The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปการเสวนาการแยกแยะผลประโยชน์ตนกับส่วนรวม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by anon.nora4194, 2022-05-18 01:02:10

สรุปการเสวนาการแยกแยะผลประโยชน์ตนกับส่วนรวม 28-

สรุปการเสวนาการแยกแยะผลประโยชน์ตนกับส่วนรวม

49

CONFLICT OF INTERESTS

การเป็ นคู่สัญญาหรือ ทํางานในธุรกิจเอกชนใน การรับทรัพย์สิน
มีส่ วนได้ เสี ยในสัญญา กาํ กับหน่วยงานรัฐที หรอื
สังกดั
การเป็ นหุ้นส่วนในห้าง ประโยชน์ต่าง ๆ
ฯผ้ถู ือหุ้นในบริษทั ที การรับสัมปทานหรือคง
เเป็ นคู่สัญญากับรัฐ ถือไว้ซึงสัมปทานจากรัฐ

ปัญหาไกลตวั ?

79

CPI : Corruption Perception Index

ดชั นีชวี ดั ภาพลกั ษณค์ อรร์ ปั ชนั

CPI

CPI ตารางค่าคะแนน CPI ประจาํ ปี 2563 ในกล่มุ ประเทศ
อาเซียน

อันดบั ประเทศ คะแนน อันดบั โลก

1 สิงคโปร์ 85 3

2 บรูไน 60 35

3 มาเลเซีย 51 57

Thailand 4 อินโดนีเซีย 37 102

36 ป 2563 ประเทศไทยได 36 คะแนน จากคะแนน 5 ไทย 36 104
เต็ม 100 คะแนน ซึ่งไมเปลี่ยนแปลงจากป
6 เวียดนาม 36 104

ในสวนของ2อ5ัน6ด2ับโลกจากทั้งหมด 180 ประเทศ ไดปรับตัว 7 ฟิ ลิปปิ นส์ 34 115

ลดลงเปน ลาํ ดับท่ี 104 จากอันดับ 101 เมอ่ื ปท่แี ลว 8 ลาว 29 134

8 เมียนมา 28 137

9 กัมพูชา 21 160

80

50

จาํ นวนเรอื งรอ้ งเรยี น

2558 2560 คา้ ง 15,326 2562
รบั ใหม่ 4,622
5,382 เสรจ็ 3,752
คงเหลอื 16,232
เร่ืองรองเรยี นรับใหม
4,622

เรือ่ งรองเรยี นรับใหม

เรื่องรองเรยี นรับใหม เร่อื งรองเรียนรับใหม เรื่องรอ งเรยี นรบั ใหม

3,051 4,896 3,285

2559 2561 คา้ ง 16,232
รบั ใหม่ 3,285
เสรจ็ 5,167
คงเหลอื 14,350

81

CONFLICT OF INTERESTS

ปรบั ระบบคดิ คดิ เป็ น

ฐานความคดิ

...คดิ แยกแยะ...
82

51

อนาลอ็ ค ANALOG ดิจิทลั DIGITAL

ยอมรบั กบั คําพูดท่วี า “ทุจริตบาง ไมยอมรบั กับคาํ พดู ท่ีวา
ไมเปนไรถา เราไดป ระโยชน” “ทจุ ริตบา งไมเ ปน ไร
ถาเราไดประโยชน“
ไมส ามารถแยกประโยชนส วนตน
ออกจากประโยชนสวนรวม แยกประโยชนส ว นตนออกจาก
ประโยชนส ว นรวม
ประโยชนทับซอ น/สนิ บน/คอรร ัปชัน
ระบบคดิ เหน็ ประโยชนส าธารณะมากอน
ระบบอปุ ถัมภ ประโยชนส วนตน

ใชค วามสัมพนั ธส วนตวั อยาง
ไมถ กู ตอง

83

ระบบคดิ

อนาลอ็ ค ANALOG ดิจิทลั DIGITAL

เอาวสั ดคุ รุภณั ฑห์ ลวง ไม่นําวสั ดคุ รุภณั ฑห์ ลวงไป
ไปใชท้ บี า้ น ใชท้ บี า้ น

เอารถยนตห์ ลวงมาใช้ ไมใ่ ชร้ ถหลวงในเรอื ง
ธุระสว่ นตวั ส่วนตวั

เอาโทรศพั ทห์ ลวงมาใช้ ไม่ใชโ้ ทรศพั ทห์ ลวงโทร
ตดิ ตอ่ ธรุ ะส่วนตวั ธุระส่วนตวั

เอาอปุ กรณไ์ ฟฟ้ าส่วนตวั ไมน่ ําอปุ กรณไ์ ฟฟ้ า
มาชารจ์ ทที าํ งาน สว่ นตวั มาชารจ์ ทที าํ งาน
ใชน้ ําประปาหลวงมาลา้ งรถ
สว่ นตวั ไมร่ บั ของขวญั จากผูม้ า
ตดิ ตอ่ ราชการ
84

52

CONFLICT OF INTEREST

พระราชบญั ญัตปิ ระกอบ
รฐั ธรรมนญู วา ดว ยการ
ปองกันและปราบปราม
การทจุ ริต พ.ศ. ๒๕๖๑

หมวด 6

การขดั กันระหวา งประโยชน
สว นบคุ คลประโยชนสว นรวม

มาตรา 126-129

85

พระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนูญวา ดวยการปอ งกัน
และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561

