The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

final ถอดบทเรียนนราธิวาส

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by startle_01, 2022-12-07 02:02:19

final ถอดบทเรียนนราธิวาส

final ถอดบทเรียนนราธิวาส

ถอดบทเรยี น

การดําเนินงาน
ปอ งกันและควบคมุ โรคตดิ เช้อื
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

จังหวัดนราธวิ าส

สํานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดนราธิวาส
สาํ นกั วชิ าการสาธารณสขุ
สาํ นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ



บทนาํ

การถอดบทเรียนการดาํ เนินงานปองกันและควบคุมโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
จังหวัดนราธิวาส เปนสว่ นหนงึ ของโครงการวจิ ยั ถอดบทเรยี นการบรหิ ารจดั การสถานการณฉ์ กุ เฉนิ ดา้ นสาธารณสขุ
ในการรบั มือโรค COVID-19 ของจงั หวดั ต่างๆ ในประเทศ ทีดาํ เนินการโดยกระทรวงสาธารณสุข มีวตั ถุประสงค์
เพือให้หน่วยงานทีมีการดาํ เนินงานปองกันและควบคุมโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระดับจังหวัด
มีกระบวนการประเมินตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการรวบรวมข้อมูลการดาํ เนินกิจกรรมเฝาระวงั ปองกัน
และควบคมุ โรคตดิ เชอื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) เพอื นําไปสกู่ ารจดั ทาํ ขอ้ เสนอในการพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพ
ในการรองรบั สถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุข ในภาพรวมของประเทศไทย เนือหาในหนังสือการถอดบทเรยี น
การดาํ เนินงานปองกันและควบคุมโรคติดเชือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) จงั หวดั นราธิวาสเล่มนี ได้รวบรวม
ขอ้ มลู พนื ฐานสําหรบั การบรหิ ารจดั การสถานการณฉ์ กุ เฉนิ ดา้ นสาธารณสขุ กรณโี รค COVID-19 และการดาํ เนนิ งาน
ปองกนั และควบคมุ โรคตดิ เชอื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ตามชว่ งเวลาของการระบาด แบง่ เปน 4 ระยะ ระยะที 1
ระยะก่อนการระบาด ระลอก 1 (ธันวาคม 2562 - มกราคม 2563) ระยะที 2 ระหว่างการระบาด ระลอก 1
(มกราคม 2563 - พฤษภาคม 2563) ระยะที 3 ระยะหลงั การระบาด ระลอก 1 (พฤษภาคม 2563 - 14 ธนั วาคม 2563)
ระยะที 4 ระยะการระบาด ระลอกใหม่ (15 ธันวาคม 2563 - 31 มีนาคม 2564) รวมทังการจัดการสถานการณ์
ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขของคณะกรรมการโรคติดต่อจงั หวดั นราธวิ าส โดยได้มีการสรปุ ปจจยั /เงือนไขความสําเรจ็
และปญหา/อุปสรรค ในการดาํ เนินงานปองกันและควบคุมโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
และขอ้ เสนอแนะการดาํ เนนิ งานในอนาคต

คณะผู้จดั ทําจงึ หวงั เปนอย่างยิงวา่ หนังสือการถอดบทเรยี นการดาํ เนินงานปองกันและควบคุมโรคติดเชือ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดนราธิวาส นอกจากจะเปนการบันทึกข้อมูลการดาํ เนินงานทีสําคัญ
ของจงั หวดั นราธวิ าส ทสี ามารถบอกเลา่ เรอื งราวยอ้ นหลงั การดาํ เนนิ งานทนี า่ จะเปนประวตั ศิ าสตรห์ นงึ ของประเทศไทย
ในการรบั มอื กบั สถานการณก์ ารระบาดโรคตดิ เชอื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) แลว้ นนั สาระสําคญั ทถี กู บนั ทกึ ไว้
ในหนังสือเล่มนี จงึ น่าจะเปนประโยชน์ต่อผู้บรหิ ารและผู้ปฏิบัติงานของหน่วยงานทังภายในและภายนอกกระทรวง
สาธารณสุขทีมีส่วนรว่ มดาํ เนินงาน สามารถนําไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการปองกันและควบคุมโรคติดเชือ
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) และสถานการณข์ องโรคระบาดตา่ งๆ ในอนาคตไดต้ อ่ ไป

สํานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั นราธวิ าส

สารบญั หนา

บทนาํ 1
1
1. ขอ มูลพ้นื ฐานสําหรบั การบรหิ ารจดั การสถานการณฉ กุ เฉินดา นสาธารณสุข 5
กรณีโรค COVID-19 ของจังหวัดนราธิวาส 6
1.1 ขอ มลู ทว่ั ไปของจังหวัดนราธิวาส 6
1.2 สถานการณโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 7
1.3 ทรพั ยากรรองรบั โรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 7
1.4 งบประมาณท่ีใชใ นการดาํ เนินงานโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 7
2. การดาํ เนินกจิ กรรมเฝา ระวัง ปอ งกัน และควบคมุ โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 14
(COVID-19) ของจงั หวัดนราธิวาส
2.1 การดําเนนิ กจิ กรรมเฝา ระวงั ปอ งกนั และควบคมุ โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 14

2.1.1 ผลการประเมนิ ตนเองการดําเนนิ กจิ กรรมเฝา ระวงั ปอ งกนั และควบคมุ โรคตดิ เชอ้ื 15
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ของจงั หวดั นราธวิ าส 28
3. การจดั การสถานการณฉกุ เฉนิ ดานสาธารณสุขของคณะกรรมการโรคตดิ ตอจังหวดั 30
นราธิวาส 34
41
3.1 ผลการดําเนินงานการจัดการสถานการณฉ ุกเฉนิ ดา นสาธารณสขุ ของคณะกรรมการ 43
โรคติดตอจงั หวดั นราธิวาส 57

สว นที่ 1 ภาวะผนู ําและการบริหารจัดการ
สว นท่ี 2 กําลงั คนดานสุขภาพ
สว นท่ี 3 เวชภัณฑ วคั ซีน และเทคโนโลยีทางการแพทยแ ละสาธารณสุข
สวนท่ี 4 ระบบขอมลู สารสนเทศดา นสุขภาพ
สวนท่ี 5 การเงินการคลังดา นสุขภาพ
สว นท่ี 6 ระบบบรกิ ารสุขภาพ
สว นที่ 7 การมสี ว นรว มของชมุ ชน อาสาสมคั รสาธารณสขุ และภาคประชาชน ในการบรหิ าร
และการจดั การสถานการณฉ กุ เฉนิ ดา นสาธารณสขุ กรณกี ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั
โคโรนา 2019 (COVID-19)

สารบัญ หนา

4. ภาคผนวก 60
60
4.1 แบบสอบถามชุดท่ี 1 ขอ มูลพืน้ ฐานสําหรบั การบรหิ ารจัดการสถานการณฉกุ เฉิน
ดานสาธารณสุข กรณโี รค COVID-19 60

4.2 แบบสอบถามชดุ ท่ี 2 การดาํ เนนิ กจิ กรรมเฝาระวงั ปอ งกนั และควบคมุ โรคติดเชือ้ 60
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ระดับจังหวดั

4.3 แบบสอบถามชดุ ที่ 3 แบบประเมนิ ตนเองในการจดั การสถานการณฉกุ เฉนิ ฯ
ดา นสาธารณสุขของคณะกรรมการโรคตดิ ตอ จงั หวดั

สารบญั ตาราง
หนา

ตารางที่ 1 จํานวนประชากรจาํ แนกกลุม อายแุ ละเพศของจงั หวัดนราธวิ าส 2

ตารางท่ี 2 ผลการประเมนิ ตนเองการดาํ เนินกิจกรรมเฝาระวงั ปอ งกัน และควบคุมโรคติด 8
เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)ของจงั หวดั นราธิวาส

ตารางที่ 3 คณุ ลกั ษณะที่ 1 : ระเบยี บ ขอ บงั คบั ประกาศ คําสง่ั นโยบาย และแผนงาน ในระดบั จงั หวดั 15
ทเ่ี กยี่ วของกับการบรหิ ารและการจัดการสถานการณฉ ุกเฉินดานสาธารณสุข
กรณกี ารแพรระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 4 คณุ ลกั ษณะที่ 2 : โครงสรา งการประสานงานและการบรหิ ารและการจดั การสถานการณฉ กุ เฉนิ 16
ดา นสาธารณสุข กรณีการแพรระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
ของหนวยงานสาธารณสุขในระดับจังหวัด

ตารางท่ี 5 คณุ ลักษณะท่ี 3 : กฎหมาย ระเบียบ ขอบงั คบั ประกาศ คาํ สงั่ นโยบาย และแผนงาน ใน 18
ระดบั จังหวัดทเ่ี กีย่ วขอ งกบั การชว ยเหลือจากหนว ยงานสาธารณสุขจากภายนอก
จังหวัด เพื่อรวมบริหารและจัดการสถานการณฉุกเฉนิ ดา นสาธารณสุข ในการรับมอื
กรณกี ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางท่ี 6 คุณลกั ษณะท่ี 4 : คณะกรรมการในการบรหิ ารและจดั การสถานการณฉุกเฉิน 19

ดา นสาธารณสขุ กรณกี ารแพรระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 7 คณุ ลกั ษณะท่ี 5 : หนว ยปฏบิ ตั กิ ารดา นสาธารณสขุ ในการบรหิ ารและการจดั การสถานการณ 20
ฉกุ เฉนิ ดา นสาธารณสขุ กรณกี ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 8 คณุ ลกั ษณะท่ี 6 : กลไกการประสานงานและการสรา งภาคเี ครอื ขา ยของหนว ยงาน 22
สาธารณสขุ ในระดบั จงั หวดั ในการบรหิ ารและการจดั การสถานการณฉ กุ เฉนิ
ดา นสาธารณสขุ กรณกี ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 9 คณุ ลกั ษณะท่ี 7 : การบรหิ ารและการจดั การเพอ่ื ลดความเสยี่ งการเกดิ โรค ของหนว ยงาน 23
สาธารณสขุ ระดบั จงั หวดั (Risk reduction/Prevention and mitigation)
ในการบรหิ ารและการจดั การสถานการณฉ กุ เฉนิ ดา นสาธารณสขุ กรณกี ารแพรร ะบาด
ของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางท่ี 10 คณุ ลกั ษณะที่ 8 : การบรหิ ารและการจดั การเพอ่ื เตรยี มความพรอ มรองรบั สถานการณฉ กุ 24
เฉนิ ฯ (Preparedness) ของหนว ยงานสาธารณสขุ ระดบั จงั หวดั และภาคสว นทเี่ กย่ี วขอ ง

ตารางท่ี 11 คณุ ลักษณะที่ 9 : การบริหารและการจัดการการฟน ฟูหลงั เกิดสถานการณ (Response 26
and recovery) การแพรร ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ของหนวยงานสาธารณสุขระดับจังหวัดและภาคสว นทเี่ กีย่ วขอ ง

