The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ว21102

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2021-11-07 08:17:19

แผนการจัดการเรียนรู้ว21102

แผนการจัดการเรียนรู้ว21102

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 14
หน่วยการเรียนร้ทู ่ี…2…กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟ้าอากาศ…….เร่อื ง……..ลมฟ้าอากาศรอบตัว.(ตอนที่ 7)....

รายวชิ า……......วทิ ยาศาสตร์……..2.......รหัสวิชา……......ว 21102 ..............ชั้นมัธยมศึกษาปีที่....1.....
กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ปีการศึกษา... 2564...ภาคเรยี นที่..2...เวลา...5..ชั่วโมง……
ผ้สู อน.........................นางสาวอโนชา...อุทุมสกลุ รัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั /ผลการเรียนรู้ (รายวิชาพ้ืนฐานมีทั้งมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ัด
รายวิชาเพมิ่ เติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรยี นร้)ู

1.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั
ว 3.2 ม.1/4-5

2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตัวชี้วัดที่ใช้ในหนว่ ยการเรียนรนู้ ้ีเขยี นเป็นแบบความเรยี ง)

มนุษย์ดำรงชีวิตอยู่ภายใต้บรรยากาศชั้นโทรโพสเฟยี ร์ซ่งึ เกิดสภาพลมฟ้าอากาศต่าง ๆ เช่น ลม เมฆ
ฝน ฟา้ แลบ ฟา้ รอ้ งองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรียนร้แู กนกลาง/สาระการเรียนรู้เพ่มิ เติม (รายวชิ าเพิม่ เติม)
สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

• การพยากรณ์อากาศเป็นการคาดการณล์ มฟ้าอากาศ ที่จะเกดิ ขึ้นในอนาคต โดยมีการตรวจวดั
องคป์ ระกอบลมฟ้าอากาศ การส่อื สารแลกเปล่ยี นขอ้ มลู องค์ประกอบลมฟ้าอากาศระหว่างพื้นที่ การวิเคราะห์
ขอ้ มลู และสร้างคำพยากรณ์อากาศ

• การพยากรณ์อากาศสามารถนำมาใช้ประโยชน์ด้านตา่ ง ๆ เช่น การใชช้ ีวิตประจำวนั การคมนาคม
การเกษตร การป้องกัน และเฝ้าระวงั ภัยพบิ ัติ ทางธรรมชาติ

3.2 สาระการเรียนรทู้ อ้ งถน่ิ (ถา้ ในคำอธบิ ายรายวชิ าพูดถึงหลักสูตรทอ้ งถ่นิ ใหใ้ ส่ลงไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายข้นั ตอนการพยากรณอ์ ากาศ (K)

2. พยากรณ์อากาศอย่างง่ายจากข้อมูลองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ (P)
3. นำเสนอแนวทางการปฏิบตั ิตนจากคำพยากรณ์อากาศ (P)
4. รวบรวมขอ้ มลู และวเิ คราะห์ความสมั พนั ธร์ ะหว่างองคป์ ระกอบของลมฟ้าอากาศเพอื่ พยากรณ์

อากาศอย่างงา่ ย(P)

5. ต้ังใจเรียนรแู้ ละแสวงหาความรู้ (A)

5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น (เลอื กเฉพาะขอ้ ทเี่ กิดในหนว่ ยการเรียนรู้น)้ี

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคดิ

 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต

 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

6. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (เลือกเฉพาะขอ้ ที่เกิดในหน่วยการเรยี นรนู้ ี้)

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์  2. ซอื่ สตั ย์สุจริต
 3. มีวนิ ัย  4. ใฝเ่ รียนรู้
 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง  6. มุ่งมน่ั ในการทำงาน

85

 7. รกั ความเป็นไทย  8. มีจิตสาธารณะ

7. ดา้ นคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล

 1. เปน็ เลิศวิชาการ  2. สื่อสารสองภาษา  3. ล้ำหน้าทางความคิด

 4. ผลติ งานอย่างสรา้ งสรรค์  5. รว่ มกันรับผดิ ชอบต่อสงั คมโลก

8. ทกั ษะของคนในศตวรรษที่ 21 คอื การเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได)้  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเป็น)

 ทกั ษะดา้ นการคดิ อย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแกไ้ ขปัญหา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)

 ทกั ษะดา้ นความเขา้ ใจความต่างวัฒนธรรม ตา่ งกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะดา้ นความรว่ มมือ การทำงานเปน็ ทีมและภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทกั ษะดา้ นการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เทา่ ทันสือ่ (Communications, Information, and Media

Literacy)

 ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร (Computing and ICT Literacy)

 ทักษะอาชีพ และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)

 ความมีเมตตา (วินัย คณุ ธรรม จริยธรรม (Compassion)

9. บรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในหอ้ งเรียนคอื

ประมาณกลมุ่ ละ 4 – 6 คน

2. หลักความมเี หตุผล : ให้นักเรยี นสรา้ งสรรค์ผลงานและเกิดทกั ษะการปฏิบตั ิ , นักเรยี นเกิดความ

ภาคภูมใิ จในผลงานของตนและสง่ิ ทเี่ รียนรู้

3. หลกั ภูมคิ ุ้มกัน : ให้นกั เรยี นเกดิ ทกั ษะการทำงานกล่มุ และกลา้ แสดงออก , นักเรียนรู้จกั การวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานใหส้ มาชกิ ภายในกลมุ่ ได้เหมาะสมกบั ความสามารถของแต่ละบคุ คล

4. เงอ่ื นไขความรู้ : การวางแผนงานท่ีจะทำก่อนแล้วค่อยลงมอื ทำอยา่ งระมัดระวงั

5. เง่ือนไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมีความขยันที่จะทำงานให้ออกมาไดด้ ีทีส่ ดุ , มีวินยั ในการ

ทำงาน

10. ชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ชวี้ ัด ช้ินงาน ภาระงาน

ว.3.2 ม.1/3-5 - รายงานกจิ กรรมที่ 7 การพยากรณ์ - วเิ คราะห์ข้ันตอนการพยากรณอ์ ากาศ

อากาศทำไดอ้ ย่างไร - วเิ คราะห์และอธิบายคำพยากรณ์

- รายงานกจิ กรรมที่ 8 คำพยากรณ์ อากาศมปี ระโยชน์ต่อการดำรงชีวิตของ

อากาศมปี ระโยชนอ์ ย่างไร มนุษย์ในดา้ นตา่ ง ๆ

11. การวัดประเมนิ ผล
11.1การวัดและประเมนิ ผลช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด
วิธีการ

86

1.การสังเกตการณ์

2.การใช้ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตรร์ ่องรอยบง่ ชี้ 3.การวัดประเมนิ การปฏิบัติ

เคร่อื งมือ

1. แบบสังเกตการณ์

2. ชดุ กจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมนิ การปฏิบัติ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านตั้งแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1

รายการถอื ว่า ไมผ่ ่าน

11.2การวดั และประเมนิ ผลระหวา่ งการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ (ประเมนิ จากแผนการจัดการเรียนร้ขู อง

หนว่ ยการเรียนรูน้ ี้)

สงิ่ ที่ตอ้ งการวัด วิธีวัดผล เครอ่ื งมือวดั ผล เกณฑก์ ารประเมิน
- นกั เรียนได้คะแนน
1. ความรู้เกีย่ วกบั -การสอบถาม ซกั ถาม - แบบประเมนิ การ 12 คะแนนข้นึ ไป
- การพยากรณ์อากาศ หรอื ร้อยละ 80
ความคดิ เหน็ อธบิ าย อภิปรายแสดงความ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์
- นักเรยี นได้คะแนน
เกยี่ วกับการพยากรณ์ คิดเห็น ประเมินผลงาน
13 คะแนนขึ้นไป
อากาศ - แบบประเมนิ การ หรือรอ้ ยละ 80
ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์
-การตรวจผลงาน ตรวจผลงานผเู้ รียน -นกั เรียนไดค้ ะแนน
12 คะแนนขึ้นไป
นกั เรยี น หรือร้อยละ 80 ถือวา่
ผา่ นเกณฑ์
2.ทกั ษะกระบวนการคดิ และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ
- นกั เรยี นไดค้ ะแนน
ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ความคดิ เหน็ ระบุ อภิปรายแสดงความ ประเมนิ คุณลักษณะ
อนั พงึ ประสงค์
ทักษะกระบวน คิดเห็น 26 คะแนนขึน้ ไป
หรอื ร้อยละ 80
การทางวิทยาศาสตร์ท่ี - แบบประเมนิ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์
- นกั เรยี นได้คะแนน
ได้ปฏิบัติจากกิจกรรม พฤตกิ รรมการ การประเมนิ สมรรถนะ
29 คะแนนขึน้ ไป
- สงั เกตพฤติกรรมการ ทำงานกลมุ่
87
ทำงานกลมุ่

3. คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ - สังเกตค่านิยมในการ - แบบประเมิน

และสมรรถนะผ้เู รียน ทำงานรว่ มกับผูอ้ นื่ คุณลกั ษณะอันพึง

- มวี นิ ยั ในการทำงานกล่มุ และการทำงานใน ประสงค์

- นกั เรยี นเหน็ ความสำคัญ ระบบกลมุ่ - แบบประเมนิ

ของการทำงานร่วมกับผอู้ ื่นและ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผ้เู รยี น

การทำงานในระบบกลุ่ม คิดเห็นเกย่ี วกับผลการ -แบบประเมนิ ระดับ

- ยอมรับความคดิ เห็นซึ่งกัน ทดลอง การเห็นคุณค่าใน

และกันมคี วามเสยี สละและ ตนเอง หรอื Self-

อดทน esteem

- นักเรียนมีการเหน็ คุณค่าใน หรอื รอ้ ยละ 80

ตนเอง (Self-esteem) ถือว่าผ่านเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรยี นรู้

ชัว่ โมงที่ 1

1. ขั้นต้งั ประเด็นปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)

1.1 สร้างความสนใจแก่นักเรียนโดยการนำวีดิทัศน์ หรือรูปภาพหรือเล่าเหตุการณ์เกี่ยวกับการใช้

ประโยชน์ของการพยากรณอ์ ากาศในชวี ิตประจำวันมาให้นักเรียนพจิ ารณา เช่น ในฤดูรอ้ นอากาศรอ้ นจัด กรม

อุตุนิยมวิทยาไดอ้ อกประกาศเตือนให้ประชาชนระวงั ภยั จากการเปลี่ยนแปลงอณุ หภมู ิอากาศอย่างรวดเรว็

