The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

3.ชุดกิจกรรมกระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ บทที่ 1 ลมฟ้าอากาศรอบตัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2023-10-12 22:31:08

3.ชุดกิจกรรมกระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ บทที่ 1 ลมฟ้าอากาศรอบตัว

3.ชุดกิจกรรมกระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ บทที่ 1 ลมฟ้าอากาศรอบตัว

บทนำ ชุดกิจกรรมที่ผู้เรียนจะได้ศึกษานี้เรียกว่าชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ หน่วยกระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ บทที่ 1 ลมฟ้าอากาศรอบตัว เป็นสื่อวิทยาศาสตร์ที่เน้นให้ผู้เรียน มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างมีระบบ พบคำตอบของปัญหาหรือสถานการณ์นั้นด้วยตนเอง ส่งผล ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ได้คิดและลงมือปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ และ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด นักเรียน ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการเนื้อหาส่วนใหญ่เน้นการให้นักเรียนสามารถ นำไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันเพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาได้ด้วยตนเองจึงได้เรียบเรียง เนื้อหาให้กระชับและน่าสนใจและนอกจากนี้ยังได้แทรกรูปภาพและคำถามชวนคิดไว้ตลอดทำให้ไม่เบื่อในการ อ่านและทำกิจกรรม ผู้จัดทำชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารชุดนี้จะมี ประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาตามหลักสูตร ผู้เรียนมีความรู้และความสามารถในการสืบค้น การจัดระบบสิ่งที่ เรียนรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อสร้างองค์ความรู้ ได้เป็นอย่างดีสามารถนำความรู้ที่ได้จากการ เรียนรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้และเป็นประโยชน์สำหรับผู้ที่สนใจใช้เป็นแนวทาง ในการจัดกระบวนการ เรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ได้ต่อไป ........................................... ( นางสาวอโนชา อุทุมสกุลรัตน์ ) ผู้จัดทำชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์


สารบัญ หน้า บทนำ................................................................................................................................ สารบัญ............................................................................................................................. คำชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรม................................................................................................ ก แบบประเมินตนเองก่อนเรียน........................................................................................... ข ขั้นพัฒนาปัญญา กิจกรรม ฝึกอ่าน : ฝึกคิด 1 หน่วยกระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศบทที่ 1 ลมฟ้าอากาศรอบตัว..................... 1 เรื่องที่ 1 บรรยากาศของเรา................................................................. 1 -ทบทวนความรู้ก่อนเรียน 1 …………………………………………… 1 -กิจกรรม สืบเสาะ ค้นหา 1 เรื่องบรรยากาศของโลกเป็น …… 3 อย่างไร……………..................................................................... -ร่วม กัน คิด 1…………………………………………………………… 5 เรื่องที่2 อุณหภูมิอากาศ....................................................................... 7 -ทบทวนความรู้ก่อนเรียน 2 …………………………………………… 7 -กิจกรรม สืบเสาะ ค้นหา 2 เรื่องอุณหภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง 8 อย่างไร เรื่องที่ 3 ความกดอากาศและลม........................................................... 11 -ทบทวนความรู้ก่อนเรียน 3 …………………………………………… 12 -กิจกรรม สืบเสาะ ค้นหา 3 เรื่องอากาศมีแรงกระทำต่อวัตถุ 12 หรือไม่อย่างไร……………....................................................... -กิจกรรม สืบเสาะ ค้นหา 4 เรื่องเหตุใดลมจึงเคลื่อนที่เร็วต่าง 17 กัน……………………………………………………………………………… -ร่วม กัน คิด 2…………………………………………………………… 20 เรื่องที่ 4 ความชื้น.................................................................................. 23 -ทบทวนความรู้ก่อนเรียน 4 …………………………………………… 23 -ร่วม กัน คิด 3…………………………………………………………… 24 -กิจกรรม สืบเสาะ ค้นหา 5 เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อความชื้น….. 25 สัมพัทธ์มีอะไรบ้าง…............................................................. -ร่วม กัน คิด 4…………………………………………………………… 29 เรื่องที่ 5 เมฆและฝน.............................................................................. 30 -ทบทวนความรู้ก่อนเรียน 5 …………………………………………… 31 -กิจกรรม สืบเสาะ ค้นหา 6 เรื่องเมฆที่เห็นเป็นอย่างไร………. 31 -ร่วม กัน คิด 5…………………………………………………………… 35 เรื่องที่ 6 การพยากรณ์อากาศ................................................................ 37 -ทบทวนความรู้ก่อนเรียน 6 …………………………………………… 38


สารบัญ(ต่อ) หน้า -กิจกรรม สืบเสาะ ค้นหา 7 เรื่องการพยากรณ์อากาศทำได้ 38 อย่างไร………………………………………………………………………. -ร่วม กัน คิด 6…………………………………………………………… 42 ขั้นนำปัญญาพัฒนาความคิด กิจกรรม ฝึกทำ : ฝึกสร้าง 43 ขั้นนำปัญญาพัฒนาตนเอง กิจกรรม คิดดี ผลงานดี มีความสุข 44 แบบประเมินตนเองหลังเรียน............................................................................................ 46 อ้างอิง............................................................................................................................ 48


1. สาระที่3 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้ง ผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม 2. มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วัด ว 3.2 ม.1/1 ,1/2, 1/3,1/4 , 1/5 3. วิธีเรียนรู้จากชุดกิจกรรมนี้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดนักเรียนควรปฏิบัติตาม คำชี้แจงต่อไปนี้ 1. ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์สองภาษาตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ เรื่อง ลมฟ้าอากาศรอบตัว ชุด นี้ ใช้เวลา 20 ชั่วโมง 2. ให้นักเรียนจัดกลุ่ม ๆ ละประมาณ 6 คน 3. ให้นักเรียนศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัดของชุดการเรียน 4. ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมในชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ โดยใช้ รูปแบบการเรียนรู้แบบโยนิโสมนสิการตามขั้นตอนดังนี้ 1. ขั้นพัฒนาปัญญา 2. ขั้นนำปัญญาพัฒนาความคิด 3. ขั้นนำปัญญาพัฒนาตนเอง 4. สาระสำคัญ บรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกเรานั้นมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาตั้งแต่เริ่มกำเนิดโลกจนกระทั่งปัจจุบัน บรรยากาศส่งผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม บรรยากาศมีสมบัติและองค์ประกอบแตกต่างกัน ไปตามระดับความสูงจากผิวโลก นักวิทยาศาสตร์ใช้เกณฑ์การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามความสูง แบ่งบรรยากาศเป็น 5 ชั้น ได้แก่ ชั้น โทรโพสเฟียร์ ชั้นสตราโตสเฟียร์ ชั้นมีโซสเฟียร์ ชั้นเทอร์โมสเฟียร์ และชั้นเอกโซสเฟียร์ ด้วยสมบัติและ องค์ประกอบ ทำให้บรรยากาศแต่ละชั้นเกิดปรากฏการณ์และส่งผลต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมแตกต่างกัน มนุษย์ดำรงชีวิตอยู่ภายใต้บรรยากาศชั้นโทรโพสเฟียร์ซึ่งเกิดสภาพลมฟ้าอากาศต่าง ๆ เช่น ลม เมฆ ฝน ฟ้า แลบ ฟ้าร้อง องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ *** ขอให้นักเรียนทุกคนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างมีความสุข *** คำชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ หน่วยกระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ บทที่ 1 ลมฟ้าอากาศรอบตัว ก


คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ใช้เวลา 10 นาที 1. ข้อใดเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ผ่านมายังพื้นผิวโลกได้น้อยลง ก. เมฆในชั้นโทรโพสเฟียร์ ช่วยสะท้อนรังสีอัตราไวโอเลต ข. โอโซนในชั้นสตราโตสเฟียร์ ช่วยดูดกลืนรังสีอัตราไวโอเลต ค. แก๊สออกซิเจนในชั้นโทรโพสเฟียร์ ช่วยดูดกลืนรังสีอัตราไวโอเลต ง. อากาศที่แตกตัวเป็นประจุในชั้นเทอร์โมสเฟียร์ ช่วยสะท้อนรังสีอัตราไวโอเลต 2. บรรยากาศชั้นใดที่มีแก๊สไนโตรเจนหนาแน่นที่สุด ก. มีโซสเฟียร์ ข. เทอร์โมสเฟียร์ ค. โทรโพสเฟียร์ ง. สตราโตสเฟียร์ 3. “ผิวโลกที่มีลักษณะแตกต่างกัน สามารถดูดกลืนและสะท้อนรังสีจากดวงอาทิตย์ได้แตกต่างกัน”ข้อใดไม่ใช่ ปรากฏการณ์ที่เกิดจากคำกล่าว ข้างต้น ก. ความแตกต่างของอุณหภูมิอากาศในบริเวณต่าง ๆ ข. ความแตกต่างของความชื้นในบริเวณต่าง ๆ ค. ปรากฏการณ์เรือนกระจก ง. การเกิดลม 4. สถานการณ์ใดที่แสดงว่าอากาศมีความดัน ก. หายใจไม่ออกเมื่ออยู่ในที่สูง ข. การดูดของเหลวโดยใช้หลอดกาแฟ ค. เมื่อโยนของขึ้นไปในอากาศ ของจะตกลงสู่พื้นเสมอ ง. บรรยากาศยังคงห่อหุ้มโลกไม่หลุดลอยออกไป 5. นักเรียน 4 คน ทำการทดลอง ณ สถานที่ต่างกัน โดยนำเทอร์มอมิเตอร์ 2 อัน อันแรกหุ้มด้วยสำลีชุบน้ำ อีกอันหนึ่งไม่หุ้ม นำเทอร์มอมิเตอร์ทั้งคู่ไปวางไว้ในสถานที่ต่างกัน 4 แห่ง หลังจากนั้น 3 นาที อ่านอุณหภูมิของ เทอร์มอมิเตอร์ทั้งสองได้ผลตามตาราง สถานที่ทดลอง อุณหภูมิจากเทอร์มอมิเตอร์ไม่หุ้ม สำลีชุบน้ำ ( ํC) อุณหภูมิจากเทอร์มอมิเตอร์ หุ้มสำลีชุบน้ำ ( ํC) A 26.0 25.0 B 26.0 24.0 C 28.0 26.5 D 28.0 26.0 จากข้อมูลแสดงว่าอากาศที่ใด มีปริมาณไอน้ำใกล้ปริมาณไอน้ำอิ่มตัวมากที่สุด ก. A ข. B ค. C ง. D 6. นำเครื่องวัดปริมาณฝน 2 อัน ซึ่งมีขนาดต่างกัน วัดปริมาณฝนในบริเวณเดียวกัน เครื่องวัดปริมาณฝน อันหนึ่งวัดปริมาณฝนได้ ดังภาพ แบบประเมินตนเองก่อนเรียน ข


เครื่องวัดปริมาณฝนอีกอันหนึ่งซึ่งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางแคบกว่าจะวัดปริมาณฝนได้ตามภาพใด ก. ข. ค. ง. คำพยากรณ์อากาศประจำวัน ให้ข้อมูลดังนี้ ลมตะวันตกเฉียงเหนือในระดับบนยังคงพัดผ่านเทือกเขาหิมาลัยเข้ามาปกคลุมภาคเหนือ และมีลม ตะวันออกพัดนำความชื้นจากทะเลจีนใต้เข้ามาปกคลุมภาคใต้ 7. ข้อมูลจากคำพยากรณ์ดังกล่าว ไม่ควรเกิดลักษณะอากาศแบบใด ก. ภาคเหนืออุณหภูมิสูงขึ้น ข. ภาคเหนือลมแรง ค. ภาคใต้มีเมฆมาก ง. ภาคใต้ทะเลมีคลื่นสูง คะแนนเต็ม 7 คะแนน ได้ ........... คะแนน


กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ บทที่ 1 ลมฟ้าอากาศรอบตัว เวลา 20 ชั่วโมง ภาพที่ 1 ชั้นบรรยากาศของโลก ที่มา หนังสือแบบเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 สสวท เขียนเครื่องหมาย หน้าข้อที่ถูกต้อง 1. องค์ประกอบทั่วไปของอากาศมีอะไรบ้าง แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ฝุ่นละออง แก๊สไนโตรเจน แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ น้ำ 2. อากาศมีประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์อย่างไรบ้าง ใช้ในการหายใจ ใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้า ใช้ในการสูบลมจักรยาน ช่วยให้เครื่องบินหรือเครื่องร่อนลอยได้ ขั้นพัฒนาปัญญา กิจกรรม ฝึกอ่าน : ฝึกคิด ทบทวนความรู้ก่อนเรียน 1 ภาพข้างต้นคือ คือ ภาพโลกและ บรรยากาศของโลกโดยปรากฏเมฆ ลักษณะต่าง ๆ และโมเลกุลของ อากาศสะท้อนแสงของดวงอาทิตย์ เรื่องที่ 1 บรรยากาศของเรา 1


โลกของเราเป็นดาวเคราะห์เพียงดวงเดียวในระบบสุริยะที่พบว่ามีอากาศห่อหุ้มหรือบรรยากาศ เหมาะสมต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ในขณะที่บรรยากาศของดาวศุกร์พบว่าองค์ประกอบหลักเป็นแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์และไม่พบว่ามีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ ดวงจันทร์ซึ่งเป็นบริวารของโลกพบว่าไม่มีบรรยากาศ ห่อหุ้มและไม่พบร่องรอยของสิ่งมีชีวิตดวงจันทร์ไททันซึ่งเป็นบริวารของดาวเสาร์มีบรรยากาศห่อหุ้มและมี องค์ประกอบของบรรยากาศส่วนใหญ่เป็นแก๊สไนโตรเจนเช่นเดียวกับโลก แต่พบว่ามีแก๊สออกซิเจนอยู่น้อยมาก และยังไม่พบร่องรอยของสิ่งมีชีวิตเช่นเดียวกัน บรรยากาศของโลกเป็นอย่างไรจึงเอื้อให้สิ่งมีชีวิตดำรง ชีวิตอยู่ได้ การค้นพบเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงชั้นบรรยากาศของโลกที่มีหลักฐานและน่าเชื่อถือมากที่สุดในปัจจุบัน เป็นดังนี้ ภาพที่ 2 การเกิดบรรยากาศของโลก ที่มา หนังสือแบบเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 สสวท ➢ เมื่อโลกเกิดขึ้นในช่วงแรกๆโลกไม่มีบรรยากาศห่อหุ้ม ➢ ก ารระเบิ ด ข อ งภู เข าไฟ บ น โลก ส่งผลให้ เกิ ด ไอ น้ ำ แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สแอมโมเนียเป็นองค์ประกอบของ บรรยากาศเริ่มแรกของโลก ➢ แบคทีเรียเกิดขึ้นในมหาสมุทร ซึ่งใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในการ ดำรงชีวิตและปล่อยแก๊สออกซิเจนสู่บรรยากาศส่วนแอมโมเนียใน ชั้นบรรยากาศได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์แตกตัวเป็นแก๊ส ไนโตรเจน และแก๊สไฮโดรเจน ➢ ชั้นบรรยากาศบรรยากาศของโลกพัฒนาการอย่างช้าๆเป็นเวลา หลายพันล้านปีตั้งแต่ยุคแรกเริ่มจนเกิดเป็นบรรยากาศในยุค ปัจจุบัน โดยมีองค์ประกอบของแก๊สในบรรยากาศประกอบไปด้วย แก๊สไนโตรเจน 78% แก๊สออกซิเจน 21% แก๊สอาร์กอน แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ และแก๊สอื่นๆ (ไม่รวมไอน้ำซึ่งเป็ น องค์ประกอบที่เปลี่ยนแปลงตามสภาพแวดล้อม 2


➢ นักเรียนคิดว่าบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกมีลักษณะและสมบัติเหมือนกันโดยตลอดตั้งแต่ระดับผิวโลกจนถึง อวกาศหรือไม่ อย่างไร กิจกรรมที่ 1 บรรยากาศของโลกเป็นอย่างไร จุดประสงค์: 1. วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลเพื่อสร้างแบบจำลองการแบ่งชั้นบรรยากาศตามเกณฑ์ของตนเอง และ เปรียบเทียบกับเกณฑ์ของนักวิทยาศาสตร์ 2. อธิบายลักษณะชั้นบรรยากาศของโลก วัสดุและอุปกรณ์ - วิธีการทดลอง 1. ศึกษาข้อมูลจากตารางแล้วสร้างแบบจำลองชั้นบรรยากาศของโลก เช่น แผนภาพ หรือโครงสร้างสามมิติ โดยแบ่งบรรยากาศเป็นชั้นตามเกณฑ์ของตัวเอง ตารางสมบัติและองค์ประกอบของบรรยากาศ ณ ระดับความสูงต่างๆ ความสูงจาก ผิวโลก (Km) อุณหภูมิเฉลี่ย (K) ความหนาแน่น อากาศเฉลี่ย (g/m3 ) องค์ประกอบสำคัญ 0 288 1225.0 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน แก๊สอาร์กอน 1 281 1111.7 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน แก๊สอาร์กอน 2 275 1006.6 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน แก๊สอาร์กอน 8 236 525.8 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน แก๊สอาร์กอน 10 223 413.5 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน แก๊สอาร์กอน 20 216 88.9 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน แก๊สอาร์กอน 25 221 40.1 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน แก๊สอาร์กอน จากแผนภาพเหตุการณ์ใดบ้างที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนองค์ประกอบของ แก๊สในบรรยากาศ และส่งผลอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………….……..……………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ปัจจุบันเหตุการณ์ใดบ้างที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนองค์ประกอบของแก๊สใน บรรยากาศ และส่งผลอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………….……..……………………………………………………………… …………….…….. 3 กิจกรรม สืบเสาะ ค้นหา 1


32 228 13.6 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน แก๊สอาร์กอน 47 270 1.4 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน แก๊สอาร์กอน 51 270 0.9 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน แก๊สอาร์กอน 71 216 0.7 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน แก๊สอาร์กอน 86 186 0.007 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน ไอออนของ ไนโตรเจนไอออนของออกซิเจน 100 195 0.0006 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน ไอออนของ ไนโตรเจนไอออนของออกซิเจน 200 854 0.0000003 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน ไอออนของ ไนโตรเจนไอออนของออกซิเจน 300 976 0. 00000002 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน ไอออนของ ไนโตรเจนไอออนของออกซิเจน 500 999 0.0000000005 แก๊สไนโตรเจน แก๊สออกซิเจน ไอออนของ ไนโตรเจนไอออนของออกซิเจน ที่มา: Schlatter,2009 2. รวบรวมการแบ่งชั้นและประโยชน์ของชั้นบรรยากาศโลกโดยนักวิทยาศาสตร์จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ 3. เปรียบเทียบการแบ่งชั้นบรรยากาศของโลกตามเกณฑ์ของตนเอง กับข้อมูลที่ได้รวบรวมมา และนำเสนอ ผลการทำกิจกรรม คำถามท้ายกิจกรรม 1. สมบัติและองค์ประกอบของอากาศที่ห่อหุ้มโลกตั้งแต่ระดับ 0-1,000 กิโลเมตร เหมือนกันโดยตลอดหรือไม่ ทราบได้อย่างไร คำตอบ………………………………………………………………………………………………………………….………………………..…… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. เกณฑ์ของตนเองที่ใช้แบ่งบรรยากาศของโลกมีอะไรบ้าง แบ่งออกเป็นกี่ชั้น อะไรบ้าง คำตอบ………………………………………………………………………………………………………………….…………………..………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……. 4


3. เกณฑ์ที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการแบ่งบรรยากาศของโลกมีอะไรบ้าง แบ่งออกเป็นกี่ชั้น อะไรบ้าง คำตอบ………………………………………………………………………………………………………………….………………………..…… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………..………………………….…………………………………… ……………………………………………………..………………………….………………………………………………………………………… ………………..………………………….…………………………………………………………………………………………..………………… 4. เกณฑ์ของตนเองและเกณฑ์ที่นักวิทยาศาสตร์ใช้แบ่งบรรยากาศของโลก เหมือนหรือต่างกันอย่างไร คำตอบ………………………………………………………………………………………………………………….………………………..…… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………..………………………….…………………………………… ……………………………………………………..………………………….………………………………………………………………………… ………………..………………………….…………………………………………………………………………………………..………………… 5. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร คำตอบ………………………………………………………………………………………………………………….………………………..…… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………..………………………….…………………………………… ……………………………………………………..………………………….………………………………………………………………………… ………………..………………………….…………………………………………………………………………………………..………………… 1. บรรยากาศแต่ละชั้นมีประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์อย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. เหตุใดจึงเกิดเมฆ ฝน พายุฟ้าคะนองในบรรยากาศชั้นโทรโพสเฟียร์ .............................................................................................................................................................................. ...................... ....................................................................................................................................................... ความรู้เพิ่มเติม 1. ระหว่างบรรยากาศแต่ละชั้นจะมีชั้นบรรยากาศบาง ๆ คั่นอยู่ เช่น ระหว่างชั้นโทรโพสเฟียร์และสตราโตส เฟียร์มีชั้นโทรโพพอส (Tropopause) ระหว่างชั้นสตราโตสเฟียร์และมีโซสเฟียร์ มีชั้นสตราโตพอส (Stratopause)ระหว่างชั้นมีโซสเฟียร์และชั้นเทอร์โมสเฟียร์มีชั้นมีโซพอส (Mesopause) โดยชั้นโทรโพพอส สตราโตพอส และมีโซพอส อุณหภูมิอากาศจะค่อนข้างคงที่ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามความสูง 2. ไอโอโนสเฟียร์ (Ionosphere) เป็นขอบเขตของบรรยากาศที่มีไอออนปรากฏอยู่เป็นจำนวนมากโดยเริ่มต้นที่ ความสูงประมาณ 60 กิโลเมตร ขึ้นไปจนถึงขอบเขตบนสุดของบรรยากาศของโลก ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ของ บรรยากาศชั้นเทอร์โมสเฟียร์เป็นส่วนใหญ่ 3. องค์ประกอบหลักของบรรยากาศของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ แสดงดังตาราง ร่วม กัน คิด 1 5


