียวกับอัตราเร็วลม ปัจจัยท่ีมีผลต่ออัตราเร็วและ
ทศิ ทาง ลม อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจวัดลม จากน้ันทำกิจกรรมเสริม และตอบคำถามระหว่างเรยี น จากนั้นครู
และนกั เรยี นรว่ มกนั อภิปรายคำตอบ

5. ข้นั การบริการสงั คมและสาธารณะ (Public Service)

70

5.1 นักเรยี นร่วมกันกิจกรรมเสริม สำรวจความแรงลมและทิศทางลมภายในโรงเรียน ออกแบบและ

สรา้ งอปุ กรณใ์ นการตรวจวัดลม

5.2 เช่ือมโยงไปสู่การเรียนรู้ในเร่ืองต่อไปว่า องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศมีความสัมพันธ์กัน เช่น

ความกดอากาศและลมมีความสัมพันธ์กัน ความกดอากาศมีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิอากาศ ความกดอากาศ

และลมเป็นองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศซึ่งส่งผลต่อสภาพอากาศ ของพ้ืนที่นั้น ๆ เช่น ความแตกต่างของ

ความกดอากาศ ทำให้เกดิ ลมแรงและอาจเกดิ เปน็ พายุได้

13. ส่อื การเรยี นร/ู้ แหลง่ เรยี นรู้

12.1 สื่อการเรียนรู้

1) ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนังสอื แบบเรียน 3) สือ่ เพาเวอร์พอยต์

12.2 แหล่งเรียนรู้

1) อินเตอร์เนต็ 2) หอ้ งสมุด

14. บันทึกหลงั การจดั การเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ด้านความรู้ :

- การเคลื่อนที่ของลมจากบริเวณทม่ี ีความกด ......................................................................................

อากาศสูงไปยังบรเิ วณทม่ี ีความกดอากาศต่ำ ......................................................................................

- ลักษณะทางกายภาพของพน้ื ท่ีมผี ลต่อ ......................................................................................

อตั ราเรว็ ลมและทิศทางลม ......................................................................................

- อุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการตรวจวัดทิศทางลม ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการคิด ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

3. ด้านคณุ ธรรมจริยธรรมและคา่ นิยม ......................................................................................
อนั พงึ ประสงค์ : ......................................................................................

- มีวินัย ......................................................................................
- ใฝ่เรียนรู้ ......................................................................................
- อยู่อย่างพอเพียง
- รักความเป็นไทย ......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

71

4. ปัญหาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

5. วิธีแกป้ ญั หา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงช่ือ...........................................หวั หน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรัตน์..) (นางกณกิ าร์ พฒั รากลุ )

ลงชอื่ ...........................................
(นางรพีพร คำบญุ มา)

รองผู้อำนวยการกลุม่ บริหารวิชาการ

ลงช่ือ ........................................................
(นายสุรยิ ันต์ เหลา่ มะลึก)

ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม

72

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 12
หน่วยการเรียนรู้ที่…2…กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ…….เรือ่ ง……..ลมฟ้าอากาศรอบตัว.(ตอนท่ี 5)....

รายวิชา……......วทิ ยาศาสตร์……..2.......รหัสวชิ า……......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ปกี ารศึกษา... 2564...ภาคเรียนที่..2...เวลา...3..ช่วั โมง……
ผ้สู อน.........................นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวช้วี ดั /ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพน้ื ฐานมที ง้ั มาตรฐานการเรียนร้แู ละตวั ชวี้ ดั
รายวิชาเพมิ่ เติมมเี ฉพาะมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละผลการเรียนรู้)

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ดั
ว 3.2 ม.1/2

2. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวชีว้ ัดท่ใี ช้ในหนว่ ยการเรียนรู้นีเ้ ขยี นเปน็ แบบความเรียง)

มนุษยด์ ำรงชีวิตอยู่ภายใต้บรรยากาศชั้นโทรโพสเฟียร์ซงึ่ เกิดสภาพลมฟ้าอากาศต่าง ๆ เช่น ลม เมฆ
ฝน ฟ้าแลบ ฟา้ ร้ององคป์ ระกอบของลมฟ้าอากาศ
3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/สาระการเรยี นรู้เพม่ิ เตมิ (รายวชิ าเพิม่ เติม)
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

• ลมฟา้ อากาศ เป็นสภาวะของอากาศในเวลาหน่ึงของพื้นทีห่ น่ึงทมี่ ีการเปลย่ี นแปลงตลอดเวลา
ขึ้นอยกู่ ับองค์ประกอบลมฟ้าอากาศ ไดแ้ ก่ อุณหภูมิอากาศ ความกดอากาศ ลม ความชืน้ เมฆ และหยาดน้ำฟ้า
โดยหยาดนำ้ ฟา้ ท่ีพบบ่อยในประเทศไทยไดแ้ ก่ ฝน องค์ประกอบลมฟ้าอากาศเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาขนึ้ อยู่กับ

ปัจจัยต่าง ๆ เช่น ปริมาณรงั สีจากดวงอาทิตย์และลักษณะพ้ืนผิวโลกส่งผลต่ออุณหภูมอิ ากาศ อุณหภูมิอากาศ
และปริมาณไอนำ้ สง่ ผลตอ่ ความชน้ื ความกดอากาศสง่ ผลตอ่ ลม ความชื้นและลมสง่ ผลต่อเมฆ