จนอาจกอ่ ใหเ้ กิดอนั ตรายจากการเปน็ ลมแดด คำพยากรณอ์ ากาศดังกล่าวช่วยให้ประชาชนในพ้นื ที่

ปลอดภยั จากนนั้ ครูถามคำถามสร้างความสนใจว่าการพยากรณอ์ ากาศทำไดอ้ ย่างไร

1.2 นกั เรียนทำกิจกรรมทบทวนความรู้กอ่ นเรียน แล้วนำเสนอผลการทำกิจกรรม หากพบว่านักเรียนยัง

ทำกจิ กรรมทบทวนความร้กู อ่ นเรยี นไมถ่ กู ต้อง ครูควรทบทวนหรอื แกไ้ ขความเข้าใจผดิ ของนกั เรยี น เพ่อื

ให้มคี วามรพู้ ื้นฐานทีถ่ กู ต้องและเพียงพอที่จะเรียนเร่ืองการพยากรณอ์ ากาศตอ่ ไป

ช่ัวโมงที่ 2

2. ขั้นสืบค้นความรู้ (Searching for Information)

2.1 ให้ให้นักเรียนอ่านวิธีดำเนนิ กจิ กรรมในหนงั สือเรยี น และรว่ มกันอภปิ รายในประเด็นดังต่อไปน้ี

• กจิ กรรมน้ีเกย่ี วกบั เรื่องอะไร (การพยากรณอ์ ากาศอย่างงา่ ย)

• กิจกรรมน้ีมจี ุดประสงค์อย่างไร (นกั เรียนตอบตามความคดิ ของตนเอง)

• วธิ ดี ำเนินกจิ กรรมมีขน้ั ตอนโดยสรุปอย่างไร (รวบรวมขอ้ มูลองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ จากน้ัน

วเิ คราะห์ข้อมลู เพ่อื พยากรณ์อากาศอยา่ งง่าย แลว้ ตรวจสอบความถูกตอ้ งของคำพยากรณ์กบั สงิ่ ทเี่ กดิ ข้ึนจริง)

• กจิ กรรมน้ีควรมีข้ันตอนในการทำเป็นพิเศษอย่างไร (รวบรวมข้อมูลองคป์ ระกอบของลมฟ้าอากาศ

ลว่ งหน้าจากแหล่งตา่ งๆ และจัดกระทำขอ้ มูลให้อยู่ในรูปทส่ี ามารถนำไปประมวลผลได)้

2.2 เปิดโอกาสให้นักเรียนทำกิจกรรมทางเลือก ในการตรวจวัดอุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณเมฆ ต่อเนื่อง

กันเองเพ่ือใชใ้ นการพยากรณต์ ามแนวทางข้อเสนอแนะในการทำกิจกรรม

2.3 นักเรียนตอบคำถามท้ายกิจกรรม จากนั้นนำเสนอ และอภิปรายคำตอบร่วมกันเพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า

การพยากรณ์อากาศอย่างง่ายทำได้โดยรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์แนวโน้มการเปล่ียนแปลง ของข้อมูล

องค์ประกอบลมฟ้าอากาศนนั้ ๆ

2.4 นักเรียนอ่านข้อมูลเพ่ิมเติมในหนังสือเรียน ตอบคำถามระหว่างเรียนและร่วมกันอภิปรายสรุป

เกี่ยวกับแนวทางการพยากรณ์อากาศ เพือ่ ใหไ้ ดข้ ้อสรุปว่า การพยากรณ์อากาศมีข้ันตอนคร่าว ๆ คือการตรวจ

อากาศเพื่อรวบรวมข้อมูลองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ การส่ือสารเพ่ือแลกเปลีย่ นข้อมูลใหไ้ ด้ครอบคลมุ และ

การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อคาดหมายลักษณะอากาศและสร้างคำพยากรณ์ โดยการพยากรณ์อากาศต้องอาศัย

ขอ้ มลู ทถี่ กู ตอ้ ง จำนวนมากพอ และความรู้ในการวิเคราะห์ จงึ จะชว่ ยใหค้ ำพยากรณม์ คี วามแม่นยำ

2.5 นำเข้าสู่กจิ กรรมที่ 8 คำพยากรณ์อากาศมปี ระโยชน์อยา่ งไร โดยใช้คำถามสร้างความสนใจว่า เรา

สามารถจะนำคำพยากรณ์อากาศไปใช้ได้อย่างไร และบุคคลใดท่ีได้รับประโยชน์จากคำพยากรณ์อากาศมาก

ทส่ี ุด

ชว่ั โมงที่ 3-5

3. ข้ันสรปุ องคค์ วามรู้ (Knowledge Formation)

88

3.1 ให้นักเรียน วิเคราะห์คำพยากรณ์อากาศหลายๆรูปแบบก่อนลงข้อสรุปว่า บทบาทสมมติที่

นกั เรยี นเลือกจะได้รับผลกระทบอย่างไร และจะวางแผนการดำรงชวี ติ อยา่ งไร

3.2 ใหน้ กั เรียนแสดงบทบาทสมมตติ ามบทบาทที่ตนเองเลอื กไว้

3.2 นกั เรยี นศึกษาขอ้ มลู เพมิ่ เติมในหนังสือเรียนและตอบคำถามระหว่างเรียน จากนัน้ ครูและนกั เรยี น

ร่วมกันอภปิ รายและสรปุ ส่งิ ทไ่ี ด้เรยี นรู้ เพอ่ื ใหไ้ ดข้ ้อสรปุ ว่า คำพยากรณอ์ ากาศมีประโยชน์ในการวางแผนการ

ดำรงชีวติ เพ่ือใหด้ ำรงชวี ิตไดอ้ ยา่ งสะดวก ปลอดภัย การพยากรณอ์ ากาศทแ่ี ม่นยำ อาศยั ข้อมลู องค์ประกอบ

ของลมฟ้าอากาศที่ครอบคลุม และความรู้พ้นื ฐานเพือ่ การวิเคราะหแ์ ปลผล

4. ขน้ั การส่อื สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นักเรียนร่วมกันสรปุ หัวข้อเรอื่ งลมฟ้าอากาศรอบตัว จากน้ันนักเรียนทำกิจกรรมตรวจสอบตนเอง

เพื่อสรปุองค์ความรู้ที่ได้เรียนรู้จากบทเรียน โดยการเขียนบรรยาย วาดภาพ หรือเขียนผังมโนทัศน์ สิ่งที่ได้

เรยี นร้จู ากบทเรียนเรอ่ื งลมฟ้าอากาศรอบตัว

5. ขั้นการบรกิ ารสงั คมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 นักเรียนนำเสนอสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากบทเรียน โดยอาจออกแบบให้นักเรียนนำเสนอและ

อภิปรายภายในกลุ่ม หรืออภิปรายร่วมกันในชน้ั เรยี น หรือติดแสดงผลงานบนผนังหอ้ งเรียนเพื่อให้นักเรยี นชม

ผลงานและพจิ ารณาใหค้ วามเห็นจากนัน้ ครูและนกั เรียนอภิปรายสรุปองค์ความร้ทู ่ไี ดจ้ ากบทเรียนร่วมกนั

5.2 นักเรียนทำกิจกรรมท้ายบท เฝ้าระวังและป้องกันอันตรายจากการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ

อยา่ งฉบั พลันไดอ้ ย่างไร ตอบคำถามทา้ ยกจิ กรรม

5.3 นักเรียนตรวจสอบตนเองดา้ นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรท์ ไ่ี ด้ทำในบทเรียนน้ี อ่าน

สรปุ ท้ายบท และทำแบบฝึกหัดท้ายบท เชอื่ มโยงไปสบู่ ทเรียนต่อไปว่า การเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศบางคร้งั

เกดิ ขึ้นอยา่ งรุนแรง การเปลย่ี นแปลงดังกล่าวเป็นอยา่ งไร และเราควรปฏิบตั ิตนอยา่ งไร

13. สื่อการเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้

13.1สอื่ การเรียนรู้

1) ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนงั สอื แบบเรยี น 3) สอื่ เพาเวอรพ์ อยต์

13.2 แหล่งเรียนรู้

1) อินเตอรเ์ นต็ 2) หอ้ งสมุด

14. บนั ทกึ หลังการจัดการเรยี นรู้ รายละเอียด
ผลการสอน
......................................................................................
1. ด้านความรู้ : ......................................................................................
- การพยากรณ์อากาศ ......................................................................................
......................................................................................
2. ด้านกระบวนการ : ......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการคิด ......................................................................................
- ทักษะกระบวนการกลุ่ม
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

89

3. ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรมและค่านิยม ......................................................................................
อันพึงประสงค์ : ......................................................................................
- มีวินยั ......................................................................................

- ใฝเ่ รยี นรู้ ......................................................................................
- อยู่อย่างพอเพยี ง ...............................................................................
- รักความเปน็ ไทย
......................................................................................

4. ปัญหาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

5. วธิ แี ก้ปัญหา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

ลงช่อื ........................................ครูผู้สอน ลงชื่อ...........................................หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รตั น.์ .) (นางกณิการ์ พฒั รากุล)

ลงชื่อ...........................................
(นางรพีพร คำบญุ มา)

รองผู้อำนวยการกลมุ่ บริหารวิชาการ

ลงชื่อ ........................................................
(นายสุรยิ ันต์ เหลา่ มะลึก)

ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณารามวิทยาคม

90

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 15
หน่วยการเรียนรู้ที…2…กระบวนการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศ…เรอ่ื ง….มนุษยแ์ ละการเปล่ียนแปลงลมฟ้า

อากาศ(ตอนที่1)…..รายวิชา….วทิ ยาศาสตร์……..2.......รหัสวชิ า…....ว 21102 .........ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่....1.....
กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปกี ารศกึ ษา... 2564...ภาคเรยี นที่..2...เวลา...2..ชั่วโมง……
ผู้สอน.........................นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รัตน์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชี้วดั /ผลการเรยี นรู้ (รายวชิ าพนื้ ฐานมที ัง้ มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชี้วัด
รายวิชาเพม่ิ เติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้และผลการเรยี นรู)้

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วดั
ว 3.2 ม.1/3

2. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตวั ช้วี ัดที่ใช้ในหนว่ ยการเรียนรนู้ ีเ้ ขียนเป็นแบบความเรียง)
ลมฟ้าอากาศมีการเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลาเมื่อองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศมีการเปลย่ี นแปลงไป

