The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดกิจกรรม3 ลมฟ้าอากาศรอบตัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2022-10-22 05:36:05

ชุดกิจกรรม3 ลมฟ้าอากาศรอบตัว

ชุดกิจกรรม3 ลมฟ้าอากาศรอบตัว

สารบญั หนา้

บทนำ......................................................................................................................... ....... ก
คำช้แี จงการใชช้ ุดกิจกรรม................................................................................................ ข
แบบประเมนิ ตนเองก่อนเรยี น........................................................................................... 1
ขัน้ พัฒนาปัญญา กิจกรรม ฝึกอา่ น : ฝึกคดิ 1
หนว่ ยกระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟา้ อากาศบทที่ 1 ลมฟ้าอากาศรอบตวั ..................... 1
1
เรื่องที่ 1 บรรยากาศของเรา................................................................. 3
-ทบทวนความร้กู ่อนเรยี น 1 ……………………………………………
-กิจกรรม สบื เสาะ คน้ หา 1 เร่อื งบรรยากาศของโลกเป็น …… 5
อยา่ งไร……………..................................................................... 7
-รว่ ม กัน คิด 1…………………………………………………………… 7
8
เร่ืองท่ี 2 อุณหภมู ิอากาศ.......................................................................
-ทบทวนความรกู้ ่อนเรียน 2 …………………………………………… 11
-กจิ กรรม สืบเสาะ ค้นหา 2 เรอ่ื งอุณหภมู อิ ากาศเปลี่ยนแปลง 12
อย่างไร 12

เรอื่ งที่ 3 ความกดอากาศและลม........................................................... 17
-ทบทวนความรู้ก่อนเรยี น 3 ……………………………………………
-กิจกรรม สืบเสาะ คน้ หา 3 เร่อื งอากาศมแี รงกระทำต่อวัตถุ 20
หรอื ไม่อยา่ งไร……………....................................................... 23
-กจิ กรรม สบื เสาะ คน้ หา 4 เรื่องเหตุใดลมจึงเคล่ือนทเ่ี รว็ ต่าง 23
กัน……………………………………………………………………………… 24
-รว่ ม กนั คดิ 2…………………………………………………………… 25

เรอ่ื งท่ี 4 ความชน้ื .................................................................................. 29
-ทบทวนความรกู้ ่อนเรียน 4 …………………………………………… 30
-ร่วม กัน คิด 3…………………………………………………………… 31
-กิจกรรม สืบเสาะ ค้นหา 5 เรอ่ื งปจั จยั ที่มผี ลต่อความช้นื ….. 31
สัมพทั ธ์มีอะไรบา้ ง…............................................................. 35
-ร่วม กนั คิด 4…………………………………………………………… 37
38
เรื่องที่ 5 เมฆและฝน..............................................................................
-ทบทวนความรกู้ ่อนเรียน 5 ……………………………………………
-กิจกรรม สบื เสาะ คน้ หา 6 เรอ่ื งเมฆทีเ่ ห็นเป็นอยา่ งไร……….
-ร่วม กัน คิด 5……………………………………………………………

เรอ่ื งที่ 6 การพยากรณ์อากาศ................................................................
-ทบทวนความรู้ก่อนเรยี น 6 ……………………………………………

สารบญั (ตอ่ ) หนา้

-กจิ กรรม สบื เสาะ ค้นหา 7 เรอื่ งการพยากรณอ์ ากาศทำได้ 38
อย่างไร……………………………………………………………………….
-รว่ ม กนั คดิ 6…………………………………………………………… 42
ขั้นนำปญั ญาพฒั นาความคิด กิจกรรม ฝึกทำ : ฝึกสร้าง 43
ขั้นนำปัญญาพัฒนาตนเอง กจิ กรรม คดิ ดี ผลงานดี มีความสขุ 44
แบบประเมินตนเองหลังเรียน............................................................................................ 46
อ้างอิง............................................................................................................................ 48

บทนำ
ชุดกิจกรรมที่ผู้เรียนจะได้ศึกษาน้ีเรียกว่าชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
หน่วยกระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟ้าอากาศ บทที่ 1 ลมฟา้ อากาศรอบตัว เป็นส่อื วทิ ยาศาสตร์ทเ่ี น้นให้ผูเ้ รยี น
มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีระบบ พบคำตอบของปัญหาหรอื สถานการณ์น้ันด้วยตนเอง ส่งผล
ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ได้คิดและลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ และ เพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุด
นกั เรยี น
ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการเน้ือหาส่วนใหญ่เน้นการให้นักเรียนสามารถ
นำไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันเพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาได้ด้วยตนเองจึงได้เรียบเรียง
เนื้อหาให้กระชับและน่าสนใจและนอกจากน้ียังได้แทรกรูปภาพและคำถามชวนคิดไว้ตลอดทำให้ไม่เบ่ือในการ
อ่านและทำกจิ กรรม
ผู้จัดทำชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารชุดน้ีจะมี
ประโยชน์ในการเรียนรู้เน้ือหาตามหลักสูตร ผู้เรียนมีความรู้และความสามารถในการสบื คน้ การจัดระบบสิ่งท่ี
เรียนรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อสร้างองค์ความรู้ ได้เป็นอย่างดีสามารถนำความรู้ท่ีได้จากการ
เรียนรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ และเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่สนใจใช้เป็นแนวทาง ในการจัดกระบวนการ
เรียนรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรไ์ ด้ตอ่ ไป

...........................................
( นางสาวอโนชา อทุ ุมสกลุ รัตน์ )
ผจู้ ดั ทำชดุ กิจกรรมวทิ ยาศาสตร์



คำช้ีแจงการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตรต์ ามแนวคดิ แบบโยนโิ สมนสกิ าร
หน่วยกระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ บทที่ 1 ลมฟ้าอากาศรอบตัว

1. สาระท่ี 3 วิทยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เขา้ ใจองคป์ ระกอบและความสัมพนั ธข์ องระบบโลก กระบวนการเปลยี่ นแปลง

ภายในโลกและบนผวิ โลก ธรณพี ิบตั ิภยั กระบวนการเปลีย่ นแปลงลมฟา้ อากาศและภูมิอากาศโลก รวมท้งั
ผลต่อสง่ิ มีชวี ติ และส่ิงแวดล้อม
2. มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วัด ว 3.2 ม.1/1 ,1/2, 1/3,1/4 , 1/5
3. วธิ เี รยี นรจู้ ากชดุ กิจกรรมนี้เพื่อให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสุดนกั เรียนควรปฏิบัตติ าม
คำชีแ้ จง ตอ่ ไปน้ี

1. ชุดกจิ กรรมวิทยาศาสตรส์ องภาษาตามแนวคิดแบบโยนโิ สมนสกิ าร เร่อื ง ลมฟ้าอากาศรอบตัว ชุด
นี้ ใช้เวลา 20 ช่ัวโมง
2. ให้นกั เรียนจัดกลุ่ม ๆ ละประมาณ 6 คน
3. ใหน้ ักเรียนศึกษามาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวช้ีวดั ของชดุ การเรยี น
4. ให้นกั เรยี นปฏิบัติกจิ กรรมในชดุ กจิ กรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนโิ สมนสกิ าร โดยใช้

รูปแบบการเรยี นร้แู บบโยนโิ สมนสิการตามข้นั ตอนดังนี้
1. ขั้นพฒั นาปญั ญา
2. ขั้นนำปัญญาพฒั นาความคดิ
3. ขั้นนำปญั ญาพัฒนาตนเอง

4. สาระสำคญั
บรรยากาศทีห่ ่อหุ้มโลกเรานั้นมีการเปลยี่ นแปลงและพัฒนาตง้ั แต่เริม่ กำเนดิ โลกจนกระทัง่ ปัจจบุ ัน

บรรยากาศส่งผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์และส่งิ แวดล้อม บรรยากาศมีสมบัติและองค์ประกอบแตกต่างกนั
ไปตามระดบั ความสูงจากผวิ โลก

นักวิทยาศาสตรใ์ ชเ้ กณฑ์การเปลีย่ นแปลงอณุ หภมู ิตามความสูง แบง่ บรรยากาศเป็น 5 ชั้น ได้แก่ ชัน้
โทรโพสเฟียร์ ช้นั สตราโตสเฟียร์ ช้นั มีโซสเฟียร์ ชนั้ เทอร์โมสเฟียร์ และชัน้ เอกโซสเฟยี ร์ ด้วยสมบัติและ
องค์ประกอบ ทำให้บรรยากาศแต่ละชน้ั เกิดปรากฏการณแ์ ละสง่ ผลตอ่ มนุษยแ์ ละสง่ิ แวดลอ้ มแตกตา่ งกัน
มนุษย์ดำรงชวี ิตอยู่ภายใต้บรรยากาศชน้ั โทรโพสเฟยี ร์ซึง่ เกดิ สภาพลมฟา้ อากาศต่าง ๆ เช่น ลม เมฆ ฝน ฟา้
แลบ ฟา้ รอ้ ง องคป์ ระกอบของลมฟา้ อากาศ

*** ขอใหน้ กั เรียนทุกคนได้เรยี นรู้วิทยาศาสตรอ์ ย่างมีความสขุ ***



แบบประเมินตนเองกอ่ นเรยี น

คำชีแ้ จง : ใหน้ กั เรียนตอบคำถามต่อไปน้ี ใชเ้ วลา 10 นาที

1. ข้อใดเปน็ สาเหตหุ ลักท่ีทำให้รังสอี ลั ตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ผา่ นมายังพืน้ ผิวโลกได้นอ้ ยลง

ก. เมฆในช้ันโทรโพสเฟยี ร์ ช่วยสะท้อนรงั สีอตั ราไวโอเลต

ข. โอโซนในชัน้ สตราโตสเฟยี ร์ ช่วยดูดกลนื รังสอี ตั ราไวโอเลต

ค. แก๊สออกซิเจนในชน้ั โทรโพสเฟียร์ ชว่ ยดูดกลนื รงั สอี ตั ราไวโอเลต

ง. อากาศท่ีแตกตวั เปน็ ประจุในชั้นเทอรโ์ มสเฟยี ร์ ชว่ ยสะท้อนรังสีอัตราไวโอเลต

2. บรรยากาศช้ันใดท่ีมีแก๊สไนโตรเจนหนาแน่นท่ีสุด

ก. มโี ซสเฟียร์ ข. เทอร์โมสเฟยี ร์ ค. โทรโพสเฟยี ร์ ง. สตราโตสเฟยี ร์

3. “ผิวโลกท่ีมลี กั ษณะแตกต่างกัน สามารถดูดกลืนและสะท้อนรังสีจากดวงอาทิตย์ได้แตกตา่ งกนั ”ข้อใดไม่ใช่

ปรากฏการณ์ทเี่ กิดจากคำกล่าว ข้างต้น

ก. ความแตกต่างของอุณหภูมิอากาศในบริเวณต่าง ๆ

ข. ความแตกตา่ งของความช้ืนในบริเวณตา่ ง ๆ

ค. ปรากฏการณเ์ รือนกระจก ง. การเกิดลม

4. สถานการณ์ใดที่แสดงว่าอากาศมีความดนั

ก. หายใจไม่ออกเม่ืออยู่ในท่ีสูง ข. การดูดของเหลวโดยใช้หลอดกาแฟ

ค. เมือ่ โยนของข้ึนไปในอากาศ ของจะตกลงสพู่ ้นื เสมอ

ง. บรรยากาศยังคงหอ่ หุ้มโลกไมห่ ลุดลอยออกไป

5. นักเรยี น 4 คน ทำการทดลอง ณ สถานที่ตา่ งกัน โดยนำเทอร์มอมิเตอร์ 2 อนั อันแรกหมุ้ ด้วยสำลชี ุบน้ำ

อีกอันหนง่ึ ไมห่ มุ้ นำเทอรม์ อมิเตอร์ท้งั คู่ไปวางไวใ้ นสถานท่ีต่างกัน 4 แหง่ หลงั จากนน้ั 3 นาที อ่านอุณหภูมขิ อง

เทอร์มอมิเตอรท์ ั้งสองไดผ้ ลตามตาราง

สถานที่ทดลอง อณุ หภูมิจากเทอร์มอมิเตอร์ไม่หุ้ม อุณหภูมิจากเทอร์มอมเิ ตอร์

สำลชี ุบน้ำ ( ํC) หมุ้ สำลชี บุ น้ำ ( ํC)

A 26.0 25.0

B 26.0 24.0

C 28.0 26.5

D 28.0 26.0

จากข้อมูลแสดงว่าอากาศทใ่ี ด มีปริมาณไอน้ำใกลป้ ริมาณไอนำ้ อม่ิ ตัวมากทส่ี ดุ

ก. A ข. B ค. C ง. D

6. นำเครื่องวดั ปริมาณฝน 2 อัน ซึง่ มีขนาดต่างกนั วดั ปรมิ าณฝนในบรเิ วณเดียวกนั เคร่ืองวดั ปรมิ าณฝน
อนั หน่งึ วดั ปรมิ าณฝนได้ ดังภาพ

เครอ่ื งวัดปริมาณฝนอีกอนั หน่ึงซ่ึงมีขนาดเส้นผ่าศนู ย์กลางแคบกวา่ จะวดั ปริมาณฝนได้ตามภาพใด
ก. ข. ค. ง.