การขดั กนั ระหวา งประโยชนส ว นบุคคลและประโยชนส ว นรวม

มาตรา 126 มาตรา 127 มาตรา 128 มาตรา 129

ห า ม มิ ใ ห ก ร ร ม ก า ร หามมิใหกรรมการ ดํารง หามมิใหเจาพนักงานของรัฐ การกระทําอันเปนการ
ผูดํารงตําแหนงในองคกร ตาํ แหนงในองคกรอิสระ รบั ทรพั ยส ินหรือประโยชนอื่น ฝาฝ นบ ทบั ญ ญั ติ ใน
อิสระ และเจาพนักงานของ ผดู ํารงตําแหนงระดับสูงและ ใดอันอาจคํานวณเปนเงินได หมวดนี้ให ถื อวาเป น
รัฐท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. ผูดาํ รงตาํ แหนงทางการเมือง จ า ก ผู ใ ด น อ ก เ ห นื อ จ า ก การกระทําความผิดตอ
ประกาศกําหนด ดําเนิน ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ท รั พ ย สิ น ห รื อ ป ร ะ โ ย ช น อั น ตําแหนงหนาท่ีราชการ
กจิ การ (1) - (4) กําหนด ดําเนินการใดตาม ควรไดตามกฎหมาย กฎ หรือ ห รื อ ค ว า ม ผิ ด ต อ
มาตรา 126 (4) ภายในสองป ขอ บังคับที่อ อกโดยอาศัย ตําแหนงหนาที่ในการ
นับแตว นั ท่พี น จากตําแหนง หมวด 6 อํ า น า จ ต า ม บ ท บั ญ ญั ติ แ ห ง ยุติธรรม
ก ฎ ห ม า ย เ ว น แ ต ก า ร รั บ
ทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใด
โดยธรรมจรรยา

86

มาตรา 53
126
สาระสาํ คัญ
87
หา มมิใหก รรมการผูดํารงตาํ แหนงในองคก รอสิ ระ และเจาพนักงานของรฐั
ท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ช. ประกาศกาํ หนดดาํ เนินกจิ การ ดงั ตอไปนี้

01 เปนคสู ญั ญาหรอื มีสว นไดเ สียในสญั ญาท่ีทาํ กับหนวยงาน
ของรฐั
เ.ปนหุนสว นในหา งหนุ สวนหรอื ผถู ือหุนในบริษทั ทเ่ี ขา เปน

02 คสู ัญญากับหนวยงานของรฐั
รับสัมปทานหรอื คงถือไวซึ่งสมั ปทานจากรฐั หรอื เขาเปน คูสัญญา

03 อนั มลี ักษณะผกู ขาดตดั ตอน เปนหุนสวนในหา งหนุ สว นหรือผูถอื
หนุ ในบรษิ ัททรี่ ับสมั ปทานหรือเขาเปน คสู ญั ญาในลกั ษณะดังกลาว
เปน กรรมการ ทปี่ รกึ ษา ตัวแทน พนกั งานหรอื ลกู จา ง

04 ในธุรกิจของเอกชนซึ่งอยภู ายใตก ารกาํ กบั ดแู ล ควบคุม
ตรวจสอบของหนว ยงานของรฐั

มาตรา การเปนคูสัญญา หมายถึง การเขามาทําสัญญาโดยตรง
126
(1) กับหนวยงานของรัฐ ท่ีมีเจาหนาที่ของรัฐในตําแหนงน้ัน
เปน ผปู ฏบิ ตั ิงานในฐานะทเี่ ปนเจา หนา ท่ีของรัฐ ซึ่งมีอํานาจ
88 กํากบั ดแู ล ควบคุม ตรวจสอบหรอื ดําเนนิ คดี

เปนคูสัญญาหรือมีสวนไดเสียในสัญญาที่ทํากับหนวยงานของรัฐ
ท่ีเจาพนักงานของรฐั ผูนนั้ ปฏิบัตหิ นาทีใ่ นฐานะท่เี ปน เจา พนกั งานของรัฐ
ซึ่งมีอํานาจไมวาโดยตรงหรือโดยออมในการกํากับ ดูแล ควบคุม
ตรวจสอบหรือดาํ เนนิ คดี

การมีสวนไดเสียในสัญญา หมายถึง การใชอํานาจหนาที่เขาไปยุง
เกย่ี วกบั สัญญาน้นั หรอื การเขาไปดาํ เนนิ การใด ๆ

54

มมาาตตรราา “การเปนหุนสวน” หมายถึง การท่ีบุคคลได
12612(62)
ลงทนุ รวมกัน ในหางหนุ สวนสามัญ หางหุนสว นสามญั
(2) จดทะเบยี น หรือหา งหนุ สว นจํากดั

89 เปนหุนสวนหรือผูถือหุนในหางหุนสวนหรือบริษัทท่ีเขา
เปนคูสัญญากับหนวยงานของรัฐ ที่เจาพนักงานของรัฐผูนั้น

ปฏิบัติหนาที่ในฐานะท่ีเปนเจาพนักงานของรัฐซึ่งมีอํานาจไมวาโดยตรง
หรือโดยออมในการกํากับ ดูแล ควบคุม ตรวจสอบหรือดําเนินคดี เวนแต
จะเปนผูถือหุนในบริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัดไมเกินจํานวนที่
คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด

“การเปนผถู อื หนุ ในบรษิ ทั ” หมายถึง การมีหุนใน

บรษิ ทั ตามทะเบียนผูถอื หุน และบรษิ ทั ท่ีมีเจาหนาที่ของรัฐมหี นุ อยูนั้น

มาตรา รบั สัมปทานหรือคงถอื ไวซ งึ่ สมั ปทานจากรัฐ หนวยราชการ หนวยงานของรฐั รัฐวสิ าหกิจ หรอื ราชการ
126 สวนทอ งถน่ิ หรือเขา เปนคสู ญั ญากับรัฐ หนว ยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการ
(3) สว นทอ งถิ่น อนั มลี ักษณะเปนการผูกขาดตัดตอน หรือเปนหุนสวนหรือผูถือหุนในหางหุนสวนหรือ
บรษิ ัททร่ี บั สัมปทานหรอื เขาเปน คูสัญญาในลกั ษณะดงั กลา ว ในฐานะทเ่ี ปน เจา พนกั งานของรัฐซึ่งมี
อํานาจไมว าโดยตรงหรือโดยออมในการกาํ กบั ดแู ล ควบคมุ ตรวจสอบหรอื ดาํ เนนิ คดี เวน แตจ ะเปน
ผถู อื หุนในบริษทั จํากดั หรือบรษิ ทั มหาชนจาํ กดั ไมเ กินจาํ นวนท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. กาํ หนด

“สญั ญาสมั ปทาน” หมายถงึ สัญญาทเ่ี อกชนไดร ับอนุญาตจากรัฐ

ใหด าํ เนินการตา ง ๆ ดังตอ ไปนี้

- สัญญาท่รี ฐั อนุญาตใหเ อกชนจดั ทาํ บรกิ ารสาธารณะ เชน สญั ญา
สัมปทานรถไฟฟา สญั ญาสมั ปทานในกิจการโทรมนาคม

