The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มหลักสูตรศิลปะ64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by [email protected], 2022-09-06 01:22:44

เล่มหลักสูตรศิลปะ64

เล่มหลักสูตรศิลปะ64





ประกาศโรงเรียนวัดบางกระเจ้า
เรอ่ื ง ใหใ้ ช้หลักสตู รโรงเรยี นวัดบางกระเจ้า พุทธศักราช 256๔
ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

---------------------------------------------------------

โรงเรียนวัดบางกระเจ้า สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ได้ดำเนินการ
พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนวัดบางกระเจ้า พุทธศักราช 256๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช2551 และเอกสารประกอบหลักสูตรขึ้นเพื่อใช้เปน็ กรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการสอน
ของโรงเรียนวัดบางกระเจา้

โดยจัดทำและพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิดหลักสูตรอิงมาตรฐาน คือ กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้
เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกำหนดในหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถกำหนดทิศทางในการจัดทำหลักสูตรการเรียน
การสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทางที่ชัดเจนเพื่อตอบสนอง
นโยบายไทยแลนด์ 4.0 มคี วามพรอ้ มในการกา้ วส่สู ังคมคุณภาพ มคี วามรู้อยา่ งแท้จริง

มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความสมดุลทั้งร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทย
และพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้
และทกั ษะพนื้ ฐาน รวมทัง้ การมเี จตคติทจ่ี ำเป็นตอ่ การศึกษาตอ่ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต
โดยมุง่ เน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญบนพนื้ ฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
และมีทกั ษะการเรียนร้ใู นศตวรรษที่ 21

ทั้งนี้ หลักสูตรโรงเรียนได้รับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน เมื่อวันที่ ๑
เดือนมิถุนายน พ.ศ. 256๔ จงึ ประกาศใหใ้ ชห้ ลกั สตู รโรงเรียนตง้ั แตบ่ ัดน้ีเปน็ ต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ ๑ เดอื นมถิ ุนายน พ.ศ. 256๔

(พระครูสาครวิริยคุณ) (นางสาวชนกฐิยะพร คำภูเวียงทศิ)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ตำแหน่ง ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นวดั บางกระเจา้



คำนำ

กระทรวงศึกษาธิการมีคำสั่งให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ และสาระภมู ศิ าสตร์ในกลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2560) เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2560 และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคำสั่งให้
เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ลงวันที่ 5 มกราคม 2561 รวมทั้งประกาศเรื่องการบริหารจัดการหลักสูตร
สถานศกึ ษา กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ .ศ. 2560)ตามหลักสูตร
แกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ลงวันที่ 8 มกราคม 2561 โรงเรียนวัดบางกระเจ้าจึง
ไดท้ ำการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาในกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาระ
ภูมศิ าสตร์ในกลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และการงานอาชพี ใช้ในช้ันประถมศึกษา
ปที ่ี 1 – ๖ เพอื่ นำไปใช้ประโยชนแ์ ละเปน็ กรอบในการวางแผนและพฒั นาหลักสูตรของสถานศึกษาและจัดการ
เรียนการสอน อีกทัง้ ในปีการศึกษา 256๓ โรงเรยี นวดั บางกระเจ้าได้จัดการเรยี นการสอนโดยเน้นให้ผู้เรียน
เกิดความรู้ มีคุณธรรมและเสริมสร้างทักษะอาชีพ โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มี
กระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ โดยมีการกำหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด โครงสร้างเวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัด
ประเมินผล ใหม้ คี วามสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ เปดิ โอกาสใหโ้ รงเรยี นสามารถกำหนดทิศทางในการ
จดั ทำหลักสูตรการเรยี นการสอนในแตล่ ะระดบั ตามความพร้อมและจดุ เน้น โดยมีกรอบแกนกลางเป็นแนวทาง
ทช่ี ดั เจนเพ่ือตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ 4.0 มีความพรอ้ มในการก้าวสสู่ ังคมคณุ ภาพ มคี วามรู้อย่างแท้จริง
และมีทักษะในศตวรรษที่ 21

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในเอกสารนี้ ช่วยทำให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในทุก
ระดับเห็นผลคาดหวังที่ต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถช่วยให้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับท้องถิ่นและสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างมั่นใจ ทำให้การจัดทำ
หลักสูตรในระดับสถานศกึ ษามคี ณุ ภาพและมีความเปน็ เอกภาพย่ิงขึน้ อีกทงั้ ยังชว่ ยใหเ้ กิดความชัดเจนเรอื่ งการ
วัดและประเมินผลการเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหว่างสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนา
หลกั สูตรในทุกระดับตั้งแตร่ ะดับชาตจิ นกระทั่งถึงสถานศึกษา จะตอ้ งสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชวี้ ดั ท่กี ำหนดไวใ้ นหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน รวมทงั้ เปน็ กรอบทิศทางในการจัดการศึกษา
ทกุ รปู แบบ และครอบคลมุ ผเู้ รยี นทุกกลุ่มเป้าหมายในระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวังได้ ทุกฝ่ายท่ี
เกีย่ วขอ้ งท้งั ระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบคุ คลต้องรว่ มรับผดิ ชอบ โดยรว่ มกนั ทำงานอย่างเปน็ ระบบ และ
ต่อเนื่อง ในการวางแผน ดำเนินการ ส่งเสริมสนบั สนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาเยาวชน
ของชาตไิ ปส่คู ุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ที่กำหนดไว้

โรงเรียนวดั บางกระเจา้

สารบัญ ค

เร่อื ง หนา้
ประกาศโรงเรยี น ก
คำนำ ข
สารบญั ค
สว่ นที่ 1 ความนำ 1
1
ความนำ ๑
วสิ ัยทัศน/์ พนั ธกจิ 2
สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น 3
คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
ทกั ษะ ๓R๘C ๔
วทิ ยาการคำนวณ ๔
ส่วนท่ี 2 โครงสร้างหลกั สูตรโรงเรยี นวดั บางกระเจ้า 5
ส่วนท่ี ๓ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ๑๒
ส่วนที่ ๔ คำอธบิ ายรายวชิ า ๒๙
ส่วนที่ ๕ เกณฑ์การจบการศึกษา 4๑

