The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านคมนาคม ประจำปี 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สื่อเสรี, 2023-08-04 00:55:57

ใครเป็นใคร ในแวดวงคมนาคม

วารสารเพื่อการติดต่อสื่อสารด้านคมนาคม ประจำปี 2566

PB วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 21 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง Ministry of Transport คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport ประวัติ ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ไดมี การปฏิรูปราชการบริหารสวนกลางเสียใหมตามแบบอยาง อารยประเทศ โดยจัดจําแนกราชการเปนกรมกองตางๆ มีหนาที่เปนหมวดเหลา ไมกาวกายกัน โดยไดมีการจัดตั้ง กรมโยธาธิการ ขึ้น ในป 2433 เพื่อดูแลการกอสรางถนน ขุดคลอง และการชางทั่วไป รวมทั้งการไปรษณีย โทรเลข และการรถไฟ[4] โดยในขณะนั้น เริ่มมีการสรางถนนตั้งแต พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ซึ่งคือ ถนนเจริญกรุง ซึ่งเปนถนนสายแรกของประเทศไทย ตอมาในป 2435 จึงไดยกฐานะกรมตางๆ ขึ้นเปนกระทรวง ทําใหไดเปลื่ยนชื่อเปน กระทรวงโยธาธิการ โดยมีอํานาจ หนาที่ ตามเดิม ตอมาในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ไดโปรดเกลาฯ ใหเปลื่ยนนามจาก กระทรวงโยธาธิการ เปน Ministry of Transport Ministry of Transport กระทรวงคมนาคม กระทรวงคมนาคม (Ministry of Transport) เปนหนวยงานราชการ สวนกลางประเภทกระทรวงของไทย มีหนาที่เกี่ยวกับดูแลระบบการ ขนสงและบริการคมนาคม ใหมีความคุมคาและทั่วถึง ธุรกิจการขนสง การ วางแผนจราจร และการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานการคมนาคม อยาง เสมอภาคโดยทั่วถึงกัน กระทรวงคมนาคม เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2455 โดยมีอํานาจ หนาที่ ในการดูแลเกี่ยวกับ การขนสงทางรถไฟ การขนสง ทางบก การขนสงทางนํ้า และการสื่อสาร ตอมา เนื่องดวยปญหาสภาพเศรษฐกิจ หลังสงครามโลก ครั้งที่หนึ่ง ทําใหตองมีการตัดทอน สวนราชการที่ซํ้าซอน เพื่อประหยัดงบประมาณแผนดิน จึงไดยุบกระทรวง แลว รวมเขากับ กระทรวงพาณิชย เปน กระทรวงพาณิชยและ คมนาคม ในป 2475 (ตอมาไดรวมกับ กระทรวงเกษตรา ธิการ เปน กระทรวงเกษตรพาณิชยการ และ กระทรวง เศรษฐการ ตามลําดับ) ตอมาไดตรา พระราชบัญญัติปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม (แกไขเพิ่มเติม) พ.ศ. 2477 กําหนดหนาที่ใน กระทรวง เศรษฐการออกเปนทบวง โดยไดจัดตั้ง ทบวงพาณิชยและ คมนาคม กอนที่จะยุบอีกครั้ง ในปเดียวกัน


22 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 23 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport จนกระทั่งในป 2484 ก็ไดมีการจัดตั้ง กระทรวงคมนาคม ขึ้น ใหม ตาม พระราชบัญญัติ กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2484 โดยแบงสวนราชการดังนี้ • สํานักงานเลขานุการรัฐมนตรี • สํานักงานปลัดกระทรวง • กรมการขนสง (ยกฐานะ กองการบินพาณิชย กระทรวง เศรษฐการ) • กรมเจาทา (โอนจาก กระทรวงเศรษฐการ) • กรมไปรษณียโทรเลข (โอนจาก กระทรวงเศรษฐการ) • กรมทาง (ยกฐานะ กองทาง กรมโยธาเทศบาล กระทรวง มหาดไทย) • กรมรถไฟ (โอนจาก กระทรวงเศรษฐการ) ตอมา ในป 2545 ตาม พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ไดแยกงานการสื่อสารและ โทรคมนาคมไปจัดตั้งเปนกระทรวงใหมคือกระทรวง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยใหกระทรวง มีอํานาจหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการขนสงและบริการ คมนาคม ธุรกิจคมนาคม การวางแผนจราจร และการ พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานการคมนาคมอยางเสมอภาค โดยทั่วถึงกัน ป พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม ฉบับที่ 18 พ.ศ. 2562 มีผลบังคับใชวันที่ 15 เมษายน 2562 โดยใหยกฐานะของสํานักงานโครงการพัฒนาระบบราง สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร ขึ้นจัดตั้ง เปนกรมการขนสงทางราง ในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2563 รัฐบาลแตงตั้งปลัดกระทรวง คมนาคมดําร งตํา แหนง หัวหนาศูนยปฏิบัติการแกไข สถานการณฉุกเฉินดาน คม นาคมและการขนสงทั่วราช อาณาจักรซึ่งเปนศูนยภ ายในศูนยบริหารสถานการณการ แพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่ทําการกระทรวง เดิมที่ทําการของกระทรวง เมื่อครั้งยังใชชื่อ กระทรวงโยธา ธิการนั้น แตแรก เริ่มนั้น ตองใชที่ทําการของกรมไปรษณีย (ไปรษณียาคาร) ไปพลางกอน ซึ่งแตเดิมเปนบานของ พระ ปรีชากลการ (สําอาง อมาตยกุล) ตอมา เมื่อไดสรางที่วาการ กระทรวงขึ้น ที่บริเวณวังเดิมของ พระเจาราชวรวงศเธอ กรม หมื่นเจริญผลภูลสวัสดิ์ จึงไดยายไป ใชเปนที่ทําการจนเปนก ระทรวงคมนาคม ตอมา เมื่อมีการยุบเลิกกระทรวงคมนาคม ก็ไดใชที่ทําการของ กระทรวงพาณิชย เปนที่ทําการ ตอมาเมื่อไดมี การ ตั้ง กระทรวงคมนาคม ขึ้นใหม เมื่อป 2484 จึงตองอาศัยของ อาคารที่วาการกรมไปรษณียโทรเลข (ไปรษณียกลาง บ างรัก) ในชั้น 2 ทิศเหนือเปน ที่ทําการ กระทรวงไปกอน และไดยายไปอยูที่บริเวณ ทาชางวังหนา ตอมาจึงไดยา ย ไปที่บริเวณ ถนนราชดําเนินนอก ซี่งเปนที่ ตั้งของกระทรวงมาจนถึงบัดนี้ โดยไดเปดใชงานเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2497 ตรากระทรวงคมนาคม แตเดิม ตราพระรามทรงรถ เปนตราใหญของ กระทรวงโยธาธิ การ ซึ่งเดิมใช ตราอินทรทรงชาง แตมีขนาดโตไป จึงโปรดให เปลี่ยนเปน ตราพระรามทรงรถ ใหเขากับเรื่องตรวจถนนหรือ สรางเมือง ครั้นยุบเลิก กระทรวงโยธาธิการ มารวมกันกับ ราชการสวนอื่น ตราดวงนี้จึงตกมาเปน ตราตําแหนงเสนาบดี กระทรวงพาณิชยและคมนาคม ครั้นเมื่อรับปรุง กระทรวงนี้ ขึ้นใหม เปลี่ยนชื่อเปนกระทรวงเศรษฐการ ตราพระรามทรง รถ ยังใชเปนตราตําแหนงรัฐมนตรีวาการกระทรวงเศรษฐการ ตอมาในป 2484 ไดยุบกระทรวงเศรษฐการ แยกเปนกระ ทรวงการเศรษฐกิจ และกระทรวงคมนาคม ตราพระรามทรง รถ จึงตกมาเปนตราของกระทรวงคมนาคม ตามประกาศ สํานักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 3 ตุลาคม 2484 หนวยงานสังกัดกระทรวง กระทรวงคมนาคมมีสวนราชการและรัฐวิสาหกิจในสังกัด ดังนี้ สวนราชการ • สํานักงานรัฐมนตรี • สํานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม


22 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 23 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง Ministry of Transport คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 23 • กรมการขนสงทางบก • กรมทางหลวง • กรมเจาทา (เคยใชชื่อ กรมการขนสงทางนํ้าและพาณิชย นาวี ในชวงป พ.ศ. 2545 ถึงป พ.ศ. 2552) • กรมทาอากาศยาน • กรมทางหลวงชนบท พัฒนาระบบขนส่งอย่างบูรณาการ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ของประชาชนทุกภาคส่วน และขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ อย่างยั่ งยืน • สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร • สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย • กรมการขนสงทางราง รัฐวิสาหกิจ • บริษัท ทาอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) • การทาเรือแหงประเทศไทย • การรถไฟแหงประเทศไทย • บริษัท ขนสง จํากัด • การทางพิเศษแหงประเทศไทย • การรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย • องคการขนสงมวลชนกรุงเทพ • บริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด • สถาบันการบินพลเรือน • บริษัท รถไฟฟา ร.ฟ.ท. จํากัด (จัดตั้งในฐานะบริษัทลูก ของการรถไฟแหงประเทศไทย แตเปนรัฐวิสาหกิจที่ขึ้นตรง ตอกระทรวงคมนาคม) • บริษัท ไทย-อะมาดิอุส เซาทอีสต เอเชีย จํากัด หนวยงานอื่นของรัฐ • สํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย (เปนหนวยงาน ที่แยกออกจาก กรมการบินพลเรือน) ชองทางติดตอ สํานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม 38 ถนนราชดําเนินนอก แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพฯ 10100 Tel : 02-2833000 Fax : 02-2813959 E-mail : [email protected] Website : www.mot.go.th


24 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 25 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport ผูบริหารระดับสูง สํานักงานรัฐมนตรี สํานักงานปลัด นายศักดิ์ สยาม ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม นายวีรศักดิ์ หวังศุภกิจโกศล รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม นายอธิรัฐ รัตนเศรษฐ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม นายชยธรรม์ พรหมศร ปลัดกระทรวงคมนาคม นายจิรุตม์ วิศาลจิตร อธิบดีกรมการขนส่งทางบก (รักษาราชการแทนรองปลัดกระทรวง ด้านอํานวยการ) นายสรพงศ์ ไพฑูรย์พงษ์รองปลัดกระทรวง (หัวหน้ากลุ่มภารกิจด้านการขนส่ง) นายพิศักดิ์ จิตวิริยะวศินรองปลัดกระทรวง (หัวหน้ากลุ่มภารกิจการพัฒนาโครงสร้างพื้ นฐานด้านทางหลวง)


24 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 25 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง Ministry of Transport คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport ส่วนราชการในสังกัด นายอภิรัฐ ไชยวงศ์น้อย อธิบดีกรมทางหลวงชนบท นายพิเชฐ คุณาธรรมรักษ์ อธิบดีกรมการขนส่งทางราง นายปั ญญา ชูพานิชผู้อํานวยการสํานักงานนโยบายและแผน การขนส่งและจราจร นายสราวุธ ทรงศิวิไลอธิบดีกรมทางหลวง รัฐวิสาหกิจในสังกัด นายกิตติกานต์ จอมดวง จารุวรพลกุล ผู้อํานวยการองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ นายกีรติ กิจมานะวัฒน์ผู้อํานวยการใหญ่ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) นายสัญลักข์ ปั ญวัฒนลิขิตกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ขนส่ง จํากัด ณพศิษฏ์ จักรพิทักษ์ กรรมการผู้อํานวยการใหญ่ บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จํากัด คุณไตรทิพย์ ศิวะกฤษณ์กุล คณะกรรมการ และรักษาการกรรมการผู้จัดการ บริษัท เอสอาร์ที แอสเสท จํากัด นายสุเทพ พันธุ์เพ็ง กรรมการผู้อํานวยการใหญ่ บริษัท รถไฟฟ้ า ร.ฟ.ท. จํากัด นางสาวศุภวรรณ ถนอมเกียรติภูมิผู้จัดการ บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จํากัด นางสาวภัคณัฏฐ์ มากช่วย ผู้ว่าการสถาบันการบินพลเรือน นายกริชเพชร ชัยช่วย ผู้ตรวจราชการกระทรวงคมนาคม รักษาราชการ อธิบดีกรมเจ้าท่า นายจิรุตม์ วิศาลจิตร อธิบดีกรมการขนส่งทางบก นายปริญญา แสงสุวรรณอธิบดีกรมท่าอากาศยาน นายนิรุฒ มณีพันธ์ ผู้ว่าการการรถไฟแห่งประเทศไทย นายสุรเชษฐ์ เหล่าพูลสุข ผู้ว่าการการทางพิเศษแห่งประเทศไทย นายภคพงศ์ ศิริกันทรมาศ ผู้ว่าการการรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย นายเกรียงไกร ไชยศิริวงศ์สุข ผู้อํานวยการการท่าเรือแห่งประเทศไทย


26 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 27 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport สํานักงานปลัดกระทรวงคมนาคม 38 ถนนราชดําเนินนอก แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพฯ 10100 Tel : 02-2833000 Fax : 02-2813959 E-mail : [email protected] Website : www.mot.go.th สํานักงานรัฐมนตรี Tel : 0-2283-3017-18 Fax : 0-2282-1236 สํานักงานบริหารโครงการภายใต้บันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือระหว่างรัฐบาลไทย-จีน Tel : 0-2283-3210 Fax : 0-2280-0114 • กลุ่มตรวจสอบภายใน Tel : 0-2283-3148 Fax : 0-2280-7485 • กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร Tel : 0-2283-3043 Fax : 0-2281-8958 • ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงคมนาคม Tel : 0-2283-3208 Fax : 0-2283-3480 • ศูนย์ปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนน Tel : 0-2283-3153 Fax : 0-2283-3153 • กองกลาง Tel : 0-2283-3065, 0-2283-3085 Fax : 0-2281-3959, 0-2281-2785 • กองกฎหมาย Tel : 0-2283-3062, 0-2283-3137 Fax : 0-2280-6116 • กองการต่างประเทศ Tel : 0-2283-3013 Fax : 0-2280-1714 • กองตรวจราชการ Tel : 0-2283-3084 Fax : 0-2280-6117 • กองบริหารการคลัง Tel : 0-2283-3033, 0-2283-3042 Fax : 0-2283-3108 • กองบริหารทรัพยากรบุคคล Tel : 0-2283-3083 Fax : 0-2280-6115 • กองเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ Tel : 0-2283-3258 Fax : 0-2281-8961 • กองยุทธศาสตร์และแผนงาน Tel : 0-2283-3102, 0-2283-3112 Fax : 0-2281-4191 • กองอุทธรณ์เงินค่าทดแทน Tel : 0-2283-3141 Fax : 0-2280-6401 • ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื�อสาร Tel : 0-2283-3047 Fax : 0-2281-3659 • สํานักงานคณะกรรมการค้นหาและช่วยเหลืออากาศยานและเรือที�ประสบภัย Tel : 0-2285-5450-1 Fax : 0-2286-2925 • สํานักงานคณะกรรมการสอบสวนอุบัติเหตุและและอุบัติการของอากาศยาน Tel : 0-2287-3198 Fax : 0-2286-2925 สายด่วนศูนย์ปลอดภัยคมนาคม : 1356 ติดต่อกระทรวงคมนาคมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง


26 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 27 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง Ministry of Transport คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport กรมเจ้าท่า : 1278 ถ.โยธา แขวงตลาดนอย เขตสัมพันธวงศ กรุงเทพฯ 10100 Tel : 02-2331311-8 Fax : 02-238-3017 E-mail : [email protected] Call Center : 1199 Website : https://md.go.th กรมการขนส่งทางบก : 1032 ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 Tel : 02-2718888 Call Center และศูนยคุมครองผูโดยสารสาธารณะ : 1584 Website : www.dlt.go.th กรมท่าอากาศยาน : 71 ซอยงามดูพลี ถนนพระรามที่ 4 แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 Tel : 02-2870320-9 Fax :02-2863373 E-mail : [email protected] Website : www.airports.go.th กรมทางหลวง : 2/486 ถนนศรีอยุธยา แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 Tel : 02-3546668-75, 02-2063789 Fax : 02-3546738 E-mail : [email protected] Website : www.doh.go.th กรมทางหลวงชนบท : เลขที่ 9 ถ.พหลโยธิน แขวงอนุสาวรีย เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 Tel : 02-5515000 Fax : 02-5515896 E-mail : [email protected] สายดวน : 1146 Website : https://drr.go.th สํานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร : เลขที่ 35 ถนนเพชรบุรี แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 Tel : 02-2151515, 02-2156687, 02-2155410, 02-2162852 Fax : 02-2164168 E-mail : [email protected] Website : www.otp.go.th กรมการขนส่งทางราง : อาคาร ณ ถลาง ชั้น 4-5, 514/1 ถ.หลานหลวง แขวงสี่แยกมหานาค เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 Tel : 02-1642626 Fax : 02-1642617 E-mail : [email protected] Website : www.drt.go.th การรถไฟแห่งประเทศไทย : เลขที่ 1 ถ.รองเมือง แขวงรองเมือง ปทุมวัน กทม.10330 Call Center : 1690 Website : www.railway.co.th การท่าเรือแห่งประเทศไทย : 444 ถ.ทาเรือ แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพ 10110 Tel : 02-2693000 Fax : 02-6727156 Website : www.port.co.th การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย : 175 ถ.พระราม 9 หวยขวาง กรุงเทพฯ 10310 Tel : 02-7164000 Fax : 02-7164019 Call Cente r: 02-7164044 E-mail : [email protected] Website : www.mrta.co.th การทางพิเศษแห่งประเทศไทย : 111 ถ.ริมคลองบางกะป แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 Tel : 02-5589800 Fax : 02-5589788-9 E-mail : [email protected] Website : www.exat.co.th องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ : 131 ถนนวัฒนธรรม หวยขวาง กทม. 10310 Tel : 02-2460339, 02-2460741-4 Fax : 02-2472189 Email : [email protected] Website : www.bmta.co.th สถาบันการบินพลเรือน : 1032/355 ถ.พหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 Tel : 02-2725741-4 Fax : 02-2725288 Website : www.catc.or.th บริษัท ขนส่ง จํากัด : 999 ถ.กําแพงเพชร2 แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กทม. 10900 Tel : 02-9362852-66 Call Center : 1490 Website : http://home.transport.co.th บริษัท ท่าอากาศยานไทย จํากัด (มหาชน) : 333 ถนนเชิดวุฒากาศ แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพฯ 10210 ประเทศไทย Tel : 02-5351192 Fax : 02-5353864 E-mail : [email protected] Website : www.airportthai.co.th บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จํากัด : 102 ซอยงามดูพลี ถนนพระราม 4 แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 Tel : 02-2873531-41 Fax : 02-2873131 E-mail : [email protected] Website : www.aerothai.co.th บริษัท โรงแรมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ จํากัด : 999 อาคารโรงแรมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ หมู1 ต.หนองปรือ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 10540 Tel : 02-1311035-46 Fax : 02-1311189 E-mail : [email protected] Website : www.suvarnabhumihotel.co.th บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จํากัด : สถานีกลางบางซื่อ เลขที่ 10 ถนนกําแพงเพชร แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Tel : 02-4815100 Call Center : 1690 หรือ 02-3085600 # 0 Email : [email protected] Website : www.srtet.co.th บริษัท เอสอาร์ที แอสเสท จํากัด : 1 ถนน รองเมือง แขวง รองเมือง เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 Tel : 065-0387363, 065-0387582 Website : https://srtasset.com เบอร์โทรศัพท์ส่วนราชการในสังกัด เบอร์โทรศัพท์รัฐวิสาหกิจในสังกัด


28 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 29 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport ข่าวสาร แวดวง คมนาคม “คมนาคม” ลุยตรวจการปฏิบัติงานศูนยบัญชาการเครือขายสถานี ตรวจสอบนํ้าหนักยานพาหนะ สุมตรวจการทํางาน 6 สถานีฯ พบ รถบรรทุกหนักเกิน 2 คัน จับกุมสงตํารวจดําเนินการตามกฎหมาย เตรียมทําหนังสือถึงสหพันธขนสงฯ ขอขอมูลสวยสติกเกอรรถ บรรทุกเพิ่มเติม “ทางหลวง” เปดเพิ่ม 2 เสนทางใหใชความเร็ว 120 กม./ชม. เพิ่ม เติม พื้นที่ “สระบุรี & ปทุมธานี” ระยะทางรวม 32.60 กม. ดีเดย 1 ก.ค.นี้ พรอมเตรียมรองรับ–อํานวยความสะดวกปลอดภัย แนะ ผูใชทางปฏิบัติตามกฎจราจรอยางเครงครัด นายมนตรี เดชาสกุลสม ผูตรวจราชการกระทรวงคมนาคม ในฐานะประธานคณะทํางานตรวจสอบขอเท็จจริงกรณีการ ติดสินบนเจาหนาที่โดยการติดสติกเกอรบนรถบรรทุก เปด เผยวา คณะทํางานฯ ตรวจการปฏิบัติงานศูนยบัญชาการ เครือขายสถานีตรวจสอบนํ้าหนักยานพาหนะ สํานักงาน ควบคุมนํ้าหนักยานพาหนะ กรมทางหลวง (ทล.) เพื่อตรวจ สอบกระบวนการทํางาน ระบบควบคุม การเชื่อมตอขอมูล ระหวางศูนยฯ กับสถานีตรวจสอบนํ้าหนักทั่วประเทศ ซึ่ง ศูนยฯ รับขอมูลแบบ Real Time จากสถานีควบคุมนํ้าหนัก รถบรรทุกทุกระบบ ประกอบดวย ระบบชั่งนํ้าหนักแบบเครื่อง ชั่งนํ้าหนักรถขณะหยุดนิ่ง (Static) ระบบชั่งนํ้าหนักยาน พาหนะขณะเคลื่อนที่ (Weigh in Motion: WIM) และจาก หนวยตรวจสอบนํ้าหนักเคลื่อนที่ (Spot Check) สําหรับระบบการทํางานของศูนยฯ หากพบรถบรรทุกไม เขาชั่งนํ้าหนักที่สถานีฯ เจาหนาที่ประจําศูนยฯ จะประสาน ไปยังเจาหนาที่ประจําสถานีฯ เพื่อใหเรียกรถบรรทุกคันดัง กลาวมาชั่งนํ้าหนัก มีเจาหนาที่ประจําตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อ “คมนาคม” ทําหนังสือถึงสหพันธ์ขนส่งฯ ขอข้อมูลส่วยรถบรรทุกเพิ่ ม ดูการทํางานและสุมตรวจเจาหนาที่ประจําสถานีฯ ตลอด จนสุมตรวจระบบและรถเขาสถานีฯ ผานจอมอนิเตอรที่ สามารถแสดงผลไดทั้งบริเวณเครื่องชั่งนํ้าหนัก หองควบคุม และจอแสดงคานํ้าหนักรถที่สถานีฯ และจัดทํารายงาน สถานการณประจําวันเสนอหัวหนาศูนยฯ ทุกวัน ทั้งนี้คณะ ทํางานฯ สุมตรวจสอบระบบการทํางานของศูนยฯ อาทิ การ ติดตามรถที่ไมเขาดานชั่ง การประสานงานและการสื่อสารระ หวางศูนยฯ กับสถานีฯ รวมถึงหนาจอการมอนิเตอรสถานีฯ ซึ่งมีผลการดําเนินงานเปนที่นาพอใจ สรุปดังนี้ 1.สถานีอุบลราชธานี (ขาออก) สถานีลําลูกกา (ขาเขา) สถานีชัยบาดาล (ขาเขา) สถานีปราจีนบุรี (ขาออก) การ เขาชั่งนํ้าหนักของรถบรรทุกเปนไปดวยความเรียบรอย ไม พบรถบรรทุกนํ้าหนักเกิน 2.สถานีแกงคอย (ขาเขา) คณะ ทํางานฯ เสนอแนะใหปรับปรุงการติดตั้งกลองใหอยูทิศทาง ที่มองเห็นเจาหนาที่และหนาจอมอนิเตอรในหองควบคุมของ สถานี 3.สถานีเพชรบุรี (ขาออก) เสนอแนะใหปรับปรุงระบบ ไฟภายในหองควบคุมของสถานี เพื่อใหสามารถมองเห็นการ


28 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 29 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง Ministry of Transport คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport เริมเปิดจองตั ่ ๋ วทริปรถไฟท่องเที่ยวสุดฟินเคล้าสายฝน ขบวนพิเศษ KIHA183 เดือนกรกฎาคม-กันยายน 2566 ตะลุยเที่ยว 3 แบบ หลากสไตล์ โดนใจนักท่องเที่ยวทุกกลุ่มทุกวัย ปฏิบัติงาน 4.สถานียางตลาด จ.กาฬสินธุ พบรถไมเขาชั่งนํ้า หนัก 1 คัน ศูนยฯ ประสานงานโดยโทรศัพทแจงไปยังสถานีฯ ใหติดตามรถบรรทุกกลับมาชั่งนํ้าหนัก ซึ่งไดรับความรวมมือ เปนอยางดี 5.สถานีสมุทรสาคร (ขาเขาและขาออก) พบการ จับกุมรถบรรทุกนํ้าหนักเกิน 1 คัน และ 6.สถานีระยอง (ขา เขา) พบรถนํ้าหนักเกิน 1 คัน โดยสถานีฯ ที่พบรถบรรทุก หนักเกิน ไดเขาจับกุมและสงใหเจาหนาที่ตํารวจดําเนินการ ตามกฎหมายตอไป ทั้งนี้คณะทํางานฯ เสนอแนะใหสํานักงานควบคุมนํ้าหนัก ยานพาหนะ (สคน.) จัดสรรงบประมาณ เพื่อพัฒนาปรับปรุง ระบบใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมถึงปรับปรุงระบบ Software ใหทันสมัย สามารถประมวลไดอยางรวดเร็ว และ แสดงผลหนาจอไดมากขึ้น พรอมเนนยํ้าศูนยฯ ตรวจสอบ รถใหเขาดานชั่งนํ้าหนักอยางเขมงวดยิ่งขึ้น อยางไรก็ตาม จากการเปดรับแจงเบาะแสและการรองเรียนเกี่ยวกับสวย สติกเกอรบนรถบรรทุก ผานเว็บไซตกระทรวงคมนาคม www.mot.go.th และสายดวนศูนยปลอดภัยคมนาคม โทร. 1356 ตั้งแตวันที่ 12 มิ.ย. 66 จนถึงขณะนี้ยังไมพบขอมูล ใดๆ เพิ่มเติม ดังนั้นจะทําหนังสือถึงสหพันธการขนสงทาง บกแหงประเทศไทย เพื่อขอขอมูลมาประกอบการพิจารณา เพิ่มเติมตอไป. นายเอกรัช ศรีอาระยันพงษ หัวหนาสํานักงานผูวาการ การ รถไฟแหงประเทศไทย เปดเผยวา ตามที่การรถไฟฯ จัด โปรแกรมทองเที่ยวสุดพิเศษ ขบวนรถไฟ KIHA 183 ตอ เนื่องตลอดทั้งป ทั้งแบบวันเดยทริป ไปเชากลับเย็น และ แบบพักคางคืน โดยแตละเดือนจัดโปรแกรมการทองเที่ยว หลายสไตล เพื่อเปดประสบการณใหนักเดินทางไดสัมผัส การทองเที่ยวทางรถไฟอยางหลากหลาย ลาสุด การรถไฟฯ ขออัพเดทโปรแกรมทองเที่ยว ขบวนพิเศษ KIHA 183 ประจํา เดือนกรกฎาคม - กันยายน 2566 เพื่อใหนักเดินทาง เตรียม ตัววางแผนเดินทาง พรอมกับเริ่มเปดใหจองตั๋วโดยสารลวง หนา ตั้งแตวันที่ 21 มิถุนายน 2566 เวลา 08.30 น. เปนตน ไป สามารถจองตั๋วลวงหนากอนวันเดินทางไดไมเกิน 30 วัน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ เดือนกรกฎาคม 2566 : คอนเซ็ปต์ สืบสาน รักษา ต่อยอด (โครงการพระราชดําริ) ชวนเที�ยวตามรอยศาสตร์พระ ราชา ใน 5 เส้นทาง 5 จังหวัด ซึ�งเชื�อมโยงกับโครงการ อันเนื�องมาจากพระราชดําริ ไดแก • วันที่ 1 และ 2 กรกฎาคม 66 (ไปเชากลับเย็น) โปรแกรม “สืบสาน รักษา ตอยอด ที่แหลมผักเบี้ยจังหวัดเพชรบุรี” ราคา 1,499 บาท • วันที่ 8 และ 9 กรกฎาคม 66 (ไปเชากลับเย็น) โปรแกรม “สืบสาน รักษา ตอยอด ที่องคการสงเสริมกิจการโคนมแหง ประเทศไทย จังหวัดสระบุรี” ราคา 1,499 บาท • วันที่ 15 และ 16 กรกฎาคม 66 โปรแกรม “สืบสาน รักษา ตอยอด ศิลปแผนดิน นุงผาซิ่น ตามรอย “ลิซา” เที่ยววัดสวย @พระนครศรีอยุธยา” ราคา 1,499 บาท