- สญั ญาทรี่ ัฐใหเอกชนรวมลงทุนในกิจการของรัฐ
- สญั ญาทรี่ ฐั ใหเอกชนแสวงหาประโยชนจ ากทรัพยากรธรรมชาติ
เชน การทําเหมืองแร การทาํ โรงโมห นิ รงั นกอแี อน

90

55

จาํ นวน หุน้ ในบริษทั จาํ กดั หรือ บริษทั มหาชน จาํ กดั ทีถูกกาํ หนด

กรรมการ ผดู ํารงตาํ แหนงในองคก รอสิ ระ ไมเ่ กนิ %

เจาพนกั งานของรัฐ ทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ช.กําหนด

ถือหุนใน บริษัทจํากัด หรือ บริษัทมหาชน

จํากดั ตามมาตรา 126 (2) และ มาตรา 126 (3)

รอยละหาไมเกิน ของจาํ นวนหนุ ทัง้ หมดทจ่ี าํ หนายไดใ นบริษัท

* ตอ งดําเนินการภายใน สามสบิ วนั ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. เรื่องกาํ หนดจํานวนหุนในบรษิ ทั จาํ กดั หรือบรษิ ัทมหาชนจาํ กัดทก่ี รรมการ ผดู ํารงตําแหนง ใน
องคการอสิ ระ และเจา พนักงานของรฐั ทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ช.ประกาศกาํ หนด ถือหุน ไดตามมาตรา 126 (2) พ.ศ.2563
นับแตว ันท่เี ขา ดํารงตําแหนง ม. ๑๒๖ วรรค ๔ ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. เรื่องกําหนดจํานวนหุนในบรษิ ัทจาํ กดั หรือบรษิ ทั มหาชนจาํ กัดที่กรรมการ ผดู ํารงตําแหนง ใน
องคก ารอิสระ และเจาพนกั งานของรฐั ทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ช.ประกาศกําหนด ถอื หุนไดต ามมาตรา 126 (3) พ.ศ.2563

91

มาตรา เขาไปมีสวนไดเสียในฐานะท่ีเปนกรรมการ ที่ปรึกษา ตัวแทน
126 (4) พนกั งานหรือลกู จา งในธรุ กิจของเอกชน
ภายใตการ กํากับ ดูแล ควบคุม
กรรมการ ตรวจสอบ ของหนวยงานของรฐั

ท่ปี รกึ ษา ที่เจาพนักงานของรัฐผูน้ันสังกัดอยูหรือปฏิบัติ
ตวั แทน หนา ทใี่ นฐานะท่เี ปน เจา พนกั งานของรัฐ

พนักงาน ซึ่งโดยสภาพของผลประโยชนของธุรกิจของเอกชนน้ันอาจขัด
ลูกจา ง หรอื แยง ตอประโยชนส ว นรวม หรือประโยชนทางราชการ หรือ
กระทบตอความมีอิสระในการปฏิบัติหนาที่ของเจาพนักงาน
ของรฐั ผูนั้น

92

56

มาตรา 126 วรรค 2 วรรค 3

วรรคสอง :ใหน าํ ความในวรรคหนงึ่ มาใชบังคับกบั คูส มรสของเจาพนักงานของรัฐ ตามวรรค

หน่ึงดวยโดยใหถือวาการดําเนินกิจการของ“คูสมรส”เปนการดําเนินกิจการของ“เจาพนักงาน
ของรฐั ” เวนแตเ ปน กรณที ค่ี ูสมรสน้นั ดาํ เนินการอยูกอ นทเี่ จาพนักงานของรัฐจะเขาดาํ รงตาํ แหนง

วรรคสาม :“คสู มรส” ตามวรรคสองใหหมายความ

รวมถึง “ผูซึ่งอยูกินกันฉันสามีภริยาโดยมิได
จดทะเบียนสมรส”ดวย ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑท่ี

คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด

93

มาตรา 126 วรรค 3
ทาํ พิธีมงคลสมรสหรือพิธีอืนใดในทาํ นองเดียวโดยมี

บุคคลในครอบครัวหรื อบุคคลภายนอกรับทราบว่าเป็ นการ
อยู่ กินเป็ นสามีภริยากนั ตามประเพณี

“ผูซ้ งึ อยู่กนิ ฉนั สามภี รรยา
โดยไมจ่ ดทะเบยี น”

แสดงให้ปรากฏว่ามีสถานะเป็ นสามีภริยากนั หรือมี

พฤตกิ ารณ์เป็นทีรับรู้ของสังคมทวั ไปวา่ มีสถานะดงั กล่าว

ไดจ้ ดทะเบียน หยา่ ขาด จากกนั ตามกฎหมาย แต่ยงั

แสดงให้ปรากฏหรือมีพฤตกิ ารณ์ซึงเป็ นทีรับรู้ของสังคม
ทวั ไปวา่ มีสถานะเป็ นสามีหรือภริยากนั

ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. เรื่อง หลักเกณฑข องผูซงึ่ อยูก ินกันฉัน
สามภี รยิ าโดยมิไดจ ดทะเบยี นสมรสอนั ถอื วา เปน คสู มรส พ.ศ. ๒๕๖๑ ขอ ๓

94

57

ตาํ แหน่งทถี กู ตอ้ งหา้ มตามมาตรา 126

1. คณะกรรมการ ป.ป.ช. ประธานกรรมการ และกรรมการ ป.ป.ช.