ภาคผนวก



สว่ นที่ 1
ความนำ

หลักสูตรโรงเรียนวัดบางกระเจ้า พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช๒๕๖๐) เป็นแผนหรือแนวทาง หรือข้อกำหนดของ
การจัดการศึกษาของโรงเรียนวัดบางกระเจ้าที่จะใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานที่กำหนด มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อและ
ประกอบอาชีพที่สุจริต ตลอดจนการรู้จักอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น โดยมุ่งหวังให้มีความสมบูรณ์
ท้งั ดา้ นร่างกาย จติ ใจ และสติปัญญา อกี ทั้งมีความรู้และทักษะทีจ่ ำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตและมีคุณภาพได้
มาตรฐานสากล ดงั นน้ั หลกั สตู รโรงเรียนวัดบางกระเจ้า พุทธศกั ราช 256๓ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา
ขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุงพุทธศักราช๒๕๖๐) จึงประกอบด้วยสาระสำคัญของหลักสูตร
แกนกลาง สาระความรู้ที่เกี่ยวข้องกับชุมชนท้องถิ่น และสาระสำคัญที่โรงเรียนพัฒนาเพิ่มเติม โดยจัดเป็น
สาระการเรียนรรู้ ายวชิ าพ้ืนฐานตามมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชว้ี ัดและสาระการเรียนร้เู พ่ิมเติม จัดกิจกรรม
พัฒนาผเู้ รียนเปน็ รายปีในระดบั ประถมศึกษา และกำหนดคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของโรงเรยี น

วิสยั ทศั น์

ภายในปี 256๖ โรงเรียนวัดบางกระเจ้าเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ ครูมีความเป็นมืออาชีพในการ
พัฒนาผู้เรียนให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการควบคู่คุณธรรม จริยธรรม พร้อมทั้งส่งเสริมความสามารถตาม
ศักยภาพของผู้เรยี น มกี ารบริหารจดั การอยา่ งเป็นระบบ และมปี ระสทิ ธภิ าพ

พันธกจิ

แนวปฏบิ ัติและบทบาทหนา้ ทข่ี องโรงเรยี นวัดบางกระเจา้ ทต่ี ้องทำ เพ่อื ให้บรรลุวสิ ยั ทัศน์ มดี ังน้ี

๑. จดั การศึกษาอย่างมคี ุณภาพทกุ ระดับ เพือ่ เตรียมพรอ้ มเขา้ สู่ประชาคมอาเซียน
๒. จดั การเรียนรเู้ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั และตามจุดเน้นการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน
๓. ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม จิตสาธารณะ สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย ตามแนวปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง
๔. พัฒนาครูให้มีความรู้ความสามรถในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ครบถ้วนตาหลักสูตร

โดยใชส้ อื่ นวตั กรรม เทคโนโลยีเพอื่ ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของผเู้ รยี น
๕. พฒั นาระบบดูแลชว่ ยเหลอื และการแนะแนว
๖. ส่งเสริมการออกกำลงั การเล่นกีฬา ดนตรี เพ่อื สุขภาพ และเพือ่ การเข้าร่วมแขง่ ขัน
๗. ส่งเสริมให้นักเรียนได้รับการพัฒนาคุณธรรม ให้สอดคล้องกับคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ของ

โรงเรียนที่ตง้ั ไว้ และนักเรยี นเปน็ ผู้มสี มรรถนะตามท่โี รงเรยี นต้องการครบถว้ น
๘. ส่งเสรมิ ใหค้ รูมีการพัฒนาศักยภาพตรงตามมาตรฐานวชิ าชีพ



สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน

ในการพัฒนาผู้เรยี นโรงเรียนวัดบางกระเจา้ มุ่งเน้นพฒั นาผเู้ รียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานทีก่ ำหนด
ซ่ึงจะช่วยใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ สมรรถนะสำคญั ๕ ประการ ดังน้ี

๑. ความสามารถในการสื่อสาร เปน็ ความสามารถในการรบั และสง่ สาร มวี ฒั นธรรมในการใชภ้ าษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคมรวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด
ปัญหาความขัดแย้งต่างๆการเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการ
เลอื กใช้วธิ กี ารส่อื สาร ทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทีม่ ีต่อตนเองและสังคม

๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สรา้ งสรรค์ การคดิ อย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเปน็ ระบบ เพอ่ื นำไปสู่การสรา้ งองค์ความรูห้ รือสารสนเทศ
เพ่ือการตัดสินใจเกย่ี วกบั ตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม

๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เป็นความสามารถในการแกป้ ญั หาและอปุ สรรคต่าง ๆท่ีเผชญิ ได้
อย่างถกู ต้องเหมาะสม บนพ้นื ฐานของหลกั เหตุผล คุณธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข
ปญั หา และมกี ารตัดสินใจท่ีมีประสทิ ธภิ าพโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบท่เี กิดข้นึ ต่อตนเอง สงั คมและสง่ิ แวดลอ้ ม

๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้
ในการดำเนนิ ชีวิตประจำวัน การเรียนร้ดู ้วยตนเอง การเรยี นรู้อยา่ งต่อเน่ือง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันใน
สังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง
เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง
พฤตกิ รรมไมพ่ ึงประสงคท์ ส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อน่ื

๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านตา่ ง ๆ และ
มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน
การแกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม



คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

โรงเรียนวดั บางกระเจา้ มุ่งพฒั นาผ้เู รียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่อื ใหส้ ามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น
ในสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้

๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
 มีพฤติกรรมทีแ่ สดงถึงการเคารพ การเทดิ ทนู สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์
 เข้ารว่ มกิจกรรมทางพุทธศาสนา และวนั สำคญั ของชาติ
๒. ซื่อสตั ยส์ ุจริต
 ไม่ลกั ขโมย
 ไมพ่ ูดปด
๓. มวี ินยั
 มาโรงเรียนแตเ่ ชา้ ปฏิบัติกิจกรรมหนา้ เสาธงอย่างสม่ำเสมอ
 ปฏิบัติตนตามระเบยี บของโรงเรียนและสังคม
๔. ใฝ่เรียนรู้
 แสวงหาความรู้อยู่เสมอ มนี สิ ยั รกั การอา่ นและการเขียน
 มีทักษะการอ่าน คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี นอย่างสร้างสรรค์
๕. อยูอ่ ยา่ งพอเพียง
 รจู้ กั เก็บอออม
 ประหยดั พลังงานและส่งิ ของเครอื่ งใช้
๖. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
 ขยันหมั่นเพียร มคี วามอดทน อดกล้ัน
 ทำงานรว่ มกับผูอ้ นื่ และมที กั ษะเป็นผ้นู ำ และผ้ตู ามทีด่ ี
๗. รกั ความเป็นไทย
 มจี ติ สำนึกในความเป็นไทย
 มคี วามชนื่ ชม และเข้าร่วมกจิ กรรมเกีย่ วกบั วัฒนธรรมและประเพณไี ทย
๘. มีจิตสาธารณะ
 รักษาสง่ิ แวดล้อม รกั ษาความสะอาดของโรงเรียนและชุมชน ไมท่ ำลายสาธารณะสมบตั ิ
 มีความรักความสามัคคีเห็นอกเห็นใจ เอื้ออาทรต่อคนรอบข้าง ช่วยเหลือสังคมได้อย่าง

เหมาะสมเมื่อมโี อกาส



ทักษะ ๓R 8C

การพฒั นาผู้เรียนโรงเรยี นวัดบางกระเจ้า มุง่ เนน้ พัฒนาผเู้ รียนให้มีทักษะ ๓R 8C ดังนี้
๓R คอื Reading อา่ นออก (W) Riting เขียนได้ (A) Rithmatic มีทกั ษะในการคำนวณ
๘C คือ ⚫ Critical Thinking and Problem Solving : มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ การคิด
อยา่ งมีวจิ ารณญาณ และแกไ้ ขปัญหาได้
⚫ Creativity and Innovation : คดิ อย่างสรา้ งสรรค์ คดิ เชิงนวัตกรรม
⚫ Collaboration Teamwork and Leadership : ความรว่ มมอื การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ
⚫ Communication Information and Media Literacy : ทกั ษะในการสื่อสาร และการรเู้ ท่าทนั สอ่ื
⚫ Cross-cultural Understanding : ความเข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรม กระบวนการคิดข้าม
วัฒนธรรม
⚫ Computing and ICT Literacy : ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ และการรู้เท่าทันเทคโนโลยี ซึ่งเยาวชน
ในยุคปัจจุบนั มีความสามารถดา้ นคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยอี ยา่ งมากหรือเป็น Native Digital สว่ นคนรุ่นเก่าหรือ
ผสู้ ูงอายเุ ปรยี บเสมอื นเป็น Immigrant Digital แตเ่ ราต้องไม่อายทีจ่ ะเรยี นรู้แม้ว่าจะสงู อายแุ ล้วกต็ าม
⚫ Career and Learning Skills : ทักษะทางอาชพี และการเรียนรู้
⚫ Compassion : มีคุณธรรม มีเมตตา กรุณา มีระเบียบวินัย ซึ่งเป็นคุณลักษณะพื้นฐานสำคัญของ
ทกั ษะข้นั ต้นท้ังหมด และเปน็ คณุ ลกั ษณะท่เี ด็กไทยจำเปน็ ต้องมี

วทิ ยาการคำนวณ

วิทยาการคำนวณ ประกอบด้วย ๓ องค์ความรู้ ดังนี้
1. การคดิ เชงิ คำนวณ (computational thinking) คือ เข้าใจและเรยี นรวู้ ิธีคดิ และแก้ปัญหาเชิงวเิ คราะห์
มลี ำดบั วิธคี ดิ ซงึ่ นอกจากการเรียนการเขยี นโปรแกรมแลว้ หวั ใจท่ีสำคัญกว่า คือ สอนให้เราเช่อื มโยงปัญหา
ต่าง ๆ และแกไ้ ขปญั หาได้
2. ใช้เทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสม (digital technology) ทง้ั เทคนิควธิ ีการตา่ ง ๆ เกย่ี วกับเทคโนโลยดี จิ ิทัลใน
ยุค 4.0 และเปน็ ทางเลอื กในการบรู ณาการเขา้ กับวชิ าอ่ืนได้ดว้ ย
3. รูเ้ ทา่ ทันสอื่ และเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั (media and information literacy) พูดง่าย ๆ คอื แยกแยะไดว้ า่
ขอ้ มูลไหนเป็นจริงหรอื หลอกลวง ร้กู ฎหมายและลขิ สทิ ธิต์ ่าง ๆ บนโลกไซเบอร์ เพือ่ ใหใ้ ช้งานกนั ได้อย่างถูกต้อง
และปลอดภยั



ส่วนที่ 2
โครงสรา้ งหลกั สตู รโรงเรยี นวดั บางกระเจ้า

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ /กจิ กรรม ระดับประถมศึกษา / เวลาเรยี น
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6

ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160
คณิตศาสตร์ 160 160 160 160 160 160