3.2 สาระการเรียนรทู้ อ้ งถิน่ (ถา้ ในคำอธิบายรายวชิ าพดู ถึงหลกั สูตรทอ้ งถนิ่ ใหใ้ ส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. อธิบายปจั จยั ที่มผี ลต่อความชน้ื สมั พทั ธแ์ ละความชื้นสมั บรู ณ์ (K)

2. วดั ความชืน้ สมั พัทธแ์ ละอธบิ ายปัจจัยทีม่ ีผลต่อความชื้นสมั พัทธ์ (P)
3. ตั้งใจเรียนรแู้ ละแสวงหาความรู้ (A)
5. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น (เลอื กเฉพาะขอ้ ทเี่ กิดในหน่วยการเรยี นรนู้ ี้)

 1.ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคิด

 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ

 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (เลอื กเฉพาะขอ้ ทเ่ี กิดในหน่วยการเรยี นรนู้ )้ี

1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซือ่ สัตยส์ ุจรติ

3. มวี นิ ัย  4. ใฝ่เรียนรู้

 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง  6. มงุ่ มั่นในการทำงาน

 7. รกั ความเป็นไทย  8. มีจติ สาธารณะ

7. ดา้ นคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวชิ าการ  2. สอื่ สารสองภาษา  3. ล้ำหน้าทางความคิด

73

 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  5. ร่วมกนั รับผดิ ชอบต่อสังคมโลก

8. ทกั ษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คือการเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได้)  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเป็น)
 ทักษะดา้ นการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแก้ไขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะดา้ นความเข้าใจความต่างวฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะดา้ นความร่วมมือ การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผ้นู ำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทักษะดา้ นการสื่อสาร สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันสื่อ (Communications, Information, and Media

Literacy)

 ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร (Computing and ICT Literacy)

 ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
 ความมีเมตตา (วนิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

9. บรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุม่ ให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชกิ ในหอ้ งเรียนคือ

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลักความมเี หตผุ ล : ให้นักเรียนสรา้ งสรรค์ผลงานและเกดิ ทกั ษะการปฏิบตั ิ , นกั เรยี นเกิดความ

ภาคภูมใิ จในผลงานของตนและสิ่งทีเ่ รยี นรู้

3. หลักภูมคิ มุ้ กัน : ใหน้ ักเรียนเกดิ ทกั ษะการทำงานกลุ่ม และกลา้ แสดงออก , นักเรยี นรูจ้ ักการวาง
แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกลุ่มไดเ้ หมาะสมกบั ความสามารถของแต่ละบุคคล

4. เงอ่ื นไขความรู้ : การวางแผนงานท่ีจะทำกอ่ นแลว้ ค่อยลงมอื ทำอย่างระมดั ระวงั

5. เงอื่ นไขคุณธรรม : อดทนท่จี ะทำงาน และมีความขยันท่ีจะทำงานให้ออกมาได้ดีที่สุด , มีวินยั ในการ

ทำงาน

10. ช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

ตัวชี้วัด ชน้ิ งาน ภาระงาน

ว.3.2 ม.1/2 - รายงานกจิ กรรมท่ี 5 ปจั จัยทม่ี ีผลต่อ - วเิ คราะหแ์ ละอธิบายเรือ่ งความช้นื คือ

ความชื้นสัมพัทธ์มอี ะไรบา้ ง ไอน้ำทอี่ ยใู่ นอากาศคา่ ความชน้ื อากาศ

สามารถแสดงได้ในแบบความช้ืน

สัมบูรณ์และความช้ืนสมั พัทธ์

- วิเคราะห์และอธิบายความชน้ื สัมบูรณ์

- วเิ คราะหแ์ ละอธิบายความช้นื สมั พทั ธ์

11. การวัดประเมนิ ผล
11.1การวัดและประเมนิ ผลชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด
วธิ กี าร

1.การสังเกตการณ์

74

2.การใชช้ ุดกิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ร่องรอยบง่ ช้ี 3.การวดั ประเมินการปฏิบัติ

เครือ่ งมอื

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวัดประเมินการปฏิบัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1

รายการถือวา่ ไม่ผ่าน

11.2การวัดและประเมินผลระหวา่ งการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรียนรขู้ อง

หน่วยการเรยี นรู้น้ี)

สิ่งที่ต้องการวัด วธิ วี ัดผล เครอ่ื งมอื วัดผล เกณฑ์การประเมิน

1. ความรูเ้ ก่ยี วกบั -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมินการ - นกั เรยี นไดค้ ะแนน

- ความชืน้ ความคิดเหน็ อธิบาย อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนข้ึนไป

- ความช้ืนสัมบรู ณ์ เกยี่ วกับความชนื้ คิดเหน็ หรือร้อยละ 80

- ความชน้ื สมั พัทธ์ อากาศ - แบบประเมนิ การ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

