The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปการเสวนาการแยกแยะผลประโยชน์ตนกับส่วนรวม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by anon.nora4194, 2022-05-18 01:02:10

สรุปการเสวนาการแยกแยะผลประโยชน์ตนกับส่วนรวม 28-

สรุปการเสวนาการแยกแยะผลประโยชน์ตนกับส่วนรวม

❖ การเสวนา เร่อื ง

การคิดแยกแยะประโยชน์ส่วนตน
กั บ ป ร ะ โ ย ช น์ ส่ ว น ร ว ม

 กำหนดกำร
 คณะกรรมกำรดำเนินงำน
 โครงกำร
 สไลดป์ ระกอบกำรบรรยำย

๒๘ มนี าคม ๒๕๖๕

ณ มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย
และทางออนไลน์ ZOOM ID: 998 993 3546

การคิดแยกแยะประโยชนส์ ่วนตน
กับประโยชน์สว่ นรวม

สรา้ งการรบั รเู้ กย่ี วกบั การคดิ แยกแยะประโยชน์สว่ นตนกบั ประโยชน์สว่ นรว
และวธิ ยี น่ื บญั ชที รพั ยส์ นิ และหน้ีสนิ ของเจา้ หน้าทข่ี องรฐั อยา่ งถกู ตอ้ ง

วนั จนั ทรท์ ี่ ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๕
ณ หอ้ งประชุ ๕๐๘ อาคารเรยี นรว โซน B
หาวทิ ยาลยั หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั พระนครศรอี ยธุ ยา
และระบบออนไลน์ ZOOM Meeting ID: 9989933546

ลงทะเบยี นรว่ งานท่ี
https://forms.gle/gVmC4SYBVMdMVi5m8

รบั วฒุ บิ ตั รไดห้ ลงั การอบร และสถติ ผิ ลู้ งทะเบยี น
https://datastudio.google.com/s/qBf3whmldBA

ตรวจสอบรายชอ่ื ผลู้ งทะเบยี นท่ี

https://datastudio.google.com/reporting/7346b789-a4de-4e56-b3dd-2db637824a0e

กำหนดการ

การอบรมสรา้ งการรบั รเู้ กี่ยวกบั การคิดแยกแยะประโยชน์ส่วนตนกับประโยชนส์ ว่ นรวม
และวธิ ยี ่นื บญั ชีทรัพยส์ นิ และหนสี้ นิ ของเจา้ หนา้ ทข่ี องรัฐอยา่ งถกู ตอ้ ง
วันจันทร์ที่ ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๕
ณ หอ้ งประชมุ ๕๐๘ อาคารเรยี นรวม โซน B คณะสังคมศาสตร์

มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั อำเภอวังนอ้ ย จังหวดั พระนครศรีอยธุ ยา
และผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ (ระบบ Zoom Meeting ID: 9989933546)

วนั จันทร์ที่ ๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๕

เวลา ๐๘.๓๐ - ๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียน (ผบู้ รหิ าร บคุ ลากรและผูเ้ ขา้ รว่ ม พร้อมกนั ณ หอ้ งประชุม ๕๐๘ ช้ัน ๕

อาคารเรียนรวม โซน B คณะสังคมศาสตร์ มจร วงั นอ้ ย) และผ่านระบบออนไลน์

เวลา ๐๙.๐๐ - ๐๙.๓๐ น. พิธเี ปิดการอบรมสมั มนา

- พระธรรมวัชรบณั ฑติ , ศ.ดร. อธิการบดี นำกลา่ วคำบูชาพระรตั นตรัย

- กลา่ วถวายรายงาน โดย รองอธิการบดฝี า่ ยกิจการทั่วไป (รศ.ดร.สรุ พล สยุ ะพรหม)

- กล่าวเปิดอบรมสมั มนาและมอบนโยบาย โดย อธิการบดี (พระธรรมวชั รบณั ฑิต, ศ.ดร.)

เวลา ๐๙.๓๐ - ๑๑.๐๐ น. การบรรยายเร่ือง “หลักการยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของเจ้าหน้าทีข่ องรัฐ และ

การตรวจสอบ ขั้นตอนการย่ืนบัญชีทรัพย์สิน เอกสารประกอบการทำการยื่น การ

ตรวจสอบเอกสาร และกรณีศึกษา” โดย ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาระบบการ

ตรวจสอบทรัพย์สิน สำนกั งาน ป.ป.ช. (นางศิรนิ ชุ ศิรสิ ธนพันธ์) และคณะ

เวลา ๑๑.๓๐ น. พักฉันภัตตาหารเพล/รับประทานอาหารกลางวนั

เวลา ๑๒.๓๐ - ๑๕.๔๕ น. การเสวนาในหัวข้อ “กฎหมาย ป.ป.ช. เก่ียวกับการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วน

บุคคลกับประโยชน์ส่วนร่วม การคิดแยกแยะความผิดเกี่ยวกับประโยชน์ทับซ้อน

และกรณีศึกษา”

๑. รองเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช. (นายอุทิศ บวั ศร)ี

๒. นกั วชิ าการทางกฎหมาย (รศ.ดร.เจษฎ์ โทณะวณกิ )

ดำเนนิ รายการ โดย รองอธิการบดฝี า่ ยกจิ การทั่วไป (รศ.ดร.สุรพล สุยะพรหม)

เวลา ๑๕.๔๕ - ๑๖.๐๐ น. ซกั ถาม/ตอบคำถาม

เวลา ๑๖.๐๐ น. พธิ ปี ิดการอบรมสมั มนา โดย พระเมธีธรรมาจารย,์ รศ.ดร.

รองอธกิ ารบดีฝา่ ยวางแผนและพฒั นา

หมายเหต:ุ ๑. กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสมและสถานการณ์
๒. กรุณาลงทะเบียนเขา้ ร่วมอบรมสัมมนาทาง QR Code หรอื เว็บไซต์ กองนติ กิ าร และกองกจิ การพเิ ศษ
๓. สอบถามขอ้ มูลเพม่ิ เติมไดท้ ี่ กองนิติการและกองกิจการพิเศษ สำนกั งานอธิการบดี มหาวิทยาลยั มหาจฬุ า
ลงกรณราชวิทยาลยั อำเภอวงั นอ้ ย จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา นางสาว สุภทั รา ทองดี
โทร. ๐8 9535 3080 หรือ นางสาวกญั ญาภคั เจรญิ ดี โทร. ๐๘ 1565 4953
๔. มีการมอบวฒุ บิ ตั ร ให้สำหรบั ผทู้ ่ีลงทะเบยี นเข้าอบรมสัมมนาและประเมนิ การโครงการฯ

ชอ่ งทางการถ่ายทอดสด แบบตอบรบั เขา้ รว่ มโครงการ

Fackbook : mcu tv-channal Youtube : mcu tv-channal

mcu tv live mcu tv live

mcu tv news mcu tv news

คำส่ังมหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั

ที่ ๒๒๙ / ๒๕๖๕

เร่อื ง แตง่ ตั้งคณะกรรมการดำเนนิ โครงการอบรมพัฒนาบคุ ลากรเกย่ี วกบั การคดิ แยกแยะประโยชนส์ ว่ นตน
กบั ประโยชน์สว่ นรวม และวธิ ยี นื่ บญั ชที รพั ย์สนิ และหนส้ี ินของเจ้าหนา้ ทข่ี องรัฐอยา่ งถูกตอ้ ง

เพ่ือให้การดำเนินการจัดโครงการอบรมพัฒนาบุคลากรเก่ียวกับการคิดแยกแยะประโยชน์ส่วนตนกับ
ประโยชน์ส่วนรวม และวิธียื่นบัญชีทรัพย์สินและหน้ีสินของเจ้าหน้าท่ีของรัฐอย่างถูกต้อง ของกองนิติการ
สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ดำเนินไปด้วยความเรียบร้อยมีประสิทธิภาพ และ
บรรลุวัตถปุ ระสงค์ ตามนโยบายของมหาวิทยาลยั

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๗ (๑) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ.
๒๕๔๐ จึงแตง่ ตั้งคณะกรรมการดำเนินการจัดโครงการอบรมพัฒนาบุคลากรเก่ียวกับการคิดแยกแยะประโยชน์ส่วน
ตนกบั ประโยชน์สว่ นรวม และวธิ ียน่ื บัญชที รัพย์สินและหนีส้ ินของเจ้าหนา้ ทขี่ องรัฐอย่างถกู ต้อง ประกอบดว้ ย

๑. คณะกรรมการอำนวยการ

๑. พระธรรมวชั รบัณฑติ , ศ.ดร. อธกิ ารบดี ประธานกรรมการ

๒. พระเทพปวรเมธี, รศ.ดร. รองอธิการบดฝี า่ ยบรหิ าร รองประธานกรรมการ

๓. พระสวุ รรณเมธาภรณ,์ ผศ. รองอธกิ ารบดฝี า่ ยวิชาการ กรรมการ

๔. พระเมธีธรรมาจารย,์ รศ.ดร. รองอธกิ ารบดฝี ่ายวางแผนและพฒั นากรรมการ

๕. พระเทพเวที, รศ.ดร. รองอธกิ ารบดีฝา่ ยกจิ การนสิ ติ กรรมการ

๖. พระครโู สภณพทุ ธศิ าสตร์, ผศ.ดร. รองอธิการบดีฝ่ายประชาสมั พันธ์ฯ กรรมการ

๗. พระโสภณวชิราภรณ,์ ดร. รองอธกิ ารบดีฝ่ายกิจการตา่ งประเทศ กรรมการ

๘. รองอธกิ ารบดีทุกวิทยาเขต กรรมการ

๙. คณบดที กุ คณะ กรรมการ

๑๐. ผูอ้ ำนวยการสำนัก สถาบัน วทิ ยาลัย ศูนย์ กรรมการ

๑๑. รศ.ดร.สรุ พล สยุ พรหม รองอธิการบดีฝา่ ยกิจการทวั่ ไป กรรมการและเลขานุการ

๑๒. รศ.ดร.ธัชชนันท์ อิศรเดช ผชู้ ่วยอธกิ ารบดฝี ่ายกิจการทวั่ ไป กรรมการและผูช้ ่วยเลขานกุ าร

๑๓. รศ.ดร.ชาตชิ าย พทิ ักษ์ธนาคม ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดฝี ่ายกิจการพเิ ศษ กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานุการ

3

๒. คณะกรรมการดำเนนิ งาน

๑. รศ.ดร.สรุ พล สยุ ะพรหม รองอธกิ ารบดีฝา่ ยกิจการทวั่ ไป ประธานกรรมการ
๒. รศ.ดร.ธัชชนนั ท์ อศิ รเดช ผูช้ ่วยอธิการบดฝี า่ ยกิจการทั่วไป รองประธานกรรมการ
๓. รศ.ดร.ชาติชาย พิทักษ์ธนาคม ผูช้ ว่ ยอธกิ ารบดฝี า่ ยกจิ การพเิ ศษ รองประธานกรรมการ
๔. รศ.ดร.โกนฏิ ฐ์ ศรที อง ผู้ช่วยอธิการบดฝี า่ ยวชิ าการ กรรมการ
๕. ผศ.ดร.ธวชั ชยั สมอเนอ้ื ผ้ชู ว่ ยอธิการบดีฝ่ายแผนงบประมาณ กรรมการ
๖. ผศ.ดร.อทิ ธพิ ล แก้วพลิ า ผู้ช่วยอธิการบดฝี า่ ยกิจการวิทยาเขต กรรมการ
๗. ผศ.ดร.เมธาพนั ธ์ โพธธิ ีรโรจน์ ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดีฝา่ ยประชาสัมพนั ธ์ กรรมการ
๘. รศ.ดร.ประพันธ์ ศภุ ษร บัณฑิตวิทยาลยั กรรมการ
๙. รศ.ดร.ณทั ธรี ์ ศรีดี คณะพุทธศาสตร์ กรรมการ
๑๐. รศ.ดร.สมศกั ด์ิ บญุ ปู่ คณะครุศาสตร์ กรรมการ
๑๑. รศ.ดร.สริ ิวฒั น์ ศรเี ครือดง คณะมนุษยศาสตร์ กรรมการ
๑๒. รศ.ดร.เกยี รติศกั ด์ิ สุขเหลือง คณะสงั คมศาสตร์ กรรมการ
๑๓. ผศ.ดร.รฐั พล เย็นใจมา คณะสังคมศาสตร์ กรรมการ
๑๔. รศ.ดร.ภัทรพล ใจเยน็ คณะสังคมศาสตร์ กรรมการ
๑๕. ผศ.ดร.ผดุง วรรณทอง คณะสังคมศาสตร์ กรรมการ
๑๖. นายสมศกั ดิ์ สกุ เพง็ คณะสังคมศาสตร์ กรรมการ
๑๗. ผศ.ดร.เกษม แสงนนท์ คณะครศุ าสตร์ กรรมการ
๑๘. ผศ.ดร.ธิติวุฒิ หมนั่ มี คณะสังคมศาสตร์ กรรมการ
๑๙. นายสำราญ ยอ่ ยไธสงค์ วิทยาเขตหนองคาย กรรมการ
๒๐. ผศ.ดร.เทวัญ เอกจันทร์ วิทยาเขตเชยี งใหม่ กรรมการ
๒๑. ผศ.ดร.ไพรตั น์ ฉิมหาด วทิ ยาเขตนครศรธี รรมราช กรรมการ
๒๒. ผศ.ดร.วิทยา ทองดี วทิ ยาเขตขอนแกน่ กรรมการ
๒๓. ผศ.ดร.ยทุ ธนา พนู เกิดมะเรงิ วทิ ยาเขตนครราชสมี า กรรมการ
๒๔. พระมหาคำพันธ์ ปภากโร, ผศ.ดร. วิทยาเขตอบุ ลราชธานี กรรมการ
๒๕. รศ.ดร.ทวีศักดิ์ ทองทพิ ย์ วทิ ยาเขตสุรนิ ทร์ กรรมการ
๒๖. นายสุขมุ กันกา วิทยาเขตแพร่ กรรมการ
๒๗. ผศ.พศิ มยั วงศจ์ ำปา วทิ ยาเขตพะเยา กรรมการ
๒๘. ดร.สพุ ิชฌาย์ พรพชิ ณรงค์ วิทยาเขตบาฬีศึกษาพทุ ธโฆส กรรมการ
๒๙. ผศ.ดร.สุกญั ญาณฐั อบสนิ วิทยาเขตนครสวรรค์ กรรมการ
๓๐. ผศ.ดร.ประสงค์ หัสรนิ ทร์ วทิ ยาลัยสงฆ์เลย กรรมการ
๓๑. ผศ.ดร.เสน่ห์ ใจสทิ ธ์ิ วิทยาลัยสงฆ์ลำพูน กรรมการ
๓๒. อ.ดร.ศตพล ใจสบาย วิทยาลัยสงฆ์นครพนม กรรมการ