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๐0 ๑๐0 ๑๐0 ๑๒0 ๑๒0 ๑๒0

สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 40 40 40 80 80 80

 ศาสนาศีลธรรม จรยิ ธรรม

 หน้าทพี่ ลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนนิ ชีวิต ฯ

 เศรษฐศาสตร์ 40 40 40 40 40 40

 ภมู ศิ าสตร์

 ประวัตศิ าสตร์

สขุ ศกึ ษา และพลศึกษา 40 40 40 80 80 80

ศลิ ปะ 40 40 40 80 80 80

การงานอาชพี ๒0 ๒0 ๒0 ๔0 ๔0 ๔0

ภาษาองั กฤษ 200 200 200 80 80 80

รวมเวลาเรยี นพื้นฐาน 840 840 840 840 840 840

รายวชิ าเพ่ิมเติม

หน้าท่ีพลเมือง 40 40 40 40 40 40

สารพัดประโยชนจ์ ากต้นจาก 40 40 40 40 40 40

กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น

 กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40

 กจิ กรรมนกั เรยี น

- ลกู เสอื /เนตรนารี 40 40 40 40 40 40

- ชุมนมุ 30 30 30 30 30 30

 กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 10 10 10 10 10 10

รวมเวลากิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน 120 120 120 120 120 120

รวมเวลาทัง้ หมด 1,0๔0 ชัว่ โมง 1,0๔0 ช่ัวโมง



โครงสร้างหลักสตู รระดับชนั้ ปี

ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1

รายวชิ า / กิจกรรม เวลาเรยี น (ช่ัวโมง / ปี)
รายวชิ าพน้ื ฐาน 840
200
ท 11101 ภาษาไทย 160
ค 11101 คณติ ศาสตร์ ๑๐0
ว 11101 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 40
ส 11101 สงั คมศึกษา 40
ส 11102 ประวัตศิ าสตร์ 40
พ 11101 สุขศึกษา และพลศึกษา 40
ศ 11101 ศลิ ปะ ๒0
ง 11101 การงานอาชพี 200
อ 11101 ภาษาองั กฤษ ๘0
40
รายวิชาเพ่มิ เติม 40
ส 11201 หน้าที่พลเมือง 120
ง 1๑๒01 สารพัดประโยชนจ์ ากต้นจาก 40

กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 40
กจิ กรรมแนะแนว 30
กจิ กรรมนกั เรียน 10
1,0๔0
- ลูกเสอื / เนตรนารี
- ชมุ นุม
กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณะประโยชน์

รวมเวลาเรียนทง้ั สิน้



โครงสรา้ งหลักสตู รระดบั ชน้ั ปี
ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 2

รายวิชา / กจิ กรรม เวลาเรียน (ช่ัวโมง / ปี)
840
รายวชิ าพ้นื ฐาน 200
ท 12101 ภาษาไทย 160
ค 12101 คณติ ศาสตร์ 100
ว 12101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 40
ส 12101 สังคมศกึ ษา 40
ส 12102 ประวัติศาสตร์ 40
พ 12101 สุขศึกษา และพลศึกษา 40
ศ 12101 ศิลปะ 20
ง 12101 การงานอาชพี 200
อ 12101 ภาษาองั กฤษ ๘0
40
รายวิชาเพิม่ เติม 40
ส 12201 หน้าทพี่ ลเมอื ง 120
ง 1๒๒01 สารพดั ประโยชนจ์ ากตน้ จาก 40

กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 40
30
กิจกรรมแนะแนว 10
กิจกรรมนักเรียน 1,0๔0

- ลกู เสอื / เนตรนารี
- ชุมนมุ
กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์

รวมเวลาเรยี นทงั้ ส้ิน



โครงสรา้ งหลักสูตรระดับชน้ั ปี
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 3

รายวิชา / กจิ กรรม เวลาเรียน (ชั่วโมง / ปี)
รายวชิ าพนื้ ฐาน 840
ท 13101 ภาษาไทย 200
ค 13101 คณิตศาสตร์ 160
ว 13101 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๑๐0
ส 13101 สงั คมศึกษา 40
ส 13102 ประวตั ศิ าสตร์ 40
พ 13101 สุขศกึ ษา และพลศึกษา 40
ศ 13101 ศลิ ปะ 40
ง 13101 การงานอาชพี ๒0
อ 13101 ภาษาองั กฤษ 200
รายวชิ าเพมิ่ เติม ๘0
ส 13201 หนา้ ที่พลเมอื ง 40
ง 1๓๒01 สารพัดประโยชนจ์ ากตน้ จาก 40
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น 120
กจิ กรรมแนะแนว 40
กจิ กรรมนักเรยี น
- ลูกเสือ / เนตรนารี 40
- ชมรม ชมุ นุม 30
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ 10
รวมเวลาเรียนทงั้ สน้ิ 1,0๔0



โครงสร้างหลกั สูตรระดบั ชน้ั ปี
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4

รายวชิ า / กจิ กรรม เวลาเรยี น (ช่ัวโมง / ปี)
840
รายวิชาพืน้ ฐาน 160
ท 14101 ภาษาไทย 160
ค 14101 คณิตศาสตร์ ๑๒0
ว 14101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 80
ส 14101 สงั คมศกึ ษา 40
ส 14102 ประวัติศาสตร์ 80
พ 14101 สขุ ศกึ ษา และพลศึกษา 80
ศ 14101 ศลิ ปะ ๔0
ง 14101 การงานอาชพี 80
อ 14101 ภาษาองั กฤษ ๘0
40
รายวิชาเพม่ิ เติม 40
ส 14201 หนา้ ทพ่ี ลเมือง 120
ง 1๔๒01 สารพดั ประโยชน์จากตน้ จาก 40

กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน 40
กจิ กรรมแนะแนว 30
กจิ กรรมนกั เรียน 10
1,0๔0
- ลกู เสอื / เนตรนารี
- ชมรม ชมุ นุม
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์

รวมเวลาเรยี นทง้ั สนิ้

๑๐

โครงสรา้ งหลักสูตรระดบั ช้นั ปี
ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 5