คณะกรรมการการเลอื กตง้ั ผตู รวจการแผน ดนิ คณะกรรมการ 2. ผูด้ ํารงตาํ แหน่งในองคก์ รอสิ ระ
ตรวจเงินแผนดนิ คณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแหง ชาติ
ผูวาการตรวจเงนิ แผนดนิ ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. เรอ่ื ง กําหนดตาํ แหนง
เจาพนกั งานของรฐั ท่ตี อ งหา มมใิ หดาํ เนนิ กิจการตาม
3. ตาํ แหน่งทคี ณะกรรมการ ป.ป.ช.กําหนด ความในมนตรา 126 พ.ศ.2563

95

ตาํ แหน่งทคี ณะกรรมการ ป.ป.ช.กาํ หนด

จาํ นวน 9,927 คน

1. ผูด้ าํ รงตําแหน่งทางการเมอื ง นายกรัฐมนตรี รฐั มนตรี สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร
สมาชิกวฒุ ิสภา
ขา ราชการพลเรอื น (หัวหนาสวนราชการฯ) ขา ราชการ
ทหาร (ปลดั ฯ,ผูบญั ชาการฯ)ผบู ัญชาการตาํ รวจแหงชาติ 2. ผูด้ าํ รงตําแหน่งระดบั สูง
ผวู า ราชการจงั หวัด ปลดั กรงุ เทพมหานคร กรรมการและ
ผูบ รหิ ารสูงสุดของรฐั วสิ าหกิจ หวั หนาหนวยงานองคก ร ผวู าราชการกรุงเทพมหานคร นายกเมอื งพทั ยา
อสิ ระ (เลขาธกิ ารฯ) ผูดํารงตาํ แหนง เทียบเทา (เลขาธกิ ารฯ) นายก อบจ. นายกเทศมนตรี นายก อบต.

3. ผูบ้ รหิ ารทอ้ งถนิ

ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. เรอ่ื ง กาํ หนดตําแหนง เจาพนักงานของรัฐท่ตี อ งหามมใิ หด ําเนนิ กจิ การตามความในมนตรา 126 พ.ศ.2563

96

58

สรุป กจิ การตอ้ งหา้ มดาํ เนินการ มาตรา 126

เปนคสู ญั ญาหรือมีสวน เ ป น หุ น ส ว น ใ น ห า ง รับสัมปทานหรือคงถือไวซึ่ง เ ป น ก ร ร ม ก า ร ที่
ไดเสียในสัญญาที่ทํา หุ น ส ว น ห รื อ ผู ถื อ หุ น สัมปทานจากรัฐ หรือเขาเปน ป รึ ก ษ า ตั ว แ ท น
กับหนวยงานของรฐั ในบ ริ ษั ทที่เ ข าเ ป น คสู ัญญาอันมีลักษณะผูกขาด พนักงาน หรือลูกจาง
คสู ญั ญากับหนวยงาน ตัดตอน เปนหุนสวนในหาง ในธุรกิจเอกชนซึ่งอยู
ใชบังคับกับคูสมรสดวย ของรฐั * หนุ สวนหรือผถู ือหุนในบริษัท ภายใตการกํากับ ดูแล
ย ก เ ว น คู ส ม ร ส ดํ า เ นิ น ที่รับสัมปทานหรือเขาเปน ตรวจสอบ ของ
กจิ การอยูกอน *ยกเวนถือหุนในบริษัท คสู ัญญาในลักษณะดงั กลา ว* หนว ยงานของรฐั
ไมเ กินรอยละ 5

97

มาตรา สาระสําคัญ
127
หาม มใิ ห กรรมการ ผูดํารงตาํ แหนง ในองคกรอิสระ ผูดาํ รง
98
ตาํ แหนงระดบั สงู และผูดํารงตาํ แหนง ทางการเมืองทค่ี ณะกรรมการ

ป.ป.ช. กาํ หนด ดําเนินการใดตามมาตรา 126 (4) ภายในสองป

นบั แตวนั ที่พน จากตาํ แหนง

เขา ไปมสี ว นไดเสยี ใน ธุรกจิ ของเอกชนในฐานะ

“กรรมการ ที่ปรึกษา ตวั แทน พนกั งานหรอื ลูกจา ง”

ภายใตก าร กาํ กบั ดแู ล ควบคมุ ตรวจสอบ ของหนว ยงาน
ของรัฐทสี่ ังกดั หรอื ปฏบิ ัตหิ นา ท่อี ยู

ซึ่งโดยสภาพของผลประโยชนของธุรกิจของเอกชนอาจขัด
0ห4รือแยงตอประโยชนสวนรวม หรือประโยชนทางราชการ
หรอื กระทบตอ ความมีอสิ ระในการปฏิบตั หิ นา ที่

59

มาตรา 127 หา มดาํ เนนิ การใดตามมาตรา 126 (4) ภายในสองป นบั แต
วันท่พี นจากตาํ แหนง

เขาไปมีสวนไดเสียในฐานะท่ีเปนกรรมการ ภายใตการ กํากับ ดูแล ควบคุม
ท่ีปรึกษา ตัวแทน พนักงานหรือลูกจาง
ในธุรกิจของเอกชน ตรวจสอบ ของหนวยงานของ

รัฐ

111 กรรมกา 2/ ที ตวั แทน พนกั งา ลูกจา้ ง
1ร ปรกึ ษา น

ท่ีเจาพนักงานของรัฐผูนั้นสังกัดอยูหรือปฏิบัติหนาท่ีใน
ฐานะทีเ่ ปนเจา พนักงานของรฐั

ซ่ึงโดยสภาพของผลประโยชนของธุรกิจของเอกชนนั้นอาจขัดหรือแยงตอประโยชนสวนรวม หรือ
ประโยชนทางราชการ หรือกระทบตอความมอี ิสระในการปฏบิ ตั หิ นา ทีข่ องเจาพนกั งานของรฐั ผนู ้นั

99

ตาํ แหน่งทถี กู ตอ้ งหา้ มตามมาตรา 127

1. คณะกรรมการ ป.ป.ช. ประธานกรรมการ และกรรมการ ป.ป.ช.