4

๓๓. รศ.ดร.ปัญญา นามสงา่ วิทยาลยั สงฆพ์ ทุ ธชนิ ราช กรรมการ

๓๔. อ.ดร.วิรัตน์ ภูทองเงนิ วทิ ยาลัยสงฆบ์ ุรีรมั ย์ กรรมการ

๓๕. อ.จารึก ศิรินุพงศ์ วิทยาลัยสงฆ์ปัตตานี กรรมการ

๓๖. ผศ.เชษฐ์ นมิ มาทพฒั น์ วิทยาลัยสงฆน์ ครนา่ นฯ กรรมการ

๓๗. ผศ.ดร.จตพุ ล พรหมมี วทิ ยาลยั สงฆพ์ ทุ ธโสธร กรรมการ

๓๘. อ.ดร.จรี ศกั ด์ิ ปนั ลำ วิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง กรรมการ

๓๙. นายทรงกฎ มงคลคลี วิทยาลยั สงฆ์เชยี งราย กรรมการ

๔๐. ผศ.ดร.ฐานิดา มน่ั คง วิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษ กรรมการ

๔๑. อ.สมชาย ชเู มือง วิทยาลยั สงฆ์ราชบุรี กรรมการ

๔๒. ผศ.ดร.อบุ ล วฒุ ิพรโสภณ วิทยาลยั สงฆพ์ ทุ ธปญั ญาศรที วารวดี กรรมการ

๔๓. พระศรีพชั โรดม, ดร. วทิ ยาลัยสงฆ์พอ่ ขนุ ผาเมอื ง กรรมการ

๔๔. ผศ.ดร.สยามพร พนั ธไชย วิทยาลยั สงฆ์ร้อยเอด็ กรรมการ

๔๕. ผศ.ดร.วนิ ยั ภูมสิ ุข วิทยาลัยสงฆ์ชัยภูมิ กรรมการ

๔๖. พระครูวิโชตสิ ิกขกิจ, ดร วทิ ยาลยั สงฆพ์ จิ ติ ร กรรมการ

๔๗. อ.ดร.เพ็ญพรรณ เฟอ่ื งฟูลอย วิทยาลยั สงฆ์สุพรรณบุรศี รีสวุ รรณภมู ิ กรรมการ

๔๘. อ.ดร.สุเทพ เช้ือสมุทร วทิ ยาลยั สงฆร์ ะยอง กรรมการ

๔๙. นางสาวพิมวดี คำมูล วิทยาลัยสงฆ์มหาสารคาม กรรมการ

๕๐. อ.ดร.สุภาภรณ์ โสภา วิทยาลยั สงฆ์สรุ าษฎรธ์ านี กรรมการ

๕๑. นายประคอง มาโต วิทยาลัยสงฆอ์ ทุ ัยธานี กรรมการ

๕๒. พระสมหุ อ์ าคม อาคมธโี ร วทิ ยาลัยสงฆเ์ พชรบุรี กรรมการ

๕๓. พระมหาสชุ าติ ธมฺมกาโม วิทยาลัยสงฆ์ชลบุรี กรรมการ

๕๔. พระครูศรธี รรมวราภรณ์ วทิ ยาลัยสงฆก์ าญจนบุรีศรไี พบลู ย์ กรรมการ

๕๕. พระราชธีรคุณ โรงเรยี นบาลีเตรียมอดุ มศึกษา กรรมการ

๕๖. พระมหาศุภชัย ปยิ ธมฺโมชโย โรงเรยี นพทุ ธศาสนาวันอาทติ ย์ กรรมการ

๕๗. นายสมหมาย สภุ าษิต กรรมการ

๕๘. นางสาวนภสั สร กลั ปนาท กรรมการ

๕๙. นายปญั ญา นราพนั ธ์ กรรมการ

๖๐. นายฐติ วิ ฒั น์ หวงั สขุ ใจ กรรมการ

๖๑. นายวิโรจน์ หลอมนาค กรรมการ

๖๒. นายบญุ ล้อม วิปรุ ะ กรรมการ

๖๓. นายกรนัน ขันวงั กรรมการ

๖๔. นายณพลต์ ทองยวง กรรมการ

๖๕. นายดอน สตารเ์ จรญิ กรรมการ

๖๗. นายศราวฒุ ิ สิงหเ์ ดช กรรมการ

5 กรรมการ
กรรมการ
๖๘. นางสาวศิรินภา กองวสั กุลณี กรรมการและเลขานกุ าร
๖๙. นางสาวทศั นีย์ อะโรคา กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร
๗๐. นายธวัช แย้มปิว๋ ผูอ้ ำนวยการกองนติ ิการ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร
๗๑. นางสาววไิ ลวรรณ อศิ รเดช ผูอ้ ำนวยการกองกิจการพิเศษ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ
๗๒. นางสาวสภุ ทั รา ทองดี รองผู้อำนวยการกองนิติการ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร
๗๓. นายอานนท์ นรมาตร รองผู้อำนวยการกองกจิ การพิเศษ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร
๗๔. นายวีรวัฒน์ แสนชยั กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ
๗๕. นายทวิชนม์ จนั ทรเ์ ทพ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร
๗๖. นางสาวกัญญาภคั เจริญดี กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ
๗๗. นางสาววิภา สิงหค์ ำคา
๗๘. นางสาวณัฏฐา เอี๊ยวคนอง

ทงั้ นี้ ต้งั แต่บดั นเ้ี ป็นต้นไป

ส่งั ณ วันที่ ๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๕

(พระธรรมวัชรบัณฑติ ,ศ.ดร.)
อธิการบดมี หาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย

โครงการอบรมสรา้ งการรบั รเู้ กยี่ วกับการคิดแยกแยะประโยชนส์ ่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม
และวธิ ียนื่ บญั ชีทรัพย์สนิ และหน้ีสนิ ของเจา้ หน้าทขี่ องรัฐอยา่ งถูกตอ้ ง

๑. ชอื่ โครงการ : อบรมสรา้ งการรับรเู้ ก่ยี วกับการคดิ แยกแยะประโยชน์ส่วนตนกบั ประโยชนส์ ่วนรวม
และวธิ ีย่นื บัญชที รพั ย์สินและหนส้ี นิ ของเจ้าหน้าทข่ี องรัฐอย่างถูกต้อง

๒. ชอ่ื หน่วยงาน : กองนิตกิ าร สำนักงานอธิการบดี
๓. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ : กองนิตกิ าร สำนักงานอธิการบดี

ร่วมกบั กองกจิ การพเิ ศษ สำนกั งานอธกิ ารบดี
๔. โครงการเชอ่ื มโยง : แยกไดด้ ังนี้

1. ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาการบรหิ ารจัดการองค์เชงิ พุทธบรู ณาการ
ตอบสนองเป้าประสงค์ มจร ข้อ 5.1 การบริหารจัดการองค์กรโดยใช้หลักพระพุทธศาสนา
บูรณาการกบั การบริหารจดั การสมัยใหม่
ตอบสนองกลยุทธ์ มจร
: สง่ เสริมและพฒั นาระบบและกลไกการบรหิ ารจัดการองคใ์ หเ้ ป็นไปตามหลักธรรมาภบิ าล
: พฒั นาระบบและกลไกการบรหิ ารติดตามผลการดำเนนิ งานตามแผนพัฒนา
: ก ำกั บ ติ ด ต าม แ ล ะ ป ระ เมิ น ผ ล ก ารด ำเนิ น งาน ต าม แ ผ น พั ฒ น า ต าม พั น ธ กิ จ
และแผนสนั บสนุนการ บริหารจดั การองค์กร
: ส่งเสริมและพฒั นาระบบการบริหารจดั การด้านงบประมาณ
: ส่งเสริมการให้ความรู้และประสบการณ์ท่ีได้จากการแลกเผปล่ียนเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้กับการ
ปฏิบัตงิ าน
2. เกณฑป์ ระเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั ตวั ช้ีวดั ท่ี 9
การเปิดเผยขอ้ มลู ข้อ 9.1 ขอ้ มูลพน้ื ฐาน

X 0.3 แสดงขอ้ มลู หน้าทีแ่ ละอำนาจของหนว่ ยงานตามทกี่ ฎหมายกำหนด
X 0.6 แสดงกฎหมายทเ่ี กย่ี วข้องกับการดำเนินงานหรอื ปฏิบัติงานของ

หนว่ ยงานของรฐั

5.หลกั การและเหตุผล

ด้วยสถานการณ์หรือการกระทำของบุคคล มีผลประโยชน์ส่วนตนเข้ามาเกี่ยวข้อง จนส่งผล
กระทบต่อการตัดสินใจหรือการปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่ง การกระทำดังกล่าวอาจเกิดข้ึนโดยรู้ตัวหรือไม่
รู้ตัว ทั้งเจตนาหรอื ไม่เจตนาหรือบางเรื่องเป็นการปฏิบัติสืบต่อกันมาจนไม่เห็นว่าจะเป็นส่ิงผิดแต่อย่างใด
พฤติกรรมเหล่านี้เป็นการกระทำความผิดทางจริยธรรมของเจ้าหน้าท่ีของรัฐที่ต้องคำนึงถึงผลประโยชน์
สาธารณะ (ประโยชน์ของส่วนรวม) แต่กลับตัดสินใจปฏิบัติหน้าท่ีโดยคำนึงถึงประโยชน์ของตนเองหรือ
พวกพ้อง

“ผลประโยชน์ทับซ้อน” หมายถึง สถานการณ์ที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐมีผลประโยชน์ส่วนตนอยู่ และมี
การใช้อิทธิพลตามอำนาจหน้าที่และความรบั ผดิ ชอบเพ่ือให้เกดิ ประโยชน์ส่วนตัว โดยกอ่ ใหเ้ กิดผลเสีย ต่อ

7

ผลประโยชน์ส่วนรวม ผลประโยชน์ทับซ้อนมีหลากหลายรูปแบบ ไม่จำกัดอยู่ในรูปของตัวเงินหรือ
ทรัพย์สินเท่านั้น แต่รวมถึงผลประโยชน์อื่น ๆ ท่ีไม่ใช่รูปตัวเงินหรือทรัพย์สินก็ได้ อาทิ การแต่งตั้งพรรค
พวกเข้าไปดำรงตำแหน่งในองค์กรต่าง ๆ ท้ังในหน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ และบริษัทจำกัด หรือการที่
บุคคลผู้มีอำนาจ ท่ีตัดสินใจให้ญาติพี่น้องหรือบริษัทท่ีตนมีส่วนได้ส่วนเสียได้รับสัมปทานหรือ
ผลประโยชน์จากทางราชการ โดยมิชอบ ฯลฯ ทั้งนี้ หมายรวมถึง “ความขัดแย้งกันระหว่างผลประโยชน์
ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม” หรอื Conflict of interests

ในการบริหารมหาวิทยาลัยและสถาบันการศกึ ษานั้นผู้บริหารต้องบริหารให้เป็นไปตาม “หลักธรร
มาภิบาล” และ “หลักการบรหิ ารจัดการบ้านเมอื งท่ีดี” ดังน้ัน ผู้บรหิ ารจึงมีความจำเป็นต้องใช้กฎหมาย
เป็นเครื่องมือในการบริหาร ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และภารกิจของมหาวิทยาลัยและ
สถาบันการศกึ ษาน้ัน ๆ แต่ผู้บรหิ ารที่ได้รับการเลือกต้ัง หรือได้รับการแต่งตั้งหลายคนขาดประสบการณ์
ทางด้านกฎหมาย หลายคนเพิ่งได้รับแต่งตั้งเปน็ ผู้บริหารทำให้ไมท่ ราบว่าในการบริหารใช้กฎหมายใด การ
บริหารงานต้องทำอย่างไร และหากบริหารงานแล้วเกิดความเสียหายจะต้องรับผิดชอบต่อความเสียหาย
ท้ังทางแพ่ง ทางอาญา ทางปกครอง รวมถึงต้องถูกดำเนินการทางวินัยหรือไม่ อย่างไร อันเป็นการ
เกี่ยวข้องกับเรื่องของผลประโยชน์ทั้งของตนเองและส่วนรวม รวมท้ังการดำเนินการอันเก่ียวกับระเบียบ
พสั ดุซึ่งมหี นว่ ยงานหรือกลุ่มงานทมี่ ีความสุ่มเสี่ยงต่อเรอ่ื งของผลประโยชน์เปน็ อยา่ งมาก

ดังนั้น มหาวิทยาลัยมหาจุฬสาลงกรณราชวิทยาลัย โดยกองนิติการ สำนักงานอธิการบดี
จึงเห็นสมควรจัดอบรมสร้างการรบั รู้เก่ียวกบั การคิดแยกแยะประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม และ
วธิ ีย่ืนบัญชีทรพั ย์สินและหนี้สินของเจ้าหน้าท่ีของรัฐอย่างถูกต้องข้ึน เพ่ือเป็นการเพ่ิมพูนความรู้ ทักษะและ
ความเข้าใจเก่ียวกับการคิดแยกแยะประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวมและวิธียื่นบัญชีทรัพย์สินและ
หนส้ี ินของเจา้ หนา้ ที่ของรัฐอย่างถูกต้องดังกล่าว รวมท้ังเป็นการเพิม่ พนู ความรูแ้ ละทักษะเกยี่ วกบั การบริหาร
องค์กร ให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งอธิการบดี รองอธิการบดี ผู้ช่วยอธิการบดี คณบดี ผู้อำนวยการสำนัก สถาบัน
หัวหน้าสำนักงาน ผู้อำนวยการกอง หรือบุคคลที่คาดว่าจะดำรงตำแหน่งดังกล่าวข้างต้น ซึ่งเป็นบุคลากร
หลักที่มีความสำคัญในการเป็นผู้นำในการบริหารและการพัฒนาองค์กรไปสู่การบรรลุสัมฤทธิ์ผลตามภารกิจ
ของมหาวิทยาลยั ตอ่ ไป