รายวิชา / กิจกรรม เวลาเรยี น (ชั่วโมง / ป)ี
รายวชิ าพนื้ ฐาน 840
ท 15101 ภาษาไทย 160
ค 15101 คณิตศาสตร์ 160
ว 15101 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 120
ส 15101 สงั คมศกึ ษา 80
ส 15102 ประวตั ิศาสตร์ 40
พ 15101 สขุ ศกึ ษา และพลศกึ ษา 80
ศ 15101 ศลิ ปะ 80
ง 15101 การงานอาชีพ 40
อ 15101 ภาษาอังกฤษ 80
รายวิชาเพิ่มเติม ๘0
ส 15201 หน้าท่พี ลเมอื ง 40
ง 1๕๒01 สารพัดประโยชน์จากต้นจาก 40
กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 120
กิจกรรมแนะแนว 40
กิจกรรมนกั เรยี น
- ลูกเสือ / เนตรนารี 40
- ชมรม ชมุ นมุ 30
กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์ 10
รวมเวลาเรยี นทง้ั สน้ิ 1,0๔0

๑๑

โครงสร้างหลกั สูตรระดับชน้ั ปี
ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6

รายวชิ า / กิจกรรม เวลาเรยี น (ชั่วโมง / ป)ี
840
รายวิชาพน้ื ฐาน 160
ท 16101 ภาษาไทย 160
ค 16101 คณิตศาสตร์ ๑๒๐
ว 16101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 80
ส 16101 สงั คมศกึ ษา 40
ส 16102 ประวตั ศิ าสตร์ 80
พ 16101 สุขศึกษา และพลศกึ ษา 80
ศ 16101 ศลิ ปะ ๔0
ง 16101 การงานอาชีพ 80
อ 16101 ภาษาองั กฤษ ๘0
40
รายวชิ าเพม่ิ เติม 40
ส 16201 หนา้ ท่พี ลเมือง 120
ง 1๖๒01 สารพัดประโยชนจ์ ากตน้ จาก 40

กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น 40
กจิ กรรมแนะแนว 30
กจิ กรรมนักเรยี น 10
1,0๔0
- ลูกเสือ / เนตรนารี
- ชมรม ชมุ นุม
กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะประโยชน์

รวมเวลาเรยี นทงั้ สน้ิ

๑๒

สว่ นท่ี ๓

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทศั นศลิ ป์ตามจนิ ตนาการ และความคิดสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษ์

วจิ ารณ์คณุ คา่ งานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ
ชนื่ ชมและประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสมั พนั ธ์ระหว่างทัศนศลิ ป์ ประวตั ศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณคา่ งาน
ทศั นศิลปท์ เี่ ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ ภมู ิปัญญาไทย และสากล

สาระท่ี ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๑ เขา้ ใจและแสดงออกทางดนตรอี ยา่ งสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วิพากษว์ ิจารณค์ ุณค่าดนตรี
ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคดิ ตอ่ ดนตรีอย่างอสิ ระ ชน่ื ชมและประยุกต์ใช้ในชวี ติ

ประจำวนั
มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวฒั นธรรม เห็นคุณค่าของดนตรี

ที่เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน ภูมปิ ญั ญาไทยและสากล

สาระท่ี ๓ นาฏศิลป์
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลปอ์ ย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์วจิ ารณ์คุณค่า

นาฏศิลปถ์ ่ายทอดความรูส้ ึก ความคิดอยา่ งอิสระ ชน่ื ชม และประยกุ ต์ใช้
ในชวี ิตประจำวัน
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เหน็ คุณคา่
ของนาฏศิลป์ทเ่ี ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถน่ิ ภูมิปญั ญาไทยและสากล

๑๓

คณุ ภาพผ้เู รียน

จบชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓

• รูแ้ ละเข้าใจเก่ียวกับรูปรา่ ง รูปทรง และจำแนกทัศนธาตุของส่ิงต่าง ๆ ในธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและ
งานทศั นศิลป์ มที ักษะพ้นื ฐานการใช้วัสดอุ ุปกรณใ์ นการสร้างงานวาดภาพระบายสี โดยใช้เสน้ รปู ร่าง รูปทรง สี
และพื้นผิว ภาพปะติด และงานปั้น งานโครงสร้างเคลื่อนไหวอย่างง่ายๆ ถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกจาก
เรื่องราว เหตุการณ์ ชีวิตจริง สร้างงานทัศนศิลป์ตามที่ตนชื่นชอบ สามารถแสดงเหตุผลและวิธีการในการ
ปรบั ปรุงงานของตนเอง

• รู้และเข้าใจความสำคัญของงานทัศนศิลป์ในชีวิตประจำวัน ที่มาของงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
ตลอดจนการใชว้ ัสดุ อุปกรณ์ และวธิ กี ารสรา้ งงานทศั นศิลปใ์ นท้องถ่ิน

• รู้และเข้าใจแหล่งกำเนิดเสียง คุณสมบัติของเสียง บทบาทหน้าที่ ความหมาย ความสำคัญของบท
เพลงใกล้ตัวที่ได้ยนิ สามารถท่องบทกลอน รอ้ งเพลง เคาะจงั หวะ เคลื่อนไหวร่างกายใหส้ อดคล้องกับบทเพลง
อ่าน เขียน และใช้สัญลักษณ์แทนเสียงและเคาะจังหวะ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับดนตรี เสียงขับร้องของ
ตนเอง มสี ่วนร่วมกับกจิ กรรมดนตรีในชวี ิตประจำวนั

• รู้และเข้าใจเอกลักษณ์ของดนตรีในท้องถิ่น มีความชื่นชอบ เห็นความสำคัญและประโยชน์ของ
ดนตรีตอ่ การดำเนนิ ชีวิตของคนในท้องถิน่

• สร้างสรรคก์ ารเคล่ือนไหวในรปู แบบตา่ ง ๆ สามารถแสดงทา่ ทางประกอบจังหวะเพลง ตามรูปแบบ
นาฏศิลป์ มีมารยาทในการชมการแสดง รู้หน้าที่ของผู้แสดงและผู้ชม รู้ประโยชน์ ของการแสดงนาฏศิลป์ใน
ชวี ติ ประจำวนั เขา้ รว่ มกจิ กรรมการแสดงที่เหมาะสมกบั วยั

