The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประวัติจังหวัดสุราษฎร์ธานี1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by อาภาพร ชนม์ทวี, 2022-03-23 22:55:21

ประวัติจังหวัดสุราษฎร์ธานี1

ประวัติจังหวัดสุราษฎร์ธานี1

ประวตั ิ
จงั หวัดสุราษฎร์ธานี

นางสาวอาภาพร ชนม์ทวี นักศึกษาฝกึ งาน



คำนำ

รายงานฉบบั นจ้ี ัดทำขึ้นเพ่อื ประกอบการเรียนวชิ าฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี โดยมีจดุ ประสงค์เพอื่ ใหผ้ ู้จัดทำ
ได้ฝึกการศึกษาค้นคว้าและนำสิ่งท่ีได้ศึกษาค้นคว้ามาสร้างเป็นชิน้ งานเก็บไว้เป็นประโยชน์ตอ่ การเรียนการสอของ
ตนเองและผู้อน่ื ตอ่ ไป

ทง้ั นเี้ นื้อหาไดร้ วบรวมมาจากหนงั สือแบบเรยี นและจากหนังสือคู่มือการเรยี นอีกหลายแล่มขอขอบพระคุณ
อาจารย์และพี่เล้ยี งเป็นอยา่ งสูงที่กรุณาตรวจ ใหค้ ำแนะนำเพ่ือแก้ไข ให้ข้อเสนอแนะตลอดการทำงาน ผู้จัดทำหวัง
วา่ รายงานฉบับน้ีคงมีประโยชนต์ ่อผู้ทีน่ ำไปใช้ให้เกิดผลตามความคาดหวัง



สารบัญ

คำนำ .....................................................................................................................................................................ก
สารบญั ภาพ ...........................................................................................................................................................ค
สารบัญตาราง ........................................................................................................................................................ ง
ประวัตศิ าสตร์ ........................................................................................................................................................1

ทต่ี ้ังและอาณาเขต.........................................................................................................................................2
ภมู ปิ ระเทศและภูมิอากาศ .............................................................................................................................2
การปกครองส่วนภูมิภาค................................................................................................................................3
การปกครองสว่ นท้องถิ่น................................................................................................................................3
เกษตรกรรม...................................................................................................................................................8
อตุ สาหกรรม..................................................................................................................................................8
สถานีขนส่งหลักที่สำคญั ................................................................................................................................9



สารบัญภาพ

รูป 1แผนที่การแบ่งเขตการปกครอง ......................................................................................................................3
รปู 2การประกอบอาชพี ประมงที่เกาะเตา่ ..............................................................................................................8
รูป 3ท่าอากาศยานนานาชาติสรุ าษฎร์ธานี.............................................................................................................9
รปู 4ท่าอากาศยานนานาชาติสมุย..........................................................................................................................9
รูป 5สถานีรถไฟสุราษฎร์ธานี.................................................................................................................................9



สารบญั ตาราง

ตารางที่ 1รายชื่อผ้วู ่าราชการจงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี..................................................................................................3