บางคร้ังการเปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศจะเกิดอย่างรุนแรงซึ่งส่งผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมอย่างมาก
สำหรบั ประเทศไทยพบการเปลีย่ นแปลงลมฟ้าอากาศได้แก่ พายฝุ นฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตรอ้ น ซึ่งพายทุ ั้ง
สองมีกระบวนการเกิดและผลกระทบทง้ั เหมอื นและแตกต่างกัน ลมฟ้าอากาศเปน็ สภาวะของอากาศท่ีเกดิ ขนึ้ ใน
พื้นทห่ี น่ึง ๆ ในช่วงเวลาหนึ่ง เกดิ การเปลี่ยนแปลงได้ดงั ที่กลา่ วมา ภูมิอากาศเป็นลักษณะลมฟ้าอากาศโดยเฉล่ีย
ของพ้ืนท่ีหน่ึง ๆ ในแต่ละช่วงเวลา มีการเปลี่ยนแปลงได้เชน่ กัน ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศมี
ท้ังปจั จัยทางธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศแมไ้ ม่ได้เกิดข้ึนอย่างรวดเร็วเหมือน
ดงั การเปล่ยี นแปลงลมฟ้าอากาศ แต่กส็ ่งผลกระทบตอ่ สงิ่ มีชีวติ และส่ิงแวดล้อม
อย่างมาก มนุษย์จำเป็นต้องเรียนรู้สถานการณ์ ผลกระทบ และแนวทางในการปฏิบัติตนภายใต้การ
เปล่ียนแปลงลมฟ้าอากาศและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เพื่อให้มนุษย์และสิ่งแวดล้อมดำรงอยู่ได้อย่าง
ปลอดภัยและยั่งยนื
3. สาระการเรยี นรู้

3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง/สาระการเรยี นร้เู พิ่มเติม (รายวชิ าเพิ่มเติม)
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
• พายุฝนฟา้ คะนอง เกิดจากการทอ่ี ากาศท่ีมอี ุณหภูมแิ ละความช้ืนสูงเคลือ่ นท่ขี นึ้ สู่ระดับ

ความสูง ทีม่ อี ุณหภูมติ ่ำลง จนกระทั่งไอนำ้ ในอากาศเกิดการควบแน่นเปน็ ละอองน้ำ และเกิดต่อเนื่องเปน็ เมฆ
ขนาดใหญ่ พายุฝนฟ้าคะนองทำให้เกิดฝนตกหนัก ลมกรรโชกแรง ฟ้าแลบฟ้าผา่ ซงึ่ อาจกอ่ ให้เกิดอันตรายต่อ
ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ

• พายหุ มนุ เขตร้อนเกดิ เหนอื มหาสมุทรหรือทะเล ที่นำ้ มอี ุณหภมู ิสงู ต้งั แต่ 26-27 องศาเซลเซยี ส ขนึ้ ไป
ทำใหอ้ ากาศที่มีอุณหภมู แิ ละความช้ืนสูงบรเิ วณน้ันเคลอื่ นท่สี งู ข้ึนอยา่ งรวดเร็วเปน็ บริเวณกวา้ ง อากาศจาก
บรเิ วณอ่ืนเคลอ่ื นเข้ามาแทนที่และพัดเวยี นเขา้ หาศูนย์กลางของพายยุ ิ่งใกล้ศนู ยก์ ลาง อากาศจะเคล่ือนท่ีพัด
เวียนเกือบเป็นวงกลมและมีอัตราเร็วสูงท่สี ดุ พายุหมุนเขตรอ้ นทำใหเ้ กดิ คล่ืนพายซุ ัดฝั่ง ฝนตกหนักซึ่งอาจ
ก่อใหเ้ กดิ อันตรายตอ่ ชีวิตและทรัพยส์ ิน จงึ ควรปฏิบัติตนใหป้ ลอดภยั โดยติดตามข่าวสารการพยากรณอ์ ากาศ
และไม่เขา้ ไปอยู่ในพ้ืนท่ีทเี่ ส่ยี งภัย

3.2 สาระการเรยี นรู้ท้องถ่นิ (ถ้าในคำอธบิ ายรายวิชาพูดถึงหลกั สูตรท้องถิ่นใหใ้ ส่ลงไปด้วย

...............................................................-...........................................................................................

91

4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. เปรยี บเทยี บกระบวนการเกิดพายฝุ นฟา้ คะนอง พายหุ มนุ เขตรอ้ น (K)

2 สังเกตและบอกผลทีม่ ีตอ่ สงิ่ มชี ีวิตและส่งิ แวดลอ้ ม (P)

3. ตั้งใจเรียนรู้และแสวงหาความรู้ (A)

5. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน (เลือกเฉพาะข้อท่ีเกิดในหน่วยการเรยี นรู้น)้ี

 1. ความสามารถในการส่ือสาร  2. ความสามารถในการคิด

 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ

 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (เลอื กเฉพาะขอ้ ที่เกิดในหน่วยการเรยี นรนู้ )้ี

 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  2. ซอื่ สัตย์สุจรติ

 3. มีวนิ ยั  4. ใฝ่เรียนรู้

 5. อยอู่ ย่างพอเพียง  6. มุ่งมั่นในการทำงาน

 7. รกั ความเป็นไทย  8. มจี ิตสาธารณะ

7. ดา้ นคุณลักษณะของผู้เรยี นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวชิ าการ  2. ส่อื สารสองภาษา  3. ล้ำหนา้ ทางความคิด

 4. ผลติ งานอย่างสรา้ งสรรค์  5. รว่ มกนั รับผดิ ชอบต่อสงั คมโลก

8. ทักษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คอื การเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อา่ นออก)  R2-(W) Ringting (เขยี นได)้  R3- (A) Rithmetics (คิดเลขเปน็ )

 ทักษะด้านการคดิ อย่างมวี ิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทกั ษะดา้ นการสรา้ งสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)

 ทักษะดา้ นความเขา้ ใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทกั ษะดา้ นความร่วมมอื การทำงานเป็นทมี และภาวะผ้นู ำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทกั ษะด้านการส่อื สาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสือ่ (Communications, Information, and Media

Literacy)

 ทกั ษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy)

 ทักษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู้ (Career and Learning)

 ความมเี มตตา (วนิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรม (Compassion)

9. บูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชกิ ในกลุ่มให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรยี นคือ

ประมาณกล่มุ ละ 4 – 6 คน

2. หลักความมีเหตผุ ล : ให้นักเรยี นสรา้ งสรรค์ผลงานและเกิดทกั ษะการปฏิบตั ิ , นกั เรยี นเกิดความ

ภาคภูมิใจในผลงานของตนและสิง่ ทีเ่ รียนรู้

3. หลกั ภมู ิคุม้ กัน : ใหน้ กั เรยี นเกดิ ทกั ษะการทำงานกลุ่ม และกล้าแสดงออก , นกั เรียนรู้จักการวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชิกภายในกลุ่มได้เหมาะสมกับความสามารถของแต่ละบคุ คล

4. เงอื่ นไขความรู้ : การวางแผนงานทจี่ ะทำกอ่ นแลว้ ค่อยลงมอื ทำอย่างระมดั ระวงั

92

5. เง่อื นไขคุณธรรม : อดทนทจ่ี ะทำงาน และมคี วามขยนั ท่ีจะทำงานใหอ้ อกมาได้ดที ่ีสดุ , มีวินัยในการ
ทำงาน

10. ชิน้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตวั ชว้ี ัด ชนิ้ งาน ภาระงาน
- เปรยี บเทียบกระบวนการเกิดพายุ ฝน
ว.3.2 ม.1/3 - รายงานกิจกรรมท่ี 9 พายฝุ นฟา้ คะนอง
ฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อน และผล
และพายหุ มนุ เขตร้อนเกิดขึ้นได้อย่างไร ทีม่ ตี อ่ สิ่งมีชวี ิตและส่ิงแวดล้อม รวมทง้ั
นำเสนอแนวทางการปฏบิ ัติตนให้
เหมาะสมและปลอดภัย

11. การวัดประเมินผล

11.1การวัดและประเมินผลชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ กี าร

1.การสงั เกตการณ์

2.การใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ร่องรอยบ่งช้ี 3.การวดั ประเมินการปฏิบัติ

เครอื่ งมอื

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมินการปฏบิ ตั ิ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)

2.การประเมินพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านต้ังแต่ 2 รายการ ถือว่า ผ่าน ผ่าน 1

รายการถอื วา่ ไม่ผา่ น

11.2 การวัดและประเมนิ ผลระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ (ประเมนิ จากแผนการจดั การเรยี นรู้ของ

หน่วยการเรียนรนู้ ้)ี

สิ่งที่ต้องการวัด วธิ ีวดั ผล เครอ่ื งมอื วัดผล เกณฑ์การประเมนิ

1. ความร้เู กี่ยวกับ -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมินการ - นักเรยี นไดค้ ะแนน
- พายุ 12 คะแนนข้ึนไป
ความคดิ เหน็ อธบิ าย อภปิ รายแสดงความ หรอื รอ้ ยละ 80
ถือว่าผ่านเกณฑ์
เก่ียวกับพายุ คิดเห็น - นักเรียนได้คะแนน
ประเมนิ ผลงาน
-การตรวจผลงาน - แบบประเมนิ การ 13 คะแนนขึ้นไป
หรอื รอ้ ยละ 80
นกั เรยี น ตรวจผลงานผู้เรยี น ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

2.ทกั ษะกระบวนการคิด และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมนิ การ -นกั เรียนไดค้ ะแนน

93

ทกั ษะกระบวนการกลมุ่ ความคดิ เห็นระบุ อภปิ รายแสดงความ 12 คะแนนข้ึนไป

ทกั ษะกระบวน คดิ เห็น หรือร้อยละ 80 ถอื ว่า

การทางวิทยาศาสตรท์ ี่ - แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์

ไดป้ ฏิบตั ิจากกจิ กรรม พฤตกิ รรมการ

- สังเกตพฤตกิ รรมการ ทำงานกลมุ่

ทำงานกลุ่ม

3. คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ - สังเกตค่านยิ มในการ - แบบประเมิน - นักเรยี นไดค้ ะแนน

และสมรรถนะผเู้ รยี น ทำงานรว่ มกับผู้อน่ื คณุ ลกั ษณะอันพึง ประเมินคุณลักษณะ

- มวี นิ ยั ในการทำงานกลุ่ม และการทำงานใน ประสงค์ อันพงึ ประสงค์

- นกั เรียนเห็นความสำคญั ระบบกล่มุ - แบบประเมิน 26 คะแนนขึ้นไป

ของการทำงานร่วมกับผู้อื่นและ อภิปราย แสดงความ สมรรถนะผูเ้ รยี น หรอื รอ้ ยละ 80

การทำงานในระบบกลุ่ม คดิ เหน็ เกย่ี วกับผลการ -แบบประเมินระดับ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