สารบัญตาราง หนา

ตารางท่ี 12 คณุ ลักษณะท่ี 10 : การศกึ ษาวจิ ัยและขอมลู เชิงประจกั ษ 27

ตารางท่ี 13 คณุ ลักษณะท่ี 11 : แผนการพัฒนาบคุ ลากร 28

ตารางที่ 14 คณุ ลักษณะที่ 12 : การฝก อบรมและการศึกษา 28

ตารางท่ี 15 คุณลักษณะท่ี 13 : เวชภัณฑและวัสดุอุปกรณทางการแพทยและสาธารณสุข สาํ หรับ 30
รองรับกิจกรรมการดําเนินงานท้ังในและนอกโรงพยาบาล รวมถึงโรงพยาบาลสนาม
และกิจกรรมทางดานสาธารณสุขอื่นๆ ท่ีเก่ียวของในสถานการณแพรระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางท่ี 16 คุณลักษณะท่ี 14 : ยาและเวชภณั ฑ (Pharmaceutical services) ในสถานการณ 31
แพรร ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางท่ี 17 คุณลักษณะท่ี 15 : หอ งปฏิบตั ิการ (Laboratory Services) ในสถานการณแพรระบาด 32
ของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 18 คณุ ลักษณะท่ี 16 : การบรหิ ารและการจดั การโลหิต (Blood Services) ในสถานการณ 33
แพรระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางท่ี 19 คณุ ลกั ษณะที่ 17 : ระบบขอ มลู สารสนเทศสาํ หรบั การประเมนิ ความเสยี่ งและการวางแผน 34
เตรียมความพรอ ม สาํ หรับการบรหิ ารและการจัดการสถานการณก ารแพรร ะบาด
ของของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 20 คณุ ลกั ษณะท่ี 18 : ระบบขอ มลู สารสนเทศดา นสขุ ภาพ (Health information system) 35

ตารางที่ 21 คุณลักษณะท่ี 19 : การใชข อ มลู รว มกัน (Information Sharing) 35

ตารางที่ 22 คณุ ลกั ษณะที่ 20 : ระบบขอ มลู การเฝา ระวงั โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 36
(Surveillance systems)

ตารางที่ 23 คุณลักษณะที่ 21 : มีกลไกในการประเมินความตองการดานสุขภาพ 37
(Rapid health-needs assessment) อยางรวดเร็ว

ตารางที่ 24 คุณลกั ษณะท่ี 22 : การประเมินสถานการณเบือ้ งตนอยางรวดเรว็ แบบมีสว นรว ม 38
หลายภาคสว น (Multisectoral initial rapid assessment: IRA)

ตารางท่ี 25 คณุ ลกั ษณะท่ี 23 : ระบบการรายงานสถานการณฉ กุ เฉนิ (Emergency reporting system) 38

ตารางท่ี 26 คณุ ลักษณะที่ 24 : กลยทุ ธในการส่อื สารความเสี่ยงกบั ประชาชนและสื่อมวลชน 39

ตารางท่ี 27 คุณลักษณะท่ี 25 : กลยุทธใ นการส่อื สารความเสยี่ งกบั บุคลากรผปู ฏบิ ตั ิงาน 40
ในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

สารบัญตาราง หนา

ตารางที่ 28 คุณลกั ษณะท่ี 26 : กลไกของหนวยงานทเ่ี กีย่ วขอ งในการเตรียมความพรอ ม 41

และบรหิ ารจดั การงบประมาณในสถานการณฉ กุ เฉนิ ดา นสาธารณสขุ กรณกี ารแพรร ะบาด

ของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 29 คณุ ลกั ษณะท่ี 27 : กลไกการบรหิ ารและการจดั การงบประมาณของหนว ยงานสาธารณสขุ 42
ในระดบั จงั หวัด สําหรับการบรหิ ารและการจดั การสถานการณฉกุ เฉนิ ดานสาธารณสุข
กรณกี ารแพรระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางท่ี 30 คุณลกั ษณะที่ 28 : แผนรองรบั สถานการณก ารแพรระบาดของโรคตดิ เชอ้ื 43
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ของหนว ยงานสาธารณสุขในระดับจงั หวดั

ตารางท่ี 31 คณุ ลกั ษณะที่ 29 : ความสามารถศักยภาพในการบริหารและการจัดการสถานการณ 44
ฉกุ เฉนิ ดา นสาธารณสขุ กรณกี ารแพรร ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019
(COVID-19) ของหนว ยงานสาธารณสุขในระดบั จังหวัด

ตารางที่ 32 คุณลกั ษณะท่ี 30 : การบริหารและการจดั การระบบบริการการแพทยฉ ุกเฉนิ 45

กอ นถึงโรงพยาบาล (Pre-hospital medical operations) ในสถานการณฉ ุกเฉิน

ดานสาธารณสขุ กรณีการแพรระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 33 คณุ ลกั ษณะท่ี 31 : การบรหิ ารและการจดั การสถานการณท ม่ี ผี ตู ดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 46
(COVID-19) จาํ นวนมากหรอื ผเู สยี ชวี ติ

ตารางท่ี 34 คณุ ลกั ษณะท่ี 32 : ศกั ยภาพในการบรหิ ารและการจดั การสถานการณท มี่ ผี ตู ดิ เชอื้ ไวรสั 47
โคโรนา 2019 (COVID-19) จาํ นวนมากหรอื ผเู สยี ชวี ติ ในระดบั อาํ เภอและระดบั ตาํ บล

ตารางท่ี 35 คุณลักษณะท่ี 33 : การเตรยี มความพรอมกรณฉี ุกเฉินของโรงพยาบาล 48
กรณมี ผี ูติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จํานวนมาก

ตารางท่ี 36 คณุ ลกั ษณะที่ 34 : การวางแผนตอบสนองสถานการณฉ กุ เฉนิ ฯ และการฟน ฟภู ายหลงั 48
สถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ฃ
ของโรงพยาบาล

ตารางที่ 37 คณุ ลักษณะท่ี 35 : การจดั บรกิ ารสุขภาพท่ีจําเปนและตอ เนือ่ งในสถานการณฉุกเฉนิ 50
ดา นสาธารณสขุ กรณีการแพรระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 38 คณุ ลกั ษณะท่ี 36 : การเฝา ระวงั ปอ งกนั และควบคมุ โรค และการสรา งเสรมิ ภมู คิ มุ กนั โรค 50
ในสถานการณก ารแพรระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางท่ี 39 คุณลักษณะท่ี 37 : การจดั บริการดูแลอนามยั แมและเด็กและอนามยั เจริญพันธุ 51
ในสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางท่ี 40 คุณลกั ษณะท่ี 38 : การจดั บริการดูแลสุขภาพจติ และการชวยเหลือทางจติ สังคม 52
ของประชาชนในสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

สารบัญตาราง
หนา

ตารางที่ 41 คณุ ลกั ษณะท่ี 39 : การจดั บรกิ ารดา นอนามยั สง่ิ แวดลอ มในสถานการณก ารแพรร ะบาด 52
ของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 42 คณุ ลักษณะที่ 40 : การจัดบรกิ ารดแู ลรักษาโรคเร้ือรงั และไมต ิดตอ เรือ้ รัง 53
ในสถานการณการแพรระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางท่ี 43 คุณลักษณะท่ี 41 : การจดั บรกิ ารสุขภาพดานสงเสริมโภชนาการและอาหารปลอดภัย 53
ในสถานการณการแพรร ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางท่ี 44 คณุ ลกั ษณะที่ 42 : การจัดบริการสขุ ภาพปฐมภูมิ/การดูแลสุขภาพเบ้อื งตน 54
ในสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 45 คณุ ลกั ษณะที่ 43 : การจัดบรกิ ารสขุ ภาพสาํ หรับแรงงานตา งดาว/ประชาชนพลัดถิ่น 54
ในสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 46 คณุ ลกั ษณะที่ 44 : การสอ่ื สารโทรคมนาคมในสถานการณฉ ุกเฉินฯ ในสถานการณ 55
แพรร ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางท่ี 47 คุณลักษณะท่ี 45 : สถานบริการสุขภาพชั่วคราวในสถานการณแพรระบาด 56
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 48 คุณลกั ษณะที่ 46 : ระบบการสนบั สนุนดานโลจสิ ติกส (Logistics) ในสถานการณ 56
แพรระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 49 คณุ ลักษณะท่ี 47 : หนวยสนบั สนุนการใหบ รกิ ารสุขภาพในสถานการณแพรร ะบาด 57
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางท่ี 50 คณุ ลกั ษณะที่ 48 : การมสี วนรวมของชุมชน อสม./อสต./พสต. และภาคประชาชน 58
ในการบรหิ ารและการจดั การสถานการณฉ กุ เฉนิ ดา นสาธารณสขุ กรณกี ารแพรร ะบาด
ของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)



1. ขอ มูลพ้ืนฐานสําหรับการบรหิ ารจัดการสถานการณฉกุ เฉินดานสาธารณสุข
กรณโี รค COVID-19 ของจังหวัดนราธวิ าส

1.1 ขอ มูลท่วั ไปของจังหวดั นราธิวาส

1.1.1 อาณาเขต

ทศิ เหนือ ติดกับจังหวัดปตตานีและอา วไทย
ทศิ ตะวันออก ติดกับประเทศมาเลเซยี
ทศิ ตะวันตก ติดกบั จังหวัดยะลา
ทศิ ใต ตดิ กบั ประเทศมาเลเซยี และอา วไทย
(เนอื้ ที่ 4,475.4288 ตารางกโิ ลเมตร) ระยะทางหางจากกรุงเทพมหานคร 1,149 กโิ ลเมตร

1.1.2 การปกครอง แบง การปกครองออกเปน

อาํ เภอ 13 อาํ เภอ
ตาํ บล 77 ตําบล

หมูบา น 591 หมบู าน

เทศบาล 16 ชมุ ชน
องคการบริหารสว นตาํ บล 72 แหง

1.1.3 จํานวนประชากร : ขอ มูลประชากรกลางป ณ วนั ที่ (1กรกฎาคม 2563)

จาํ นวนประชากร 804,429 คน

เพศหญิง 406,729 คน
เพศชาย 397,700 คน

ความหนาแนนของประชากร 179.74 คน ตอตารางกิโลเมตร

1

ตารางที่ 1 จํานวนประชากรจาํ แนกกลุมอายุและเพศ

จํานวนประชากร

กลมุ อายุ

ชาย (คน) หญงิ (คน) รวม (คน)

0-1 32,336 30,553 62,889
2-4 35,663 33,822 69,485
5-9 34,680 32,788 67,468
10-14 34,113 31,825 65,938
15-19 34,539 32,736 67,275
20-24 33,348 32,303 65,651
25-29 31,524 31,103 62,627
30-34 29,289 28,904 58,193
35-39 24,522 26,140 50,662
40-44 23,239 25,640 48,879
45-49 21,325 23,899 45,224
50-54 18,389 21,425 39,814
55-59 11,893 14,120 26,013
23,248
60-64 10,671 12,577
15,361
65-69 6,933 8,428 26,194
70-74 10,645 15,549
9,508
75 ปขึน้ ไป 4,591 4,917
804,429
รวม 397,700 406,729

หมายเหตุ : จาํ นวนประชากรตางดาว/แรงงานตางดาว ของจังหวัดนราธิวาส จาํ นวน 1,893 คน
(แหลงขอมูล : สาํ นักงานจัดหางานจังหวัดนราธิวาส ขอมูล ณ วันที่ 25 กันยายน 2564)
แหลงขอ มูล : แผนพัฒนาจังหวัดนราธิวาส 5 ป (พ.ศ. 2561-2564) ฉบับทบทวน 2564

2

1.1.4 สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ภาครัฐ (ขอ มูล ณ 30 กันยายน 2564)

โรงพยาบาลทว่ั ไป หนว ยควบคมุ
จํานวน 2 แหง โรคตดิ ตอนาํ โดยแมลง

จาํ นวน 5 แหง

โรงพยาบาลชุมชน ศูนยบ ริการ
สาธารณสุขเทศบาล
จาํ นวน 11 แหง
จํานวน 2 แหง

โรงพยาบาล ศูนยสขุ ภาพ
สงเสริมสุขภาพตําบล ชมุ ชนเมือง

จํานวน 110 แหง จํานวน 6 แหง

สถานีอนามัยเฉลมิ พระเกียรติ 60 พรรษา
นวมินทราชนิ ี
จํานวน 10 แหง

(ขอ มลู ณ 30 กนั ยายน 2564)

1.1.5 ขอ มลู บคุ ลากรดา นสาธารณสขุ ของจงั หวดั (ภาครฐั ) (ขอ มลู ณ 30 กนั ยายน 2564)