30 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 31 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport • วันที่ 22 - 23 กรกฎาคม 66 (พักคางคืน) โปรแกรม “สืบสาน รักษา ตอยอด โครงการพระราชดําริที่เขาชะงุม จังหวัด ราชบุรี” ราคา 3,999 บาท • วันที่ 29 และ 30 กรกฎาคม 66 (ไปเชากลับเย็น) โปรแกรม “สืบสาน รักษา ตอยอด โครงการพระราชดําริ จังหวัด ฉะเชิงเทรา” ราคา 1,499 บาท เดือนสิงหาคม คอนเซ็ปต์ : พิรุณโปรยปราย เที�ยว สบาย ๆ กลางสายฝน มาร่วมกันเปลี�ยนหน้าฝนนี�ให้ เป็ นหน้าฝนที�น่าเที�ยว • วันที่ 5-6 สิงหาคม และ 12-13 สิงหาคม 66 (แบบพักคาง คืน) โปรแกรม “พิรุณโปรยปรายเที่ยวสบายๆ กลางสายฝน นอนชมดาว @ชัยภูมิ” ราคา 3,999 บาท • วันที่ 19 และ 20 สิงหาคม 66 (ไปเชากลับเย็น) โปรแกรม “รับลมฝน ยลเสนหยานเมืองเกาเสพงานศิลป ที่ แปดริ้ว” ราคา 1,499 บาท • วันที่ 26 - 27 สิงหาคม 66 (แบบพักคางคืน) โปรแกรม “พิรุณโปรยปราย เที่ยวสบายๆ @ กาญจนบุรี ราคา 3,999 บาท เดือนกันยายน คอนเซ็ปต์ : นั�งรถไฟอิ�มบุญ ปันรอย ยิ�ม” เที�ยวกันทั�งทีต้องดีต่อใจ การรถไฟฯ ชวนเที�ยว ทําบุญและแบ่งปันรอยยิ�มให้กับน้องๆ ตามแบบฉบับ คนอิ�มบุญ • วันที่ 2 และ 3 กันยายน 2566 (ไปเชากลับเย็น) โปรแกรม “ เที่ยวลพบุรี อิ่มบุญ ปนรอยยิ้ม @ วัดพระบาทนํ้าพุ” ราคา 1,499 บาท • วันที่ 9 และ 10 กันยายน 66 (ไปเชากลับเย็น) โปรแกรม “ทริปอิ่มบุญ ปนรอยยิ้มใหนอง @ นครปฐม ราคา 1,499 บาท • วันที่ 16 และ 17 กันยายน 66 (ไปเชากลับเย็น) โปรแกรม “ทริปอิ่มบุญ ปนรอยยิ้มใหนอง @ราชบุรี ราคา 1,499 บาท • วันที่ 23 และ 24 กันยายน 66 (ไปเชากลับเย็น) โปรแกรม “ทริปอิ่มบุญ ปนรอยยิ้มใหนอง @ฉะเชิงเทรา ราคา 1,499 บาท • วันที่ 30 กันยายน 66 (ไปเชากลับเย็น) โปรแกรม “ทริปอิ่ม บุญ ปนรอยยิ้มใหนอง @เพชรบุรี ราคา 1,499 บาท นายเอกรัช กลาวเพิ่มเติมวา สําหรับผูเดินทางทองเที่ยวทุก ทริปจะมีบริการเสิรฟอาหารเชาสไตลญี่ปุน พรอมเครื่อง ดื่ม และอาหารเที่ยงสุดพิเศษ ตลอดจนรับของที่ระลึกสุด พิเศษจากการรถไฟฯ ทุกคน นอกจากนี้ ภายในขบวนรถจะ มีวิทยากร พรอมดวยเจาหนาที่คอยบรรยายใหบริการและ อํานวยความสะดวกตลอดการเดินทาง ผูสนใจติดตอซื้อตั๋ว โดยสารไดที่สถานีรถไฟทุกแหง หรือ ผานระบบ D-Ticket ตั้งแตวันที่ 21 มิถุนายน 2566 เวลา 08.30 น. เปนตนไป จํากัดจํานวน 200 ที่นั่งตอทริป สามารถจองตั๋วลวงหนา กอนวันเดินทางไดไมเกิน 30 วัน หรือสอบถามขอมูลเพิ่ม เติมที่ศูนยบริการลูกคาสัมพันธ หมายเลขโทรศัพท 1690 ตลอด 24 ชั่วโมง หรือเฟซบุก แฟนเพจ ทีมพีอารการรถไฟ แหงประเทศไทย “การจัดขบวนรถไฟท่องเทียว บนขบวนรถไฟ KIHA 183 � เป็ นการดําเนินการตามนโยบาย นายนิรุฒ มณีพันธ์ ผู้ ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย ที� มอบหมายให้การรถ ไฟฯ บูรณาการความร่วมมือ กับหน่วยงานพันธมิตร ภาครัฐ ภาคเอกชน จังหวัดต่างๆ เพื� อให้รถไฟฯ เข้าไป มีส่วนร่วมสนับสนุนและส่งเสริมการท่องเทียวภายใน� ประเทศ ก่อให้เกิดการกระจายรายได้ส่ท้องถิู� น และ สร้างความเข้มแข็งให้กับเศรษฐกิจฐานรากอย่างยังยืน” �


30 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 31 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง Ministry of Transport คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport วิทยุการบินฯ พัฒนาระบบสนับสนุนการจัดการจราจรทางอากาศ TBO เข้าร่วมสาธิตการบิน ตามแนวทาง ICAO บริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด พัฒนาระบบสนับสนุน การจัดการจราจรทางอากาศ ตามแนวคิด Trajectory-Based Operation (TBO) และเขารวมสาธิตการบิน Multi-Regional TBO ครั้งแรกของโลก ในวันที่ 15 มิถุนายน 2566 พรอมผลักดัน การจัดการจราจรทางอากาศตามแนวทาง ICAO ดร. ณพศิษฏ จักรพิทักษ กรรมการผูอํานวยการใหญ บริษัท วิทยุการบินแหงประเทศไทย จํากัด กลาววา TrajectoryBased Operation หรือ TBO เปนแนวคิดในการจัดการ จราจรทางอากาศรูปแบบใหม ที่เปลี่ยนจากการสื่อสาร ดวยเสียง เปนการแลกเปลี่ยนขอมูลแบบดิจิตัลผานระบบ อัตโนมัติ โดยหนวยงาน ผูใหบริการการเดินอากาศ (Air Navigation Service Providers: ANSPs) และสายการบิน จะวางแผนการบินรวมกันตลอดเสนทางบิน ผานการแลก เปลี่ยนขอมูลที่จําเปนและเปนประโยชน ตอการตัดสินใจ ดวยระบบอัตโนมัติที่เชื่อมตอกัน ซึ่งวิทยุการบินฯ ไดพัฒนา ระบบขึ้นเพื่อรวมทดลองและสาธิตการบินตามแนวคิด TBO นี้ โดยมีหนวยงานที่เขารวม ไดแก องคการบริหารการบินแหง สหรัฐอเมริกา (Federal Aviation Administration: FAA) สํานักงานการบินพลเรือนญี่ปุน (Japan Civil Aviation Bureau: JCAB) สํานักงานการบินพลเรือนสิงคโปร (Civil Aviation Authority of Singapore: CAAS) และ Boeing ซึ่งการสาธิตไดเริ่มทําการบินจากซีแอตเทิล ไปโตเกียว จาก นั้น บินจากโตเกียวผานกรุงเทพฯ ไปลงที่สิงคโปร ตอมาบิน ออกจากสิงคโปรมาลงที่กรุงเทพฯ แลวบินกลับซีแอตเทิล การสาธิตครั้งนี้เปนการบินตามแนวคิด TBO ที่ครอบคลุม หลายภูมิภาคครั้งแรก และจะนําผลการสาธิตเสนอแก ICAO เพื่อเปนขอมูลสําหรับนําไปพัฒนาและใชเปนมาตรฐาน สากล ทั้งดานเทคนิคและดานวิธีปฏิบัติ ดร. ณพศิษฏ จักร พิทักษ กลาวเพิ่มเติมวา TBO เปนเปาหมายการพัฒนา ตามแนวคิดการจัดการจราจรทางอากาศสากล (Global Air Traffic Management Operational Concept) ของ ICAO ซึ่งการเชื่อมตอขอมูลแบบอัตโนมัติระหวางระบบการจัดการ จราจรทางอากาศที่หนวยงานผูใหบริการการเดินอากาศของ แตละประเทศพัฒนาขึ้น จะทําใหสามารถเขาถึงขอมูลไดงาย ขึ้น ชวยทําให การวางแผนและการจัดการจราจรทาง อากาศ มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น มีความคลองตัวมากขึ้น ทัน ทวงทีมากขึ้น ชวยทําใหการวางแผนและการจัดการจราจร ทางอากาศมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ลดความลาชา ลดการใช นํ้ามันเชื้อเพลิง เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม (Sustainable ATM) และพรอมรองรับความหลากหลายของประเภทอากาศยาน รวมถึงปริมาณการจราจรทางอากาศที่เพิ่มสูงขึ้น ในขณะที่ Dr. Patty Chang-Chen, Vice President & General Manager of Boeing Research & Technology กลาววา การเชื่อมตอขอมูลและแลกเปลี่ยนขอมูล ระหวางกัน ไมวาจะเปนขอมูลเสนทางบิน ขอมูลการใช หวงอากาศ สภาพอากาศ ทําใหสามารถวางแผนการบิน ใหสอดคลองกับปจจัยแวดลอมที่เกี่ยวของไดดีขึ้น ชวยยก ระดับความปลอดภัย และเพิ่มประสิทธิภาพในการทําการ บินและชวยลด การปลอยกาซคารบอนไดออกไซด โดย การดําเนินการตามแนวคิด TBO จะเปนการสนับสนุนการ พัฒนาอุตสาหกรรมการบินในอนาคต โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในเอเชีย/แปซิฟก ซึ่งเปนภูมิภาคที่มีการเติบโตอยางรวดเร็ว ในสวนของประเทศไทย Boeing มองวา มีโครงสรางพื้นฐาน การขนสงทางอากาศที่เขมแข็ง TBO จะชวยเพิ่มขีดความ สามารถในการรองรับ (Capacity) และเพิ่มประสิทธิภาพ (Efficiency) การจัดการจราจรทางอากาศและการเติบโต ของอุตสาหกรรมอยางยั่งยืน (Sustainable Aviation) ตอไป


32 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 33 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport “เจ้าท่า” เร่งศึกษาท่าเรือสําราญชลบุรี วงเงิน 7.4 พันล้าน ชง ครม. ปีนี้ “เจาทา” เรงศึกษาทาเรือสําราญ จ.ชลบุรี วงเงิน 7.4 พันลาน บาท จอชงคมนาคม-ครม. ไฟเขียวปนี้ กอนเปดประมูลป 68 เปด ปบริการ 72 หนุนทองเที่ยวทางนํ้าสูมาตรฐานสากล สรางรายได ภายในประเทศ นายวรรณชัย บุตรทองดี ผูอํานวยการกองวิศวกรรม กรม เจาทา (จท.) เปดเผยวา จัดประชุมชี้แจงเรื่องเทคนิคและรูป แบบทาเทียบเรือ (Technical Hearing) โครงการงานศึกษา สํารวจออกแบบทาตนทาง (Home Port) สําหรับเรือสําราญ ขนาดใหญ (Cruise Terminal) บริเวณอาวไทยตอนบน กรุงเทพฯ เนื่องจากที่ผานมา การทองเที่ยวโดยเรือสําราญ (Cruise) มีแนวโนมขยายตัวมากขึ้น สามารถสรางรายได ใหกับประเทศเปนอยางมาก ในปจจุบันประเทศไทย บริเวณ ชายฝงทะเลอาวไทยตอนบน มีทาเรือสําราญที่สายการเดิน เรือสําราญ สามารถเขามาแวะพักทางทะเลฝงอาวไทยตอน บน ไดเพียง 2 ทา คือ ทาเรือกรุงเทพ และทาเรือแหลมฉบัง ขณะเดียวกันพบวาเรือสําราญมาทองเที่ยวในไทยประมาณ 500 เที่ยวตอป ซึ่งแตละทามีขอจํากัด ปญหา อุปสรรค เรื่องสิ่งอํานวยความสะดวกไมเพียงพอ และไมสอดคลอง กับจํานวนนักทองเที่ยวที่กําลังเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะความ จําเปน ในการใหบริการที่รวดเร็ว ทันสมัย ปลอดภัย และได มาตรฐานระดับสากล ดังนั้น เพื่อใหมีการพัฒนาทาเทียบ เรือสําราญของประเทศไทยอยางเต็มรูปแบบ และเปนทาง เลือกการทองเที่ยวทางนํ้าของการทองเที่ยวที่มีคุณภาพ สู มาตรฐานสากล รวมทั้งการสรางรายไดในการนําเงินตรา ตางประเทศเขาสูไทย นายวรรณชัย กลาวตอวา ปจจุบัน จท. ไดวาจางกลุมบริษัท ที่ปรึกษา เพื่อศึกษาการพัฒนาทาเรือสําราญ เมืองพัทยา จ.ชลบุรี ประกอบดวย บริษัท ซี สเปคตรัม จํากัด จํากัด, สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร, บริษัท อินเตอรเนชั่นแนล เอ็นจิเนียริ่ง คอน ซัลแตนส, บริษัท เชาทสทเอเชียเทคโนโลยี จํากัด และ บริษัท ไพรชวอเตอรเฮาสคูเปอรส เอฟ ศึกษาโครงการฯ ใช งบศึกษา 68 ลานบาท เริ่มศึกษาตนป 64 จนถึงปจจุบัน อยูในขั้นตอนการออกแบบรายละเอียดเบื้องตนทางดาน วิศวกรรม สถาปตยกรรม และสิ่งแวดลอม คาดศึกษาแลว เสร็จปลายป 66 หลังจากศึกษาโครงการฯแลวเสร็จ จท. จะเสนอตอกระทรวง คมนาคม, สํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) และคณะรัฐมนตรี (ครม.) พิจารณาเห็นชอบโครงการ ภายในป 66 กอนนํากลับมาดําเนินการใหเอกชนรวมลงทุน ในรูปแบบ PPP Net Cost สัญญาสัมปทาน 30 ป ภายในป


32 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 33 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง Ministry of Transport คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport 67 และเริ่มเปดประมูลภายในป 68 เริ่มกอสรางป 69 คาด แลวเสร็จเปดใหบริการป 72 ระยะเวลากอสราง 4 ป นายวรรณชัย กลาวอีกวา ทั้งนี้โครงการฯ มีวงเงิน 7,412 ลานบาท แบงเปน คาลงทุนกอสราง 5,934 ลานบาท และ คาดําเนินงานและบํารุงรักษา (O&M) 1,478 ลานบาท โดย ภาครัฐเปนผูลงทุนงานโครงสรางพื้นฐานนอกชายฝงและ บนชายฝง ประกอบดวย ทาเทียบเรือและอาคารผูโดยสาร, สะพานเชื่อมทาเรือ, ลานจอดรถ และจัดกรรมสิทธิ์ที่ดินถนน ลอยฟา จํานวน 5,534 ลานบาท คิดเปน 66% สวนเอกชน เปนผูลงทุนคาดําเนินงานและบํารุงรักษา (O&M) ประกอบ ดวย ระบบสาธารณูปโภค และอุปกรณ จํานวน 1,877 ลาน บาท คิดเปน 34% นอกจากนี้จากการศึกษาฯ พบวาโครง การฯ มีผลตอบแทนทางการเงินดังนี้ อัตราผลตอบแทน ภายใน 20% โดยมีระยะเวลาคืนทุน 10 ป สําหรับผลการศึกษาทําเลที่ตั้งของทาเรือสําราญขนาดใหญ บริเวณอาวไทยตอนบน พบวา ทําเลที่ตั้งที่ของโครงการ ควรกําหนดจุดยุทธศาสตรที่สามารถเชื่อมโยงไปยังทาเรือ ตนทาง หรือทาเรือแวะพักอื่นๆ ได รวมทั้งมีแหลงทองเที่ยว ที่อุดมสมบูรณ สามารถรองรับนักทองเที่ยวไดคราวละมากๆ และที่สําคัญ คือจําเปนตองมีความลึกทองนํ้าเพียงพอที่จะ รองรับเรือสําราญขนาดใหญได ซึ่งพบวา บริเวณแหลมบาลี ฮาย เมืองพัทยา จ.ชลบุรี จะเปนทําเลที่มีศักยภาพมากที่สุด ทั้งนี้จากการศึกษาประเภทของทาเรือเพื่อรองรับเรือสําราญ ขนาดใหญ (Cruise Terminal) บริเวณอาวไทยตอนบน พบ วา ในการพัฒนาทาเรือสําราญนั้น แบงออกเปน 3 ประเภท ไดแก 1.ทาเรือตนทาง 2.ทาเรือแวะพัก และ 3.ทาเรือผสม คือเปนทั้งทาเรือตนทางและทาเรือแวะพัก พบวา ทาเรือ สําราญพัทยา เหมาะสมที่จะเปนทาเรือผสม (Hybrid) คือ เปนทั้งทาเรือตนทาง (Home Port) และเปนทาเรือแวะพัก (Port of Call) สําหรับทาเทียบเรือ สามารถรองรับเรือสําราญ พรอมกันได 2 ลํา จนถึงเรือสําราญขนาดใหญ สวนภายใน อาคารพักผูโดยสาร ในกรณีที่เปนทาเรือตนทาง (Home Port) สามารถรองรับผูโดยสารได 1,500 คน/ชั่วโมง และ ในกรณีที่เปนทาเรือแวะพัก (Port of Call) สามารถรองรับผู โดยสาร จํานวน 3,500-4,000 คน/ชั่วโมง โครงการนี้จะพัฒนาที่จอดรถยนต เพื่อรองรับการเชื่อมตอ ทางบกไปยังแหลงทองเที่ยวตางๆ เชน ในกรุงเทพมหานคร พระนครศรีอยุธยา สมุทรปราการ และบริเวณรอบเมือง พัทยา รวมทั้งพัฒนาที่จอดเรือโดยสาร และเรือเร็ว เพื่อ เชื่อมตอการทองเที่ยวไปยังเกาะแกงตางๆ ซึ่งจะไดเห็นรูป แบบของการพัฒนาทาเรือสําราญขนาดใหญ เมืองพัทยา ในลําดับตอไป