6. วตั ถุประสงค์

๖.๑ เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจแก่ ผู้บริหาร บุคลากร เกี่ยวกับการคิดแยกแยะประโยชน์ส่วน
ตนกับประโยชน์ส่วนรวมและวธิ ยี น่ื บัญชที รพั ย์สินและหนี้สินของเจา้ หน้าทขี่ องรฐั อยา่ งถกู ต้อง

๖.๒ เพื่อพัฒนาสมรรถนะหลักด้านมุ่งผลสัมฤทธ์ิ และการบริการที่ดีแก่บคุ ลากร
๖.๓ เพื่อพัฒนาสมรรถนะด้านการปฏบิ ัติงานอยา่ งต่อเนอื่ งแก่บุคลากร
๖.๔ เพื่อพัฒนาทักษะด้านวิชาการ วิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพในการปฏิบัติงานแก่
บคุ ลากร
๖.๕ เพ่ือพัฒนาสมรรถนะด้านการปฏิบัติงาน และวิธียื่นบัญชีทรัพย์สินและหน้ีสินของ
เจา้ หน้าที่ของรฐั อยา่ งถูกตอ้ ง
๖.๖ เพื่อสร้างการรับรู้เกี่ยวกับการคิดแยกแยะประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม และวิธี
ยื่นบญั ชีทรัพยส์ นิ และหนี้สินของเจ้าหน้าทขี่ องรัฐอยา่ งถกู ต้อง ให้แกบ่ ุคลากรในมหาวทิ ยาลัยได้รบั ทราบ

8

๗. ลกั ษณะกิจกรรม

๗.๑ จัดให้มีการบรรยายพิเศษ เรื่อง “หลักการย่ืนบัญชีทรัพย์สินและหน้ีสินของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
และการตรวจสอบ ขั้นตอนการยื่นบัญชีทรัพย์สิน เอกสารประกอบการทำการยื่น การตรวจสอบเอกสาร และ
กรณศี กึ ษา”

๗.๒ เสวนาในหัวขอ้ “กฎหมาย ป.ป.ช. เก่ียวกบั การขดั กนั ระหว่างประโยชน์ส่วนบคุ คลกับประโยชน์
ส่วนร่วม การคดิ แยกแยะความผดิ เกยี่ วกับประโยชน์ทบั ซอ้ น และกรณศี ึกษา”

7.3 มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างวทิ ยากรกับผ้เู ข้าร่วมอบรม

๘. เป้าหมายผลผลิต

๘.๑ เป้าหมายเชงิ คุณภาพ
ผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าท่ี ของมหาวิทยาลัยมีความรู้ความเข้าใจ เพื่อใช้ในการตัดสิน

และปฏิบตั งิ านอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

๘.๒ เป้าหมายเชิงปริมาณ
ผ้บู ริหาร คณาจารย์ เจ้าหนา้ ท่ีของมหาวทิ ยาลยั จำนวนไม่นอ้ ยกว่า 2๕0 รปู /คน

๙. สถานท่จี ัดงาน

ณ ห้องประชุม ๕๐๘ อาคารเรียนรวม โซน B คณะสังคมศาสตรม์ หาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณ
ราชวทิ ยาลยั อำเภอวงั นอ้ ย จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา และผา่ นสอื่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ (ระบบ Application
Zoom, Meeting ID: 9989933546)

๑๐. งบประมาณ

๑๐.๑ งบประมาณรายรบั จากเงนิ รายได้ของมหาวิทยาลัยจำนวน 25,๐๐๐ บาท
๑๐.๒ งบประมาณรายจา่ ย โดยถัวเฉลยี่ จำนวน 25,๐๐๐ บาท (สองหมนื่ หา้ พันบาทถ้วน)

- คา่ ตอบวิทยากรบรรยาย
- ค่าอาหารเลีย้ งผูเ้ ข้าร่วมงาน
- ค่าตดิ ตอ่ ประสานงาน
- ค่าจัดสถานที่และพิธีกรรม

9

๑๑. กิจกรรมการดำเนินงาน ระยะเวลาดำเนนิ การ
ก.พ. 65 มี.ค. 65 เม.ย. 65
ที่ กิจกรรม <---------->

๑. ขออนุมตั ิโครงการฯ ---------->
๒. เสนอแต่งตง้ั คณะกรรมการดำเนนิ งาน ---------->
๓. เชิญผเู้ ข้ารว่ มอบรม ------------->
๔. ดำเนนิ งานตามโครงการ <------------- ------------>
๕. สรุปและประเมินผล
๖. รายงานผลต่อมหาวิทยาลัย <----------->

๑๒. ตัวชว้ี ดั
๑๒.1 ผลผลิต (Output) ผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหนา้ ท่ี เข้ารว่ มรอ้ ยละ 85 % ของจำนวน

ผู้ตอบรับ
๑๒.๒ ผลลัพธ์ (Outcome) ดังน้ี
๑) ผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าท่ี มีความเข้าใจเนื้อหาและสาระสำคัญ หลักการย่ืน

บัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของเจ้าหน้าที่ของรัฐ และการตรวจสอบ ข้ันตอนการยื่นบัญชีทรัพย์สิน เอกสาร
ประกอบการทำการยน่ื การตรวจสอบเอกสาร และกรณศี กึ ษา

๒) ผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ มีความเข้าใจตัวบทกฎหมาย ป.ป.ช. เกี่ยวกับการ
ขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลกับประโยชน์ส่วนร่วม การคิดแยกแยะความผิดเก่ียวกับประโยชน์ทับ
ซ้อน และกรณีศกึ ษา”และทำใหก้ ารบรหิ ารงานเปน็ ไปอย่างถกู ตอ้ งและมปี ระสทิ ธภิ าพ

๑๓. ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะได้รบั
๑๓.๑ ผบู้ ริหาร คณาจารย์ เจา้ หนา้ ที่ มคี วามรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับคิดแยกแยะประโยชน์ส่วน

ตนกบั ประโยชน์ส่วนรวมและวิธียนื่ บญั ชีทรพั ยส์ ินและหนี้สนิ ของเจา้ หน้าทข่ี องรัฐอย่างถูกต้อง
๑๓.๒ ผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าท่ี มีการพัฒนาสมรรถนะหลักด้านมุ่งผลสัมฤทธ์ิ และการ

บริการทดี่ ีแก่บคุ ลากร
๑๓.๓ ผบู้ รหิ าร คณาจารย์ เจ้าหนา้ ท่ี มกี ารพัฒนาสมรรถนะด้านการปฏิบตั ิงานอยา่ งต่อเน่ือง

แก่บุคลากร
๑๓.๔ ผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ มีทักษะด้านวิชาการ วิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ

ในการปฏิบตั งิ าน
๑๓.๕ ผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าท่ี มีการพัฒนาสมรรถนะด้านการปฏิบัติงาน และวิธีย่ืน

บัญชีทรัพย์สนิ และหนี้สินของเจ้าหน้าทขี่ องรัฐอย่างถกู ต้อง
๑๓.๖ สร้างการรับรู้เกี่ยวกับการคิดแยกแยะประโยชน์ส่วนตนกับประโยชน์ส่วนรวม และวิธี

ยน่ื บญั ชที รพั ย์สินและหนี้สนิ ของเจ้าหน้าทขี่ องรัฐอยา่ งถกู ตอ้ ง ใหแ้ กบ่ คุ ลากรในมหาวิทยาลัยไดร้ ับทราบ

10

การป้องกันการทุจริต
และผลประโยชน์ทบั ซ้อน

นายอุทิศ บวั ศรี
รองเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช.

๒๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ทางระบบออนไลน จดั โดย มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั

1

คา เปาหมายตัวชว้ี ดั ตาม

แผนแมบ ทฯ ประเดน็ 21

การตอ ตานการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ
(พ.ศ. 2561 – 2580)

100

80 73
60 50 57 62

40 27.9 33.3 30.6 30.0 32.0 32.0 32.0 32.0 33.0 36.0 38.0 36.0 33.0 35.0 34.0 35.0 34.0 37.0 35.0 38.0 38.0 35.0 37.0 36.0 36.0 36.0 35.0

20

0

2538
2539
2540
2541
2542
2543
2544
2545
2546
2547
2548
2549
2550
2551
2552
2553
2554
2555
2556
2557
2558
2559
2560
2561
2562
2563
2564
2565
2570
2575
2580

หมายเหต:ุ ในป พ.ศ. 2538 – 2554 เปน ระบบคะแนน 1 – 10 สว นป พ.ศ. 2555 เปนตน มา เปนระบบคะแนน 1 - 100 พ.ศ. 2561 – พ.ศ. 2580
พ.ศ. 2538 – พ.ศ. 2560

2

11

3
4

12

5

ความสอดคลองของแผน 3 ระดับ

ตามมตคิ ณะรฐั มนตรี เม่อื วันที่ 4 ธนั วาคม 2560

แผนระดบั 1 ยทุ ธศาสตรชาติดา นการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครฐั

แผนระดับ 2 แผนแมบ ท แผนการปฏริ ปู ประเทศ แผนพฒั นาเศรษฐกิจ นโยบายและ
ภายใตย ทุ ธศาสตรช าติ ดานการปองกัน และสังคมแหง ชาติ ฉบับท่ี 12 แผนระดับชาติวาดวย
และปราบปราม ความมั่นคงแหง ชาติ
ประเดน็ การทุจริต ยุทธศาสตรท่ี 6 การบรหิ าร
การตอ ตานการทจุ ริต และประพฤติมิชอบ จัดการในภาครฐั การปอ งกัน นโยบายที่ 9
และประพฤตมิ ิชอบ การทจุ ริตประพฤตมิ ชิ อบ และ เสรมิ สรา งความม่นั คงของชาติ
ธรรมาภบิ าลในสงั คมไทย
จากภัยการทจุ รติ

แผนระดบั 3 แผนปฏิบัติการดา นการตอ ตานการทุจรติ แผนการขบั เคล่ือนกิจกรรมปฏิรปู ประเทศ
และประพฤตมิ ชิ อบ ทีจ่ ะสง ผลใหเกิดการเปลยี่ นแปลงตอ ประชาชน

แผนยอยการปองกันการทุจรติ แผนยอ ยการ อยา งมนี ยั สําคญั (Big Rock)
และประพฤติมชิ อบ ปราบปรามการทจุ ริต
เปาหมาย กจิ กรรม กิจกรรม ขอเสนอ
เปาหมาย การดาํ เนนิ คดีทจุ รติ ปฏิรูปท่ี 2 ปฏิรูปท่ี 3 ในการมีหรือ
1.ประชาชนมวี ัฒนธรรมและ มีความรวดเร็ว เปน ธรรม แกไ ขปรบั ปรงุ
โปรงใส ไมเ ลือกปฏบิ ัติ กฎหมาย
พฤตกิ รรม ซ่อื สตั ยส จุ ริต
2.คดที จุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบลดลง

6

13

งบประมาณทสี่ ํานกั งาน ป.ป.ช. ไดร ับการจัดสรร
ตามแผนงานบรู ณาการตอ ตานการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ

ในชว งปง บประมาณ พ.ศ. 2563 – 2565 1,056,427,800 บาท
ไดร ับการจดั สรร รวม

ปง บประมาณ พ.ศ. 2563 ปง บประมาณ พ.ศ. 2564 ปงบประมาณ พ.ศ. 2565

433,940,200 312,487,600 310,000,000

บาท บาท บาท

7

การดําเนนิ งานตามเปาหมายและตัวช้ีวัดแผนแมบ ทฯ ซ่งึ เปน การขบั เคล่อื นรว มกับหนว ยงานภาครฐั ท่เี ก่ยี วขอ ง ดังนี้

ตวั ชวี้ ัด คา เปาหมาย ป 2564 ผลการดําเนินงาน
อนั ดับ 1 ใน 54 และ/หรอื อยูในอันดบั 104
ดชั นีการรับรูการทุจรติ และไดค ะแนน 36 คะแนน
ไดค ะแนนไมตา่ํ กวา * ขอ มูล ณ วันที่ 28 ม.ค. 64 *
50 คะแนน
รอยละ 78.30
แผนยอยการปอ งกนั การทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบ รอ ยละ 70.90
เปาหมายที่ 1 : ประชาชนมีวัฒนธรรมและพฤติกรรมซอ่ื สตั ยส ุจรติ รอยละ 49.95

1.1 รอยละของเดก็ และเยาวชนไทยมพี ฤตกิ รรมทย่ี ดึ มนั่ ความซ่ือสัตยส ุจริต รอยละ 48 ลดลงรอ ยละ 47.02
ลดลงรอยละ 33.33
1.2 รอยละของประชาชนมีวฒั นธรรม คา นิยมสจุ รติ มีทศั นคติและพฤตกิ รรม รอยละ 48 ลดลงรอยละ 47.10
ในการตอ ตา นการทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ รอ ยละ 0

1.3 รอ ยละของหนวยงานที่ผา นเกณฑการประเมินคุณธรรมและความโปรงใส รอยละ 65 รอยละ 73.37
ในการดําเนนิ งานของหนวยงานภาครัฐ (ITA) (85 คะแนนขึน้ ไป) รอ ยละ 0

เปาหมายที่ 2 : คดีทจุ ริตและประพฤตมิ ิชอบลดลง ลดลงรอยละ 8
2.1 จํานวนคดที จุ ริตในภาพรวม ลดลงรอ ยละ 8
2.2 จํานวนคดที จุ รติ รายหนวยงาน

2.2.1 จํานวนขอ รอ งเรียนเจา หนาทภ่ี าครฐั ทีถ่ กู ช้ีมลู เรือ่ งวินยั (ทจุ ริต)

2.2.2 จาํ นวนขอรองเรียนเจาหนา ท่ภี าครัฐท่ีถกู ชี้มลู วากระทําการทุจริต ลดลงรอ ยละ 8

2.3 จาํ นวนคดีทจุ รติ ทเ่ี ก่ยี วขอ งกบั ผูดาํ รงตําแหนง ทางการเมอื ง ลดลงรอยละ 20

แผนยอยการปราบปรามการทุจรติ
เปาหมายที่ 3 : การดําเนนิ คดที จุ รติ มีความรวดเรว็ เปน ธรรม โปรง ใส ไมเ ลอื กปฏิบัติ