ตารางองค์ประกอบหลักของบรรยากาศของดาวเคราะห์ต่าง ๆ ดาวเคราะห์ องค์ประกอบหลักของบรรยากาศ ดาวพุธ O2 ดาวศุกร์ CO2 โลก N2, O2 ดาวอังคาร CO2 ดาวพฤหัสบดี H2,He ดาวเสาร์ H2,CH4 ดาวยูเรนัส H2 ดาวเนปจูน CH4 บรรยากาศของโลก ประกอบด้วยส่วนผสมของแก๊สต่างๆ ที่อยู่รอบโลกสูงขึ้นไปจากพื้นผิวโลกหลาย กิโลเมตรจากพื้นดิน บรรยากาศ แบ่งเป็นชั้นตามอุณหภูมิและการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามความสูง ลักษณะของชั้นบรรยากาศที่แบ่งตามเกณฑ์การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามความสูง 1. โทรโพสเฟียร์ (troposphere) เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่ถัดจากพื้นผิวโลกขึ้นไป 0-10 กิโลเมตร มีความหนาแน่นของอากาศและไอน้ำมาก ที่สุด ปรากฏการณ์ที่สำคัญ เช่น เมฆ หมอก ฝน หิมะ ลม พายุต่างๆ ล้วนเกิดในบรรยากาศชั้นนี้ อุณหภูมิของ อากาศลดลงตามระดับความสูง โดยจะลดลง 6-8 องศาเซลเซียสต่อ 1 กิโลเมตร ทำให้ขอบบนของบรรยากาศ ชั้นนี้มีอุณหภูมิ -50 ถึง -60 องศาเซลเซียส เมื่อความสูงเพิ่มขึ้นอุณหภูมิลดลง 6.5 C ต่อทุกๆ 1 กิโลเมตร 2. สตราโทสเฟียร์ (Stratosphere) อยู่ถัดจากชั้นโทรโพสเฟียร์ขึ้นไปถึงระดับความสูงประมาณ 50 กิโลเมตร ขอบล่าของชั้นจะมีอุณหภูมิคงที่และ จะเพิ่มขึ้นตามระดับความสูง บรรยากาศชั้นนี้ไม่มีไอน้ำอยู่เลย อากาศไม่แปรปรวน ดังนั้นเครื่องบินจึงมัก บินอยู่ในระดับนี้ บรรยากาศชั้นนี้จะมีแก๊สโอโซน ซึ่งมีสมบัติดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ 3. มีโซสเฟียร์ (mesosphere) เป็นชั้นที่อยู่สูงจากผิวโลกประมาณ 50-80 กิโลเมตร อุณหภูมิในชั้นนี้จะลดลงตามลำดับความสูง ตอนบนสุดมี อุณหภูมิต่ำถึง -120 องศาเซลเซียส วัตถุต่างๆ จากนอกโลกที่ถูกแรงโน้มถ่วงของโลกดึงดูดเข้าสู่บรรยากาศ จะถูกเผาไหม้ที่บรรยากาศชั้นนี้ 4. เทอร์โมสเฟียร์ (thermosphere) อยู่ถัดจากชั้นมีโซสเฟียร์ขึ้นไปถึงระดับความสูง 480 กิโลเมตร อุณหภูมิของบรรยากาศชั้นนี้ประมาณ 1,500- 1,700 องศาเซลเซียส เนื่องจากแรงดึงดูดของโลกน้อยและแสงอาทิตย์ที่ส่องมายังชั้นนี้มีพลังงานมากจนทำให้ โมเลกุลของแก๊สต่างๆ แตกตัวเป็นไอออน และมีประจุไฟฟ้า ดังนั้นบรรยากาศชั้นนี้จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่ง ว่า ไอโอโนสเฟียร์ (ionosphere) ซึ่งสามารถสะท้อนคลื่นวิทยุที่มีความถี่ไม่มากได้ 5. เอกโซเฟียร์ (exosphere) ชั้นนี้เป็นชั้นขอบเขตสูงสุดของบรรยากาศของโลกเชื่อมต่อกับอวกาศบรรยากาศเบาบางมากจนแทบไม่มี อนุภาคอากาศ อาจพบอนุภาคอากาศ 1 อนุภาคในระยะ 10 กิโลเมตร ไอออนคืออะไร เมื่ออะตอมได้รับหรือ สูญเสียอิเล็กตรอน ทำ ให้ อ ะ ต อ ม มี ป ระ จุ ไฟฟ้า เรียกอะตอมที่มี ประจุไฟฟ้านี้ว่าไอออน 6


การแบ่งชั้นบรรยากาศโดยใช้แก๊สเป็นเกณฑ์แบ่งได้ 4 ชั้น คือ 1. โทรโพสเฟียร์ เป็นชั้นบรรยากาศที่อยู่ติดกับพื้นโลก สูง 0-10 กม. มีก๊าซที่สำคัญ คือ ไอน้ำ 2. โอโซโนสเฟียร์เป็นชั้นบรรยากาศสูง10-50 กม. มีก๊าซที่สำคัญ คือ โอโซน 3. ไอโอโนสเฟียร์เป็นชั้นบรรยากาศสูง 80-600 กม. มีสิ่งที่สำคัญ คือ อิออน 4. เอกโซเฟียร์ เป็นชั้นบรรยากาศซึ่งสูงตั้งแต่ 600 กม. ขึ้นไป โดยความหนาแน่นของอะตอมต่างๆ มีค่า น้อยลง ➢ มนุษย์ดำรงชีวิตอยู่บนผิวโลกในบรรยากาศชั้นโทรโพสเฟียร์ซึ่งสภาพลมฟ้าอากาศมีความแปรปรวน นักเรียนจะได้ศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศที่ส่งผลต่อสภาพลมฟ้าอากาศในเรื่องต่อไป ภาพที่ 3 พื้นที่เดียวกันในเวลากลางวันและกลางคืน ที่มา หนังสือแบบเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 สสวท จงลากเส้นจับคู่ข้อความทางด้านซ้ายและขวาที่มีความสัมพันธ์กันมากที่สุด • อุปกรณ์ในการวัดอุณหภูมิ การพาความร้อน • ระดับของพลังงานความร้อน การแผ่รังสีความร้อน • การถ่ายโอนความร้อนผ่านของแข็ง อุณหภูมิ • การถ่ายโอนความร้อนผ่านอากาศ เทอร์มอมิเตอร์ • การถ่ายโอนความร้อนจากดวง การนำความร้อน อาทิตย์มายังโลก เรื่องที่ 2 อุณหภูมิอากาศ ภาพข้างต้นคือ คือ ภาพกราฟฟิกพื้นที่เดียวกันใน เวลากลางวันและกลางคืน ทบทวนความรู้ก่อนเรียน 2 7


กิจกรรมที่ 2 อุณหภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงอย่างไร จุดประสงค์: - ตรวจวัดอุณหภูมิอากาศและวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศในรอบวัน วัสดุและอุปกรณ์ รายการ ปริมาณ/กลุ่ม 1. เทอร์มอมิเตอร์ 1 อัน 2. เทอร์มอมิเตอร์รูปตัวยู 1 อัน วิธีการทดลอง 1. ศึกษาข้อมูลและอภิปรายวิธีการใช้เทอร์มอมิเตอร์รูปตัวยู 2. วางแผนร่วมกันทั้งห้องเรียนเพื่อเลือกสถานที่ภายในโรงเรียนไม่ให้ซ้ำกันในการวัดอุณหภูมิอากาศโดยการวัด อุณหภูมิในเวลาเดียวกันและวัดอุณหภูมิตลอดทั้งวัน ไม่น้อยกว่า 5 ครั้ง ครอบคลุมทั้งช่วงเช้า สาย บ่าย และ เย็น เช่น 8.30 น 10.30 น 12.30 น 16.30 น 3. วางแผนตรวจวัดอุณหภูมิอากาศสูงสุดและต่ำสุดในแต่ละวัน ในรอบ 1 สัปดาห์ 4. สังเกตลักษณะทางกายภาพของสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ที่เลือกวัดอุณหภูมิอากาศตามแผนที่วางไว้ บันทึกผล 5. นำข้อมูลที่ตรวจวัดมาเขียนกราฟเส้นแสดงการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศในเวลาต่างๆ ของพื้นที่ที่ได้เลือก ไว้ และกราฟอุณหภูมิอากาศสูงสุดและต่ำสุด ในรอบ1 สัปดาห์และนำเสนอ ผลการทำกิจกรรม พื้นที่ 1 ในเรือนเพาะชำ สภาพแวดล้อมบริเวณที่ตรวจวัด พื้นที่ที่ตรวจวัดอยู่ในเรือนเพาะชำ มีตันไม้มาก แสงแดดรำไร และมีการรดน้ำต้นไม้เกือบตลอดเวลา ตารางอุณหภูมิอากาศในเรือนเพาะชำในเวลาต่างๆ เวลา (นาฬิกา) อุณหภูมิอากาศ ( ํC) 8.00 10.00 12.00 14.00 16.00 8 กิจกรรม สืบเสาะ ค้นหา 2


พื้นที่ 2 บริเวณกลางแจ้ง ภายนอกอาคารเรียน สภาพแวดล้อมบริเวณที่ตรวจวัด พื้นที่ที่ตรวจวัดเป็นบริเวณกลางแจ้ง พื้นปูนซีเมนต์ได้รับแสงตลอดเวลา ตารางอุณหภูมิอากาศบริเวณกลางแจ้งในเวลาต่างๆ เวลา (นาฬิกา) อุณหภูมิอากาศ ( ํC) 8.00 10.00 12.00 14.00 16.00 9


คำถามท้ายกิจกรรม 1. อุณหภูมิอากาศในพื้นที่เดียวกัน ช่วงเวลาที่แตกต่างกันในรอบวัน มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรเพราะเหตุใด คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………….……………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………… 2. อุณหภูมิอากาศ ในแต่ละพื้นที่ ในเวลาเดียวกัน แตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………….……………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………… 3. อุณหภูมิอากาศในแต่ละพื้นที่ ในรอบวันมีแบบรูปการเปลี่ยนแปลงเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไรเพราะเหตุ ใด คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………….……………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………… 4. จากกราฟ อุณหภูมิอากาศตามสถานที่ต่าง ๆ มีค่าสูงสุดในช่วงเวลาใด เพราะเหตุใด คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………….……………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………… 5. อุณหภูมิอากาศต่ำสุดของวันตามสถานที่ต่างๆ น่าจะเกิดขึ้นในช่วงเวลาใด เพราะเหตุใด คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………….……………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………… 6. อุณหภูมิอากาศสูงสุด และต่ำสุดในรอบ 1 สัปดาห์มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………….……………………………… 7. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………….……………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………………………… 10


ผลของรังสีจากดวงอาทิตย์ต่อบรรยากาศ โลกได้รับพลังงานจากรังสีของดวงอาทิตย์ที่แผ่มายังโลกซึ่งรังสีบางส่วนจะมีการ สะท้อนกลับ สู่อวกาศ บางส่วนจะถูกดูดกลื่นโดยแก๊สต่าง ๆ ในบรรยากาศและส่วนที่เหลือจะลงมาถึงผิวโลก ภาพที่ 4 แสดงการดูดกลืนและสะท้อนรังสีจากดวงอาทิตย์ที่แผ่มายังโลก ที่มา https://shorturl.asia/97XCP ➢ อากาศที่ปกคลุมโลกเราเป็นชั้น ๆ เรียกว่าชั้นบรรยากาศ บรรยากาศแต่ละชั้นมีส่วนประกอบและปริมาณ ของแก๊สแตกต่างกัน เนื่องจากอากาศเป็นสารซึ่งมีมวล จึงถูกแรงโน้มถ่วงของโลกดึงดูดเช่นเดียวกับที่ กระทำต่อวัตถุอื่น ๆ น้ำหนักของอากาศที่กดลงบนพื้นโลกเนื่องจากแรงดึงดูดของโลกในแนวตั้งฉากต่อ หนึ่งหน่วยพื้นที่เรียกว่า ความดันอากาศ หรือ ความดันบรรยากาศ ภาพที่ 5 ว่าวแบบต่างๆ ที่มา หนังสือแบบเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 สสวท เรื่องที่ 3 ความกดอากาศและลม แหล่งพลังงานความร้อนที่สำคัญของโลก คือ ดวงอาทิตย์ ซึ่ง ก่อให้เกิดกระบวนการต่างๆ มากมาย รวมถึงการเกิดฤดูกาลบนพื้นโลกด้วย โลกเอียงทำมุม 23.5 องศา และโคจรรอบดวงอาทิตย์ตลอดเวลา โดยหันขั้ว โลกเหนือและใต้เข้าหาดวงอาทิตย์สลับกันทำให้แต่ละพื้นที่บนผิวโลกรับ พลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ได้ไม่เท่ากัน จึงเกิดฤดูกาลทำให้เกิดความ แตกต่างของอุณหภูมิ ค่าที่บอกถึงระดับความร้อน-เย็นของอากาศหรือ วัตถุ โดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่าว่า เทอร์โมมิเตอร์ 11


