The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

3.ชุดกิจกรรมกระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ บทที่ 1 ลมฟ้าอากาศรอบตัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Anocha Utumsakulrat, 2023-10-12 22:31:08

3.ชุดกิจกรรมกระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ บทที่ 1 ลมฟ้าอากาศรอบตัว

3.ชุดกิจกรรมกระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ บทที่ 1 ลมฟ้าอากาศรอบตัว

จากสถานการณ์ “สำรวจความแรงลมและทิศทางลมภายในโรงเรียน” (10 คะแนน) จุดประสงค์ ออกแบบและสร้างอุปกรณ์ในการตรวจวัดความแรงลมและทิศทางลม วัสดุและอุปกรณ์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ผลการทำกิจกรรม องค์ความรู้และทักษะที่ได้จากกิจกรรม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… กิจกรรม คิดดี ผลงานดี มีความส ุข ขั้นน าปัญญาพัฒนาตนเอง ภาพร่าง รูปชิ้นงาน 44


เกณฑ์การประเมิน รายการประเมิน ดีมาก (5 คะแนน) ดี (3 คะแนน) พอใช้ (1 คะแนน) การนำเสนอแบบร่าง นำเสนอแนวทางใน การออกแบบโครงสร้าง การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับ การเคลื่อนที่ของลม เนื่องจากความแตกต่าง ของความดันอากาศ นำเสนอแนวทางในการ ออกแบบโครงสร้าง การ เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์โดย ใช้ความรู้เกี่ยวกับการ เคลื่อนที่ของลมเนื่องจาก ความแตกต่างของความดัน อากาศได้ถูกต้องแต่อาจจะ ไม่ครบถ้วน นำเสนอแนวทางในการ ออกแบบโครงสร้าง การ เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์โดย ใช้ความรู้เกี่ยวกับการ เคลื่อนที่ของลมเนื่องจาก ความแตกต่างของความ ดันอากาศได้ถูกต้องบาง ส่วนและอาจมีแนวคิด คลาดเคลื่อน ประสิทธิภาพอุปกรณ์ ในการตรวจวัดความ แรงลมและทิศทางลม อุปกรณ์ในการตรวจวัด ลมเปลี่ยนแปลงไปตาม ทิศทางตามความแรงลม อุปกรณ์ในการตรวจวัดลม เปลี่ยนแปลงไปตามทิศทาง ตามความแรงลมได้เป็นส่วน ใหญ่ อุปกรณ์ในการตรวจวัดลม เปลี่ยนแปลงไปตาม ทิศทางตามความแรงลม ได้บางครั้ง การปรับปรุงชิ้นงาน วิเคราะห์ข้อบกพร่องใน ชิ้นงานได้ พร้อมเสนอวิธี แก้ไขชิ้นงานโดยใช้ความ รู้เกี่ยวกับความแตกต่าง ของความดันอากาศหรือ ความรู้วิทยาศาสตร์อื่น ๆ ได้อย่างมีเหตุผลได้ ด้วยตนเอง วิเคราะห์ข้อบกพร่องใน ชิ้นงานได้ พร้อมเสนอ วิธีแก้ไขชิ้นงานโดยใช้ความรู้ เกี่ยวกับความแตกต่างของ ความดันอากาศหรือความรู้ วิทยาศาสตร์อื่น ๆ ได้โดย การชี้แนะของครู วิเคราะห์ข้อบกพร่องใน ชิ้นงานได้ แต่ไม่นำเสนอ วิธีแก้ไขชิ้นงาน 45


คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ ใช้เวลา 10 นาที 1. ข้อใดเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้รังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ผ่านมายังพื้นผิวโลกได้น้อยลง ก. เมฆในชั้นโทรโพสเฟียร์ ช่วยสะท้อนรังสีอัตราไวโอเลต ข. โอโซนในชั้นสตราโตสเฟียร์ ช่วยดูดกลืนรังสีอัตราไวโอเลต ค. แก๊สออกซิเจนในชั้นโทรโพสเฟียร์ ช่วยดูดกลืนรังสีอัตราไวโอเลต ง. อากาศที่แตกตัวเป็นประจุในชั้นเทอร์โมสเฟียร์ ช่วยสะท้อนรังสีอัตราไวโอเลต 2. บรรยากาศชั้นใดที่มีแก๊สไนโตรเจนหนาแน่นที่สุด ก. มีโซสเฟียร์ ข. เทอร์โมสเฟียร์ ค. โทรโพสเฟียร์ ง. สตราโตสเฟียร์ 3. “ผิวโลกที่มีลักษณะแตกต่างกัน สามารถดูดกลืนและสะท้อนรังสีจากดวงอาทิตย์ได้แตกต่างกัน”ข้อใดไม่ใช่ ปรากฏการณ์ที่เกิดจากคำกล่าว ข้างต้น ก. ความแตกต่างของอุณหภูมิอากาศในบริเวณต่าง ๆ ข. ความแตกต่างของความชื้นในบริเวณต่าง ๆ ค. ปรากฏการณ์เรือนกระจก ง. การเกิดลม 4. สถานการณ์ใดที่แสดงว่าอากาศมีความดัน ก. หายใจไม่ออกเมื่ออยู่ในที่สูง ข. การดูดของเหลวโดยใช้หลอดกาแฟ ค. เมื่อโยนของขึ้นไปในอากาศ ของจะตกลงสู่พื้นเสมอ ง. บรรยากาศยังคงห่อหุ้มโลกไม่หลุดลอยออกไป 5. นักเรียน 4 คน ทำการทดลอง ณ สถานที่ต่างกัน โดยนำเทอร์มอมิเตอร์ 2 อัน อันแรกหุ้มด้วยสำลีชุบน้ำ อีกอันหนึ่งไม่หุ้ม นำเทอร์มอมิเตอร์ทั้งคู่ไปวางไว้ในสถานที่ต่างกัน 4 แห่ง หลังจากนั้น 3 นาที อ่านอุณหภูมิของ เทอร์มอมิเตอร์ทั้งสองได้ผลตามตาราง สถานที่ทดลอง อุณหภูมิจากเทอร์มอมิเตอร์ไม่หุ้ม สำลีชุบน้ำ ( ํC) อุณหภูมิจากเทอร์มอมิเตอร์ หุ้มสำลีชุบน้ำ ( ํC) A 26.0 25.0 B 26.0 24.0 C 28.0 26.5 D 28.0 26.0 จากข้อมูลแสดงว่าอากาศที่ใด มีปริมาณไอน้ำใกล้ปริมาณไอน้ำอิ่มตัวมากที่สุด ก. A ข. B ค. C ง. D 6. นำเครื่องวัดปริมาณฝน 2 อัน ซึ่งมีขนาดต่างกัน วัดปริมาณฝนในบริเวณเดียวกัน เครื่องวัดปริมาณฝน อันหนึ่งวัดปริมาณฝนได้ ดังภาพ เครื่องวัดปริมาณฝนอีกอันหนึ่งซึ่งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางแคบกว่าจะวัดปริมาณฝนได้ตามภาพใด แบบประเมินตนเองหลังเรียน 46


ก. ข. ค. ง. คำพยากรณ์อากาศประจำวัน ให้ข้อมูลดังนี้ ลมตะวันตกเฉียงเหนือในระดับบนยังคงพัดผ่านเทือกเขาหิมาลัยเข้ามาปกคลุมภาคเหนือ และมีลม ตะวันออกพัดนำความชื้นจากทะเลจีนใต้เข้ามาปกคลุมภาคใต้ 7. ข้อมูลจากคำพยากรณ์ดังกล่าว ไม่ควรเกิดลักษณะอากาศแบบใด ก. ภาคเหนืออุณหภูมิสูงขึ้น ข. ภาคเหนือลมแรง ค. ภาคใต้มีเมฆมาก ง. ภาคใต้ทะเลมีคลื่นสูง คะแนนเต็ม 7 คะแนน ได้ ........... คะแนน 47


เอกสารอ้างอิง ศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ และ คณะ . (2551). สื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างทักษะตามมาตรฐานและ ตัวชี้วัดชั้นปีกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เล่ม 1. กรุงเทพฯ.นิยมวิทยา. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ,สถาบัน. คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์1 ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1. (2553). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, (2553). สถาบัน.หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ 1 ชั้น มัธยมศึกษา ปีที่ 1 เล่ม 1 .กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, (2561). สถาบัน.หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ เล่ม2 ชั้น มัธยมศึกษา ปีที่ 1 เล่ม 2 .กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.


Click to View FlipBook Version