- ยอมรบั ความคิดเห็นซึง่ กนั ทดลอง การเหน็ คุณค่าใน - นักเรยี นได้คะแนน

และกันมีความเสยี สละและ ตนเอง หรือ Self- การประเมินสมรรถนะ

อดทน esteem 29 คะแนนขึน้ ไป

- นกั เรยี นมีการเห็นคุณค่าใน หรือรอ้ ยละ 80

ตนเอง (Self-esteem) ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรยี นรู้

ช่วั โมงท่ี 1

1. ขน้ั ตั้งประเดน็ ปัญหา/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครูใช้ภาพหรือวีดิทัศน์ที่แสดงปรากฏการณ์เก่ียวกับพายุฝนฟ้าคะนอง และพายุหมุนเขตร้อน ให้

นกั เรียนสังเกต จากน้นั ครูถามคำถามสร้างความสนใจ เช่น พายุทัง้ สองมีความแตกตา่ งกนั อย่างไร พายุใด สร้าง

อันตรายต่อมนษุ ย์มากกว่ากัน

1.2 นกั เรียนทำกจิ กรรมทบทวนความรู้ก่อนเรยี นแลว้ นำเสนอผลการทำกจิ กรรม หากพบว่านักเรยี น

ยงั ทำกจิ กรรมทบทวนความรู้กอ่ นเรยี นไม่ถกู ต้องครูควรทบทวนหรือแก้ไขความเขา้ ใจผดิ ของนกั เรียน

เพอ่ื ให้มคี วามรูพ้ น้ื ฐานท่ถี ูกต้องและเพียงพอทจี่ ะเรียนเร่ืองพายตุ อ่ ไป

1.3 นำเข้าสู่กิจกรรมที่ 9 พายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อนเกิดขึ้นไดอ้ ย่างไร โดยตั้งประเด็นสร้าง

ความสนใจวา่ พายุในประเทศไทยทีพ่ บบ่อยคอื พายฝุ นฟา้ คะนอง และพายหุ มุนเขตร้อน ซ่ึงนักเรียนจะได้เรียนรู้

เกย่ี วกบั พายทุ ้งั สองในกจิ กรรมตอ่ ไป

ชัว่ โมงที่ 2

2. ขั้นสบื ค้นความรู้ (Searching for Information)

2.1 ใหน้ ักเรียนอา่ นวิธีดำเนินกิจกรรมในหนงั สอื เรยี น และรว่ มกนั อภิปรายในประเด็นดังต่อไปนี้

• กิจกรรมน้ีเกี่ยวกบั เร่ืองอะไร (กระบวนการเกดิ และผลกระทบของพายุฝนฟ้าคะนอง และพายุหมุน

เขตรอ้ น)

• กจิ กรรมนี้มจี ดุ ประสงค์อย่างไร (นักเรียนตอบตามความคดิ ของตนเอง)

• การทำกิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (อ่านข้อความการเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง วิเคราะห์และ

วาดภาพอธิบายกระบวนการเกิด สังเกตภาพพายุหมุนเขตร้อน วิเคราะห์และเขียนอธิบายกระบวนการเกิด

รวบรวมขอ้ มูลกระบวนการเกดิ พายุฝนฟา้ คะนองและพายุหมุนเขตรอ้ น จากนั้นนำเสนอ)

94

2.2 ใหน้ ักเรยี นวเิ คราะห์และอธิบายกระบวนการเกิดพายฝุ นฟ้าคะนอง และพายุหมุนเขตรอ้ นจากข้อมูลที่
กำหนดใหใ้ นชุดกจิ กรรม

2.3 นกั เรียนรวบรวมข้อมลู กระบวนการเกิดพายทุ ้ังสองจากแหลง่ ข้อมลู ทเ่ี ชอ่ื ถือได้
2.4 อธิบายภาพประกอบในกิจกรรม เช่น สีขาวคือกลุ่มของเมฆ สีของลูกศรแสดงอัตราเร็วของลมตาม

แถบสดี ้านขา้ งเพือ่ ช่วยในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
2.5 กระตุ้นให้นักเรียนสืบค้น ข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีมากพอ สำหรับการวิเคราะห์

กระบวนการเกดิ พายุ

3. ข้ันสรปุ องค์ความรู้ (Knowledge Formation)
3.1 นักเรียนอ่านขอ้ มูลเพ่ิมเติมในหนังสือเรียน และตอบคำถามระหว่างเรียน จากนนั้ ครูและนกั เรียน

ร่วมกันอภปิ รายและสรุปสิ่งทีไ่ ด้เรียนรู้ เพือ่ ให้ไดข้ ้อสรุปวา่ กระบวนการเกิดพายุฝนฟ้าคะนองเกดิ จากอากาศมี
อณุ หภูมิสูงข้ึนทำใหน้ ้ำระเหยเพิ่มขึ้นและลอยสูงขึน้ ไอน้ำในอากาศเกดิ การควบแน่นเปน็ ละอองน้ำเกิดเป็นเมฆ
ขนาดใหญ่จากนนั้ จะเกิดฝนตกหนัก ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า หรืออาจเกิดลูกเห็บตก กระบวนการเกิดพายุหมุนเขตร้อน

เกิดจากอุณหภูมิเหนือน้ำทะเลเพ่ิมสูงขึ้นทำให้เกิดไอน้ำในปริมาณมากและเคลื่อนท่ีสูงขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้
อากาศบริเวณรอบ ๆ เคลื่อนเข้ามาแทนทจี่ งึ เหน็ เป็นเกลยี วขนาดใหญ่ พายุฝนฟ้าคะนองและพายหุ มุนเขตรอ้ น

มผี ลกระทบต่อมนุษย์และส่ิงแวดล้อมทัง้ ด้านบวกและลบ เช่น เกดิ ฝนตกชว่ ยในการทำการเกษตร หรือ เกิดน้ำ
ท่วมสรา้ งความเสยี หายแก่ชวี ิตและทรพั ยส์ ินเปน็ จำนวนมาก

4. ข้ันการสอ่ื สารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงพายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อนมีกระบวนการเกิดและ
ผลกระทบเหมอื นและแตกต่างกันอย่างไร

5. ขั้นการบรกิ ารสังคมและสาธารณะ (Public Service)
5.1 นักเรียนนำเสนอสรปุ องคค์ วามรทู้ ี่ได้จากบทเรยี น โดยภาพวาดอธิบายการเกิดพายุฝนฟา้ คะนอง

ติดแสดงผลงานบนผนังห้องเรียนเพ่ือให้นักเรียนชมผลงานและพิจารณาให้ความเห็นจากน้ัน ครูและนักเรียน

อภปิ รายสรุปองคค์ วามรู้ท่ไี ด้จากบทเรยี นร่วมกัน
5.2 นกั เรยี นตอบคำถามท้ายกจิ กรรม

13. สอื่ การเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 2) หนังสือแบบเรยี น 3) ส่ือเพาเวอร์พอยต์
13.1สือ่ การเรยี นรู้
1) ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2) ห้องสมุด
13.2แหล่งเรยี นรู้
1) อินเตอร์เน็ต รายละเอยี ด

14. บนั ทกึ หลังการจดั การเรียนรู้ .......................................................................................
......................................................................................
ผลการสอน ......................................................................................
......................................................................................
1. ด้านความรู้ : ......................................................................................
- พายฝุ นฟ้าคะนอง ......................................................................................
- พายหุ มนุ เขตร้อน

95

2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการคดิ ......................................................................................
- ทกั ษะกระบวนการกล่มุ ......................................................................................
......................................................................................
3. ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรมและคา่ นยิ ม ......................................................................................
อนั พงึ ประสงค์ :
- มวี นิ ัย ......................................................................................
- ใฝ่เรยี นรู้ ......................................................................................
- อยู่อย่างพอเพียง ......................................................................................
- รกั ความเป็นไทย ......................................................................................
...............................................................................
......................................................................................

4. ปญั หาการสอน
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

5. วิธแี ก้ปัญหา
....................................................................... ......................................................................................
....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

ลงช่ือ........................................ครูผสู้ อน ลงชอ่ื ...........................................หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รัตน.์ .) (นางกณิการ์ พัฒรากลุ )

ลงช่ือ...........................................
(นางรพพี ร คำบญุ มา)

รองผู้อำนวยการกลุ่มบรหิ ารวชิ าการ

ลงชื่อ ........................................................
(นายสรุ ยิ ันต์ เหล่ามะลึก)

ผอู้ ำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวทิ ยาคม

96

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 16
หน่วยการเรยี นรูท้ ี…2…กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟา้ อากาศ…เรอ่ื ง….มนษุ ยแ์ ละการเปลย่ี นแปลงลมฟา้

อากาศ(ตอนที่2)…..รายวชิ า….วทิ ยาศาสตร์……..2.......รหัสวิชา…....ว 21102 .........ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท.ี่ ...1.....
กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีการศึกษา... 2564...ภาคเรียนท่.ี .2...เวลา...5..ชว่ั โมง……
ผสู้ อน.........................นางสาวอโนชา...อุทมุ สกลุ รตั น์.........................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู้ (รายวิชาพ้นื ฐานมีทั้งมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชี้วัด
รายวิชาเพ่ิมเติมมีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรแู้ ละผลการเรยี นร)ู้

1.1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชีว้ ดั ว 3.2 ม.1/6,7

2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด (หลอมจากตวั ช้วี ัดท่ใี ช้ในหน่วยการเรยี นรนู้ ้เี ขยี นเป็นแบบความเรยี ง)
ลมฟา้ อากาศมีการเปลยี่ นแปลงได้ตลอดเวลาเมื่อองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศมีการเปลี่ยนแปลงไป