3.1 กระบวนการดาํ เนินคดีทุจริตท่ีจาํ เปนตองขอขยายระยะเวลาเกินกวา ไมเกนิ รอยละ 35
กรอบเวลาปกติทกี่ ฎหมายกาํ หนด ไมเกินรอยละ 5
ของจาํ นวนคดีที่สงฟอ ง
3.2 จํานวนคดีอาญาทห่ี นว ยงานไตส วนคดที ุจรติ ถูกฟอ งกลับ

8

14

ตามหลกั เกณฑก์ ารประเมินผลตามแผนย่อยการป้องกนั การทุจริตและประพฤติชอบ
ประชาชนมีวฒั นธรรมซือสตั ยส์ ุจริต ของคณะอนุกรรมการเพือการประเมินผลตามแผนยอ่ ย
การป้องกนั การทุจริตและประพฤติชอบฯ กาํ หนดให้

ระดบั มาก คะแนนเฉลีย 2.00 – 3.00 คะแนน

ระดบั ปานกลาง คะแนนเฉลีย 1.00 – 1.99 คะแนน

ระดบั นอ้ ย คะแนนเฉลีย 0.00 – 0.99 คะแนน

9

การนาํ เสนอผลการสาํ รวจ

เชียงใหม่ เชยี งราย น่าน สปภ.5 ขอนแกน่ กาฬสนิ ธุ์ นครพนม
พะเยา แพร่ แม่ฮ่องสอน บึงกาฬ มหาสารคาม มุกดาหาร
ลาํ ปาง ลาํ พนู สปภ.4 รอ้ ยเอ็ด เลย สกลนคร

หนองคาย หนองบวั ลาํ ภู อุดรธานี

พิษณุโลก กาํ แพงเพชร ตาก สปภ.3

นครสวรรค์ พิจิตร เพชรบูรณ์ สปภ.6

สุโขทยั อุตรดิตถ์ อุทยั ธานี

นครปฐม กาญจนบุรี ประจวบคีรีขนั ธ์ นครราชสีมา ชยั ภูมิ บุรีรมั ย์
ยโสธร ศรสี ะเกษ สุรินทร์
เพชรบุรี ราชบุรี สมุทรสงคราม สปภ.7 อาํ นาจเจริญ อุบลราชธานี

สมุทรสาคร สุพรรณบุรี สปภ.2 ชลบุรี จนั ทบุรี ฉะเชงิ เทรา ตราด
นครนายก ปราจีนบุรี ระยอง สระแกว้

สุราษฎรธ์ านี กระบี ชุมพร พงั งา สปภ.8
นครศรธี รรมราช ภเู ก็ต ระนอง
สปภ.1 พระนครศรีอยุธยา ชยั นาท นนทบุรี ปทุมธานี ลพบุรี

สมุทรปราการ สระบุรี สงิ หบ์ ุรี อา่ งทอง

สงขลา ตรงั นราธิวาส ปัตตานี สปภ.9
พทั ลุง ยะลา สตูล

10

15

11

 เพือศกึ ษา

 การมีพฤติกรรมทียดึ มนั ความซือสตั ยส์ ุจรติ ของเด็กและเยาวชน
• ดา้ นความรบั ผิดชอบต่อหนา้ ที
• ดา้ นความเท่าเทียมและความเสมอภาค
• ดา้ นการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตน
และผลประโยชน์ส่วนรวม

 การผา่ นการเรยี น/อบรมเนือหาตามหลกั สูตรตา้ นทุจรติ ศกึ ษา
เพอื ติดตาม ประเมินผล และวางแผน/กาํ หนดนโยบายในการป้องกนั การทุจริตและ
ประพฤติมิชอบ รวมทงั สรา้ งเสริมและปลูกฝังใหเ้ ด็กและเยาวชนมคี วามซือสตั ยส์ ุจริต

12

16

คมุ้ รวม : เด็กและเยาวชนทีมีอายุ 12 - 24 ปี ทีอยูใ่ นระบบการศึกษาปกติ ระบบ

การศึกษานอกระบบ และไมไ่ ดอ้ ยใู่ นระบบการศึกษา ในครวั เรือนสว่ นบุคคลทวั ประเทศ

การเก็บรวบรวมขอ้ มูล : ระหวา่ งวนั ที 20 สิงหาคม - 10 กนั ยายน 2564
แผนการสุม่ ตวั อยา่ ง : ใชแ้ ผนการสุ่มตวั อยา่ งแบบ Stratified Two-stage Sampling

โดยมีกรุงเทพมหานคร และจงั หวดั 76 จงั หวดั เป็ นสตราตัม มีเขตแจงนับ (EA)
เป็ นหน่วยตวั อยา่ งขนั ทีหนึง เด็กและเยาวชนทีมีอายุ 12-24 ปี ในครวั เรือนส่วนบุคคล
เป็ นหน่วยตวั อยา่ งขนั ทีสอง จาํ นวนตวั อยา่ งทงั สิน 4,375 ราย

การนาํ เสนอผลการสาํ รวจ : เสนอผลในระดบั กรุงเทพมหานคร สาํ นักงาน ป.ป.ช. ภาค

(สปภ.) จาํ นวน 9 ภาค (ไม่จาํ แนกกลุ่มอายุ) และทวั ประเทศจาํ แนกกลุ่มอายุ คือ
อายุ 12-17 ปี และ อายุ 18-24 ปี

13

เด็กและเยาวชนตวั อยา่ งทีถกู สมั ภาษณ์

เพศ อายุ ระดบั การศึกษาสูงสุด

51.1% 48.9% 40.6% 59.4% 30.3% 53.7%
6.5%
4.0% 5.5%

ชาย หญิง 12 - 17 ปี 18 - 24 ปี ประถมศึกษา มธั ยมศึกษา ปวช. ปวส./ปวท./ ปริญญาตรี
หรือตาํ กว่า/ อนุปริญญา หรือสงู กว่า
ไม่ไดเ้ รียน

ระดบั การศึกษาในปัจจุบนั

62.0% 6.7% 1.6% 27.1% 2.6%
สถานศึกษาของรฐั บาล สถานศึกษาของเอกชน

การศกึ ษาในระบบ การศึก(ษกาศนนอ.)กระบบ การศสาํึกเษรา็จแลว้ ไมไ่ ดเ้ รยี น

14

17

การมีพฤตกิ รรมทยี ึดมันความซือสตั ยส์ ุจรติ ของเดก็ และเยาวชน

ทวั ประเทศ รอ้ ยคละะแขนอนงผใู้ ห้ กลมุ่ อายุ
คะแนนเฉลีย
2.24 คะแนน 78.3% 2.23 คะแนน 2.25 คะแนน
มาก
77.5% มาก 78.7% มาก
21.7%
ปานกลาง 22.5% ปานกลาง 21.3% ปานกลาง

--% น้อย --% น้อย

--%
น้อย
อายุ12 -17 ปี อายุ 18-24 ปี

สาํ นกั งาน ป.ป.ช. ภาค

กทม. สปภ. 1 สปภ. 2 สปภ. 3 สปภ. 4 สปภ. 5 สปภ. 6 สปภ. 7 สปภ. 8 สปภ. 9
2.22 2.20 2.21 2.27 2.22 2.35 2.19 2.28 2.28 2.22
คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
77.4% 75.3% 80.1% 79.1% 74.2% 90.2% 73.4% 79.6% 80.7% 78.5%

22.6% 24.7% 19.9% 20.9% 25.8% 9.8% 26.6% 20.4% 19.3% 21.5%

--% --% --% --% --% --% --% --% --% --%

มาก ปานกลาง น้อย หมายเหตุ : -- มีขอ้ มลู จาํ นวนเล็กนอ้ ย
(2.00-3.00 คะแนน) (1.00-1.99 คะแนน) (0.00-0.99 คะแนน) : คะแนนเฉลียเต็ม 3 คะแนน

15

การมีพฤติกรรมทียึดมนั ความซือสตั ยส์ ุจรติ ฯ
ดา้ นความรบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ที

ทวั ประเทศ รอ้ ยคละะแขนอนงผใู้ ห้ 2.09 คะแนน กลมุ่ อายุ
คะแนนเฉลีย 64.1% มาก
2.11 คะแนน 65.5% 2.12 คะแนน
มาก 66.3% มาก

33.9% 35.5% ปานกลาง 33.0% ปานกลาง
ปานกลาง
0.4% น้อย 0.7% นอ้ ย

0.6%
นอ้ ย อายุ12 -17 ปี อายุ 18-24 ปี

สาํ นกั งาน ป.ป.ช. ภาค

กทม. สปภ. 1 สปภ. 2 สปภ. 3 สปภ. 4 สปภ. 5 สปภ. 6 สปภ. 7 สปภ. 8 สปภ. 9
2.11 2.04 2.09 2.13 2.10 2.23 2.08 2.14 2.11 2.09
คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
67.4% 60.3% 66.3% 65.4% 64.2% 75.7% 64.0% 67.0% 67.7% 61.2%

32.3% 38.5% 33.3% 34.2% 34.9% 24.3% 35.5% 32.3% 31.9% 38.6%

0.3% 1.2% 0.4% 0.4% 0.9% --% 0.5% 0.7% 0.4% 0.2%

มาก ปานกลาง น้อย หมายเหตุ : -- มีขอ้ มูลจาํ นวนเล็กน้อย
(2.00-3.00 คะแนน) (1.00-1.99 คะแนน) (0.00-0.99 คะแนน) : คะแนนเฉลียเต็ม 3 คะแนน

16

18

การมีพฤตกิ รรมทียึดมนั ความซือสตั ยส์ จุ รติ ฯ
ดา้ นความรบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ที เป็ นรายประเด็น

คะแนน *2.55 2.45 2.44 2.28 2.10 2.07 1.83 1.73 1.53
เฉลยี
3 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ประเดน็
2 2.11
1 1. ต่อแถวรอคิว/ไมแ่ ซงคิว
0 รวมทุก 2. สง่ การบา้ น/งาน ตามทีคร/ู พ่อแม่/หวั หนา้ /ผบู้ งั คบั บญั ชาภายในเวลาทีกาํ หนด
3. ทิงขยะลงบนทีสาธารณะ เชน่ บนถนน ลงแมน่ ําลาํ คลอง สนามกีฬา สวนสาธารณะ เป็นตน้
ประเด็น 4. ปฏิบตั ิตามกฎจราจร เช่น ขา้ มทางมา้ ลาย ขา้ มสะพานลอย จอดรถในทีใหจ้ อด ไม่ขบั รถยอ้ นศร ขบั รถโดยมีใบขบั ขี เป็ นตน้
5. สละเวลาช่วยงานพ่อแม/่ คร/ู เพือนร่วมงาน
6. ศึกษาหาความรูจ้ ากแหล่งขอ้ มลู ต่างๆ ดว้ ยตนเอง เช่น อ่านหนังสอื เรียน/เอกสาร คน้ หาขอ้ มูลทางอินเทอรเ์ น็ต เป็นตน้
7. แบ่งปันหรือช่วยเหลือผอู้ ืนเมือมโี อกาส เช่น การแบง่ ขนม การใหเ้ งนิ /บริจาคกบั เด็กกาํ พรา้ /โรงพยาบาล เป็ นตน้
8. เก็บเงนิ /ออมเงินไวซ้ ือของ/ใชย้ ามจาํ เป็ น
9. เขา้ ร่วมกิจกรรมเพือสงั คม เช่น บริจาคโลหิต ปลกู ตน้ ไม/้ ป่ า กวาดลานวดั รณรงคต์ ่อตา้ นยาเสพติด เป็ นตน้

หมายเหตุ : * ขอ้ ถามเชงิ ลบไดม้ กี ารแปลงคะแนนเชงิ บวก

: คะแนนเฉลียเต็ม 3 คะแนน

17

การมีพฤติกรรมทียึดมนั ความซือสตั ยส์ ุจริตฯ
ดา้ นความเทา่ เทียมและความเสมอภาค

ทวั ประเทศ รอ้ ยคละะแขนอนงผใู้ ห้ 2.21 คะแนน กลมุ่ อายุ
คะแนนเฉลีย 75.9% มาก
2.24 คะแนน 78.4% 2.26 คะแนน
มาก 79.7% มาก

21.6% 24.1% ปานกลาง 20.3% ปานกลาง
ปานกลาง
--% นอ้ ย --% นอ้ ย

--%
น้อย อายุ12 -17 ปี อายุ 18-24 ปี

สาํ นักงาน ป.ป.ช. ภาค

กทม. สปภ. 1 สปภ. 2 สปภ. 3 สปภ. 4 สปภ. 5 สปภ. 6 สปภ. 7 สปภ. 8 สปภ. 9
2.22 2.23 2.18 2.27 2.20 2.36 2.19 2.26 2.30 2.23
คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
77.7% 79.7% 76.5% 78.8% 72.6% 88.0% 73.8% 79.6% 83.0% 80.6%

22.3% 20.3% 23.5% 21.2% 27.4% 12.0% 26.2% 20.4% 17.0% 19.4%

--% --% --% --% --% --% --% --% --% --%

มาก ปานกลาง นอ้ ย หมายเหตุ : -- มขี อ้ มลู จาํ นวนเล็กนอ้ ย
(2.00-3.00 คะแนน) (1.00-1.99 คะแนน) (0.00-0.99 คะแนน) : คะแนนเฉลียเต็ม 3 คะแนน

18

19

การมีพฤติกรรมทียึดมนั ความซือสตั ยส์ ุจรติ ฯ
ดา้ นความเทา่ เทยี มและความเสมอภาค เป็ นรายประเด็น