ว่าวที่มีน้ำหนักมากสามารถลอยขึ้นไปในอากาศได้อีกทั้งลมยังสามารถพัดพาว่าวที่มีน้ำน้ำหนักมากกว่าอากาศ ให้เคลื่อนที่ไปยังทิศทางต่างๆได้เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น อากาศมีสมบัติอย่างไร ปัจจัยใดที่ทำให้อากาศมีสมบัติ เช่นนั้น เขียนเครื่องหมาย หน้าข้อที่ถูกต้อง อากาศมีน้ำหนัก ลมคืออากาศที่เคลื่อนที่ อากาศในทุกพื้นที่มีความหนาแน่นเท่ากัน อากาศในทุกพื้นที่มีอุณหภูมิเท่ากัน ลมพัดจากบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงกว่าไปยังที่ที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า กิจกรรมที่ 3 อากาศมีแรงกระทำต่อวัตถุหรือไม่อย่างไร จุดประสงค์: สังเกตและอธิบายแรงและทิศทางของแรงที่อากาศกระทำต่อวัตถุ วัสดุและอุปกรณ์ รายการ ปริมาณ/กลุ่ม 1. ถุงพลาสติกใส 1 ถุง 2. ขวดโหลก้นลึก 1 ขวด 3. ยางรัด 1 วง วิธีการดำเนินกิจกรรม 1. ใส่ถุงพลาสติกลงในขวดโหล พับปากถุงส่วนที่เลยพ้นปากขวดโหลลงมาด้านข้างขวด 2. ดึงถุงพลาสติกขึ้นจากก้นขวดโหล สังเกตว่าดึงออกง่ายหรือยาก บันทึกผล 3. รีดถุงพลาสติกให้แนบกับด้านข้างและก้นขวดโหลให้มากที่สุด แล้วใช้ยางรีดปากขวดโหลกับถุงพลาสติกให้ แน่น ว่าวที่มีน้ำหนักมากสามารถลอยขึ้น ไปในอากาศได้อย่างไร ทบทวนความรู้ก่อนเรียน3 12 กิจกรรม สืบเสาะ ค้นหา 3


4. คาดคะเนว่าถ้าดึงถุงพลาสติกในข้อ 3 ให้ขึ้นจากก้นขวดโหลจะดึงได้ง่ายหรือยากเมื่อเทียบกับการดึงในข้อ 2 บันทึกผลการคาดคะเน5. ดึงถุงพลาสติกขึ้นจากก้นขวดโหลเมื่อวางขวดแนบกับพื้นผิว สังเกตว่าดึงง่ายหรือ ยากบันทึกผล 6. จัดขวดโหลให้อยู่ในลักษณะต่างๆดังรูป สังเกตว่าดึงง่ายหรือยากบันทึกผล ผลการทำกิจกรรม กิจกรรม ผลการทำกิจกรรม/การคาดคะเน การดึงถุงพลาสติกขึ้นจากก้นขวดโดยไม่รีดถุงให้แนบ สนิทกับด้านในของขวด การคาดคะเนเมื่อรีดถุงพลาสติกให้แนบสนิทกับด้านใน ของขวดแล้วดึงถุงพลาสติกขึ้นจากก้นขวด การดึงถุงพลาสติกขึ้นจากก้นขวดโหลโดยรีดถุงให้แนบ สนิทกับด้านในของขวด การดึงถุงพลาสติกขึ้นจากก้นขวดโหลโดยรีดถุงให้แนบ สนิทกับด้านในของขวดและจัดขวดโหลให้อยู่ใน ลักษณะต่าง ๆ • เมื่อเอียงขวดโหล • เมื่อคว่ำขวดโหล • เมื่อวางขวดโหลในแนวระดับ คำถามท้ายกิจกรรม 1. แรงที่ใช้ในการดึงถุงพลาสติกขึ้นจากก้นขวดโหลก่อนและหลังการรีดถุงพลาสติกให้แนบไปกับขวดโหล มี ความแตกต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… ………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………… 2. เมื่อจัดขวดโหลให้อยู่ในลักษณะต่าง ๆ แรงที่ใช้ในการดึงถุงพลาสติกออกจากขวดโหลเหมือนหรือแตกต่าง กันอย่างไร คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… 13


3. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… การวัดความดันของอากาศ การวัดความดันของอากาศ มีนักวิทยาศาสตร์ได้ทำการศึกษาค้นคว้าไว้จนสามารถสร้างเครื่องวัดความ ดันของอากาศได้ นักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเรื่องความดันของอากาศที่ควรรู้จักมี 2 ท่านด้วยกัน คือ กาลิเลโอ (Galileo) และเทอริเชลลี (Torricelli) โดยศึกษาพบว่า อากาศสามารถดันของเหลว เช่น น้ำหรือปรอทให้เข้า ไปอยู่ในหลอดแก้วที่เป็นสุญญากาศได้ จึงนำความรู้ดังกล่าวมาประยุกต์ใช้สร้างเครื่องวัดความดันบรรยากาศที่ มีชื่อเรียกว่า บารอมิเตอร์ (barometer) บารอมิเตอร์จะใช้ปรอทบรรจุไว้ภายในหลอดแก้วเนื่องจากมี คุณสมบัติที่ดีกว่าของเหลวอื่นๆ เครื่องมือวัดความดันอากาศ เครื่องมือที่ใช้วัดความดันของอากาศเราเรียกว่าบารอมิเตอร์ (barometer) เป็นเครื่องมือที่ทำให้ทราบ ว่า ณ บริเวณหนึ่ง บริเวณใดมีความกดของอากาศมากน้อยเท่าไร ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการทำงานของ อุตุนิยมวิทยาชนิดของบารอมิเตอร์มีดังต่อไปนี้ 1. บารอมิเตอร์แบบปรอท (barometer) ประกอบด้วยหลอดแก้วยาวที่ปิดปลายด้านหนึ่งไว้ และทำให้เป็น สุญญากาศ นำไปคว่ำลงในอ่างที่บรรจุปรอทไว้ อากาศภายนอกจะกดดันให้ปรอทเข้าไปอยู่ในหลอดแก้วใน ระดับหนึ่งของหลอดแก้ว ระดับของปรอทจะเปลี่ยนแปลงไปตามความกดดันของอากาศ โดยความดัน 1 บรรยากาศจะดันปรอทให้สูงขึ้นไปได้ 76 เซนติเมตร หรือ 760 มิลลิเมตร 2. แอนนิรอยด์บารอมิเตอร์ (aneriod barometer) ชนิดไม่ใช้ปรอทหรือของเหลวแบบอื่นๆ เป็น บารอมิเตอร์ที่จะทำเป็นตลับโลหะแล้วนำเอาอากาศออก จนเหลือจะทำให้ตลับโลหะมีการเคลื่อนไหว ทำให้ เข็มที่ติดไว้กับตัวตลับชี้บอกความกดดันของอากาศโดยทำสเกลบอกระดับความดันของอากาศไว้แอนนิรอยด์ บารอมิเตอร์ประดิษฐ์โดยวีดี (Vidi) ในปีพ.ศ. 2388 มีขนาดเล็กพกพาไปได้สะดวก รูปแสดงแอนนิรอยด์ บารอมิเตอร์ 14


3. บารอกราฟ (barograph) เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวัดความดันอากาศที่ใช้หลักการเดียวกับแอนนิรอยด์ บารอมิเตอร์ แต่จะบันทึกความกดดันอากาศแบบต่อเนื่องลงบนกระดาษตลอดเวลาในลักษณะเป็นเส้นกราฟ รูปแสดงแอลติมิเตอร์ รูปแสดงบารอกราฟ 4. แอลติมิเตอร์ (altimeter) เป็นเครื่องวัดความสูงที่ใช้ในเครื่องบิน ใช้หลักการเดียวกับแอนิรอยด์ บารอมิเตอร์แต่หน้าปัดบอกความสูงจากระดับน้ำทะเลแทนความดันอากาศ ความสัมพันธ์ระหว่างความดันอากาศกับความสูงจากระดับน้ำทะเลสรุปได้ดังนี้ 1.ที่ระดับน้ำทะเล ความดันอากาศปกติมีค่าเท่ากับความดันอากาศที่สามารถดันปรอทให้สูง 76 cm หรือ 760 mm หรือ 30 นิ้ว จงยกตัวอย่างของเล่นหรือเครื่องใช้ที่ใช้สมบัติความดันอากาศ ประเภทของเล่น ................................................................................................................... ................................................................................................................... ประเภทเครื่องใช้ ................................................................................................................... ................................................................................................................... ...... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... - ที่ความสูงระดับเดียวกัน ความ ดันอากาศทีค่าเท่า กัน หลักการนี้ ได้นำไปใช้ทำเครื่องมือวัดแนว ระดับในการก่อสร้าง - เมื่อความสูงเพิ่มขึ้น ความดัน ของอากาศมีค่าลดลง หลักการนี้ นำไปใช้ทำเครื่องมือวัดความสูง เรียกว่า แอลติมิเตอร์ 15


2.เมื่อระดับความสูงเพิ่มขึ้น ความกดของอากาศจะลดลงทุกๆ ระยะความสูง 11 เมตรระดับปรอทจะลดลง 1 มิลลิเมตร ตัวอย่างที่ 1 เมื่ออยู่บนยอดเขาแห่งหนึ่ง วัดความดันอากาศได้ 600 มิลลิเมตรของปรอท ยากทราบว่ายอดเขา แห่งนี้อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลเท่าใด ตัวอย่างที่ 2 บอลลูนลอยอยู่สูง 5,500 เมตรจากระดับน้ำทะเล ความดันบรรยากาศขณะนั้นจะมีค่าเท่าใด ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... ................................................................................................................... ................................................................................................................... ................................................................................................................... ................................................................................................................... ................................................................................................................... ................................................................................................................... ................................................................................................................... ................................................................................................................... ................................................................................................................... . ...................................................................................... ...................................................................................... ...................................................................................... 16


ปัจจัยที่มีผลต่อความกดอากาศ (Factors Affecting Barometric Pressure) 1. อุณหภูมิของอากาศที่มีสูงขึ้นจะขยายตัวและมีความดันอากาศต่ำ 2. ยิ่งสูงขึ้นไป อากาศยิ่งบาง อุณหภูมิยิ่งต่ำ ความกดอากาศยิ่งลดน้อยตามไปด้วย เพราะฉะนั้น ความกด อากาศบนยอดเขา จึงน้อยกว่าความกดอากาศที่เชิงเขา 3. ความชื้น อากาศชื้นมีไอน้ำมากจึงเบากกว่าอากาศแห้งที่มีปริมาตรเท่ากัน เพราะโมเลกุลของน้ำเบากว่า โมเลกุลของออกซิเจนหรือไนโตรเจน ดังนั้นอากาศชื้นจึงมีความดันอากาศต่ำกว่าอากาศแห้ง กิจกรรมที่ 4 เหตุใดลมจึงเคลื่อนที่เร็วต่างกัน จุดประสงค์: ทดลอง วิเคราะห์และอธิบายปัจจัยที่มีผลต่ออัตราเร็วลม วัสดุและอุปกรณ์ วัสดุที่ใช้ต่อห้อง รายการ ปริมาณ/ห้อง เทอร์มอมิเตอร์ 1 อัน วัสดุที่ใช้ต่อกลุ่ม รายการ ปริมาณ/ กลุ่ม 1. ขวดพลาสติกขนาด 1,500 cm3 4 ใบ 2. น้ำเย็นจัดอุณหภูมิประมาณ 10 ํC น้ำอุณหภูมิห้องและน้ำ ร้อนจัดอุณหภูมิประมาณ 70 ํc อย่างละ 500 cm3 3. แผ่นใส 6 แผ่น 4. ธูป 1 อัน 5. ขันพลาสติก 4 ใบ 6. ไม้ขีดไฟ 1 กล่อง 7 เทปใส 1 ม้วน 8. คัตเตอร์ 1 อัน วิธีการดำเนินกิจกรรม ตอนที่ 1 1. จัดอุปกรณ์ดังภาพ แผ่นใส 1 แผ่น ม้วนเป็นท่อและ นำท่อแผ่นใสสอดเข้าไปในขวด นำชุดอุปกรณ์ไปวางไว้ในขัน เจาะรูตรงกลาง ทำเครื่องหมายที่ พลาสติก 2 ใบ ระยะ 10 cm จากรูตรงกลางทั้งสองด้าน 2. รินน้ำอุณหภูมิห้องและน้ำร้อนจัดลงในขันใบที่ 1 และ 2 ตามลำดับ จัดเป็นชุดทดลองที่ 1 โดยให้ระดับน้ำใน ขันสูงประมาณ 5 cm ตั้งชุดทดลองไว้ 20 วินาที 3. จุดธูปและแหย่ก้านธูปเข้าไปในรูที่เจาะไว้ตรงกลางของท่อแผ่นใส เพื่อให้ควันเข้าไปในท่อ 17 กิจกรรม สืบเสาะ ค้นหา 4