คณะกรรมการการเลอื กต้งั ผตู รวจการแผนดนิ คณะกรรมการ 2. ผูด้ าํ รงตําแหน่งในองคก์ รอสิ ระ
ตรวจเงนิ แผนดิน คณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแหง ชาติ
ผูวาการตรวจเงนิ แผนดนิ ประกาศคณะกรรมการ ป.ป.ช. เรอ่ื ง กําหนดตาํ แหนง
เจา พนักงานของรัฐท่ีตอ งหา มมใิ หด าํ เนนิ กจิ การตาม
3. ผูด้ ํารงตําแหน่งระดบั สูงและผูด้ าํ รงตําแหน่งทาง ความในมนตรา 127 พ.ศ.2563
การเมอื งทคี ณะกรรมการ ป.ป.ช.กาํ หนด

100

60

มาตรา 127 01 ผูด้ าํ รงตําแหน่งทางการเมอื ง
“ไมรวมถึงคูส มรส”
นายกรฐั มนตรี รฐั มนตรี สมาชกิ สภาผูแ้ ทน
ตาํ แหน่ง ราษฎร สมาชกิ วฒุ สิ ภา

ทคี ณะกรรมการ ป.ป.ช. 02 ผูด้ ํารงตาํ แหน่งระดบั สูง
กาํ หนด
ขา้ ราชการพลเรอื น (หวั หนา้ สว่ นราชการ)
จาํ นวน 1,156 ขา้ ราชการทหาร (ปลดั ฯ ผบู ้ ญั ชาการฯ) ผบู ้ งั คบั การ
คน ตํารวจแหง่ ชาติ ผวู ้ า่ ราชการจงั หวดั ปลดั
กรงุ เทพมหานคร ผบู ้ รหิ ารสูงสุดของรฐั วสิ าหกจิ
หวั หนา้ หน่วยงานองคก์ รอสิ ระ (เลขาธกิ ารฯ) ผดู ้ ํารง
ตาํ แหน่งเทยี บเทา่ (เลขาธกิ ารฯ)

101

มาตรา 128 สาระสาํ คญั

ความในวรรคหนึ่งมิใหใชบังคับกับ หา ม มิใหเ จาพนกั งานของรัฐผใู ดรบั ทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืน
การรับทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใด
ใดอนั อาจคาํ นวณเปน เงินได จากผูใ ด นอกเหนอื จากทรัพยสินหรือ
จาก “บุพการี สืบสันดาน ประโยชนอันควรไดตามกฎหมาย กฎ หรือขอบังคับที่ออกโดย
หรือ ญาติ”ที่ใหตามประเพณี หรือ อาศยั อํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เวนแตการรับทรัพยสิน

ตามธรรมจรรยาตามฐานานรุ ูป หรือประโยชนอ่ืนใด “โดยธรรมจรรยา” ตาม

หลกั เกณฑและจํานวนท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. กาํ หนด

บทบัญญตั ใิ นวรรคหน่ึงใหใชบ งั คบั กบั การรบั
ทรพั ยส นิ หรือประโยชนอ ืน่ ใดของ

04 ผูซ ึ่งพนจากการเปน เจา พนกั งานของรฐั มาแลว

ไมถงึ สองปด วยโดยอนโุ ลม

102

61

มาตรา 128

ใชบงั คบั กบั เจา พนักงานของรัฐทุกคน ทงั้ ขาราชการ พนักงาน

ราชการ ลกู จาง ฯลฯ + ผซู ่งึ พน จากการเปนเจาพนักงานของรฐั

มาแลว ยังไมถึง 2 ปดว ย

หลกั = “หา มรบั ”ทรัพยส ินหรือประโยชนอ ืน่ ใด

เวนแต
1) รับตามกฎหมาย กฎ หรือขอบังคับท่ีออกโดยอาศัยอํานาจตาม
บทบัญญตั แิ หง กฎหมาย เชน คาเบย้ี เล้ียงเดินทาง คาเบี้ยประชุม
2) จากบุพการี ผูสบื สันดาน หรือญาติท่ีใหตามประเพณี หรือตาม
ธรรมจรรยาตามฐานานรุ ูป
3) รับตามธรรมจรรยาตามหลักเกณฑและจํานวนท่ีคณะกรรมการ
ป.ป.ช. กําหนด : ไมเ กิน 3,000 บาท

103

มาตรา 128 หลกั เกณฑก์ ารรบั ทรพั ยส์ นิ หรอื
ประโยชนอ์ นื ใดโดยธรรมจรรยา
“รบั โดยธรรมจรรยา”
“ประโยชนอนื่ ใดอันอาจคาํ ณวณเปน เงนิ ได”
(1) รับทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดจากบุคคลอื่น
ซึ่งไมใชญาติมีราคาหรือมูลคาในการรับจากแตละ หมายความวา สงิ่ ทมี่ มี ูลคา ไดแก การลดราคา การรับ
บุคคล แตล ะโอกาสไมเกิน 3,000 บาท ความบันเทงิ การรบั บรกิ าร การรับการฝก อบรม หรือสิ่งอืน่
(2) รับทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดที่การใหนั้น ใดในลักษณะเดยี วกนั
เปนการใหใ นลกั ษณะใหกับบุคคลท่วั ไป
“. การรับทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดโดย
. ธรรมจรรยา” หมายความวา การรับทรัพยสิน หรือ

ประโยชนอ่ืนใดอันอาจคําณวณเปนเงินไดจากบุคคลท่ีให
กนั ในโอกาสเทศกาลหรอื วันสาํ คญั โอกาสแสดงความยินดี
การแสดงความขอบคณุ การตอนรับ การแสดงความเสยี ใจ
หรอื ใหต ามมารยาทท่ีถือปฏบิ ตั กิ นั ในสังคม

“ญาติ” หมายความ พ่ีนองรวมบิดาหรือมารดาเดียวกัน

ลุง ปา นา อา คูสมรส ผบู ุพการหี รอื ผสู บื สนั ดานของคสู มรส
บุตรบญุ ธรรมหรือผูรบั บตุ รบุญธรรม

104

62

การรบั ทรพั ยสนิ หรอื ประโยชนท ่ีไมเปนไปตามหลกั เกณฑ หรอื มีราคา/มูลคามากกวาที่กาํ หนด
เจาพนักงานของรัฐรบั มาแลว โดยมคี วามจาํ เปนเพอื่ รกั ษาไมตรี มติ รภาพ หรอื ความสัมพันธอ นั ดี

แจงตอหัวหนา สวนราชการ/ผูบริหารสูงสุด ภายใน 30 วัน นับแตวันทีไ่ ดรับทรพั ยสิน
ไมส มควรรับ