1) บคุ ลากรดา นสาธารณสขุ ภาครัฐในสังกดั กระทรวงสาธารณสขุ

ขา ราชการ จาํ นวน 3,312 คน

พนกั งานราชการ จํานวน 156 คน

พนักงานกระทรวงสาธารณสขุ จํานวน 494 คน

ลูกจางประจาํ จาํ นวน 136 คน

ลูกจา งชั่วคราว จํานวน 32 คน

2) บุคลากรดานสาธารณสุข ภาครัฐนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

ขา ราชการ จาํ นวน 5 คน
พนักงานราชการ จํานวน 70 คน
ลูกจา งช่วั คราว จาํ นวน 24 คน

3

1.1.5 ขอมูลบคุ ลากรดานสาธารณสขุ ของจงั หวัด (ภาครฐั )

3) ขอ มลู บคุ ลากรทางการแพทยแ ละสาธารณสขุ ภาครฐั ทกุ สังกดั

แพทย จาํ นวน 268 คน อตั ราสว นตอประชากร 1 : 3,001

ทันตแพทย จํานวน 60 คน อตั ราสวนตอประชากร 1 : 13,407
เภสชั กร จํานวน 112 คน อัตราสวนตอ ประชากร 1 : 7,182

พยาบาลวิชาชีพ จาํ นวน 1,851 คน อตั ราสว นตอ ประชากร 1 : 434

นักวชิ าการสาธารณสขุ จํานวน 417 คน อตั ราสว นตอประชากร 1 : 1,929

จํานวน 53 คน อัตราสว นตอประชากร 1 : 15,177 นักเทคนคิ การแพทย
จาํ นวน 28 คน อัตราสว นตอ ประชากร 1 : 28,729 แพทยแผนไทย
จํานวน 153 คน อตั ราสว นตอ ประชากร 1 : 5,257 เจา พนกั งานสาธารณสขุ
จํานวน 55 คน อัตราสว นตอ ประชากร 1 : 14,625 เจาพนักงานทันตสาธารณสุข

อาสาสมคั รสาธารณสุขประจําหมูบา น (อสม.)
จํานวน 8,000 คน อัตราสวนตอ ประชากร 1 : 100

1.1.6 ขอ มลู บุคลากรเฉพาะดา นระบาดวทิ ยาในสงั กดั กระทรวงสาธารณสุข

แพทย จํานวน 8 คน
นักระบาดวทิ ยา จํานวน 9 คน

นกั วิชาการท่ีผา นการพฒั นาศกั ยภาพที่สามารถ

ดําเนนิ งานดา นระบาดวทิ ยา จาํ นวน 116 คน

พยาบาลดา นการปอ งกันและควบคมุ โรคติดเชอ้ื

(Infectious control Nurse: ICN) จํานวน 15 คน

(ขอ มลู ณ 30 กนั ยายน 2564) 4

1.2 สถานการณโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
และการไดร บั วัคซนี ของประชาชน (ขอมูล ณ 30 กนั ยายน 2564)

1.ผเู ดนิ ทางจากพ้ืนทีเ่ ส่ยี ง จํานวน 11,045 คน

2.ผูปว ยตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จาํ นวน 24,830 คน

3.ผูสัมผัสผูปวยเส่ียงสงู (High risk) จํานวน 52,448 คน

4.การตรวจคดั กรองเชงิ รุก

Active case finding จํานวน 1,904 คน

5. จาํ นวนผทู เ่ี ดนิ ทางจากพนื้ ทีท่ ี่มีการระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019
เขามาในจังหวดั

ตางประเทศ จํานวน 1,993 คน
จังหวัดอ่นื ๆ จํานวน 9,052 คน

6) ผลลพั ธท เ่ี กดิ ขึน้ จากกจิ กรรมดําเนนิ งาน

ความรวมมอื ในการปฏบิ ตั ิตวั ของประชาชน : มาตรการ DMHTT

D =.....74.8 … % M = ......95.1 …… % H= ……78.3 ……… %
(Distancing) (Mask Wearing) (Hand Washing)

T =.....60.3....% T=.....60.3.....%
(Testing) (ไทยชนะ)

5

1.2 สถานการณโ รคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
และการไดร ับวัคซนี ของประชาชน (ตอ )

7. การไดร ับวคั ซีน

ผูไ ดรับวัคซนี เข็ม 1 จาํ นวน 267,499 คน รอยละ 41.60
ผไู ดร บั วัคซนี เข็ม 2 จาํ นวน 267,499 คน รอยละ 41.60

1.3 ทรพั ยากรรองรบั โรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
(ขอ มูล ณ 30 กนั ยายน 2564)

สถานที่รองรบั ผูปว ย

o คลินิก ARI จํานวน 13 แหง - เตียง

o Negative Pressure AIIR จาํ นวน 11 แหง 16 เตียง

o Modified AIIR จาํ นวน 5 แหง 13 เตียง

o หอ งแยกเดี่ยว จาํ นวน 11 แหง 169 เตยี ง

o Cohort ward จํานวน 14 แหง 668 เตยี ง

o Field Hospital จํานวน 14 แหง 2,973 เตยี ง

จาํ นวนสถานทก่ี ักกัน (Quarantine)

Local Quarantine จาํ นวน 404 แหง 12,389 เตียง

1.4 งบประมาณท่ีใชใ นการดําเนนิ งานโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

แหลงงบประมาณ

งบกลางรายการคา ใชจ า ยในการบรรเทาแกไ ขปญ หาและเยยี วยาผทู ไี่ ดร บั ผลกระทบ
จากการระบาดของโรคโควดิ -19 ป 2563 จํานวน 30,561,435 บาท ป2 564
จาํ นวน 115,322,244.35 บาท
เงนิ ทดรองราชการเพอื่ ชว ยเหลอื ผปู ระสบภยั พบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉนิ จํานวน 439,701.46 บาท

6

2. การดําเนินกิจกรรมเฝาระวงั ปองกัน และควบคุมโรคติดเชื้อ
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ของจงั หวดั นราธวิ าส

2.1 การดาํ เนนิ กิจกรรมเฝา ระวงั ปอ งกัน และควบคมุ โรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
การถอดบทเรียนการดาํ เนินงานปองกันและควบคุมโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ของจังหวัดนราธวิ าส เปนการถอดบทเรยี นการบรหิ ารจัดการสถานการณฉุกเฉินดานสาธารณสุข ในการรับมือ
โรค COVID-19 ท่ีมีการดําเนินงานภายใตคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดนราธิวาส และสาํ นักงานสาธารณสุข
จงั หวดั นราธวิ าส โดยกระบวนการประเมนิ ตนเองและใชก ระบวนการกลมุ ในการรวบรวมขอ มลู การดาํ เนนิ กจิ กรรม
เฝาระวัง ปองกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตามชวงเวลาของการระบาด แบงเปน
4 ระยะ มนี ิยามความหมายของการดําเนนิ งานแตละระยะ และผลการดาํ เนินงานตางๆ ดงั นี้

ระยะท่ี 1 หมายถึง ระยะกอนการระบาด ระลอก 1 (ธันวาคม 2562 ถึง มกราคม 2563)
ระยะที่ 2 หมายถึง ระหวา งการระบาด ระลอก 1 (มกราคม 2563 ถึง พฤษภาคม 2563)
ระยะท่ี 3 หมายถงึ ระยะหลงั การระบาด ระลอก 1 (พฤษภาคม 2563 ถงึ 14 ธนั วาคม 2563)
ระยะที่ 4 หมายถงึ ระยะการระบาด ระลอกใหม (15 ธนั วาคม 2563 ถงึ 31 มนี าคม 2564)
2.1.1 ผลการประเมินตนเองการดาํ เนินกิจกรรมเฝาระวัง ปองกัน และควบคุมโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ของจังหวัดนราธิวาส (ตารางที่ 2)

7

ตารางท่ี 2 ผลการประเมนิ ตนเองการดาํ เนินกจิ กรรมเฝา ระวงั ปอ งกนั และควบค

ประเด็น

1. กระบวนการและผลการวเิ คราะห/ประเมนิ สถานการณสําคญั
1.1 ทบทวนวเิ คราะหสถานการณร ะบาดของโรค
1.2 ทบทวนวิเคราะหสถานการณส ขุ ภาพและพฤติกรรมประชาชน
1.3 การจดั กลมุ ประชาชนตามความเส่ียงทางระบาดวิทยา
1.4 การพยากรณ/ คาดประมาณจาํ นวนและระดบั ความรนุ แรงของสถานการณโรค
1.5 การเตรียมความพรอ มในการรองรบั สถานการณ

1) เฝาระวัง ปองกัน

2) ตรวจคดั กรอง

8

คุมโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจงั หวัดนราธวิ าส

มีการดําเนนิ งาน ไมมกี ารดําเนนิ งาน

การดาํ เนนิ งาน

แหลง ขอ มลู /เอกสารอางองิ

ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะท่ี 3 ระยะท่ี 4

วิเคราะหส ถานการณโดย SAT

วิเคราะหส ถานการณโดย SAT

จัดกลุมความเส่ียงตามนยิ ามผูป วยกรมควบคุมโรค
วเิ คราะหส ถานการณโ ดยกลมุ ภารกจิ ทีมตระหนกั รูสถานการณ (SAT)
และโดยกลมุ ภารกิจยทุ ธศาสตรและวิชาการ (STAG)

โรงพยาบาล สาธารณสุขอําเภอ มกี ารตงั้ จดุ คดั กรองตามจดุ ทค่ี าดวาจะมี
ความเสี่ยงตอ การแพรร ะบาดของโรคโควิด-19 เชน ดานรอยตอ ระหวาง
จังหวัด ตลาดนัด โรงพยาบาล เปน ตน

โรงพยาบาล สาธารณสุขอาํ เภอ มกี ารตั้งจุดคัดกรองตามจดุ ที่คาดวา จะมี
ความเสย่ี งตอการแพรระบาดของโรคโควดิ -19 เชน ดานรอยตอระหวาง
จังหวดั ตลาดนัด โรงพยาบาล เปน ตน

8

ตารางที่ 2 ผลการประเมนิ ตนเองการดําเนนิ กิจกรรมเฝา ระวัง ปองกัน และ

ประเด็น

3) ตรวจทางหอ งปฏบิ ตั กิ าร
4) การดูแลรักษา

5) โลจสิ ตกิ สแ ละระบบขอ มลู (เครอ่ื งมอื /อปุ กรณท างการแพทย และการวางแผนในการจดั สง )

1.6 การสื่อสาร (สถานการณโรค/ปญหา)

1.7 การจัดลําดับความสําคัญในการดาํ เนินการเรง ดว นตามสถานการณปญหาในจงั หวดั
2. มกี ารนาํ ขอ เสนอในการดาํ เนินงานเสนอตอผูบริหาร คณะกรรมการควบคุมโรคตดิ ตอ ระดับจงั หวัด
เพื่อพิจารณา
3. มีการประชมุ คณะกรรมการควบคุมโรคตดิ ตอ ระดบั จังหวดั เพอื่ พิจารณาขอ เสนอในรปู
ของมติท่ปี ระชมุ และมขี อส่ังการ

ะควบคุมโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ของจงั หวัดนราธิวาส (ตอ )

มกี ารดาํ เนนิ งาน ไมมีการดาํ เนินงาน

การดําเนนิ งาน แหลงขอ มูล/เอกสารอางองิ

ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4

ปฏบิ ัตติ ามแนวทางกระทรวงสาธารณสขุ
https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/g_lab.php

ปฏิบัตติ ามแนวทางกระทรวงสาธารณสุข
https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/g_health_care.php

กลมุ ภารกิจสํารองเวชภัณฑและสงกาํ ลังบํารุง ดาํ เนนิ การตามที่ไดร บั
หมอบหมาย

สอื่ สารผานส่ือวิทยุ สอ่ื เฟซบกุ เพจ สํานกั งานสาธารณสุข
จังหวัดนราธวิ าส เปนตน

มกี ารประชุมในระดับจงั หวัดและระดบั อําเภอเพื่อนาํ เสนอสถานการณแ ละ
แกไขปญหาใหท นั ตอสถานการณ