34 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 35 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport กพท. เปดราคาตั๋วบินในประเทศ 3 เดือนแรกป 66 “เชียงรายภูเก็ต” แพงสุด 10,779 บาท ขณะที่ถูกสุด “กรุงเทพฯ-ขอนแกน” 529 บาท ดาน “ไทยแอรเอเชีย” ยังยืน 1 แชมปบินตลาดในประเทศ 31% คาดไตรมาส 2/66 คาตั๋วปรับขึ้นเล็กนอย ชี้แมโลวซีซั่นแตมี วันหยุดยาว คนแหเดินทาง รายงานขาวจากสํานักงานการบินพลเรือนแหงประเทศไทย (กพท.) แจงวา จากการติดตามตรวจสอบการเรียกเก็บคา โดยสารเสนทางภายในประเทศ ของชั้นโดยสารชั้นประหยัด โดยรวบรวมขอมูลจากเว็บไซตของสายการบินที่ใหบริการ 6 ราย ไดแก บางกอกแอรเวยส, ไทยสมายล, ไทยแอรเอเชีย, นกแอร, ไทยไลออนแอร และไทยเวียตเจ็ท ชวงไตรมาสที่ 1/66 (ม.ค.-มี.ค. 66) พบวา ไมพบการเรียกเก็บคาโดยสาร เกินเพดานที่สายการบินไดรับอนุมัติตามหลักเกณฑของ กพท. โดยกลุมเสนทางบินที่ไมควบคุมคาโดยสาร ระยะ ทางบินไมเกิน 300 กิโลเมตร (กม.) มีการเดินทางภาคพื้น ไมสะดวก และเปนการบินเชื่อมระหวางภาค ใหบริการรวม 34 เสนทาง โดยเสนทางบินที่คาโดยสารสูงสุด ไดแก เสนทาง เชียงราย-ภูเก็ต 10,779 บาท สวนเสนทางที่คาโดยสารตํ่าสุด ไดแก เสนทาง ขอนแกน-เชียงใหม 1,067 บาท รายงานขาวแจงตอวา สวนกลุมเสนทางบินที่ควบคุมคา โดยสาร ระยะทางบินไมเกิน 300 กม. และมีการเดินทาง ภาคพื้นไมสะดวก เพดานคาโดยสารไมเกิน 22 บาทตอ กม. มีใหบริการ 7 เสนทาง โดยเสนทางที่คาโดยสารสูงสุด และตํ่า สุด ไดแก เสนทางกรุงเทพฯ (สุวรรณภูมิ)-ตราด สูงสุด 5,120 บาท และตํ่าสุด 2,030 บาท ซึ่งเสนทางนี้มีสายการบินเดียว ที่ใหบริการ จึงไมมีการแขงขันดานราคา ขณะที่กลุมเสนทาง บินที่ระยะทางบินเกิน 300 กม. และใหบริการเต็มรูปแบบ เพดานคาโดยสารไมเกิน 13 บาทตอ กม. ใหบริการ 26 เสน ทาง โดยเสนทางที่คาโดยสารสูงสุด ไดแก เสนทาง หาดใหญ- กรุงเทพฯ (สุวรรณภูมิ) 8,580 บาท สวนเสนทางที่คาโดยสาร ตํ่าสุด ไดแก เสนทาง ขอนแกน-กรุงเทพฯ (สุวรรณภูมิ) และ กรุงเทพฯ (สุวรรณภูมิ)-ขอนแกน 1,430 บาท รายงานขาวแจงอีกวา สําหรับสถานการณคาโดยสารของ บริการแบบตนทุนตํ่า (โลวคอสต) ในกลุมเสนทางบินที่ มีระยะทางเกิน 300 กม. เพดานคาโดยสาร 9.40 บาท ตอ กม. พบวา มีการใหบริการ 70 เสนทาง โดยเสนทาง ที่คาโดยสารสูงสุด ไดแก เสนทางหาดใหญ-กรุงเทพฯ (ดอนเมือง) 7,165 บาท สวนคาโดยสารตํ่าสุด ไดแก เสน ราคาตั๋ วเครื่องบินในประเทศพุ่ง! แพงสุด ‘เชียงราย-ภูเก็ต’ ถูกสุด ‘กทม.-ขอนแก่น’ ทางกรุงเทพฯ (สุวรรณภูมิ)-ขอนแกน 529 บาท ซึ่งเปนคา โดยสารราคาพิเศษ และมีจํานวนที่นั่งจํากัดดวย อยางไร ก็ตามเมื่อพิจารณาความสามารถในการใหบริการ พบวา สายการบินไทยแอรเอเชีย มีสัดสวนเสนทางภายในประเทศ สูงสุด คิดเปน 31% รองลงมา สายการบินนกแอร 22% และ สายการบินไทยไลอออนแอร 14% รายงานขาวแจงดวยวา สําหรับคาโดยสารเสนทางภายใน ประเทศ ในไตรมาสที่ 2/66 (เม.ย.-มิ.ย.66) แนวโนมคา โดยสารจะปรับตัวในทิศทางลดลงจากไตรมาสที่ 1/66 เนื่องจากเปนชวงนอกฤดูกาลทองเที่ยว (Low Season) แต ก็ยังมีชวงที่เปนวันหยุดยาว ดังนั้นอาจสงผลตอราคาคา โดยสารที่อาจสูงขึ้นในชวงดังกลาวได เพราะประชาชนมี ความตองการเดินทางสูง นอกจากนี้การรับภาระตนทุนใน ชวงสถานการณการแพรระบาดของโรคโควิด-19 เปนระยะ เวลานาน และตนทุนที่เพิ่มขึ้นจากราคานํ้ามัน และภาวะ เงินเฟอ ทําใหสายการบินตางๆ มีตนทุนเพิ่มสูงขึ้นคอนขาง มาก จึงคาดวาในไตรมาสที่ 2/66 ระดับราคาคาโดยสารจะ ยังคงรักษาระดับ หรือปรับสูงขึ้นเล็กนอยจากไตรมาสที่ 1/66


34 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 35 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง Ministry of Transport คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport ดร.พิเชฐฯ กลาววา การลงพื้นที่ในครั้งนี้เพื่อสํารวจระบบ ปายบอกทาง ปายสัญลักษณ และปายแสดงขอมูลการ เชื่อมตอระหวางโครงการรถไฟฟามหานคร สายสีนํ้าเงิน และโครงการรถไฟฟามหานคร สายสีเหลือง ชวงลาดพราว – สําโรง ณ สถานีลาดพราว พรอมทั้งหารือรวมกับการ รถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย (รฟม.) บริษัท อีส เทิรน บางกอกโมโนเรล จํากัด (Eastern Bangkok Monorial: EBM) ผูใหบริการรถไฟฟาสายสีเหลือง และบริษัท ทางดวน และรถไฟฟากรุงเทพ จํากัด (มหาชน) (BEM) ผูใหบริการ รถไฟฟาสายสีนํ้าเงิน ผลจากการหารือเบื้องตนนั้น ทุกฝายเห็นพองรวมกันวา ควรเรงปรับปรุงปายบอกทาง ปายสัญลักษณ และปาย แสดงขอมูลการเชื่อมตอระหวางรถไฟฟาสายสีนํ้าเงิน และ โครงการรถไฟฟาสายสีเหลือง ดังนี้ 1. ในสวนของสถานีลาดพราวของรถไฟฟาสายสีเหลือง EBM จะปรับปรุงปายบอกทางออกที่ 3 ซึ่งเปนทางออกหลัก สําหรับผูโดยสารที่ตองการเดินทางเชื่อมตอกับรถไฟฟาสาย สีนํ้าเงินดวยทางเดิน (Sky Walk) และเพิ่มปายสัญลักษณ กรมรางลงพื้นที่จับมือ รฟม. EBM BEM เร่งปรับปรุงการเชื่อมต่อสถานีลาดพร้าว หลังสายสีเหลืองเปิดให้บริการตลอดสายจนยอดพุ่งกว่าเจ็ดหมื่นคน แสดงสิ่งอํานวยความสะดวกทั้งลิฟตและบันไดเลื่อนในทาง เขา-ออกอื่นๆ ใหชัดเจนยิ่งขึ้น 2. ในสวนของสถานีลาดพราวของรถไฟฟาสายสีนํ้าเงิน BEM ซึ่งสามารถเชื่อมกับรถไฟฟาสายสีเหลืองไดที่ทางออก ที่ 4 ปจจุบันมีการจัดทําปายบอกทางสําหรับผูโดยสารที่ ตองการเดินทางเชื่อมตอกับรถไฟฟาสายสีเหลืองตลอดทาง เดินไปทางออกที่ 4 แลว โดยจะปรับปรุงขนาดและตําแหนง ใหผูโดยสารเห็นไดชัดเจนยิ่งขึ้น 3. สําหรับในสวนของอาคารจอดแลวจรลาดพราวของ รฟม. ซึ่งเดิมมีผูใชบริการเปนผูโดยสารของรถไฟฟาสายสีนํ้าเงิน นั้น รฟม. ไดปรับปรุงปายบอกทาง ปายสัญลักษณ และ ปายแสดงขอมูลการเชื่อมตอระหวางรถไฟฟาแลว กอนการ เปดใหบริการสถานีลาดพราวของรถไฟฟาสายสีเหลือง แต เนื่องจากโครงสรางและสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ไดแก บันไดและลิฟตของอาคารจอดแลวจร ไมไดเตรียมไวรองรับ ผูโดยสารจากสถานีลาดพราวของรถไฟฟาสายสีเหลือง ที่ ตองการเดินทางเชื่อมตอผานอาคารจอดแลวจรไปยังสถานี ลาดพราวของรถไฟฟาสายสีนํ้าเงิน ที่จะมีผูใชบริการพรอม ดร.พิเชฐ คุณาธรรมรักษ อธิบดีกรมการขนสงทางราง (ขร.) และนายอธิภู จิตรานุเคราะห รองอธิบดีกรมการขนสงทางราง พรอมผูบริหารและเจาหนาที่ ขร. ลงสํารวจพื้นที่สถานีลาดพราว ภายหลังจากการเปดใหประชาชนรวมทดสอบการเดินรถเสมือน จริง (Trial Run) โครงการรถไฟฟา สายสีเหลือง ชวงลาดพราว – สําโรง ตลอดสายอยางเปนทางการเมื่อวานที่ผานมา จํานวน 23 สถานี ซึ่งมีสถานีลาดพราว (YL01) ของโครงการรถไฟฟาสายสีเหลือง ชวงลาดพราว – สําโรง เปนสถานีเชื่อมตอกับสถานี ลาดพราว (BL15) ของโครงการรถไฟฟาสายสีนํ้าเงิน


36 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 37 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport ฝายประชาสัมพันธ กรมทางหลวงชนบท (ทช.) แจงวา ได เริ่มเขาพื้นที่ดําเนินโครงการกอสรางถนนสาย ฌ ผังเมือง รวมเมืองกาฬสินธุ จ.กาฬสินธุ ระยะทาง 2.88 กิโลเมตร (กม.) งบประมาณ 199.850 ลานบาท คาดวาจะดําเนินการ กอสรางแลวเสร็จในป 68 จุดเริ่มตนโครงการบริเวณสามแยก ทล.213 (เดิมตัดกับ ทล. 213 ตอนเลี่ยงเมือง) ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตัดผาน ทุงนาและที่วาง กม.ที่ 1+514 ตัดกับถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก เดิมของ อบต.โพนทอง จากนั้นแนวถนนไปทางทิศตะวัน ตกเฉียงเหนือตัดผานทุงนาจนถึง กม.ที่ 2+449 ตัดกับถนน ทางหลวงชนบทสาย กส.3063 จนถึงจุดสิ้นสุดโครงการ บรรจบกับ ทล.227 รูปแบบโครงการจะเปนถนนกอสรางใหมแบบคอนกรีต เสริมเหล็ก ขนาด 4 ชองจราจร ผิวจราจรกวางชองละ 3.5 เมตร เกาะกลางกวาง 3.2 เมตร ไหลทางกวางขางละ 3 เมตร มีทางเทากวาง 2 เมตร พรอมติดตั้งไฟฟาแสงสวางและสิ่ง อํานวยความสะดวก ทั้งนี้กอนดําเนินการกอสราง ทช. ได จัดประชุมการมีสวนรวมภาคประชาชน และลงนามบันทึก “กรมทางหลวงชนบท” ลุยสร้างถนนผังเมือง รวมเมืองกาฬสินธุ์ เสร็จปี 68 กันเปนจํานวนมาก ดังนั้น รฟม. จะพิจารณาประสานกับ EBM ปรับปรุงปายสัญลักษณและปายแสดงขอมูล และเรง เปดใชบริการลิฟตโดยสารและบันไดสําหรับทางออกที่ 4 โดย เร็วเพื่ออํานวยความสะดวกใหแกผูโดยสาร นอกจากนี้ ดร.พิเชฐฯ เปดเผยเพิ่มเติมวา จากยอดปริมาณ ผูโดยสารรถไฟฟาสายสีเหลืองที่เพิ่มสูงขึ้น ภายหลังเปดให ประชาชนใชบริการที่สถานีลาดพราว (YL01) เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2566 ตั้งแตเวลา 12.00 น. – 21.00 น. มียอดผู โดยสารจํานวน 65,511 คน-เที่ยว และเพิ่มขึ้นเปน 72,807 คน-เที่ยว ในวันที่ 20 มิถุนายน 2566 ภายหลังขยายระยะ เวลาใหบริการตั้งแต 06.00 น. – 21.00 น. ซึ่งจากการลงพื้น ที่ในชวงเวลาเรงดวนเย็น พบวา ประชาชนใหความสนใจ ทดลองใชบริการรถไฟฟาสายสีเหลืองที่สถานีลาดพราว จํานวนมาก จึงเสนอให EBM พิจารณาการทดลองเพิ่ม ความถี่ในการใหบริการเดินรถที่ 5 นาทีตอขบวน ในชวง เวลาเรงดวนเชา (7.00 น. – 9.00 น.) และชวงเวลาเรงดวน เย็น (17.00 น. – 20.00 น.) เพื่อรองรับปริมาณผูโดยสารที่ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งทาง EBM รับไปดําเนินการโดยคาดวาจะเริ่ม การเพิ่มความถี่ในชั่วโมงเรงดวนในสัปดาหหนา กรมการขนสงทางราง จะเรงประสานติดตามการดําเนินงาน ขางตน เพื่อใหการเดินทางเชื่อมตอระหวางเสนทางรถไฟฟา ทั้งสองสายเปนไปดวยความสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย รวม ทั้งอํานวยความสะดวกสําหรับการเดินทางของผูโดยสาร ทุกกลุม ซึ่งจะชวยสงเสริมและสนับสนุนใหระบบการการ เดินทางดวยระบบขนสงมวลชนทางรางเปนโครงขายหลัก ในการเดินทางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลตอไป “กรมทางหลวงชนบท” ฟงเสียงประชาชน ลุยสรางถนนสาย ฌ ผังเมืองรวมเมืองกาฬสินธุ ระยะทางกวา 2.88 กม. วงเงิน 199.850 ลานบาท คาดเสร็จป 68 เชื่อมโยงโครงขายคมนาคม สมบูรณ รองรับการเติบโตของเมือง หนุนทองเที่ยวภายในจังหวัด ความรวมมือ 3 ฝาย (MOU) ระหวาง ทช. ผูรับจาง และผูแทน ประชาชน โดยนําเสนอความเปนมา ลักษณะของโครงการ ขั้นตอนการดําเนินงาน และรายงานผลการดําเนินงาน พรอม ทั้งไดมีการตอบขอซักถาม รับฟงขอเสนอแนะ ความคิดเห็น จากผูนําชุมชน ประชาชน หนวยงานราชการที่เกี่ยวของ เพื่อ สรางความเขาใจใหกับประชาชนและใหสอดคลองกับความ ตองการ และเปนประโยชนตอประชาชนในพื้นที่ใหมากที่สุด เมื่อโครงการแลวเสร็จจะชวยยกระดับมาตรฐานทางเชื่อม โยงโครงขายคมนาคมใหสมบูรณ สนับสนุนการทองเที่ยว ของจังหวัด ใหประชาชนสามารถเดินทางไดอยางสะดวก ปลอดภัยมากยิ่งขึ้น