คนื ทรพั ยส นิ หรือประโยชนแ กผใู หทันที
ไมส ามารถคนื ได

สงมอบทรัพยสนิ หรอื ประโยชนใหเ ปนสิทธขิ องหนวยงาน

ผล เจาพนกั งานของรัฐผูน้นั ไมเ คยรบั ทรัพยส นิ หรอื ประโยชนดังกลา วเลย

105

การรายงานการรบั ทรพั ยส์ นิ ฯ

ผดู าํ รงตาํ แหนง ส.ส. ส.ว. ประธานสภาผูแ้ ทนราษฎร
และสมาชิกสภาทอ งถ่ิน ประธานวฒุ สิ ภา หรอื
ประธานสภาทอ้ งถนิ

คณะกรรมการ ป.ป.ช. ประธานกรรมการและกรรมการใน
องคกรอิสระตามรฐั ธรรมนูญ
ผบู งั คับบญั ชาซงึ่ เปนหวั หนา
สวนราชการ ระดบั กระทรวง ผูม้ อี าํ นาจแตง่ ตงั ถอดถอน

หรอื เทยี บเทา

106

63 ไมจาํ เปน ตอ งแจง
ขอ เทจ็ จริงเก่ยี วกบั
เขม็ กลัดทองคาํ จาก การรบั ทรัพยส นิ ตอ
ผมู อี ํานาจแตงต้งั
กองทนุ สวสั ดิการ
ถอดถอน
นาย ส. ลาออกจากราชการ เขารวมงานแสดงมุทิตาจิตแด
ผลู าออกจากราชการและผเู กษยี ณอายรุ าชการ
ไดรับเข็มกลัดทองคํามีมูลคาประมาณ 12,000 บาท จาก
กองทนุ สวัสดกิ ารของหนว ยงานตามขอกําหนดในการมอบของ
ที่ระลกึ ใหก ับผทู อ่ี อกจากราชการ
ขอบังคับคณะกรรมการสวัสดิการภายในสํานักงาน วาดวยการ
มอบของท่รี ะลกึ ใหแกสมาชิกกรณีออกจากราชการ พ.ศ. 2559
ขอ 3 (2) ท่ีใหอํานาจแกกองทุนสวัสดิการสามารถมอบของท่ี
ระลกึ ใหแ กส มาชกิ ทอ่ี อกจากราชการซึง่ มีอายรุ าชการตงั้ แต 25 ป
ขน้ึ ไป ไดไ มเกินรายละ 15,000 บาท

รบั โดยอาศยั อาํ นาจตามบทบญั ญตั ิแหงกฎหมาย

107

คดเี รยี กรบั เงินโบนสั คดีหมายเลขดําที่ อท./2402561
เลขแดงที่ 9849/2561

นายก อบต. เรียกรับเงินประโยชนตอบแทนอื่นเปนกรณีพิเศษ หรือ ศาลอทุ ธรณ ยนื ตาม
โบนสั จาก พนง.- ลกู จาง 25 คน ศาลอาญาคดที จุ รติ
ประพฤตมิ ชิ อบภาค 3
เจา หนาท่กี ารเงินเสนอบันทึกขออนุมัติจายเงินพรอมเอกสาร เรียก
สงั่
เจาหนา ที่ไปพบขอเรยี กเงิน รอ ยละ 5 ของจาํ นวนเงนิ ทีแ่ ตล ะคนมสี ิทธิ
ไดรับ เจาหนา ท่กี ารเงินไปเกบ็ เสนอมาโดยจําเลยเขียนคาํ วา “รอ” และ จาํ คกุ 3 ป
4 เดอื น
ลงชอ่ื ในกระดาษสเี หลอื งปด ไวท ีส่ มุดเชค็
เสนอบนั ทึกอกี ครง้ั จาํ เลยเรยี กเจา หนาที่ไปพบใหไ ปแจง วาขอเรียก มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 149 และ พ.ร.บ.
ป.ป.ช. พ.ศ. 2542 มาตรา 103 วรรคหนึง่ มาตรา 122 วรรคหนง่ึ
เงนิ เพมิ่ จาก รอยละ 5 เปน รอยละ 10 แตล ะคนเกรงวาอาจมีปญหา

ในการทาํ งานจงึ ยอมจา ย จําเลยจงึ ไดล งนามในเชค็ จนท.สงสัยเรียกเพ่มิ

เพราะอะไรเลยไปสอบถาม จําเลยตอบ น้าํ มนั แพง

พนักงาน-ลูกจาง ไดนําเงินสดหอกระดาษใหเจาหนาท่ีคนหนึ่ง
รวบรวมไปมอบใหจําเลยหลังเลิกงานขณะจําเลยรออยูในรถที่จอดอยู
หนาสํานักงาน จําเลยอางวาไมไดรับเงินเพราะกลับบานตรงเวลาหลัง
เลิกงานไมม กี ารรอรับเงิน

108

64

บทกาํ หนดโทษ

126 127 128 129

มาตรา 168 มาตรา 170 มาตรา 169 ถือเปน การกระทําความผิด
ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน ตอ ตาํ แหนงหนาท่ีราชการ
ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 3 ป หรอื ปรับไมเกนิ 60,000 หรือความผิดตอตําแหนง
บาท หรือ ทง้ั จําทง้ั ปรับ หนาทใ่ี นการยตุ ธิ รรม
3 ป ห รื อ ป รั บ ไ ม เ กิ น 6 เดื อ น หรื อ ป รั บ ไม เ กิ น

60,000 บาท หรือ ทั้งจําท้ัง 10,000 บาท หรอื ทั้งจาํ ทง้ั ปรับ

ปรับ
กรณีมาตรา 126 วรรค 2 ถาพิสูจนไดวาเจาพนักงานของ

รัฐรูเ ห็นยนิ ยอม ตอ งระวางโทษตาม ม 168 ว 2

109

จํานวนเรอื งกล่าวหารอ้ งเรยี น

160 มาตรา 100 (ม.126) พ.ร.บ.ประกอบ
รัฐธรรมนูญว่าดว้ ยการป้องกนั และปราบปราม
การทุจริต พงศ.๒๕๖๑

439 COI 16
มาตรา 103(ม.128) พ.ร.บ.
มาตรา 149 ประกอบรัฐธรรมนูญว่าดว้ ยการป้องกนั
ประมวลกฎหมายอาญา และปราบปรามการทุจริต พงศ.๒๕๖๑