การประชมุ คณะกรรมการโรคตดิ ตอระดับจงั หวัด

การประชมุ คณะกรรมการโรคตดิ ตอ ระดบั จังหวัด

9

ตารางที่ 2 ผลการประเมินตนเองการดาํ เนนิ กิจกรรมเฝาระวัง ปองกัน และ

ประเดน็

4. การดาํ เนนิ การ
4.1 มาตรการทางสงั คม
- มีการส่อื สาร และสรา งความรอบรดู านสขุ ภาพในการปอ งกันตนเองอยางตอ เน่อื ง
- มีการสือ่ สารแนวทางการรกั ษาความสะอาดและปองกันการตดิ เช้อื ของแตล ะสถานที่
- มีการพฒั นาระบบตดิ ตามการปฏิบัติตามมาตรการฯ
- มีการจดั ตัง้ คณะทํางานทตี่ ิดตามการปฏบิ ัตติ ามมาตรการฯ ในระดบั ประเทศ
- มีการสรา งกลไกการกาํ หนดมาตรการทางสังคมแบบมสี ว นรว มทุกภาคสว น
- มาตรการทางสังคมอืน่ ๆ เฉพาะพน้ื ท่ี

1

ะควบคุมโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดนราธิวาส (ตอ )

มีการดําเนินงาน ไมม กี ารดําเนินงาน

การดาํ เนินงาน

แหลงขอมูล/เอกสารอางอิง

ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะท่ี 4

ใหความรูผา นสื่อวิทยุ สอื่ เฟซบุก เพจสํานกั งานสาธารณสุข
จังหวัดนราธิวาส เปน ตน

ใหความรผู า นสอ่ื วทิ ยุ ส่ือเฟซบกุ เพจสาํ นักงานสาธารณสุข
จงั หวัดนราธิวาส เปน ตน

จงั หวดั แตง ตั้งทมี ปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ ตอบโตภ าวะฉกุ เฉินตอบโตภ าวะฉุกเฉิน
ทางดา นสาธารณสุข (Emergency Operation Center : EOC) :
กรณโี รคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ในจังหวดั นราธวิ าส
มีเครอื ขายการเฝา ระวังปอ งกัน และควบคมุ โรคระดับชุมชน ประกอบดว ย
อสม. ผใู หญบ าน ปรศ.หมบู า น ออกปฏบิ ัตกิ าร รวมกับ จนท. รพ.สต.
กรณีพบผตู ดิ เชอ้ื ในพนื้ ท่ที ุกครงั้
ใหชมุ ชนเขามามสี วนรว ม เชน การ Re-Xray ในพ้นื ที่ เพอ่ื การสอดสองใน
พ้ืนท่ี กรณีทมี่ ีผลู ักลอบเดินทางจากตางประเทศ

10

ตารางท่ี 2 ผลการประเมินตนเองการดาํ เนนิ กจิ กรรมเฝาระวัง ปอ งกนั แ

ประเด็น

4.2 มาตรการสาธารณสุข
- มกี ารพัฒนาระบบการตรวจทางหอ งปฏบิ ัติการ
- มีการพฒั นาระบบการติดตามเฝาระวัง/สอบสวนโรค
- มีการพฒั นาระบบการแยกกัก หรือคุมไวสงั เกต
- มกี ารสงเสริมความรอบรูดานสุขภาพใหแกประชาชน
- มีการสงเสริมและสนับสนุนการนาํ นวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใชในการเฝาระวัง
- มาตรการสาธารณสุขอนื่ ๆ เฉพาะพน้ื ที่
4.3 การตอบสนองของระบบบริการสาธารณสุข
- มีการเพิ่มศกั ยภาพใหก บั บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสขุ สถานท่ีในการใหบ รกิ าร
อุปกรณใ นการดูแลรกั ษา และระบบบรกิ ารดูแลรกั ษาโรค COVID-19
- มีการปรับรปู แบบการใหบรกิ ารทัง้ ในและนอกโรงพยาบาล และโรคอ่ืน ๆ ในสถานการณปกตใิ หม
(New normal medical care)

1

และควบคุมโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจงั หวัดนราธิวาส (ตอ )

มกี ารดําเนินงาน ไมม ีการดําเนนิ งาน

การดําเนินงาน

แหลง ขอ มลู /เอกสารอา งองิ

ระยะท่ี 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4

ปฏิบัตติ ามแนวทางกระทรวงสาธารณสขุ
https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/g_lab.php
ปฏบิ ตั ิตามแนวทางกระทรวงสาธารณสุข
https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/g_srrt.php
ปฏบิ ตั ิตามแนวทางกระทรวงสาธารณสขุ
https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/g_quarantine.php
ใหค วามรูผานส่อื วทิ ยุ สือ่ เฟซบกุ เพจสํานักงานสาธารณสุข
จงั หวดั นราธิวาส เปน ตน

มีการจัดทํา Dashboard ในระดบั จงั หวัด

การเฝา ระวังในประชาชนที่เดนิ ทางขา มแดนจากประเทศมาเลเซีย
โดยใช อสม. ผใู หญบา น เปนตน ในการเฝาระวังในพืน้ ท่ี

มีการช้ีแจงแนวทางการปฏบิ ตั ิเก่ียวกับการดูแลรกั ษาปองกันควบคมุ
โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019

สถานบริการดําเนินการตามมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข
https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/g_health_care.php

11

ตารางท่ี 2 ผลการประเมินตนเองการดาํ เนินกจิ กรรมเฝาระวัง ปองกัน แล

ประเดน็

- มีระบบติดตาม ประเมิน และรายงานผลการรักษาโรค COVID-19 และโรคอื่นๆ
4.4 ขอ มูลและโลจสิ ติกส
- มีการปองกนั และรกั ษา (Test kit, vaccine, treatment) และผลกระทบทางเศรษฐกิจ สงั คม และชุมชน
4.5 การสอื่ สาร
- มกี ารสอ่ื สารชุมชนในการจัดการขา วลวง (Fake news)
- มกี ารสื่อสารสถานการณฉุกเฉนิ ในพ้ืนที่
4.6 มกี ารประสานการดําเนนิ งาน
- ภายในหนวยงานสงั กดั กระทรวงสาธารณสุข
- ภายนอกกระทรวงสาธารณสขุ

ละควบคมุ โรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัดนราธิวาส (ตอ )

มกี ารดําเนินงาน ไมมกี ารดาํ เนินงาน

การดําเนินงาน

แหลงขอมูล/เอกสารอางองิ

ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4

รายงานผา นระบบcoward, colab เปนตน



การลงพืน้ ทีป่ ระชาสัมพนั ธขอมูล ขา วสารของทมี ส่อื สารความเสี่ยง
การลงพื้นท่ปี ระชาสมั พนั ธขอ มูล ขา วสารของทมี ส่อื สารความเสยี่ ง

เชน ไลนก ลุมผปู ฏิบตั งิ านระดบั อําเภอ
การประชมุ คณะกรรมการโรคตดิ ตอระดับจงั หวดั

12

ตารางท่ี 2 ผลการประเมินตนเองการดาํ เนนิ กิจกรรมเฝา ระวงั ปอ งกนั และค

ประเด็น

4.7 มีการบูรณาการการดาํ เนินงาน
- ภายในหนวยงานสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ
- ภายนอกกระทรวงสาธารณสุข
5. ผลผลิต/ผลลัพธ จากการดําเนินการ
5.1 มาตรการ/วิธีการทีจ่ ดั ทําขึ้นเฉพาะพน้ื ที่ของจังหวดั เพ่ือแกป ญหาในพืน้ ที่
5.2 ผลลพั ธทีเ่ ปนรปู ธรรมจากการนาํ มาตรการ/วธิ ีการไปปฏบิ ัติ
5.3 Best Practice/นวตั กรรม/กระบวนการ วิธีการใหม ๆ ในการแกไ ขปญหาและบริหารจดั การ
สถานการณฉ ุกเฉนิ ดา นสาธารณสุข

ควบคุมโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวดั นราธวิ าส (ตอ )

มกี ารดําเนนิ งาน ไมม กี ารดาํ เนนิ งาน

การดาํ เนินงาน

แหลงขอมลู /เอกสารอา งองิ

ระยะที่ 1 ระยะท่ี 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4

การประชุมคณะกรรมการ EOC กรณีโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019
การประชุมคณะกรรมการโรคติดตอ ระดับจงั หวัด

13

3. การจดั การสถานการณฉ กุ เฉนิ ดานสาธารณสุขของคณะกรรมการโรคตดิ ตอ
จงั หวดั นราธวิ าส

3.1 ผลการดําเนินงานการจัดการสถานการณฉ กุ เฉินดานสาธารณสขุ ของคณะกรรมการโรคตดิ ตอ
จงั หวัดนราธิวาส

ผลการดาํ เนนิ งานการจดั การสถานการณฉ กุ เฉนิ ดา นสาธารณสขุ ของคณะกรรมการโรคตดิ ตอ จงั หวดั นราธวิ าส
เปน ขอ มลู จากการประเมนิ ตนเองของคณะกรรมการโรคตดิ ตอ จงั หวดั นราธวิ าส มคี ะแนนการประเมนิ แบง เปน 3 ระดบั
ไดแก ใช บางสว น และไมใช ซง่ึ แตล ะระดบั มคี วามหมาย ดังนี้ 1) ใช หมายถึง การปฏบิ ตั งิ านตามรายละเอียด
การประเมนิ ทกุ ประการ 2) บางสว น หมายถงึ การปฏบิ ตั งิ านเปน ไปตามรายละเอียดการประเมนิ บางประการ
3) ไมใ ช หมายถงึ การปฏบิ ตั งิ านไมเ ปน ไปตามรายละเอยี ดการประเมนิ มรี ายละเอยี ดการดาํ เนนิ งานทส่ี าํ คญั
เปน 7 สวน ดังน้ี

สวนท่ี 1 ภาวะผูนาํ และการบริหารจดั การ
สว นที่ 2 กาํ ลงั คนดา นสุขภาพ
สวนที่ 3 เวชภณั ฑ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทยและสาธารณสขุ
สวนที่ 4 ระบบขอมลู สารสนเทศดานสขุ ภาพ
สวนท่ี 5 การเงนิ การคลังดา นสขุ ภาพ
สวนที่ 6 ระบบบรกิ ารสุขภาพ
สวนที่ 7 การมีสวนรวมของชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข และภาคประชาชน ในการบริหาร
และการจดั การสถานการณฉ กุ เฉนิ ดา นสาธารณสขุ กรณกี ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019
(COVID-19)

14

สว นที่ 1 ภาวะผนู าํ และการบริหารจัดการ

1.1 กรอบการดาํ เนนิ การทางกฎหมาย สําหรับการบรหิ ารและการจดั การสถานการณฉ กุ เฉินดานสาธารณสขุ

กรณกี ารแพรร ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 3 คุณลกั ษณะท่ี 1 : ระเบยี บ ขอบังคบั ประกาศ คําส่งั นโยบาย และแผนงาน ในระดบั จงั หวัดทีเ่ กยี่ วขอ งกับการบริหาร
และการจดั การสถานการณฉกุ เฉินดานสาธารณสขุ กรณีการแพรร ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ลาํ ดับท่ี รายการประเมนิ ระดบั เหตุผล/หลกั ฐาน
ใช บางสว น ไมใ ช

มีระเบยี บ ขอบงั คบั ประกาศ คาํ ส่งั http://www2.narathiwat.go.th/nar
ครอบคลมุ การบริหารและการจัดการ a2016/news/?cid=14
1. สถานการณฉุกเฉนิ ดานสาธารณสขุ คาํ ส่งั ประกาศ ไวรสั COVID-19
กรณีการแพรระบาดของโรคติดเช้อื จงั หวัดนราธวิ าส
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