36 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 37 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง Ministry of Transport คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport กทพ. แนะนําผูใช Easy Pass ขึ้นใชทางดวน-เติมเงินในบัตร เพียง ปละ 1 ครั้ง ไมเสียคารักษาบัญชีเดือนละ 25 บาท ดีเดยเริ่มเก็บ 1 ต.ค.นี้ หลังพบมีบัตร Easy Pass ไมมีการใชงานกวา 25% ทํา ตนทุนเพิ่มสูงขึ้น รายงานขาวจากการทางพิเศษแหงประเทศไทย (กทพ.) ระบุ วา ตามที่ กทพ. ไดเปดใหบริการระบบเก็บคาผานทางพิเศษ อัตโนมัติ และสงมอบบัตร Easy Pass พรอมอุปกรณใหผูใช บริการ โดยไมมีการเรียกเก็บเงินคาประกันบัตรในการสมัคร ใชบริการ โดย กทพ. รับภาระตนทุนคาอุปกรณบัตร Easy Pass มาตั้งแต ป 2555 และไดคืนคาประกันใหผูใช Easy Pass ไปเปนที่เรียบรอยนั้น ทั้งนี้ มีผูใชบริการจํานวนหนึ่ง ที่ไมนําบัตร Easy Pass ไปใช ผานทางพิเศษ หรือหยุดการใชงานตอเนื่องกันเปนระยะเวลา เกิน 1 ป ทั้งยังไมมีการติดตอเพื่อยกเลิกการใชงานบัตร Easy Pass สงผลให กทพ. มีตนทุนในการจัดหาบัตร Easy Pass เพิ่มสูงขึ้น และเกิดคาใชจายในการจัดการ และดูแลรักษา บัญชีเงินสํารองคาผานทางพิเศษ ในบัตร Easy Pass ที่ไมมี การเคลื่อนไหว ซึ่งปจจุบัน กทพ. พบวามีบัตร Easy Pass ที่ ไมมีการเคลื่อนไหวเกิน 1 ป คิดเปน 25 % ของจํานวนบัตร Easy Pass ทั้งหมดในระบบ กทพ. แนะนําผู้ใช้ Easy Pass ขึ้นใช้ทางด่วน-เติมเงินในบัตร ปีละ 1 ครัง ้ ไม่เสียค่ารักษาบัญชี 25 บาท/เดือน เริมเก็บ 1 ต.ค.นี้ ่ ดังนั้น กทพ. จึงมีความจําเปนตองเรียกเก็บคาธรรมเนียมการ รักษาบัญชีเงินสํารองคาผานทางพิเศษในบัตร Easy Pass สําหรับผูใชบริการระบบเก็บคาผานทางพิเศษอัตโนมัติที่ไมมี การใชงานเกิน 1 ป นับแตวันที่ประกาศการทางพิเศษแหง ประเทศไทยนี้ใชบังคับ (1 ตุลาคม พ.ศ. 2565) ซึ่งจะตองชําระคาธรรมเนียมการรักษาบัญชี เงินสํารอง คาผานทางพิเศษในบัตร Easy Pass ในอัตราเดือนละ 25 บาท หรือไมเกินมูลคาคงเหลือในบัญชีเงินสํารองคาผานทาง พิเศษในบัตร Easy Pass และหากถูกหักคาธรรมเนียมเปน 0 บาท กทพ. จะดําเนินการยกเลิกการใชงานและปดบัญชี เงินสํารองคาผานทางบัตร Easy Pass อยางไรก็ตาม กทพ. แนะนําใหผูใชบัตร Easy Pass ขึ้นใช ทางพิเศษ หรือเติมเงินสํารองคาผานทางเพียงปละ 1 ครั้ง เพื่อที่จะไดไมตองเสียคาดูแลบัญชี และขอเชิญชวนผูใช ทางพิเศษอัปเดตบัตร Easy Pass เดิม ใหเปน Easy Pass Plus (+) เพื่อใหสามารถใชไดทั้งระบบ M – Flow ในอนาคต สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ศูนยบริการขอมูลผูใชทาง พิเศษ EXAT Call Center โทร 1543 ไดตลอด 24 ชั่วโมง


38 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 39 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport 111 ปี สร้างสุขทุกการเดินทาง กระทรวง คมนาคม ปจจุบันกระทรวงคมนาคมไดดําเนินงานโดยยึดหลักธรรม ภิบาลและยุทธศาสตรพัฒนาระบบคมนาคมขนสงของ ไทย ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) 5 ดานคือ การบูรณา การระบบคมนาคมขนสง การพัฒนาคุณภาพการบริการ ของภาคคมนาคมขนสง การพัฒนารับปรุงกฎหมายและ การปฏิรูปองคกร การพัฒนาบุคลากรภาคคมนาคมขนสง และการประยุกตใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการพัฒนา ระบบคมนาคมขนสง ซึ่งยุทธศาสตรนี้จะเปนกรอบแนวทาง พัฒนาระบบคมนาคมขนสงของไทยในอนาคต เพื่อรองรับ ความเจริญของประเทศ ตลอดจนยกระดับคุณภาพชีวิตของ ประชาชน อีกทั้งยังเปนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานของ ประเทศใหมีประสิทธิภาพ (Transport Efficiency) ปลอดภัย และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม (Green and Safe Transport) ซึ่งประชาชนสามารถเขาถึงไดอยางเสมอภาคและเทาเทยม (Inclusivity) พรอมเชื่อมโยงการคมนาคมขนสงในทุกมิติ นับตั้งแต 1 เมษายน 2455 ในรัชสมัยของพระ บาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชิราวุธ พระมง กุฎเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 ที่ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ประกาศพระบรมราชโองการใหเปลี่ยนชื่อ “กระทรวง โยธาธิการ” เปน “กระทรวงคมนาคม” จนปจจุบันวันที่ 1 เมษายน 2566 ครับรอบ 111 ป ที่กระทรวงคมนาคมไดเดิน หนาภารกิจโครงการเพื่อพัฒนัา การคมนาคม จากหนาที่ ในสมัยอดีต คือ การดูแลคมนาคมทางบก ทางนํ้า ทางราง และไปรษณียโทรเลข วิวัฒนาการสูการพัฒนาโครงสรางพื้น ฐานของประเทศอยางครบทุกมิติ ทั้งทางบก ทางถนน ทางนํ้า ทางราง และทางอากาศ เพื่อเปนกลไกสําคัญในการพัฒนา ประเทศและคุณภาพชีวิตของประชาชน ดวยโครงสรางพื้น ฐานคมนาคมขนสง


38 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 39 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง Ministry of Transport คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport เสริมแกร่งระบบราง เพื่่ อการเดินทางไร้ขีดจํากัด กระทรวงคมนาคมไดเปดใชสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน อยางเต็มรูปแบบ เมื่อตนป 2566 ที่ผานมา เพื่ออํานวย ความสะดวกการเดินทางใหแกประชาชนดวยการเปนสถานี ศูนยกลางระบบราง นอกจากนี้ยังไดสานตองานพัฒนา เพื่อการขนสงเดินทางที่ครอบคลุมและทั่วถึงมากยิ่งขึ้น ดัง เชน การพัฒนารถไฟความเร็วสง ไทย-จีน รองรับการเชื่อม โยงทางเศรษฐกิจ และเพิ่มขีดความสามารถในการรองรับ ตูสินคา อีกทั้ง การพัฒนารถไฟทางคูและการพัฒนาพื้นที่ รอบสถานีรถไฟความเร็วสูง/ทางคู (TOD) รวมถึงการจัดตั้ง สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบรางในการตอยอด อุตสาหกรรม นวัตกรรมที่เกี่ยวกับระบบราง ซึ่งกระทรวง คมนาคม ยังคงเดินหนาพัฒนามาอยางตอเนื่อง เพื่อสนับ สนุน สงเสริมระบบรางใหเปนระบบขนสงสาธารณะหลัก ของประเทศ สนับสนุน EV เป็นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม รุกคืบเทคโนโลยีเพื่่ อการคมนาคม อีกหนึ่งการดําเนินงานสําคัญของกระทรวงคมนาคมที่เดิน หนาพัฒนาไดสําเร็จคือ การสนับสนุนมาตรการสงเสริมการ ใชยานยนตพลังงานสะอาด ซึ่งปจจุบันไดผลักดันเทคโนโลยี ยานยนตไฟฟาสําหรับการขนสงสาธารณะ (EV) ทั้งรถเมล เรือโดยสาร และรถไฟ รวมถึง การกอสรางรถไฟฟาในเขต กรุงเทพฯ และปริมณฑลที่มีความคืบหนาไปมาก โดยใน ป 2566 จะมีการเปดใหบริการรถไฟฟาสายสีเหลืองและ สายสีชมพู เติมเต็มโครงขายการเดินทางในพื้นที่เมือง ลด ปญหาการจราจร ถือเปนการทํางานเชิงรุกเพื่อสนับสนุน การใชพลังงานไฟฟากับยานยนตสาธารณะ ที่เปนมิตร กับสิ่งแวดลอม และทําใหประชาชนไดรับประโยชนอยาง ครอบคลุมทุกการเดินทางที่สะดวกปลอดภัยมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังไดนําเทคโนโลยีมาพัฒนางานดานคมนาคม ในอีกหลากหลายดาน เชน ระบบการอบรมใบอนุญาตขับรถ การชําระภาษีรถประจําป ระบบการติดตาม วิเคราะห และ รายงานความกาวหนาโครงการสําคัญแบบเรียลไทม เพื่อ การบริหารจัดการโครงการใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ดวยความมุงมั่นในการพัฒนาโครงขายคมนาคมขนสงจาก อดิีตสูปจจุบันตลอด 111 ป ที่ผานมา และในป 2566 จะเปน อีกกาวสําคัญที่กระทรวงคมนาคม ไดมุงมั่นขับเคลื่อน นโยบายและการดําเนินงานเพื่อสงเสริมการคมนาคมขนสง ของประเทศสูอนาคตดวย 24 นโยบาย 58 โครงการ ครอบคลุม การพัฒนาทั้งทางถนน ทางบก ทางราง ทางนํ้า และทาง อากาศ ซึ่งจะชวยสรางสุขทุกการเดินทางเพื่อประชาชน รวมถึงเพิ่มศักยภาพให้กับโครงสรางพื้นฐานของประเทศได ขยายตัวและเติบโตอยางยั่งยืน


40 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 41 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport รถยนตไฟฟา (Electric Vehicle) หรือที่นิยม เรียกกันสั้นๆ วา “รถ EV” เปนหนึ่งในประเภท ของรถยนตที่กําลังไดรับความนิยมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ดวย เทคโนโลยีที่พัฒนาอยางตอเนื่อง ทําใหรถยนตไฟฟามี สมรรถนะในการทํางานที่ใกลเคียงกับรถยนตสันดาป ซึ่งเปน รถยนตที่ใชนํ้ามันเปนเชื้อเพลิง บวกกับขอดีตางๆ มากมาย เชน รูปลักษณที่สวยงาม การประหยัดคาใชจายในระยะยาว และไมสรางมลภาวะใหกับสิ่งแวดลอม จึงไมแปลกใจเลย ที่รถยนตไฟฟาจะเปนหนึ่งในตัวเลือกอันดับตนๆ ของคนที่ กําลังจะซื้อรถยนตคันใหมมาใชงาน เพื่อใหคุณซื้อรถยนตไฟฟามาใชงานไดตอบโจทยความ ตองการที่สุด เราไดรวมเรื่องที่ควรรูกอนซื้อรถยนตไฟฟามา ใหแลว ไมวาจะเปน รถยนตไฟฟามีกี่ประเภท แตละประเภท แตกตางกันอยางไร ขอดีของการใชรถยนตไฟฟา สิ่งที่ตอง เตรียมใหพรอมกอนซื้อรถยนตไฟฟา ไปจนถึงวิธีคนหาสถานี ชารจรถยนตไฟฟา ใครที่กําลังคิดจะซื้อรถยนตไฟฟามาใช งาน หามพลาดบทความนี้เลย! รถยนต์ไฟฟ้ามีกี่ประเภท? ในปจจุบันรถยนตไฟฟาในทองตลาดจะแบงเปน 4 ประเภท หลักๆ ไดแก ไฮบริด (HEV), ปลั๊กอินไฮบริด (PHEV), เซลล เชื้อเพลิงเพลิง (FCEV) และแบตเตอรี่ (BEV) มีรายละเอียด แตกตางกัน ดังนี้ 1. รถยนต์ไฟฟ้ าประเภทไฮบริด (Hybrid Electric Vehicle: HEV) : หรือที่เรียกวา “รถยนต์ไฟฟ้ าพลังงานผสม” เปนรถยนตที่ขับเคลื่อนดวยการทํางานรวมกันระหวาง เครื่องยนตสันดาปและมอเตอรไฟฟา ซึ่งจะทําใหมีกําลังและ รูกอนซื้อ!รถยนต์ไฟฟ้ามีกี่ประเภท แต่ละประเภทแตกต่างกันอย่างไร? อัตราการเรงของรถยนตสูงที่กวารถยนตที่มีเครื่องยนตขนาด เดียวกัน ซึ่งจะชวยลดอัตราการสิ้นเปลืองนํ้ามันไดมากกวา รถยนตที่ใชนํ้ามันเพียงอยางเดียวไดมาก รถยนต์ไฟฟ้ าประเภทไฮบริดนั�น จะไม่สามารถเสียบปลั�ก เพื�อชาร์จไฟได้ แตจะใชพลังงานจลนที่ไดจากเครื่องยนต เปลี่ยนเปนพลังงานไฟฟาแลวนํามาเก็บไวในแบตเตอรี่ เพื่อนํามาจายเปนพลังงานใหกับมอเตอรไฟฟาตอไป เรา เรียกกระบวนการนี้วา การสนับสนุนการเบรกแบบผันกลับ (Regenerative braking) ตัวอย่างรถยนต์ไฟฟ้ าประเภทไฮบริดที�มีวางจําหน่าย ในไทย • Toyota Camry Hybrid (โตโยตา คัมรี่ ไฮบริด) • Toyota C-HR Hybrid (โตโยตา ซี-เอชอาร ไฮบริด) • Toyota Alphard Hybrid (โตโยตา อัลฟารด ไฮบริด) • Toyota Prius Hybrid (โตโยตา พรีอุส ไฮบริด) • Toyota Altis Hybrid (โตโยตา อัลติส ไฮบริด) • Honda Accord Hybrid (ฮอนดา แอคคอรด ไฮบริด) • Nissan X-Trail Hybrid (นิสสัน เอกเทรล ไฮบริด) รถยนตไฟฟาประเภทไฮบริดเหมาะกับการใชงานในเมืองที่ มีการจราจรติดขัด ทําใหตองเหยียบคันเรงสลับกับเหยียบ เบรกเปนประจํา เพราะจะชวยใหในชวงที่รถติด รถยนต จะไมตองสิ้นเปลืองการใชนํ้ามันมาก ซึ่งชวยลดการปลอย มลภาวะไดมาก 2. รถยนต์ไฟฟ้ าประเภทปลั�กอินไฮบริด (Plug-in Hybrid Vehicle: PHEV) : หรือที่เรียกวา “รถยนต์ไฟฟ้ าพลังงานผสม ในป 2023 นี้มีแนวโนมที่กระแสความนิยมรถยนตไฟฟาจะมาแรง มากขึ้น ซึ่งเปนผลมาจากงาน Motor Expo ชวงปลายป 2022 ที่ผานมาที่มีการเปดตัวรถยนตไฟฟาหลายแบรนดอยางเต็มรูป แบบและเนื่องจากปญหาราคานํ้ามันโลกที่พุงสูงขึ้นทุกวัน รถยนต ไฟฟาจึงเปนอีกตัวเลือกหนึ่งที่มีความนาสนใจในยุคนี้