1

ประวัตศิ าสตร์

จังหวัดสุราษฎร์ธานีเป็นท่ีตั้งของเมืองเก่า เป็นศูนย์กลางของเมืองศรวี ิชัย มีหลักฐานแสดงถึงการต้ังรกราก
และเส้นทางสายไหมในอดีต พ้นื ที่อำเภอไชยาเจริญข้ึนจนเปน็ อาณาจักรศรีวชิ ยั ในชว่ งหลังพทุ ธศตวรรษที่ 13 โดย
มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์เป็นเครื่องยืนยันความรุ่งเรืองในอดีต ภายหลังยังเชื่อว่า เมื่ออาณาจักรตามพรลิงก์
หรือเมืองนครศรีธรรมราชมีความรุ่งเรืองมากขึ้นนั้น เมืองไชยาก็เป็นหนึ่งในเมืองสิบสองนักษัตรของเมือง
นครศรีธรรมราชด้วย ชื่อว่า "เมืองบันไทยสมอนอกจากนี้ในยุคใกล้เคียงกันนั้นยังพบความเจริญของเมืองที่เกิดขึ้น
ในบริเวณลุ่มแม่น้ำตาปี ได้แก่ เมืองเวียงสระ เมืองคีรีรัฐนิคม และเมืองท่าทอง โดยเชื่อว่าพระเจ้าศรีธรรมาโศก
ราช ผคู้ รองเมืองนครศรธี รรมราชนนั้ อพยพย้ายเมืองมาจากเมืองเวียงสระ เนื่องจากเป็นเมอื งท่ีไมม่ ีทางออกสู่ทะเล
รวมทั้งเกิดโรคภัยระบาด และเมื่อเมืองนครศรีธรรมราชเจริญรุ่งเรืองนั้น ได้ยกเมืองไชยา และเมืองท่าทอง เป็น
เมืองสบิ สองนักษัตรของตนด้วย

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ก่อตั้งอู่เรื่อพระที่นั่งและเรือรบเพื่อใช้ใน
ราชการท่ีอ่าวบ้านดอน ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงให้ย้ายที่ตั้งเมืองท่าทองมายัง
อ่าวบ้านดอน พร้อมทั้งยกฐานะให้เป็นเมืองจัตวา ขึ้นตรงต่อกรุงเทพมหานคร และพระราชทานชื่อว่า "เมืองกาญ
จนดษิ ฐ์ โดยแตง่ ตัง้ ให้พระยากาญจนดิษฐบ์ ดีเปน็ เจ้าเมอื งดูแลการปกครอง

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้เมืองเมืองกาญจนดิษฐ์, เมืองคีรีรัฐ
นิคมและเมอื งไชยารวมตวั เปน็ จังหวัดไชยา ขึน้ ตรงตอ่ มณฑลชุมพร เมือ่ เมืองขยายใหญ่ขน้ึ จึงมีการปรับเปลยี่ นการ
ปกครองและขยายเมืองออกไป มีการแยกเมืองกาญจนดิษฐ์เป็นอำเภอกาญจนดิษฐ์และอำเภอบ้านดอน กระท่ัง
สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการย้ายอำเภอเมืองมาท่ีอำเภอบ้านดอนและโอนชื่อมาเป็นช่ือ
อำเภอไชยา และให้ชื่อเมืองเก่าว่า "อำเภอพุมเรียง" ทว่าประชาชนยังติดเรียกชื่อเมืองเก่าว่า "อำเภอไชยา" ทั้งตัว
พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ ัวไมโ่ ปรดปรานชื่อบ้านดอน จงึ พระราชทานนามอำเภอบ้านดอนว่า

"สุราษฎร์ธานี" และยังคงชื่ออำเภอพุมเรียงว่าอำเภอไชยาเช่นเดิม รวมถึงเปลี่ยนชื่อจังหวัดเป็นจังหวัดสุ
ราษฎร์ธานี และพระราชทานนามแม่น้ำตาปี ให้ในคราวเดียวกันนั้นเอง ซึ่งเป็นการตั้งชื่อตามแบบเมืองและแม่นำ้
ในประเทศอินเดียท่มี แี ม่นำ้ ตาปตีไหลลงสทู่ ะเลออกผา่ นปากอ่าวท่ีเมอื งสุรัต

2

ท่ีต้งั และอาณาเขต

จังหวัดสุราษฎร์ธานีตั้งอยู่ฝัง่ ตะวนั ออกของภาคใต้ โดยมีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 6 ของประเทศ และอันดับ 1
ของภาคใต้ โดยมจี ังหวัดทม่ี อี าณาเขตติดกนั ดังนี้

• ดา้ นเหนอื ติดกับจังหวัดระนอง จังหวัดชมุ พร และอา่ วไทย
• ดา้ นใต้ ตดิ กบั จังหวัดกระบี่และจงั หวดั นครศรีธรรมราช
• ดา้ นตะวนั ออก ติดกบั จงั หวดั นครศรธี รรมราชและอ่าวไทย
• ดา้ นตะวันตก ติดกบั จังหวดั พังงา