บางครั้งการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศจะเกิดอย่างรุนแรงซ่ึงส่งผลกระทบต่อมนุษย์และส่ิงแวดล้อมอย่างมาก
สำหรับประเทศไทยพบการเปลีย่ นแปลงลมฟ้าอากาศไดแ้ ก่ พายุฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อน ซ่ึงพายทุ ้ัง
สองมีกระบวนการเกดิ และผลกระทบทัง้ เหมอื นและแตกตา่ งกัน ลมฟา้ อากาศเป็นสภาวะของอากาศที่เกดิ ขึ้นใน
พน้ื ที่หนงึ่ ๆ ในชว่ งเวลาหน่ึง เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ดังทกี่ ลา่ วมา ภมู ิอากาศเปน็ ลกั ษณะลมฟา้ อากาศโดยเฉล่ีย
ของพ้ืนท่ีหนึ่ง ๆ ในแตล่ ะช่วงเวลา มีการเปล่ียนแปลงได้เช่นกนั ปัจจัยท่ีทำให้เกิดการเปล่ียนแปลงภมู ิอากาศมี
ทง้ั ปจั จัยทางธรรมชาติและกิจกรรมของมนุษย์ การเปล่ียนแปลงภูมอิ ากาศแมไ้ ม่ได้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเหมือน
ดังการเปล่ยี นแปลงลมฟ้าอากาศ แต่ก็สง่ ผลกระทบตอ่ ส่ิงมชี ีวิตและส่งิ แวดล้อม
อย่างมาก มนุษย์จำเป็นต้องเรียนรู้สถานการณ์ ผลกระทบ และแนวทางในการปฏิบัติตนภายใต้การ
เปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เพื่อให้มนุษย์และส่ิงแวดล้อมดำรงอยู่ได้อย่าง
ปลอดภยั และยงั่ ยืน
3. สาระการเรียนรู้

3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/สาระการเรียนรู้เพม่ิ เติม (รายวชิ าเพม่ิ เติม)
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
• ภูมิอากาศโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนอ่ื งโดยปัจจัยทางธรรมชาติ แต่ปัจจุบนั การเปลี่ยนแปลง

ภูมิอากาศเกดิ ขึ้นอยา่ งรวดเรว็ เน่ืองจากกิจกรรมของมนษุ ย์ในการปลดปล่อยแกส๊ เรือนกระจกสู่บรรยากาศ แก๊ส
เรอื นกระจกทีถ่ กู ปลดปล่อยมากทสี่ ุด ไดแ้ ก่ แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์ซง่ึ หมนุ เวยี นอยู่ในวัฏจักรคาร์บอน

• การเปล่ยี นแปลงภมู อิ ากาศโลกก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบต่อส่งิ มชี ีวติ และส่งิ แวดลอ้ ม เช่นการหลอมเหลว
ของน้ำแข็งข้วั โลก การเพ่ิมขึ้นของระดบั ทะเล การเปลย่ี นแปลงวัฏจักรนำ้ การเกิดโรคอุบัติใหม่และอบุ ตั ิซำ้ และ
การเกดิ ภัยพิบัติทางธรรมชาติทีร่ ุนแรงขนึ้ มนษุ ยจ์ งึ ควรเรยี นรู้แนวทางการปฏบิ ัติตนภายใต้สถานการณด์ ังกลา่ ว
ทงั้ แนวทางการปฏิบัตติ นให้เหมาะสมและแนวทางการลดกิจกรรมท่ีสง่ ผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงภูมอิ ากาศโลก

3.2 สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่นิ (ถา้ ในคำอธิบายรายวชิ าพูดถงึ หลักสูตรท้องถน่ิ ให้ใส่ลงไปดว้ ย

...............................................................-...........................................................................................

4. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธิบายสถานการณ์การเปล่ียนแปลงภูมอิ ากาศโลก และยกตวั อยา่ งผลกระทบต่อสง่ิ มชี วี ติ และ

ส่ิงแวดล้อม (K)
2. เสนอแนวทางในการปฏิบัติตนให้เหมาะสม ปลอดภัยจากพายุฝนและการเปล่ยี นแปลงภมู ิอากาศ (P)
3. ต้ังใจเรยี นรูแ้ ละแสวงหาความรู้ (A)

97

5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น (เลอื กเฉพาะขอ้ ที่เกิดในหน่วยการเรียนรู้น)ี้

 1. ความสามารถในการสื่อสาร  2. ความสามารถในการคดิ

 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา  4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ

 5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (เลอื กเฉพาะข้อทเ่ี กิดในหน่วยการเรยี นรนู้ )ี้

 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  2. ซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ

 3. มีวนิ ยั  4. ใฝเ่ รียนรู้

 5. อยอู่ ย่างพอเพียง  6. มุ่งม่นั ในการทำงาน

 7. รกั ความเป็นไทย  8. มจี ิตสาธารณะ

7. ดา้ นคณุ ลักษณะของผูเ้ รยี นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล

 1. เป็นเลิศวชิ าการ  2. สอ่ื สารสองภาษา  3. ล้ำหนา้ ทางความคิด

 4. ผลติ งานอย่างสรา้ งสรรค์  5. ร่วมกันรับผดิ ชอบต่อสงั คมโลก

8. ทักษะของคนในศตวรรษท่ี 21 คือการเรยี นรู้ 3R X 8C 2L

 R1 –Reading (อ่านออก)  R2-(W) Ringting (เขียนได้)  R3- (A) Rithmetics (คดิ เลขเป็น)

 ทักษะด้านการคดิ อย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปญั หา (Critical Thinking and Problem

Solving)

 ทักษะดา้ นการสร้างสรรค์ และนวตั กรรม (Creativity and Innovation)

 ทกั ษะดา้ นความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural Understanding)

 ทักษะดา้ นความร่วมมอื การทำงานเป็นทมี และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and

Leadership)

 ทักษะดา้ นการสื่อสาร สารสนเทศและรเู้ ทา่ ทันส่อื (Communications, Information, and Media

Literacy)

 ทกั ษะดา้ นคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร (Computing and ICT Literacy)

 ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)

 ความมเี มตตา (วนิ ยั คุณธรรม จรยิ ธรรม (Compassion)

9. บรู ณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. หลกั ความพอประมาณ : กำหนดจำนวนสมาชิกในกลมุ่ ให้เหมาะสมกับจำนวนสมาชิกในห้องเรียนคอื

ประมาณกลุ่มละ 4 – 6 คน

2. หลักความมเี หตุผล : ให้นักเรียนสรา้ งสรรคผ์ ลงานและเกิดทักษะการปฏบิ ตั ิ , นกั เรยี นเกิดความ

ภาคภูมิใจในผลงานของตนและสิ่งที่เรียนรู้

3. หลักภมู ิคุม้ กนั : ให้นกั เรียนเกิดทักษะการทำงานกลมุ่ และกล้าแสดงออก , นกั เรยี นรจู้ ักการวาง

แผนการทำงานและมอบหมายงานให้สมาชกิ ภายในกล่มุ ได้เหมาะสมกบั ความสามารถของแต่ละบุคคล

4. เง่อื นไขความรู้ : การวางแผนงานท่ีจะทำก่อนแล้วค่อยลงมอื ทำอยา่ งระมัดระวงั

5. เง่ือนไขคุณธรรม : อดทนที่จะทำงาน และมคี วามขยันท่ีจะทำงานใหอ้ อกมาได้ดที สี่ ดุ , มีวนิ ยั ในการ

ทำงาน

98

10. ชนิ้ งาน/ภาระงานรวบยอด

ตัวช้วี ัด ช้นิ งาน ภาระงาน

ว.3.2 ม.1/6,7 - รายงานกิจกรรมท่ี 10 ภูมอิ ากาศ - วิเคราะห์เปรยี บเทยี บอธิบาย
สถานการณ์และผลกระทบการ
เปลยี่ นแปลงไดห้ รือไม่ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกจากขอ้ มูลที่
รวบรวมได้
- นำเสนอแนวทางการปฏิบตั ติ นภายใต้
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก

11. การวัดประเมินผล

11.1การวดั และประเมนิ ผลชิ้นงาน/ภาระงานรวบยอด

วธิ กี าร

1.การสงั เกตการณ์

2.การใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตรร์ อ่ งรอยบง่ ช้ี 3.การวดั ประเมินการปฏบิ ัติ

เคร่ืองมือ

1. แบบสงั เกตการณ์

2. ชุดกจิ กรรมวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบวดั ประเมนิ การปฏิบตั ิ

เกณฑ์

1.การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)

2.การประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรม ผ่านตัง้ แต่ 2 รายการ ถือวา่ ผ่าน ผ่าน 1

รายการถือว่า ไม่ผ่าน

11.2 การวัดและประเมนิ ผลระหวา่ งการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ (ประเมินจากแผนการจดั การเรยี นร้ขู อง

หน่วยการเรียนรนู้ ี)้

ส่งิ ท่ตี ้องการวัด วิธีวัดผล เครือ่ งมอื วัดผล เกณฑ์การประเมิน

1. ความรเู้ ก่ียวกบั -การสอบถาม ซักถาม - แบบประเมินการ - นักเรยี นไดค้ ะแนน
- การเปล่ียนแปลงภมู ิอากาศ 12 คะแนนขนึ้ ไป
โลก ความคิดเห็นอธบิ าย อภปิ รายแสดงความ หรอื รอ้ ยละ 80
ถือว่าผา่ นเกณฑ์
เก่ียวกบั การเปลยี่ น คิดเหน็ - นักเรยี นได้คะแนน
ประเมนิ ผลงาน
แปลงภมู อิ ากาศโลก - แบบประเมนิ การ 13 คะแนนขน้ึ ไป
หรือรอ้ ยละ 80
-การตรวจผลงาน ตรวจผลงานผู้เรยี น ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

นกั เรยี น -นกั เรยี นได้คะแนน
12 คะแนนขน้ึ ไป
2.ทักษะกระบวนการคดิ และ - การอภปิ รายแสดง - แบบประเมินการ หรือรอ้ ยละ 80 ถือว่า
ทกั ษะกระบวนการกลุ่ม ผา่ นเกณฑ์
ความคดิ เห็นระบุ อภปิ รายแสดงความ
99
ทกั ษะกระบวน คิดเหน็

การทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่ - แบบประเมิน

ไดป้ ฏิบัติจากกจิ กรรม พฤตกิ รรมการ

- สังเกตพฤตกิ รรมการ ทำงานกลุ่ม

ทำงานกล่มุ

3. คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ - สงั เกตค่านยิ มในการ - แบบประเมิน - นักเรียนได้คะแนน

และสมรรถนะผูเ้ รยี น ทำงานรว่ มกบั ผอู้ ่นื คุณลกั ษณะอันพงึ ประเมินคณุ ลักษณะ

- มวี ินยั ในการทำงานกลุม่ และการทำงานใน ประสงค์ อนั พึงประสงค์

- นกั เรียนเห็นความสำคญั ระบบกลุม่ - แบบประเมิน 26 คะแนนขึ้นไป

ของการทำงานร่วมกับผู้อนื่ และ อภปิ ราย แสดงความ สมรรถนะผูเ้ รยี น หรอื ร้อยละ 80

การทำงานในระบบกลุ่ม คิดเหน็ เก่ยี วกบั ผลการ -แบบประเมนิ ระดบั ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