40 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 41 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง Ministry of Transport คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport แบบเสียบปลั�ก” เปนรถยนตที่มีลักษณะการทํางานและชิ้น สวนคลายกับรถยนตไฟฟาไฮบริด แตจะแตกตางกันตรงที่ สามารถชารจไฟฟาจากภายนอกได ทําใหสามารถสลับไป ใชงานการขับเคลื่อนดวยระบบมอเตอรไฟฟาเพียงอยาง เดียวในระยะสั้นๆ ได ตัวอย่างรถยนต์ไฟฟ้ าประเภทปลั�กอินไฮบริดที�มีวาง จําหน่ายในไทย • BMW plug-in hybrid (บีเอ็มดับเบิลยู ปลั๊กอิน ไฮบริด) • Mercedes-Benz plug-in hybrid (เมอรเซเดสเบนซ ปลั๊กอิน ไฮบริด) • Audi plug-in hybrid (รถอาวดี้ ปลั๊กอิน ไฮบริด) รถยนตไฟฟาพลังงานผสมแบบเสียบปลั๊กจะเหมาะกับคน ที่อยากใชงานรถยนตไฟฟาเต็มรูปแบบ แตยังจําเปนที่จะ ตองเดินทางไกลขามจังหวัด หรือเดินทางไปในจังหวัดที่ยัง ไมมีการชารจรถไฟฟา จึงทําใหการใชงานรถยนตประเภท PHEV ตอบโจทยมากที่สุด 3. รถยนต์ไฟฟ้ าประเภทเซลล์เชื�อเพลิงเพลิง (Fuel Cell Electric Vehicle: FCEV) : หรือที่เรียกวา “รถไฮโดรเจน” เปนรถยนตที่ขับเคลื่อนดวยมอเตอรไฟฟาเปนหลัก แตจะ แตกตางจากรถยนตไฟฟาประเภทอื่นตรงที่ใชเทคโนโลยี ไฮโดรเจนในการผลิตพลังงานไฟฟา โดยไฮโดรเจนจะถูกเก็บ อยูในรูปแบบของเหลว หลังจากนั้นจะถูกสงไปที่แผงเซลล รวมกับอากาศที่มีออกซิเจน เพื่อทําปฏิกิริยาในการสราง ไฟฟา หลังจากนั้นไฟฟาจะถูกสงไปเก็บไวที่แบตเตอรี่เพื่อ ใชเปนพลังงานใหกับมอเตอรไฟฟาตอไป จึงทําใหรถยนต ประเภทนี้ตองเติมพลังงานไฮโดรเจนแทนการชารจไฟนั่นเอง ตัวอย่างรถยนต์ไฟฟ้ าประเภทเซลล์เชื�อเพลิงเพลิง • Toyota Mirai (โตโยตา มิไร) • Hyundai Nexo (ฮุนได เนกโซ) • Honda Clarity Fuel Cell (ฮอนดา คลาริตี้ ฟวเซลล) แมวารถยนตไฟฟาประเภทเซลลเชื้อเพลิงเพลิงจะเหมาะกับ การใชงานทั่วไป แตในปจจุบันรถยนตไฟฟาประเภทนี้ยังมี ตนทุนการผลิตที่สูงอยู จึงทําใหยังไมคอยเปนที่นิยมอยาง แพรหลายในวงการอุตสาหกรรมยานยนตของทั้งไทยและ ตางประเทศ อีกทั้งยังไมคอยเหมาะที่จะใชในประเทศไทย เนื่องจากยังไมคอยมีสถานีเติมไฮโดรเจนเปดใหบริการ 4. รถยนต์ไฟฟ้ าประเภทแบตเตอรี� (Battery Electric Vehicle: BEV) : หรือที่เรียกวา “รถยนต์ไฟฟ้ า” จัดเปน ประเภทรถยนตไฟฟาที่กําลังไดรับความนิยมมากที่สุด โดยจะขับเคลื่อนดวยมอเตอรไฟฟาเพียงอยางเดียว ทําให รถยนตไฟฟาประเภทนี้มีแบตเตอรี่ที่ใหญมาก ๆ มีขอดีตรง ที่ไมมีการปลอยควันไอเสียออกมาเลย 100% แตจะมีขอ จํากัดตรงที่ตองชารจพลังงานไฟฟากอนใชงานทุกครั้ง และ จะตองคํานวณระยะทางการเดินทางตอพลังงานไฟฟา และ สถานีชารจรถยนตไฟฟาใหดี ตัวอย่างรถยนต์ไฟฟ้ าประเภทแบตเตอรี� ที�มีวาง จําหน่ายในไทย • Tesla (เทสลา) • Nissan Leaf (นิสสัน ลีฟ) • MG ZS EV (เอ็มจี ซีเอส อีวี) • Hyundai IONIQ EV (ฮุนได ไอออนิค อีวี) • BMW i3 (บีเอ็ม ไอ3) • Kia Soul EV (เกีย โซล อีวี) • BYD E6 (บีวายดี อี6) • Audi e-tron (อาวดี้ อีตรอน) รถยนตไฟฟาประเภทแบตเตอรี่จะเหมาะสําหรับการใชงาน ในเมือง หรือขับในระยะทางใกลๆ มากกวาระยะไกล ซึ่งถา หากจําเปนตองเดินทางไกลดวยรถยนตไฟฟา ก็จําเปนที่จะ ตองศึกษาเสนทางและสถานีชารจรถยนตไฟฟาใหดี เพื่อ ที่จะไดวางแผนการชารจไฟไดอยางเหมาะสม และไมเกิด ปญหาพลังงานไฟฟาหมดกลางทาง


42 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 43 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport ข้อดี-ข้อเสียของการใช้รถยนต์ไฟฟ้า หลังจากที่รูแลววารถยนตไฟฟาแบงออกเปนกี่ประเภท และ แตละประเภทแตกตางกันอยางไร เชื่อวาหลายคนก็คงตัดสิน ใจไดแลววาจะซื้อรถยนตไฟฟายี่หอไหนดีที่ตอบโจทยที่สุด แตสําหรับใครที่ยังไมแนใจวารถยนตไฟฟาเหมาะกับตัวเอง จริงๆ ไหม เราไดรวมขอดี-ขอเสียของการใชรถยนตไฟฟา มาใหแลว สามารถนําขอมูลดานลางนี้ไปประกอบการ ตัดสินใจไดเลย ข้อดีของการใช้รถยนต์ไฟฟ้ า • รถยนตไฟฟาเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ไมสรางมลภาวะทาง อากาศ ไมมีการปลอยไอเสีย • รถยนตไฟฟามีความเงียบมากกวารถยนตสันดาป ไมมี เสียงเวลาขับขี่ จึงลดมลพิษทางเสียงไดมาก • รถยนตไฟฟามีใหเลือกใชงานหลายรุน หลายยี่หอ โดยมี หลายรุนมากที่มีสมรรถนะเทียบเคียงกับรถยนตสันดาป ซึ่ง คุณสามารถเลือกรถยนตไฟฟาที่มีสมรรถนะการใชงานที่ ตอบโจทยความตองการไดเลย • การใชรถยนตไฟฟาจะชวยประหยัดคาใชจายในระยะ ยาว เนื่องจากพลังงานไฟฟามีราคาที่ถูกกวา และไมตอง คอยเปลี่ยนถายนํ้ามันเครื่องเหมือนเครื่องยนตสันดาปดวย ข้อเสียของการใช้รถยนต์ไฟฟ้ า • รถยนตไฟฟายังมีราคาที่สูงอยู เนื่องจากกระบวนการผลิต ที่ตองใชเทคโนโลยีที่มีราคาสูง • รถยนตไฟฟาแตละรุนจะมีการกําหนดระยะทางการขับขี่ ตอการชารจ 1 ครั้งที่ชัดเจน ซึ่งผูใชงานจะตองวางแผนการ ชารจระหวางทางใหดี ในกรณีที่ตองเดินทางระยะไกล • อาจมีขอจํากัดการใชงานในบางพื้นที่ เนื่องจากสถานีชารจ รถยนตไฟฟายังไมครอบคลุมทั่วทุกพื้นที่ในประเทศไทย 5 สิ่ งที่ต้องเตรียมให้พร้อม ก่อนซื้อรถยนต์ไฟฟ้า สําหรับใครที่ตัดสินใจแลววาตองการซื้อรถยนตไฟฟา เรา ขอแนะนําใหคุณติดตั้ง 5 สิ่งนี้ใหพรอม เพื่อที่จะไดใชงาน รถยนตไฟฟาอยางสบายใจ ไมมีปญหามากวนใจในภาย หลัง ไดแก • ติดตั้งมิเตอรไฟฟาบานที่มีแอมปเหมาะสมและรองรับกับ รถยนตไฟฟา • เปลี่ยนขนาดสายไฟฟาเขาบาน หรือที่เรียกวา “สายเมน” และขนาดลูกเซอรกิต (MCB) ใหสอดคลองกับมิเตอรไฟฟา อันใหม • ติดตั้งตูควบคุมไฟฟา (Main Distribution Board: MDB) แยกสําหรับการชารจรถไฟฟาโดยเฉพาะ • ติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่ว (Earth-Leakage Circuit Breaker) เพื่อความปลอดภัยในการใชงาน • ติดตั้งหัวชารจไฟฟา (EV Socket) จากผูผลิตรถยนตไฟฟา สําหรับใครที่มีขอสงสัยวามีขั้นตอนการติดตั้งอยางไร สามารถสอบถามกับผูจัดจําหนายรถยนตไฟฟาที่ไปใช บริการไดเลย ซึ่งสวนใหญแลวจะมีเจาหนาที่คอยชวยดําเนิน การเรื่องเหลานี้อยู แนะนําวิธีค้นหาสถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้า ใกล้ฉัน จะขับไปไหนก็ไร้กังวล สถานีชารจรถยนตไฟฟาเปนอีกสิ่งหนึ่งที่ผูใชงานรถยนต ไฟฟาตองใหความสําคัญ และควรศึกษาไววามีที่ไหนบาง เพื่อที่เวลาตองการชารจไฟฟาจะไดหาสถานีเจอ ไมเกิด ปญหาไมมีที่ชารจ หรือพลังงานไฟฟาหมดกลางทาง จน ทําใหไมสามารถใชงานรถยนตไฟฟาได วิธีค้นหาสถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าใกล้ฉัน วิธีที� 1 : คนหาจาก Google Map โดยคนหาดวยคําที่ เกี่ยวของ เชน สถานีชารจรถยนตไฟฟา, จุดชารจรถยนต ไฟฟา, EV Charging, EV Charging Stations หรือ EV Charger เปนตน