คะแนน
*เฉลยี
3 2.24 2.58 2.58 2.56 2.35 2.31* 2.27* 2.09* 2.01 1.87 1.79
2

1

0 รวมทุก 1 2 3 4 56 78 9 10 ประเดน็
ประเด็น
1. เมือเก็บเงินหรือสิงของไดแ้ ลว้ ส่งคืนใหก้ บั เจา้ ของหรือแจง้ ครู/ผเู้ กียวขอ้ ง/เจา้ หนา้ ที
2. คืนเงินหรือสงิ ของทียืมจากผอู้ ืนตามทีรบั ปาก/ตกลงไว้
3. ลอ้ เลียนปมดอ้ ยของผูอ้ นื เชน่ เตีย อว้ น ดาํ พิการ เป็นตน้
4. ยอมรบั เมือตนเองทาํ ผิดและกล่าวขอโทษดว้ ยความจริงใจ
5. พดู โกหกเพือปกป้องตนเองหรือเอาตวั รอด
6. ปกป้องเพือน/พวกพอ้ งแมว้ ่าจะเป็ นคนผิด
7. ยอมรบั ไดห้ ากถูกเอาเปรียบ
8. เมือเพือน/คนรจู้ กั ทะเลาะกนั จะฟังความทงั สองฝ่ าย
9. ช่วยเพือน/ใหค้ าํ ปรึกษาเพือนทีประสบปัญหาเดือดรอ้ นหรือยากลาํ บาก
10. ตกั เตือนเพือน/คนใกลช้ ดิ หากทาํ สงิ ทีไมถ่ กู ตอ้ ง

หมายเหตุ : * ขอ้ ถามเชงิ ลบไดม้ ีการแปลงคะแนนเชงิ บวก

: คะแนนเฉลียเต็ม 3 คะแนน

19

การมพี ฤตกิ รรมทียดึ มนั ความซือสตั ยส์ ุจริตฯ
ดา้ นการแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม

ทวั ประเทศ รอ้ ยคละะแขนอนงผใู้ ห้ 2.39 คะแนน กลมุ่ อายุ
คะแนนเฉลีย 89.4% มาก
2.37 คะแนน 88.1% 2.36 คะแนน
มาก 87.5% มาก

11.9% 10.6% ปานกลาง 12.5% ปานกลาง
ปานกลาง
--% น้อย --% น้อย

--%
นอ้ ย อายุ12 -17 ปี อายุ 18-24 ปี

สาํ นกั งาน ป.ป.ช. ภาค

กทม. สปภ. 1 สปภ. 2 สปภ. 3 สปภ. 4 สปภ. 5 สปภ. 6 สปภ. 7 สปภ. 8 สปภ. 9
2.34 2.34 2.36 2.39 2.35 2.47 2.31 2.44 2.42 2.34
คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
87.2% 86.7% 92.3% 87.2% 85.4% 94.5% 81.2% 92.4% 91.0% 87.4%

12.8% 13.3% 7.7% 12.8% 14.6% 5.5% 18.8% 7.3% 9.0% 12.6%

--% --% --% --% --% --% --% 0.3% --% --%

มาก ปานกลาง นอ้ ย หมายเหตุ : -- มขี อ้ มูลจาํ นวนเล็กนอ้ ย
(2.00-3.00 คะแนน) (1.00-1.99 คะแนน) (0.00-0.99 คะแนน) : คะแนนเฉลียเต็ม 3 คะแนน

20

20

การมีพฤตกิ รรมทียดึ มนั ความซือสตั ยส์ ุจรติ ฯ
ดา้ นการแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม เป็ นรายประเด็น

คะแนน
เ3ฉลยี 2.37 2.65* 2.64* 2.51* 2.35* 2.32
2 2.80 2.20 2.11* 1.77

1

0 รวมทกุ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ประเดน็
ประเด็น

1. สวมหน้ากากอนามยั เวน้ ระยะห่าง ปฏิบตั ิตามมาตรการควบคุมโรคโควดิ 19
2. เคยรบั สิงจูงใจ/ขนม/เงิน/สิงของมคี ่า/สิงตอบแทน ในการเลือกหวั หน้า/การเลือกประธานนักเรียน/ลงคะแนนเสียงเลือกตงั
3. นําของทีใชส้ ่วนรวม ไปใชส้ ่วนตวั โดยไม่นํามาคืน เชน่ อุปกรณก์ ีฬา หนังสือของหอ้ งสมุด เป็ นตน้
4. ใหเ้ งิน/ของขวญั /ขนม แก่ผูอ้ นื เพือประโยชน์ของตนเองในสิงทีไม่ถูกตอ้ ง เชน่ การใหข้ นมเพือลอกการบา้ น การใหเ้ งนิ เพือลดั คิว เป็ นตน้

5. ซือสนิ คา้ ปลอมแปลง/ละเมิดลิขสิทธเิ พราะราคาถูก

6. ไปตรงตามเวลานัดหมาย
7. ดแู ลและรบั ผิดชอบของใชส้ ่วนรวมและส่วนตวั เช่น ปิดไฟหรือถอดปลกั อปุ กรณไ์ ฟฟ้าเมือไมไ่ ดใ้ ชง้ าน

เก็บจาน/แกว้ นําเมือทานเสร็จ ราดนําทาํ ความสะอาด เป็ นตน้
8. ซือของ/อาหารในทีหา้ มขาย เช่น ริมถนน แยกสญั ญาณไฟจราจร เป็นตน้
9. เมือพบเห็นสงิ ของในโรงเรียน/ในทีสาธารณะชาํ รุดหรือเสียหายจะแจง้ ครู/เจา้ หน้าที เชน่ ก๊อกนําเสยี หลอดไฟดบั

ของเล่น/เครืองออกกาํ ลงั กายสาธารณะชาํ รุด เป็ นตน้

หมายเหตุ : * ขอ้ ถามเชิงลบไดม้ ีการแปลงคะแนนเชงิ บวก

: คะแนนเฉลียเต็ม 3 คะแนน

21

การเคยผ่านการเรียน/อบรมเนือหาตามหลกั สูตรตา้ นทุจริตศึกษา

ทวั ประเทศ กลมุ่ อายุ 45.9%
46.7% เคยผา่ นการเรยี น/
48.2% อบรมฯ
เคยผ่านการเรียน/ เคยผา่ นการเรยี น/ 54.1%
อบรมฯ อบรมฯ ไม่เคยผา่ นการเรียน/
51.8% อบรมฯ
53.3% ไมเ่ คยผา่ นการเรียน/
อบรมฯ
ไม่เคยผ่านการเรยี น/
อบรมฯ อายุ12 -17 ปี อายุ 18-24 ปี

รอ้ ยละ สาํ นกั งาน ป.ป.ช. ภาค
100
80 30.3 56.2 42.4 46.8 44.8 48.8 47.1 48.5 58.6
60 51.4 69.7 43.8 57.6 53.2 55.2 51.2 52.9 51.5 41.4

40 สปภ. 1 สปภ. 2 สปภ. 3 สปภ. 4 สปภ. 5 สปภ. 6 สปภ. 7 สปภ. 8 สปภ. 9
20 48.6
0 กทม. ภาค

เคยผ่านการเรียน/อบรมฯ ไม่เคยผ่านการเรียน/อบรมฯ

22

21

23

 เพือรวบรวมความคิดเห็นเกียวกบั

 การเป็ นสมาชิกเครือข่ายป้องกนั และตอ่ ตา้ นการทุจรติ
 การผ่านการเรียน/อบรมเนือหาตามหลกั สตู รดา้ นทจุ ริตศึกษา
 คา่ นิยมสจุ ริต
 ทศั นคตติ อ่ การทจุ รติ และประพฤติมิชอบ
 พฤติกรรมในการต่อตา้ นการทุจริตและประพฤติมิชอบ

เพอื ตดิ ตาม และประเมินผลแผนยอ่ ยการป้องกนั การทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ
ของประชาชนทีมีวฒั นธรรมและพฤตกิ รรมซือสตั ยส์ ุจริต

24

22

คมุ้ รวม ประชาชนทีมีอายุ 25 ปี ขึนไปในครวั เรอื นสว่ นบคุ คลทวั ประเทศ

การสาํ รวจครังนี ไม่รวมผูท้ ีอาศัยอยู่ใน ครัวเรือนคนงานทีมีคนงานมาอาศัยอยู่รวมกัน

ในสถานทีทีนายจา้ งจดั หาใหโ้ ดยไม่เสียค่าทีพัก รวมทังผูท้ ีอาศัยอยู่ใน ครัวเรือนสถาบัน

เช่น เรอื นจาํ ค่ายทหาร โรงแรม วดั หอพกั นกั เรยี นนกั ศึกษา เป็ นตน้

การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ระหว่างวนั ที 20 สงิ หาคม – 10 กนั ยายน 2564

แผนการสุม่ ตวั อยา่ ง ใชแ้ ผนการเลือกตวั อยา่ งแบบ Stratified Two – Stage Sampling

โดยกาํ หนดใหเ้ ขตแจงนับ (EA) เป็ นหน่วยตวั อย่างขันทีหนึง ประชาชนอายุ 25 ปี ขึนไป
ในครวั เรอื นสว่ นบคุ คล เป็ นหน่วยตวั อยา่ งขนั ทสี อง ไดจ้ าํ นวนตวั อยา่ งทงั สิน 9,625 คน

25

ประชาชนตวั อยา่ งทถี ูกสมั ภาษณ์

เพศ อายุ

48.1% 51.9% 27.5% 27.6% 27.3% 17.6%

ชาย หญงิ 25 -39 ปี

7.1% 14.0% 40 -54 ปี 55 -74 ปี ตงั แต่ 75 ปี ขนึ ไป

46.0% ระดบั การศึกษา รายไดค้ รวั เรอื นเฉลยี ตอ่ เดอื น

31.2% 24.0% 28.0%

16.7% 16.2% 16.8%

ประถมศึกษา มัธยมศึกษา มัธยมศึกษาตอน ปวส. ปริญญาตรี ตาํ กวา่ 10,001 10,001 – 15,000 15,001 – 30,000 ตงั แต่ 30,001
หรอื ตาํ กว่า ตอนตน้ ปลาย/ปวช. หรือสูงกว่า บาท บาท บาท บาทขึนไป
19.0%
6.5% 15.2% อาชีพ 11.5% 19.0% 7.2%

21.6%

ขา้ ราชการ พนักงาน/ คา้ ขาย/ประกอบ เกษตรกร รบั จา้ งทวั ไป/ พอ่ บา้ น/แม่บา้ น อืนๆ เชน่ ขา้ ราชการบาํ นาญ/
พนกั งาน ลูกจา้ งของรฐั / ลกู จา้ งเอกชน ธรุ กิจสว่ นตวั กรรมกร (อยูบ่ า้ นเฉยๆ) เกษยี ณอายุ ชรา ว่างงาน/
พนักงานรฐั วิสาหกิจ
ขบั รถรบั จา้ ง ไมม่ ีงานทาํ นักเรยี น/นักศึกษา

26

23

ความคิดเห็นของประชาชนเกียวกับ
การมีวฒั นธรรม คา่ นิยมสจุ รติ ทศั นคติ และพฤตกิ รรมในการตอ่ ตา้ นการทุจรติ

และประพฤตมิ ิชอบของประชาชน

ทวั ประเทศ รอ้ ยคละะแขนองนผูใ้ ห้ กลุ่มอายุ

2.18 คะแนน 70.9% มาก 2.19 2.19 2.18 2.14
29.1% ปานกลาง คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
71.7%
--% นอ้ ย 28.3% 71.1% 70.3% 68.3%
31.7%
--% 28.9% 29.7%
--% --% --%

หมายเหตุ : -- ขอ้ มูลมีจาํ นวนเล็กน้อย 25 -39 ปี 40 -54 ปี 55 -74 ปี ตงั แต่ 75 ปี ขนึ ไป
คะแนนเฉลียเต็ม 3 คะแนน

2.17 2.11 สาํ นักงาน ป.ป.ช. ภาค 2.20 2.14
คะแนน คะแนน 2.12 2.20 2.20 2.29 คะแนน 2.22 2.25 คะแนน
68.8% 63.8% คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
31.2% 36.2%
63.1% 73.1% 70.8% 81.4% 72.1% 79.3% 77.1% 64.6%
--% --%
36.9% 26.9% 29.2% 18.5% 27.9% 20.6% 22.9% 35.4%
กทม. สปภ.1 --% --% --% 0.1% --% 0.1% --% --%

สปภ.2 สปภ.3 สปภ.4 สปภ.5 สปภ.6 สปภ.7 สปภ.8 สปภ.9

27

ความคิดเห็นของประชาชนเกียวกับ
การมีวัฒนธรรม ค่านิยมสุจรติ ทศั นคติ และพฤตกิ รรมในการตอ่ ตา้ นการทจุ ริตฯ

ดา้ นค่านิยมสุจรติ

ดา้ นคา่ นิยมสุจรติ รอ้ ยคละะแขนองนผูใ้ ห้ กล่มุ อายุ

2.71 คะแนน 97.1% มาก 2.71 2.71 2.71 2.69
2.9% ปานกลาง คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
--% นอ้ ย 97.1% 95.5%
97.3% 97.1%
2.9% 4.5%
--% 2.7% 2.9% --%

--% --%

หมายเหตุ : -- ขอ้ มลู มีจาํ นวนเล็กนอ้ ย 25 -39 ปี 40 -54 ปี 55 -74 ปี ตงั แต่ 75 ปี ขนึ ไป
คะแนนเฉลียเต็ม 3 คะแนน 2.78 2.72
คะแนน คะแนน
2.69 2.69 2.65 2.73 สาํ นกั งาน ป.ป.ช. ภาค
คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน 2.70 2.75 2.69 2.76
96.9% 97.1% คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
3.1% 2.9%
96.3% 96.3% 96.7% 98.1% 96.6% 98.4% 98.5% 97.4%
--% --%
3.7% 3.7% 3.3% 1.9% 3.4% 1.5% 1.5% 2.6%
กทม. สปภ.1
--% --% --% --% --% 0.1% --% --%

สปภ.2 สปภ.3 สปภ.4 สปภ.5 สปภ.6 สปภ.7 สปภ.8 สปภ.9

28

24

ความคิดเห็นของประชาชนเกียวกบั
การมีวฒั นธรรม ค่านิยมสุจรติ ทศั นคติ และพฤตกิ รรมในการตอ่ ตา้ นการทุจรติ ฯ

