The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดกิจกรรม3 ลมฟ้าอากาศรอบตัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2022-10-22 05:36:05

ชุดกิจกรรม3 ลมฟ้าอากาศรอบตัว

ชุดกิจกรรม3 ลมฟ้าอากาศรอบตัว

44

กิจกรรม คิดดี ผลงานดี มีความสขุ

ขน้ั นาปัญญาพฒั นาตนเอง

จากสถานการณ์ “สำรวจความแรงลมและทิศทางลมภายในโรงเรียน” (10 คะแนน)
จุดประสงค์ ออกแบบและสรา้ งอุปกรณ์ในการตรวจวดั ความแรงลมและทิศทางลม
วสั ดแุ ละอุปกรณ์
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ผลการทำกิจกรรม
ภาพร่าง

รูปชิ้นงาน

องค์ความรูแ้ ละทักษะทไ่ี ด้จากกิจกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


45

เกณฑ์การประเมิน ดีมาก (5 คะแนน) ดี (3 คะแนน) พอใช้ (1 คะแนน)
รายการประเมิน
นำเสนอแนวทางใน นำเสนอแนวทางในการ นำเสนอแนวทางในการ
การนำเสนอแบบรา่ ง
การออกแบบโครงสรา้ ง ออกแบบโครงสร้าง การ ออกแบบโครงสร้าง การ
ประสิทธิภาพอุปกรณ์
ในการตรวจวดั ความ การเลือกใช้วัสดอุ ปุ กรณ์ เลือกใชว้ สั ดุอปุ กรณโ์ ดย เลอื กใชว้ ัสดุอุปกรณโ์ ดย
แรงลมและทศิ ทางลม
การปรบั ปรุงช้ินงาน โดยใชค้ วามรู้เก่ยี วกบั ใช้ความรเู้ ก่ียวกบั การ ใช้ความรูเ้ กี่ยวกบั การ

การเคลอ่ื นทข่ี องลม เคล่ือนที่ของลมเนื่องจาก เคลือ่ นที่ของลมเน่อื งจาก

เน่ืองจากความแตกตา่ ง ความแตกตา่ งของความดัน ความแตกตา่ งของความ

ของความดนั อากาศ อากาศได้ถกู ต้องแตอ่ าจจะ ดนั อากาศได้ถูกตอ้ งบาง

ไม่ครบถ้วน ส่วนและอาจมีแนวคิด

คลาดเคลื่อน

อุปกรณ์ในการตรวจวัด อปุ กรณ์ในการตรวจวดั ลม อุปกรณ์ในการตรวจวัดลม

ลมเปลีย่ นแปลงไปตาม เปลยี่ นแปลงไปตามทิศทาง เปลยี่ นแปลงไปตาม

ทศิ ทางตามความแรงลม ตามความแรงลมไดเ้ ปน็ ส่วน ทิศทางตามความแรงลม

ใหญ่ ไดบ้ างคร้ัง

วิเคราะหข์ ้อบกพร่องใน วเิ คราะห์ข้อบกพร่องใน วิเคราะห์ข้อบกพรอ่ งใน

ชน้ิ งานได้ พร้อมเสนอวธิ ี ชน้ิ งานได้ พร้อมเสนอ ชิน้ งานได้ แต่ไม่นำเสนอ

แก้ไขช้นิ งานโดยใชค้ วาม วธิ ีแก้ไขช้ินงานโดยใช้ความรู้ วธิ แี กไ้ ขชิน้ งาน

รเู้ กีย่ วกับความแตกต่าง เก่ียวกบั ความแตกตา่ งของ

ของความดันอากาศหรือ ความดันอากาศหรือความรู้

ความรู้วทิ ยาศาสตร์อน่ื วทิ ยาศาสตร์อ่นื ๆ ได้โดย

ๆ ไดอ้ ย่างมีเหตุผลได้ การช้ีแนะของครู

ดว้ ยตนเอง


46

แบบประเมินตนเองหลงั เรยี น

คำช้ีแจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ ใช้เวลา 10 นาที

1. ข้อใดเปน็ สาเหตุหลักท่ที ำให้รงั สอี ัลตราไวโอเลตจากดวงอาทติ ย์ผา่ นมายังพนื้ ผวิ โลกได้นอ้ ยลง

ก. เมฆในชน้ั โทรโพสเฟยี ร์ ชว่ ยสะท้อนรังสีอัตราไวโอเลต

ข. โอโซนในชัน้ สตราโตสเฟียร์ ช่วยดดู กลนื รงั สอี ัตราไวโอเลต

ค. แก๊สออกซเิ จนในชัน้ โทรโพสเฟียร์ ช่วยดดู กลนื รงั สอี ตั ราไวโอเลต

ง. อากาศท่แี ตกตวั เป็นประจใุ นชั้นเทอร์โมสเฟยี ร์ ช่วยสะท้อนรังสอี ตั ราไวโอเลต

2. บรรยากาศช้ันใดที่มีแก๊สไนโตรเจนหนาแนน่ ทส่ี ดุ

ก. มีโซสเฟยี ร์ ข. เทอร์โมสเฟยี ร์ ค. โทรโพสเฟยี ร์ ง. สตราโตสเฟยี ร์

3. “ผิวโลกทมี่ ลี ักษณะแตกตา่ งกนั สามารถดูดกลนื และสะทอ้ นรังสจี ากดวงอาทิตยไ์ ด้แตกต่างกนั ”ข้อใดไม่ใช่