- อุปกรณ์ท่ีใช้วดั ความชนื้ -การตรวจผลงาน ตรวจผลงานผเู้ รียน - นักเรียนได้คะแนน

นกั เรยี น ประเมินผลงาน

13 คะแนนข้นึ ไป

หรือรอ้ ยละ 80

ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

2.ทกั ษะกระบวนการคดิ และ - การอภิปรายแสดง - แบบประเมินการ -นักเรียนได้คะแนน

ทักษะกระบวนการกลมุ่ ความคิดเห็นระบุ อภิปรายแสดงความ 12 คะแนนขึ้นไป

ทักษะกระบวน คิดเหน็ หรอื รอ้ ยละ 80 ถอื วา่

การทางวทิ ยาศาสตรท์ ่ี - แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์

ได้ปฏิบัตจิ ากกจิ กรรม พฤติกรรมการ

- สงั เกตพฤตกิ รรมการ ทำงานกลุ่ม

ทำงานกลมุ่

3. คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ - สงั เกตค่านิยมในการ - แบบประเมิน - นักเรยี นไดค้ ะแนน

และสมรรถนะผเู้ รยี น ทำงานรว่ มกบั ผู้อน่ื คณุ ลกั ษณะอันพึง ประเมนิ คณุ ลักษณะ

- มีวินยั ในการทำงานกลมุ่ และการทำงานใน ประสงค์ อันพึงประสงค์

- นักเรียนเหน็ ความสำคัญ ระบบกลุ่ม - แบบประเมิน 26 คะแนนข้นึ ไป

ของการทำงานร่วมกับผู้อื่นและ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผู้เรยี น หรือร้อยละ 80

การทำงานในระบบกลุ่ม คิดเห็นเก่ยี วกับผลการ -แบบประเมินระดับ ถือว่าผ่านเกณฑ์

- ยอมรบั ความคิดเหน็ ซ่ึงกัน ทดลอง การเหน็ คุณค่าใน - นกั เรยี นไดค้ ะแนน

และกันมีความเสียสละและ ตนเอง หรือ Self- การประเมนิ สมรรถนะ

อดทน esteem 29 คะแนนขึ้นไป

- นักเรยี นมีการเห็นคุณค่าใน หรอื ร้อยละ 80

ตนเอง (Self-esteem) ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

75

12. กิจกรรมการเรียนรู้
ชว่ั โมงที่ 1
1. ขัน้ ตัง้ ประเดน็ ปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)
1.1 ครูให้นกั เรยี นดภู าพนำเรื่อง อ่านเนื้อหานำเรื่องและรูจ้ กั คำสำคัญ โดยครูอาจจะใช้คำถามดงั น้ี

• นกั เรยี นเคยเห็นทะเลหมอกหรือไม่ ทะเลหมอกเกดิ ขึ้นช่วงไหน (นกั เรยี นตอบตามความเข้าใจ)

• ทะเลหมอกเกิดขึ้นได้อย่างไร (นกั เรียนตอบตามความเขา้ ใจ)

• หยดน้ำทีเ่ กาะข้างแกว้ น้ำเย็นเกิดข้ึนไดอ้ ย่างไร(นกั เรียนตอบตามความเขา้ ใจ)
1.2 ใหน้ ักเรยี นทำกิจกรรมทบทวนความรูก้ ่อนเรียนนำเสนอผลการทำกิจกรรม หากพบว่านักเรยี นยังทำ
กจิ กรรมทบทวนความรู้กอ่ นเรยี นไมถ่ ูกต้อง ครูควรทบทวนหรอื แก้ไขความเข้าใจผดิ ของนกั เรียน เพอื่
ใหน้ ักเรยี นมคี วามรู้พ้ืนฐานท่ถี ูกต้องและเพียงพอท่จี ะเรียนเรอื่ งความชน้ื ตอ่ ไป
1.3 นักเรียนอ่านและตอบคำถามเก่ียวกับปริมาณไอน้ำในอากาศ ความชื้นสัมบูรณ์ ปริมาณไอน้ำอ่ิมตัว
และความช้ืนสัมพัทธ์จากหนังสือเรียน จากน้ันครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเก่ียวกับความหมายและ
ความสัมพันธข์ องปริมาณไอน้ำในอากาศ ความช้ืนสัมบูรณ์ ปรมิ าณไอน้ำอ่ิมตวั และความช้นื สัมพัทธ์ เพื่อให้ได้
ข้อสรุปว่า ไอน้ำในอากาศทำให้อากาศมีความชื้น ค่าความช้ืนสัมบูรณ์แสดงปริมาณไอน้ำท่ีมีอยู่จริงในอากาศ
โดยมีหน่วยเป็นกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ณ อุณหภูมิใดอุณหภูมิหนึ่ง อากาศสามารถรับไอน้ำได้ในปริมาณจำกัด
โดยปริมาณไอน้ำอิ่มตัวหรือปริมาณไอน้ำสูงสุดที่อากาศรับได้ข้ึนอยู่กับอุณหภูมิอากาศ ค่าความช้ืนสัมพัทธ์
แสดงความสามารถของอากาศในการรับปริมาณไอน้ำ ณ ขณะนั้นว่าอากาศมีปริมาณไอน้ำในอากาศเท่าไร
เทียบกบั ความสามารถทีจ่ ะรับไดท้ ้ังหมด และจะสามารถรบั ได้อกี เทา่ ไร
โดยแสดงค่าเปน็ เปอรเ์ ซ็นต์
1.4 ครูนำเข้าสู่กิจกรรมท่ี 5 ปัจจัยท่ีมีผลต่อความชื้นสัมพัทธ์มีอะไรบ้าง โดยอธิบายความสำคัญของ
ความช้ืนสัมพัทธ์ซึ่งแสดงถึงความสามารถในการรับไอน้ำในอากาศจึงทำให้นักวิทยาศาสตร์นำค่าความชื้น
สมั พัทธ์ไปใชป้ ระโยชน์ในการแปลความหมายและทำนายลมฟ้าอากาศได้ ซ่ึงการศกึ ษาปัจจัยท่มี ผี ลต่อความช้ืน
สมั พทั ธจ์ ะทำใหน้ ักเรียนเขา้ ใจกระบวนการท่เี ก่ียวกบั ลมฟ้าอากาศมากข้นึ
ชวั่ โมงท่ี 2
2. ขน้ั สบื คน้ ความรู้ (Searching for Information)
2.1 ให้นกั เรียนอ่านวิธีดำเนนิ กจิ กรรมในชดุ กกิ รรม และร่วมกันอภปิ รายในประเด็นดงั ตอ่ ไปน้ี