4. บันทึกเวลาที่ควันธูปเคลื่อนที่จากจุดกึ่งกลางไปยังเครื่องหมายที่ระยะ 10 cm. 5. ทำซ้ำตอนที่ 2-4 อีกครั้งโดยเปลี่ยนอุณหภูมิของน้ำในขันใบที่ 1 และ 2 เป็นน้ำเย็นจัดและน้ำร้อนจัด ตามลำดับ จัดเป็นชุดทดลองที่ 2 โดยก่อนการทดลองให้คาดคะเนว่าควันธูปจะเคลื่อนที่เร็วขึ้นหรือช้าลง ผลการทำกิจกรรม ชุดทดลอง เวลาที่ควันธูปเคลื่อนที่จากจุดกึ่งกลางไปยังระยะ 10 cm. (วินาที) ชุดทดลองที่1 ชุดทดลองที่ 2 คำถามท้ายกิจกรรม 1. อากาศในท่อใสมีทิศทางการเคลื่อนที่อย่างไร ทราบได้อย่างไร คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… 2. ความดันอากาศในขวดใบใดมีค่าสูงกว่า เพราะเหตุใด คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… 3. การเคลื่อนที่ของอากาศในท่อใสมีความสัมพันธ์กับความดันอากาศอย่างไร คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… 4. อัตราเร็วลมในชุดทดลองใดมีค่ามากกว่า เพราะเหตุใด คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… 5. จากกิจกรรม สรุปได้ว่าอย่างไร คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… วิธีการดำเนินกิจกรรม ตอนที่ 2 ทำการทดลองเช่นเดียวกับขั้นตอนที่ 5 ของตอนที่ 1 โดยเปลี่ยนท่อแผ่นใสเป็นใช้แผ่นใส 3 แผ่น ม้วนเป็นท่อ เจาะรูตรงกลาง ทำเครื่องหมายที่ระยะ 10 cm. เช่นเดิมจัดเป็นชุดทดลองที่3 โดยก่อนการทดลองให้คาดคะเน ว่าควันธูปจะเคลื่อนที่เร็วขึ้นหรือช้าลง เมื่อเทียบกับชุดทดลองที่ 2 18


ผลการทำกิจกรรม คาดคะเนว่าควันธูปจะเคลื่อนที่ช้าลง เมื่อเทียบกับชุดทดลองที่ 2 คำถามท้ายกิจกรรม 1. หากพิจารณาเฉพาะชุดทดลองที่ 2 และ 3 การทดลองนี้มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปรควบคุม คือ อะไร คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… 2. อัตราเร็วลมในชุดทดลองใดมีค่ามากกว่า เพราะเหตุใด คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… 3. จากกิจกรรมสรุปได้ว่าอย่างไร คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… 4. จากกิจกรรมทั้ง 2 ตอนสรุปได้ว่าอย่างไร คำตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….……………………………………………… ➢ ลมและการเกิดลม ลม (wind) คือ มวลอากาศที่เกิดการเคลื่อนที่ในทิศทางใดทิศทางหนึ่งตามแนวระดับ ในธรรมชาติลมจะเกิด จากความแตกต่างของอุณหภูมิและความกดอากาศของบริเวณต่าง ๆ สาเหตุการเกิดลม 1. ความแตกต่างของอุณหภูมิ อากาศร้อนจะมีอุณหภูมิสูง ความหนาแน่นอากาศจะน้อย และ ลอยตัวสูงขึ้น ส่วนอากาศเย็นจะมีอุณหภูมิต่ำกว่า และมีความหนาแน่นอากาศมากกว่า จะเคลื่อนที่เข้ามาแทนที่ทำให้เกิดลม 2. ความแตกต่างของความกดอากาศ อากาศร้อนมีความกดอากาศต่ำ และมีความหนาแน่นต่ำ อากาศ ร้อนจึงลอยสูงขึ้น ส่วนอากาศเย็นมีความกดอากาศสูงและมีความหนาแน่นมากกว่าจะ เคลื่อนที่เข้าหา บริเวณที่มีอากาศร้อน ลมจึงพัดจากบริเวณที่มีความกดอากาศสูงไปสู่บริเวณที่มี ความกดอากาศต่ำกว่า ➢ ความกดอากาศแบ่งเป็น 2 ประเภท ความกดอากาศสูง (H) หมายถึง บริเวณที่มีความกดอากาศสูงกว่าบริเวณข้างเคียง ท้องฟ้าแจ่มใสและอากาศ หนาวเย็น ความกดอากาศต่ำ (L) หมายถึง บริเวณที่มีความ กดอากาศต่ำกว่าบริเวณข้างเคียง ท้องฟ้ามีเมฆมาก ชุดทดลอง เวลาที่ควันธูปเคลื่อนที่จากจุดกึ่งกลางไปยังระยะ 10 cm. (วินาที) ชุดทดลองที่ 2 ชุดทดลองที่ 3 19


➢ ความเร็วของลม ลมส่วนใหญ่พัดในทิศทางเดียว เมื่อมีสิ่งกีดขวางทิศทางของกระแสลม เช่น ต้นไม้ ภูเขาเตี้ยๆ อาคาร บ้านเรือน หรือสิ่งก่อสร้างต่างๆ จะทำให้ทิศทางการเคลื่อนที่ของลมเปลี่ยนไปได้ โดยทั่วไปเราจะบอก ความเร็วของลมเป็นกิโลเมตรต่อชั่วโมง (km/hr) เครื่องมือตรวจสอบทิศทางลมอย่างง่ายที่เรียกว่า ศรลม และ เครื่องมือใช้ในการตรวจสอบความเร็วของลมที่เรียกว่า มาตรวัดความเร็วลม ศรลม อะนิโมมิเตอร์ จงตอบคำถาม 1. ตัวติดผนังติดกับผนังดังภาพได้อย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………………………... 2. ทิศทางของแรงที่อากาศกระทำในล้อรถเป็นอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………………………... ……………………………………………………………………………………………………………………... 3. ความดันอากาศ ณ ระดับความสูงต่าง ๆ จากผิวโลกมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. ความสัมพันธ์ระหว่างความดันอากาศกับความสูงจากพื้นโลกควรเป็นอย่างไร ให้สร้างแบบจำลองหรือเขียน แผนภาพอธิบายความสัมพันธ์ดังกล่าว .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ร่วม กัน คิด 2 20


5.นักเรียนคิดว่าความดันอากาศเกี่ยวข้องอย่างไรกับ อาการหูอื้อเมื่อขึ้นลิฟท์ไปยังชั้นสูง ๆ ของตึก .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 6. ภาพชุดทดลองผลของอุณหภูมิต่ออากาศ ความดันอากาศภายในลูกโป่งในภาพชุดทดลองผลของอุณหภูมิต่ออากาศภาพใดมีค่าสูงกว่า เพราะเหตุใด .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ 7. ในระบบปิดและระบบเปิดอุณหภูมิมีผลต่อความดันเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 8. ภาพบริเวณที่มีมีความหนาแน่นของอนุภาคอากาศ จากภาพ ความดันอากาศในบริเวณใดมีค่าสูงกว่า เพราะเหตุใด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 9. ภาพบอลลูนลอยอยู่ในอากาศ บอลลูนลอยอยู่ในอากาศได้อย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 10. ปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อความดันอากาศ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 21


11 มีข้อแนะนำสำหรับนักปีนเขาว่าไม่ควรเปลี่ยนแปลงระดับความสูงเกิน 500 เมตร ต่อวัน เหตุใดจึงเป็น เช่นนั้น. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 12. บุคคลกลุ่มใดบ้างได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงความดันอากาศ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 13. จากภาพอัตราเร็วลมในแต่ละบริเวณเป็นอย่างไร เพราะอะไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 14. มนุษย์มีวิธีป้องกันบ้านเรือนและทรัพย์สินไม่ให้ได้รับความเสียหายจากลมที่มีอัตราเร็วมากได้อย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 15. นักเรียนรู้จักอุปกรณ์แบบอื่นที่ใช้ในการตรวจวัดลมหรือไม่ อย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 16. ลมส่งผลต่อสภาพแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศมีความสัมพันธ์กัน เช่น ความกดอากาศและลมมีความ สัมพันธ์กัน ความกด อากาศมีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิอากาศ ความกดอากาศ และลมเป็นองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศซึ่งส่งผล ต่อสภาพอากาศ ของพื้นที่นั้น ๆ เช่นความแตกต่างของความกดอากาศ ทำให้เกิดลมแรงและอาจเกิดเป็นพายุ ได้นักเรียนคิดว่ามีปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อความชื้น และความชื้นมีความสำคัญอย่างไร ต่อสภาพลมฟ้าอากาศ อย่างไร 10 km/hr 30 km/hr 5 km/hr 22


ภาพที่ 6 ทะเลหมอก ที่มา หนังสือแบบเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 สสวท จงเขียนเครื่องหมาย หน้าข้อความที่ถูกต้อง น้ำระเหยได้เมื่อเดือดเท่านั้น เมื่อน้ำระเหยจะกลายเป็นไอน้ำอยู่ในอากาศ เราสามารถมองเห็นไอน้ำเป็นควันสีขาวลอยอยู่ได้ เมฆ และฝนเป็นรูปแบบหนึ่งของหยาดน้ำฟ้า ไอน้ำในอากาศทำให้อากาศมีความชื้น ค่าความชื้นสัมบูรณ์แสดงปริมาณไอที่มีอยู่จริงใน อากาศโดยมีหน่วยเป็นกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ณ อุณหภูมิใดอุณหภูมิหนึ่ง อากาศสามารถรับไอน้ำได้ในปริมาณ จำกัดโดยปริมาณไอน้ำอิ่มตัวหรือปริมาณไอน้ำสูงสุดที่อากาศรับได้ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิอากาศ ค่าความชื้น สัมพัทธ์แสดงความสามารถของอากาศในการรับปริมาณไอน้ำ ณ ขณะนั้นว่าอากาศมีปริมาณไอน้ำในอากาศ เท่าไร เทียบกับความสามารถที่จะรับได้ทั้งหมด และจะสามารถรับได้อีกเท่าไรโดยแสดงค่าเป็นเปอร์เซ็นต์ การบอกค่าความชื้นของอากาศ สามารถบอกได้ 2 วิธี คือ 1. ความชื้นสัมบูรณ์ (Absolute Humidity) คือ อัตราส่วนระหว่างมวลของไอน้ำในอากาศกับปริมาตรของ อากาศขณะนั้น ทบทวนความรู้ก่อนเรียน4 เรื่องที่ 4 ความชื้น นักเรียนเคยเห็นทะเลหมอกหรือไม่ ทะเลหมอก เกิดขึ้นช่วงไหน และเกิดขึ้นได้อย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… 23