มรี ะเบียบ ขอ บังคบั ประกาศ คาํ สงั่ http://www2.narathiwat.go.th/nar
ครอบคลมุ ทุกระยะของการบริหาร a2016/news/?cid=14
และการจัดการสถานการณฉ ุกเฉนิ ฯ คําสั่ง ประกาศ ไวรัส COVID-19
ไดแก ระยะปองกนั และลดผลกระทบ จงั หวัดนราธิวาส
2. (Prevention and mitigation)
ระยะเตรยี มความพรอ ม (Preparedness)
ระยะเผชญิ เหตหุ รอื การรบั มอื (Response)
และระยะฟน ฟภู ายหลงั เกดิ สถานการณ
(Recovery)

มีการพิจารณาทบทวน ปรับปรุง http://www2.narathiwat.go.th/nar
3. และแกไ ขระเบยี บ ขอ บงั คบั ประกาศ คาํ สง่ั a2016/news/?cid=14
คําสัง่ ประกาศ ไวรสั COVID-19
ใหเ ทา ทันกบั สถานการณทเ่ี ปน ปจจบุ นั จงั หวดั นราธิวาส
อยางสมํ่าเสมอ

15

สว นท่ี 1 ภาวะผูนาํ และการบรหิ ารจดั การ

ตารางที่ 3 คณุ ลักษณะที่ 1 : ระเบยี บ ขอบังคับ ประกาศ คําสั่ง นโยบาย และแผนงาน ในระดับจงั หวดั ทเ่ี ก่ียวของกบั การบรหิ ารและ
การจัดการสถานการณฉ ุกเฉินดา นสาธารณสขุ กรณีการแพรร ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (ตอ )

ลาํ ดบั ท่ี รายการประเมิน ระดับ เหตผุ ล/หลกั ฐาน
ใช บางสว น ไมใช

มรี ะเบยี บ ขอ บงั คับ ประกาศ คําส่งั http://www2.narathiwat.go.th/nar
การกาํ หนดเงื่อนไข และข้ันตอน a2016/news/?cid=14
4. เพอื่ รองรับการกกั กันบคุ คล คาํ สงั่ ประกาศ ไวรัส COVID-19
(quarantine) หรอื การแยกบุคคล จงั หวดั นราธิวาส
(isolation)

ตารางท่ี 4 คุณลกั ษณะที่ 2 : โครงสรา งการประสานงานและการบริหารและการจัดการสถานการณฉ ุกเฉนิ ดา นสาธารณสุข
กรณีการแพรร ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของหนวยงานสาธารณสุขในระดับจงั หวดั

ลาํ ดบั ที่ รายการประเมิน ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
ใช บางสว น ไมใ ช
คําสง่ั สาํ นกั งานสาธารณสขุ จังหวัด
มีโครงสรา งการบรหิ ารและการจดั การ นราธวิ าส ท่ี 770/2564 เรื่อง แตง ต้ัง
สถานการณฉกุ เฉนิ ฯ ทม่ี ีองคประกอบ ทมี ปฏบิ ัติการเชิงรุกเพ่ือตอบโต
1. จากคณะกรรมการทม่ี าจากทุกภาคสว น ภาวะฉกุ เฉนิ ทางดา นสาธารณสุข
ทีเ่ กีย่ วขอ ง (EOC) กรณโี รคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา
2019 ในจังหวดั นราธวิ าส
มีกลไกการเช่ือมโยงและประสาน
2. การทาํ งานในแตล ะระดบั การปฏบิ ตั ิงาน คําสง่ั สํานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั
นราธวิ าส ที่ 770/2564 เรอ่ื ง แตงต้ัง
ภายใตโ ครงสรางการบริหารฯ ทมี ปฏิบตั กิ ารเชิงรุกเพื่อตอบโต
ภาวะฉกุ เฉินทางดานสาธารณสุข
(EOC) กรณีโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา
2019 ในจงั หวัดนราธิวาส

16

สว นท่ี 1 ภาวะผูน าํ และการบริหารจดั การ

ตารางที่ 4 คณุ ลกั ษณะท่ี 2 : โครงสรางการประสานงานและการบรหิ ารและการจดั การสถานการณฉ กุ เฉินดา นสาธารณสุข
กรณกี ารแพรระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ของหนวยงานสาธารณสขุ ในระดับจังหวดั (ตอ)

ลาํ ดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับ เหตผุ ล/หลักฐาน
ใช บางสวน ไมใ ช
คาํ สง่ั สาํ นกั งานสาธารณสขุ จงั หวัด
โครงสรา งการบริหารและการจดั การ นราธิวาส ท่ี 770/2564 เรื่อง แตงตง้ั
การประสานงาน ไดร ับการสนับสนุน ทมี ปฏบิ ตั ิการเชงิ รกุ เพ่ือตอบโต
3. จากคณะกรรมการหรือคณะทํางานตา งๆ ภาวะฉกุ เฉินทางดานสาธารณสุข
ท่มี ีความเชี่ยวชาญเฉพาะดา น (EOC) กรณีโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา
จากทุกภาคสวนท่เี กีย่ วของ 2019 ในจังหวัดนราธิวาส
คําสง่ั สํานักงานสาธารณสขุ จังหวดั
มกี ารกาํ หนดบทบาทหนา ท่คี วามรับผิดชอบ นราธวิ าส ท่ี 770/2564 เรอ่ื ง แตงต้งั
4. ของคณะกรรมการหรือคณะทาํ งานที่ ทีมปฏิบตั ิการเชิงรกุ เพอ่ื ตอบโต
ภาวะฉกุ เฉินทางดานสาธารณสุข
เกี่ยวของอยา งชดั เจน (EOC) กรณีโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา
2019 ในจงั หวดั นราธวิ าส
คณะกรรมการโรคติดตอ จังหวดั
มีการสนบั สนนุ กลไกเพ่อื สรางความเชอ่ื ม่ัน คําส่ังคณะกรรมการโรคติดตอ จังหวัด
5. ตอการจดั สรรทรัพยากรอยางเพยี งพอ นราธวิ าส
สําหรับการลดความเสย่ี ง เตรียมความ
พรอ มและรองรับสถานการณฉกุ เฉินฯ

17

สวนที่ 1 ภาวะผูนาํ และการบรหิ ารจัดการ

ตารางที่ 5 คณุ ลกั ษณะที่ 3 : กฎหมาย ระเบยี บ ขอบังคบั ประกาศ คาํ สง่ั นโยบาย และแผนงาน ในระดับจังหวดั ท่ีเก่ียวของ
กบั การชวยเหลอื จากหนวยงานสาธารณสุขจากภายนอกจงั หวัด เพ่อื รว มบรหิ ารและจัดการสถานการณฉ กุ เฉนิ ดา นสาธารณสขุ
ในการรับมอื กรณีการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ลําดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดบั เหตุผล/หลักฐาน
ใช บางสวน ไมใ ช

มีกฎหมาย ระเบยี บ ขอ บงั คับ ประกาศ
คําส่ัง นโยบาย และแผนงาน ที่เกย่ี วของ
กบั การระดมความชว ยเหลือดา นกําลังคน
1. สาธารณสขุ จากภายนอกจงั หวดั
เพอื่ รว มบรหิ ารและจดั การสถานการณฉ กุ เฉนิ
ดา นสาธารณสุข กรณกี ารแพรร ะบาด
ของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019(COVID-19)

มีกฎหมาย ระเบียบ ขอ บงั คับ ประกาศ จงั หวัดไดร บั สนบั สนุนเวชภณั ฑ/ ยา/
คําสั่ง นโยบาย และแผนงาน ที่เก่ียวของ อปุ กรณจ ากเขตสุขภาพท่ี 12
กับการระดมความชว ยเหลือดา นวัสดุ/
อุปกรณ/ยา/เวชภณั ฑ จากภายนอก
2. จังหวัด เพอื่ รว มบรหิ ารและจดั การ
สถานการณฉุกเฉนิ ดานสาธารณสุข
กรณกี ารแพรระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั
โคโรนา 2019 (COVID-19)

18

สวนที่ 1 ภาวะผนู าํ และการบรหิ ารจัดการ

1.2 กรอบการดําเนินงานของหนว ยงานสาธารณสขุ ในระดบั จังหวัดในการบรหิ ารและการจดั การ

สถานการณฉุกเฉนิ ดา นสาธารณสุข กรณกี ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 6 คุณลักษณะท่ี 4 : คณะกรรมการในการบริหารและจัดการสถานการณฉกุ เฉินดา นสาธารณสุข กรณีการแพรระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ลาํ ดับท่ี รายการประเมิน ระดบั เหตุผล/หลักฐาน
ใช บางสวน ไมใช
คาํ สง่ั สาํ นกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั
มีการจดั ต้ังคณะกรรมการบรหิ าร นราธวิ าส ท่ี 770/2564 เรอื่ ง แตง
1. และจดั การสถานการณฉ กุ เฉนิ ดา นสาธารณสขุ ตง้ั ทมี ปฏบิ ตั กิ ารเชงิ รกุ เพอื่ ตอบโต
ภาวะฉกุ เฉนิ ทางดา นสาธารณสขุ
กรณกี ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอื้ (EOC) กรณโี รคตดิ เชอ้ื
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ในระดบั จงั หวดั ไวรสั โคโรนา2019 ในจังหวัด
นราธิวาส
คณะกรรมการฯ ประกอบดว ยผูแทน คําส่งั จงั หวัดนราธวิ าส
ที่ 4880/2562 เรอ่ื ง แตง ตัง้
2. จากทกุ ภาคสว นทเ่ี กยี่ วขอ ง กบั สถานการณ คณะกรรมการโรคติดตอ จงั หวดั
กรณกี ารแพรระบาดของโรคติดเชอ้ื นราธิวาส
คาํ สงั่ สํานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) นราธวิ าส ท่ี 770/2564 เรอื่ ง แตง
ตง้ั ทมี ปฏบิ ตั กิ ารเชงิ รกุ เพอ่ื ตอบโต
มีการกําหนดหนาท่แี ละอาํ นาจ ภาวะฉกุ เฉนิ ทางดา นสาธารณสขุ
3. หรอื ความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการฯ (EOC) กรณโี รคตดิ เชอ้ื
ไวรสั โคโรนา2019 ในจงั หวัด
ที่ชดั เจน นราธวิ าส
กลมุ ภารกจิ ประสานงาน
4. มีการกาํ หนดแผนการประชุม และเลขานกุ าร ตามคาํ สง่ั
ของคณะกรรมการฯ สํานักงานสาธารณสขุ จังหวัด
นราธิวาส ท่ี 770/2564
19 เรอ่ื ง แตง ต้ังทีมปฏิบตั ิการเชิงรุก
เพ่อื ตอบโตภาวะฉุกเฉนิ ทาง
ดานสาธารณสุข (EOC)
กรณโี รคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา2019
ในจงั หวดั นราธวิ าส

สว นที่ 1 ภาวะผนู ําและการบรหิ ารจดั การ

ตารางท่ี 6 คณุ ลักษณะที่ 4 : คณะกรรมการในการบริหารและจัดการสถานการณฉ กุ เฉินดานสาธารณสุข กรณกี ารแพรร ะบาด
ของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (ตอ)

ลาํ ดับท่ี รายการประเมิน ระดบั เหตุผล/หลกั ฐาน
ใช บางสว น ไมใช

คณะกรรมการฯ มีการกําหนดกลไก คาํ สั่งเพ่ือตอบโตภาวะฉกุ เฉิน
5. ความรว มมอื จากหนวยงานระดับ ทางดา นสาธารณสุข (EOC)
กรณีโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา2019
ปฏิบัตกิ าร ในระดับอําเภอแตละอาํ เภอ