• กจิ กรรมน้ีเกี่ยวกับเร่อื งอะไร (ปัจจัยท่ีมผี ลต่อความชน้ื สัมพัทธ)์
• กิจกรรมน้มี จี ุดประสงคอ์ ย่างไร (นักเรยี นตอบตามความคิดของตนเอง)
• วัสดุและอุปกรณ์พิเศษท่ีใช้ในกิจกรรมมีอะไรบ้างและใช้งานอย่างไร (ไซครอมิเตอร์ซึ่งมีวิธีการใช้
งานและข้อแนะนำอยใู่ นหนงั สือเรียน)
• วิธีดำเนินกิจกรรมมีข้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (ศึกษาการใช้ไซครอมิเตอร์ วางแผนการทำงาน
ตรวจวดั และบันทึกความชื้นสัมพัทธ์โดยใช้ไซครอมิเตอร์ ตามสถานท่ีและเวลาท่ีได้ออกแบบไว้ รวมทั้งบันทึก
ลักษณะทางกายภาพในพื้นที่ท่เี ลอื ก จากน้ันนำข้อมูลมาสรา้ งกราฟ)
• ข้อควรระวังในการทำกิจกรรมมีหรือไม่อย่างไร (การใช้ไซครอมิเตอร์ เพ่ือวัดค่าความช้ืนสัมพัทธ์
และอณุ หภมู ิอากาศควรใช้อุปกรณ์ตามขอ้ แนะนำในชดุ กิกรรม)
2.2 นักเรียนร่วมกันวางแผนเพ่ือเลือกสถานท่ีและเวลาที่ใช้ในการวัดอุณหภูมิอากาศ และความชื้น
สมั พทั ธ์ รวมท้งั ออกแบบวธิ กี ารบันทกึ ผลทีส่ ังเกตได้

76

ชว่ั โมงที่ 3

3. ขน้ั สรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

3.1 นักเรยี นทำกจิ กรรมตามแผนทวี่ างไว้ ครสู ังเกตการตรวจวัดความชื้นสมั พัทธ์ของนกั เรยี นเพือ่ ให้

คำแนะนำและนำข้อมูลจากการสงั เกตมาใชป้ ระกอบการอภิปรายหลงั กิจกรรม

3.2 นักเรยี นเก็บข้อมูลลักษณะทางกายภาพของพนื้ ท่ีท่ีนักเรียนเลือกศึกษา นำขอ้ มลู ทไ่ี ด้จากการ

ตรวจวัดมาสรา้ งกราฟเสน้ ทแี่ สดงการเปลยี่ นแปลงความชืน้ สัมพัทธ์ในเวลาต่าง ๆ และเตรยี มนำเสนอผลการทำ

กิจกรรม โดยครูแนะนำวิธีการสรา้ งกราฟให้แก่นักเรยี น

4. ขนั้ การสือ่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการทำกิจกรรม และนำผลงานติดแสดงหน้าห้องเรียนเพ่ือ

เปรยี บเทียบขอ้ มูลของแตล่ ะกลมุ่

4.2 นักเรยี นตอบคำถามทา้ ยกิจกรรม จากน้ันครูและนกั เรยี นร่วมกันอภิปรายคำตอบเพ่อื ใหไ้ ดข้ ้อสรปุ

ว่า ปัจจยั ท่ีมผี ลต่อค่าความช้นื สมั พทั ธ์คอื อุณหภูมอิ ากาศ และลกั ษณะทางกายภาพของพนื้ ที่

5. ขนั้ การบรกิ ารสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นักเรียนอ่านเน้ือหาเพิ่มเติมเก่ียวกับความชื้นในหนังสือเรียน ตอบคำถามระหว่างเรียน และ

อภิปรายสรปุ ร่วมกนั เกย่ี วกบั ความชืน้ สมั พทั ธ์ การเกิดละอองน้ำ เมฆ หมอก น้ำคา้ ง