2. ความชื้นสัมพัทธ์ (Relative Humidity) คือ ปริมาณเปรียบเทียบระหว่างมวลของไอน้ำที่มีอยู่จริงในอากาศ ขณะนั้นกับมวลของไอน้ำอิ่มตัว ที่อุณหภูมิและปริมาตรเดียวกัน มีหน่วยเป็นเปอร์เซ็นต์ สูตร 1.ในห้องขนาด 250 ลูกบาศก์เมตร มีความชื้นสัมบูรณ์ 30 กรัมต่อลูกบาศก์เมตร ในห้องนั้นจะมีมวลของไอน้ำ ในอากาศเท่าใด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ร่วม กัน คิด 3 24


2. ณ อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส อากาศที่มีค่าความชื้นสัมพัทธ์ 70 เปอร์เซนต์ มีปริมาณไอน้ำจริงเท่าใด และ จะสามารถรับไปน้ำได้อีกเท่าใด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. กิจกรรมที่ 5 ปัจจัยที่มีผลต่อความชื้นสัมพัทธ์มีอะไรบ้าง จุดประสงค์: วัดความชื้นสัมพัทธ์และอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อความชื้นสัมพัทธ์ วัสดุและอุปกรณ์ รายการ ปริมาณ/กลุ่ม ไซครอมิเตอร์ 1 อัน วิธีการดำเนินกิจกรรม 1. อ่านข้อมูลและอภิปรายวิธีการใช้ไซครอมิเตอร์เพื่อวัดความชื้นสัมพัทธ์ ในหัวข้อเกร็ดความรู้ 2. วางแผนร่วมกันทั้งห้องเรียนเพื่อเลือกสถานที่ภายในโรงเรียนในการวัดความชื้นสัมพัทธ์ และอุณหภูมิอากาศ ให้แต่ละกลุ่มเลือกสถานที่ไม่ซ้ำกัน และกำหนดเวลาเดียวกันในการวัด โดยวัด ไม่น้อยกว่า 5 ครั้ง เช่น เวลา ก่อนเข้าเรียน เวลาพัก และหลังเข้าเรียน พร้อมทั้งออกแบบวิธีการบันทึกผลที่สังเกตได้ 3. สังเกตลักษณะทางกายภาพของสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ที่เลือกวัดอุณหภูมิอากาศตามแผนที่วางไว้ และบันทึกผล 4. นำข้อมูลที่ตรวจวัดมาเขียนกราฟเส้นแสดงการเปลี่ยนแปลงความชื้นสัมพัทธ์และอุณหภูมิอากาศในเวลา ต่างๆและนำเสนอ ผลการทำกิจกรรม พื้นที่ 1 ในเรือนเพาะชำ สภาพแวดล้อมบริเวณที่ตรวจวัด พื้นที่ที่ตรวจวัดอยู่ในเรือนเพาะชำ มีต้นไม้มาก มีแสงแดดรำไร และมีการรดน้ำต้นไม้เกือบตลอดเวลา ตารางอุณหภูมิจากเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะแห้ง กระเปาะเปียกและความชื้นสัมพัทธ์บริเวณในเรือนเพาะชำ เวลา (นาฬิกา) อุณหภูมิ(องศาเซลเซียส) ความชื้นสัมพัทธ์ เทอร์มอมิเตอร์กระเปาะแห้ง เทอร์มอมิเตอร์กระเปาะเปียก (เปอร์เซนต์) เทอร์มอมิเตอร์ กระเปาะแห้ง เทอร์มอมิเตอร์ กระเปาะเปียก 8.00 10.00 12.00 14.00 16.00 25 กิจกรรม สืบเสาะ ค้นหา 5


พื้นที่ 2 บริเวณกลางแจ้ง สภาพแวดล้อมบริเวณที่ตรวจวัด พื้นที่ที่ตรวจวัดเป็นบริเวณกลางแจ้ง พื้นปูนซีเมนต์ได้รับแสงตลอดเวลา ตารางอุณหภูมิจากเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะแห้ง กระเปาะเปียกและความชื้นสัมพัทธ์บริเวณกลางแจ้ง ภายนอกอาคารเรียน เวลา (นาฬิกา) อุณหภูมิ(องศาเซลเซียส) ความชื้นสัมพัทธ์ เทอร์มอมิเตอร์กระเปาะแห้ง เทอร์มอมิเตอร์กระเปาะเปียก (เปอร์เซนต์) เทอร์มอมิเตอร์ กระเปาะแห้ง เทอร์มอมิเตอร์กระเปาะ เปียก 8.00 10.00 12.00 14.00 16.00 26


คำถามท้ายกิจกรรม 1. อุณหภูมิอากาศ และความชื้นสัมพัทธ์ในช่วงเวลาต่าง ๆ ในพื้นที่เดียวกันเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร(ตอบตาม ข้อมูลจริงที่ได้จากการตรวจวัด) .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. อุณหภูมิอากาศ และความชื้นสัมพัทธ์มีความสัมพันธ์กันหรือไม่ อย่างไร เพราะเหตุใด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. อุณหภูมิอากาศ และความชื้นสัมพัทธ์มีความสัมพันธ์กันหรือไม่ อย่างไร เพราะเหตุใด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. ความชื้นสัมพัทธ์กับพื้นที่ตรวจวัดมีความสัมพันธ์กันหรือไม่ อย่างไร เพราะเหตุใด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. จากกิจกรรมสรุปได้ว่าอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ➢ ในสภาวะที่อากาศนิ่งไม่ค่อยมีลมพัดปริมาณไอน้ำในอากาศในพื้นที่ไม่เปลี่ยนแปลงมาก ความชื้นสัมพัทธ์ จะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิอากาศ เมื่ออุณหภูมิอากาศต่ำในช่วงเช้า ความชื้นสัมพัทธ์มีค่าสูง และเมื่ออุณหภูมิ อากาศสูงในช่วงกลางวันหรือบ่ายความชื้นสัมพัทธ์จะมีค่าต่ำ เนื่องจากอุณหภูมิอากาศมีผลต่อปริมาณไอน้ำ อิ่มตัว ➢ ความชื้นสัมพัทธ์ ในสภาวะปกติมีค่าสูงสุด 100 เปอร์เซนต์ แต่ในบางสภาวะอาจพบค่าความชื้นสัมพัทธ์สูง กว่า100 เปอร์เซนต์ เราเรียกสภาวะนั้นว่าสภาวะอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำยิ่งยวด (supersaturated) ซึ่งอาจ เกิดได้จากการที่อากาศไม่มีตัวกลางให้ไอน้ำเกาะตัวเพื่อ ควบแน่น ➢ อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจวัดความชื้นสัมพัทธ์ มีหลากหลาย เช่น ไซครอมิเตอร์ ไฮโกรมิเตอร์ เครื่องมือวัดความชื้นสัมพัทธ์ เรียกว่า ไฮกรอมิเตอร์ ที่นิยมใช้มี 2 ชนิด คือ 1. ไฮกรอมิเตอร์แบบกระเปาะเปียก-กระเปาะแห้ง จะประกอบด้วยเทอร์มอเตอร์2 อัน โดยอันหนึ่งวัดณหภูมิ ตามปกติ อีกอันหนึ่งวัดอุณหภูมิในลักษณะที่เอาผ้ามาหุ้มกระเปาะ โดยให้ผ้าเปียกน้ำอยู่ตลอดเวลาเพื่อให้มีการ ระเหยของน้ำจากผ้า ทำให้ได้อุณหภูมิต่ำกว่า จากนั้นนำเอาอุณหภูมิไปใช้หาค่าความชื้นสัมพัทธ์ จากค่าความต่างของระดับอุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์ทั้งสองโดยการอ่านค่าจากตารางสำเร็จรูป 27


วิธีหาค่าความชื้นสัมพัทธ์จากไฮกรอมิเตอร์แบบกระเปาะเปียก-กระเปาะแห้งจากตารางแสดงค่า ความชื้นสัม พัทธ์เป็นเป็นเปอร์เซนต์ ไฮกรอมิเตอร์แบบกระเปาะเปียก-กระเปาะแห้ง 2. ไฮกรอมิเตอร์แบบเส้นผม ทำจากสมบัติของเส้นผมที่ขึ้นอยู่กับความชื้น ถ้ามีความชื้นมากเส้นผมจะยืดตัว ออกไป ถ้ามีความชื้นน้อยเส้นผมจะหดตัว ไฮกรอมิเตอร์แบบเส้นผม อ่านอุณหภูมิจาก กระเปาะเปียกได้ 23q c อ่านอุณหภูมิจาก กระเปาะแห้งได้27 q c 28


1.ถ้าค่าความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 85 อุณหภูมิกระเปาะแห้งเป็น 30 องศาเซลเซียส อุณหภูมิกระเปาะเปียกเป็น เท่าใด .............................................................................................................................................................................. 2.ถ้าอากาศมีความชื้นสัมพัทธ์ต่ำ น้ำจะระเหยได้มากขึ้นหรือน้อยลงเป็นเพราะเหตุใด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. ถ้าอุณหภูมิจากเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะแห้ง และเทอร์มอมิเตอร์กระเปาะเปียกไม่ต่างกัน ความชื้นสัมพัทธ์ ในอากาศควรมีค่าเท่าใด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4.หากปริมาณไอน้ำจริงในอากาศมีค่าคงที่ เมื่ออุณหภูมิลดลง ความชื้นสัมพัทธ์จะมีค่าเพิ่มขึ้นหรือลดลง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5.เหตุใดบริเวณที่อยู่ใกล้แหล่งน้ำจึงมีความชื้นสัมพัทธ์สูงกว่าบริเวณที่อยู่ไกลแหล่งน้ำ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 6. พื้นที่สองบริเวณมีความชื้นสัมพัทธ์เท่ากัน จะสามารถสรุปได้หรือไม่ว่าอากาศทั้งสองบริเวณมีความชื้น เท่ากัน เพราะเหตุใด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 7. เหตุใดทะเลหมอกจึงมักพบในช่วงเช้า ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. 8. เหตุใดผ้าที่ตากไว้ในบางวันจึงแห้งช้ากว่าปกติ ................................................................................................................................................................................. . ............................................................................................................................................................................... ร่วม กัน คิด 4 29


9.เหตุใดจึงพบหยดน้ำเกาะบริเวณข้างแก้วน้ำเย็น ................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................. 10. เหตุใดความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยในฤดูร้อน จึงต่ำกว่าฤดูหนาว ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ภาพที่ 7 ข้อมูลดาวเทียม Himawari ประเทศญี่ปุ่น ที่มา หนังสือแบบเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 สสวท เรื่องที่ 5 เมฆและฝน ภาพนำเรื่อง คือ ภาพถ่ายผ่านดาวเทียมเหนือน่านฟ้า ประเทศไทย โดยแสดงปริมาณเมฆที่ปกคลุม 30