ปรากฏการณ์ท่ีเกดิ จากคำกล่าว ข้างต้น

ก. ความแตกต่างของอุณหภูมิอากาศในบรเิ วณต่าง ๆ

ข. ความแตกตา่ งของความชื้นในบรเิ วณต่าง ๆ

ค. ปรากฏการณเ์ รือนกระจก ง. การเกดิ ลม

4. สถานการณ์ใดท่ีแสดงว่าอากาศมีความดนั

ก. หายใจไม่ออกเม่ืออยู่ในทสี่ ูง ข. การดูดของเหลวโดยใชห้ ลอดกาแฟ

ค. เม่อื โยนของข้ึนไปในอากาศ ของจะตกลงสู่พ้นื เสมอ

ง. บรรยากาศยังคงห่อหุม้ โลกไมห่ ลุดลอยออกไป

5. นักเรียน 4 คน ทำการทดลอง ณ สถานท่ีต่างกนั โดยนำเทอร์มอมิเตอร์ 2 อนั อนั แรกหุ้มดว้ ยสำลีชบุ น้ำ

อีกอนั หนึ่งไมห่ ุ้ม นำเทอร์มอมิเตอรท์ งั้ คู่ไปวางไวใ้ นสถานท่ีต่างกนั 4 แหง่ หลงั จากนนั้ 3 นาที อ่านอุณหภมู ขิ อง

เทอร์มอมเิ ตอรท์ ้ังสองไดผ้ ลตามตาราง

สถานทท่ี ดลอง อณุ หภูมิจากเทอร์มอมเิ ตอร์ไม่หุม้ อณุ หภูมจิ ากเทอร์มอมิเตอร์

สำลชี ุบนำ้ ( ํC) หุ้มสำลีชุบน้ำ ( ํC)

A 26.0 25.0

B 26.0 24.0

C 28.0 26.5

D 28.0 26.0

จากข้อมลู แสดงว่าอากาศที่ใด มีปริมาณไอน้ำใกล้ปรมิ าณไอนำ้ อ่ิมตวั มากทีส่ ุด

ก. A ข. B ค. C ง. D

6. นำเครอื่ งวดั ปรมิ าณฝน 2 อัน ซงึ่ มีขนาดตา่ งกัน วดั ปริมาณฝนในบรเิ วณเดยี วกัน เคร่ืองวัดปริมาณฝน

อันหนงึ่ วัดปรมิ าณฝนได้ ดงั ภาพ

เครอ่ื งวดั ปริมาณฝนอีกอนั หน่ึงซึง่ มีขนาดเสน้ ผ่าศนู ย์กลางแคบกว่าจะวัดปรมิ าณฝนได้ตามภาพใด


47
ก. ข. ค. ง.

คำพยากรณ์อากาศประจำวัน ใหข้ อ้ มลู ดังน้ี

ลมตะวันตกเฉียงเหนือในระดับบนยงั คงพัดผา่ นเทือกเขาหิมาลยั เข้ามาปกคลมุ ภาคเหนอื และมลี ม

ตะวันออกพดั นำความช้ืนจากทะเลจีนใต้เข้ามาปกคลุมภาคใต้

7. ขอ้ มลู จากคำพยากรณ์ดังกลา่ ว ไม่ควรเกดิ ลักษณะอากาศแบบใด

ก. ภาคเหนอื อุณหภมู ิสูงขึน้ ข. ภาคเหนอื ลมแรง

ค. ภาคใต้มเี มฆมาก ง. ภาคใตท้ ะเลมีคลืน่ สูง

คะแนนเต็ม 7 คะแนน
ได้ ........... คะแนน


เอกสารอ้างองิ
ศรลี กั ษณ์ ผลวัฒนะ และ คณะ . (2551). ส่อื การเรยี นรแู้ ละเสรมิ สรา้ งทกั ษะตามมาตรฐานและ

ตวั ชว้ี ัดชัน้ ปีกลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ เล่ม 1. กรุงเทพฯ.นิยมวิทยา.
สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ,สถาบัน. คูม่ อื ครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ 1 ชั้น

มัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1. (2553). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพค์ รุ ุสภาลาดพรา้ ว.
สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี , (2553). สถาบนั .หนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ 1 ชน้ั

มัธยมศึกษา ปีท่ี 1 เล่ม 1 .กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพค์ ุรุสภาลาดพร้าว.
ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี , (2561). สถาบนั .หนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ เล่ม2 ช้ัน

มธั ยมศึกษา ปที ี่ 1 เลม่ 2 .กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ครุ ุสภาลาดพรา้ ว.


Click to View FlipBook Version