คำพยากรณ์อากาศประจำวัน ให้ขอ้ มูลดังน้ี

ลมตะวันตกเฉยี งเหนือในระดับบนยังคงพดั ผ่านเทือกเขาหิมาลยั เขา้ มาปกคลมุ ภาคเหนอื และมลี ม

ตะวนั ออกพัดนำความช้นื จากทะเลจนี ใต้เข้ามาปกคลมุ ภาคใต้

7. ขอ้ มลู จากคำพยากรณ์ดงั กล่าว ไม่ควรเกดิ ลกั ษณะอากาศแบบใด

ก. ภาคเหนืออุณหภูมสิ งู ข้นึ ข. ภาคเหนอื ลมแรง

ค. ภาคใต้มีเมฆมาก ง. ภาคใต้ทะเลมีคลนื่ สูง

คะแนนเต็ม 7 คะแนน
ได้ ........... คะแนน

1

กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ
บทที่ 1 ลมฟ้าอากาศรอบตวั เวลา 20 ช่วั โมง

ขัน้ พฒั นาปัญญา กิจกรรม ฝึ กอ่าน : ฝึ กคิด

เรอ่ื งที่ 1 บรรยากาศของเรา

ภาพท่ี 1 ชั้นบรรยากาศของโลก

ทีม่ า หนังสอื แบบเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 สสวท

ภาพข้างตน้ คือ คือ ภาพโลกและ
บรรยากาศของโลกโดยปรากฏเมฆ
ลักษณะตา่ ง ๆ และโมเลกุลของ
อากาศสะท้อนแสงของดวงอาทิตย์

ทบทวนความร้กู ่อนเรยี น 1

เขียนเครอื่ งหมาย  หน้าข้อท่ีถูกต้อง

1. องค์ประกอบท่ัวไปของอากาศมีอะไรบา้ ง

 แก๊สออกซิเจน  แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์  ฝุ่นละออง

 แกส๊ ไนโตรเจน  แกส๊ คารบ์ อนมอนอกไซด์  นำ้

2. อากาศมีประโยชน์ตอ่ การดำรงชีวติ ของมนุษยอ์ ยา่ งไรบา้ ง

 ใชใ้ นการหายใจ  ใชใ้ นการผลิตพลงั งานไฟฟา้

 ใชใ้ นการสูบลมจักรยาน  ช่วยให้เครือ่ งบนิ หรือเครื่องรอ่ นลอยได้

2

โลกของเราเป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวในระบบสุริยะท่ีพบว่ามีอากาศห่อหุ้ม หรือบรรยากาศ
เหมาะสมต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ในขณะท่ีบรรยากาศของดาวศุกร์พบว่าองค์ประกอบหลักเป็นแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์และไม่พบว่ามีส่ิงมีชีวิตอาศัยอยู่ ดวงจันทร์ซึ่งเป็นบริวารของโลกพบว่าไม่มีบรรยากาศ
ห่อหุ้มและไม่พบร่องรอยของส่ิงมีชีวิตดวงจันทร์ไททันซ่ึงเป็นบริวารของดาวเสาร์มีบรรยากาศห่อหุ้มและมี
องค์ประกอบของบรรยากาศส่วนใหญ่เป็นแกส๊ ไนโตรเจนเช่นเดียวกับโลก แต่พบวา่ มีแก๊สออกซเิ จนอยู่น้อยมาก
และยังไมพ่ บรอ่ งรอยของส่ิงมีชีวิตเชน่ เดียวกัน บรรยากาศของโลกเป็นอยา่ งไรจงึ เอ้อื ให้ส่งิ มชี ีวิตดำรง
ชวี ิตอยไู่ ด้

การคน้ พบเก่ียวกบั การเปลย่ี นแปลงช้นั บรรยากาศของโลกทีม่ หี ลักฐานและน่าเช่ือถอื มากท่ีสดุ ในปัจจุบนั
เป็นดังนี้

➢ เมอ่ื โลกเกดิ ขน้ึ ในชว่ งแรกๆโลกไมม่ ีบรรยากาศหอ่ หุ้ม

➢ ก ารระ เบิ ด ข อ งภู เข าไฟ บ น โล ก ส่ งผ ล ให้ เกิ ด ไอ น้ ำ แ ก๊ ส
คาร์บอนไดออกไซด์ และแก๊สแอมโมเนียเป็นองค์ประกอบของ
บรรยากาศเริ่มแรกของโลก

➢ แบคทีเรียเกิดขึ้นในมหาสมุทร ซึ่งใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในการ
ดำรงชีวิตและปล่อยแก๊สออกซิเจนสู่บรรยากาศส่วนแอมโมเนียใน
ชั้นบรรยากาศได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์แตกตัวเป็นแก๊ส
ไนโตรเจน และแก๊สไฮโดรเจน

➢ ช้ันบรรยากาศบรรยากาศของโลกพัฒนาการอย่างช้าๆเป็นเวลา
หลายพันล้านปีต้ังแต่ยุคแรกเร่ิมจนเกิดเป็นบรรยากาศในยุค
ปัจจุบัน โดยมีองค์ประกอบของแก๊สในบรรยากาศประกอบไปด้วย
แก๊สไนโตรเจน 78% แก๊สออกซิเจน 21% แก๊สอาร์กอน แก๊ส
คาร์บ อน ไดออกไซด์ และแก๊สอ่ืน ๆ (ไม่รวมไอน้ ำซ่ึงเป็ น
องค์ประกอบท่ีเปลยี่ นแปลงตามสภาพแวดล้อม

ภาพที่ 2 การเกิดบรรยากาศของโลก

ทมี่ า หนงั สอื แบบเรยี นวิทยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 สสวท

3

จากแผนภาพเหตุการณใ์ ดบ้างทีส่ ง่ ผลต่อการเปลี่ยนแปลงสัดสว่ นองค์ประกอบของ
แก๊สในบรรยากาศ และสง่ ผลอยา่ งไร
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………….……..………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
ปัจจบุ นั เหตกุ ารณ์ใดบา้ งทส่ี ง่ ผลต่อการเปลยี่ นแปลงสัดส่วนองคป์ ระกอบของแกส๊ ใน
บรรยากาศ และสง่ ผลอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………….……..………………………………………………………………
…………….……..

➢ นกั เรยี นคิดว่าบรรยากาศทีห่ ่อหมุ้ โลกมลี ักษณะและสมบตั ิเหมอื นกันโดยตลอดตง้ั แต่ระดับผวิ โลกจนถงึ
อวกาศหรือไม่ อย่างไร

กจิ กรรม สบื เสาะ คน้ หา 1 กิจกรรมที่ 1 บรรยากาศของโลกเปน็ อย่างไร

จุดประสงค์ :

1. วเิ คราะหแ์ ละแปลความหมายข้อมลู เพื่อสร้างแบบจำลองการแบ่งชนั้ บรรยากาศตามเกณฑ์ของตนเอง และ

เปรยี บเทยี บกบั เกณฑข์ องนักวทิ ยาศาสตร์

2. อธิบายลกั ษณะชนั้ บรรยากาศของโลก

วสั ดแุ ละอุปกรณ์ -

วธิ ีการทดลอง

1. ศกึ ษาข้อมลู จากตารางแล้วสรา้ งแบบจำลองชน้ั บรรยากาศของโลก เชน่ แผนภาพ หรอื โครงสร้างสามมิติ

โดยแบ่งบรรยากาศเป็นช้นั ตามเกณฑ์ของตวั เอง

ตารางสมบัตแิ ละองค์ประกอบของบรรยากาศ ณ ระดบั ความสูงตา่ งๆ

ความสงู จาก อณุ หภมู เิ ฉลย่ี ความหนาแน่น องคป์ ระกอบสำคัญ
ผวิ โลก
(Km) (K) อากาศเฉล่ีย
0 (g/m3)
1
2 288 1225.0 แกส๊ ไนโตรเจน แกส๊ ออกซิเจน แกส๊ อารก์ อน
8
10 281 1111.7 แกส๊ ไนโตรเจน แกส๊ ออกซิเจน แกส๊ อาร์กอน
20
25 275 1006.6 แก๊สไนโตรเจน แกส๊ ออกซิเจน แกส๊ อารก์ อน

236 525.8 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน แก๊สอารก์ อน

223 413.5 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน แก๊สอารก์ อน

216 88.9 แก๊สไนโตรเจน แกส๊ ออกซิเจน แกส๊ อารก์ อน

221 40.1 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน แกส๊ อารก์ อน

4

32 228 13.6 แก๊สไนโตรเจน แกส๊ ออกซิเจน แก๊สอารก์ อน

47 270 1.4 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน แก๊สอาร์กอน

51 270 0.9 แกส๊ ไนโตรเจน แกส๊ ออกซิเจน แก๊สอาร์กอน

71 216 0.7 แกส๊ ไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน แกส๊ อาร์กอน

86 186 0.007 แกส๊ ไนโตรเจน แกส๊ ออกซิเจน ไอออนของ

ไนโตรเจนไอออนของออกซิเจน

100 195 0.0006 แกส๊ ไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน ไอออนของ

ไนโตรเจนไอออนของออกซเิ จน

200 854 0.0000003 แก๊สไนโตรเจน แกส๊ ออกซิเจน ไอออนของ

ไนโตรเจนไอออนของออกซเิ จน

300 976 0. 00000002 แก๊สไนโตรเจน แกส๊ ออกซิเจน ไอออนของ

ไนโตรเจนไอออนของออกซเิ จน

500 999 0.0000000005 แกส๊ ไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน ไอออนของ

ไนโตรเจนไอออนของออกซิเจน

ท่ีมา: Schlatter,2009

2. รวบรวมการแบ่งชั้นและประโยชน์ของชน้ั บรรยากาศโลกโดยนกั วิทยาศาสตรจ์ ากแหลง่ ข้อมูลท่ีเชอื่ ถือได้

3. เปรียบเทียบการแบง่ ชัน้ บรรยากาศของโลกตามเกณฑ์ของตนเอง กับข้อมลู ที่ได้รวบรวมมา และนำเสนอ

ผลการทำกจิ กรรม

คำถามทา้ ยกิจกรรม
1. สมบัตแิ ละองคป์ ระกอบของอากาศทีห่ ่อหุม้ โลกตงั้ แต่ระดับ 0-1,000 กโิ ลเมตร เหมือนกันโดยตลอดหรือไม่
ทราบได้อยา่ งไร
คำตอบ………………………………………………………………………………………………………………….………………………..……
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. เกณฑ์ของตนเองที่ใชแ้ บ่งบรรยากาศของโลกมีอะไรบา้ ง แบ่งออกเป็นก่ชี ั้น อะไรบา้ ง
คำตอบ………………………………………………………………………………………………………………….…………………..…………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…….

5

3. เกณฑท์ น่ี ักวทิ ยาศาสตรใ์ ช้ในการแบง่ บรรยากาศของโลกมอี ะไรบ้าง แบง่ ออกเป็นก่ีชนั้ อะไรบ้าง
คำตอบ………………………………………………………………………………………………………………….………………………..……
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………..………………………….……………………………………
……………………………………………………..………………………….…………………………………………………………………………
………………..………………………….…………………………………………………………………………………………..…………………
4. เกณฑข์ องตนเองและเกณฑท์ ่นี กั วทิ ยาศาสตร์ใช้แบ่งบรรยากาศของโลก เหมือนหรอื ตา่ งกนั อยา่ งไร
คำตอบ………………………………………………………………………………………………………………….………………………..……
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………..………………………….……………………………………
……………………………………………………..………………………….…………………………………………………………………………
………………..………………………….…………………………………………………………………………………………..…………………
5. จากกจิ กรรม สรุปได้ว่าอย่างไร
คำตอบ………………………………………………………………………………………………………………….………………………..……
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………..………………………….……………………………………
……………………………………………………..………………………….…………………………………………………………………………
………………..………………………….…………………………………………………………………………………………..…………………

ร่วม กนั คดิ 1

1. บรรยากาศแตล่ ะชน้ั มปี ระโยชน์ต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์อยา่ งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. เหตใุ ดจึงเกดิ เมฆ ฝน พายุฟา้ คะนองในบรรยากาศชัน้ โทรโพสเฟยี ร์
..............................................................................................................................................................................
...................... .......................................................................................................................................................
ความรูเ้ พิม่ เติม
1. ระหว่างบรรยากาศแต่ละชั้นจะมีชั้นบรรยากาศบาง ๆ คั่นอยู่ เช่น ระหว่างชั้นโทรโพสเฟียร์และสตราโตส
เฟียร์มีชั้นโทรโพพอส (Tropopause) ระหว่างชั้นสตราโตสเฟียร์และมีโซสเฟียร์ มีช้ันสตราโตพอส
(Stratopause)ระหว่างชั้นมีโซสเฟียร์และชั้นเทอร์โมสเฟียร์มีช้ันมีโซพอส (Mesopause) โดยชั้นโทรโพพอส
สตราโตพอส และมโี ซพอส อณุ หภมู อิ ากาศจะคอ่ นขา้ งคงท่ี ไมม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอณุ หภูมติ ามความสงู
2. ไอโอโนสเฟียร์ (Ionosphere) เป็นขอบเขตของบรรยากาศท่มี ีไอออนปรากฏอยู่เป็นจำนวนมากโดยเรมิ่ ตน้ ที่
ความสูงประมาณ 60 กิโลเมตร ข้ึนไปจนถึงขอบเขตบนสุดของบรรยากาศของโลก ซึ่งครอบคลุมพ้ืนที่ของ
บรรยากาศช้นั เทอรโ์ มสเฟยี ร์เปน็ ส่วนใหญ่
3. องคป์ ระกอบหลกั ของบรรยากาศของดาวเคราะห์ในระบบสรุ ิยะ แสดงดังตาราง

6

ตารางองคป์ ระกอบหลักของบรรยากาศของดาวเคราะหต์ ่าง ๆ

ดาวเคราะห์ องคป์ ระกอบหลกั ของบรรยากาศ ไอออนคอื อะไร
ดาวพุธ O2 เม่ืออะตอมได้รับหรือ
ดาวศกุ ร์ CO2 สูญเสียอิเล็กตรอน ทำ
โลก ให้ อ ะ ต อ ม มี ป ระ จุ
ดาวอังคาร N2, O2 ไฟฟ้า เรียกอะตอมที่มี
CO2 ประจุไฟฟา้ นีว้ ่าไอออน
ดาวพฤหสั บดี H2,He
ดาวเสาร์ H2,CH4