5.2 เชอ่ื มโยงไปสู่การเรียนรูใ้ นเร่ืองต่อไปว่า ค่าความชื้นสัมพัทธ์มคี วามสัมพันธก์ ับการเกิดเมฆ ดังที่

ได้เรียนมาแล้ว เมฆและฝนเป็นองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศซึ่งมีความสำคัญและส่งผลต่อการดำรงชีวิตของ

มนษุ ย์ นกั เรยี นจะได้ศึกษาปัจจัยทีม่ ีผลต่อการเปล่ียนแปลงเมฆและฝนเพมิ่ เติมในเรือ่ งต่อไป

13. ส่อื การเรียนรู้/แหล่งเรยี นรู้

13.1สอื่ การเรียนรู้

1) ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนังสือแบบเรียน 3) สอื่ เพาเวอรพ์ อยต์

13.2แหลง่ เรยี นรู้

1) อนิ เตอรเ์ นต็ 2) หอ้ งสมุด

14. บนั ทกึ หลังการจดั การเรียนรู้

ผลการสอน รายละเอียด

1. ดา้ นความรู้ : ......................................................................................

- ความชื้น ......................................................................................

- ความชน้ื สมั บูรณ์ ......................................................................................

- ความชื้นสมั พทั ธ์ ......................................................................................

- อปุ กรณท์ ี่ใช้วดั ความชน้ื ......................................................................................

......................................................................................

2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการคิด ......................................................................................

- ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................

3. ดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นิยม ......................................................................................

อันพงึ ประสงค์ : ......................................................................................

- มวี นิ ัย ......................................................................................

- ใฝเ่ รยี นรู้ ......................................................................................

77

- อยู่อย่างพอเพียง ......................................................................................
- รกั ความเปน็ ไทย ......................................................................................

4. ปัญหาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

5. วิธีแก้ปัญหา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

ลงช่ือ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หวั หน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ มุ สกุลรตั น์..) (นางกณิการ์ พฒั รากลุ )

ลงชื่อ...........................................
(นางรพพี ร คำบุญมา)

รองผู้อำนวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ

ลงชื่อ ........................................................
(นายสรุ ิยนั ต์ เหลา่ มะลกึ )

ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวทิ ยาคม

78

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 13
หน่วยการเรียนรู้ที่…2…กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ…….เรื่อง……..ลมฟ้าอากาศรอบตวั .(ตอนที่ 6)....

รายวิชา……......วิทยาศาสตร์……..2.......รหัสวิชา……......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีการศึกษา... 2564...ภาคเรยี นที่..2...เวลา...3..ชัว่ โมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกุลรตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพน้ื ฐานมที งั้ มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชี้วดั
รายวิชาเพิ่มเตมิ มีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรียนร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชวี้ ดั
ว 3.2 ม.1/2-3

2. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด (หลอมจากตวั ช้ีวดั ที่ใช้ในหน่วยการเรียนรู้นีเ้ ขียนเป็นแบบความเรียง)

มนุษยด์ ำรงชีวิตอยู่ภายใต้บรรยากาศชั้นโทรโพสเฟียร์ซึง่ เกิดสภาพลมฟ้าอากาศต่าง ๆ เช่น ลม เมฆ
ฝน ฟ้าแลบ ฟา้ ร้ององค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/สาระการเรียนร้เู พ่มิ เติม (รายวิชาเพมิ่ เติม)
สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

• ลมฟ้าอากาศ เป็นสภาวะของอากาศในเวลาหน่ึงของพ้ืนทีห่ น่งึ ทม่ี ีการเปลย่ี นแปลงตลอดเวลา
ขนึ้ อยูก่ บั องค์ประกอบลมฟา้ อากาศ ได้แก่ อณุ หภูมอิ ากาศ ความกดอากาศ ลม ความช้ืน เมฆ และหยาดน้ำฟ้า
โดยหยาดนำ้ ฟ้าท่ีพบบอ่ ยในประเทศไทยได้แก่ ฝน องค์ประกอบลมฟ้าอากาศเปล่ียนแปลงตลอดเวลาขน้ึ อยู่กับ

ปจั จัยต่าง ๆ เช่น ปริมาณรังสีจากดวงอาทิตย์และลักษณะพ้ืนผิวโลกส่งผลต่ออุณหภูมิอากาศ อุณหภูมอิ ากาศ
และปรมิ าณไอน้ำส่งผลตอ่ ความชนื้ ความกดอากาศส่งผลต่อลม ความชน้ื และลมส่งผลต่อเมฆ

• พายุฝนฟ้าคะนอง เกิดจากการท่ีอากาศท่ีมีอุณหภูมิและความชื้นสูงเคลือ่ นที่ข้ึนสู่ระดับความสูง ที่มี
อุณหภูมิต่ำลง จนกระท่ังไอน้ำในอากาศเกิดการควบแน่นเป็นละอองน้ำ และเกิดต่อเนื่องเป็นเมฆขนาดใหญ่
พายุฝนฟ้าคะนองทำให้เกิดฝนตกหนกั ลมกรรโชกแรง ฟ้าแลบฟ้าผา่ ซง่ึ อาจก่อให้เกดิ อันตรายต่อชีวิต