• รู้และเข้าใจการละเล่นของเด็กไทยและนาฏศิลป์ท้องถิ่น ชื่นชอบและภาคภูมิใจ ในการละเล่น
พื้นบา้ น สามารถเช่อื มโยงส่ิงที่พบเห็นในการละเลน่ พ้ืนบ้านกับการดำรงชีวิตของคนไทย บอกลักษณะเด่นและ
เอกลกั ษณข์ องนาฏศลิ ป์ไทยตลอดจนความสำคญั ของการแสดงนาฏศิลป์ไทยได้

๑๔

จบชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖

• รู้และเข้าใจการใชท้ ัศนธาตุ รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว สี แสงเงา มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์
ถ่ายทอดความคิด อารมณ์ ความรู้สึก สามารถใช้หลักการจัดขนาด สัดส่วน ความสมดุล น้ำหนัก แสงเงา
ตลอดจนการใช้สีคู่ตรงข้ามทเ่ี หมาะสมในการสร้างงานทัศนศลิ ป์ ๒ มติ ิ ๓ มติ ิ เช่น งานสื่อผสม งานวาดภาพ
ระบายสี งานปั้น งานพมิ พภ์ าพ รวมทงั้ สามารถสร้างแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบเพ่อื ถ่ายทอดความคิด
จินตนาการเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ และสามารถเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงาน
ทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุอุปกรณ์และวิธีการที่แตกต่างกัน เข้าใจปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์
หลักการลดและเพิ่มในงานปั้น การสื่อความหมายในงานทัศนศิลป์ของตน รู้วิธีการปรับปรุงงานให้ดีข้ึน
ตลอดจน รแู้ ละเขา้ ใจคณุ คา่ ของงานทศั นศลิ ป์ที่มีผลต่อชวี ติ ของคนในสังคม

• รู้และเข้าใจบทบาทของงานทัศนศิลปท์ ี่สะทอ้ นชีวิตและสังคม อิทธิพลของความเชื่อความศรัทธา
ในศาสนา และวฒั นธรรมทมี่ ีผลตอ่ การสรา้ งงานทศั นศิลป์ในท้องถนิ่

• รู้และเขา้ ใจเกี่ยวกับเสียงดนตรี เสียงรอ้ ง เครอ่ื งดนตรี และบทบาทหน้าทร่ี ู้ถงึ การเคล่ือนท่ีข้ึน ลง
ของทำนองเพลง องค์ประกอบของดนตรี ศัพท์สังคีตในบทเพลง ประโยค และอารมณ์ของบทเพลงที่ฟัง ร้อง
และบรรเลงเครือ่ งดนตรี ดน้ สดอยา่ งงา่ ย ใชแ้ ละเก็บรกั ษา เครือ่ งดนตรีอยา่ งถูกวิธี อา่ น เขียนโนต้ ไทยและสากล
ในรูปแบบต่าง ๆ รู้ลักษณะของผู้ที่จะเล่นดนตรีได้ดี แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับองค์ประกอบดนตรี ถ่ายทอด
ความรสู้ กึ ของบทเพลงทฟ่ี ัง สามารถใชด้ นตรปี ระกอบกิจกรรมทางนาฏศิลปแ์ ละ การเลา่ เร่อื ง

• ร้แู ละเขา้ ใจความสัมพนั ธร์ ะหว่างดนตรีกับวถิ ีชวี ิต ประเพณี วัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมต่าง ๆ
เรอ่ื งราวดนตรีในประวตั ิศาสตร์ อิทธพิ ลของวัฒนธรรมต่อดนตรี ร้คู ณุ คา่ ดนตรีทีม่ าจากวัฒนธรรมต่างกัน เห็น
ความสำคญั ในการอนุรักษ์

• รู้และเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ สามารถแสดงภาษาท่า นาฏยศัพท์พื้นฐาน สร้างสรรค์การ
เคลื่อนไหวและการแสดงนาฏศิลป์ และการละครง่าย ๆ ถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์ และสามารถออกแบบ
เครื่องแต่งกายหรืออุปกรณ์ประกอบการแสดงง่าย ๆ เขา้ ใจความสัมพนั ธ์ระหว่างนาฏศลิ ป์และการละครกับส่ิง
ทีป่ ระสบในชวี ิตประจำวัน แสดงความคิดเห็นในการชมการแสดง และบรรยายความรูส้ ึกของตนเองท่ีมีต่องาน
นาฏศลิ ป์

• รู้และเข้าใจความสัมพันธ์และประโยชน์ของนาฏศิลป์และการละคร สามารถเปรียบเทียบการ
แสดงประเภทต่าง ๆ ของไทยในแต่ละท้องถิ่น และสิ่งที่การแสดงสะท้อนวัฒนธรรมประเพณีเห็นคุณค่าการ
รักษาและสืบทอดการแสดงนาฏศลิ ปไ์ ทย

๑๕

ตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

สาระที่ ๑ ทศั นศิลป์

มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์

วจิ ารณค์ ุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคดิ ต่องานศลิ ปะอยา่ งอิสระช่ืนชม และ

ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวัน

ชน้ั ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.๑ ๑. อภปิ รายเกย่ี วกับรปู ร่าง ลักษณะ • รปู ร่าง ลกั ษณะ และขนาดของสงิ่ ต่าง ๆ
และขนาดของสง่ิ ต่าง ๆ รอบตัว รอบตัวในธรรมชาตแิ ละสง่ิ ทม่ี นษุ ย์สรา้ งข้นึ
ในธรรมชาตแิ ละสงิ่ ที่มนุษยส์ รา้ งข้นึ

๒. บอกความรสู้ ึกที่มตี อ่ ธรรมชาติ และ • ความรสู้ ึกที่มีตอ่ ธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม

ส่งิ แวดลอ้ มรอบตัว รอบตวั เชน่ ร้สู ึกประทับใจกับความงาม

ของบรเิ วณรอบอาคารเรียน หรอื รู้สกึ ถงึ

ความไมเ่ ป็นระเบียบ ของสภาพภายใน

หอ้ งเรียน

๓. มีทักษะพืน้ ฐานในการใชว้ สั ดุ • การใช้วสั ดุ อปุ กรณ์ เช่น ดนิ เหนียว
อปุ กรณ์สร้างงานทัศนศลิ ป์ ดินน้ำมนั ดนิ สอ พู่กัน กระดาษ สีเทยี น สนี ้ำ

ดนิ สอสีสร้างงานทัศนศลิ ป์

๔. สร้างงานทัศนศิลปโ์ ดยการทดลองใชส้ ี • การทดลองสีดว้ ยการใช้สนี ้ำ สีโปสเตอร์

ดว้ ยเทคนิคงา่ ย ๆ สีเทียนและสีจากธรรมชาตทิ ี่หาไดใ้ นท้องถ่นิ

๕. วาดภาพระบายสีภาพธรรมชาติ • การวาดภาพระบายสตี ามความรสู้ กึ
ตามความรสู้ กึ ของตนเอง ของตนเอง

ป.๒ ๑. บรรยายรปู ร่าง รูปทรงที่พบในธรรมชาติ • รปู รา่ ง รปู ทรงในธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม

และสิ่งแวดล้อม เช่น รปู กลม รี สามเหลีย่ ม สีเ่ หลย่ี ม และ

กระบอก

๒. ระบทุ ศั นธาตุที่อยู่ในส่งิ แวดล้อม และ • เส้น สี รปู ร่าง รูปทรงในสง่ิ แวดล้อม

งานทศั นศลิ ป์ โดยเน้นเรื่องเส้น และงานทัศนศลิ ปป์ ระเภทต่าง ๆ เช่น งานวาด

สี รูปรา่ ง และรปู ทรง งานป้นั และงานพิมพภ์ าพ

๓. สร้างงานทศั นศิลป์ต่าง ๆ โดยใช้ • เส้น รูปรา่ งในงานทัศนศิลปป์ ระเภทต่าง ๆ
ทัศนธาตทุ ่เี นน้ เสน้ รูปรา่ ง เช่น งานวาด งานปั้น และงานพิมพ์ภาพ

๔. มที ักษะพน้ื ฐานในการใช้วัสดุ • การใช้วัสดุ อปุ กรณ์ สรา้ งงานทัศนศลิ ป์ ๓ มิติ
อปุ กรณ์ สรา้ งงานทศั นศลิ ป์ ๓ มิติ

๕. สร้างภาพปะตดิ โดยการตดั หรือ • ภาพปะตดิ จากกระดาษ
ฉีกกระดาษ

๑๖

ชั้น ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.๒ ๖. วาดภาพเพ่ือถ่ายทอดเรื่องราวเกยี่ วกบั • การวาดภาพถา่ ยทอดเรอ่ื งราว

ครอบครวั ของตนเองและเพอื่ นบา้ น

๗. เลือกงานทัศนศลิ ป์ และบรรยายถงึ สงิ่ • เน้อื หาเรอื่ งราวในงานทัศนศลิ ป์

ทม่ี องเหน็ รวมถงึ เน้ือหาเร่ืองราว

๘. สร้างสรรค์งานทัศนศิลปเ์ ป็นรูปแบบ • งานโครงสร้างเคล่ือนไหว

งานโครงสร้างเคลือ่ นไหว

ป.๓ ๑. บรรยาย รปู ร่าง รูปทรงในธรรมชาติ • รปู ร่าง รปู ทรงในธรรมชาตสิ ง่ิ แวดลอ้ มและ

สิ่งแวดล้อม และงานทศั นศิลป์ งานทศั นศลิ ป์

๒. ระบุ วัสดุ อุปกรณ์ท่ีใชส้ ร้างผลงาน • วสั ดุ อุปกรณท์ ีใ่ ชส้ รา้ งงานทศั นศิลป์

เมื่อชมงานทัศนศิลป์ ประเภทงานวาด งานปนั้ งานพมิ พ์ภาพ

๓. จำแนกทัศนธาตขุ องสง่ิ ตา่ งๆ • เส้น สี รปู รา่ ง รปู ทรง พน้ื ผวิ ในธรรมชาติ
ในธรรมชาตสิ งิ่ แวดลอ้ มและงานทศั นศิลป์ สง่ิ แวดลอ้ มและงานทัศนศลิ ป์
โดยเนน้ เร่ืองเส้น สี รูปรา่ ง รปู ทรง และ
พน้ื ผิว

๔. วาดภาพ ระบายสสี ิ่งของรอบตัว • การวาดภาพระบายสี สิ่งของรอบตัว
ดว้ ยสีเทียน ดินสอสี และสีโปสเตอร์

๕. มที กั ษะพืน้ ฐาน ในการใช้วสั ดุอุปกรณ์ • การใช้วสั ดุอุปกรณใ์ นงานปัน้
สร้างสรรคง์ านปัน้

๖. วาดภาพถา่ ยทอดความคดิ ความรู้สกึ • การใช้เสน้ รปู ร่าง รูปทรง สี และพน้ื ผวิ
จากเหตกุ ารณ์ชีวติ จริง โดยใชเ้ สน้ รปู รา่ ง วาดภาพถา่ ยทอดความคดิ ความรสู้ กึ
รูปทรง สี และพ้ืนผวิ

๗. บรรยายเหตผุ ลและวิธกี ารในการ • วสั ดุ อปุ กรณ์ เทคนิควธิ ีการในการสร้างงาน
สรา้ งงานทศั นศิลป์ โดยเน้นถึงเทคนคิ ทศั นศิลป์
และวสั ดุ อุปกรณ์

๘. ระบุส่งิ ที่ช่ืนชมและส่ิงที่ควรปรับปรุงใน • การแสดงความคดิ เหน็ ในงานทศั นศิลปข์ อง