โดยทะเลฝั่งอ่าวไทยนั้นมีชายฝั่งยาวประมาณ 156 กิโลเมตร โดยมีเกาะที่อยู่ภายใต้เขตการปกครองของ
จังหวดั ไดแ้ ก่ เกาะสมยุ เกาะพะงัน เกาะเตา่ และหมูเ่ กาะอ่างทอง ซ่งึ มเี กาะนอ้ ยใหญ่อีกมากมาย จึงได้ชื่อว่าเมือง
รอ้ ยเกาะ เชน่ เกาะนางยวน เกาะววั ตาหลับ เกาะแมเ่ กาะ

ภูมิประเทศและภมู อิ ากาศ

จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีพื้นที่กว้างใหญ่ และมีสภาพภูมิประเทศที่หลากหลาย ได้แก่ ภูมิประเทศแบบที่ราบ
ชายฝงั่ ทะเล ทีร่ าบสูง รวมท้งั ภมู ปิ ระเทศแบบภูเขาซึง่ กินพื้นที่ของจังหวัดถึงร้อยละ 40 ของพืน้ ทที่ งั้ หมด โดยมีทิว
เขาภูเก็ตทอดตัวในแนวเหนือ-ใต้ของจังหวัด และมีลุ่มน้ำที่สำคัญ คือ ลุ่มน้ำตาปี ไชยา ท่าทอง เป็นต้น ด้าน
ตะวนั ออกเปน็ ฝั่งทะเลอ่าวไทย และมีเกาะน้อยใหญ่ท่ีมปี ระชากรอาศยั ส่วนด้านตะวันตกมีลกั ษณะเป็นภูเขาสูง มี
แม่น้ำสายสำคัญ คือ แม่น้ำตาปี แม่น้ำคีรีรัฐหรือแม่นํ้าพุมดวง เนื่องจากทำเลที่ตั้งรวมถึงภูมิประเทศ จังหวัดสุ
ราษฎร์ธานีจึงได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดมาจาก มหาสมุทรอินเดีย รวมทั้งมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดผ่านอ่าวไทย ดังนั้น จึงทำให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีมีช่วงฤดูฝนยาวนานมาก โดยกิน
ระยะเวลาตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนมกราคม โดยจังหวัดสุราษฏร์ธานีมีอุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย 21.16 องศา
เซลเซียส และอณุ หภมู ิสูงสุดเฉล่ีย 34.51 องศาเซลเซียส [10] และปรมิ าณน้ำฝนเฉลีย่ 129.59 มลิ ลเิ มตร

3

การปกครองส่วนภูมภิ าค

จงั หวดั สุราษฎรธ์ านแี บ่งการปกครองสว่ นภูมภิ าคออกเปน็ 19 อำเภอ 131 ตำบล 1,074 หมบู่ า้ น มรี ายช่ือ
อำเภอดังน้ี

1. อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี 11. อำเภอท่าฉาง
2. อำเภอกาญจนดิษฐ์ 12. อำเภอบ้านนาสาร
3. อำเภอดอนสัก 13. อำเภอบ้านนาเดมิ
4. อำเภอเกาะสมยุ 14. อำเภอเคียนซา
5. อำเภอเกาะพะงัน 15. อำเภอเวียงสระ
6. อำเภอไชยา 16. อำเภอพระแสง
7. อำเภอท่าชนะ 17. อำเภอพุนพนิ
8. อำเภอคีรรี ัฐนิคม 18. อำเภอชัยบรุ ี
9. อำเภอบา้ นตาขนุ 19. อำเภอวภิ าวดี
10. อำเภอพนม
รปู 1แผนทกี่ ารแบ่งเขตการปกครอง
การปกครองส่วนทอ้ งถิ่น