ดา้ นคา่ นิยมสุจรติ เป็ นรายประเดน็

คะแนน 2.86 2.82 2.79 2.78* 2.78 2.78 2.69* 2.69 2.67 2.63 2.53 2.48*
เฉลีย 2.71

รวมทกุ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ประเดน็
ประเด็น
1. ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการทรี ฐั บาลกาํ หนดอย่างเครง่ ครดั หากเกดิ สถานการณว์ ิกฤติ เชน่ การสวมหนา้ กากอนามยั การหยดุ เผาขยะ เป็ นตน้
29 2. เมือพบสิงของของผอู้ นื ท่านหาทางนําส่งคนื เจา้ ของ
3. ปฏิบตั ติ ามหน้าทขี องพลเมอื ง เช่น การไปเลือกตงั การเสียภาษี เป็ นตน้
4. นําสิงของส่วนรวม/สาธารณะไปใชส้ ่วนตวั
5. ไปตรงตามเวลานัดหมาย
6. ยอมรบั เมือตนเองทาํ ผิดและกล่าวขอโทษดว้ ยความจรงิ ใจ
7. แซงคิวผอู้ นื เมืออยใู่ นสถานการณเ์ รง่ รบี
8. ยนิ ดใี หค้ วามชว่ ยเหลืองานทีเกดิ ประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม
9. ปฏบิ ตั ติ ามกฎจราจร เช่น ขา้ มทางมา้ ลาย ขา้ มสะพานลอย จอดรถในทีใหจ้ อด ไม่ขบั รถยอ้ นศร ขบั รถโดยมีใบขบั ขี สวมหมวกกนั น็อค

คาดเข็มขดั นิรภยั เป็นตน้
10. รสู้ ึกละอายใจเมือทาํ ผิดกฎระเบียบของสงั คม เชน่ การทงิ ขยะในทหี า้ มทิง การจอดรถในทีหา้ มจอด เป็ นตน้
11. รบั ฟังความคิดเหน็ ของผอู้ ืนแมว้ า่ จะแตกต่างจากความคดิ ตนเอง
12. การให/้ รบั สินบน เป็นเรอื งปกติ เช่น การซอื สิทธิขายเสียง การซือตาํ แหน่งหนา้ ที การอาํ นวยความสะดวก เป็ นตน้

คะแนนเฉลียเต็ม 3 คะแนน หมายเหตุ : * ขอ้ ถามเชิงลบไดม้ กี ารแปลงคะแนนเชงิ บวก

ความคิดเห็นของประชาชนเกียวกับ
การมีวัฒนธรรม คา่ นิยมสจุ รติ ทศั นคติ และพฤติกรรมในการตอ่ ตา้ นการทุจรติ ฯ

ดา้ นทศั นคติตอ่ การทจุ รติ และประพฤติมิชอบ

ดา้ แนลทะศั ปนรคะตพติ ฤอ่ ตกมิ าิชรทอบุจรติ รอ้ ยคละะแขนองนผใู้ ห้ 2.10 กลุ่มอายุ 2.08 2.05
คะแนน 2.10 คะแนน คะแนน
63.0% มาก 64.4% คะแนน 59.9%
35.2%
63.1% 62.2% 39.5%
0.4% 0.6%
2.09 คะแนน 36.5% ปานกลาง 36.6% 37.1%
0.5% นอ้ ย 0.3% 0.7%

หมายเหตุ : -- ขอ้ มูลมีจาํ นวนเล็กน้อย 25 -39 ปี 40 -54 ปี 55 -74 ปี ตงั แต่ 75 ปี ขนึ ไป
คะแนนเฉลียเตม็ 3 คะแนน 2.18 2.09
คะแนน คะแนน
2.10 2.02 2.10 สาํ นกั งาน ป.ป.ช. ภาค
คะแนน คะแนน 2.02 คะแนน 2.09 2.17 2.08 2.15
64.0% 56.9% คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
36.0% 42.0%
1.1% 54.6% 63.5% 60.0% 71.0% 63.5% 72.6% 68.4% 62.8%
--% สปภ.1
44.7% 36.3% 39.4% 28.2% 36.3% 27.1% 31.2% 37.1%
กทม. 0.7% 0.2% 0.6% 0.8% 0.2% 0.3% 0.4% 0.1%

สปภ.2 สปภ.3 สปภ.4 สปภ.5 สปภ.6 สปภ.7 สปภ.8 สปภ.9

30

25

ความคิดเห็นของประชาชนเกียวกับ
การมีวฒั นธรรม คา่ นิยมสจุ รติ ทศั นคติ และพฤติกรรมในการตอ่ ตา้ นการทจุ ริตฯ

ดา้ นทศั นคติตอ่ การทจุ รติ และประพฤติมิชอบ เป็ นรายประเดน็

คะแนน 2.55 2.53 2.49* 2.36 2.36 2.22* 2.21 2.12
เฉลีย 2.09

1.06* 1.03*

รวมทกุ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ประเดน็
ประเดน็
1. การตดิ สินบนกบั เจา้ หนา้ ทเี พอื แลกกบั ความสะดวกในการไดร้ บั บริการเป็ นเรืองปกติ
2. รูส้ ึกผดิ หวงั เมือพบเหน็ การทจุ รติ หรือเรยี กรบั สินบน
3. การซือสิทธิขายเสียงเป็นเรืองทียอมรบั ได้
4. แจง้ หน่วยงานทเี กยี วขอ้ ง เมือพบเหน็ การทาํ ความผดิ หรือพบเหน็ สิงทไี มถ่ ูกตอ้ ง เชน่ การทจุ รติ ของขา้ ราชการ การซือสิทธิขายเสียง เป็ นตน้
5. การรอ้ งเรียนการกระทาํ ผิดเป็นสิงทคี วรกระทํา
6. ถา้ นักการเมอื งกระทาํ ทจุ ริตแตส่ ามารถบริหารประเทศไดด้ กี ็เป็ นเรอื งยอมรับได้
7. มคี วามภูมิใจหากไดม้ สี ่วนร่วมเป็ นเครือข่ายต่อตา้ นการทุจรติ
8. การเขา้ มาเป็ นส่วนร่วมในการเป็นเครือข่าย การตอ่ ตา้ นการทจุ ริต เชน่ เครือขา่ ยชมรม STRONG เครือขา่ ยหมาเฝ้าบา้ น เครอื ข่ายคณะกรรมการ

หมบู่ า้ น เป็นตน้
9. การแจง้ เบาะแสเกยี วกบั การกระทาํ ผิด จะทาํ ใหค้ รอบครวั ไม่ปลอดภยั
10. กลวั ผลกระทบทตี ามมา หากตอ้ งไปรอ้ งเรยี นเรอื งการทุจรติ ของเจา้ หน้าที

คะแนนเฉลียเต็ม 3 คะแนน หมายเหตุ : * ขอ้ ถามเชงิ ลบไดม้ ีการแปลงคะแนนเชิงบวก

31

ความคิดเห็นของประชาชนเกียวกับ
การมีวฒั นธรรม ค่านิยมสุจรติ ทศั นคติ และพฤตกิ รรมในการตอ่ ตา้ นการทุจริตฯ

ดา้ นพฤตกิ รรมในการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ

กดาา้ รนทพจุ ฤรตติ กิแรลระมปใรนะกพาฤรตตมิอ่ ติชาอ้ นบ รอ้ ยคละะแขนองนผใู้ ห้ 1.75 กลมุ่ อายุ 1.75 1.68
คะแนน 1.76 คะแนน คะแนน
1.75 คะแนน 29.1% มาก 28.2% คะแนน 24.2%
68.5% ปานกลาง 69.4%
2.4% นอ้ ย 29.9% 29.9% 73.5%
2.4% 2.3%
67.7% 67.6%
2.4% 2.5%

หมายเหตุ : -- ขอ้ มูลมีจาํ นวนเล็กนอ้ ย 25 -39 ปี 40 -54 ปี 55 -74 ปี ตงั แต่ 75 ปี ขนึ ไป
คะแนนเฉลียเต็ม 3 คะแนน
1.79 1.63
1.72 1.61 1.78 สาํ นกั งาน ป.ป.ช. ภาค คะแนน คะแนน
คะแนน คะแนน 1.68 คะแนน 1.81 1.95 1.83 1.75 30.7% 23.0%
27.3% 19.1% คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน
70.4% 76.8%
4.1% 22.9% 31.3% 33.6% 44.2% 37.3% 26.2%
2.3% สปภ.1
75.1% 65.9% 63.9% 55.1% 61.4% 72.3% 68.6% 71.4%
กทม. 2.0% 2.8% 2.5% 0.7% 1.3% 1.5% 0.7% 5.6%

สปภ.2 สปภ.3 สปภ.4 สปภ.5 สปภ.6 สปภ.7 สปภ.8 สปภ.9

32

26

ความคิดเห็นของประชาชนเกียวกบั
การมีวฒั นธรรม ค่านิยมสุจรติ ทศั นคติ และพฤติกรรมในการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ฯ

ดา้ นพฤตกิ รรมในการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ เป็ นรายประเดน็

คะแนน 2.82 2.73 2.64 2.09
เฉลีย 2.11

1.75 1.20 1.03 1.00 0.95 0.94

รวมทกุ 1 2345678 9 10 ประเดน็
ประเดน็
1. การรบั สินนําใจเพอื แลกกบั การบริการหรืออาํ นวยความสะดวก เพือลดั คิวใหเ้ ร็วขนึ
2. การใหส้ ินนําใจแก่เจา้ หน้าทีเพอื แลกกบั ความสะดวกรวดเร็วในการบริการ
3. การรบั เงนิ /สิงของ/ผลประโยชน์เพอื ซือสิทธิขายเสียง
4. การซือของ/อาหารในทหี า้ มขาย เชน่ ริมถนน เป็นตน้
5. ทาํ เป็นไม่รไู้ มเ่ หน็ เมือพบเหน็ การทจุ ริต
6. การสนับสนุนและชว่ ยเหลือแกเ่ ครอื ขา่ ยต่อตา้ นการทจุ รติ
7. การรอ้ งเรยี น เมือพบเหน็ การทาํ ผดิ กฎหมาย
8. การแจง้ เบาะแสตอ่ เจา้ หนา้ ที เมือพบว่าผมู้ ีอิทธิพลทาํ ความผิด
9. การเรยี กรอ้ งความยุตธิ รรมใหก้ บั คนทีโดนเจา้ หน้าทีเรยี กรบั ผลประโยชน์
10. การลงชือใหม้ ีการตรวจสอบหรือยบั ยงั การดําเนินโครงการทมี แี นวโน้มของการทุจริต

คะแนนเฉลียเต็ม 3 คะแนน

33

การเคย/เป็ นสมาชิกเครอื ขา่ ยป้องกันและตอ่ ตา้ นการทจุ รติ

การเคย/เป็ นสมาชิกเครอื ข่ายป้องกนั กล่มุ อายุ
และตอ่ ตา้ นการทุจรติ
5.2% 8.1% 7.8% 2.5%
97.5%
94.8% 91.9% 92.2%

6.9% 93.1%

เคย/เป็ นสมาชกิ ฯ ไม่เคยเป็ นสมาชกิ ฯ

25 -39 ปี 40 -54 ปี 55 -74 ปี ตงั แต7่ 5 ปี ขนึ ไป

รอ้ ยละ 3.3 สาํ นักงาน ป.ป.ช. ภาค
100 96.7
80 กทม. 2.4 8.1 6.7 9.6 10.6 11.1 6.9 6.4 7.7
60
40 97.6 91.9 93.3 90.4 89.4 88.9 93.1 93.6 92.3
20 สปภ.1 สปภ.2 สปภ.3 สปภ.4 สปภ.5 สปภ.6 สปภ.7 สปภ.8 ปภ.ปา.คช.

0 สปภ.9

เคย/เป็ นสมาชิกฯ ไม่เคยเป็ นสมาชิกฯ

34

27

การเคยผา่ นการเรยี น/อบรมเนือหาตามหลกั สตู รดา้ นทจุ รติ ศึกษา

การเคยผ่านการเรียน/อบรมเนือหาตามหลกั สูตร กลมุ่ อายุ
ดา้ นทจุ รติ ศึกษา
18.1% 14.7% 9.7% 3.4%
96.6%
81.9% 85.3% 90.3%

13.6% 86.4% 25 -39 ปี 40 -54 ปี 55 -74 ปี ตงั แต่ 75 ปี ขนึ ไป

เคยผ่านการเรยี น/ ไม่เคยผา่ นการเรยี น/
อบรมฯ อบรมฯ

รอ้ ยละ 14.1 สาํ นกั งาน ป.ป.ช. ภาค
100 85.9
80 กทม. 9.0 13.7 12.4 15.5 14.3 13.9 15.2 12.8 18.9
60
40 91.0 86.3 87.6 84.5 85.7 86.1 84.8 87.2 81.1
20 ปภ.ปา.คช.
สปภ.1 สปภ.2 สปภ.3 สปภ.4 สปภ.5 สปภ.6 สปภ.7 สปภ.8
0 เคยผ่านการเรียน/อบรมฯ ไมเ่ คยผ่านการเรยี น/อบรมฯ สปภ.9

35

ระบบคิดฐานสอง(Binary Thinking)

• Something is binary if it contains only two parts or options. In mathematics
or computing, those two parts are 1s and 0s.