42 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 43 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง Ministry of Transport คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport ทางอากาศตามหลักการพัฒนาอยางยั่งยืน ทําใหมีการ อนุมัติมติมาตรการสนับสนุนการใชรถยนตไฟฟา (EV) รวม ถึงแนวทางในการลดภาษีทั้งอาการขาเขา ภาษีสรรพสามิต และใหเงินอุดหนุนไปแลว โดย ครม. อนุมัติกรอบวง 3,000 ลานบาท เพื่อสนับสนุนการใชยานยนตไฟฟาประเภทรถยนต และรถจักรยานยนต โดยมีการอนุมัติเพิ่มเติมจากมติที่ผาน มา ไดแก • เงินอุดหนุนรถยนตและรถกระบะคันละ 70,000-150,000 บาทตอคัน และรถจักรยานยนต 18,000 บาทตอคัน • ลดภาษีสรรพสามิตรถยนตจาก 8% เปน 2% และรถ กระบะเปน 0% • ลดอากรขาเขารถยนตที่ผลิตตางประเทศและนําเขาทั้งคัน (CBU) สูงสุด 40% สําหรับรถยนตถึงป 2566 • ยกเวนอากรขาเขารถยนตที่ผลิตในประเทศ (CKD) จํานวน 9 รายการ นอกจากนี้ในชวงปลายป 2022 รัฐบาลยังไดออกพระ ราชกฤษฎีกาลดภาษีประจําปสําหรับรถที่ขับเคลื่อนดวย พลังงานไฟฟา พ.ศ. 2565 โดยกําหนดใหลดอัตราภาษี ประจําป สําหรับรถที่ขับเคลื่อนดวยพลังงานไฟฟาเพียง อยางเดียวที่จดทะเบียนตั้งแต 1 ต.ค. 65 - 30 ก.ย. 68 โดย ลดลง 80% ของอัตราภาษีที่กําหนดเปนเวลา 1 ป (นับแต วันที่จดทะเบียน) เรียกได้ว่า รัฐบาลส่งเสริมให้คนไทยหันมาใช้รถยนต์ ไฟฟ้ ากันแบบสุดๆ นี� ก็เป็ นอีกจุดหนึ� งที� ทําให้รถยนต์ ไฟฟ้ ากลับมามีความน่าสนใจมาก เพราะราคารถยนต์ ไฟฟ้ าลดลงจนแทบจะไม่ต่างจากรถยนต์สันดาปทัวไป� แล้ว วิธีที� 2 : คนหาจากแอปพลิเคชันผูใหบริการชารจรถไฟฟา เชน EVolt, EA Anywhere, PlugShare, MEA EV, EV Station PluZ, PEA VOLTA หรือ GO TO-U ซึ่งบางแอป พลิเคชันจะมีฟงกชันการจองคิวใชงานลวงหนาไดอีกดวย คาซอมบํารุงและการดูแลรักษารถยนตไฟฟา สิ่งที่มีความโดดเดนที่ทําใหรถยนตไฟฟามีความนาสนใจเลย คือ คาซอมบํารุงที่นอยกวารถยนตที่ใชนํ้ามันเชื้อเพลิงปกติ ทั่วไป เนื่องจาก เครื่องยนตของรถยนตไฟฟามีสวนประกอบ นอยกวา และไมตองเปลี่ยนถายนํ้ามันเครื่อง ดวยเหตุนี้ ทําใหไมคอยมีคาใชจายในการบํารุงรักษาเครื่องยนตเหมือน รถยนตทั่วไป และการเสื่อมของเครื่องยนตของรถยนตแบบ ใชนํ้ามันจะเสื่อมเร็วกวารถยนตไฟฟาอีกดวย แตสิ่งที่ตองระวังคือความเสียหายที่ตัวแบตเตอรี่ซึ่งเปนสวน ประกอบที่แพงที่สุดชิ้นหนึ่งของรถยนตไฟฟา ราคาเฉลี่ยอยู ที่ประมาณ 372,000 - 558,000 บาทตอคัน ซึ่งโดยทั่วไปแลว แบตเตอรี่มีความทนทานและมีอายุการใชงานสูง จึงไมไดรับ ความเสียหายโดยงาย นอกจากนี้ก็มีอีกจุดหนึ่งที่สําคัญก็คือ ชองชารจไฟ, สายไฟ และปลั๊กเชื่อมตอตางๆ เพื่อนๆ ควร สังเกตและตรวจสอบใหอยูในสภาพที่พรอมใชงานอยูเสมอ เพื่อปองกันการเกิดไฟรั่วหรือลัดวงจรได การดูแลรักษารถยนตไฟฟานอกเหนือจากชิ้นสวนที่กลาวไป ดานบน ในแงการดูแลแบบพื้นฐานทั่วไปไมตางกันมากกับ รถยนตที่ใชนํ้ามันเชื้อเพลิงปกติทั่วไป เชน เช็กระยะ ตรวจ เช็กลมยาง หรือระบบไฟสองสวางทั่วไป เปนตน ภาษีรถยนต์ไฟฟ้า EV ที่ลดลง ตั้งแตชวงตนป 2022 ที่ผานมา รัฐบาลไทยไดเล็งเห็นถึง ความสําคัญของการใชรถยนตไฟฟา เพื่อลดปญหามลพิษ


44 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 45 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ “รถไฟฟ้าสายสีเหลือง” โมโนเรลสายแรกของไทย เปดตัวใหใชบริการฟรีกันไปแลวตั้งแตชวงตนเดือนมิถุยายน 2566 พรอมกับการเคาะราคาคาโดยสาร "รถไฟฟาสาย สีเหลือง" ในชวงปลายเดือนมิถุนายน 2566 เชนกัน แตกอนที่จะเปดใชอยางเปนทางการ วันนี้เรามาทําความรูจักกับ รถไฟฟาสายสีเหลือง รถไฟฟาแบบ "โมโนเรล" สายแรกของประเทศไทยกันสักหนอย ดร.สามารถ ราชพลสิทธิ์ ไดใหขอมูลที่นาสนใจ เกี่ยวของ "รถไฟฟาสายสีเหลือง" โมโนเรลสายแรก ของไทย และเรื่องนารูเกี่ยวกับ “รถไฟฟาสายสีเหลือง” ที่ หลายคนสงสัยวา ทําไม "รถไฟฟาสายสีเหลือง" ตองเปน โมโนเรล ? ทําไมต้องเป็นโมโนเรล ? "โมโนเรล" (Monorail) คือรถไฟฟา แตเปนรถไฟฟาที่วิ่งครอม รางโดยใชรางเดี่ยว หรืออาจจะแขวนหอยอยูใตรางก็ได แต ที่นิยมใชกันมากก็คือแบบครอมราง สํานักงานนโยบาย และแผนการขนสงและจราจร (สนข.) เปนผูกําหนดวาโครง ขายรถไฟฟาเสนทางใด ควรใชรถไฟฟาประเภทไหน โดย พิจารณาจากการคาดการณปริมาณผูโดยสาร หากเสนทางใดคาดวา จะมีผูโดยสารมาก สนข. ก็จะใช รถไฟฟาขนาดหนัก ซึ่งมีความจุมากกวา ดังเชน "รถไฟฟา BTS" หรือ "รถไฟฟา MRT" เปนตน สําหรับสายสีเหลือง สนข. คาดวาจะมีผูโดยสารไมมาก จึงเลือกใชโมโนเรล ซึ่ง มีความจุนอยกวา หากเลือกใชรถไฟฟาขนาดหนักก็จะเปนการลงทุนเกินความ จําเปน สิ้นเปลืองโดยใชเหตุ โดยทั่วไปวงเงินลงทุนโมโนเรล จะถูกกวารถไฟฟาขนาดหนักประมาณ 40% รถไฟฟ้าในกรุงเทพฯ มีกี่ประเภท? มี 3 ประเภท ไดแก (1) รถไฟฟ้ าขนาดหนัก มี 5 สาย ประกอบดวย สายสีเขียว สีนํ้าเงิน แอรพอรตลิงก สีมวง และสีแดง (2) รถไฟฟ้ า APM (Automated People Mover) มี 1 สาย คือ สายสีทอง APM เปนรถไฟฟาไรคนขับ ใชลอยางวิ่งบนพื้น คอนกรีตโดยมีรางเหล็กวางอยูตรงกลางระหวางลอซายขวา เพื่อชวยนําทาง เลี้ยววงแคบและไตทางลาดชันไดดี กินพื้นที่ นอยเนื่องจากใชโครงสรางขนาดเล็ก APM เปนที่นิยมใชในพื้นที่ที่มีผูโดยสารไมมาก โดยเฉพาะ ในสนามบินเพื่อขนผูโดยสารเครื่องบินไปมาระหวางเทอร มินัลกับเทอรมินัล หรือระหวางเทอรมินัลกับอาคารเทียบ เครื่องบินรอง (อาคารรอขึ้นเครื่องบิน) ดังเชนที่ใชในสนาม บินสุวรรณภูมิ เพื่อขนผูโดยสารเครื่องบินระหวางเทอรมินัล 1 กับอาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1


44 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 45 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง Ministry of Transport คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport (3) "โมโนเรล" มี 2 สาย ประกอบดวยสายสีเหลือง และ สายสีชมพู (ยังไมเปดใหบริการ) เปนรถไฟฟาไมใชคนขับเชน เดียวกับ APM ใชลอยางวิ่งบนรางคอนกรีต (หรือรางเหล็ก) เพียงรางเดียว เลี้ยววงแคบและไตทางลาดชันไดดี กินพื้นที่ นอยเนื่องจากใชโครงสรางขนาดเล็ก "โมโนเรล" เปนที่นิยมใชในพื้นที่ที่มีผูโดยสารไมมากเชน เดียวกัน แตมักนิยมใชขนผูโดยสารไปปอนใหกับรถไฟฟา ขนาดหนักที่สามารถขนผูโดยสารไดมากกวา พูดไดวาใช โมโนเรลสําหรับรถไฟฟาสายรองเพื่อขนผูโดยสารไปปอนให รถไฟฟาสายหลัก ดังเชน "รถไฟฟาสายสีเหลือง" ซึ่งเปนโม โนเรลที่ขนผูโดยสารริมถนนลาดพราวไปปอนใหกับรถไฟฟา สายสีนํ้าเงิน (รถไฟฟาใตดิน MRT) ที่สถานีลาดพราว ใครเป็นผู้รับสัมปทาน? บริษัท ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) หรือ BTSC รวมกับพันธมิตรเปนผูชนะการประมูล โดยชนะ บริษัท ทางดวนและรถไฟฟากรุงเทพ จํากัด (มหาชน) หรือ BEM เนื่องจาก BTSC ขอรับเงินสนับสนุนสุทธิจาก รฟม. (เงิน สนับสนุนจาก รฟม. ลบด้วย เงินตอบแทนให้ รฟม.) โดย BTSC ขอรับเงินสนับสนุนสุทธิ 22,087.06 ลานบาท ใน ขณะที่ BEM ขอรับเงินสนับสนุนสุทธิ 157,721.81 ลานบาท หรือ BTSC ขอรับเงินสนับสนุนสุทธิจาก รฟม. ตํ่ากวา BEM มากถึง 135,634.75 ลานบาท BTSC จึงควาชัยชนะไป โดย BTSC ไดรับสิทธิ์ในการบริหารจัดการเดินรถเปนเวลา 30 ป ถ้าโมโนเรลเสีย ผู้โดยสารต้องทําอย่างไร ? ในกรณีฉุกเฉิน ผูโดยสารจะตองลงจาก "โมโนเรล" ไปที่ทาง เดินระหวางรางทั้งสอง (รางขาไปและขากลับ) ทางเดินเปน ตะแกรงเหล็กกัลวาไนซ เพื่อใหผูโดยสารเดินไปสูสถานีที่ ใกลที่สุด ความสูงจากพื้นโมโนเรลถึงทางเดินเกือบ 2 เมตร ดังนั้น จะตองลงทางบันไดที่พาดจากประตูโมโนเรลไปที่ทาง เดิน บันไดดังกลาวจะถูกเก็บไวบนรถและบนทางเดินตลอด ทาง สวนผูโดยสารที่ใชวีลแชรจะตองชวยกันอุมลงมาที่ทาง เดินแลวเข็นไปที่สถานี สรุป (1) "โมโนเรล" ไม่ใช้คนขับ แต่ใช้ระบบควบคุมอัติโน มัติซึ�งจะช่วยลดข้อผิดพลาด หรือข้อบกพร่องที�เกิด จากนํ�ามือของมนุษย์ (Human Error) ได้ ทําให้มีความ ปลอดภัยสูง แต่การไม่ใช้คนขับทําให้ต้องลงทุนงาน ระบบควบคุมเพิ�มขึ�น อย่างไรก็ตาม ในระยะยาวจะ ช่วยทําให้ค่าใช้จ่ายในการประกอบการเดินรถถูกลง (2) "โมโนเรล" ใช้ล้อยาง ไม่ใช่ล้อเหล็ก เพื�อลดเสียง ดังและการสั�นสะเทือนที�สร้างความรําคาญต่อผ้อยูู่ อาศัยริมทาง มีความนุ่มนวลในการขับขี�ดีกว่า และ ช่วยให้สามารถเร่งความเร็วหรือเบรกได้อย่างรวดเร็ว ในระยะทางสั�นๆ ทําให้ขบวนรถไฟฟ้ าสามารถวิ�งต่อ เนื�องใกล้ๆ กันได้ (3) เพื�ออํานวยความสะดวก ประหยัดเวลา และลดค่า เดินทางให้ผ้โดยสาร รฟม. ควรพิจารณาต่อขยายเส้นู ทางรถไฟฟ้ าสายสีเหลืองจากสถานีลาดพร้าว บริเวณ ทางแยกรัชดา-ลาดพร้าว วิ�งบนถนนรัชดาภิเษกไป เชื�อมกับรถไฟฟ้ าสายสีเขียวที�สถานีรัชโยธิน ซึ�งจะช่วย ให้ผ้โดยสารรถไฟฟ้ าสายสีเหลืองเปลี�ยนไปใช้รถไฟฟ้ าู สายสีเขียวได้แบบไร้รอยต่อ เดินทางไปส่จุดหมาย ู ปลายทางได้อย่างรวดเร็วขึ�น Ministry of Public Transport มากถึง 135,634.75 ลานบาท BTSC จึงควาชัยชนะไป โดย BTSC ไดรับสิทธิ์ในการบริหารจัดการเดินรถเปนเวลา 30 ป ถ้าโมโนเรลเสีย ผู้โดยสารต้องทําอย่างไร ? ในกรณีฉุกเฉิน ผูโดยสารจะตองลงจาก "โมโนเรล" ไปที่ทาง เดินระหวางรางทั้งสอง (รางขาไปและขากลับ) ทางเดินเปน ตะแกรงเหล็กกัลวาไนซ เพื่อใหผูโดยสารเดินไปสูสถานีที่ ใกลที่สุด ความสูงจากพื้นโมโนเรลถึงทางเดินเกือบ 2 เมตร ดังนั้น จะตองลงทางบันไดที่พาดจากประตูโมโนเรลไปที่ทาง เดิน บันไดดังกลาวจะถูกเก็บไวบนรถและบนทางเดินตลอด ทาง สวนผูโดยสารที่ใชวีลแชรจะตองชวยกันอุมลงมาที่ทาง NOTE: รถไฟฟารางเดี่ยวเกิดจากความคิดของ วิศวกรชาวสวีเดน ประมาณ ค.ศ. 1952 ชื่อเอ็กเซล เกร็น (Axel L. Wenner Gren) ออกแบบครั้งแรกเปนการทดลองในเยอรมนี เปนแบบครอมราง (Straddle Type) ขนาด เล็กวิ่งบนรางยาว 1.5 กิโลเมตร ขยายตอมา ใน ค.ศ.1957 เปน 1.8 กิโลเมตร ที่เมืองฮุลิง เกน (Huhlingen, Germany) ไดรับการตั้ง ชื่อวาเปนระบบแอลเว็ก (ALWEG) ตามชื่อ ยอของวิศวกรผูออกแบบ


46 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 47 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport “NAMTANG“ ก ารบูรณาการจัดทําฐานขอมูลระบบขนสงสาธารณะ ทั้งทางถนน ทางรางและทางนํ้า เพื่อใหประชาชน ไดรับความสะดวกในการเดินทาง พรอมทั้งใหหนวยงานใน สังกัดกระทรวงคมนาคมจะไดใชขอมูลระบบขนสงสาธารณะ รวมกัน ชุดเดียวกัน เพื่อการวิเคราะหการแกไขสถานการณ และการวางแผนบริการไปดวยกันนั้น สํานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) กระทรวงคมนาคม ไดพัฒนาแอปพลิเคชัน NAMTANG เพื่อใชในการวางแผนการเดินทางดวยขนสง สาธารณะทั่วกรุงเทพและปริมณฑล ผานระบบโครงขาย ขนสงสาธารณะหลายรูปแบบ เชน รถไฟฟา รถไฟ รถโดยสาร ประจําทาง รถตูโดยสารประจําทาง เรือโดยสารประจําทาง เรือขามฟาก รถสองแถว เปนตน แอปพลิเคชัน NAMTANG นั้นจะมีการติดตามและปอน ขอมูลแจงเตือน พรอมทั้งตรวจสอบและรายงานสถานการณ จากในพื้นที่/สถานี/ทาเรือ กอนนํามาวิเคราะหเพื�อคาด การณ์ปริมาณความหนาแน่นที�จะใช้ “เฝ้ าระวัง” และ “แจ้งเตือน” รายงานสภาพจราจร real time ผ่านแอป พลิเคชัน NAMTANG โดยจะใหบริการขอมูลระบบขนสง สาธารณะในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่เปน ปจจุบัน มีความนาเชื่อถือ ที่จะทําใหทุกการเดินทางสะดวก สบาย และประหยัดเวลา แอปดีที่ชวยนําทางคุณสูจุดหมายไดงายขึ้น