- ยอมรบั ความคดิ เห็นซง่ึ กนั ทดลอง การเห็นคณุ ค่าใน - นกั เรยี นไดค้ ะแนน

และกันมีความเสยี สละและ ตนเอง หรือ Self- การประเมนิ สมรรถนะ

อดทน esteem 29 คะแนนขึน้ ไป

- นกั เรยี นมีการเห็นคณุ ค่าใน หรอื รอ้ ยละ 80

ตนเอง (Self-esteem) ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

12. กิจกรรมการเรียนรู้

ชั่วโมงท่ี 1

1. ข้ันตั้งประเด็นปัญหา/สมมตฐิ าน (Hypothesis Formulation)

1.1 ครูใช้ภาพหรือวีดทิ ัศน์แสดงปรากฏการณ์ทีเ่ กีย่ วข้องกับการเปลยี่ นแปลงภูมิอากาศโลก เช่น ภาพนำ

เรื่องเกี่ยวกับน้ำแข็งขั้วโลกหลอมเหลวและผลกระทบต่อหมีข้ัวโลกเป็นต้น ให้นักเรียนสังเกต จากนั้นครูถาม

คำถามเพ่อื สรา้ งความสนใจดังนี้

• การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกคืออะไร ใครได้รับผลกระทบบ้าง (นกั เรียนตอบตามความเข้าใจ)

1.2 นกั เรยี นทำกจิ กรรมทบทวนความรูก้ ่อนเรยี นแล้วนำเสนอผลการทำกจิ กรรม หากพบว่านกั เรยี นยังทำ

กิจกรรมทบทวนความรู้ก่อนเรยี นไมถ่ ูกต้องครูควรทบทวนหรือแก้ไขความเขา้ ใจผิดของนักเรยี นเพ่ือให้มีความรู้

พืน้ ฐานท่ีถกู ต้องและเพียงพอทจ่ี ะเรียนเรอ่ื งการเปล่ยี นแปลงภมู ิอากาศโลกตอ่ ไป

1.3 นำเข้าสู่กิจกรรมที่ 10 ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงได้หรือไม่ โดยตั้งประเด็นให้นักเรียนหาคำตอบว่า ลม

ฟ้าอากาศมีการเปลี่ยนแปลงได้ทุกวัน สำหรับภูมิอากาศซึ่งเป็นแบบรูปลมฟ้าอากาศของพื้นที่หน่ึง ๆ สามารถ

เปลย่ี นแปลงได้หรอื ไม่

ช่ัวโมงที่ 2-3

2. ขนั้ สืบคน้ ความรู้ (Searching for Information)

2.1 ให้นักเรียนอ่านวิธีดำเนนิ กจิ กรรมในหนังสือเรียน และรว่ มกันอภปิ รายในประเด็นดงั ตอ่ ไปน้ี

• กิจกรรมน้เี ก่ยี วกบั เรือ่ งอะไร (สถานการณก์ ารเปล่ยี นแปลงภูมอิ ากาศโลก)

• กิจกรรมนม้ี ีจดุ ประสงคอ์ ยา่ งไร (นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง)

• วิธีดำเนินกิจกรรมมีข้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (วิเคราะหส์ ถานการณ์การเปลี่ยนแปลงภูมอิ ากาศโลก

จากข้อมูลท่ีกำหนดและอธิบายว่าภูมิอากาศโลกมีการเปล่ียนแปลงหรือไม่และสถานการณ์ดังกล่าวส่งผลต่อ

สิง่ มชี ีวติ และสง่ิ แวดล้อมอยา่ งไร)ครคู วรอธิบายเพ่มิ เติมในประเดน็ ทนี่ ักเรยี นยงั ตอบได้ไมค่ รบถว้ น

2.2 แบ่งกลุ่มนกั เรยี นทำกจิ กรรมโดยเลอื กวิเคราะห์ข้อมูลจากกราฟท่สี นใจ

2.3 ให้คำแนะนำ ในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกราฟ ความหมายของคำว่าค่าผิดปกติของอุณหภูมิอากาศ

และคา่ ความผิดปกตขิ องปริมาณหยาดนำ้ ฟ้า ท่ใี ช้ในกราฟ

100

ช่ัวโมงที่ 4-5

3. ขนั้ สรปุ องค์ความรู้ (Knowledge Formation)

3.1 ให้นักเรยี นตอบคำถามท้ายกิจกรรม จากน้ันนำเสนอ และอภปิ รายคำตอบรว่ มกนั เพอ่ื ให้ได้

ข้อสรปุ ว่า ภูมอิ ากาศมีการเปลยี่ นแปลงและส่งผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์

4. ขน้ั การสื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication)

4.1 นักเรียนอ่านข้อมูลเพ่ิมเติมเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลกจากหนังสือเรียน และตอบ

คำถามระหวา่ งเรียนครเู ปิดโอกาสใหน้ ักเรียนทำกิจกรรมเสริม จากน้ันอภิปรายคำตอบของคำถามระหวา่ งเรียน

ร่วมกัน

5. ข้นั การบริการสงั คมและสาธารณะ (Public Service)

5.1 สรุปส่ิงที่ได้เรียนรู้ เพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า ภูมิอากาศโลกกำลังเปล่ียนแปลง และส่งผลกระทบต่อ

สิ่งมีชีวติ และส่งิ แวดลอ้ มอย่างมาก กิจกรรมของมนุษย์ได้เรง่ ใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลกดังกล่าว

5.2 สรุปหัวข้อเรื่องในบทเรียน มนุษย์และการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ จากน้ันครูให้นักเรียนทำ

กิจกรรมตรวจสอบตนเอง เพื่อสรุปองค์ความรู้ที่ได้เรียนรู้จากบทเรียน โดยการเขียนบรรยาย วาดภาพ หรือ

เขยี นผงั มโนทัศน์ส่งิ ท่ีไดเ้ รียนรู้จากบทเรยี น

5.3 นักเรียนนำเสนอผลงาน โดยนำเสนอและอภิปรายภายในกลุ่ม หรืออภิปรายร่วมกันในช้ันเรียน

หรือติดแสดงผลงานบนผนงั ห้องเรียนเพอ่ื ให้นักเรียนพิจารณาและแสดงให้ความคิดเห็น จากน้ันครูและนักเรยี น

อภิปรายสรปุ องค์ความรทู้ ไี่ ด้จากบทเรียนรว่ มกนั นกั เรยี นตอบคำถามท้ายกิจกรรม

5.4 ให้นักเรียนทำกิจกรรมท้ายบท ปฏิบัติตนอย่างไรเพื่อรับมือกับการเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลกใน

อนาคต ตอบคำถามทา้ ยกิจกรรม

13. ส่อื การเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้

13.1สือ่ การเรยี นรู้

1) ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ 2) หนงั สอื แบบเรียน 3) สอ่ื เพาเวอร์พอยต์

13.2แหล่งเรยี นรู้

1) อินเตอร์เน็ต 2) หอ้ งสมุด

14. บันทกึ หลังการจดั การเรยี นรู้

ผลการสอน รายละเอยี ด

1. ด้านความรู้ : ......................................................................................

- การเปล่ียนแปลงภูมอิ ากาศโลก ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

2. ดา้ นกระบวนการ : ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการคดิ ......................................................................................

- ทักษะกระบวนการกลุ่ม ......................................................................................

101

......................................................................................

3. ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคา่ นิยม ......................................................................................

อนั พงึ ประสงค์ : ......................................................................................

- มีวินัย ......................................................................................

- ใฝเ่ รยี นรู้ ......................................................................................

- อยู่อย่างพอเพียง ......................................................................................

- รกั ความเปน็ ไทย ......................................................................................

4. ปญั หาการสอน

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

5. วิธีแกป้ ัญหา

....................................................................... ......................................................................................

....................................................................... ......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

......................................................................................

ลงชื่อ........................................ครูผู้สอน ลงชอ่ื ...........................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
(.นางสาวอโนชา...อทุ ุมสกุลรตั น์..) (นางกณกิ าร์ พฒั รากุล)

ลงชื่อ...........................................
(นางรพพี ร คำบุญมา)

รองผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ

ลงช่ือ ........................................................
(นายสุรยิ ันต์ เหลา่ มะลกึ )

ผ้อู ำนวยการโรงเรียนสวุ รรณารามวิทยาคม

102

แบบประเมนิ การอภปิ รายแสดงความคดิ เหน็
วชิ า .......................................................................................................... ชนั้ ………………………………

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ..............................กิจกรรม ……………………………………………………………………….…

คำชแ้ี จง : ใหป้ ระเมินจากการสงั เกตการร่วมอภิปรายในระหว่างเรยี น และการปฏิบัตกิ ิจกรรมกลุ่ม

โดยใหร้ ะดับคะแนนลงในตารางทตี่ รงกบั พฤตกิ รรมของผเู้ รียน

เกณฑ์การใหค้ ะแนน 3 = ดี 2 = พอใช้ 1 = ตอ้ งปรับปรุง

รายการประเมิน รวม สรุปผลการ
15 ประเมิน

คะแนน

เลขที่ ชือ่ -นามสกลุ การแสดงความ คะแนน ไม่
ิคดเ ็หน ทีท่ ำได้ ผ่าน
ยอมรับฟังความ ผา่ น
ิคดเ ็หนของ ู้ผ ่ือน
ตรงประเ ็ดน
สมเห ุตสมผล
มีความเ ื่ชอมั่นใน
การแสดงออก

ลงชอื่ ................................................................................. ผ้ปู ระเมนิ
เกณฑ์การประเมิน : นกั เรียนไดค้ ะแนน 12 คะแนนขน้ึ ไป ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

103

แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์

คำชแ้ี จง : ใหส้ งั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ ลงในชอ่ งทีต่ รง
กับระดับคะแนน

คณุ ลักษณะอนั พงึ รายการทีป่ ระเมนิ ระดบั คะแนน
ประสงค์ดา้ น 321

3.1 ตรงต่อเวลา

1. มวี นิ ยั 3.2 ปฏบิ ตั ิงานเรยี บร้อยเหมาะสม
3.3 ปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลง
4.1 กระตอื รอื รน้ ในการแสวงหาข้อมูล

2. ใฝเ่ รยี นรู้ 4.2 มกี ารจดบนั ทกึ ความรูอ้ ยา่ งเป็นระบบ

4.3 สรุปความรูไ้ ด้อยา่ งมเี หตุผล
5.1 ใช้วัสดุ ส่ิงของ เคร่อื งใช้ อยา่ งประหยดั

3. อยู่อยา่ งพอเพียง 5.2 ใช้อปุ กรณ์การเรยี นอย่างประหยัดและรูค้ ณุ ค่า

4. รักความเปน็ ไทย 5.3 ใชจ้ ่ายอย่างประหยัดและมีการเกบ็ ออม
7.1 มจี ิตสำนึกในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย
7.2 เห็นคณุ ค่าและปฏิบัตติ นตามวฒั นธรรมไทย

ลงช่ือ ................................................................................. ผปู้ ระเมิน
/ /......................... ......................... .............................