จงเขียนเครื่องหมาย หน้าข้อความที่ถูกต้อง 1. ข้อใดบ้างต่อไปนี้ที่จัดเป็นหยาดน้ำฟ้า น้ำค้าง น้ำค้างแข็ง ฝน หมอก เมฆ หิมะ ลูกเห็บ 2. ข้อความต่อไปนี้ข้อใดถูกต้องบ้าง เมฆเป็นไอน้ำ การควบแน่นของเมฆทำให้เกิดฝน เมฆเป็นกลุ่มของละอองน้ำ ละอองน้ำที่รวมตัวกันจนมีน้ำหนักมากทำให้เกิดฝน กิจกรรมที่ 6 เมฆที่เห็นเป็นอย่างไร จุดประสงค์: 1. สังเกต อธิบายลักษณะ และจำแนกประเภทของเมฆ 2. ตรวจวัดปริมาณเมฆปกคลุมบนท้องฟ้า วัสดุและอุปกรณ์ แผนภาพเมฆ วิธีการดำเนินกิจกรรม 1. ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับวิธีสังเกตเมฆในท้องฟ้า ข้อมูลที่ควรจะได้จากการสังเกตเมฆ 2. สังเกตวาดภาพเมฆ จำแนกเมฆที่พบตามเกณฑ์ของตนเอง บอกปริมาณเมฆในท้องฟ้าตามวิธีการที่ได้ อภิปรายร่วมกันจากข้อ 1 และนำเสนอ 3. ศึกษาวิธีการสังเกตเมฆ แผนภาพเมฆ อภิปรายเกี่ยวกับวิธีการสังเกตลักษณะและปริมาณเมฆปกคลุม ตาม วิธีการในเกล็ดน่ารู้ รวมทั้งวางแผนการสังเกตลักษณะของเมฆและปริมาณเมฆปกคลุมท้องฟ้าในเวลาเข้า กลางวัน และเย็น 4. สังเกตเมฆอีกครั้งหนึ่งตามวิธีการจากข้อ 3 และบันทึกข้อมูลโดยการวาดภาพหรือถ่ายภาพ และบรรยาย ลักษณะเมฆที่พบ รวมทั้งปริมาณเมฆปกคลุม 5. ระบุซื่อเมฆที่พบโดยใช้แผนภาพเมฆ ผลการทำกิจกรรม เช้า พบเมฆลักษณะ……………………………………………………………………………………………………………………. อยู่ในท้องฟ้าประมาณ …………………………………………………………………………………………………………………. ทบทวนความรู้ก่อนเรียน 5 31 กิจกรรม สืบเสาะ ค้นหา 6


กลางวัน พบเมฆลักษณะ………………………………………………………………………………………………………………… อยู่ในท้องฟ้าประมาณ …………………………………………………………………………………………………………………… เย็น พบเมฆลักษณะ……………………………………………………………………………………………………………………… อยู่ในท้องฟ้าประมาณ ………………………………………………………………………………………………………………….. คำถามท้ายกิจกรรม 1. จากการสังเกตเมฆครั้งแรก เมฆที่พบมีลักษณะเป็นอย่างไรบ้าง สามารถจำแนกเมฆที่พบตามเกณฑ์ของ ตนเองได้เป็นกี่ประเภท อย่างไรบ้าง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. เมื่อศึกษาวิธีการสังเกตเมฆ และแผนภาพเมฆ และออกไปสังเกตเมฆอีกครั้งหนึ่ง ได้ข้อมูลเพิ่มเติมจากการ สังเกตด้วยวิธีการของตนเองหรือไม่ อย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. เมฆที่พบในแต่ละช่วงเวลา เช้า กลางวัน และเย็น มีลักษณะและปริมาณแตกต่าง กันหรือไม่ อย่างไร และพบเมฆชนิดใดมากที่สุด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. จากกิจกรรมสรุปได้ว่าอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 32


เมฆและฝน น้ำในธรรมชาติทำให้เกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติบางอย่าง เช่น เมฆ หมอก ฝน น้ำค้าง ลูกเห็บและหิมะ เมฆ (cloud) เมฆเกิดจากการรวมตัวของไอน้ำในอากาศเกาะกลุ่มจับตัวกันเป็น ละอองน้ำลอยอยู่ในระดับสูง เมฆในแต่ละวันจะมีปริมาณไม่เท่ากันขึ้นกับสภาพบรรยากาศในแต่ละวัน ตาราง ลักษณะของเมฆชนิดต่าง ๆ ชื่อเมฆ ลักษณะของเมฆ สเตรโตคิวมูลัส สีเทามีลักษณะอ่อนนุ่มและนูนออกเป็นสัน เมื่อรวมกันจะเป็นคลื่นส่วนมากไม่มีฝน นิมโบสเตรตัส สีเทาดำ ไม่เป็นรูปร่าง ฐานต่ำใกล้พื้นดิน ไม่เป็นระเบียบ คล้ายผ้าขี้ริ้ว คิวมูลัส หนา ก่อตัวในทางตั้ง ไม่เห็นแสงอาทิตย์หรือแสงจันทร์ คิวมูโลนิมบัส เป็นเมฆหนา มีฟ้าแลบฟ้าร้อง ทึบมืด มีรูปทั่ง เซอร์รัส บาง ๆ ละเอียดสีขาวและฝอยหรือปุยคล้ายขนนก อาจมีวงแสง โปร่งแสง เซอร์โรสเตรตัส บาง ๆ โปร่งแสงเหมือนม่าน มีสีขาวหรือน้ำเงินจาง อาจมีวงแสงได้ เซอร์โรคิวมูลัส บางๆ สีขาวเป็นก้อนเล็ก ๆ เหมือนคลื่นและเกล็ด โปร่ง และมองเห็น ดวงอาทิตย์ หรือดวงจันทร์ได้ อัลโตคิวมูลัส สีขาว บางครั้งสีเทา มีลักษณะเป็นก้อนกลมใหญ่และแบน มีการจัดตัวกันเป็นแถว ๆ หรือคลื่น อาจมีแสงทรงกลม อัลโตสเตรตัส ม่านสีเทาและสีฟ้าแผ่เป็นบริเวณกว้าง มองดูเรียบเป็นปุยหรือฝอยละเอียด อาจมี แสงทรงกลด สเตรตัส เหมือนหมอกแต่อยู่สูงจากพื้นดินเป็นชั้นและแผ่น มีสีเทา มองไม่เห็นดวงอาทิตย์ หรือดวงจันทร์ 33


ตารางการแปลผลปริมาณเมฆปกคลุมจากค่าประมาณปริมาณเมฆปกคลุมที่ตรวจวัด การวัดปริมาณน้ำฝนจะใช้เครื่องมือวัดปริมาณฝนที่เรียกว่า rain gauge ซึ่งประกอบด้วยกระบอก ด้านนอกทำด้วยโลหะ กระบอกด้านในทำด้วยแก้วหรือโลหะสำหรับเก็บน้ำฝน ด้านบนมีกรวยสำรองรับน้ำฝน ให้ไหลลงถ้วยหรือขวดแก้วด้านล่าง ควรวางเครื่องมือวัดปริมาณน้ำฝนไว้ในที่โล่งห่างจากอาคารและต้นไม้และ ตั้งให้สูงจากพื้นดินประมาณครึ่งเมตร ภาพที่8 อุปกรณ์วัดน้ำฝน ที่มา: https://shorturl.asia/v5stP ปริมาณเมฆปกคลุม ค่าประมาณปริมาณเมฆปกคลุมของพื้นที่ทั้งหมด ไม่มีเมฆ (No clouds) ท้องฟ้าไม่มีเมฆปกคลุม หรือไม่สามารถมองเห็นเมฆได้ ท้องฟ้าแจ่มใส (Clear clouds) ปริมาณเมฆปกคลุมท้องฟ้าน้อยกว่า 10% เมฆบางส่วน (Isolated clouds) ปริมาณเมฆปกคลุมท้องฟ้า 10% - 25% เมฆกระจัดกระจาย (Scattered clouds) ปริมาณเมฆปกคลุมท้องฟ้า 25% - 50% เมฆเป็นหย่อมๆ (Broken clouds) ปริมาณเมฆปกคลุมท้องฟ้า 50% - 90% เมฆครึ้ม (Overcast clouds) เมฆปกคลุมท้องฟ้ามากกว่า 90% ฝน (rain) เป็นหยาดน้ำฟ้าชนิดหนึ่งที่ อยู่ในสถานะของเหลว เกิดจากหยด น้ำที่รวมกันเป็นเมฆมีขนาดใหญ่ขึ้น เรื่อยๆ จนอากาศอุ้มไว้ไม่ได้จึงตกลง มาเป็นฝนฝนแบ่งออกเป็นฝน ละออง ฝน ฝนซู่ พายุฝนฟ้าคะนอง ลูกเห็บ 34


เกณฑ์ปริมาณฝนรายวัน ปริมาณฝน ปริมาณฝนที่ตรวจวัดได้ ฝนเล็กน้อย (Light Rain) 0.1 มิลลิเมตร ถึง 10.0 มิลลิเมตร ฝนปานกลาง (Moderate Rain) 10.1 มิลลิเมตร ถึง 35.0 มิลลิเมตร ฝนหนัก (Heavy Rain) 35.1 มิลลิเมตร ถึง 90.0 มิลลิเมตร ฝนหนักมาก (Very Heavy Rain) 90.1 มิลลิเมตร ขึ้นไป เกณฑ์ปริมาณฝนเพื่อเตือนภัย เกณฑ์การเตือนภัยดินถล่มและน้ำป่าไหลหลากในพื้นที่เสี่ยงภัยสามารถใช้ปริมาณฝนเป็นเกณฑ์หนึ่งใน การเตือนภัยหากปริมาณฝนตกเกินกว่า 100 มิลลิเมตรต่อวัน จะถือว่าอยู่ในระดับเสี่ยงภัยต่อการเกิดดินถล่มและ น้ำป่าไหลหลาก ที่มา : กลุ่มวางแผนการจัดการที่ดินในพื้นที่เสี่ยงภัยทางการเกษตร , กรมพัฒนาที่ดิน ขนาดละอองน้ำและหยดน้ำ ละอองน้ำในเมฆมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 20 ไมโครเมตร หยดน้ำฝนมีเส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 2,000 ไมโครเมตร 1.เหตุใดเมฆที่อยู่ระดับสูงจึงประกอบไปด้วยผลึกน้ำแข็งเกือบทั้งหมด .............................................................................................................................................................................. 2.ในวันที่ปริมาณไอน้ำในอากาศสูง เมฆที่พบน่าจะมีลักษณะอย่างไร .............................................................................................................................................................................. 3. ในวันที่มีลมแรง ปริมาณเมฆปกคลุมน่าจะเป็นอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4.เหตุใดจึงบอกปริมาณฝนโดยใช้หน่วยวัดความยาว เช่น มิลลิเมตร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ร่วม กัน คิด 5 35


5. จากภาพ ปริมาณฝนเฉลี่ยรายเดือนของประเทศไทยมีค่ามากที่สุดและน้อยที่สุดมีค่าเท่าใดและตรงกับเดือน อะไร เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ภาพ ปริมาณฝนเฉลี่ยรายเดือนของประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2524 -2553 .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 6. จากภาพ ปริมาณฝนเฉลี่ยมากที่สุดและน้อยที่สุดในรอบปีเกิดในภาคใด เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ภาพ ปริมาณฝนเฉลี่ยรายภูมิภาคของประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2524 -2553 ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา, 2560 .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 7.ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อปริมาณฝน .............................................................................................................................................................................. 36


8. พื้นที่ที่นักเรียนอาศัยอยู่มีปริมาณฝนมากที่สุดในช่วงเดือนใด เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยน้อยที่สุดในรอบปี คือ ภาคเหนือ เพราะเป็นพื้นที่อยู่ห่างทะเล ทำให้มีความชื้นใน อากาศต่ำและเกิดเมฆฝนได้ยาก รวมทั้งได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้น้อย จึงทำให้เกิดฝนน้อยกว่า ภาคอื่น ๆ ถึงแม้ภาคเหนือจะได้รับอิทธิพลจากมรสุมะวันออกเฉียงเหนือแต่มรสุมดังกล่าวเป็นมรสุมที่พัดพามา จากพื้นทวีป จึงไม่ได้นำความชื้นมาด้วย ภาพที่ 9 ภาพระบบเก็บข้อมูลลมฟ้าอากาศ ที่มา หนังสือแบบเรียนวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 สสวท เรื่องที่ 6 การพยากรณ์อากาศ ภาพนำเรื่อง คือ ภาพกราฟฟิกแสดงระบบเก็บ ข้อมูลลมฟ้าอากาศ ครอบคลุมทุกแหล่ง เช่น การเก็บ ข้อมูลภาคพื้นดิน ภาคอากาศ และภาคพื้นน้ำ 37