และทรัพยส์ ิน
3.2 สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถน่ิ (ถ้าในคำอธบิ ายรายวชิ าพูดถงึ หลักสตู รท้องถ่ินให้ใส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

4. จุดประสงค์การเรียนรู้

1. สังเกต อธบิ ายลกั ษณะ และจำแนกประเภทของเมฆ (K)

2. ตรวจวัดปรมิ าณเมฆปกคลมุ บนท้องฟ้า (P)

3. ตั้งใจเรยี นรูแ้ ละแสวงหาความรู้ (A)

5. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี น (เลอื กเฉพาะขอ้ ทเ่ี กิดในหน่วยการเรียนร้นู ้)ี

 1. ความสามารถในการส่ือสาร  2. ความสามารถในการคดิ

 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ

 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (เลอื กเฉพาะขอ้ ท่เี กิดในหน่วยการเรียนรนู้ )ี้

 1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  2. ซือ่ สตั ย์สุจริต

 3. มีวนิ ยั  4. ใฝ่เรียนรู้

79

 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง  6. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน

 7. รกั ความเป็นไทย  8. มีจติ สาธารณะ

7. ดา้ นคุณลกั ษณะของผู้เรียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวิชาการ  2. ส่อื สารสองภาษา  3. ล้ำหนา้ ทางความคิด

 4. ผลิตงานอย่างสรา้ งสรรค์  5. รว่ มกันรับผดิ ชอบต่อสังคมโลก

8. ทักษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คือการเรียนรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได)้  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเป็น)

 ทกั ษะดา้ นการคดิ อย่างมีวจิ ารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)

 ทกั ษะด้านความเขา้ ใจความต่างวฒั นธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะดา้ นความรว่ มมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทกั ษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media

Literacy)

 ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy)

 ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)

 ความมีเมตตา (วนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม (Compassion)

9. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

1. หลักความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลุ่มใหเ้ หมาะสมกบั จำนวนสมาชิกในหอ้ งเรียนคือ

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตุผล : ให้นักเรียนสร้างสรรค์ผลงานและเกิดทักษะการปฏิบัติ , นักเรียนเกิดความ

ภาคภมู ิใจในผลงานของตนและส่งิ ทเ่ี รยี นรู้

3. หลักภูมิคุ้มกัน : ให้นักเรียนเกิดทักษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นักเรียนรู้จักการวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกลมุ่ ไดเ้ หมาะสมกับความสามารถของแตล่ ะบุคคล

4. เง่อื นไขความรู้ : การวางแผนงานที่จะทำกอ่ นแลว้ ค่อยลงมอื ทำอย่างระมดั ระวงั

5. เง่ือนไขคุณธรรม : อดทนท่ีจะทำงาน และมีความขยันที่จะทำงานให้ออกมาได้ดีท่ีสุด , มีวินัยในการ

ทำงาน

10. ชน้ิ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตัวชี้วัด ชน้ิ งาน ภาระงาน

ว.3.2 ม.1/2-3 - รายงานกจิ กรรมที่ 6 เมฆท่ีเห็นเปน็ - วิเคราะห์และอธบิ ายปัจจัยท่ีทำให้

อย่างไร รปู ร่างลักษณะของเมฆและปริมาณ

เมฆทป่ี กคลุมท้องฟ้ามีการเปล่ยี นแปลง

ตลอดเวลา

- วเิ คราะห์และอธบิ ายปัจจัยท่ีทำให้

ปริมาณฝนในแต่ละพืน้ ท่ี และแต่ละ

ช่วงเวลาในรอบปแี ตกต่างกัน

80

11. การวัดประเมินผล

11.1การวดั และประเมินผลช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด

วิธกี าร

1.การสังเกตการณ์

2.การใชช้ ดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์รอ่ งรอยบง่ ช้ี 3.การวัดประเมินการปฏิบตั ิ

เครอื่ งมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมินการปฏบิ ัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรม ผา่ นตัง้ แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน ผ่าน 1

รายการถอื วา่ ไมผ่ า่ น

11.2การวดั และประเมนิ ผลระหวา่ งการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ประเมินจากแผนการจัดการเรยี นรู้ของ

หน่วยการเรยี นรนู้ ี)้

ส่งิ ที่ตอ้ งการวัด วธิ วี ัดผล เครือ่ งมอื วัดผล เกณฑ์การประเมนิ
- นักเรียนไดค้ ะแนน
1. ความรเู้ ก่ียวกับ -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมนิ การ 12 คะแนนขนึ้ ไป
- เมฆและปรมิ าณเมฆ หรอื รอ้ ยละ 80
- หยาดน้ำฟ้า ความคดิ เหน็ อธบิ าย อภิปรายแสดงความ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์
- ความชน้ื สัมพทั ธ์ - นักเรยี นไดค้ ะแนน
- อปุ กรณท์ ่ีใช้วัดฝน เกี่ยวกับเมฆและ คิดเหน็ ประเมนิ ผลงาน
13 คะแนนขน้ึ ไป
ปริมาณเมฆ หยาดน้ำ - แบบประเมินการ หรอื ร้อยละ 80
ถือวา่ ผ่านเกณฑ์
ฟา้ และ อุปกรณท์ ่ีใช้ ตรวจผลงานผ้เู รียน -นกั เรียนได้คะแนน
12 คะแนนข้นึ ไป
วดั ฝน หรือร้อยละ 80 ถือวา่
ผ่านเกณฑ์
-การตรวจผลงาน
- นกั เรียนได้คะแนน
นักเรียน ประเมนิ คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
2.ทกั ษะกระบวนการคดิ และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมินการ 26 คะแนนขนึ้ ไป
หรือรอ้ ยละ 80
ทกั ษะกระบวนการกล่มุ ความคิดเหน็ ระบุ อภปิ รายแสดงความ
81
ทักษะกระบวน คดิ เห็น