• การแยกรฐั ออกจากตวั คน ใหร้ ฐั เป็ นสถาบนั เรยี กว่ารฐั สมัยใหม่ เรมิ ตน้ จาก
การลงนามในสนธิสัญญาสันติภาพเวสฟาเลียในปี ค.ศ.๑๖๔๘ ตรงกับ
ปี พ.ศ. ๒๑๙๑ รัชสมัยสมเด็จพระเจา้ ปราสาททอง รัชกาลที ๒๔ แห่ง
กรุงศรอี ยธุ ยา

36

28

Element of State

• Population • Government
• Fixed territory • sovereignty

37

แนวความคิดพ้ืนฐาน : ประโยชนส าธารณะ

- รฐั โดยองคกรของรัฐหรือเจา หนาท่ขี องรฐั เปน ผดู แู ล
รักษาประโยชนส วนรวมหรอื ประโยชนส าธารณะ

- แตใ นกรณที ป่ี ระโยชนส วนตัวของเอกชนไมส อดคลอง
กบั ประโยชนส าธารณะจะตองใหป ระโยชนสาธารณะอยเู หนือ
ประโยชนส ว นตวั ของเอกชน

38

29

ความสมั พนั ธระหวา งเจา หนา ทขี่ องรฐั กบั รัฐ

สถานะของเจา หนา ท่ขี องรฐั นั้นมีความสมั พนั ธกับรัฐ 2 สถานะ
สถานะหนึ่ง คือ เจาหนาทข่ี องรัฐทปี่ ฏิบตั งิ านตามอาํ นาจหนา ท่ี

ซ่ึงเปน บุคคลท่ที าํ งานใหกับรัฐหรอื ตัวแทนของรฐั
กับอกี สถานะหนง่ึ คือ เจาหนาท่ขี องรฐั ซงึ่ เปนเอกชนคนหน่งึ

39

40

30

ประมวลกฎหมายอาญา

หมวด ๒ ความผิดตอ่ ตาํ แหน่งหนา้ ทีราชการ
มาตรา ๑๔๗ ผใู้ ดเป็นเจา้ พนกั งาน มหี นา้ ทีซอื ทาํ จดั การหรอื รกั ษาทรพั ยใ์ ด เบยี ดบงั
ทรพั ยน์ นั เป็นของตน หรอื เป็นของผอู้ นื โดยทจุ รติ หรอื โดยทจุ รติ ยอมใหผ้ อู้ นื เอาทรพั ย์ นั
นนั เสีย ตอ้ งระวางโทษจาํ คกุ แตห่ า้ ปีถงึ ยสี บิ ปี หรอื จาํ คกุ ตลอดชวี ิต และปรบั ตงั แตส่ องพนั
บาท ถงึ สีหมนื บาท

41

42

31

CONFLICT OF INTEREST

การขดั กันแหง่ ผลประโยชน์

COI

43

Conflict of Interest
ผลประโยชนท์ บั ซอ้ น
การขดั กนั แหง่
ผลประโยชน์
การขดั กนั ระหว่างประโยชนส์ ่วนตน
กบั ประโยชนส์ ่วนรวม

44

32

01 เคนเนท เคอนาแฮน (Kenneth)
Kernaghan
ความหมาย
02 “สถานการณซึง่ เจาหนาทข่ี องรฐั มี
ของ ผลประโยชนสว นตนอยู และไดใชอ ิทธิพลตาม
หนาทีแ่ ละความรบั ผิดชอบทางสาธารณะไปขัด
“ผลประโยชนทบั ซอ น” กับผลประโยชนสวนตวั ”
.แซนดรา วิลเลยี ม (Sandra Williams)

“การท่ีผดู ํารงตาํ แหนง ทางการเมอื งหรือ
ขาราชการไดเ ปด โอกาสใหเ งนิ หรือผลประโยชน
สวนตวั เขา มามอี ทิ ธิพลตอ หนา ทแ่ี ละความ
รบั ผดิ ชอบทีจ่ ะตองมตี อ สาธารณะ”

.

45

03 แพทริค บอเยอร (Patrick Boyer)

ความหมาย 04 “สถานการณท ีเ่ จาหนา ท่รี ัฐมผี ลประโยชน
สว นตัวและไดใชอทิ ธพิ ลหรอื จะใชอ ทิ ธิพลของ
ของ ตําแหนง หนา ท่ไี ปเพ่อื ผลประโยชนสวนตวั ”.

“ผลประโยชนทบั ซอ น” ผาสกุ พงษไ พจติ ร

“สภาวะซ่งึ การกาํ หนดนโยบายเพ่ือ
ผลประโยชนข องสงั คมโดยรวม หรือการตัดสินใจทาง
การเมืองถูกแทรกแซงดว ยผลประโยชนเ ฉพาะของ
ธุรกจิ เอกชนอนั ทําใหผ ลท่อี อกมาคอื นโยบายทใี่ หผล
ประโยชนก ับธุรกจิ เอกชนบางรายบางกลมุ แตส ังคม
โดยรวมเสียประโยชน”

.

46

33

แนวคดิ เรือง Conflict of interest

หลักการใชอ้ าํ นาจของเจา้ หน้าทขี องรัฐ
 สถานะของเจาหนาทขี่ องรฐั นน้ั มีความสัมพันธกับรัฐ 2 สถานะ

สถานะหนึง่ คอื เจา หนา ทข่ี องรัฐที่ปฏบิ ตั งิ านตามอาํ นาจหนาท่ี
ซง่ึ เปน บุคคลที่ทํางานใหก บั รฐั หรอื ตวั แทนของรัฐ

กบั อกี สถานะหนงึ่ คอื เจา หนา ทข่ี องรัฐซึ่งเปนเอกชนคนหนึ่ง
 เจา หนา ทข่ี องรัฐในฐานะผใู ชอ าํ นาจรัฐจะทาํ อะไรไดตอ งมีกฎหมายให

อาํ นาจ
 ในฐานะเอกชนจะทําอะไรก็ไดถา ไมมีกฎหมายหา ม

47

แนวคิด เรอื ง Conflict of interest

หลักการสากลในการปฏิบัตหิ น้าทขี องเจ้าหน้าทขี องรัฐ

เนืองจากเจ้าหน้าทีของรัฐมีความสัมพันธก์ ับรัฐ ๒ สถานะ
ดังกล่าว ดังนัน ในการปฏิบัติหน้าทีของเจ้าหน้าทีของรัฐจะต้อง
สามารถแยกเรืองตาํ แหน่งหน้าทีกับเรืองส่วนตัวออกจากกันได้ และ
ห้ามการกระทําทีเป็ นการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลกับ
ประโยชนส์ ว่ นรวม

48

34

Conflict of Interest

การขดั กนั ระหวา งประโยชนสว นตนกบั ประโยชนส ว นรวม

หมายถึง การท่ีเจาหนาท่ีของรัฐกระทําการใด ๆ ตามอํานาจหนาท่ีเพื่อประโยชน
สวนรวม แตกลับเขาไปมีสวนไดเสียกับกิจกรรมหรือการดําเนินการที่เอื้อ
ผลประโยชนใหกับตนหรือพวกพอง ทําใหการใชอํานาจหนาท่ี/การใชดุลยพินิจ
(เพื่อสวนรวม) เปนไปโดยไมส จุ รติ กอ ใหเ กิดผลเสยี ตอภาครัฐ

พ้นื ทสี่ ีขาว แทน ประโยชนสวนตน พน้ื ทีส่ เี ทา เกดิ จากการทับซอ นของสีขาวและสดี ํา เปน พน้ื ทเ่ี กิด
พื้นทีส่ ีดํา แทน ประโยชนสว นรวม “การขดั กนั ระหวา งประโยชนส วนตนและประโยชนส ว นรวม”

49

องคป ระกอบ (Conflict of Interest)

01 บคุ คลนน้ั มีสถานะ เปน เจาหนา ทข่ี องรัฐ
02 มอี าํ นาจหนา ทีเ่ ก่ียวขอ งกบั ประโยชนสว นรวมในเรือ่ งน้นั ๆ

ประโยชนสวนตน อาจเปน ทรพั ยส นิ หรือประโยชนอ ่นื ใดกไ็ ด /
03 ทรัพยสินหรอื ประโยชนข องบคุ คลอนื่

เ.กดิ สถานการณท มี่ ีผลประโยชนข ัดกัน (มีผลประโยชนส ว นตนเขา ไป
04 เกี่ยวขอ ง) โดยไดกระทาํ การ/ตัดสนิ ใจ/ใชดลุ ยพนิ ิจ อยา งใดอยางหนง่ึ

ลักษณะพเิ ศษ : มไิ ดหมายถงึ การทุจริตเสมอไป

50

35

จรยิ ธรรม - เปนแนวทางการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ / กฎกติกาของ
ประโยชน
ทบั ซอ น -สังไมคมจําอไเยมปาผนงตหิดอนกงึ่งฎเปหนมลาายยลักแษตณไมอักเหษรมาะสม
- ไมมีสภาพบงั คไมับทส ชี่มัดคเจวนรทการงะกทฎหํามาย
ทุจรติ
ตอหนาที่ แตม ีโทษทางสงั คม

51 --ควมเปรที นหกั้งแลอทนีก่ีกใเวหาํลทหี่ยเานกงงดดิปเคปฏิบนวกัตตาฎทิมอหีไ่ เสมคมคงั าลวคยอืรมแกบลรแะะทไคมําลไ หดงกรสือาํ งหสนัยดเปน
กฎหมาแยลแะตเขปัดนตบอ จอรเิยกธดิ รรขมอขงอกงสาังรคทมุจริต

ผดิ จรยิ ธรรม มีประโยชนทับซอ น
ผิดกฎหมายโดยตรง มบี ทลงโทษชัดเจน

สรุปความแตกตา งระหวาง
ผลประโยชนท บั ซอน กบั การทจุ รติ ตอ หนา ท่ี

ประเด็นเปรยี บเทียบ ผลประโยชนทบั ซอ น การทจุ ริตตอ หนา ท่ี

01 มสี ถานะเปน - ตองเปน เจาหนา ทข่ี องรฐั แตม บี างกรณีทกี่ ฎหมายบัญญตั ิ - ตอ งเปนเจาหนาท่ขี องรัฐ
เจา หนา ทขี่ องรัฐ ครอบคลมุ ไปถึงหลังจากที่พน จากตาํ แหนง เจาหนาทข่ี องรฐั

เชน การทํางานหลังเกษียณ (ตามบทบญั ญตั มิ าตรา 127)

- มที ้งั กรณที ่ีมอี าํ นาจหนา ทแี่ ละไมต อ งมอี าํ นาจหนาท่ี

02 มอี ํานาจหนาท่ี 1) กรณีมีอาํ นาจหนา ท่ี เชน การเปน คสู ญั ญา - ตองมีอํานาจหนาที่

2) กรณที ่ีไมต อ งมอี าํ นาจหนาท่ี เชน การรับประโยชนต าง ๆ

03 เพ่อื ใหต นเอง/ - ตนเอง/ผูอ่นื ไดป ระโยชน - ตนเอง/ผอู นื่ ไดประโยชน
ผอู ่นื ไดประโยชน

04 มีเจตนาทุจริต - ม/ี ไมมเี จตนาทุจริตกไ็ ด - ตองมีเจตนาทุจริต

52

36

Conflict of interest

รูปแบบ

COI ของ
ผลประโยชนท บั ซอ น

53

10 รปู แบบ 5. การรขู อมูลภายใน

1. การรบั ผลประโยชนตาง ๆ 6. การใชท รพั ยสนิ ของราชการ
2. การทาํ ธรุ กจิ กบั ตวั เอง เพ่อื ประโยชนส ว นตวั
หรือเปนคสู ัญญา
7. การนําโครงการสาธารณะลงใน
3. การทาํ งานหลังจาก เขตเลือกตงั้ เพื่อประโยชน
ออกจากตาํ แหนง สาธารณะ
หรือหลงั เกษียณ COI ในทางการเมอื ง

4. การทํางานพเิ ศษ 8. การใชต ําแหนง หนาทเ่ี อื้อ
ประโยชนแ กเ ครอื ญาตหิ รอื พวกพอ ง

9. การใชอ ทิ ธิพลเขาไปมีผลตอ การตดั สนิ ใจ
ของเจา หนา ท่ขี องรฐั หรอื หนวยงานของรัฐอน่ื

10. รูปแบบอนื่ ๆ

54

37

1. การรับผลประโยชนตา ง ๆ

ผลประโยชนตาง ๆ ไดแก ทรพั ยสิน Accepting
benefits
ของขวัญ การลดราคา การรับความบันเทงิ
02การรับบริการ การรับการฝกอบรม หรือ

ส่ิงอื่นใดในลักษณะเดียวกันน้ี และผลจาก

การรับผลประโยชนตาง ๆ น้ัน ได สงผล
ตอ การตัดสนิ ใจ ของเจาหนาท่ีของรัฐ

ในการดาํ เนนิ การตามอํานาจหนาที่

55

56

38

57

2. การทาํ ธรุ กจิ กบั ตวั เอง หรอื เปน คสู ัญญา

01 Self- dealing 02
Contracts

เปนการทเ่ี จา หนาท่ีของรฐั โดยเฉพาะผมู ีอาํ นาจในการตดั สนิ ใจ เขา ไปมีสว นไดเ สยี ในสัญญาที่
ทาํ กับหนว ยงานท่ตี นสังกดั โดยอาจจะเปนเจา ของบริษทั ท่ีทาํ สญั ญาเอง หรอื เปน ของเครือญาติ
สถานการณเชน น้เี กิดบทบาททีข่ ัดแยง หรอื เรยี กไดวา เปนทัง้ ผูซ้อื และผขู ายในเวลาเดยี วกนั

58

39

59
60

40

3. การทาํ งานหลังจากออกจากตาํ แหนง สาธารณะ
หรือหลงั เกษียณ (Post – employment)

การ ทํางานหลังจากออกจากตําแหน งหนาท่ีสาธารณ ะหรื อหลัง เกษียณ
เปน การท่เี จา หนา ท่ขี องรัฐพน จากตําแหนง สาธารณะ และไปทํางานในบริษัทเอกชนท่ี
ดําเนินธุรกิจประเภทเดียวกันหรือบริษัทท่ีมีความเกี่ยวของกับหนวยงานเดิม โดย
บคุ คลผเู คยดาํ รงตาํ แหนงในสาธารณะมากอน มักจะ รูขอมูลความลับ ข้ันตอนวิธีการ
ทํางาน มีอิทธิพลตอเจาหนาที่ท่ียังดํารงตําแหนงอยู และใชอิทธิพลหรือความสัมพันธ
จากท่ีเคยดํารงตําแหนงในหนวยงานเดิมนั้นหาประโยชนจากหนวยงานใหกับบริษัท
และตนเอง

61

3. การทํางานหลงั จากออกจากตาํ แหนงสาธารณะหรือหลงั เกษยี ณ
(Post – employment)

นอกจากนอ้ี าจมขี อสงสัยไดว า ขณะท่ีดํารงตาํ แหนงอยูไดม กี ารเออื้ ประโยชน
ใหกับภาคเอกชน หรือมีการปฏบิ ัตหิ นา ทไี่ ปโดยไมถ กู ตอ งเพอ่ื เอกชนนั้น และ
เมือ่ พน จากตําแหนงก็จะไดร บั การตอบแทนคืนจากภาคเอกชน ซง่ึ ในกรณีนีอ้ าจ
เปน การเรยี กรบั สินบนซึ่งเปนความผดิ ตามกฎหมายอาญา

62

41

กรณตี วั อยา ง

01 ผบู รหิ ารระดบั สงู ของกระทรวงสาธารณสุขไปเปน ผูบรหิ ารใหก บั
บริษัทผลติ ยาหลังเกษยี ณอายุราชการ
ผบู รหิ ารระดบั สงู ของกรมประชาสัมพันธไปเปน ผูบรหิ ารใหก ับ

02 บรษิ ทั ผลติ รายการโทรทัศนซ ่งึ เปนคูสญั ญากบั กรมประชาสมั พันธ

.