ดาวยูเรนัส H2
ดาวเนปจนู CH4

บรรยากาศของโลก ประกอบดว้ ยส่วนผสมของแก๊สต่างๆ ที่อยรู่ อบโลกสูงขึ้นไปจากพืน้ ผิวโลกหลาย
กโิ ลเมตรจากพ้นื ดิน บรรยากาศ แบง่ เป็นช้ันตามอณุ หภมู ิและการเปล่ยี นแปลงอุณหภูมติ ามความสูง
ลกั ษณะของช้นั บรรยากาศทแ่ี บ่งตามเกณฑ์การเปลยี่ นแปลงอณุ หภูมิตามความสูง
1. โทรโพสเฟยี ร์ (troposphere)
เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่ถัดจากพ้ืนผิวโลกขึ้นไป 0-10 กิโลเมตร มีความหนาแน่นของอากาศและไอน้ำมาก
ที่สุด ปรากฏการณ์ท่ีสำคัญ เช่น เมฆ หมอก ฝน หิมะ ลม พายุต่างๆ ล้วนเกิดในบรรยากาศชั้นน้ี อุณหภูมิของ
อากาศลดลงตามระดับความสูง โดยจะลดลง 6-8 องศาเซลเซียสต่อ 1 กิโลเมตร ทำให้ขอบบนของบรรยากาศ

ชนั้ น้มี อี ุณหภมู ิ -50 ถึง -60 องศาเซลเซยี ส เมอ่ื ความสูงเพิ่มขึ้นอณุ หภมู ลิ ดลง 6.5 C ต่อทกุ ๆ 1 กโิ ลเมตร
2. สตราโทสเฟยี ร์ (Stratosphere)
อยู่ถดั จากช้ันโทรโพสเฟยี ร์ขน้ึ ไปถงึ ระดบั ความสูงประมาณ 50 กโิ ลเมตร ขอบล่าของชนั้ จะมีอุณหภูมิคงที่และ
จะเพม่ิ ข้ึนตามระดับความสงู บรรยากาศชัน้ นไ้ี ม่มีไอน้ำอยู่เลย อากาศไมแ่ ปรปรวน ดังน้นั เครือ่ งบินจึงมัก
บนิ อยใู่ นระดบั นี้ บรรยากาศช้นั นีจ้ ะมแี ก๊สโอโซน ซงึ่ มสี มบตั ิดูดกลืนรงั สีอลั ตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์
3. มีโซสเฟียร์ (mesosphere)
เป็นช้ันท่ีอยู่สูงจากผิวโลกประมาณ 50-80 กิโลเมตร อุณหภูมิในช้ันนี้จะลดลงตามลำดับความสูง ตอนบนสุดมี
อณุ หภูมิต่ำถึง -120 องศาเซลเซียส วัตถุต่างๆ จากนอกโลกท่ีถูกแรงโน้มถ่วงของโลกดึงดูดเข้าสู่บรรยากาศ
จะถกู เผาไหม้ทบี่ รรยากาศชน้ั นี้
4. เทอรโ์ มสเฟียร์ (thermosphere)
อย่ถู ัดจากช้นั มีโซสเฟียร์ขน้ึ ไปถงึ ระดบั ความสงู 480 กโิ ลเมตร อุณหภมู ขิ องบรรยากาศช้ันนป้ี ระมาณ 1,500-
1,700 องศาเซลเซยี ส เน่อื งจากแรงดงึ ดูดของโลกน้อยและแสงอาทติ ย์ท่ีสอ่ งมายังช้นั นีม้ ีพลังงานมากจนทำให้
โมเลกุลของแกส๊ ตา่ งๆ แตกตัวเป็นไอออน และมีประจุไฟฟา้ ดงั น้ันบรรยากาศช้ันน้จี งึ มชี ่ือเรยี กอีกอย่างหนงึ่
ว่า ไอโอโนสเฟยี ร์ (ionosphere) ซงึ่ สามารถสะท้อนคลื่นวิทยุทมี่ ีความถ่ีไมม่ ากได้
5. เอกโซเฟยี ร์ (exosphere)
ชั้นน้ีเป็นช้ันขอบเขตสูงสุดของบรรยากาศของโลกเชื่อมต่อกับอวกาศบรรยากาศเบาบางมากจนแทบไม่มี
อนุภาคอากาศ อาจพบอนุภาคอากาศ 1 อนภุ าคในระยะ 10 กิโลเมตร

7

การแบ่งช้นั บรรยากาศโดยใชแ้ ก๊สเป็นเกณฑ์แบง่ ได้ 4 ชั้น คือ
1. โทรโพสเฟียร์ เปน็ ชั้นบรรยากาศที่อยูต่ ดิ กับพ้นื โลก สูง 0-10 กม. มกี ๊าซทส่ี ำคญั คอื ไอนำ้

2. โอโซโนสเฟยี ร์ เป็นชนั้ บรรยากาศสูง10-50 กม. มีกา๊ ซทส่ี ำคัญ คือ โอโซน
3. ไอโอโนสเฟยี ร์ เป็นชั้นบรรยากาศสูง 80-600 กม. มสี ่งิ ท่ีสำคัญ คือ อิออน
4. เอกโซเฟียร์ เป็นชน้ั บรรยากาศซ่ึงสูงตงั้ แต่ 600 กม. ข้ึนไป โดยความหนาแน่นของอะตอมต่างๆ มคี ่า
น้อยลง

➢ มนุษย์ดำรงชีวิตอยู่บนผิวโลกในบรรยากาศช้ันโทรโพสเฟียร์ ซ่ึงสภาพลมฟ้าอากาศมีความแปรปรวน
นกั เรยี นจะไดศ้ กึ ษาเกยี่ วกบั องคป์ ระกอบของลมฟา้ อากาศทีส่ ่งผลต่อสภาพลมฟ้าอากาศในเรื่องต่อไป

เรอื่ งท่ี 2 อุณหภมู อิ ากาศ

ภาพท่ี 3 พ้นื ท่ีเดยี วกันในเวลากลางวนั และกลางคนื
ท่ีมา หนงั สอื แบบเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 สสวท

ภาพขา้ งตน้ คอื คือ ภาพกราฟฟกิ พนื้ ท่ีเดยี วกันใน
เวลากลางวนั และกลางคนื

ทบทวนความร้กู ่อนเรยี น 2

จงลากเส้นจับคขู่ ้อความทางด้านซา้ ยและขวาที่มีความสัมพนั ธก์ ันมากทส่ี ดุ

• อุปกรณ์ในการวัดอุณหภูมิ การพาความร้อน

• ระดับของพลงั งานความร้อน การแผร่ งั สคี วามร้อน

• การถา่ ยโอนความรอ้ นผา่ นของแข็ง อณุ หภมู ิ

• การถ่ายโอนความรอ้ นผา่ นอากาศ เทอรม์ อมิเตอร์

• การถ่ายโอนความรอ้ นจากดวง การนำความร้อน

อาทิตยม์ ายงั โลก

8

กจิ กรรม สบื เสาะ คน้ หา 2 กจิ กรรมที่ 2 อณุ หภูมอิ ากาศเปลย่ี นแปลงอยา่ งไร

จดุ ประสงค์ :

- ตรวจวัดอุณหภูมอิ ากาศและวเิ คราะหก์ ารเปล่ียนแปลงอุณหภมู ิอากาศในรอบวนั

วสั ดแุ ละอุปกรณ์

รายการ ปริมาณ/กลมุ่
1. เทอรม์ อมิเตอร์ 1 อัน
2. เทอร์มอมิเตอรร์ ูปตวั ยู 1 อนั

วิธกี ารทดลอง
1. ศกึ ษาข้อมูลและอภปิ รายวิธีการใช้เทอร์มอมิเตอรร์ ปู ตัวยู
2. วางแผนรว่ มกนั ทง้ั หอ้ งเรยี นเพือ่ เลือกสถานทภ่ี ายในโรงเรยี นไมใ่ หซ้ ้ำกันในการวัดอณุ หภูมิอากาศโดยการวดั
อณุ หภมู ิในเวลาเดียวกนั และวัดอณุ หภูมติ ลอดทั้งวัน ไมน่ ้อยกวา่ 5 ครง้ั ครอบคลุมท้ังชว่ งเชา้ สาย บ่าย และ
เยน็ เช่น 8.30 น 10.30 น 12.30 น 16.30 น
3. วางแผนตรวจวัดอุณหภูมอิ ากาศสงู สุดและต่ำสุดในแตล่ ะวัน ในรอบ 1 สปั ดาห์
4. สังเกตลกั ษณะทางกายภาพของสิง่ แวดลอ้ มในพื้นทท่ี ี่เลือกวัดอุณหภมู อิ ากาศตามแผนที่วางไว้ บันทกึ ผล
5. นำขอ้ มลู ทีต่ รวจวัดมาเขียนกราฟเส้นแสดงการเปล่ยี นแปลงอุณหภมู ิอากาศในเวลาต่างๆ ของพนื้ ท่ีท่ไี ด้เลอื ก
ไว้ และกราฟอุณหภมู ิอากาศสูงสุดและต่ำสุด ในรอบ1 สัปดาห์และนำเสนอ

ผลการทำกจิ กรรม

พนื้ ที่ 1 ในเรือนเพาะชำ
สภาพแวดลอ้ มบริเวณทต่ี รวจวดั
พนื้ ที่ท่ีตรวจวัดอยู่ในเรอื นเพาะชำ มตี นั ไมม้ าก แสงแดดรำไร และมีการรดน้ำต้นไม้เกือบตลอดเวลา

ตารางอุณหภูมิอากาศในเรือนเพาะชำในเวลาต่างๆ

เวลา (นาฬกิ า) อุณหภูมิอากาศ ( ํC)
8.00
10.00
12.00
14.00
16.00

9

พ้ืนที่ 2 บริเวณกลางแจง้ ภายนอกอาคารเรียน

สภาพแวดลอ้ มบริเวณทต่ี รวจวัด

พ้ืนทีท่ ี่ตรวจวดั เป็นบรเิ วณกลางแจง้ พื้นปูนซเี มนต์ได้รับแสงตลอดเวลา

ตารางอณุ หภูมิอากาศบริเวณกลางแจง้ ในเวลาต่างๆ

เวลา (นาฬิกา) อณุ หภมู ิอากาศ ( ํC)

8.00

10.00

12.00

14.00

16.00

10

คำถามท้ายกจิ กรรม
1. อณุ หภูมอิ ากาศในพน้ื ท่เี ดียวกนั ชว่ งเวลาทีแ่ ตกต่างกันในรอบวนั มกี ารเปล่ียนแปลงอย่างไรเพราะเหตุใด
คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………….………………………………
………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………
2. อณุ หภมู ิอากาศ ในแต่ละพ้ืนที่ ในเวลาเดียวกัน แตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตใุ ด
คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………….………………………………
………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………
3. อุณหภมู ิอากาศในแตล่ ะพ้ืนท่ี ในรอบวันมแี บบรูปการเปล่ียนแปลงเหมือนหรือแตกต่างกนั อยา่ งไรเพราะเหตุ
ใด
คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………….………………………………
………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………
4. จากกราฟ อณุ หภูมิอากาศตามสถานที่ต่าง ๆ มคี ่าสูงสุดในชว่ งเวลาใด เพราะเหตใุ ด
คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………….………………………………
………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………
5. อุณหภมู ิอากาศตำ่ สุดของวนั ตามสถานทตี่ ่างๆ น่าจะเกิดข้ึนในชว่ งเวลาใด เพราะเหตุใด
คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………….………………………………
………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………
6. อุณหภมู อิ ากาศสงู สดุ และตำ่ สุดในรอบ 1 สัปดาหม์ ีการเปลีย่ นแปลงอยา่ งไร
คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………….………………………………
7. จากกิจกรรม สรุปได้วา่ อยา่ งไร
คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………….………………………………
………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………

11
แหล่งพลังงานความร้อนท่ีสำคัญของโลก คือ ดวงอาทิตย์ ซ่ึง
ก่อให้เกิดกระบวนการต่างๆ มากมาย รวมถึงการเกิดฤดูกาลบนพื้นโลกด้วย
โลกเอียงทำมุม 23.5 องศา และโคจรรอบดวงอาทิตย์ตลอดเวลา โดยหันขั้ว
โลกเหนือและใต้เข้าหาดวงอาทิตย์สลับกันทำให้แต่ละพ้ืนท่ีบนผิวโลกรับ
พลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ได้ไม่เท่ากัน จึงเกิดฤดูกาลทำให้เกิดความ
แตกต่างของอุณหภูมิ ค่าที่บอกถึงระดับความร้อน-เย็นของอากาศหรือ
วัตถุ โดยใชเ้ ครื่องมอื ที่เรยี กว่าว่า เทอร์โมมิเตอร์
ผลของรงั สจี ากดวงอาทติ ย์ต่อบรรยากาศ
โลกได้รบั พลงั งานจากรงั สขี องดวงอาทิตย์ทแ่ี ผ่มายังโลกซ่ึงรังสบี างสว่ นจะมีการ
สะทอ้ นกลับ สู่อวกาศ บางส่วนจะถกู ดดู กลนื่ โดยแก๊สต่าง ๆ ในบรรยากาศและสว่ นที่เหลือจะลงมาถึงผิวโลก

ภาพที่ 4 แสดงการดูดกลนื และสะท้อนรงั สีจากดวงอาทติ ย์ทแี่ ผ่มายงั โลก
ท่มี า https://shorturl.asia/97XCP

➢ อากาศทีป่ กคลุมโลกเราเป็นชั้น ๆ เรียกวา่ ช้ันบรรยากาศ บรรยากาศแตล่ ะช้ันมสี ่วนประกอบและปรมิ าณ
ของแก๊สแตกต่างกัน เน่อื งจากอากาศเปน็ สารซึ่งมีมวล จึงถูกแรงโน้มถ่วงของโลกดงึ ดูดเชน่ เดยี วกบั ที่
กระทำต่อวัตถุอนื่ ๆ นำ้ หนักของอากาศท่ีกดลงบนพืน้ โลกเนอ่ื งจากแรงดึงดูดของโลกในแนวตงั้ ฉากต่อ
หนงึ่ หนว่ ยพน้ื ทเ่ี รยี กวา่ ความดนั อากาศ หรอื ความดนั บรรยากาศ