46 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 47 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง Ministry of Transport คมนาคมMinistry of Public Transport สายการบินทั่ วโลกเร่งหารือ จัดการ non-CO2 หลังมีผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม ส ายการบินทั่วโลกกําลังรวมกันจัดตั้งหนวย งานเพื่อจัดการกับการปลอยกาซที่ไมใชกาซ คารบอนไดออกไซด (non-CO2) โดยจะเพิ่มมาตรการใน การจัดการกับริ้วเมฆที่เรียกวา contrails ซึ่งเปนเมฆที่สราง ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม เปนปญหาใหญรองลงมาจากการ ปลอยกาซคารบอนที่สงผลใหเกิดปญหาโลกรอนในปจจุบัน ความเคลื่อนไหวดังกลาวเกิดขึ้นในขณะที่สมาคมขนสงทาง อากาศระหวางประเทศ (IATA) ซึ่งเปนตัวแทนของสายการ บินหลักประมาณ 300 แหง ไดเตรียมหารือเกี่ยวกับผลกระ ทบตอสิ่งแวดลอมที่เกิดของเมฆ contrails เปนครั้งแรกใน การประชุมประจําปที่อิสตันบูลในสัปดาหหนา ซึ่งเมฆนี้เกิด ขึ้นในสภาพอากาศที่ชื้น และเกิดมาจากผลึกนํ้าแข็งที่เยือก แข็ง ถึงแมวามันไมไดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดออก มา แตนักวิทยาศาสตรกลาววา เมฆเหลานี้มีความสามารถ ในการดักจับรังสีและสะทอนกลับมายังโลกได สงผลใหเกิด ภาวะโลกรอน IATA กลาววา คณะทํางานจะนําเอาความตั้งใจของนักวิจัย และสายการบินในการกําจัดการสราเมฆ contrails เพื่อ กระตุนใหภาคสวนมีสวนรวมในการดําเนินการมากขึ้น โดย มีแนวทางคือ วิเคราะหเงื่อนไขที่เอื้อใหเกิดการกอตัวของริ้ว เมฆ และลดความเสี่ยงในการเพิ่มขึ้นของเชื้อเพลิงเมื่อหลีก เลี่ยงการกอตัวของริ้วเมฆ ผูเชี่ยวชาญอางมีงานวิจัยระบุวา การปลอยกาซ non-CO2 สามารถสรางความผลกระทบที่อันตรายตอโลกไดมากพอ กับการปลอยกาซคารบอนไดออกไซด กลาวคือ 10% ของ การใชเครื่องบินโดยสารนั้นเปนสาเหตุหลักที่สรางผลกระทบ ตอโลก ซึ่งเมฆนี้สามารถกอใหเกิดภาวะโลกรอนไดมากกวา CO2 ถึง 2 เทา บริษัทอยาง SATAVIA ในอังกฤษ และ Estuaire ในปารีสใช ดิจิตอลโมเดลเพื่อชวยติดตามรองรอยของหยอมอากาศชื้น ที่ทําใหเกิดเมฆ contrails มากที่สุด และยังเสนอเสนทางอื่น ที่ไมสรางรองรอยบนทองฟาไวดวย ในปจจุบัน มีเพียงไมกี่สายการบินที่ประกาศวาจะลงมือ ปองกันการเกิดเมฆเหลานี้ ในขณะที่สายการบินอื่นกําลัง ถกเถียงถึงเรื่องแผนการบินใหมที่หลบอากาศชื้นจนทําให เกิดการเผาไหมเชื้อเพลิงที่สูงขึ้นและปลอยคารบอนมาก ขึ้น บางก็บอกวานักวิทยาศาสตรที่อยูเบื้องหลังผลกระทบ ของเมฆ contrails มีอํานาจไมมากพอ ซึ่ง European regulators กําลังใหความสําคัญกับประเด็นนี้ มากขึ้นหลังไดรับแรงกดดันจาก Green Groups กฎใหมของ สหภาพยุโรปเกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนการปลอยมลพิษที่จะมี ผลบังคับใชในป 2025 โดยมีมาตรการใหสายการบินติดตาม และรายงานการปลอยกาซ non-CO2 กับสหภาพยุโรป โดยสายการบินตางๆ ตกลงวาจะเลิกปลอยคารบอนใหได ภายในป 2050 โดยจะหันไปใชเชื้อเพลิงการบินที่ยั่งยืน (SAF) ซึ่งเปนเชื้อเพลิงทางเลือกที่หายากและผลิตจากแหลง หมุนเวียน เชน เชื้อเพลิงชีวภาพหรือเชื้อเพลิงสังเคราะห ซึ่ง ใชเปนพลังงานใหกับเครื่องบิน ทางบริษัท SATAVIA ประเทศอังกฤษ กลาววาการสนใจใน เรื่องการปลอยกาซคารบอนจะทําใหอุตสาหกรรมตองจาย เงินมากขึ้นในการแกไขปญหาและใชเวลาหลายปกวาจะเห็น ผล เพราะคาใชจายของการกําจัด SAF นั้นมีมูลคาประมาณ ลานลาน ในขณะที่การแกปญหาการปลอยกาซ non-CO2 นั้นอาจมีมูลคาแคประมาณสิบลานเทานั้น ปจจุบันมีการใชงานเครื่องบินโดยสารที่เพิ่มมากขึ้น ทําให non-CO2 สรางผลกระทบตอสิ่งแวดลอมอยางหนัก


48 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 49 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport MINESmart Ferry กับอนาคตการคมนาคมทางน�า ในกรุงเทพฯ ปัจจุบันการคมนาคมทางนํ้าถือเปนหนึ่งในระบบการ ขนสงและการเดินทางที่สําคัญในกรุงเทพมหานคร แตที่ผานมาไมไดรับความนิยม เพราะผูใชบริการยังมีความ เชื่อแบบเดิม ๆ วาระบบการขนสงทางนํ้าของประเทศไทยไม คอยมีความทันสมัยและปลอดภัยในการเดินทางเมื่อเทียบ กับการคมนาคมทางราง ไมวาจะเปนรถไฟฟา BTS หรือ รถไฟฟาใตดิน MRT ตลอดระยะเวลาที่ผานมาการคมนาคมทางนํ้าถูกละเลย และมีการสงเสริมจากหนวยงานภาครัฐไมมาก ทําใหขาด การพัฒนาทั้งเรื่องคุณภาพของเรือโดยสาร คุณภาพของทา เทียบเรือ และคุณภาพของผูใหบริการ ทําใหภาพลักษณของ การคมนาคมทางนํ้าในกรุงเทพมหานครถูกมองจากทั้งชาว ไทยและตางประเทศวา ไมมีคุณภาพและลาหลัง แตระยะ เวลาที่ผานมาการคมนาคมภายในกรุงเทพมหานคร เริ่มมี ความหนาแนน แออัด มากขึ้น แมจะมีการคมนาคมระบบ รางมาชวยเสริม แตก็ยังเกิดปญหาในเรื่องการเดินทางและ จากการเกิด โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) สง ผลใหปญหาในดานคมนาคมโดยเฉพาะทางภาคถนนก็ ทวีคูณหนักขึ้น ดังนั้น เราควรมองหาจุดเดนของการคมนาคมทางนํ้าใน กรุงเทพมหานคร เพื่อพัฒนาและสงเสริมใหมีประสิทธิภาพ รองรับการใหบริการทั้งคนไทยและตางประเทศ ซึ่งจาก วิทยานิพนธ์ของรองศาสตราจารย์ ดร.ภาวิณี เอี�ยมตระกูล เรื�อง Transformation of Water Transportation in Bangkok from the “Venice of East” towards the “Jungle of Concrete” ไดเสนอรูปแบบการพัฒนาระบบคมนาคม ทางนํ้าเปนสองดานคือ ดานของการเขาถึง (Accessibility) และการดึงดูด (Attractiveness) จากแผนการเปลี่ยนแปลง กรุงเทพฯ ใหกลับมาเปน Venice of East เหมือนในอดีต ด้านของการเข้าถึงก็มี 1. เปาหมายในการใชทางนํ้าเดิน ทาง 2. ทาเรือ 3. เวลาเดินทาง 4. ระยะการเดินทาง ส่วนการ ดึงดดูมี 1. ความสบาย 2. ความสะดวก 3. ความปลอดภัย 4. วิวทิวทัศน โดยเราสามารถใชปจจัยสวนนี้เขามาพัฒนา ดวยเทคโนโลยีใหมและสื่อดิจิทัลที่ทันสมัยได โดยการทําให มีเรือที่มีผูบริการมี Brand หรือเอกลักษณของการใหบริการ ที่ชัดเจนและกวางขวางมากขึ้น สรางจุดขายที่ชัดเจนเพิ่ม ความดึงดูดและมีเทคโนโลยีสมัยใหมมาชวยในดานของ การเขาถึงของผูรับบริการ ซึ่งทั้งสองปจจัยนี้ก็จะชวยพยุง ตัวซึ่งกันและกันดวย ณ ในปจจุบัน ก็ไดมีสวนของ บริษัท อี สมาร์ท ทรานสปอร์ต จํากัด ในเครือ บริษัท พลังงานบริสุทธิ� จํากัด (มหาชน) ที่ได เปดตัว เรือโดยสารไฟฟ้ า MINE Smart Ferry ที่มีความ ทันสมัยและความสบายโดยการติดเครื่องอํานวยตางๆ มีการ ใชการขับเคลื่อนดวยแบตเตอรี่ลิเทียมไอออนเปนจุดเดน ซึ่ง ได้รับรางวัลดีเด่น ในงาน Thailand Energy Award 2021 และรางวัลชนะเลิศในงาน ASEAN Energy Award 2021 เนื่องจากผลของ การใชเรือไฟฟานั้นชวยลดการใชนํ้ามันลง ถึง 4,029,260 ลิตรตอป ซึ่งชวยในเรื่องของสภาพแวดลอม และเปน จุดขายสําคัญของเรือนี้อีกดวย


48 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 49 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง Ministry of Transport คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport ทางบริษัทไดวางแผนบริการคลายคลึงกับการใชรถไฟฟา MRT ที่แบงสายตามสีไดแก Urban Line (สายสีม่วง) ที่ เริ่มตั้งแตทาเรือสาทรถึงทาเรือพระนั่งเกลา, Metro Line (สายสีนํ�าเงิน) ที่เริ่มตั้งแตทาเรือสาทรถึงทาเรือพระราม 7 และ City Line (สายสีเขียว) ที่เริ่มตั้งแตทาเรือสาทรถึง ทาเรือพระปนเกลา โดยการชําระเงินทําได้ผ่านเพียงแต่ บัตร Credit และ Debit ทีมีตรา Contactless หรือ บัตร� เดินเรือ HOP ผ่านระบบ EMV Contactless เท่านั� น ทําใหผูบริการไมจําเปนตองพกพาเงินสดติดตัวเพื่อเปนการ ตอบสนองตอความตองการ ในระบบที่รวดเร็วและสะดวก สบายในยุคสมัยดิจิทัลของทั้งคนไทยและชาวตางประเทศ สวนในการวางแผนการเดินทาง บริษัท อี สมารทฯ ก็ไดมีทั้ง app EA Anywhere และ Facebook ที่ชวยบอกเสนทาง และอัปเดตสถานะการเดินทางที่ใช MINE Smart Ferry ตอ มาในสวนของ app EA Anywhere ก็จะชวยบอกสถานที่ ชารจของเรือ เสนทาง ที่รับสงของเรือและเวลาเทียบทา รวมทั้งมีระบบซื้อตั๋วภายในตัวดวย นอกเหนือจากนี้ทาง บริษัท อี สมารทฯ เองก็ไดรวมพัฒนา Smart Pier เพื่อ สนับสนุนใหระบบ ทุกอยางในการเดินเรือนี้ใหมีความทัน สมัย ไดแก ที่ทาเรือสะพานพุทธ ทานํ้านนทบุรี โดยจะมีการ พัฒนา เพิ่มขึ้นอีกในอนาคตดวยกับทาเรือที่อยูในเสนทาง รวมทั้งสิ้น 19 ทาเรือและคาดวาจะเสร็จทั้งหมดในปลาย ป พ.ศ. 2565 ในสวนของเอกลักษณของ Smart Pier นี้มี เวลาบอกเทียบทาของเรือ, มีระบบสราง Digital Signature เพื่อตรวจสอบการบริการ, ระบบออกตั๋วอัตโนมัติและระบบ ตรวจจับสิ่งผิดปกติเพื่อความปลอดภัย ซึ่งจะชวยให การใช ทาเรือมีระบบที่กลมกลืนกันมากขึ้นและมีความทันสมัยเทียบ เทากับตัวเรือไฟฟา จากสิ่งที่บริษัท อี สมารทฯ ไดดําเนินการทั้งหมดครอบคลุม ทุกปจจัยของการเขาถึงและการดึงดูดในการใชเรือ พรอม ทั้งมีแผนการที่จะขยายและพัฒนาตอไป ซึ่งสอดคลองกับ ความตองการของ Smart City ในดาน Smart Mobility คือ มีประสิทธิภาพ สะดวกสบาย ปลอดภัยและเปนมิตรกับสิ่ง แวดลอม ถามีการสานตอหรือชวยเหลือเพิ่มเติมจะทําให ระบบสวนนี้คลองตัวมากขึ้นและขยายการบริการเดินเรือใน ลักษณะนี้นอกเหนือจากผลิตภัณฑในเครือของบริษัท อี สมา รทฯ ก็จะสามารถทําใหการเดินทางไมมีรอยตอที่ติดขัดในการ ซื้อตั๋วกับเรือ ที่ตางสาขากัน หรืออาจจะมีความสามารถใชรวม งานกับรถไฟและสายตอการคมนาคมอื่นๆ ได ซึ่งก็จะสามารถ ดึงการใชในสวน app การเดินทางอยาง EA Anywhere มา สานตอ พัฒนาหรือเปนแบบอยางเพื่อสรางระบบที่ครอบคลุม การคมนาคมที่ไรรอยใน Smart City ในขณะเดียวกันการมี app ที่บอกเสนทางการเดินเรือก็ สามารถบอกสถานที่สําคัญระหวางทางได ถือเปนการสงเสริม ในดานการทองเที่ยวชมวิวทิวทัศนทางเรือถือเปนเอกลักษณ เฉพาะที่ชวยสงเสริมใหการเดินเรือ มีความนาดึงดูดมากขึ้น และเปนผลที่ชวยในดานการทองเที่ยวอีกดวย การคมนาคม ทางนํ้านั้นมีโอกาสที่จะเปลี่ยนแปลงและเสริมสรางใหทันสมัย อีกมากทั้งในดานตัวเรือ สิ่งอํานวยความสะดวก ผูบริการและ การเขาถึงตัวผูบริโภคเอง ซึ่งสามารถเปนเสาหลักสําคัญใน การคมนาคมในแผนของ Smart City และการทองเที่ยวใน กรุงเทพมหานครดังนั้น การพัฒนาในการคมนาคมทาง นํ� าเป็ นเรื� องที� น่าติดตามและควรให้ความสนใจ เพื� อ ที� กรุงเทพมหานคร เองจะได้มีความเหมาะสมกับชื� อ Venice of East อีกครั� งหนึ� ง


50 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 วารสารเพ�่อการติดตอสื่อสาร ดานการคมนาคม ประจําป 2566 51 ใคร เป็ น ใคร ในแวดวง คมนาคมMinistry of Public Transport Ministry of Public Transport


Click to View FlipBook Version