มคี ณะกรรมการฯ ระดบั อาํ เภอที่มี คาํ ส่ังเพอ่ื ตอบโตภาวะฉุกเฉิน
6. โครงสรา งเดยี วกันหรอื สอดคลอง ทางดานสาธารณสขุ (EOC)
กรณีโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา2019
กบั ระดับจังหวดั ในระดบั อําเภอแตละอําเภอ

ตารางท่ี 7 คณุ ลกั ษณะท่ี 5 : หนวยปฏิบัติการดา นสาธารณสุขในการบริหารและการจดั การสถานการณฉ ุกเฉินดานสาธารณสขุ
กรณกี ารแพรระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ลาํ ดบั ที่ รายการประเมนิ ระดับ เหตุผล/หลกั ฐาน
ใช บางสว น ไมใ ช
คาํ สง่ั สาํ นกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั
หนวยปฏิบัติการฯ มีทรพั ยากร และกลไก นราธวิ าส ท่ี 770/2564 เรอื่ ง แตง
1. การสนับสนนุ การดาํ เนินงานจนสาํ เร็จ ตงั้ ทมี ปฏบิ ตั กิ ารเชงิ รกุ เพอื่ ตอบโต
ภาวะฉกุ เฉนิ ทางดา นสาธารณสขุ
ภารกิจ (EOC) กรณโี รคตดิ เชอ้ื
ไวรัสโคโรนา2019 ในจังหวดั
มีการกําหนดหนาทแ่ี ละอํานาจ นราธิวาส
2. หรอื ความรบั ผดิ ชอบของหนว ยปฏบิ ตั กิ ารฯ คาํ สงั่ สํานกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั
นราธวิ าส ที่ 770/2564 เรอ่ื ง แตง
ทชี่ ดั เจน ตง้ั ทมี ปฏบิ ตั กิ ารเชงิ รกุ เพอื่ ตอบโต
ภาวะฉกุ เฉนิ ทางดา นสาธารณสขุ
(EOC) กรณโี รคตดิ เชอื้
ไวรัสโคโรนา2019 ในจงั หวัด
นราธวิ าส

20

สว นที่ 1 ภาวะผนู าํ และการบริหารจดั การ

ตารางท่ี 7 คุณลักษณะท่ี 5 : หนวยปฏิบตั กิ ารดานสาธารณสุขในการบรหิ ารและการจดั การสถานการณฉกุ เฉินดา นสาธารณสขุ
กรณกี ารแพรร ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (ตอ )

ลําดับท่ี รายการประเมนิ ระดบั เหตผุ ล/หลักฐาน
ใช บางสว น ไมใ ช
การประชมุ คณะกรรมการ
หนว ยปฏบิ ัติการฯ มีการประสานงาน โรคตดิ ตอจังหวดั นราธิวาส ครง้ั ที่
ติดตาม และใหข อเสนอแนะ 52/2564 รว มกับศนู ยบรหิ าร
3. ตอแผนการเตรยี มความพรอม สถานการณก ารแพรร ะบาด
โดยการมสี ว นรว มของผมู สี ว นไดส ว นเสยี ของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019
จากทุกภาคสวน (โควิด-19)(ศบค.นธ) ในวันท่ี
24 ธันวาคม 2564 เวลา 09.30 น.

หนว ยปฏบิ ตั กิ ารฯ ทุกระดบั ในจงั หวัด คําสั่งเพ่อื ตอบโตภาวะฉกุ เฉนิ
4. มโี ครงสรา งเดียวกันหรอื สอดคลองกับ ทางดา นสาธารณสุข (EOC)
กรณโี รคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019
ระดับจงั หวดั ในระดบั อําเภอแตละอาํ เภอ

21

สวนท่ี 1 ภาวะผนู ําและการบริหารจดั การ

ตารางที่ 8 คุณลกั ษณะท่ี 6 : กลไกการประสานงานและการสรา งภาคีเครือขายของหนวยงานสาธารณสขุ ในระดบั จังหวดั
ในการบรหิ ารและการจดั การสถานการณฉ กุ เฉนิ ดา นสาธารณสขุ กรณกี ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ลาํ ดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั เหตุผล/หลกั ฐาน
ใช บางสวน ไมใช
การประชมุ คณะกรรมการ
1. มกี ารกาํ หนดกลไกการดําเนนิ งานรว มกนั โรคตดิ ตอจงั หวดั นราธิวาส
ระหวา งภาครฐั เอกชน และภาคประชาชน คร้งั ท่ี 50/2564 รวมกับ
ศนู ยบ รหิ ารสถานการณ
หนวยงานสาธารณสุขในทกุ ระดับมีการ การแพรระบาดของโรคตดิ เชือ้
2. ประสานงานภายใตกลไกภาครฐั เอกชน ไวรัสโคโรนา 2019 (โควดิ -19)
(ศบค.นธ) ในวนั ที่
และภาคประชาชน 13 ธันวาคม 2564 เวลา 09.30 น.

การประชุมคณะกรรมการโรคติดตอ
จงั หวัดนราธิวาส ครง้ั ที่ 51/2564
รว มกบั ศูนยบ รหิ ารสถานการณ
การแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัส
โคโรนา 2019 (โควดิ -19) (ศบค.นธ)
ในวนั ท่ี 17 ธนั วาคม 2564 เวลา 13.30 น.

มกี ารกาํ หนดกลไกการประสานงาน การประชุมคณะกรรมการโรคตดิ ตอ
จังหวัดนราธิวาส คร้งั ท่ี 51/2564
3. และการประชุมวางแผนเพอ่ื ลดความเส่ียง รว มกบั ศูนยบ รหิ ารสถานการณ
และเตรียมความพรอ มรองรับสถานการณ การแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัส
โคโรนา 2019 (โควิด-19) (ศบค.นธ)
ฉกุ เฉินฯ ในวนั ท่ี 17 ธนั วาคม 2564 เวลา 13.30 น.

มกี ารกําหนดกลไกการประสานงาน การประชมุ คณะกรรมการโรคติดตอ
จังหวดั นราธวิ าส ครั้งที่ 41/2564
4. และสรา งภาคเี ครอื ขา ยเพอ่ื สนบั สนนุ การจดั ทาํ รวมกบั ศูนยบริหารสถานการณ
ขอมูลเอกสารเพือ่ กาํ กับตดิ ตาม การแพรระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัส
โคโรนา 2019 (โควิด-19) (ศบค.นธ)
การดําเนนิ งานรวมกัน ในวนั ท่ี 12 ตลุ าคม 2564เวลา 13.30 น.

22

สว นที่ 1 ภาวะผนู าํ และการบรหิ ารจดั การ

ตารางท่ี 8 คุณลกั ษณะที่ 6 : กลไกการประสานงานและการสรา งภาคีเครอื ขา ยของหนว ยงานสาธารณสขุ ในระดับจงั หวดั
ในการบรหิ ารและการจดั การสถานการณฉ กุ เฉนิ ดา นสาธารณสขุ กรณกี ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) (ตอ )

ลาํ ดับท่ี รายการประเมนิ ระดบั
เหตุผล/หลักฐาน

ใช บางสว น ไมใช

คําส่งั สํานักงานสาธารณสขุ จังหวัด

นราธิวาส ที่ 770/2564 เร่อื ง แตงตั้ง

5. มีการบรหิ ารและการจดั การเพอ่ื ลดชองวาง ทมี ปฏบิ ัติการเชิงรุกเพื่อตอบโต
และความซ้าํ ซอนในการดาํ เนนิ งาน ภาวะฉุกเฉินทางดา นสาธารณสุข

(EOC) กรณโี รคตดิ เชอ้ื ไวรสั

โคโรนา 2019 ในจงั หวดั นราธิวาส

การประชมุ คณะกรรมการโรคตดิ ตอ

จงั หวัดนราธวิ าส ครั้งท่ี 49/2564

6. มีกลไกในการระดมทรัพยากรรวมกัน รว มกบั ศนู ยบ ริหารสถานการณ
การแพรร ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัส

โคโรนา 2019 (โควิด-19) (ศบค.นธ)

ในวนั ท่ี 3 ธนั วาคม 2564 เวลา 10.00 น.

ตารางท่ี 9 คณุ ลักษณะท่ี 7 : การบรหิ ารและการจัดการเพอ่ื ลดความเสี่ยงการเกิดโรคของหนวยงานสาธารณสขุ ระดบั จังหวัด
(Risk reduction/Prevention and mitigation) ในการบรหิ ารและการจดั การสถานการณฉ กุ เฉนิ ดา นสาธารณสขุ กรณกี ารแพรร ะบาด
ของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ลําดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับ เหตผุ ล/หลักฐาน
ใช บางสว น ไมใช

จดั กจิ กรรมลดความเสยี่ งตอ การระบาด http://www2.narathiwat.go.th/n
1. ของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 ara2016/news/?cid=14
คําส่งั ประกาศ ไวรสั COVID-19
(COVID-19) จังหวัดนราธวิ าส

รวมมือกับหนว ยงานทเ่ี กยี่ วขอ งใน การประชุมคณะกรรมการโรคติดตอ
2. การวิเคราะหความเส่ยี งการระบาดของ จังหวดั นราธวิ าส คร้งั ที่ 50/2564 รวม
กบั ศนู ยบริหารสถานการณ
โรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 การแพรระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั
(COVID-19) โคโรนา 2019 (โควิด-19) (ศบค.นธ)
ในวนั ที่ 13 ธนั วาคม 2564 เวลา 09.30 น.

23

สวนที่ 1 ภาวะผูนําและการบรหิ ารจดั การ

ตารางที่ 9 คุณลกั ษณะท่ี 7 : การบรหิ ารและการจดั การเพ่อื ลดความเสีย่ งการเกดิ โรคของหนว ยงานสาธารณสุขระดับจงั หวดั (Risk
reduction/Prevention and mitigation) ในการบริหารและการจัดการสถานการณฉกุ เฉนิ ดา นสาธารณสุข กรณกี ารแพรระบาด
ของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) (ตอ )

ลาํ ดบั ที่ รายการประเมนิ ระดับ เหตุผล/หลักฐาน
ใช บางสว น ไมใช

มีการวเิ คราะหและบงชค้ี วามเสยี่ ง การประชุมคณะกรรมการโรคติดตอ
3. ของการระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัส จังหวดั นราธวิ าส ครัง้ ที่ 50/2564 รว ม
กับศนู ยบริหารสถานการณ
โคโรนา 2019 (COVID-19) การแพรระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั
โคโรนา 2019 (โควิด-19) (ศบค.นธ)
ในวนั ที่ 13 ธนั วาคม 2564 เวลา 09.30 น.