การทางวิทยาศาสตร์ท่ี - แบบประเมิน

ได้ปฏบิ ตั ิจากกิจกรรม พฤตกิ รรมการ

- สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานกลมุ่

ทำงานกลุ่ม

3. คณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ - สังเกตค่านิยมในการ - แบบประเมนิ

และสมรรถนะผเู้ รียน ทำงานร่วมกับผ้อู น่ื คณุ ลกั ษณะอันพงึ

- มีวนิ ัยในการทำงานกล่มุ และการทำงานใน ประสงค์

- นักเรียนเหน็ ความสำคัญ ระบบกลมุ่ - แบบประเมนิ

ของการทำงานร่วมกับผู้อื่นและ อภิปราย แสดงความ สมรรถนะผ้เู รียน

การทำงานในระบบกลมุ่ คดิ เห็นเก่ียวกับผลการ -แบบประเมนิ ระดบั ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

- ยอมรับความคิดเหน็ ซึง่ กัน ทดลอง การเหน็ คณุ ค่าใน - นกั เรยี นไดค้ ะแนน

และกนั มีความเสียสละและ ตนเอง หรือ Self- การประเมนิ สมรรถนะ

อดทน esteem 29 คะแนนขน้ึ ไป
- นกั เรียนมีการเห็นคุณค่าใน หรอื ร้อยละ 80

ตนเอง (Self-esteem) ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรียนรู้

ชวั่ โมงท่ี 1
1. ขน้ั ต้ังประเด็นปญั หา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)

1.1 กระตุ้นความสนใจของนักเรียนเกี่ยวกับเมฆและฝนโดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม ดังภาพนำเร่ือง หรือ
ภาพเคลื่อนไหวจากเวบ็ ไซต์http://www.sattmet.tmd.go.th/satmet/mergesat.html ท่แี สดงปรมิ าณเมฆ
เหนือพนื้ ทป่ี ระเทศไทย โดยอาจใช้คำถามกระตุ้นความสนใจดังน้ี

• จากภาพบรเิ วณใดมีเมฆปกคลมุ ทราบไดอ้ ย่างไร(นกั เรยี นตอบตามความเขา้ ใจ)
• นักเรียนคดิ วา่ พ้ืนที่ใดนา่ จะเกดิ ฝน เพราะเหตุใด(นกั เรียนตอบตามความเขา้ ใจ)

1.2 นักเรียนทำกิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรียน แล้วนำเสนอผลการทำกิจกรรม หากพบว่านักเรยี นยัง
ทำกจิ กรรมทบทวนความรู้กอ่ นเรยี นไม่ถูกตอ้ ง ครคู วรทบทวนหรอื แก้ไขความเขา้ ใจผดิ ของนกั เรยี น เพื่อใหม้ ี
ความร้พู ืน้ ฐานท่ีถูกต้องและเพยี งพอทจ่ี ะเรยี นเร่อื งเมฆและฝนตอ่ ไป

1.3 นำเข้าสู่การทำกิจกรรมท่ี 6 เมฆที่เห็นเป็นอย่างไร ครูตั้งคำถามกระตุ้นความสนใจว่า บางครั้งเรา
สามารถทำนายสภาพอากาศล่วงหน้าโดยใชข้ ้อมูลจากลักษณะเมฆในท้องฟ้าท่ีเราสังเกตได้ นักเรียนคิดว่าเมฆ

ในแตล่ ะวันมีลักษณะเหมือนกนั หรือ แตกตา่ งกันอย่างไรบา้ ง
ชั่วโมงท่ี 2
2. ข้นั สืบค้นความรู้ (Searching for Information)

2.1 ให้นักเรยี นอา่ นวิธีดำเนินกิจกรรมในหนงั สอื เรยี น และร่วมกนั อภิปรายในประเดน็ ดังตอ่ ไปน้ี
• กจิ กรรมนี้เกี่ยวกับเรอ่ื งอะไร (ลกั ษณะเมฆ และการตรวจวัด)

• กจิ กรรมนีม้ ีจดุ ประสงคอ์ ย่างไร (นกั เรยี นตอบตามความคิดของตนเอง)
• วิธีดำเนินกิจกรรมมีข้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (อภิปรายวิธีสังเกตเมฆบนท้องฟ้าตามความคิดของ
ตนเอง สังเกตวาดภาพ และจำแนกเมฆตามเกณฑ์ของตนเอง ศึกษาการสังเกตเมฆตามวิธีการที่น่าเชื่อถือ

สงั เกตเมฆ และบนั ทึกข้อมูล)
2.2 นักเรียนอภิปรายรว่ มกันในประเดน็ ดังนี้ หากนักเรียนสังเกตเมฆในท้องฟ้า นักเรียนคิดว่าควรจะได้