จังหวัดสุราษฎร์ธานีแบ่งการปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ออกเปน็ 1 องค์การบริหารส่วนจังหวัด 2 เทศบาลนคร 3
เทศบาลเมอื ง 35 เทศบาลตำบล และ 97 องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบล

รายชอ่ื ผ้วู ่าราชการจงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี

ตารางที่ 1รายช่ือผู้ว่าราชการจงั หวัดสุราษฎรธ์ านี

ลำดบั ชอ่ื เขา้ รับตำแหน่ง สิ้นสุดการดำรง
ตำแหน่ง

1 พระยาวรฤทธฤิ์ ๅไชย (คออยู่ต๋ี ณ ระนอง) พ.ศ. 2449 (ร.ศ. 125) พ.ศ. 2458

2 พระยาชุมพรบุรศี รีสมุทเขต พ.ศ. 2458 พ.ศ. 2459

4

3 พระยาพศิ าลสารเกษตร์ พ.ศ. 2459 พ.ศ. 2461
4 พระยาวิชติ ภกั ดีศรสี ุราษฎรธ์ านินทร์ พ.ศ. 2461 พ.ศ. 2463
5 พระยาศรมี หาเกษตร พ.ศ. 2463 พ.ศ. 2469
6 พระยาสุราษฎร์ธานี พ.ศ. 2469 พ.ศ. 2477
7 พระบรบิ ูรณว์ ุฒิราษฎร์ พ.ศ. 2477 พ.ศ. 2481
8 หลวงสฤษฏสาราลักษณ์ พ.ศ. 2481 พ.ศ. 2484
9 หลวงอรรถกลั ยาณวนิ ิจ พ.ศ. 2485 พ.ศ. 2485
10 นายชลอ จารจุ นิ ดา พ.ศ. 2485 พ.ศ. 2486
11 หลวงเกษมประศาสน์ พ.ศ. 2486 พ.ศ. 2487
12 ขุนสำราษราษฎร์บริรักษ์ พ.ศ. 2487 พ.ศ. 2487
13 นายแม้น อรจนั ทร์ พ.ศ. 2487 พ.ศ. 2487
14 ขุนรัฐวุฒวิ ิจารณ์ พ.ศ. 2489 พ.ศ. 2492

5

15 นายเลอ่ื น ไขแสง พ.ศ. 2492 พ.ศ. 2496
16 ขุนอักษรสารสิทธิ์ พ.ศ. 2496 พ.ศ. 2497
17 นายจนั ทร์ สมบูรณ์กลุ พ.ศ. 2497 พ.ศ. 2501
18 นายฉลอง รมติ านนท์ พ.ศ. 2501 พ.ศ. 2503
19 นายประพันธ์ ณ พทั ลงุ พ.ศ. 2503 พ.ศ. 2509
20 นายพร บญุ ยะประสพ พ.ศ. 2509 พ.ศ. 2511
21 นายคล้าย จติ พทิ ักษ์ พ.ศ. 2511 พ.ศ. 2515
22 นายอรุณ นาถะเดชะ พ.ศ. 2515 พ.ศ. 2517
23 นายอนันต์ สงวนนาม พ.ศ. 2517 พ.ศ. 2519
24 นายชลติ พมิ ลศริ ิ พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2521
25 นายกาจ รักษ์มณี พ.ศ. 2521 พ.ศ. 2522
26 นายสนอง รอดโพธท์ิ อง พ.ศ. 2522 พ.ศ. 2524

6

27 นายไสว ศิรมิ งคล พ.ศ. 2524 พ.ศ. 2526
28 นายนิพนธ์ บุญญภัทโร พ.ศ. 2526 พ.ศ. 2530
29 นายวโิ รจน์ ราชรักษ์ พ.ศ. 2530 พ.ศ. 2532
30 นายดำริ วฒั นสงิ หะ พ.ศ. 2532 พ.ศ. 2533
31 นายอนุ สงวนนาม พ.ศ. 2533 พ.ศ. 2535
32 นายประพฒั น์พงษ์ บำเพ็ญสิทธิ์ พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2537
33 นายประยูร พรหมพันธ์ุ พ.ศ. 2537 พ.ศ. 2539
34 นายปรชี า รักษ์คดิ พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2540
35 นายนิเวศน์ สมสกุล พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2541
36 นายภชุ งค์ รุ่งโรจน์ พ.ศ. 2541 พ.ศ. 2543
37 นายชาญชยั สนุ ทรมฏั ฐ์ พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2544
38 นายยงยทุ ธ ตะโกพร พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2545