ขอมลู ณ วนั ท่ี ๓๐ มิถนุ ายน 2563 รวมจาํ นวน 626 เร่อื ง 11

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 6 พ.ร.บ.ความรับผดิ ของพนกั งานใน
พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนญู วาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๖๑ องคก์ ารหรือหน่วยงานของรัฐ พ.ศ.๒๕๐๒

พ.ร.บ. ความรบั ผดิ ของพนกั งานในองคก ารหรือหนว ยงานของรฐั พ.ศ. ๒๕๐๒

110

65

สรุปสาระสําคญั เร่ือง การชดั กนั ระหวา งประโยชนส ว นตนและประโยชนสว นรวม
ตามพระราชบัญญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญวา ดวยการปองกันและปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ. ๒๕๖๑

111

CONFLICT OF INTERESTS

แนวทางการรบั มือกับการขดั กนั
แหง ผลประโยชน

กรณีที่ไมอาจหลีกเล่ียงได ผูมีอํานาจควรหยุดการปฏิบัติหนาท่ี หรือหยุดการ
พจิ ารณา วินจิ ฉยั หรือลงมติ ในเรอ่ื งนัน้
กรณีท่ีไมอาจหลีกเล่ียงการปฏิบัติหนาที่ได ควรแจง ประกาศ หรือ เปดเผย
ขอ มูลตอ บุคคลท่ีเกยี่ วของ ผบู ังคับบญั ชา หรือสาธารณะ
กรณีทีไ่ มอ าจหลกี เลยี่ งการปฏบิ ัติหนา ทไี่ ด ควรปฏิบัติหนาที่ หรือ พิจารณาโดย
ยึดหลกั เหตุผล โปรง ใส และเปดเผย
ศึกษากฎหมายท่ีเกีย่ วของกบั การขัดกันแหง ผลประโยชน

COI แก้ไขได้... ถ้าคดิ เป็ น...

112

66

กรณี เขาไป มีสว นเกย่ี วของกบั การ กระทาํ ความผดิ
เพราะ ถูกส่ังการ ใหกระทํา

โตแยง ทบทวน ยนื ยัน แจง

คณะกรรมการ ป.ป.ช.

มาตรา ในกรณีท่ีเจาพนักงานของรัฐผูใดมีสวนเกี่ยวของ กับการกระทําความผิดเพราะ
134 ผบู งั คบั บญั ชาสั่งการใหท าํ ถาไดทาํ หนังสอื โตแ ยง หรือใหผ บู งั คบั บัญชาทบทวนคําสั่งหรือให
ยืนยันคําสั่งแลว หรือไดแจงใหคณะกรรมการ ป.ป.ช.ทราบถึงเบาะแส ขอมูล หรือ
ขอเท็จจริงภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดกระทําการนั้น ใหเจาพนักงานของรัฐผูน้ัน ไม
ตอ งรับโทษ

113

COI แกไขได... ถาคดิ เปน ...

CONFLICT OF INTEREST

The Bureau of Conflict of interest ,
Office of the National Anti-Corruption Commission

สาํ นกั การขดั กนั แห่งผลประโยชน์ สาํ นกั งาน ป.ป.ช.
โทร. 0 2528 4800

114

67

ระบบคิดฐานสองกบั การแกป ญ หาในสังคม

115

พระราชบัญญตั ิการเดินเรือในนา นน้ําไทย พ.ศ. 2560

• มีผลบังคับใชเ ดอื น กุมภาพนั ธ 2560
• ครอบครองสิง่ ลวงลาํ้ ลาํ นา้ํ โดยไมไ ดรบั อนญุ าต

– ระวางโทษจําคุกไมเกิน 3 ป หรือปรบั ตร.ม.ละ 1,000-20,000 บาท

116

68

พระราชบัญญัตทิ างหลวง พ.ศ. 2535

• มาตรา 49 กอสรา ง ดัดแปลงอาคาร หรือตดิ ตง้ั ปา ยโฆษณาโดยไมไดรับอนญุ าต

– ระวางโทษจําคุกไมเกนิ สามเดือน หรอื ปรับไมเ กินหา พันบาท หรือทง้ั จําท้งั ปรับ

117

พระราชบญั ญัติ รกั ษาความสะอาด
และความเปน ระเบียบเรียบรอ ยของบานเมอื ง พ.ศ. 2560
• ซ้อื – ขายกลวยแขกกลางสี่แยก เสย่ี งอบุ ัติเหตุ – ผิดกฎหมาย !!!
• มาตรา 20 หาม ปรงุ อาหาร ขายหรือจาํ หนายสนิ คา บนถนนหรือทส่ี าธารณะ

• ฝาฝนระวางโทษปรับไมเ กินสองพนั บาท

• มาตรา 21 หา มผูขบั ขี่รถซอ้ื สินคา ท่จี ําหนา ยบนถนน

• ฝาฝน ระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งพนั บาท

118

69

คาํ สง่ั หัวหนาคณะรักษาความสงบเรียบรอยแหงชาติ
ท่ี 5/2559

• ใหก รมปา ไมรบั ผิดชอบพนื้ ที่ปา ไมท ีท่ วงคืนไดจ าํ นวน 100,000 ไร

พระราชบญั ญัตปิ า ไม พ.ศ. 2484

• มาตรา 54(30) ยึดถอื ครอบครองปา โดยไมไ ดรับอนุญาต

– ระวางโทษจําคกุ ไมเ กนิ หาป หรือปรบั ไมเ กินหา หมนื่ บาท หรือทัง้ จําทั้งปรบั

119

พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. 2522

• มาตรา 54 หา มจอดรถกดี ขวางการจราจร
• มาตรา 57 หา มจอดรถในที่หา มจอด

– ฝาฝน ระวางโทษปรบั ไมเ กิน 500 บาท

120

70

ประมวลกฎหมายอาญา

หมวด ๒ ความผิดตอ่ ตาํ แหนง่ หนา้ ทีราชการ
มาตรา ๑๔๗ ผใู้ ดเป็นเจา้ พนกั งาน มีหนา้ ทีซอื ทาํ จดั การหรอื รกั ษาทรพั ยใ์ ด เบียดบงั
ทรพั ยน์ นั เป็นของตน หรอื เป็นของผอู้ นื โดยทจุ รติ หรอื โดยทจุ รติ ยอมใหผ้ อู้ นื เอาทรพั ย์ นั
นนั เสยี ตอ้ งระวางโทษจาํ คกุ แตห่ า้ ปีถึงยสี บิ ปี หรอื จาํ คกุ ตลอดชวี ิต และปรบั ตงั แตส่ องพนั
บาท ถงึ สีหมนื บาท