เร่ืองท่ี 3 ความกดอากาศและลม

ภาพที่ 5 วา่ วแบบตา่ งๆ

ท่มี า หนังสือแบบเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 สสวท

12

วา่ วทมี่ ีน้ำหนักมากสามารถลอยขึน้
ไปในอากาศได้อยา่ งไร

ว่าวที่มีน้ำหนักมากสามารถลอยขึน้ ไปในอากาศได้ อกี ทัง้ ลมยงั สามารถพัดพาว่าวทม่ี ีนำ้ นำ้ หนักมากกว่าอากาศ
ใหเ้ คล่ือนที่ไปยังทศิ ทางตา่ งๆได้ เหตใุ ดจึงเป็นเช่นนั้น อากาศมีสมบตั ิอย่างไร ปจั จัยใดที่ทำให้อากาศมีสมบัติ
เช่นนนั้

ทบทวนความร้กู ่อนเรยี น 3

เขียนเครอื่ งหมาย  หน้าข้อทถ่ี กู ต้อง

อากาศมนี ้ำหนัก ลมคอื อากาศท่ีเคลือ่ นท่ี

อากาศในทุกพ้นื ทม่ี ีความหนาแนน่ เทา่ กนั อากาศในทุกพนื้ ทมี่ ีอณุ หภูมิเท่ากัน

ลมพัดจากบรเิ วณทมี่ ีอุณหภมู สิ งู กว่าไปยงั ที่ทีม่ ีอณุ หภูมิต่ำกวา่

กจิ กรรม สบื เสาะ คน้ หา 3 กิจกรรมท่ี 3 อากาศมีแรงกระทำต่อวตั ถุหรือไมอ่ ยา่ งไร

จุดประสงค์ : สงั เกตและอธบิ ายแรงและทิศทางของแรงทอี่ ากาศกระทำตอ่ วตั ถุ

วสั ดแุ ละอุปกรณ์

รายการ ปรมิ าณ/กลุม่

1. ถุงพลาสติกใส 1 ถุง

2. ขวดโหลกน้ ลึก 1 ขวด

3. ยางรัด 1 วง

วิธีการดำเนนิ กิจกรรม
1. ใส่ถงุ พลาสตกิ ลงในขวดโหล พับปากถุงส่วนทเ่ี ลยพ้นปากขวดโหลลงมาดา้ นขา้ งขวด
2. ดึงถุงพลาสติกขึน้ จากกน้ ขวดโหล สังเกตวา่ ดึงออกงา่ ยหรอื ยาก บันทึกผล

3. รีดถงุ พลาสตกิ ใหแ้ นบกับด้านข้างและกน้ ขวดโหลให้มากที่สดุ แลว้ ใช้ยางรดี ปากขวดโหลกับถงุ พลาสติกให้
แน่น

13

4. คาดคะเนว่าถา้ ดงึ ถุงพลาสตกิ ในข้อ 3 ใหข้ ้ึนจากก้นขวดโหลจะดึงได้ง่ายหรือยากเมอื่ เทียบกบั การดงึ ในขอ้ 2
บันทกึ ผลการคาดคะเน5. ดึงถุงพลาสติกขึน้ จากกน้ ขวดโหลเมอ่ื วางขวดแนบกับพื้นผวิ สงั เกตวา่ ดึงง่ายหรือ
ยากบันทกึ ผล
6. จัดขวดโหลให้อยใู่ นลักษณะต่างๆดังรปู สงั เกตวา่ ดงึ ง่ายหรอื ยากบันทึกผล

ผลการทำกิจกรรม

กจิ กรรม ผลการทำกิจกรรม/การคาดคะเน
การดงึ ถุงพลาสตกิ ขนึ้ จากกน้ ขวดโดยไมร่ ีดถงุ ให้แนบ
สนิทกับด้านในของขวด
การคาดคะเนเมื่อรีดถงุ พลาสติกให้แนบสนทิ กับด้านใน
ของขวดแลว้ ดึงถุงพลาสติกขึ้นจากกน้ ขวด

การดงึ ถงุ พลาสติกขึ้นจากกน้ ขวดโหลโดยรดี ถงุ ให้แนบ
สนิทกบั ดา้ นในของขวด
การดึงถงุ พลาสติกขน้ึ จากกน้ ขวดโหลโดยรดี ถุงใหแ้ นบ
สนิทกบั ดา้ นในของขวดและจัดขวดโหลใหอ้ ยูใ่ น
ลักษณะตา่ ง ๆ
• เมือ่ เอียงขวดโหล
• เม่อื ควำ่ ขวดโหล
• เมื่อวางขวดโหลในแนวระดับ

คำถามทา้ ยกจิ กรรม
1. แรงท่ีใช้ในการดึงถุงพลาสติกขึ้นจากก้นขวดโหลก่อนและหลังการรีดถุงพลาสติกให้แนบไปกับขวดโหล มี
ความแตกตา่ งกนั อย่างไร เพราะเหตุใด
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………………………………….………………………………………………………………………
2. เม่ือจัดขวดโหลให้อยู่ในลกั ษณะตา่ ง ๆ แรงที่ใชใ้ นการดึงถุงพลาสติกออกจากขวดโหลเหมอื นหรอื แตกต่าง
กนั อย่างไร
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………

14

3. จากกจิ กรรม สรปุ ไดว้ ่าอย่างไร
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………

การวดั ความดนั ของอากาศ
การวัดความดนั ของอากาศ มีนกั วทิ ยาศาสตร์ไดท้ ำการศึกษาคน้ ควา้ ไว้จนสามารถสร้างเครื่องวัดความ

ดันของอากาศได้ นกั วิทยาศาสตร์ทศ่ี ึกษาเรือ่ งความดันของอากาศที่ควรรจู้ กั มี 2 ทา่ นด้วยกนั คือ กาลิเลโอ
(Galileo) และเทอริเชลลี (Torricelli) โดยศึกษาพบวา่ อากาศสามารถดนั ของเหลว เช่น น้ำหรอื ปรอทใหเ้ ข้า
ไปอยู่ในหลอดแก้วท่ีเป็นสุญญากาศได้ จึงนำความรู้ดังกล่าวมาประยุกต์ใช้สร้างเครอ่ื งวดั ความดนั บรรยากาศที่
มีช่ือเรยี กว่า บารอมเิ ตอร์ (barometer) บารอมิเตอรจ์ ะใชป้ รอทบรรจุไว้ภายในหลอดแกว้ เน่อื งจากมี
คณุ สมบัติท่ีดีกว่าของเหลวอืน่ ๆ

เครือ่ งมอื วดั ความดันอากาศ
เคร่ืองมือท่ีใชว้ ัดความดันของอากาศเราเรียกว่าบารอมิเตอร์ (barometer) เป็นเครอ่ื งมือทท่ี ำใหท้ ราบ

ว่า ณ บริเวณหนง่ึ บรเิ วณใดมีความกดของอากาศมากนอ้ ยเท่าไร ซ่ึงเปน็ ประโยชนต์ ่อการทำงานของ
อตุ ุนยิ มวิทยาชนิดของบารอมิเตอร์มีดังต่อไปน้ี
1. บารอมิเตอร์แบบปรอท (barometer) ประกอบดว้ ยหลอดแก้วยาวทป่ี ิดปลายด้านหน่งึ ไว้ และทำใหเ้ ปน็
สุญญากาศ นำไปคว่ำลงในอา่ งทบ่ี รรจปุ รอทไว้ อากาศภายนอกจะกดดนั ใหป้ รอทเข้าไปอยู่ในหลอดแก้วใน
ระดบั หนงึ่ ของหลอดแกว้ ระดับของปรอทจะเปล่ียนแปลงไปตามความกดดันของอากาศ โดยความดัน 1
บรรยากาศจะดนั ปรอทใหส้ ูงขึน้ ไปได้ 76 เซนติเมตร หรือ 760 มิลลเิ มตร
2. แอนนริ อยด์บารอมิเตอร์ (aneriod barometer) ชนิดไม่ใชป้ รอทหรือของเหลวแบบอ่ืนๆ เป็น
บารอมเิ ตอรท์ จ่ี ะทำเปน็ ตลับโลหะแลว้ นำเอาอากาศออก จนเหลือจะทำให้ตลบั โลหะมีการเคลื่อนไหว ทำให้
เข็มท่ีตดิ ไวก้ บั ตัวตลับชีบ้ อกความกดดันของอากาศโดยทำสเกลบอกระดับความดันของอากาศไว้แอนนริ อยด์
บารอมเิ ตอร์ประดษิ ฐ์โดยวีดี (Vidi) ในปีพ.ศ. 2388 มีขนาดเลก็ พกพาไปได้สะดวก

รปู แสดงแอนนริ อยด์ บารอมเิ ตอร์

15

3. บารอกราฟ (barograph) เป็นเคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการวัดความดนั อากาศท่ใี ช้หลักการเดียวกับแอนนริ อยด์
บารอมิเตอร์ แต่จะบนั ทกึ ความกดดันอากาศแบบต่อเนื่องลงบนกระดาษตลอดเวลาในลกั ษณะเป็นเส้นกราฟ

รปู แสดงแอลติมิเตอร์ รูปแสดงบารอกราฟ

4. แอลติมิเตอร์ (altimeter) เป็นเครื่องวัดความสูงที่ใช้ในเคร่ืองบิน ใช้หลักการเดียวกับแอนิรอยด์
บารอมเิ ตอร์แตห่ น้าปดั บอกความสงู จากระดับน้ำทะเลแทนความดนั อากาศ

จงยกตัวอยา่ งของเล่นหรือเครอ่ื งใช้ทใ่ี ช้สมบัตคิ วามดันอากาศ
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................
....
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
- ทค่ี วามสงู ระดับเดยี .ว..ก..นั....ค...ว..า..ม......................................................................
ดันอากาศทคี า่ เทา่ กัน....ห..ล..ัก...ก..า..ร.น...้ี ...................................................................
ได้นำไปใชท้ ำเคร่ืองมือ..ว..ดั ..แ..น...ว...........................................................................
ระดับในการก่อสรา้ ง ......................................................................................
- เมื่อความสงู เพิ่มขน้ึ ..ค...ว..า..ม..ด...ัน........................................................................
ของอากาศมคี า่ ลดลง..ห...ล..ัก..ก..า..ร..น...ี้ ....................................................................
นำไปใช้ทำเคร่ืองมอื วัด..ค...ว.า..ม...ส..ูง.........................................................................
เรยี กวา่ แอลตมิ ิเตอร์ ......................................................................................
......................................................................................
m1.ทmรี่ ะหดรับอื น3้ำค0ทวะนาเม้ิวลสคัมวพาันม....ธด........ร์ัน........ะ....อ....ห....า........วก........า่า........งศ....ค....ป........ว....ก....า....ต....ม....ิม....ด........ีค....ัน....่า....อ....เ....ท....า....า่.ก.......ก....า....ับ....ศ........คก........วับ........า....ค....ม....ว....ด........า....ัน.ม.......อ....ส....า....ูง....ก....จ....า....า....ศ....ก.....ท....ร.......ี่ส.ะ.......าด........ม....บั ....า....น....ร........้ำถ........ทด........ะ....นั ....เ....ป....ล.....ร...สอรทุปใไหด้สด้ ูงังน7ี้6 cm หรือ 760
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................
......................................................................................

16
2.เมอ่ื ระดับความสูงเพ่ิมข้ึน ความกดของอากาศจะลดลงทุกๆ ระยะความสูง 11 เมตรระดับปรอทจะลดลง 1
มลิ ลิเมตร

ตัวอย่างที่ 1 เมื่ออยูบ่ นยอดเขาแห่งหน่งึ วดั ความดนั อากาศได้ 600 มลิ ลเิ มตรของปรอท ยากทราบวา่ ยอดเขา
แห่งนอ้ี ยสู่ งู จากระดบั นำ้ ทะเลเท่าใด

.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
.....................................................................................................................
......................................................................................
ตัวอย่างท่ี.2.....บ..อ..ล..ล..ูน...ล..อ..ย..อ..ย..ู่ส..ูง...5..,.5..0..0...เ.ม..ต...ร.จ..า..ก..ร..ะ..ด..ับ..น...้ำ..ท..ะ..เ.ล...ค..ว..า..ม..ด..นั บรรยากาศขณะนัน้ จะมีคา่ เท่าใด
......................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

17

ปจั จัยที่มีผลต่อความกดอากาศ (Factors Affecting Barometric Pressure)
1. อุณหภมู ขิ องอากาศที่มสี ูงขึ้นจะขยายตวั และมคี วามดันอากาศตำ่
2. ยิ่งสงู ข้นึ ไป อากาศยิง่ บาง อุณหภูมิยิ่งตำ่ ความกดอากาศยงิ่ ลดน้อยตามไปดว้ ย เพราะฉะน้นั ความกด

อากาศบนยอดเขา จึงน้อยกว่าความกดอากาศที่เชิงเขา
3. ความชนื้ อากาศช้ืนมไี อน้ำมากจงึ เบากกวา่ อากาศแห้งท่ีมีปริมาตรเท่ากนั เพราะโมเลกุลของนำ้ เบากวา่

โมเลกุลของออกซเิ จนหรือไนโตรเจน ดงั น้ันอากาศชน้ื จึงมีความดนั อากาศต่ำกวา่ อากาศแหง้

กิจกรรม สบื เสาะ คน้ หา 4 กิจกรรมท่ี 4 เหตุใดลมจึงเคลื่อนที่เรว็ ต่างกัน

จดุ ประสงค์ : ทดลอง วิเคราะหแ์ ละอธิบายปัจจัยที่มผี ลต่ออตั ราเร็วลม

วสั ดแุ ละอุปกรณ์

วสั ดทุ ใี่ ชต้ อ่ ห้อง

รายการ ปริมาณ/ห้อง

เทอร์มอมเิ ตอร์ 1 อนั

วสั ดุทใ่ี ช้ต่อกลมุ่

รายการ ปรมิ าณ/ กลุ่ม

1. ขวดพลาสตกิ ขนาด 1,500 cm3 4 ใบ

2. นำ้ เยน็ จัดอุณหภูมิประมาณ 10 ํC น้ำอุณหภมู หิ ้องและน้ำ อย่างละ 500 cm3

ร้อนจดั อุณหภูมปิ ระมาณ 70 ํc

3. แผ่นใส 6 แผ่น

4. ธปู 1 อัน

5. ขนั พลาสติก 4 ใบ

6. ไมข้ ีดไฟ 1 กลอ่ ง

7 เทปใส 1 ม้วน

8. คตั เตอร์ 1 อัน

วธิ ีการดำเนินกิจกรรม ตอนท่ี 1
1. จดั อปุ กรณด์ ังภาพ

แผน่ ใส 1 แผน่ มว้ นเปน็ ท่อและ นำท่อแผ่นใสสอดเขา้ ไปในขวด นำชุดอุปกรณไ์ ปวางไว้ในขนั