7

39 ม.ล.ประทปี จรูญโรจน์ พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2546
40 นายธีระ โรจนพรพนั ธ์ุ พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2547
41 นายวิจติ ร วิชยั สาร พ.ศ. 2547 พ.ศ. 2549
42 ดร.นิวัตน์ สวสั ดแ์ิ กว้ พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2550
43 นายวนิ ยั บวั ประดษิ ฐ์ พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2551
44 นายประชา เตรตั น์ พ.ศ. 2551 พ.ศ. 2552
45 นายดำรหิ ์ บุญจริง พ.ศ. 2552 พ.ศ. 2553
46 นายธีระยทุ ธ เอ่ยี มตระกลู พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2555
47 นายเชิดศกั ดิ์ ชูศรี พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2555
48 นายฉัตรป้อง ฉัตรภตู ิ พ.ศ. 2555 พ.ศ. 2558
49 นายวงศศิริ พรหมชนะ พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559
50 นายอวยชัย อนิ ทร์นาค พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560

8

51 นายวิชวทุ ย์ จินโต พ.ศ. 2560 ปัจจบุ นั

เกษตรกรรม

รปู 2การประกอบอาชพี ประมงทเี่ กาะเตา่

ประชากรในจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีรายได้ต่อหัวเฉล่ีย 162,329 บาท ต่อปี โดยส่วนมากจะประกอบอาชีพ
ทางการเกษตร เช่น ทำนา ทำสวน ทำไร่ โดยใช้ท่ีดินเพือ่ ทำการเพาะปลูกประมาณ 45% ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งพืช
เศรษฐกจิ ทีส่ ำคญั ไดแ้ ก่ ยางพารา ปาล์มน้ำมนั มะพรา้ ว เงาะ ทเุ รียน และกาแฟ[12] นอกจากนนั้ ยงั มีการเลี้ยงปศุ
สัตว์และการทำประมง โดยปศุสัตว์ท่ีนิยมเลีย้ งกนั มาก เช่น โค กระบือ สุกร ไก่ แพะ โดยปศุสัตว์ท่ีมมี ูลค่าผลผลติ
มากที่สุด คือ โค สุกร ไก่ กระบือ และเป็ดตามลำดับ จังหวัดสุราษฎร์ธานี รายงานแสดงจำนวนครัวเรือนท่ี
ประกอบอาชีพทางการเกษตร แยกตามอาชพี ทางการเกษตร

อตุ สาหกรรม

อุตสาหกรรมส่วนใหญ่ของจังหวัดสรุ าษฎร์ธานีจะเป็นอุตสาหกรรมที่ต่อเนือ่ งจากผลผลิตทางเกษตรกรรม
เช่น อุตสาหกรรมปลาป่น อาหารทะเลแช่แข็ง อาหารทะเลกระป๋อง น้ำมันปาล์มดิบ อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้ องกับ
ยางพารา ซึ่งในจังหวัดมีจำนวนโรงงานอุตสาหกรรมประมาณ 730 โรงงาน ซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเขตอำเภอเมืองสุ
ราษฎรธ์ านมี ากทส่ี ุด[12] นอกจากน้ี ยังมีการใหส้ ัมปทานเหมืองแร่ โดยแรท่ ่สี ำคัญในจังหวัด ไดแ้ ก่ ยิปซัม โดโลไมต์
แอนไฮโครต์ หินปูน ดินขาว และบอลเคลย์[12] สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดสุราษฎร์ธานีไม่ได้รวมอยู่ในบริเวณ
ศาลากลางจังหวดั สุราษฎร์ธานี แต่จะตง้ั อยู่บริเวณถนนตลาดใหม่ ระหวา่ งซอย 7 และซอย 9 ในตำบลตลาดถัดไป
จากทีว่ า่ การอำเภอเมืองฯ เพยี งเลก็ นอ้ ย