ขอ้ มูลอะไรบ้างและจะมวี ธิ บี อกปริมาณเมฆในทอ้ งฟา้ ได้อย่างไร
ชั่วโมงที่ 3

3. ขน้ั สรุปองคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

3.1 นักเรียนสงั เกตและวาดภาพเมฆ จำแนกเมฆท่ีพบตามเกณฑ์ของตนเอง และบอกปริมาณเมฆใน
ทอ้ งฟ้าตามวิธกี ารท่ีไดอ้ ภปิ รายร่วมกันจากขอ้ 1 แล้วนำเสนอ

3.2 นักเรียนศึกษาลักษณะของเมฆ การจำแนกเมฆตามเกณฑ์มาตรฐานของนักวิทยาศาสตร์และ
วิธีการตรวจวัดปริมาณเมฆปกคลุม จากนั้นให้นักเรียนวางแผนการสังเกตเมฆในช่วงเช้า กลางวัน และเย็น
ตามลำดับ โดยนักเรยี นอาจทำกิจกรรมเสรมิ ทำอย่างไรจึงสังเกตได้ง่ายขนึ้

4. ข้ันการสอื่ สารและนำเสนอ (Effective Communication)

82

4.1 นักเรียนตอบคำถามท้ายกิจกรรม จากนั้นนำเสนอ และอภิปรายคำตอบร่วมกันเพื่อให้ได้ข้อสรุป

วา่ เมฆมหี ลายรูปร่างลกั ษณะ ในแตล่ ะช่วงเวลาของวัน ปริมาณเมฆและลักษณะเมฆแตกตา่ งกันไป

4.2 นำเข้าสูก่ ารเรยี นรู้เร่อื งฝน โดยถามคำถามทบทวนความรู้ในประเด็น หยาดนำ้ ฟา้ คืออะไร เกิดข้ึน

ไดอ้ ยา่ งไร และใหน้ กั เรียนตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง

5. ขน้ั การบรกิ ารสังคมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นักเรียนอ่านข้อมูลเกี่ยวกับฝน ในชุดกิจกรรม แล้วตอบคำถามระหว่างเรียน จากนั้นร่วมกัน

อภิปรายคำตอบ

5.2 นักเรียนทำกิจกรรมเสริม ปริมาณฝนวัดได้อย่างไร ออกแบบและสร้างอุปกรณ์ที่ช่วยในการวัด

ปรมิ าณฝน รวมทั้งไดใ้ ช้แนวคดิ ในการทำเครื่องวัดฝนท่ีเปน็ ทรงกระบอก

5.3 ร่วมกันอภิปรายและสรุป ว่า เมฆมีหลายลักษณะ การจัดประเภทเมฆจัดโดยใช้ลักษณะและ

ความสูงเปน็ เกณฑ์ เมฆและฝนมกี ารเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับปัจจัยตา่ ง ๆ ปจั จยั ทท่ี ำใหเ้ มฆมกี ารเปลยี่ นแปลง

ได้แก่ ปริมาณไอน้ำในอากาศและสภาพแวดล้อมของพื้นท่ีที่ส่งผลต่อปริมาณไอน้ำในอากาศ อุณหภูมิอากาศ

ฤดูและ ลมนอกจากนี้ยังมีปัจจัยที่ทำให้ฝนมีการเปลี่ยนแปลงเช่นปริมาณเมฆ ฤดูกาล พ้ืนท่ีหรือภูมิภาค และ

สภาพภมู ิประเทศ

13. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้

13.1สื่อการเรยี นรู้

1) ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนงั สือแบบเรียน 3) สื่อเพาเวอร์พอยต์

13.2แหล่งเรยี นรู้

1) อินเตอร์เน็ต 2) หอ้ งสมุด

14. บันทกึ หลงั การจัดการเรียนรู้ รายละเอยี ด
ผลการสอน
......................................................................................
1. ด้านความรู้ : ......................................................................................
- เมฆและปริมาณเมฆ ......................................................................................
- หยาดนำ้ ฟา้ ......................................................................................
- อปุ กรณท์ ่ีใชว้ ดั ฝน ......................................................................................
......................................................................................
2. ดา้ นกระบวนการ :
- ทกั ษะกระบวนการคิด ......................................................................................
- ทักษะกระบวนการกลุม่ ......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

3. ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นยิ ม ......................................................................................
อนั พึงประสงค์ : ......................................................................................
- มวี ินัย ......................................................................................
- ใฝ่เรียนรู้ ......................................................................................
- อยู่อย่างพอเพียง ...............................................................................

83

- รกั ความเปน็ ไทย ......................................................................................

4. ปัญหาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

5. วิธีแกป้ ญั หา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

ลงช่อื ........................................ครผู สู้ อน ลงช่ือ...........................................หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รตั น์..) (นางกณกิ าร์ พฒั รากุล)

ลงช่อื ...........................................

(นางรพีพร คำบุญมา)
รองผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ

ลงชื่อ ........................................................
(นายสุริยันต์ เหล่ามะลกึ )

ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นสวุ รรณารามวิทยาคม

84


Click to View FlipBook Version