เจาะรูตรงกลาง ทำเครื่องหมายท่ี พลาสตกิ 2 ใบ

ระยะ 10 cm จากรูตรงกลางทั้งสองด้าน

2. รินนำ้ อุณหภูมหิ อ้ งและนำ้ ร้อนจัดลงในขันใบท่ี 1 และ 2 ตามลำดับ จดั เป็นชุดทดลองท่ี 1 โดยใหร้ ะดบั น้ำใน

ขนั สงู ประมาณ 5 cm ตง้ั ชดุ ทดลองไว้ 20 วนิ าที

3. จุดธูปและแหยก่ า้ นธปู เข้าไปในรูที่เจาะไวต้ รงกลางของท่อแผน่ ใส เพื่อใหค้ วนั เขา้ ไปในท่อ

18

4. บันทึกเวลาที่ควนั ธปู เคล่อื นทีจ่ ากจุดก่ึงกลางไปยังเคร่อื งหมายท่ีระยะ 10 cm.
5. ทำซ้ำตอนท่ี 2-4 อีกครั้งโดยเปล่ียนอุณหภูมิของน้ำในขันใบที่ 1 และ 2 เป็นน้ำเย็นจัดและน้ำร้อนจัด
ตามลำดบั จดั เปน็ ชุดทดลองท่ี 2 โดยก่อนการทดลองใหค้ าดคะเนวา่ ควันธูปจะเคลอ่ื นทเ่ี รว็ ขน้ึ หรือช้าลง

ผลการทำกจิ กรรม เวลาที่ควันธูปเคลือ่ นทจี่ ากจุดกง่ึ กลางไปยังระยะ 10 cm. (วินาที)
ชดุ ทดลอง

ชดุ ทดลองที่ 1
ชดุ ทดลองที่ 2

คำถามท้ายกิจกรรม
1. อากาศในท่อใสมีทิศทางการเคลอ่ื นท่ีอย่างไร ทราบไดอ้ ย่างไร
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
2. ความดันอากาศในขวดใบใดมีค่าสูงกวา่ เพราะเหตใุ ด
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
3. การเคลื่อนท่ีของอากาศในทอ่ ใสมีความสมั พนั ธก์ บั ความดนั อากาศอย่างไร
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
4. อัตราเรว็ ลมในชดุ ทดลองใดมีค่ามากกวา่ เพราะเหตใุ ด
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
5. จากกิจกรรม สรปุ ไดว้ ่าอย่างไร
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………

วิธกี ารดำเนนิ กจิ กรรม ตอนที่ 2
ทำการทดลองเช่นเดียวกับข้ันตอนท่ี 5 ของตอนท่ี 1 โดยเปล่ียนท่อแผ่นใสเปน็ ใช้แผ่นใส 3 แผน่ มว้ นเป็นทอ่
เจาะรูตรงกลาง ทำเครื่องหมายท่ีระยะ 10 cm. เชน่ เดิมจดั เปน็ ชุดทดลองที่ 3 โดยก่อนการทดลองให้คาดคะเน
วา่ ควันธูปจะเคลือ่ นที่เร็วขน้ึ หรอื ช้าลง เมือ่ เทียบกบั ชุดทดลองท่ี 2

19

ผลการทำกิจกรรม
คาดคะเนว่าควันธูปจะเคลอื่ นทช่ี า้ ลง เมื่อเทียบกับชดุ ทดลองที่ 2

ชุดทดลอง เวลาที่ควันธปู เคลอ่ื นท่จี ากจุดก่ึงกลางไปยังระยะ 10 cm. (วนิ าที)

ชดุ ทดลองที่ 2
ชดุ ทดลองที่ 3

คำถามท้ายกจิ กรรม
1. หากพิจารณาเฉพาะชุดทดลองที่ 2 และ 3 การทดลองน้ีมีตัวแปรต้น ตวั แปรตาม และตัวแปรควบคุม คือ
อะไร
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
2. อัตราเรว็ ลมในชดุ ทดลองใดมคี า่ มากกวา่ เพราะเหตใุ ด
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
3. จากกจิ กรรมสรุปไดว้ ่าอย่างไร
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
4. จากกิจกรรมทั้ง 2 ตอนสรุปไดว้ า่ อยา่ งไร
คำตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………

➢ ลมและการเกดิ ลม

ลม (wind) คือ มวลอากาศท่ีเกิดการเคลื่อนที่ในทิศทางใดทิศทางหน่ึงตามแนวระดับ ในธรรมชาติลมจะเกิด
จากความแตกต่างของอณุ หภมู แิ ละความกดอากาศของบรเิ วณต่าง ๆ
สาเหตกุ ารเกดิ ลม
1. ความแตกตา่ งของอุณหภูมิ อากาศร้อนจะมีอุณหภูมิสูง ความหนาแน่นอากาศจะน้อย และ ลอยตัวสูงข้ึน
สว่ นอากาศเยน็ จะมีอุณหภูมติ ำ่ กวา่ และมคี วามหนาแน่นอากาศมากกว่า จะเคลื่อนทีเ่ ขา้ มาแทนที่ทำใหเ้ กิดลม
2. ความแตกต่างของความกดอากาศ อากาศร้อนมีความกดอากาศต่ำ และมีความหนาแน่นต่ำ อากาศ
ร้อนจึงลอยสูงขึ้น ส่วนอากาศเย็นมีความกดอากาศสูงและมีความหนาแน่นมากกว่าจะ เคล่ือนท่ีเข้าหา
บริเวณที่มีอากาศรอ้ น ลมจงึ พัดจากบรเิ วณท่ีมคี วามกดอากาศสูงไปสบู่ ริเวณท่มี ี ความกดอากาศตำ่ กวา่
➢ ความกดอากาศแบง่ เปน็ 2 ประเภท
ความกดอากาศสูง (H) หมายถึง บริเวณที่มีความกดอากาศสูงกว่าบริเวณข้างเคียง ท้องฟ้าแจ่มใสและอากาศ
หนาวเย็น
ความกดอากาศต่ำ (L) หมายถงึ บรเิ วณท่มี ีความ กดอากาศตำ่ กวา่ บริเวณข้างเคยี ง ทอ้ งฟ้ามเี มฆมาก

20

➢ ความเรว็ ของลม
ลมส่วนใหญ่พัดในทิศทางเดียว เมื่อมีสิ่งกีดขวางทิศทางของกระแสลม เช่น ต้นไม้ ภูเขาเต้ียๆ อาคาร

บ้านเรือน หรือสงิ่ กอ่ สรา้ งตา่ งๆ จะทำใหท้ ศิ ทางการเคลอื่ นท่ีของลมเปล่ยี นไปได้ โดยทั่วไปเราจะบอก
ความเร็วของลมเป็นกิโลเมตรต่อชั่วโมง (km/hr) เคร่ืองมือตรวจสอบทิศทางลมอย่างง่ายท่ีเรียกว่า ศรลม
และ เครอ่ื งมือใช้ในการตรวจสอบความเรว็ ของลมทเี่ รียกว่า มาตรวัดความเรว็ ลม

ศรลม อะนิโมมเิ ตอร์

ร่วม กนั คดิ 2

จงตอบคำถาม ตัวตดิ ผนังติดกบั ผนงั ดังภาพไดอ้ ย่างไร
1. ……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...

2. ทิศทางของแรงท่ีอากาศกระทำในล้อรถเปน็ อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………...

3. ความดนั อากาศ ณ ระดบั ความสงู ตา่ ง ๆ จากผวิ โลกมีการเปลีย่ นแปลงหรอื ไม่ อย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. ความสมั พันธ์ระหวา่ งความดนั อากาศกับความสงู จากพืน้ โลกควรเปน็ อย่างไร ใหส้ รา้ งแบบจำลองหรือเขยี น
แผนภาพอธิบายความสัมพันธ์ดงั กล่าว
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

21
5.นกั เรยี นคิดว่าความดนั อากาศเก่ยี วข้องอย่างไรกบั อาการหอู ้ือเม่ือขนึ้ ลิฟท์ไปยงั ชั้นสงู ๆ ของตึก
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
6.

ภาพชุดทดลองผลของอุณหภูมติ ่ออากาศ
ความดนั อากาศภายในลกู โปง่ ในภาพชดุ ทดลองผลของอณุ หภมู ติ อ่ อากาศภาพใดมีค่าสงู กว่า เพราะเหตใุ ด
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
7. ในระบบปดิ และระบบเปิดอณุ หภูมมิ ผี ลต่อความดันเหมือนหรือแตกตา่ งกันอย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
8.

ภาพบรเิ วณทีม่ ีมีความหนาแน่นของอนภุ าคอากาศ
จากภาพ ความดันอากาศในบริเวณใดมีคา่ สูงกวา่ เพราะเหตใุ ด
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
9.

ภาพบอลลนู ลอยอยู่ในอากาศ
บอลลูนลอยอยู่ในอากาศได้อยา่ งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
10. ปจั จัยใดบ้างท่ีส่งผลต่อความดันอากาศ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

22

11 มีข้อแนะนำสำหรบั นกั ปีนเขาว่าไม่ควรเปล่ียนแปลงระดับความสงู เกิน 500 เมตร ต่อวนั เหตุใดจึงเป็น
เชน่ น้นั .
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
12. บุคคลกลุม่ ใดบ้างไดร้ ับผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงความดันอากาศ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
13.

30 km/hr

5 km/hr 10 km/hr

จากภาพอัตราเรว็ ลมในแต่ละบรเิ วณเป็นอยา่ งไร เพราะอะไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
14. มนษุ ยม์ วี ิธปี ้องกนั บา้ นเรือนและทรัพย์สนิ ไมใ่ ห้ไดร้ ับความเสยี หายจากลมท่ีมีอัตราเรว็ มากได้อยา่ งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
15. นักเรียนรู้จักอปุ กรณ์แบบอื่นท่ใี ชใ้ นการตรวจวดั ลมหรือไม่ อย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
16. ลมส่งผลตอ่ สภาพแวดล้อมและส่ิงมชี ีวติ อย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

องคป์ ระกอบของลมฟ้าอากาศมีความสมั พนั ธก์ นั เช่น ความกดอากาศและลมมคี วาม สัมพนั ธ์กนั ความกด

อากาศมคี วามสมั พนั ธ์กับอุณหภูมอิ ากาศ ความกดอากาศ และลมเป็นองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศซ่ึงสง่ ผล
ต่อสภาพอากาศ ของพื้นท่นี ั้น ๆ เชน่ ความแตกตา่ งของความกดอากาศ ทำให้เกิดลมแรงและอาจเกดิ เปน็ พายุ
ได้

กเรียนคดิ ว่ามปี จั จัยใดบ้างทส่ี ่งผลต่อความชื้น และความช้ืนมีความสำคัญอยา่ งไร ต่อสภาพลมฟา้
อากาศอย่างไร

23

เรอื่ งที่ 4 ความช้ืน

ภาพท่ี 6 ทะเลหมอก
ท่มี า หนงั สือแบบเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 สสวท

นักเรยี นเคยเหน็ ทะเลหมอกหรือไม่ ทะเลหมอก
เกดิ ข้นึ ช่วงไหน และเกดิ ข้ึนได้อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………

ทบทวนความรู้ก่อนเรยี น 4

จงเขียนเคร่ืองหมาย  หน้าข้อความท่ีถูกต้อง
 น้ำระเหยไดเ้ มอ่ื เดือดเท่านนั้
 เมอ่ื นำ้ ระเหยจะกลายเป็นไอนำ้ อยู่ในอากาศ
 เราสามารถมองเห็นไอน้ำเปน็ ควันสีขาวลอยอยู่ได้
 เมฆ และฝนเป็นรูปแบบหนง่ึ ของหยาดน้ำฟา้

ไอน้ำในอากาศทำให้อากาศมีความช้ืน ค่าความช้ืนสัมบูรณ์แสดงปริมาณไอท่ีมีอยู่จริงใน

อากาศโดยมีหน่วยเป็นกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ณ อุณหภูมิใดอุณหภูมิหนึ่ง อากาศสามารถรับไอน้ำได้ในปริมาณ
จำกัดโดยปริมาณไอน้ำอิ่มตัวหรือปริมาณไอน้ำสูงสุดที่อากาศรับได้ข้ึนอยู่กับอุณหภูมิอากาศ ค่าความชื้น
สัมพัทธ์แสดงความสามารถของอากาศในการรับปริมาณไอน้ำ ณ ขณะนั้นว่าอากาศมีปริมาณไอน้ำในอากาศ
เทา่ ไร เทียบกับความสามารถท่จี ะรับได้ทั้งหมด และจะสามารถรับได้อีกเท่าไรโดยแสดงค่าเป็นเปอรเ์ ซ็นต์

การบอกค่าความชื้นของอากาศ สามารถบอกได้ 2 วิธี คือ
1. ความชื้นสัมบรู ณ์ (Absolute Humidity) คือ อัตราส่วนระหวา่ งมวลของไอนำ้ ในอากาศกับปรมิ าตรของ
อากาศขณะนนั้
2. ความชนื้ สมั พทั ธ์ (Relative Humidity) คอื ปริมาณเปรียบเทยี บระหวา่ งมวลของไอน้ำทม่ี ีอยจู่ ริงในอากาศ
ขณะนนั้ กบั มวลของไอน้ำอม่ิ ตัว ทอี่ ณุ หภูมแิ ละปริมาตรเดยี วกัน มหี น่วยเป็นเปอร์เซ็นต์

24

สูตร

ร่วม กนั คดิ 3

1.ในห้องขนาด 250 ลูกบาศก์เมตร มคี วามชนื้ สัมบรู ณ์ 30 กรมั ต่อลูกบาศก์เมตร ในห้องนั้นจะมีมวลของไอน้ำ
ในอากาศเท่าใด
.................................................................................. ............................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................ ......................................................................
..............................................................................................................................................................................