9

รูป 3ท่าอากาศยานนานาชาติสรุ าษฎรธ์ านี

รูป 4ท่าอากาศยานนานาชาตสิ มุย

รูป 5สถานรี ถไฟสรุ าษฎร์ธานี

สถานีขนส่งหลกั ทสี่ ำคัญ

ทา่ อากาศยาน

• ทา่ อากาศยานนานาชาติสุราษฎรธ์ านี

• ท่าอากาศยานนานาชาตสิ มยุ

• ทา่ อากาศยานดอนสัก (อยูใ่ นแผน)

สถานีรถไฟ

• สถานรี ถไฟสุ • สถานรี ถไฟเขาพลู • ท่หี ยดุ รถไฟบ่อ •
กรงั
ราษฎร์ธานี • สถานีรถไฟบา้ น
• สถานรี ถไฟคนั ธุลี นา • ทีห่ ยุดรถไฟ
คลองยา

• สถานรี ถไฟคีรีรัฐ • สถานรี ถไฟห้วย 10
นิคม มดุ
• ทห่ี ยดุ รถไฟ
• สถานีรถไฟดอนธูป • สถานรี ถไฟนาสาร คลองสญู
• สถานีรถไฟท่าชนะ • สถานีรถไฟพรุพี
• สถานรี ถไฟไชยา • สถานรี ถไฟคลอง • ทห่ี ยุดรถไฟบา้ น
• สถานีรถไฟท่าฉาง ดอนรัก
• สถานรี ถไฟคลอง ปราบ
• สถานรี ถไฟบา้ น • ที่หยุดรถไฟบ้าน
ไทร ท่งุ หลวง
• สถานรี ถไฟมะลวน สอ้ ง
• สถานรี ถไฟเขาหวั • สถานรี ถไฟบา้ น • ที่หยุดรถไฟบา้ น
ขนาย
ควาย พรกุ ระแชง
• สถานรี ถไฟชุมทาง • ท่ีหยดุ รถไฟบ้าน • ที่หยดุ รถไฟบา้ น
ดอนเรียบ
บ้านทุ่งโพธิ์ เกาะมุกข์
• ท่ีหยดุ รถไฟคลอง • ทหี่ ยุดรถไฟ
คลองยัน
ขุด
• ทห่ี ยุดรถไฟเขาห
สถานรี ถโดยสารประจำทาง ลุง

• สถานีขนส่งสุราษฎรธ์ านี • ทห่ี ยุดรถไฟบา้ น
• ตลาดเกษตร 1 ยาง
• ตลาดเกษตร 2
ท่าเทียบเรือ • ท่ •
• ท่าเทยี บเรือนอน (ไปเกาะสมุย เกาะพะงัน และเกาะเต่า) า
• ทา่ เทียบเรือนอนเฟอร์ร่ี (ไปเกาะเต่า) เ
• ทา่ เทยี บเรือราชาเฟอร์รี่ ตำบลตลง่ิ งาม ที
• ทา่ เทยี บเรือซีทรานเฟอร์ร่ี (หนา้ ทอน) ย
• ท่าเทยี บเรือเกาะสมุย (หน้าทอน) บ


11

รื

อา้ งอิง อ

https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0% บ
B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E า
0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%99 ง
%E0%B8%B5 รั


• ท่





ที







รื





















ค์







สั

12


(







)
• ท่


ที



รื








ร์
รี่
• ท่


13


ที



รื

ซี







ร์
ร่ี
• ท่


ที



รื

ท้




14




• ท่


ที



รื






ต่


Click to View FlipBook Version