การทีผ่ ูบรหิ ารหรอื เจา หนา ทีข่ องหนว ยงานทเ่ี กษียณแลวใชอ ทิ ธพิ ลที่เคยดํารง
03 ตําแหนงในหนวยงานรฐั รบั เปนท่ปี รกึ ษาใหบรษิ ทั เอกชนทตี่ นเคยตดิ ตอ

ประสานงาน โดยอา งวา จะสามารถติดตอ กับหนวยงานของรฐั ไดอ ยางราบรน่ื

63

4. การทํางานพเิ ศษ

ก า ร ทํ า ง า น พิ เ ศ ษ ( Outside
employment or moonlighting)

- การ ตงั้ บริษทั ดําเนินธรุ กิจ ท่ีเปนการ แขงขันกับหนวยงาน หรอื

องคการสาธารณะทต่ี นสังกดั

- การรับจางพิเศษ เปนที่ปรึกษาโครงการ โดยอาศัยตําแหนงใน

ราชการสรางความนา เช่ือถือวาโครงการของผูวาจางจะไมมีปญหาติดขัด
ในการพิจารณาจากหนวยงานท่ีเจา หนา ทข่ี องรฐั ผูนั้นสงั กดั อยู

64

42

กรณีตัวอยา ง

01 เจาหนา ทต่ี รวจสอบภาษี กรมสรรพากร รับจา งทาํ บัญชี และ

ยนื่ แบบแสดงรายการใหบ ริษทั ท่ีตอ งถกู ตรวจสอบ

02 ผูจดั การโรงพมิ พของรัฐ ตง้ั บรษิ ทั เอกชน เก่ียวกบั การพิมพ

.

03 เจาหนา ท่ีของรฐั อาศัยตําแหนงหนาท่ที างราชการรับจางเปน ที่ปรกึ ษาโครงการ
เพ่อื ใหบรษิ ัทเอกชนท่ีวาจา งนั้นมคี วามนา เชอื่ ถือมากกวาบรษิ ทั คูแขง

65

5. การรูข อ มลู ภายใน

การรขู อ มูลภายใน (Inside information)
เปนสถานการณท่ีเจาหนาท่ีของรัฐใชประโยชนจากการที่ตนเอง
รับรูขอมูลภายในหนวยงาน และนําขอมูลน้ันไปหาผลประโยชนใหกับ
ตนเองหรือพวกพอง อาจจะไปหาประโยชนโดยการขายขอมูลหรือเขา
เอาประโยชนเ สยี เอง

66

43

5. การรูข อมลู ภายใน

กรณีตัวอยาง

01 เจาหนา ทข่ี องรฐั รูข อ มลู โครงการตดั ถนนเขา หมูบา น จึงบอกใหญ าติ
พ่ีนอ งไปซือ้ ทีด่ ินบรเิ วณโครงการดงั กลา ว เพื่อขายใหก ับราชการใน
ราคาทสี่ งู ขึน้

.

02 การที่เจาหนาที่ของรัฐซึ่งเปนผูรับผิดชอบโครงขายโทรคมนาคม
ไดท ราบคุณลักษณะเฉพาะ (Spec) ของวัสดุอุปกรณที่จะใชในการ
วางโครงขายโทรคมนาคม แลวแจงขอมูลใหกับบริษัทเอกชนท่ีตน
รูจกั เพื่อใหไดเปรียบในการประมลู

67

คดีทจุ ริตสอบขา ราชการครู ศาลพพิ ากษา
ลงโทษ ตาม ป.
- นาย A.อาจารยใ หญโ รงเรียนแหงหนึ่ง และ นาย B. อาจารย อาญา ม. 157 และ
ใหญ อกี โรงเรียนหน่งึ ท้งั คู ไดรบั แตงต้ังใหเ ปนกรรมการ มีหนา ท่ี ม. 164 ลงโทษ
ควบคุม ดูแล กาํ กบั และอาํ นวยการสอบ เปน กรรมการสอบภาค
ความเหมาะสมกับตําแหนง หรอื สมั ภาษณ (ภาค ค.) ในการสอบ จําคกุ
แขงขนั เพือ่ บรรจเุ ขารับราชการครูในจังหวัด... แมจะเปน คนละ 5 ป
เพียงกรรมการสัมภาษณ แตก ารเปนเจาพนกั งานมหี นา ทใ่ี นการ
สอบ ยอ มครอบคลมุ ตั้งแตว นั ทีไ่ ดรบั ทราบคาํ สัง่ ฯ จนถึงวันท่กี าร
สอบเสร็จส้นิ หาใชม หี นาทเ่ี ฉพาะในชว งการสอบสัมภาษณเ ทา นัน้
- การท่ี นาย A.และ นาย B. รวมกันนําขอสอบซึ่งเปนความลับ
ทางราชการไปเปดเผยเพ่ือแสวงหาประโยชนสําหรับตนเองและ
ผอู ่ืนโดยมิชอบ และกอใหเ กดิ ความเสียหายแกผ ูเขา สอบแขง ขันคน
อ่ืน ๆ รวมถงึ สํานักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแหงชาติ

68

44

6. การใชทรัพยสินของราชการเพอ่ื ประโยชนส ว นตัว

การใชทรัพยสินของราชการเพ่ือประโยชนสวนตัว
(Using your employer’s property for private
advantage)
เปนการท่ีเจาหนาท่ีของรัฐนําเอาทรัพยสินของราชการซ่ึงจะตองใช
เพื่อประโยชนของทางราชการเทาน้ันไปใชเพ่ือประโยชนของตนเอง
หรอื พวกพอง หรือการใชใ หผ ูใตบงั คับบญั ชาไปทาํ งานสวนตวั

69

คดนี ํารถยนตสวนกลางไปใช ศาลพิพาาษา
เพื่อประโยชนส ว นตวั
ลงโทษ
ผอู ํานวยการ... มอี ํานาจหนาทีใ่ นการอนญุ าตให ตาม ป.อาญา ม. 151
ใชร ถยนตส วนกลาง จึงเปน เจาพนกั งานซงึ่ มี
หนาทจ่ี ัดการหรอื รกั ษารถยนตส วนกลางซงึ่ เปน และ ม. 157
ทรัพยส ินของหนวยงาน ไดมีคําสัง่ ใหพ นักงาน
ขบั รถใชร ถยนตสว นกลางรับสงระหวางทพ่ี กั กบั ใหจาํ คุก 5 ป
ท่ีทํางานเปนประจาํ และใหพาไปทาํ ธุระสว นตวั
ในวนั หยดุ

70

45

คดนี ําทรพั ยส ินราชการ ไปใชใ นงานแตงงานลกู ศาลพิพากษา จาํ เลยมี
ความผิด มาตรา 151
สาว
คณบดี ไดใ ชบคุ ลากรและทรัพยส นิ ของมหาวทิ ยาลัยในการจดั และ 157Get a modern
งานมงคลสมรสของบุตรสาวที่บา นพักสวนตัว และใชสถานทีเ่ ตรียม ใหจ ําคุก 5 ป ปรับPowerPoint
จดั งานใหหัวหนา ฝา ยบริหารฯ ไปชว ยจัดเตรยี มงาน โดยนําทรพั ยสนิ
ของคณะไปตดิ ตัง้ ใชจ ดั งาน Presentation that

ไดแ ก เกา อพ้ี รอมปลอก 100 ตวั กระถางตนไม ใหพ นักงาน 20,000 บาทis beautifully
โสตฯ นาํ กลอ งวดี ีโอ 2 เครือ่ ง โทรทศั น 1 เคร่ือง สายสญั ญาณ designed.
1 ชุด ขาตั้งกลองมอนเิ ตอร 2 เคร่ือง กลอ งถายรูป 2 ตวั ชุด
ควบคุม 1 ชุด เคร่อื งเลนและบันทึกดวี ดี ี 1 เครื่อง ลดโทษกง่ึ หน่งึ จาํ คกุ 2 ป 6 เดือน
ปรบั 10,000 บาท
ใหนํารถสว นกลางของคณะ ไดแ ก รถตู 1 คนั รถกะบะ 3 คนั ไป
ใชบรรทุกทรพั ยส ินดงั กลา วและขนสง เจาหนาทไี่ ปชวยงาน ทาํ คณุ ประโยชน ไมเคยตอ งโทษ
จาํ คุกใหรอลงอาญา 2 ป
71

7. การนาํ โครงการสาธารณะลงในเขตเลอื กตัง้
เพอ่ื ประโยชนในทางการเมอื ง (Pork - barreling)

เปนการท่ีผูดํารงตําแหนงทางการเมืองหรือผูบริหารระดับสูงอนุมัติ
โครงการไปลงพ้ืนท่ีหรือบานเกิดของตนเอง หรือการใชงบประมาณ
สาธารณะเพือ่ หาเสียง

. Ex. การท่ีนักการเมืองในจังหวัด ขอเพ่ิมงบประมาณเพ่ือทําโครงการตัด
ถนนหรือสรางสะพานในจังหวัด โดยใชชื่อหรือนามสกุลตนเองเปนชื่อ
สะพานและถนนน้นั เพ่ือแสดงความเปนเจา ของส่งิ สาธารณะประโยชน

72

46

คดีใชง บหลวงทาํ ปายเพอื่ ประชาสัมพันธสวนบุคคล ศาลพพิ ากษา
ใหชดใชคาสนิ ไหมทดแทน
สตง. ตรวจสอบงบการเงนิ ฯ พบวา นายก อบจ. ไดเ บกิ จายงบประมาณ ตาม พ.ร.บ. ความรับผดิ ทาง
คา จา งจดั ทาํ ปายผา ไวนลิ ประชาสมั พนั ธ จํานวน 3 ผืน ท่มี ขี อ ความวา ละเมิดของเจาหนา ท่ี พ.ศ.
“พูดนม่ิ ยิ้มหวาน บรกิ ารดี สบื สานปใหมไทย หวงใยพ่นี องฯ” พรอมชอ่ื
ตาํ แหนง และรปู ของตนเอง เปน เงิน 30,240 บาท เพ่อื ประชาสัมพนั ธ 2539
โครงการจัดงานประเพณสี งกรานต โดยไมเปน ไปตามหนงั สอื คดหี มายเลขแดงที่
กระทรวงมหาดไทย ดวนมาก ที่ มท 0808.2/ว 2025 ลว. 20 ม.ิ ย. 2549 ขอ 4
“ไมควรตัง้ งบประมาณในลกั ษณะเปนการรประชาสมั พนั ธส ว นบุคคล” 0.185/2559.

กรมบัญชีกลาง เห็นวา รูปแบบแขอความของปาย เปนลักษณะของการ “พูดนมิ่ ย้ิมหวานบรกิ ารดี
ประชาสัมพันธต นเอง ซึง่ ไมไ ดแสดงถงึ รูปแบบของงานและกําหนดระยะ สบื สานปใ หมไทย หว งใยพี่
เวลาการจัดงาน อกี ทงั้ ไมม ีภาพกิจกรรมทส่ี ามารถส่อื ถงึ กจิ กรรมการ นอ งฯ”
จดั งานประเพณีสงกรานตไ ด จงึ มีคาํ สั่งใหช ดใชค า สนิ ไหมทดแทน ตาม
พ.ร.บ. ความรับผดิ ทางละเมดิ ของเจาหนา ที่ พ.ศ. 2539
นายก อบจ. อทุ ธรณไ ปยงั ผวู าราชการจงั หวัด และฟอ งตอศาลปกครอง

73

8. การใชต ําแหนง หนา ทเ่ี อือ้ ประโยชนแ กเครือญาติหรือพวกพอ ง
(Nepotism)

การใชต าํ แหนงหนา ทแี่ สวงหาประโยชนแกเครอื ญาตหิ รอื พวกพองหรอื อาจจะ
เรยี กวา ระบบอปุ ถมั ภพ ิเศษ

01 การอนุมตั ิแตง ตัง้ คูส มรสหรอื ลกู เขา มารบั ตาํ แหนง สําคญั ๆ ในหนว ยงาน

02 การใชอ าํ นาจแตง ต้งั หรอื เล่ือนขน้ั อยา งไมเ ปน ธรรม
03 การคัดสรร คัดเลอื กบุคลากรอยา งไมโปรง ใส

74

47

คดโี ยกยา้ ยโดยไมช่ อบ ศาลพพิ ากษาผิด
มาตรา 157
จาํ เลยที่ ขณะน้ันในฐานะอธบิ ดี ไดป ฏบิ ัตหิ นา ที่
โดยมชิ อบดวยการโยกยา ยโจทก ซึง่ ขณะนัน้ เปน จาํ คกุ 1 ป
ผูอํานวยการสาํ นกั ฯ ไปเปนผูเชี่ยวชาญเฉพาะคดี
เปน การเสนอยายโจทกด ว ยความเห็นขัดแยง ใน ไมรอลงอาญา
สํานวนคดี ซ่ึงการเสนอยายนัน้ ไมไ ดเปนไปตาม .
กฎหมายระเบียบทเี่ กี่ยวของ โดยการเสนอยาย
โจทกไปดํารงตาํ แหนง ทีต่ า่ํ กวาเดิม เปน การใช
อํานาจกลน่ั แกลงทางสว นตวั มากกวา ท่ีจะ
คํานึงถึงประโยชนร าชการ

75

9. การใชอ ิทธพิ ลเขา ไปมีผลตอการตัดสนิ ใจของเจาหนาที่
ของรฐั หรอื หนวยงานของรฐั อน่ื (influence)

การท่ีเจาหนาที่ของรัฐอาศัยตําแสหกลนนครงหนาที่ของตนเองเขาแทรกแซง
การปฏิบัติงานของเจาหนาที่ใหปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบดวยระเบียบ
และกฎหมายหรือฝาฝน จริยธรรม

76

48

Add Contents Title
Get a modern
PowerPoint

Presentation that is
beautifully designed.

77

10. การขดั กันระหวางประโยชนส วนบคุ คลกับประโยชน
สวนรวมรูปแบบอนื่ ๆ

พฤติการณของการขัดกันระหวางประโยชนสวนบุคคล
กบั ประโยชนสวนรวมทนี่ อกเหนอื จาก 9 รูปแบบดังกลา ว

COI COI

78


Click to View FlipBook Version