25

2. ณ อุณหภมู ิ 40 องศาเซลเซยี ส อากาศท่มี ีค่าความชื้นสัมพทั ธ์ 70 เปอร์เซนต์ มปี ริมาณไอน้ำจรงิ เท่าใด และ
จะสามารถรบั ไปนำ้ ไดอ้ ีกเทา่ ใด
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................... ..........
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

กิจกรรม สืบเสาะ คน้ หา 5 กจิ กรรมที่ 5 ปัจจยั ทมี่ ีผลตอ่ ความชน้ื สัมพัทธม์ ีอะไรบ้าง

จุดประสงค์ : วดั ความชื้นสัมพัทธ์และอธิบายปัจจยั ท่ีมผี ลตอ่ ความช้นื สัมพทั ธ์

วัสดแุ ละอุปกรณ์

รายการ ปริมาณ/กลุ่ม

ไซครอมิเตอร์ 1 อนั

วธิ กี ารดำเนนิ กิจกรรม
1. อ่านขอ้ มลู และอภปิ รายวิธีการใช้ไซครอมิเตอรเ์ พ่ือวัดความช้ืนสัมพัทธ์ ในหวั ข้อเกรด็ ความรู้
2. วางแผนรว่ มกันทง้ั ห้องเรยี นเพ่ือเลือกสถานที่ภายในโรงเรียนในการวดั ความชน้ื สัมพัทธ์ และอณุ หภมู ิอากาศ
ให้แตล่ ะกลุ่มเลือกสถานท่ีไมซ่ ้ำกัน และกำหนดเวลาเดียวกันในการวดั โดยวัด ไม่นอ้ ยกวา่ 5 คร้ัง เช่น เวลา
กอ่ นเขา้ เรียน เวลาพกั และหลงั เขา้ เรียน พร้อมท้ังออกแบบวธิ ีการบนั ทึกผลท่สี งั เกตได้
3. สงั เกตลักษณะทางกายภาพของสง่ิ แวดล้อมในพืน้ ทที่ ี่เลือกวดั อุณหภมู อิ ากาศตามแผนท่ีวางไว้ และบันทึกผล
4. นำข้อมลู ท่ตี รวจวัดมาเขียนกราฟเส้นแสดงการเปล่ียนแปลงความชนื้ สัมพทั ธ์ และอุณหภมู ิอากาศในเวลา
ตา่ งๆและนำเสนอ

ผลการทำกจิ กรรม

พ้นื ท่ี 1 ในเรอื นเพาะชำ

สภาพแวดลอ้ มบริเวณที่ตรวจวัด

พืน้ ทท่ี ่ีตรวจวัดอยู่ในเรอื นเพาะชำ มตี ้นไม้มาก มีแสงแดดรำไร และมีการรดนำ้ ตน้ ไมเ้ กือบตลอดเวลา

ตารางอณุ หภูมจิ ากเทอร์มอมเิ ตอร์กระเปาะแห้ง กระเปาะเปยี กและความชืน้ สัมพทั ธ์บริเวณในเรือนเพาะชำ

อุณหภมู ิ (องศาเซลเซียส) ความชนื้ สัมพัทธ์

เวลา เทอรม์ อมิเตอร์ เทอรม์ อมเิ ตอร์ เทอรม์ อมเิ ตอรก์ ระเปาะแหง้
(นาฬิกา) กระเปาะแหง้ กระเปาะเปยี ก เทอร์มอมิเตอรก์ ระเปาะเปียก

(เปอร์เซนต)์

8.00
10.00
12.00
14.00
16.00

26

พ้ืนท่ี 2 บรเิ วณกลางแจ้ง
สภาพแวดลอ้ มบริเวณทีต่ รวจวดั
พ้นื ที่ทตี่ รวจวัดเปน็ บริเวณกลางแจ้ง พน้ื ปูนซเี มนต์ ไดร้ ับแสงตลอดเวลา

ตารางอุณหภมู ิจากเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะแห้ง กระเปาะเปียกและความช้ืนสัมพัทธ์บริเวณกลางแจง้
ภายนอกอาคารเรียน

อณุ หภมู ิ (องศาเซลเซยี ส) ความชื้นสัมพัทธ์
เทอร์มอมเิ ตอรก์ ระเปาะแห้ง
เวลา เทอร์มอมเิ ตอร์ เทอร์มอมิเตอรก์ ระเปาะ เทอรม์ อมิเตอร์กระเปาะเปียก
(นาฬกิ า) กระเปาะแห้ง เปียก
(เปอร์เซนต์)
8.00
10.00
12.00
14.00
16.00

27

คำถามทา้ ยกิจกรรม
1. อุณหภูมิอากาศ และความช้นื สัมพัทธใ์ นชว่ งเวลาตา่ ง ๆ ในพ้ืนท่ีเดียวกนั เปล่ียนแปลงไปอย่างไร(ตอบตาม
ขอ้ มูลจรงิ ทไี่ ด้จากการตรวจวัด)
.................................................................................. ............................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................. ................................................
2. อณุ หภมู ิอากาศ และความชื้นสมั พัทธม์ คี วามสมั พนั ธ์กนั หรือไม่ อย่างไร เพราะเหตุใด
.................................................................................. ............................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. อณุ หภูมิอากาศ และความชื้นสัมพัทธ์มีความสมั พนั ธก์ นั หรอื ไม่ อยา่ งไร เพราะเหตใุ ด
.................................................................................. ............................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. ความช้ืนสมั พทั ธก์ ับพื้นที่ตรวจวัดมคี วามสมั พนั ธก์ นั หรือไม่ อย่างไร เพราะเหตุใด
.................................................................................. ............................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
5. จากกิจกรรมสรุปไดว้ ่าอยา่ งไร
.................................................................................. ............................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................ ......................................

➢ ในสภาวะทอ่ี ากาศนง่ิ ไม่ค่อยมีลมพัดปริมาณไอนำ้ ในอากาศในพื้นท่ีไมเ่ ปลีย่ นแปลงมาก ความชืน้ สมั พทั ธ์
จะขน้ึ อยู่กับอุณหภูมิอากาศ เมือ่ อณุ หภมู ิอากาศตำ่ ในช่วงเชา้ ความช้นื สมั พัทธ์มคี า่ สงู และเม่ืออณุ หภูมิ
อากาศสงู ในชว่ งกลางวันหรอื บา่ ยความชื้นสัมพัทธ์จะมีค่าต่ำ เนอ่ื งจากอุณหภมู ิอากาศมีผลต่อปริมาณไอน้ำ
อิ่มตัว

➢ ความช้ืนสมั พัทธ์ ในสภาวะปกติมคี า่ สงู สุด 100 เปอรเ์ ซนต์ แตใ่ นบางสภาวะอาจพบคา่ ความชื้นสัมพัทธส์ ูง
กวา่ 100 เปอร์เซนต์ เราเรียกสภาวะนั้นว่าสภาวะอากาศอิ่มตวั ดว้ ยไอนำ้ ยงิ่ ยวด (supersaturated) ซงึ่ อาจ
เกดิ ไดจ้ ากการทีอ่ ากาศไม่มีตัวกลางให้ไอนำ้ เกาะตัวเพ่ือ ควบแน่น

➢ อุปกรณ์ทใี่ ช้ในการตรวจวดั ความชืน้ สมั พัทธ์ มหี ลากหลาย เช่น ไซครอมิเตอร์ ไฮโกรมิเตอร์

เคร่อื งมอื วดั ความช้นื สัมพทั ธ์ เรียกว่า ไฮกรอมิเตอร์ ทีน่ ิยมใช้มี 2 ชนิด คือ
1. ไฮกรอมิเตอรแ์ บบกระเปาะเปยี ก-กระเปาะแหง้ จะประกอบดว้ ยเทอร์มอเตอร์ 2 อัน โดยอันหน่งึ วดั ณหภมู ิ
ตามปกติ อกี อนั หนึง่ วัดอุณหภมู ใิ นลักษณะที่เอาผา้ มาหมุ้ กระเปาะ โดยใหผ้ า้ เปียกนำ้ อยู่ตลอดเวลาเพ่ือให้มีการ
ระเหยของน้ำจากผา้ ทำใหไ้ ด้อุณหภมู ติ ำ่ กว่า จากนัน้ นำเอาอณุ หภูมิไปใชห้ าค่าความชน้ื สมั พัทธ์
จากคา่ ความต่างของระดับอุณหภูมิของเทอร์มอมเิ ตอร์ทัง้ สองโดยการอ่านคา่ จากตารางสำเร็จรูป

28

วธิ ีหาค่าความชน้ื สัมพทั ธ์จากไฮกรอมเิ ตอรแ์ บบกระเปาะเปียก-กระเปาะแห้งจากตารางแสดงคา่ ความชืน้ สัม
พัทธเ์ ป็นเป็นเปอร์เซนต์

อ่านอุณหภมู ิจาก อ่านอุณหภมู จิ าก
กระเปาะแหง้ ได้ 27qc กระเปาะเปียกได้ 23qc

ไฮกรอมเิ ตอร์แบบกระเปาะเปียก-กระเปาะแหง้
2. ไฮกรอมเิ ตอรแ์ บบเส้นผม ทำจากสมบัติของเส้นผมท่ีขึ้นอย่กู ับความช้นื ถา้ มีความชนื้ มากเสน้ ผมจะยืดตัว
ออกไป ถ้ามีความชนื้ น้อยเส้นผมจะหดตวั

ไฮกรอมเิ ตอร์แบบเส้นผม

29

ร่วม กนั คดิ 4

1.ถา้ คา่ ความชน้ื สัมพัทธร์ อ้ ยละ 85 อุณหภมู กิ ระเปาะแห้งเปน็ 30 องศาเซลเซียส อุณหภูมกิ ระเปาะเปียกเป็น
เท่าใด
.................................................................................. ............................................................................................
2.ถา้ อากาศมีความช้ืนสมั พัทธต์ ่ำ น้ำจะระเหยได้มากข้ึนหรือนอ้ ยลงเปน็ เพราะเหตุใด
.................................................................................. ............................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................. ............................................................................................
3. ถ้าอณุ หภมู ิจากเทอร์มอมเิ ตอร์กระเปาะแห้ง และเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะเปียกไม่ตา่ งกัน ความชนื้ สัมพัทธ์
ในอากาศควรมีค่าเทา่ ใด
..............................................................................................................................................................................
................................................................................................................... ...........................................................
4.หากปริมาณไอน้ำจริงในอากาศมีคา่ คงท่ี เม่ืออุณหภูมลิ ดลง ความช้ืนสัมพัทธจ์ ะมคี า่ เพ่ิมข้ึนหรอื ลดลง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
5.เหตใุ ดบริเวณที่อย่ใู กล้แหล่งน้ำจึงมีความช้ืนสัมพัทธส์ ูงกว่าบริเวณทอ่ี ยู่ไกลแหลง่ นำ้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................. ............................................................................................
6. พื้นทส่ี องบรเิ วณมีความช้นื สัมพัทธเ์ ทา่ กนั จะสามารถสรุปไดห้ รือไมว่ ่าอากาศท้ังสองบรเิ วณมีความช้ืน
เทา่ กัน เพราะเหตุใด
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................. ............................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................. ............................................................................................
7. เหตุใดทะเลหมอกจึงมักพบในชว่ งเชา้
.................................................................................. ...............................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................. ...............................................................................................
.................................................................................. ......................................................................................... ......
8. เหตุใดผา้ ที่ตากไวใ้ นบางวันจงึ แหง้ ชา้ กว่าปกติ
.................................................................................................................................................................................
. ...............................................................................................................................................................................

30
9.เหตุใดจึงพบหยดนำ้ เกาะบริเวณข้างแกว้ นำ้ เย็น
.................................................................................. ..............................................................................................
.................................................................................. ...............................................................................................
10. เหตุใดความชืน้ สมั พัทธเ์ ฉลี่ยในฤดูรอ้ น จงึ ตำ่ กว่าฤดูหนาว
.................................................................................. ...............................................................................................
.................................................................................................................................................................................