เกณฑก์ ารให้คะแนน : ให้ 3 คะแนน
- พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิชัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน
ให้ 1 คะแนน
- พฤตกิ รรมท่ีปฏิบตั ิชัดเจนและบ่อยครัง้
- พฤติกรรมที่ปฏบิ ัตบิ างครัง้

104

แบบประเมินผลงานผ้เู รยี น

ชอ่ื - นามสกลุ .................................................................................. ชั้น …………………........
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ................................ กิจกรรม ……………….………………......................

คำช้แี จง: ให้ผ้ปู ระเมนิ ขีด ✓ ลงในชอ่ งท่ตี รงกับระดับคะแนน

ประเด็นท่ีประเมิน ผปู้ ระเมนิ

ตนเอง เพื่อน ครู

432143214321

1. ตรงจดุ ประสงคท์ ่กี ำหนด

2. มคี วามถูกต้องสมบรู ณ์

3. มคี วามคิดสร้างสรรค์

4. มีความเป็นระเบียบ

รวม
รวมทกุ รายการ

เฉล่ยี

ผู้ประเมนิ (ตนเอง)........................................................... ผปู้ ระเมนิ .......................................................... (เพ่อื น)

ผปู้ ระเมนิ ................................................................ (คร)ู

105

เกณฑ์การให้คะแนนผลงาน

ประเดน็ ที่ประเมนิ คะแนน

1. ผลงานตรงกับ 4 3 2 1
จดุ ประสงค์ท่ีกำหนด
ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานสอดคลอ้ ง ผลงานสอดคล้อง ผลงานไม่
2. ผลงานมคี วามถกู ตอ้ ง กบั จดุ ประสงค์ กบั จดุ ประสงค์ กบั จดุ ประสงค์ สอดคล้องกบั
สมบรู ณ์ ทุกประเดน็ เปน็ ส่วนใหญ่ บางประเดน็ จุดประสงค์
เนอื้ หาสาระของ เน้อื หาสาระของ เนื้อหาสาระของ
3. ผลงานมคี วามคิด เน้อื หาสาระของ ผลงานถกู ต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานไม่ถูกต้อง
สรา้ งสรรค์ ผลงานถกู ต้อง เป็นส่วนใหญ่ บางประเดน็ เปน็ สว่ นใหญ่
ครบถว้ น ผลงานมีแนวคดิ ผลงานมคี วาม ผลงานไมแ่ สดง
4. ผลงานมีความเป็น แปลกใหม่แตย่ งั น่าสนใจ แตย่ งั ไม่ แนวคดิ ใหม่
ระเบียบ ผลงานแสดงออก ไมเ่ ป็นระบบ มแี นวคิดแปลก
ถึงความคิด ใหม่ ผลงานส่วนใหญ่
สร้างสรรค์ ผลงานสว่ นใหญ่มี ไมเ่ ปน็ ระเบยี บ
แปลกใหม่ ความเป็น ผลงานมคี วาม และมขี ้อ
และเปน็ ระบบ ระเบียบแต่ยังมี เปน็ ระเบียบแต่มี บกพรอ่ งมาก
ขอ้ บกพรอ่ ง ข้อบกพร่อง
ผลงานมคี วามเปน็ เล็กน้อย บางส่วน
ระเบียบแสดงออก
ถงึ ความประณตี

เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ

นักเรยี นไดค้ ะแนน 13 คะแนนขน้ึ ไป หรือรอ้ ยละ 80 ถือว่าผา่ นเกณฑ์

106

แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลมุ่

กลมุ่ ..........................................................................................................

สมาชกิ ในกลุ่ม 1. 2....................................................................... ......................................................................

3. 4....................................................................... ......................................................................

5. 6....................................................................... ......................................................................

คำช้แี จง: ใหน้ ักเรียนทำเครือ่ งหมาย ✓ ในช่องทต่ี รงกบั ความเป็นจริง

พฤตกิ รรมทีส่ ังเกต คะแนน 1
32

1. มสี ว่ นร่วมในการแสดงความคิดเหน็
2. มีความกระตอื รือร้นในการทำงาน
3. รับผดิ ชอบในงานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย
4. มขี ัน้ ตอนในการทำงานอยา่ งเปน็ ระบบ
5. ใช้เวลาในการทำงานอยา่ งเหมาะสม

รวม

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

พฤติกรรมท่ีทำเป็นประจำ ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมท่ที ำเป็นบางคร้งั ให้ 2 คะแนน
พฤตกิ รรมทท่ี ำน้อยครง้ั ให้ 1 คะแนน

เกณฑก์ ารให้คะแนน

ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
13-15 ดี
8-12 ปานกลาง

5-7 ปรบั ปรงุ

107

แบบประเมนิ สมรรถนะผ้เู รียน 5 ด้าน

คำชี้แจง : ใหส้ งั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ✓ ลงในช่องท่ตี รง
กับระดับคะแนน

สมรรถนะท่ปี ระเมิน ระดบั คะแนน
321
1. ความสามารถในการสื่อสาร
1.1 มคี วามสามารถในการรับ – ส่งสาร
1.2 มคี วามสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเอง
โดยใช้ภาษาอย่างเหมาะสม
1.3 ใช้วิธีการส่อื สารทเี่ หมาะสม

2. ความสามารถในการคดิ
2.1 มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ เพอื่ การสรา้ งองค์ความรู้
2.2 มคี วามสามารถในการคดิ เป็นระบบ เพ่ือการสรา้ งองคค์ วามรู้

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
3.1 แกป้ ัญหาโดยใช้เหตุผล
3.2 แสวงหาความรู้มาใช้ในการแกป้ ัญหา
3.3 ตัดสนิ ใจโดยคำนึงถงึ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผอู้ ่นื

4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
4.1 ทำงานและอยูร่ ่วมกบั ผอู้ ื่นดว้ ยความสัมพนั ธ์อนั ดี
4.2 มวี ิธีแกไ้ ขความขัดแย้งอย่างเหมาะสม

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
5.1 เลอื กใช้ขอ้ มลู ในการพัฒนาตนเองอยา่ งเหมาะสม
5.2 เลอื กใช้ขอ้ มลู ในการทำงานและอยรู่ ่วมกับผู้อ่นื อยา่ งเหมาะสม

ลงชื่อ ................................................................................. ผ้ปู ระเมิน

/ /........................ ......................... .............................

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : ให้ 3 คะแนน
- พฤติกรรมที่ปฏิบตั ชิ ัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน
ให้ 1 คะแนน
- พฤตกิ รรมท่ีปฏบิ ตั ชิ ัดเจนและบอ่ ยคร้งั
- พฤติกรรมท่ีปฏบิ ตั บิ างครั้ง

108

แบบทดสอบ Rubin’s Self Esteem Scale

คำช้แี จง แบบสอบถามทั้งหมดมี 3 ตอน โปรดอา่ นคำช้ีแจงแต่ละตอนอยา่ งถถ่ี ว้ น คำตอบไม่มีการตัดสิน

ว่าถกู หรอื ผิดเพราะเปน็ ความรู้สกึ ของคนแตล่ ะคนไมจ่ ำเปน็ จะตอ้ งเหมือนกับผู้อ่นื โปรดตอบทกุ ๆขอ้

ตอนที่ 1 โปรดอา่ นแตล่ ะประโยคอยา่ งระมัดระวงั ถา้ ประโยคไหนเหมอื นตัวคณุ เองกต็ อบว่า ใช่

ถ้าเหน็ วา่ ไมเ่ หมือนกต็ อบว่า ไม่ใช่ โดยกาเครื่องหมาย X ทบั คำตอบนัน้

1. ฉันทำสิง่ ท่ไี ม่ดมี ามาก ใช่ ไม่ใช่

2. ฉันเปน็ คนไม่เช่ือฟังเวลาทอ่ี ยู่บา้ น ใช่ ไมใ่ ช่

3. ฉันเคยไดร้ บั ความลำบากเสมอ ใช่ ไมใ่ ช่

4. ฉนั คิดไปในด้านอกุศลเสมอ ใช่ ไมใ่ ช่

5. ฉนั เปน็ คนที่ไว้ใจได้ ใช่ ไมใ่ ช่

6. ฉันเป็นคนเรยี นดี ใช่ ไมใ่ ช่

7. ฉันเปน็ คนฉลาด ใช่ ไมใ่ ช่

8. ฉันไมค่ ่อยจะรเู้ ร่อื งอะไรเลย ใช่ ไม่ใช่

9. ฉนั เปน็ นกั อ่านทดี่ ี ใช่ ไม่ใช่

10. ฉนั เรยี นอะไรแลว้ ก็ลมื หมด ใช่ ไม่ใช่

11. ฉนั เป็นคนหน้าตาดี ใช่ ไม่ใช่

12. ฉันมหี นา้ ตาแจ่มใสเสมอ ใช่ ไม่ใช่

13. ฉันมรี ูปร่างไมด่ ี ใช่ ไม่ใช่

14. ฉันเปน็ คนแขง็ แรง ใช่ ไม่ใช่

15. ฉนั เป็นผูน้ ำในการเลน่ และการกีฬา ใช่ ไม่ใช่

16. ฉนั รอ้ งไห้เกง่ ใช่ ไมใ่ ช่

17. ฉันเป็นคนชอบวติ กกงั วล ใช่ ไมใ่ ช่

18. ฉันหวาดหลวั บ่อย ๆ ใช่ ไมใ่ ช่

19. ฉนั จะว้าวุ่นใจเมอ่ื มีคนเรยี กฉนั ใช่ ไม่ใช่

20. ฉันเป็นคนขีต้ กใจ ใช่ ไมใ่ ช่

21. คนมักเลือกฉันในการเลน่ เกมตา่ ง ๆ ใช่ ไมใ่ ช่

22. ฉันเปน็ คนสุดท้ายท่ไี ดร้ บั เลอื กใหเ้ ล่นเกม ใช่ ไมใ่ ช่

23. ฉนั ลำบากใจท่ีจะเปน็ เพื่อนกับใคร ใช่ ไมใ่ ช่

24. ฉันมีเพอ่ื นมาก ใช่ ไมใ่ ช่

25. ฉันเปน็ คนทีถ่ กู ลมื ใช่ ไมใ่ ช่

26. ฉนั เปน็ คนทมี่ ีความสุข ใช่ ไมใ่ ช่

27. ฉันเปน็ คนทีม่ ีความสุข ใช่ ไม่ใช่

28. ฉันพอใจในสภาพตัวเองขณะน้ี ใช่ ไม่ใช่

29. ฉนั อยากเป็นอย่างอื่นท่ีไม่ใช่ตัวฉันตอนน้ี ใช่ ไมใ่ ช่

30. ฉนั เปน็ คนร่าเรงิ ใช่ ไมใ่ ช่

109

ตอนที่ 2 โปรดอา่ นแตล่ ะข้อตอ่ ไปนีอ้ ยา่ งระมัดระวัง แล้วเลือกทำเคร่ืองหมาย ¡ ลอ้ มรอบ ขอ้ ก. หรือ ข.