4. มีการจัดทําแผนความเสี่ยงใหอยใู นระดับ การประชมุ คณะกรรมการ EOC
ท่ยี อมรับได กรณีโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019

ตารางที่ 10 คณุ ลักษณะท่ี 8 : การบรหิ ารและการจัดการเพอ่ื เตรียมความพรอมรองรับสถานการณฉุกเฉินฯ (Preparedness)
ของหนวยงานสาธารณสุขระดับจงั หวัดและภาคสว นทเ่ี กย่ี วของ

ลําดับที่ รายการประเมนิ ระดับ เหตผุ ล/หลกั ฐาน
ใช บางสวน ไมใช

1. กิจกรรมสง เสริมการศกึ ษาวจิ ัย
เพือ่ พัฒนาระบบ

2. กิจกรรมการพัฒนาแนวทางการดาํ เนินงาน สรปุ การประชมุ EOC เขตสุขภาพท่ี 12
เพื่อเตรยี มความพรอม ครง้ั ที่ 122/2564 ประจาํ วนั ท่ี
6 พฤศจิกายน 2564

24

สวนที่ 1 ภาวะผูน าํ และการบรหิ ารจัดการ

ตารางท่ี 10 คณุ ลกั ษณะท่ี 8 : การบรหิ ารและการจัดการเพือ่ เตรียมความพรอมรองรบั สถานการณฉุกเฉินฯ (Preparedness)
ของหนวยงานสาธารณสุขระดับจงั หวดั และภาคสว นที่เก่ยี วขอ ง (ตอ )

ลาํ ดับท่ี รายการประเมนิ ระดบั เหตุผล/หลกั ฐาน

ใช บางสวน ไมใ ช สรุปการประชมุ EOC เขตสุขภาพท่ี 12
ครั้งที่ 122/2564 ประจําวันที่
มีการทบทวน ปรบั ปรงุ แกไขแนวทาง 6 พฤศจกิ ายน 2564

3. การดําเนินงานใหสอดคลองกบั การประชมุ คณะกรรมการโรคติดตอ
จังหวดั นราธิวาส ครั้งที่ 45/2564
สถานการณปจ จบุ นั รวมกบั ศูนยบริหารสถานการณ
การแพรร ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั
มกี ารกาํ หนดหลกั สูตรเพ่ือพฒั นาบุคลากร โคโรนา 2019 (โควิด-19) (ศบค.นธ)
ในวันท่ี 12 พฤศจกิ ายน 2564
4. ใหม คี วามพรอมตอการดาํ เนินงานตามแผน เวลา 14.00 น.
การประชุมคณะกรรมการโรคติดตอ
รองรับสถานการณฉกุ เฉินฯ จังหวัดนราธวิ าส คร้ังที่ 53/2564
รวมกบั ศูนยบริหารสถานการณ
มีกระบวนการสง เสรมิ การมสี ว นรว ม การแพรระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัส
5. ของภาคสว นตา งๆ ในการจัดการ โคโรนา 2019 (โควิด-19) (ศบค.นธ)
ในวันท่ี 30 ธันวาคม 2564
สถานการณฉ ุกเฉินฯ เวลา 10.00 น.
สรปุ การประชมุ EOC เขตสุขภาพที่ 12
มกี ารเตรยี มการจัดสรรดา นวสั ดุ คร้งั ท่ี 119/2564 ประจาํ วนั ท่ี
6. อปุ กรณ ยา เวชภณั ฑท างยารองรับ 31 ตลุ าคม 2564

แผนสถานการณฉ กุ เฉนิ ฯ

มีการพัฒนาระบบขอ มลู ขา วสาร
7. และเทคโนโลยสี ารสนเทศ

มกี ารพัฒนากลยทุ ธในการสื่อสาร การส่ือสาร ประชาสัมพนั ธโ รค
8. ความเสีย่ ง การสงเสริมสขุ ภาพ ผา นหลายชองทางเพ่ือใหป ระชาชน
เขา ถงึ ขอ มลู เชน ผา นทางขอ ความเสยี ง
และเร่ืองสุขศึกษา ประชาสัมพนั ธเพ่อื สง ตอผาน
แอปพลิเคชนั Line, วิทยกุ ระจาย,
เพจเฟซบุก เปนตน โดยกลุมภารกจิ
สอ่ื สารความเสย่ี ง

25

สวนที่ 1 ภาวะผูน ําและการบรหิ ารจัดการ

ตารางท่ี 10 คณุ ลักษณะที่ 8 : การบรหิ ารและการจัดการเพือ่ เตรียมความพรอมรองรบั สถานการณฉ ุกเฉนิ ฯ (Preparedness)
ของหนวยงานสาธารณสขุ ระดับจังหวัดและภาคสว นท่เี กยี่ วของ (ตอ)

ลําดบั ที่ รายการประเมนิ ระดบั เหตุผล/หลกั ฐาน
ใช บางสว น ไมใ ช

9. มกี ารฝกซอ มแผนการดําเนนิ งาน
สมาํ่ เสมอ

10. มกี ารพัฒนารกั ษาแผนการดาํ เนนิ งาน
ใหอ ยูในระดบั มาตรฐาน

มกี ารประสานงานติดตามและรายงาน การตดิ ตาม และรายงานผลปฏบิ ตั ิงาน
11. ผลการปฏิบตั งิ านตามแผน ในที่ประชมุ แตละคร้งั

ตารางที่ 11 คณุ ลักษณะท่ี 9 : การบรหิ ารและการจดั การการฟน ฟหู ลังเกดิ สถานการณ (Response and recovery)
การแพรร ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ของหนวยงานสาธารณสขุ ระดบั จงั หวดั และภาคสวนที่เกยี่ วขอ ง

ลําดบั ที่ รายการประเมนิ ระดับ เหตผุ ล/หลักฐาน
ใช บางสว น ไมใ ช

1. มีแผนการบรหิ ารและการจัดการ แผนเผชญิ เหตโุ รคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา
การฟน ฟูหลังเกดิ สถานการณฉ กุ เฉินฯ 2019 จังหวดั นราธวิ าส

2. แผนบริหารจัดการมมี าตรการการฟน ฟู แผนเผชญิ เหตโุ รคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา
รองรับสถานการณฉกุ เฉนิ ฯ 2019 จังหวัดนราธวิ าส

แผนการบรหิ ารและการจดั การ แผนเผชญิ เหตโุ รคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา
2019 จังหวดั นราธิวาส
3. การฟนฟหู ลังเกิดสถานการณฉกุ เฉินฯ
สอดคลอ งกับแผนระดบั จังหวัด บญั ชเี บอรโ ทรศพั ทเ พอ่ื ตดิ ตอ ประสานงาน
ระหวา งหนวยงาน จงั หวัดนราธวิ าส
และภาคสว นที่เกย่ี วของ

4. มีการกําหนดกลไกการประสานงาน
และการส่งั การ

26

สวนท่ี 1 ภาวะผูนําและการบรหิ ารจดั การ

ตารางท่ี 11 คณุ ลักษณะที่ 9 : การบรหิ ารและการจัดการการฟนฟูหลงั เกดิ สถานการณ (Response and recovery)
การแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของหนว ยงานสาธารณสุขระดบั จังหวัดและภาคสว นทเี่ ก่ียวของ (ตอ )

ลาํ ดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั เหตุผล/หลกั ฐาน
ใช บางสวน ไมใ ช
แผนเผชญิ เหตุโรคติดเชือ้
5. แผนบรหิ ารจดั การมมี าตรการการฟน ฟู ไวรัสโคโรนา 2019 จังหวัดนราธวิ าส
อยูบ นพ้ืนฐานทรพั ยากรของจงั หวัด แจง แผนเผชญิ เหตุโรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 จงั หวัดนราธวิ าส
6. มีการสื่อสารแผนทม่ี กี ารปรบั แกไ ข ในทปี่ ระชุมจังหวัด
แลวใหก บั ผูมสี วนไดสว นเสยี มกี ารปรับแผนเผชิญเหตุโรคตดิ เช้อื
ไวรัสโคโรนา 2019 จงั หวัดนราธวิ าส
การฝกซอมและจาํ ลองสถานการณ ตามสถานการณทเี่ ปลีย่ นไป
7. เพือ่ การปรบั ปรงุ แกไ ขแผน

อยา งสมํ่าเสมอ

8. มกี ารเผยแพรแ ละสอ่ื สารแผนฯ
สูสาธารณชน

ตารางที่ 12 คณุ ลกั ษณะที่ 10 : การศึกษาวิจยั และขอ มูลเชงิ ประจกั ษ

ลําดบั ท่ี รายการประเมิน ระดับ เหตผุ ล/หลักฐาน
ใช บางสว น ไมใช

1. มกี ารกาํ หนดแผนงานและหัวขอ การวิจัย

มีการจดั สรรทรัพยากรรองรบั การศกึ ษา
2. วจิ ัย

3. มกี ารนําผลการวิจยั ไปประยกุ ตใ ช

27

สว นท่ี 2 กาํ ลงั คนดานสุขภาพ

2.1 ทรัพยากรบคุ คลสําหรบั การบรหิ ารและการจดั การสถานการณฉ กุ เฉินดานสาธารณสุขในการรับมอื
สถานการณก ารแพรระบาดของโรค COVID-19

ตารางที่ 13 คณุ ลักษณะที่ 11 : แผนการพฒั นาบคุ ลากร

ลําดับท่ี รายการประเมิน ระดบั เหตุผล/หลักฐาน
ใช บางสว น ไมใ ช

มีกําหนดสมรรถนะและแผนพัฒนา โครงการพัฒนาศกั ยภาพงานระบาด
1. บุคลากรในการรองรับสถานการณ วทิ ยา ทมี ปฏบิ ตั ิการสอบสวนโรค
(Joint Investigation Team : JIT)
ฉกุ เฉิน และหนว ยปฏิบตั ิการควบคมุ โรคติดตอ
ตาม พรบ.โรคติดตอ พ.ศ. 2558
มีฐานขอมลู ของบุคลากรทีไ่ ดรบั
ทะเบียนผผู านการอบรมเชิงปฏบิ ัติการ
2. การฝก อบรมเกย่ี วกับการจัดการ ทางระบาดวิทยา ของผูรับผิดชอบงาน
สถานการณฉกุ เฉินฯ และไดร บั ระบาดวทิ ยาระดบั ตําบลและอําเภอ
จงั หวัดนราธิวาส
การพัฒนาความรอู ยา งตอเน่ือง

มีแนวทางในการบรู ณาการการทํางาน

3. รวมกนั ของอาสาสมัครท่เี กย่ี วขอ ง
ในการบริหารและการจัดการสถานการณ

ฉกุ เฉนิ ฯ

ตารางที่ 14 คุณลักษณะท่ี 12 : การฝกอบรมและการศึกษา

ลําดับที่ รายการประเมนิ ระดบั เหตุผล/หลกั ฐาน
ใช บางสว น ไมใช

มกี ารประเมินความตอ งการจําเปน
1. ของผเู ขา อบรมในประเดน็ ความถเ่ี ขา อบรม

เนอ้ื หา รวมถงึ จํานวนของผเู ขา อบรม

28

สว นที่ 2 กาํ ลงั คนดา นสขุ ภาพ

ตารางท่ี 14 คุณลกั ษณะที่ 12 : การฝก อบรมและการศึกษา (ตอ)

ลาํ ดับที่ รายการประเมิน ระดบั เหตผุ ล/หลักฐาน
ใช บางสว น ไมใช
กรณีทีม่ ีการจัดอบรมหรอื การประชมุ
2. มแี ผนการฝกอบรมตามความตองการ เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารหนว ยงานจะสงบคุ ลากร
ของบคุ ลากรและหนวยงาน เขา รว มประชมุ เชน การประชมุ
เชิงปฏบิ ัติการ One CDCU One
3. หลกั สตู รฝกอบรมทต่ี อบสนอง District เปน ตน
ตอ สมรรถนะของบุคลากรท่ีแตกตา งกนั

4. หลกั สูตรและสื่อที่สอดคลอ ง
กับผูมสี วนไดส ว นเสยี

5. มีกลไกทที่ างการสาํ หรบั การทบทวน
ปรบั ปรงุ แกไ ขหลักสตู ร

การฝกอบรมมเี น้อื หาครอบคลมุ
6. การฝก หดั และฝกซอ มในสถานการณ

ฉุกเฉนิ

หนว ยงานมคี วามพรอมสําหรับ
7. การจดั ฝกอบรม หรอื สง บคุ ลากรเขารบั

การฝก อบรม

8. มีทรัพยากรเพยี งพอสําหรบั
การจัดฝก อบรม

29

สวนท่ี 3 เวชภัณฑ วัคซนี และเทคโนโลยที างการแพทยและสาธารณสุข

3.1 เวชภณั ฑแ ละวัสดอุ ุปกรณท างการแพทยและสาธารณสุข สาํ หรบั การบริหารและการจดั การสถานการณ
ฉกุ เฉนิ ดา นสาธารณสุข กรณกี ารแพรร ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางที่ 15 คณุ ลักษณะที่ 13 : เวชภณั ฑและวัสดุอปุ กรณทางการแพทยและสาธารณสุข สําหรับรองรับกจิ กรรมการดําเนนิ งาน
ทัง้ ในและนอกโรงพยาบาล รวมถงึ โรงพยาบาลสนามและกจิ กรรมทางดา นสาธารณสุขอน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ งในสถานการณแ พรร ะบาด
ของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ลาํ ดบั ที่ รายการประเมนิ ระดับ เหตุผล/หลกั ฐาน