เรื่องท่ี 5 เมฆและฝน

ภาพที่ 7 ข้อมูลดาวเทยี ม Himawari ประเทศญีป่ ่นุ
ทีม่ า หนงั สือแบบเรียนวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 สสวท

ภาพนำเรอ่ื ง คอื ภาพถา่ ยผา่ นดาวเทยี มเหนอื นา่ นฟ้า
ประเทศไทย โดยแสดงปรมิ าณเมฆท่ีปกคลมุ

31

ทบทวนความร้กู ่อนเรยี น 5

จงเขียนเคร่อื งหมาย  หน้าขอ้ ความที่ถกู ตอ้ ง

1. ขอ้ ใดบา้ งตอ่ ไปนี้ท่ีจดั เป็นหยาดนำ้ ฟา้

 น้ำคา้ ง  นำ้ คา้ งแขง็  ฝน  หมอก

 เมฆ  หิมะ  ลกู เหบ็

2. ข้อความต่อไปนีข้ ้อใดถูกต้องบา้ ง

 เมฆเป็นไอน้ำ  การควบแนน่ ของเมฆทำให้เกดิ ฝน

 เมฆเป็นกลุ่มของละอองนำ้  ละอองน้ำทร่ี วมตัวกันจนมนี ้ำหนกั มากทำใหเ้ กดิ ฝน

กจิ กรรม สืบเสาะ คน้ หา 6 กิจกรรมที่ 6 เมฆทีเ่ หน็ เปน็ อย่างไร

จุดประสงค์ :

1. สงั เกต อธบิ ายลักษณะ และจำแนกประเภทของเมฆ

2. ตรวจวัดปรมิ าณเมฆปกคลุมบนท้องฟา้

วัสดุและอุปกรณ์

แผนภาพเมฆ

วธิ กี ารดำเนินกิจกรรม

1. รว่ มกันอภปิ รายเกี่ยวกบั วิธีสงั เกตเมฆในท้องฟ้า ขอ้ มลู ที่ควรจะได้จากการสงั เกตเมฆ

2. สังเกตวาดภาพเมฆ จำแนกเมฆทีพ่ บตามเกณฑ์ของตนเอง บอกปรมิ าณเมฆในท้องฟ้าตามวิธกี ารทีไ่ ด้

อภิปรายรว่ มกันจากขอ้ 1 และนำเสนอ

3. ศึกษาวิธีการสังเกตเมฆ แผนภาพเมฆ อภปิ รายเกี่ยวกบั วิธกี ารสังเกตลักษณะและปริมาณเมฆปกคลุม ตาม

วธิ ีการในเกลด็ นา่ รู้ รวมท้งั วางแผนการสงั เกตลักษณะของเมฆและปริมาณเมฆปกคลุมท้องฟ้าในเวลาเข้า

กลางวัน และเย็น

4. สังเกตเมฆอีกครง้ั หน่ึงตามวิธีการจากขอ้ 3 และบนั ทึกข้อมลู โดยการวาดภาพหรือถา่ ยภาพ และบรรยาย

ลกั ษณะเมฆทพี่ บ รวมทงั้ ปรมิ าณเมฆปกคลมุ

5. ระบซุ อื่ เมฆท่ีพบโดยใช้แผนภาพเมฆ

ผลการทำกจิ กรรม
เช้า พบเมฆลักษณะ…………………………………………………………………………………………………………………….
อยใู่ นท้องฟ้าประมาณ ………………………………………………………………………………………………………………….

32

กลางวนั พบเมฆลกั ษณะ…………………………………………………………………………………………………………………
อยใู่ นท้องฟ้าประมาณ ……………………………………………………………………………………………………………………

เย็น พบเมฆลักษณะ………………………………………………………………………………………………………………………
อย่ใู นท้องฟ้าประมาณ …………………………………………………………………………………………………………………..

คำถามท้ายกิจกรรม
1. จากการสงั เกตเมฆครง้ั แรก เมฆท่ีพบมลี ักษณะเป็นอย่างไรบา้ ง สามารถจำแนกเมฆท่ีพบตามเกณฑข์ อง
ตนเองได้เปน็ กป่ี ระเภท อย่างไรบ้าง
.................................................................................. ............................................................................................
.................................................................................. ............................................................................................
2. เม่ือศึกษาวิธกี ารสงั เกตเมฆ และแผนภาพเมฆ และออกไปสงั เกตเมฆอีกคร้งั หน่ึง ไดข้ ้อมูลเพิ่มเติมจากการ
สังเกตดว้ ยวิธีการของตนเองหรอื ไม่ อยา่ งไร
.................................................................................. ............................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. เมฆท่พี บในแต่ละชว่ งเวลา เช้า กลางวัน และเยน็ มีลกั ษณะและปริมาณแตกต่าง กันหรือไม่ อย่างไร
และพบเมฆชนดิ ใดมากท่ีสดุ
.................................................................................. ............................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................. ............................................................................................
.................................................................................. ............................................................................................
4. จากกจิ กรรมสรุปไดว้ ่าอยา่ งไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................. ............................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................. ............................................................................................
.................................................................................. ............................................................................................

33

เมฆและฝน
นำ้ ในธรรมชาตทิ ำให้เกิดปรากฏการณธ์ รรมชาติบางอย่าง เช่น เมฆ หมอก ฝน น้ำค้าง ลกู เหบ็ และหมิ ะ
เมฆ (cloud) เมฆเกิดจากการรวมตวั ของไอน้ำในอากาศเกาะกลุ่มจับตัวกนั เปน็ ละอองน้ำลอยอยใู่ นระดับสูง
เมฆในแตล่ ะวนั จะมีปริมาณไม่เทา่ กันขึน้ กบั สภาพบรรยากาศในแตล่ ะวนั

ตาราง ลกั ษณะของเมฆชนิดต่าง ๆ

ชือ่ เมฆ ลักษณะของเมฆ
สเตรโตควิ มูลัส สเี ทามีลักษณะอ่อนนุ่มและนูนออกเปน็ สัน เมือ่ รวมกันจะเป็นคล่นื สว่ นมากไมม่ ีฝน
นมิ โบสเตรตัส
สีเทาดำ ไม่เปน็ รูปร่าง ฐานตำ่ ใกล้พน้ื ดนิ ไม่เปน็ ระเบยี บ คลา้ ยผา้ ขรี้ ิ้ว
ควิ มลู สั
คิวมูโลนิมบสั หนา ก่อตวั ในทางตงั้ ไมเ่ หน็ แสงอาทิตยห์ รือแสงจนั ทร์
เปน็ เมฆหนา มีฟา้ แลบฟ้ารอ้ ง ทบึ มืด มรี ูปท่ัง
เซอร์รัส บาง ๆ ละเอียดสีขาวและฝอยหรือปยุ คล้ายขนนก อาจมีวงแสง โปรง่ แสง
เซอร์โรสเตรตัส บาง ๆ โปร่งแสงเหมือนม่าน มสี ีขาวหรือนำ้ เงินจาง อาจมีวงแสงได้
เซอร์โรควิ มลู สั บางๆ สีขาวเป็นก้อนเล็ก ๆ เหมอื นคลน่ื และเกลด็ โปรง่ และมองเห็น ดวงอาทิตย์
หรือดวงจนั ทรไ์ ด้
อัลโตควิ มลู สั สีขาว บางคร้ังสเี ทา มีลกั ษณะเป็นก้อนกลมใหญ่และแบน มกี ารจดั ตัวกันเปน็ แถว
ๆ หรอื คลนื่ อาจมีแสงทรงกลม
อัลโตสเตรตัส มา่ นสีเทาและสีฟ้าแผ่เป็นบรเิ วณกว้าง มองดูเรียบเป็นปยุ หรือฝอยละเอยี ด อาจมี
แสงทรงกลด
สเตรตัส เหมอื นหมอกแต่อยสู่ งู จากพื้นดินเปน็ ช้ันและแผน่ มสี เี ทา มองไมเ่ หน็ ดวงอาทิตย์
หรือดวงจันทร์

34

ตารางการแปลผลปริมาณเมฆปกคลุมจากค่าประมาณปริมาณเมฆปกคลุมที่ตรวจวดั

ปริมาณเมฆปกคลมุ ค่าประมาณปริมาณเมฆปกคลุมของพน้ื ที่ทั้งหมด
ไมม่ ีเมฆ ท้องฟ้าไม่มีเมฆปกคลุม หรือไม่สามารถมองเห็นเมฆได้

(No clouds) ปรมิ าณเมฆปกคลุมท้องฟ้าน้อยกว่า 10%
ท้องฟ้าแจ่มใส (Clear clouds) ปรมิ าณเมฆปกคลมุ ท้องฟ้า 10% - 25%
เมฆบางส่วน (Isolated clouds) ปรมิ าณเมฆปกคลมุ ท้องฟ้า 25% - 50%

เมฆกระจดั กระจาย ปรมิ าณเมฆปกคลุมท้องฟา้ 50% - 90%
(Scattered clouds) เมฆปกคลมุ ท้องฟา้ มากกวา่ 90%
เมฆเป็นหยอ่ มๆ (Broken clouds)
เมฆครม้ึ (Overcast clouds)

ฝน (rain) เป็นหยาดนำ้ ฟา้ ชนิดหนงึ่ ท่ี
อยู่ในสถานะของเหลว เกิดจากหยด
นำ้ ทีร่ วมกันเป็นเมฆมีขนาดใหญข่ ้นึ
เรอื่ ยๆ จนอากาศอมุ้ ไว้ไม่ได้จึงตกลง
มาเป็นฝนฝนแบ่งออกเป็นฝน ละออง
ฝน ฝนซู่ พายฝุ นฟ้าคะนอง ลูกเหบ็

การวดั ปรมิ าณน้ำฝนจะใช้เครื่องมือวดั ปรมิ าณฝนที่เรยี กว่า rain gauge ซง่ึ ประกอบด้วยกระบอก
ดา้ นนอกทำด้วยโลหะ กระบอกดา้ นในทำด้วยแก้วหรือโลหะสำหรบั เกบ็ น้ำฝน ด้านบนมีกรวยสำรองรับนำ้ ฝน
ให้ไหลลงถว้ ยหรอื ขวดแกว้ ดา้ นลา่ ง ควรวางเครือ่ งมือวดั ปริมาณน้ำฝนไว้ในที่โลง่ หา่ งจากอาคารและต้นไม้ และ
ต้ังใหส้ งู จากพื้นดนิ ประมาณคร่ึงเมตร

ภาพที่ 8 อปุ กรณ์วัดนำ้ ฝน

ที่มา: https://shorturl.asia/v5stP

35

เกณฑ์ปริมาณฝนรายวัน ปรมิ าณฝนทีต่ รวจวดั ได้
ปริมาณฝน 0.1 มิลลิเมตร ถึง 10.0 มิลลเิ มตร
10.1 มลิ ลิเมตร ถงึ 35.0 มิลลิเมตร
ฝนเล็กน้อย (Light Rain) 35.1 มลิ ลิเมตร ถึง 90.0 มิลลิเมตร
ฝนปานกลาง (Moderate Rain) 90.1 มลิ ลเิ มตร ขนึ้ ไป
ฝนหนกั (Heavy Rain)
ฝนหนักมาก (Very Heavy Rain)

เกณฑ์ปริมาณฝนเพอ่ื เตือนภัย
เกณฑ์การเตือนภัยดนิ ถล่มและนำ้ ป่าไหลหลากในพื้นที่เสี่ยงภัยสามารถใช้ปริมาณฝนเปน็ เกณฑห์ น่ึงใน

การเตือนภยั หากปรมิ าณฝนตกเกินกว่า 100 มลิ ลเิ มตรต่อวัน จะถือว่าอยู่ในระดับเสยี่ งภัยตอ่ การเกดิ ดินถล่มและ
น้ำป่าไหลหลาก
ท่มี า : กลุม่ วางแผนการจัดการทดี่ ินในพื้นทีเ่ สย่ี งภัยทางการเกษตร , กรมพัฒนาทดี่ นิ

ขนาดละอองน้ำและหยดนำ้
ละอองน้ำในเมฆมขี นาดเส้นผา่ นศูนย์กลางประมาณ 20 ไมโครเมตร หยดน้ำฝนมีเสน้ ผ่านศนู ยก์ ลาง

ประมาณ 2,000 ไมโครเมตร

ร่วม กนั คดิ 5

1.เหตุใดเมฆทอ่ี ยรู่ ะดับสงู จงึ ประกอบไปดว้ ยผลึกนำ้ แขง็ เกือบทั้งหมด
..............................................................................................................................................................................
2.ในวันท่ปี ริมาณไอนำ้ ในอากาศสงู เมฆท่ีพบนา่ จะมลี ักษณะอยา่ งไร
..............................................................................................................................................................................
3. ในวันที่มลี มแรง ปริมาณเมฆปกคลุมน่าจะเปน็ อย่างไร
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4.เหตุใดจงึ บอกปริมาณฝนโดยใชห้ นว่ ยวดั ความยาว เชน่ มลิ ลเิ มตร
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................. ............................................................................................

36
5. จากภาพ ปรมิ าณฝนเฉลีย่ รายเดือนของประเทศไทยมีค่ามากทส่ี ุดและน้อยท่ีสดุ มีค่าเทา่ ใดและตรงกบั เดอื น
อะไร เหตใุ ดจงึ เปน็ เชน่ น้นั

ภาพ ปริมาณฝนเฉลย่ี รายเดือนของประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2524 -2553
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
................................................................................................................... ...........................................................
6. จากภาพ ปริมาณฝนเฉลี่ยมากท่สี ดุ และน้อยทสี่ ุดในรอบปเี กดิ ในภาคใด เหตุใดจงึ เป็นเชน่ นน้ั

ภาพ ปริมาณฝนเฉล่ียรายภมู ิภาคของประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2524 -2553
ท่ีมา : กรมอุตุนยิ มวทิ ยา, 2560

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
................................................................................................................... ...........................................................
..............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................... .....................
7.ปัจจัยใดบา้ งทม่ี ีผลต่อปริมาณฝน
..............................................................................................................................................................................

37
8. พนื้ ท่ีทน่ี กั เรียนอาศยั อยู่มีปริมาณฝนมากทีส่ ุดในชว่ งเดอื นใด เหตุใดจึงเปน็ เช่นนนั้
..............................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................... .....................

ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยน้อยท่ีสุดในรอบปี คือ ภาคเหนือ เพราะเป็นพ้ืนที่อยู่ห่างทะเล ทำให้มีความช้ืนใน
อากาศต่ำและเกิดเมฆฝนได้ยาก รวมทั้งได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้น้อย จึงทำให้เกิดฝนน้อยกว่า
ภาคอื่น ๆ ถึงแม้ภาคเหนือจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมะวันออกเฉียงเหนือแต่มรสุมดังกล่าวเป็นมรสุมท่ีพัดพามา
จากพื้นทวปี จึงไมไ่ ด้นำความช้นื มาดว้ ย

เร่ืองที่ 6 การพยากรณอ์ ากาศ

ภาพท่ี 9 ภาพระบบเกบ็ ขอ้ มลู ลมฟา้ อากาศ
ที่มา หนังสอื แบบเรยี นวทิ ยาศาสตร์ ม.1 เลม่ 2 สสวท

ภาพนำเรื่อง คือ ภาพกราฟฟกิ แสดงระบบเกบ็
ข้อมูลลมฟ้าอากาศ ครอบคลุมทกุ แหลง่ เชน่ การเกบ็
ข้อมูลภาคพื้นดิน ภาคอากาศ และภาคพืน้ นำ้

38

ทบทวนความร้กู ่อนเรยี น 6

เขยี นเคร่ืองหมาย  หน้าขอ้ ความทเี่ ปน็ องค์ประกอบของลมฟา้ อากาศ
อณุ หภูมิอากาศ  ความกดอากาศ  ความช้นื  ปริมาณฝ่นุ

กจิ กรรม สืบเสาะ คน้ หา 7 กิจกรรมที่ 7 การพยากรณ์อากาศทำไดอ้ ยา่ งไร

จุดประสงค์ :

รวบรวมขอ้ มลู และวเิ คราะห์ความสมั พันธ์ระหว่างองค์ประกอบของลมฟา้ อากาศเพ่ือพยากรณอ์ ากาศอย่างงา่ ย

วสั ดแุ ละอุปกรณ์

ข้อมลู องคป์ ระกอบของลมฟ้าอากาศ 7 วัน

วธิ ีการดำเนินกิจกรรม

1. รวบรวมข้อมูลองค์ประกอบลมฟ้าอากาศย้อนหลังเป็นเวลา 6 วัน จากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น เว็บไซต์กรม

อตุ ุนยิ มวทิ ยา และเวบ็ ไซตอ์ ่ืนๆ

2. นำขอ้ มลู ทร่ี วบรวมได้ตง้ั แตว่ ันท่ี 1-6 มาจัดกระทำในรูปแบบตา่ งๆเชน่ กราฟเสน้ แผนภูมิแท่ง ตาราง

และรูปแบบอน่ื ๆ ตามความเหมาะสมโดยอาจใช้โปรแกรมสำเรจ็ รปู ต่างๆ

3. วเิ คราะหแ์ นวโน้มการเปลย่ี นแปลงความสมั พันธข์ ององค์ประกอบลมฟ้าอากาศจากข้อมลู ท่ีไดจ้ ัดกระทำ เพื่อ

สร้างคำพยากรณ์อากาศในวันถัดไป โดยพยากรณ์อุณหภูมิอากาศต่ำสุด อุณหภูมิอากาศสงู สุด และปริมาณฝน

จากนัน้ นำเสนอการพยากรณอ์ ากาศต่อชนั้ เรยี น

4. ตรวจสอบความถูกต้องของคำพยากรณ์กับส่ิงที่เกิดข้ึนจริงในวันที่ 7 โดยเปรียบเทียบพยากรณ์อากาศ

อุณหภูมิอากาศต่ำสุด อุณหภูมิอากาศสูงสุด และปริมาณฝนกับข้อมูลลมฟ้าอากาศท่ีสืบค้นเพ่ิมเติมจาก

แหล่งข้อมูลเดียวกันจากน้ันอภิปรายร่วมกันในชั้นเรยี นเก่ียวกับปจั จัยท่ีส่งผลต่อความแม่นยำของการพยากรณ์

อากาศ

ผลการทำกิจกรรม

ตัวอย่างที่ 1

ขอ้ มูลอุณหภูมติ ่ำสุด อุณหภูมิสูงสดุ ปริมาณฝน และความเร็วลม ระหว่างวันท่ี 21 - 26 ก.พ. 2560

ในพนื้ ทีห่ นึง่ แสดงดังตาราง

การวเิ คราะห์

คาดวา่ ในวนั ท่ี 27 ก.พ. 2560 อณุ หภมู อิ ากาศตำ่ สดุ จะลดลงเปน็ 24.0 องศาเซลเซยี สอุณหภูมิอากาศ

สูงสดุ เปน็ 30.0 องศาเซลเซียส ปรมิ าณนำ้ ฝนจะเพิ่มมากขนึ้ เปน็ 3 มิลลเิ มตร

ขอ้ มลู จริง ข้อมูลอณุ หภูมิต่ำสดุ อณุ หภมู ิสูงสดุ ปริมาณฝน และความเรว็ ลม ในวันที่ 27 ก.พ. 2560 แสดงดงั

ตาราง

วันท่ี อุณหภูมิต่ำสดุ อณุ หภมู สิ ูงสดุ ปริมาณนำ้ ฝน 39
(ºC) (ºC) (mm.)
21/2/2560 23.5 31.8 0 ความเร็วลม
22/2/2560 23.2 31.5 0 (km/hr)
23/2/2560 24.2 31.7 0
24/2/2560 24.0 32.1 0 22.2
25/2/2560 23.8 31.6 0.8 24.1
26/2/2560 25.0 31.5 2.5 24.1
27/2/2560 24.4 30.8 3.1 22.2
24.1
37.1
44.5

ขอ้ มูลสภาพลมฟา้ อากาศที่สืบค้นได้ ในพื้นท่ีหนงึ่ ระหวา่ งวนั ที่ 23 ก.พ.- 1 มี.ค. 2560 แสดงดงั ตาราง

อณุ หภูมิอากาศ (˚C) ลมสูงสุด ปริมาณ
ฝน
วันเดือนปี สูงสุด ตำ่ สดุ ทศิ ทาง ความเร็ว mm. หมายเหตุ

(มุมทิศ) (km/hr) 0 ท้องฟ้ามีเมฆเลก็ น้อย-ส่วนมาก
0 ทอ้ งฟา้ มีเมฆบางสว่ น
1/3/60 26.6 36.5 120 7.4 0 ท้องฟา้ มเี มฆบางส่วน
0
28/2/60 26.2 35.8 90 20.4 0 ท้องฟา้ มีเมฆเลก็ น้อย-ส่วนมาก
0 ทอ้ งฟา้ มเี มฆเลก็ น้อย-สว่ นมาก
27/2/60 27.0 35.0 120 7.4 0 ท้องฟ้ามเี มฆเลก็ น้อย-ส่วนมาก
ท้องฟ้ามีเมฆเลก็ น้อย-ปานกลาง
26/2/60 26.8 34.3 240 7.4

25/2/60 27.3 34.8 120 13.0

24/2/60 27.2 35.0 150 9.3

23/2/60 27.0 35.8 140 9.3

นำข้อมลู มาจดั กระทำ

40

การวิเคราะห์ข้อมลู อุณหภูมิต่ำสุด ย้อนหลงั 6 วนั พบวา่ อุณหภูมิมีแนวโน้มเปล่ียนแปลงลดต่ำลงก่อนท่ี
จะเพ่ิมขึน้ ข้อมูลอณุ หภมู ิสงู สุด ยอ้ นหลัง 6 วนั พบวา่ อณุ หภมู มิ ีแนวโนม้ เปลีย่ นแปลงลดตำ่ ลงกอ่ นที่จะเพิม่ ขึ้น
ขอ้ มลู ปริมาณนำ้ ฝนพบว่า ตลอดชว่ ง 6 วนั ทผ่ี ่านมาไม่มีการเกิดฝนตก ขอ้ มูลความเรว็ ลมพบวา่ ลมมคี วามเร็ว
เพิ่มข้ึนสูงกอ่ นลดลง ดังน้ันในวนั ที่ 2 มนี าคม คาดวา่ อุณหภูมอิ ากาศตำ่ และสงู สดุ ของวันจะมคี ่าเพ่มิ ขน้ึ เป็น 27
และ 37 องศาเซลเซียสตามลำดับ และจะไม่มีฝนตกในวันน้ัน
ขอ้ มูลจรงิ สภาพอากาศพ้ืนทเี่ ดียวกนั ของวันท่ี 2 ม.ี ค. 2560

เพ่ือให้มีขอ้ มลู เพียงพอท่ีจะดูแนวโน้มของสภาพอากาศ โดยท่ีลักษณะอากาศยังไม่มีการเปลยี่ นแปลงไปมากนักจึง
ใชข้ ้อมลู ประมาน 6 วัน

คำถามทา้ ยกจิ กรรม
1. กจิ กรรมนม้ี ีข้นั ตอนในการพยากรณอ์ ากาศอย่างไร
................................................................................................ ..............................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. จากกิจกรรมนี้ เหตุใดจึงต้องเก็บรวบรวมข้อมลู องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ 6 วนั เพ่ือใชใ้ นการพยากรณ์
อากาศ
........................................................................................................ ......................................................................
.................................................................................. ............................................................................................
3. คำพยากรณ์ อุณหภูมิสงู สุด อุณหภูมิต่ำสดุ และปรมิ าณฝน ตรงกบั ขอ้ เท็จจริงทเ่ี กดิ ข้ึนในวันพยากรณ์หรือไม่
อย่างไร
..............................................................................................................................................................................
4. จากกิจกรรมสรุปได้ว่าอย่างไร
..................................................................................................... .........................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................ ......................................................................
.................................................................................. ............................................................................................
➢การพยากรณ์อากาศ หมายถึง การคาดหมายสภาวะของลมฟ้าอากาศรวมทั้งปรากฏการณ์ธรรมชาติท่ีจะ
เกิดขึ้นล่วงหน้า โดยใช้สภาวะอากาศ ปัจจุบันเป็นข้อมูลเริ่มต้นหน่วยงานของประเทศไทยที่ทำหน้าที่ในการตรวจ
สภาพอากาศและปรากฏการณ์ธรรมชาติเพื่อการพยากรณ์อากาศและเตือนภัยท่ีเกิดจากธรรมชาติ คือ กรม
อุตุนิยมวทิ ยา
ขน้ั ตอนการพยากรณ์อากาศ มีดงั นี้
1. ตรวจสภาพอากาศ โดยสถานตี รวจอากาศบนบกหรือทะเล จะตรวจวัดอณุ หภูมิของอากาศ ความชนื้ ความกด
อากาศ ลม เมฆ หยาดนำ้ ฟ้า ทศั นวิสยั บอลลูนตรวจสภาพอากาศจะนำเคร่อื งมือทจี่ ะทำการวดั อุณหภูมิ ความกด
อากาศ และความชน้ื ไปสชู่ ัน้ โทรโพสเฟยี รแ์ ละสตราโตสเฟียร์ ดาวเทียมตรวจสภาพอากาศจะอย่ใู นช้นั เอกโซส
เฟยี ร์ และสามารถถ่ายภาพพื้นผิวโลก เมฆ และพายุ ส่งข้อมูลมายังสถานีรวบรวมข้อมูลได้
2. ส่อื สารข้อมลู ท่ไี ดจ้ ากการตรวจสภาพอากาศจากสถานีต่างๆ ไปยังศนู ย์พยากรณอ์ ากาศ
3. เขียนแผนที่อากาศ วิเคราะห์ข้อมูล และพยากรณ์อากาศ โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยในการคำนวณแล้วส่ง
ข้อมลู การพยากรณ์อากาศไปยังหนว่ ยงานสอ่ื สารมวลชน

41
การอา่ นแผนท่อี ากาศ

แผนท่อี ากาศ คือ แผนท่ีทแ่ี สดงองค์ประกอบทางอตุ นุ ิยมวิทยา ณ เวลาใดเวลาหน่งึ ขอ้ มูลต่างๆ ใน
แผนทีอ่ ากาศไดร้ บั มาจากสถานีตรวจอากาศ แลว้ นำข้อมลู มาเขียนเปน็ ตวั เลข รหสั และสัญลกั ษณ์ต่างๆ ทาง
อตุ นุ ิยมวทิ ยา ข้อมูลท่อี ยใู่ นแผนท่อี ากาศจะนำไปใชใ้ นการคาดหมายการเปลี่ยนแปลงลักษณะอากาศที่จะเกิด
ขนึ้
ตวั อยา่ งสญั ลกั ษณท์ างอตุ นุ ิยมวิทยาบนแผนท่ีอากาศ มีดงั นี้

1. เสน้ โคง้ ท่ีเช่ือมตอ่ ระหวา่ งบรเิ วณท่มี คี วามกดอากาศเทา่ กนั เรยี กว่า เสน้ ไอโซบาร์ (Isobar)
ตวั เลขบนเสน้ ไอโซบารแ์ สดงคา่ ความกดอากาศท่ีอา่ นได้ ซง่ึ อาจอย่ใู นหน่วยมิลลิบาร์ หรือนิว้ ของปรอท

2. เสน้ โคง้ ท่ีเช่ือมต่อระหว่างบรเิ วณท่มี อี ณุ หภมู ิของอากาศเท่ากนั เรียกวา่ เสน้ ไอโซเทอรม์
(Isotherm) คา่ อณุ หภมู ิอาจบอกในหน่วยองศาเซลเซียส หรือองศาฟาเรนไฮต์ หรือทงั้ สองหนว่ ย

3. อกั ษร H คือ ศนู ยก์ ลางของบรเิ วณท่มี คี วามกดอากาศสงู
4. อกั ษร L คอื ศนู ยก์ ลางของบรเิ วณท่มี คี วามกดอากาศต่า

ภาพที่ 10 ตวั อยา่ งแผนท่ีอากาศ
ที่มา : https://shorturl.asia/uIHy3

42

ความสำคัญของการพยากรณอ์ ากาศ
ช่วยให้บุคคลทุกอาชีพมีการเตรียมพร้อมที่จะป้องกันแก้ไขภัยอันตรายหรือความสูญเสียอันเกิดจาก

ปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศได้

ร่วม กนั คดิ 6

1.การทีส่ ถานีอตุ นุ ยิ มวิทยามีการใชเ้ ครือ่ งมือตรวจวดั องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ จัดวา่ อยูใ่ นข้นั ตอนใดของ
การพยากรณ์อากาศ
........................................................................................................ ......................................................................
2.บุคคลกลมุ่ ใดทคี่ วรติดตามข่าวสารการพยากรณอ์ ากาศอย่างสมำ่ เสมอ เพราะเหตใุ ด
........................................................................................................ ......................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
........................................................................................................ ......................................................................
........................................................................................................ ......................................................................

ขนั้ นาปัญญาพฒั นาความคิด 43

คิดแบบนกั วทิ ย์

กิจกรรม ฝึ กทา : ฝึ กสร้าง

ให้นกั เรียนนำเสนอผังมโนทัศน์สรปุ องค์ความรใู้ นบทเรียนลม
ฟ้าอากาศรอบตัว


Click to View FlipBook Version