หรือ ค. หรอื ง.ตามท่ีคณุ เหน็ วา่ ตรงกับความรสู้ กึ ของคุณมากท่ีสดุ เพยี งขอ้ เดียว

ก. เหน็ ด้วยอยา่ งยง่ิ ข. เหน็ ด้วย ค. ไมเ่ หน็ ดว้ ย ง. ไม่เห็นด้วยอย่างยง่ิ

31. ฉนั เปน็ คนมคี ุณค่าทัดเทยี มกบั ผ้อู นื่ กขคง

32. ฉนั เป็นคนมีคณุ สมบัตทิ ่ีดหี ลายอย่าง กขคง

33. ฉันรสู้ ึกวา่ ฉันทำอะไรไมส่ ำเร็จเลย กขคง

34. ฉนั มีความสามารถทำสิ่งตา่ ง ๆ ไดด้ ีเท่าผ้อู ่ืน กขคง

35. ฉนั มีความภาคภมู ิใจในตนเองน้อยเหลือเกิน กขคง

36. ฉันคิดถงึ ตัวเองในทางทีด่ ี กขคง

37. โดยทั่วไปแล้วฉนั มคี วามพอใจในตัวเอง กขคง

38. ฉนั หวงั วา่ ฉนั สามารถนับถือตวั เองได้มากกวา่ น้ี กขคง

39. ขณะนฉ้ี นั รูส้ ึกว่าตนเองเปน็ คนไรป้ ระโยชน์ กขคง

40. บางครงั้ ฉนั คดิ ว่าฉนั ไม่มอี ะไรดเี ลย กขคง

ตอนท่ี 3 โปรดอ่านข้อความตอ่ ไปน้ีตามลำดับอย่างถ่ถี ้วน แลว้ ทำเครื่องหมาย  ล้อมรอบ

ตัวเลข 1 หรือ 2 หรือ 3 หรือ 4 หรือ 5 ซึ่งตรงกับรสู้ กึ ของคุณมากท่ีสุดเพยี งขอ้ เดยี ว

1. ไม่เคยเลย 2. ไม่บอ่ ยนัก 3. บางครง้ั 4. บ่อยครงั้ 5. ตลอดมา

41. ฉันเปน็ เพอ่ื นกับทุก ๆ คน 12345

42. ฉันมคี วามสขุ 12345

43. ฉนั มคี วามกรุณา 12345

44. ฉนั เป็นคนกล้า 12345

45. ฉนั เปน็ คนซื่อสตั ย์ 12345

46. คนท่วั ๆ ไปชอบฉนั 12345

47. ฉนั เป็นคนทไ่ี วใ้ จได้ 12345

48. ฉันเปน็ คนดี 12345

49. ฉันภาคภมู ใิ จในตวั ฉนั 12345

50. ฉันเป็นคนเกียจคร้าน 12345

51. ฉันใหค้ วามรว่ มมอื กบั ทุกคนเสมอ 12345

52. ฉันเปน็ คนรา่ เรงิ แจ่มใส 12345

53. ฉนั เปน็ คนมคี วามคิด 12345

54. ฉันเป็นท่รี ู้จักของคนทวั่ ไป 12345

55. ฉนั เป็นคนออ่ นโยน 12345

56. ฉนั เปน็ คนขี้อจิ ฉา 12345

57. ฉันเปน็ คนทไี่ มด่ ้อื ดงึ 12345

58. ฉันเป็นคนสุภาพ 12345

59. ฉันเปน็ คนข้ีอาย 12345

60. ฉันเปน็ คนสะอาด 12345

110

61. ฉนั เปน็ คนทมี่ ีประโยชนต์ ่อผูอ้ ่ืน 12345
62. ฉันเปน็ คนมคี วามกตญั ญู 12345

การตรวจและการแปลผลแบบทดสอบ (Rubin’s Self Esteem Scale)
แบบทดสอบนเี้ ปน็ แบบวดั ทใี่ หร้ ายงานตวั เองประกอบด้วยขอ้ ความ 62 ข้อ แบง่ ออกเปน็ 3 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 เป็นขอ้ ความเก่ียวกับอัตมโนทัศน์ (Self Concept) จำนวน 30 ข้อ เปน็ แบบเลือกรบั หรอื ปฏิเสธ ตอบ
โดยกาเครื่องหมาย  (กากบาท) ลงกบั คำวา่ “ใช่” หรอื “ไม่ใช่” ข้อละเครอื่ งหมาย
ในแต่ละขอ้ มีการตรวจให้คะแนนแตกตา่ งกันตามลกั ษณะของข้อความ ดังน้ี

เมื่อขอ้ ความมลี ักษณะทางบวก
ถา้ ตอบ “ใช”่ ได้ 2 คะแนน

ถา้ ตอบ “ไม่ใช”่ ได้ 1 คะแนน
ไดแ้ ก่ ข้อ 5, 6, 7, 9, 11, 12, 14, 15, 21, 24, 26, 28 และ 30
เม่ือข้อความมลี กั ษณะทางลบ

ถ้าตอบ “ใช่” ได้ 1 คะแนน
ถ้าตอบ “ไมใ่ ช”่ ได้ 2 คะแนน

ได้แก่ ข้อ 1, 2, 3, 4, 8, 10, 13, 16, 17, 18, 19, 20, 22, 23, 25, 27 และ 29

ตอนท่ี 2 เปน็ แบบวัดความรู้สึกเห็นคณุ ค่าในตนเอง (Self – Esteem Scale) จำนวน 10 ขอ้

เป็นแบบ rating scale 4 ระดบั (ก - ง) ตอบโดยการทำเครอื่ งหมาย  (วงกลม) ลอ้ มรอบตวั อักษร
ที่แสดงวา่ “เหน็ ด้วยอยา่ งย่ิง” “เห็นด้วย” “ไมเ่ หน็ ดว้ ย” หรอื “ไม่เห็นด้วยอย่างยง่ิ ”

ขอ้ ละ 1 เครอื่ งหมาย ในแต่ละขอ้ มกี ารตรวจใหค้ ะแนนแตกตา่ งกนั ตามลกั ษณะของข้อความ ดังนี้
เมือ่ ข้อความมลี ักษณะทางบวก
ถา้ ตอบ “ก” หรอื “ข” ได้ 2 คะแนน

ถ้าตอบ “ค” หรือ “ง” ได้ 1 คะแนน
ได้แก่ ขอ้ 31, 32, 34, 36 และ 37
เมือ่ ขอ้ ความมีลักษณะทางลบ
ถ้าตอบ “ก” หรือ “ข” ได้ 1 คะแนน
ถา้ ตอบ “ค” หรือ “ง” ได้ 2 คะแนน

ได้แก่ ขอ้ 33, 35, 38, 39 และ 40

ตอนท่ี 3 เปน็ การประเมนิ อตั มโนทศั น์ (Self Concept Rating) จำนวน 22 ขอ้ เปน็ แบบ rating scale
5 ระดบั (1-5) ให้ตอบโดยการทำเครอื่ งหมาย  (วงกลม) ลอ้ มรอบตวั อกั ษรท่ีแสดงว่า “ไมเ่ คยเลย”
“ไมบ่ อ่ ยนัก” “บางครง้ั ” หรอื “ตลอดมา” และในแตล่ ะข้อมีการตรวจให้คะแนนแตกตา่ งกันตามลักษณะ
ของข้อความ ดงั นี้
เมอ่ื ขอ้ ความมีลักษณะทางบวก
ถา้ ตอบ “1” จะได้ 1 คะแนน
ถ้าตอบ “2” จะได้ 2 คะแนน
ถา้ ตอบ “3” จะได้ 3 คะแนน

111

ถ้าตอบ “4” จะได้ 4 คะแนน
ถ้าตอบ “5” จะได้ 5 คะแนน
ไดแ้ ก่ข้อ 41, 42, 43, 44, 45, 46, 47, 48, 49, 51, 52, 53, 54, 55, 57, 58, 60, 61 และ 62
เมอื่ ข้อความมีลักษณะทางลบ
ถ้าตอบ “1” จะได้ 5 คะแนน
ถา้ ตอบ “2” จะได้ 4 คะแนน
ถ้าตอบ “3” จะได้ 3 คะแนน
ถา้ ตอบ “4” จะได้ 2 คะแนน
ถ้าตอบ “5” จะได้ 1 คะแนน
การคิดคะแนนรวม
คะแนนรวมคิดโดยการรวมคะแนนทั้ง 62 ข้อ ของผู้ตอบแบบทดสอบเข้าดว้ ยกนั
เป็นคะแนนความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองของผู้ตอบแบบทดสอบแต่ละคนซึ่งมีช่วงคะแนนโดยทฤษฎี
(Theoretical Range of Scores) ต้ังแต่ 62 – 190
ในการแบง่ ระดับของคะแนนความรูส้ กึ เห็นคณุ คา่ ในตนเอง มเี กณฑ์การแบง่ ต่อไปนี้
ถ้าไดค้ ะแนนตัง้ แต่ 159 - 190 ถอื ว่าเปน็ ผูท้ ีม่ ีความรู้สกึ เหน็ คุณค่าในตนเอง ในระดับสงู
ถา้ ได้คะแนนตงั้ แต่ 95 - 158 ถือว่าเปน็ ผทู้ ี่มีความรู้สกึ เหน็ คุณค่าในตนเอง ในระดบั ปานกลาง
ถ้าไดค้ ะแนนตัง้ แต่ 62 - 94 ถอื ว่าเป็นผ้ทู ี่มีความรู้สกึ เห็นคณุ คา่ ในตนเอง ในระดับต่ำ
ที่มา : ค่มู อื พัฒนาทกั ษะการดำเนินชวี ิต ระดับมธั ยมศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

112

113


Click to View FlipBook Version