121

การแกป้ ัญหาความขดั แยง้ ทางสังคม : แนวคิดวา่ ดว้ ย
ทรัพยส์ นิ สว่ นกลางในสังคมสงฆ์

พระพทุ ธเจา้ ไมท่ รงนาํ ระบบกรรมสิทธิในทรพั ยส์ นิ สว่ นตวั เหมอื นอยา่ งระบบทรพั ยส์ นิ แบบ
อบุ าสก อบุ าสกิ า มาใชก้ บั สงั คมสงฆ์ แตท่ รงนาํ ระบบทรพั ยส์ นิ สว่ นกลางซงึ เป็นแนวคดิ
ใหมม่ าใชใ้ นสงั คมสงฆ์

122

71

แนวความคิดวา่ ดว้ ยทรพั ยส์ ินสว่ นกลางในสงั คมสงฆ*์

พระมหาดวงเดน่ ฐิตญาโณ, ดร.(ปรชั ญา) (2558)

“พระพทุ ธเจา้ ทรงนาํ ระบบทรพั ยส์ ินส่วนกลางมาใชใ้ นสงั คมสงฆ์ เพอื ใหท้ กุ คนเป็นเจา้ ของรว่ มกนั

ป้องกนั ความขดั แยง้ แกง่ แยง่ และการขาดแคลน ทงั ยงั เป็นแนวทางเพือสรา้ งความยตุ ิธรรมหรอื ความเสมอ
ภาคเท่าเทยี มกนั อีกดว้ ย”

“แนวคิดระบบทรพั ยส์ ินของสงฆ”์

“สงั คมสงฆ์ เริมตน้ จากการสละทรพั ยส์ ินสว่ นตวั ซึงเป็ นการนับ ตวั อย่าง แนวคดิ ระบบทรพั ยส์ ินของสงฆ์ เชน่
หนึงเท่ากนั กล่าวคือ กอ่ นบวชตอ้ งสละฐานะ ยศ ตาํ แหน่งหนา้ ที - ภิกษุมอี ฏั ฐบรขิ ารใชเ้ พียงเล็กน้อยและเท่าทีจาํ เป็ น
ความเป็ นเครอื ญาติ วงศต์ ระกลู และทรพั ยส์ ินส่วนตวั ทิงใหห้ มด - มลี หุภณั ฑแ์ ละครุภณั ฑท์ เี ป็นทรพั ยส์ ินกองกลางของสงฆ์
และฝากชวี ิตไวก้ บั สงั คมสงฆส์ ว่ นรวม ทาํ ใหเ้ กดิ พฤติกรรมทีไม่ - ไมใ่ หส้ ะสมส่วนเกนิ หรอื ครอบครองไวเ้ ป็นสมบตั ิสว่ นตวั
แสวงหาเพอื สะสม เป็ นการมีใชส้ อยเทา่ ทีจาํ เป็น และถา้ มีส่วนที - มรี ะบบตวั แทนสงฆใ์ นการดูแลรกั ษาและแจกจา่ ย

เหลือกส็ ละเขา้ กองกลางเพือแผ่คนอืนทยี งั ขาดแคลน”

123

แนวความคิดวา่ ดว้ ยทรพั ยส์ ินส่วนกลางในสงั คมสงฆ*์

พระมหาดวงเด่น ฐิตญาโณ, ดร.(ปรชั ญา) (2558)

“ทรพั ยส์ ินของสงฆ์ หมายถึง วตั ถสุ ิงของทีถวายแกส่ งฆท์ วั ไปทงั หมด เป็นของสงฆท์ งั 4 ทิศโดยไม่เจาะจงใหภ้ ิกษุ

รูปใดรูปหนึง เป็นการใหเ้ พือใหต้ กเป็ นของสว่ นกลางของสงฆ์ ซึงก็แลว้ แตส่ งฆจ์ ะตกลงใชส้ อยรว่ มกนั โดยหลกั การคือ
ภกิ ษุสงฆเ์ ป็ นผมู้ ีสทิ ธิและถอื กรรมสิทธิในทรพั ยส์ ินรว่ มกนั ทรพั ยส์ ินของสงฆม์ ี 2 ประเภท”

1. ลหภุ ณั ฑ์ 2. ครภุ ณั ฑ์
หมายถึง ของเบา เชน่ บณิ ฑบาต เภสชั อฏั ฐบรขิ าร เป็ นตน้ หมายถึง ของหนัก ตามพระบาลี มี 5 หมวด ไดแ้ ก่
- พนื ทแี ละของปลูกสรา้ งเป็ นอาราม ตลอดจนตน้ ไม้
เป็ นของทีแจกจา่ ยกนั ได้ - พนื ทแี ละของปลูกสรา้ งเป็ นวหิ าร กุฏิทอี ยู่
- ของทีเป็นตวั เสนาสนะ เช่น เตียง ฟกู หมอน
แตง่ ตงั ภิกษุเป็ นตวั แทนสงฆใ์ นการแจกจา่ ยแบง่ ปัน - เครืองโลหะทีเป็นภาชนะและเครืองมือ
- เครืองสมั ภาระสาํ หรบั เสนาสนะและเครอื งใช้
- จวี รปฏิคคาหกภิกขุ (ผูด้ แู ลแจกจา่ ยเครืองนุ่งหม่ )
- ภตั ตุทเทสกภกิ ขุ (ผูด้ ูแลแจกจา่ ยอาหาร) เป็ นของทหี า้ มแจกกนั เป็ นของส่วนตวั ใหต้ กเป็ นของ
- เสนาสนคาหาปกภิกขุ (ผูด้ แู ลแจกจา่ ยเสนาสนะ) สาธารณะเพือประโยชนต์ อ่ การใชส้ อยรว่ มกนั
- เภสชั ชะภาชกะภกิ ษุ (ผูด้ ูแลแจกจา่ ยคลิ านเภสชั )

124

72

125




Click to View FlipBook Version