เขียนเครื่องหมาย หน้าข้อความที่เป็นองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ อุณหภูมิอากาศ ความกดอากาศ ความชื้น ปริมาณฝุ่น กิจกรรมที่ 7 การพยากรณ์อากาศทำได้อย่างไร จุดประสงค์: รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศเพื่อพยากรณ์อากาศอย่างง่าย วัสดุและอุปกรณ์ ข้อมูลองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ 7 วัน วิธีการดำเนินกิจกรรม 1. รวบรวมข้อมูลองค์ประกอบลมฟ้าอากาศย้อนหลังเป็นเวลา 6 วัน จากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น เว็บไซต์กรม อุตุนิยมวิทยา และเว็บไซต์อื่นๆ 2. นำข้อมูลที่รวบรวมได้ตั้งแต่วันที่ 1-6 มาจัดกระทำในรูปแบบต่างๆเช่น กราฟเส้น แผนภูมิแท่ง ตาราง และรูปแบบอื่นๆ ตามความเหมาะสมโดยอาจใช้โปรแกรมสำเร็จรูปต่างๆ 3. วิเคราะห์แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบลมฟ้าอากาศจากข้อมูลที่ได้จัดกระทำ เพื่อ สร้างคำพยากรณ์อากาศในวันถัดไป โดยพยากรณ์อุณหภูมิอากาศต่ำสุด อุณหภูมิอากาศสูงสุด และปริมาณฝน จากนั้นนำเสนอการพยากรณ์อากาศต่อชั้นเรียน 4. ตรวจสอบความถูกต้องของคำพยากรณ์กับสิ่งที่เกิดขึ้นจริงในวันที่ 7 โดยเปรียบเทียบพยากรณ์อากาศ อุณหภูมิอากาศต่ำสุด อุณหภูมิอากาศสูงสุด และปริมาณฝนกับข้อมูลลมฟ้าอากาศที่สืบค้นเพิ่มเติมจาก แหล่งข้อมูลเดียวกันจากนั้นอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียนเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อความแม่นยำของการพยากรณ์ อากาศ ผลการทำกิจกรรม ตัวอย่างที่ 1 ข้อมูลอุณหภูมิต่ำสุด อุณหภูมิสูงสุด ปริมาณฝน และความเร็วลม ระหว่างวันที่ 21 - 26 ก.พ. 2560 ในพื้นที่หนึ่งแสดงดังตาราง การวิเคราะห์ คาดว่าในวันที่ 27 ก.พ. 2560 อุณหภูมิอากาศต่ำสุดจะลดลงเป็น 24.0 องศาเซลเซียสอุณหภูมิอากาศ สูงสุดเป็น 30.0 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ำฝนจะเพิ่มมากขึ้นเป็น3 มิลลิเมตร ข้อมูลจริง ข้อมูลอุณหภูมิต่ำสุด อุณหภูมิสูงสุด ปริมาณฝน และความเร็วลม ในวันที่ 27 ก.พ. 2560 แสดงดัง ตาราง ทบทวนความรู้ก่อนเรียน 6 38 กิจกรรม สืบเสาะ ค้นหา 7


ข้อมูลสภาพลมฟ้าอากาศที่สืบค้นได้ ในพื้นที่หนึ่ง ระหว่างวันที่ 23 ก.พ.- 1 มี.ค. 2560 แสดงดังตาราง วันเดือนปี อุณหภูมิอากาศ (˚C) ลมสูงสุด ปริมาณ ฝน mm. สูงสุด ต่ำสุด ทิศทาง หมายเหตุ (มุมทิศ) ความเร็ว (km/hr) 1/3/60 26.6 36.5 120 7.4 0 ท้องฟ้ามีเมฆเล็กน้อย-ส่วนมาก 28/2/60 26.2 35.8 90 20.4 0 ท้องฟ้ามีเมฆบางส่วน 27/2/60 27.0 35.0 120 7.4 0 ท้องฟ้ามีเมฆบางส่วน 26/2/60 26.8 34.3 240 7.4 0 ท้องฟ้ามีเมฆเล็กน้อย-ส่วนมาก 25/2/60 27.3 34.8 120 13.0 0 ท้องฟ้ามีเมฆเล็กน้อย-ส่วนมาก 24/2/60 27.2 35.0 150 9.3 0 ท้องฟ้ามีเมฆเล็กน้อย-ส่วนมาก 23/2/60 27.0 35.8 140 9.3 0 ท้องฟ้ามีเมฆเล็กน้อย-ปานกลาง นำข้อมูลมาจัดกระทำ วันที่ อุณหภูมิต่ำสุด (ºC) อุณหภูมิสูงสุด (ºC) ปริมาณน้ำฝน (mm.) ความเร็วลม (km/hr) 21/2/2560 23.5 31.8 0 22.2 22/2/2560 23.2 31.5 0 24.1 23/2/2560 24.2 31.7 0 24.1 24/2/2560 24.0 32.1 0 22.2 25/2/2560 23.8 31.6 0.8 24.1 26/2/2560 25.0 31.5 2.5 37.1 27/2/2560 24.4 30.8 3.1 44.5 39


การวิเคราะห์ข้อมูล อุณหภูมิต่ำสุด ย้อนหลัง 6 วัน พบว่าอุณหภูมิมีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงลดต่ำลงก่อนที่ จะเพิ่มขึ้นข้อมูลอุณหภูมิสูงสุด ย้อนหลัง 6 วัน พบว่าอุณหภูมิมีแนวโน้มเปลี่ยนแปลงลดต่ำลงก่อนที่จะเพิ่มขึ้น ข้อมูลปริมาณน้ำฝนพบว่า ตลอดช่วง 6 วันที่ผ่านมาไม่มีการเกิดฝนตก ข้อมูลความเร็วลมพบว่าลมมีความเร็ว เพิ่มขึ้นสูงก่อนลดลง ดังนั้นในวันที่ 2 มีนาคม คาดว่าอุณหภูมิอากาศต่ำและสูงสุดของวันจะมีค่าเพิ่มขึ้น เป็น 27 และ 37 องศาเซลเซียสตามลำดับ และจะไม่มีฝนตกในวันนั้น ข้อมูลจริง สภาพอากาศพื้นที่เดียวกันของวันที่ 2 มี.ค. 2560 เพื่อให้มีข้อมูลเพียงพอที่จะดูแนวโน้มของสภาพอากาศ โดยที่ลักษณะอากาศยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปมากนักจึง ใช้ข้อมูล ประมาน 6 วัน คำถามท้ายกิจกรรม 1. กิจกรรมนี้มีขั้นตอนในการพยากรณ์อากาศอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. จากกิจกรรมนี้ เหตุใดจึงต้องเก็บรวบรวมข้อมูลองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ 6 วัน เพื่อใช้ในการพยากรณ์ อากาศ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. คำพยากรณ์ อุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิต่ำสุด และปริมาณฝน ตรงกับข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในวันพยากรณ์หรือไม่ อย่างไร .............................................................................................................................................................................. 4. จากกิจกรรมสรุปได้ว่าอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ➢การพยากรณ์อากาศ หมายถึง การคาดหมายสภาวะของลมฟ้าอากาศรวมทั้งปรากฏการณ์ธรรมชาติที่จะ เกิดขึ้นล่วงหน้า โดยใช้สภาวะอากาศ ปัจจุบันเป็นข้อมูลเริ่มต้นหน่วยงานของประเทศไทยที่ทำหน้าที่ในการตรวจ สภาพอากาศและปรากฏการณ์ธรรมชาติเพื่อการพยากรณ์อากาศและเตือนภัยที่เกิดจากธรรมชาติ คือ กรม อุตุนิยมวิทยา ขั้นตอนการพยากรณ์อากาศ มีดังนี้ 1. ตรวจสภาพอากาศ โดยสถานีตรวจอากาศบนบกหรือทะเล จะตรวจวัดอุณหภูมิของอากาศ ความชื้น ความกด อากาศ ลม เมฆ หยาดน้ำฟ้า ทัศนวิสัย บอลลูนตรวจสภาพอากาศจะนำเครื่องมือที่จะทำการวัดอุณหภูมิ ความกด อากาศ และความชื้นไปสู่ชั้นโทรโพสเฟียร์และสตราโตสเฟียร์ดาวเทียมตรวจสภาพอากาศจะอยู่ในชั้นเอกโซส เฟียร์ และสามารถถ่ายภาพพื้นผิวโลก เมฆ และพายุ ส่งข้อมูลมายังสถานีรวบรวมข้อมูลได้ 2. สื่อสารข้อมูลที่ได้จากการตรวจสภาพอากาศจากสถานีต่างๆ ไปยังศูนย์พยากรณ์อากาศ 3. เขียนแผนที่อากาศ วิเคราะห์ข้อมูล และพยากรณ์อากาศ โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยในการคำนวณแล้วส่ง ข้อมูลการพยากรณ์อากาศไปยังหน่วยงานสื่อสารมวลชน 40


การอ่านแผนที่อากาศ แผนที่อากาศ คือ แผนที่ที่แสดงองค์ประกอบทางอุตุนิยมวิทยา ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ข้อมูลต่างๆ ใน แผนที่อากาศได้รับมาจากสถานีตรวจอากาศ แล้วนำข้อมูลมาเขียนเป็นตัวเลข รหัส และสัญลักษณ์ต่างๆ ทาง อุตุนิยมวิทยา ข้อมูลที่อยู่ในแผนที่อากาศจะนำไปใช้ในการคาดหมายการเปลี่ยนแปลงลักษณะอากาศที่จะเกิด ขึ้น ตัวอย่างสัญลักษณ์ทางอุตุนิยมวิทยาบนแผนที่อากาศ มีดังนี้ 1. เส้นโค้งที่เชื่อมต่อระหว่างบริเวณที่มีความกดอากาศเท่ากัน เรียกว่า เส้นไอโซบาร์ (Isobar) ตัวเลขบนเส้นไอโซบาร์แสดงค่าความกดอากาศที่อ่านได้ ซึ่งอาจอยู่ในหน่วยมิลลิบาร์ หรือนิ้วของปรอท 2. เส้นโค้งที่เชื่อมต่อระหว่างบริเวณที่มีอุณหภูมิของอากาศเท่ากัน เรียกว่า เส้นไอโซเทอร์ม (Isotherm) ค่าอุณหภูมิอาจบอกในหน่วยองศาเซลเซียส หรือองศาฟาเรนไฮต์ หรือทั้งสองหน่วย 3. อักษร H คือ ศูนย์กลางของบริเวณที่มีความกดอากาศสูง 4. อักษร L คือ ศูนย์กลางของบริเวณที่มีความกดอากาศต ่า ภาพที่ 10 ตัวอย่างแผนที่อากาศ ที่มา :https://shorturl.asia/uIHy3 41


ความสำคัญของการพยากรณ์อากาศ ช่วยให้บุคคลทุกอาชีพมีการเตรียมพร้อมที่จะป้องกันแก้ไขภัยอันตรายหรือความสูญเสียอันเกิดจาก ปรากฏการณ์ทางลมฟ้าอากาศได้ 1.การที่สถานีอุตุนิยมวิทยามีการใช้เครื่องมือตรวจวัดองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ จัดว่าอยู่ในขั้นตอนใดของ การพยากรณ์อากาศ .............................................................................................................................................................................. 2.บุคคลกลุ่มใดที่ควรติดตามข่าวสารการพยากรณ์อากาศอย่างสม่ำเสมอ เพราะเหตุใด .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ร่วม กัน คิด 6 42


คิดแบบนักวิทย์ ขั้นน าปัญญาพัฒนาความคิด กิจกรรม ฝึกท า : ฝึกสร้าง ให้นักเรียนนำเสนอผังมโนทัศน์สรุปองค์ความรู้ในบทเรียนลม ฟ้าอากาศรอบตัว 43


Click to View FlipBook Version