ใช บางสวน ไมใช มรี ะบบมอนเิ ตอรอัตราการใชทีค่ วบคมุ
โดยกลองภารกิจวสั ดเุ วชภณั ฑแ ละสง
เวชภณั ฑแ ละวสั ดอุ ปุ กรณท างการแพทย กําลังบาํ รงุ
และสาธารณสขุ ทจ่ี าํ เปน สําหรบั รองรบั
สถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื มสี าํ รองการใชเ พยี งพอมากกวา
2 เดือน
1. ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตรวจวันหมดอายุเปน ครงั้ คราว
มีการประเมินและวเิ คราะหความเสย่ี ง
เวชภัณฑแ ละวสั ดอุ ปุ กรณทางการแพทย มโี กดงั สําหรับเกบ็ วัสดุ อปุ กรณ
และสาธารณสขุ ทีจ่ าํ เปน ท่แี ยกออกจากโกดังชนดิ อื่น
กระตกิ วัคซนี
2 เวชภณั ฑและวัสดอุ ุปกรณฯ มีปรมิ าณ Doltalog
ทเ่ี พยี งพอ Inter face
ตเู ยน็
มีแนวทางในการตรวจสอบคุณภาพ
ขอสนบั สนนุ จากโรงพยาบาลแมขาย
3. และความพรอมในการใชงาน ในจงั หวัด
ของเวชภัณฑและวัสดอุ ุปกรณฯ

เปน ระยะตามแนวทางทีก่ าํ หนดไว

มกี ารบํารงุ รกั ษา การหมนุ เวียน

4. และการสาํ รองเวชภณั ฑแ ละวสั ดอุ ปุ กรณฯ

ตามแนวทางทกี่ าํ หนดไว

มรี ะบบหว งโซค วามเยน็ สําหรบั การขนสง

5. กระจายเวชภณั ฑแ ละอปุ กรณฯ ใน
สถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื

ไวรัสโคโรนา 2019

มีกระบวนการในการจัดหาเวชภณั ฑ

6. และอปุ กรณฯ สถานการณฉ กุ เฉนิ
ดา นสาธารณสขุ ทไ่ี มไ ดอ ยใู นบญั ชรี ายการ

วสั ดอุ ปุ กรณพ น้ื ฐาน

30

สว นท่ี 3 เวชภัณฑ วคั ซนี และเทคโนโลยีทางการแพทยแ ละสาธารณสขุ

ตารางที่ 16 คณุ ลกั ษณะท่ี 14 : ยาและเวชภัณฑ (Pharmaceutical services) ในสถานการณแ พรร ะบาดของโรคติดเชอ้ื
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ลําดับท่ี รายการประเมิน ระดับ เหตผุ ล/หลกั ฐาน

ใช บางสวน ไมใช โรงพยาบาลทกุ แหงในจังหวัด
บริหารจัดการ
ยาและเวชภณั ฑทางการแพทย
โรงพยาบาลทกุ แหงในจงั หวัด
และสาธารณสุข ทจ่ี ําเปน สาํ หรบั รองรับ บรหิ ารจัดการ

สถานการณก ารแพรระบาดของโรคตดิ เชือ้ โรงพยาบาลทกุ แหง ในจงั หวดั
บรหิ ารจดั การ
1. ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
มีการประเมินและวิเคราะหความเส่ยี ง โรงพยาบาลทกุ แหง ในจงั หวัด
บริหารจัดการ
เวชภณั ฑแ ละวสั ดุอุปกรณทางการแพทย
ขอสนับสนุนเขต หรือกระทรวง
และสาธารณสขุ ท่จี าํ เปน

ยาและเวชภัณฑท่ีจาํ เปน สาํ หรบั รองรับ

2. สถานการณการแพรร ะบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) มปี ริมาณ

ทเ่ี พียงพอ

ยาและเวชภัณฑมแี นวทางในการตรวจสอบ

คุณภาพและความพรอ มในการใชงาน
3. ของทีจ่ าํ เปน สาํ หรับรองรบั สถานการณ

การแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019

(COVID-19)

ยาและเวชภณั ฑม แี นวทางในการบาํ รงุ

รกั ษา การหมุนเวียน และการสํารอง

4. ที่จําเปน สาํ หรบั รองรบั สถานการณ
การแพรระบาดของโรคตดิ เชื้อ

ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

อยางปลอดภัย
มีข้ันตอนหรือแนวทางในการจัดหายา

และเวชภัณฑท่จี ําเปน สําหรบั รองรับ

5. สถานการณฉุกเฉินฯดานสาธารณสุข

ทไ่ี มไ ดอยูใ นบญั ชีรายการวัสดอุ ปุ กรณ

พืน้ ฐาน

31

สว นท่ี 3 เวชภณั ฑ วคั ซีนและเทคโนโลยีทางการแพทยแ ละสาธารณสขุ

ตารางที่ 17 คุณลกั ษณะที่ 15 : หองปฏบิ ตั ิการ (Laboratory Services) ในสถานการณแ พรร ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)

ลาํ ดบั ที่ รายการประเมนิ ระดบั เหตผุ ล/หลกั ฐาน
ใช บางสวน ไมใช
มกี ารใชอุปกรณท ่ผี า นมาตรฐาน
วสั ดอุ ปุ กรณใ นหอ งปฏบิ ตั กิ ารทจ่ี าํ เปน
สําหรบั รองรบั สถานการณก ารแพรร ะบาด
1. ของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019
(COVID-19) ผา นการประเมนิ
และวเิ คราะหความเสีย่ ง

วสั ดอุ ปุ กรณใ นหอ งปฏบิ ตั กิ ารทจี่ ําเปน มีการจดั ซอื้ และไดรับการสนับสนุน
สําหรบั รองรบั สถานการณก ารแพรร ะบาด จากหนวยงานสว นกลาง
2. ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) มีปรมิ าณที่เพียงพอ หองปฏบิ ัตกิ าร (Laboratory
Services) จะตองผานการตรวจ
มแี นวทางในการการตรวจสอบคณุ ภาพ มาตรฐานจากศูนยวทิ ยาศาสตร
และความพรอ มในการใชง านของวสั ดุ การแพทยท่ี 12 สงขลา
อปุ กรณ ในหอ งปฏบิ ตั กิ ารทจ่ี ําเปน สาํ หรบั
3. รองรบั สถานการณก ารแพรร ะบาด การต้งั งบ และจดั ซื้อวัสดอุ ุปกรณ
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 เพ่อื ใชก รณรี องรับสถานการณฉ กุ เฉิน
(COVID-19)
มกี ารตรวจคุณภาพนํ้าในโรงพยาบาล
มีกระบวนการในการจัดหาวสั ดุอุปกรณ และโรงพยาบาลสนาม โดยสง ตรวจ
ทีศ่ นู ยวิทยาศาสตรการแพทยท ี่ 12
4. ในหองปฏบิ ัตกิ ารท่เี ปนพเิ ศษเพม่ิ เติม สงขลา
สาํ หรบั รองรบั สถานการณฉ กุ เฉินฯ

ดานสาธารณสขุ

มรี ะบบขนสงทีป่ ลอดภัย และการสง

สงิ่ ตรวจทางชีวภาพและสิง่ แวดลอม

5. เพ่อื การทดสอบและการยืนยนั
จากหอ งปฏบิ ัตกิ ารในระดบั จงั หวดั

และศนู ยวิทยาศาสตรการแพทย

ประจําเขตสขุ ภาพ

32

สวนท่ี 3 เวชภณั ฑ วคั ซีนและเทคโนโลยีทางการแพทยแ ละสาธารณสุข

ตารางท่ี 18 คณุ ลักษณะที่ 16 : การบรหิ ารและการจดั การโลหติ (Blood Services) ในสถานการณแ พรระบาด
ของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ลาํ ดบั ท่ี รายการประเมิน ระดบั เหตผุ ล/หลักฐาน

ใช บางสวน ไมใช บริหารจดั การตามมาตรฐาน
ของโรงพยาบาล
วัสดอุ ุปกรณที่จําเปน ในการบรหิ าร
บรหิ ารจัดการตามมาตรฐาน
และการจดั การโลหิต สาํ หรบั รองรับ ของโรงพยาบาล

1. สถานการณก ารแพรระบาด บรหิ ารจัดการตามมาตรฐาน
ของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ของโรงพยาบาล

(COVID-19) ผา นการประเมนิ และวเิ คราะห บรหิ ารจัดการตามมาตรฐาน
ของโรงพยาบาล
ความเส่ยี ง

วัสดอุ ปุ กรณที่จาํ เปน ในการบรหิ าร

2. และการจดั การโลหติ มีปรมิ าณท่เี พยี งพอ

ตอการดําเนนิ งาน

มีการบรหิ ารและการจดั การโลหิต

3. (เกบ็ รวบรวม เก็บรกั ษา รวมถึง
การกระจาย) ทร่ี วดเร็ว ตามแนวทาง

ท่กี ําหนดไว

มกี ระบวนการในการบริหาร

4. และการจดั การโลหติ ทเ่ี ปนพเิ ศษเพ่ิมเติม

สําหรับการบริหารและการจดั การโลหติ

เลอื ดและสว นประกอบของเลือดมี บริหารจัดการตามมาตรฐาน
5. หรอื ไดร บั การตรวจสอบใหม คี วามปลอดภยั ของโรงพยาบาล

เปนไปตามแนวทางทีก่ าํ หนด

33

สวนที่ 4 ระบบขอมลู สารสนเทศดานสุขภาพ

4.1 ระบบการจดั การขอ มูลสําหรับการดําเนนิ การลดความเสีย่ งและเตรียมความพรอ มในการบริหาร
และการจดั การสถานการณฉ กุ เฉนิ ดา นสาธารณสขุ กรณกี ารแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ตารางท่ี 19 คณุ ลักษณะท่ี 17 : ระบบขอมูลสารสนเทศสําหรับการประเมินความเสีย่ งและการวางแผนเตรียมความพรอมสําหรับ
การบรหิ ารและการจดั การสถานการณการแพรระบาดของของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ลําดบั ท่ี รายการประเมนิ ระดับ เหตผุ ล/หลักฐาน
ใช บางสว น ไมใช

มรี ะบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ http://drp.ntwo.moph.go.th/moph-
1. มกี ารกาํ หนดบคุ ลากร รวมถงึ อาํ นาจหนา ที่ nwt/

ทเ่ี กย่ี วขอ ง

มีแนวทางและขนั้ ตอนสําหรบั

การรวบรวมการจดั การรวบรวมขอ มูล

วเิ คราะหขอมูล รวมถึงการเผยแพร

ขอมลู ท่ีจําเปน เพอ่ื ดําเนนิ การประเมิน http://drp.ntwo.moph.go.th/dashb
oard-nwt/
2. ความเสี่ยง วางแผนเตรียมความพรอ ม
ทะเบยี นผปู ว ยโรคตดิ เชอื้
เพอื่ รบั มือสถานการณฉุกเฉิน ไวรสั โคโรนา 2019 กลุม ภารกิจSAT

ดา นสาธารณสขุ กรณีการแพรร ะบาด เผยแพรหนา เพจเฟซบกุ “สาํ นกั งาน
สาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส”
ของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019

(COVID-19)

มฐี านขอมลู สถานการณโ รคตดิ เช้อื

3. ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
ระดบั จงั หวดั และมีการจําแนกตามกลมุ

ความเสย่ี งและกลมุ เปราะบาง

มีการเผยแพรร ายงานขอมลู กิจกรรม

4. เตรียมความพรอมรบั สถานการณ
แพรร ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา

2019 (COVID-19) อยางสมา่ํ เสมอ

34


Click to View FlipBook Version