งานทัศนศลิ ป์ของตนเอง ตนเอง

๙. ระบุ และจดั กลมุ่ ของภาพตามทัศนธาตุ • การจัดกล่มุ ของภาพตามทศั นธาตุ

ที่เน้นในงานทัศนศิลป์นนั้ ๆ

๑๐.บรรยายลักษณะรปู รา่ งรูปทรง • รปู รา่ ง รปู ทรง ในงานออกแบบ

ในงานการออกแบบสิ่งต่าง ๆ ท่ีมใี นบ้าน

และโรงเรยี น

๑๗

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.๔ ๑. เปรยี บเทียบรูปลักษณะของรปู รา่ ง • รูปรา่ ง รูปทรง ในธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม

รปู ทรงในธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม และงานทัศนศลิ ป์

และงานทัศนศิลป์

๒. อภิปรายเกี่ยวกบั อทิ ธิพลของสีวรรณะ • อิทธิพลของสี วรรณะอุน่ และวรรณะเย็น

อนุ่ และสวี รรณะเย็นทม่ี ีตอ่ อารมณ์ของ

มนุษย์

๓. จำแนกทัศนธาตุของส่ิงตา่ ง ๆ • เสน้ สี รูปร่าง รปู ทรง พ้นื ผวิ และพืน้ ท่วี า่ ง

ในธรรมชาตสิ งิ่ แวดลอ้ มและงานทศั นศลิ ป์ ในธรรมชาติสิง่ แวดลอ้ มและงานทศั นศลิ ป์

โดยเน้นเรอ่ื งเสน้ สี รปู ร่าง รูปทรงพืน้ ผิว

และพ้นื ที่ว่าง

๔. มีทกั ษะพืน้ ฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ • การใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์สร้างงานพิมพภ์ าพ

สร้างสรรค์งานพิมพ์ภาพ

๕. มที กั ษะพ้นื ฐานในการใชว้ สั ดุ • การใช้วสั ดุ อุปกรณ์ในการวาดภาพระบายสี

อุปกรณส์ รา้ งสรรค์งานวาดภาพระบายสี

๖. บรรยายลักษณะของภาพโดยเนน้ • การจดั ระยะความลึก นำ้ หนักและแสงเงา

เร่อื งการจดั ระยะ ความลึก น้ำหนกั และ ในการวาดภาพ

แสงเงาในภาพ

๗. วาดภาพระบายสี โดยใช้สีวรรณะอ่นุ • การใช้สวี รรณะอุ่นและใช้สีวรรณะเยน็ วาด

และสีวรรณะเยน็ ถ่ายทอดความรู้สึกและ ภาพถ่ายทอดความรูส้ ึกและจินตนาการ

จนิ ตนาการ

๘. เปรียบเทียบความคดิ ความร้สู ึก • ความเหมอื นและความแตกต่างในงาน

ท่ถี ่ายทอดผา่ นงานทัศนศิลป์ของตนเอง ทัศนศิลปค์ วามคิดความรสู้ กึ ท่ีถา่ ยทอดในงาน

และบคุ คลอืน่ ทศั นศลิ ป์

๙. เลอื กใชว้ รรณะสีเพ่ือถา่ ยทอดอารมณ์ • การเลอื กใชว้ รรณะสเี พ่ือถ่ายทอดอารมณ์

ความรสู้ ึกในการสร้างงานทัศนศิลป์ ความรู้สึก

ป.๕ ๑. บรรยายเกยี่ วกบั จงั หวะตำแหนง่ • จังหวะ ตำแหนง่ ของส่ิงต่าง ๆ ในสิ่งแวดลอ้ ม

ของสง่ิ ต่าง ๆ ที่ปรากฏในสงิ่ แวดล้อม และงานทัศนศิลป์

และงานทัศนศลิ ป์

๒. เปรยี บเทียบความแตกตา่ งระหว่าง • ความแตกตา่ งระหวา่ งงานทัศนศลิ ป์

งานทศั นศลิ ป์ ทีส่ ร้างสรรคด์ ้วยวัสดุ

อุปกรณ์และวิธีการที่ตา่ งกนั

๑๘

ชน้ั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ป.๕ ๓. วาดภาพ โดยใชเ้ ทคนคิ ของแสงเงา • แสงเงา นำ้ หนกั และวรรณะสี

นำ้ หนัก และวรรณะสี

๔. สร้างสรรคง์ านปน้ั จาก ดนิ น้ำมัน หรือ • การสรา้ งงานป้นั เพื่อถ่ายทอดจินตนาการ

ดินเหนียว โดยเนน้ การถา่ ยทอด ดว้ ยการใช้ดนิ น้ำมันหรือดนิ เหนียว

จินตนาการ

๕. สร้างสรรค์งานพิมพภ์ าพ โดยเนน้ • การจัดภาพในงานพิมพ์ภาพ

การจดั วางตำแหน่งของสงิ่ ตา่ ง ๆ ในภาพ

๖. ระบปุ ัญหาในการจดั องค์ประกอบศิลป์ • การจดั องค์ประกอบศลิ ป์และการสอื่

และการส่ือความหมายในงานทศั นศิลป์ ความหมาย ในงานทศั นศลิ ป์

ของตนเอง และบอกวิธกี ารปรบั ปรุงงาน

ให้ดขี ้ึน

๗. บรรยายประโยชน์และคุณค่า • ประโยชน์และคุณค่าของงานทัศนศิลป์

ของงานทัศนศลิ ปท์ ี่มผี ลต่อชวี ิตของคน

ในสังคม

ป.๖ ๑. ระบุสีคตู่ รงข้าม และอภปิ ราย • วงสธี รรมชาติ และสีคตู่ รงข้าม
เกี่ยวกบั การใช้สคี ูต่ รงขา้ มในการ

ถา่ ยทอดความคดิ และอารมณ์

๒. อธิบายหลกั การจดั ขนาดสัดส่วน • หลักการจดั ขนาด สดั สว่ นความสมดลุ
ความสมดลุ ในการสร้างงานทัศนศิลป์ ในงานทศั นศิลป์

๓. สรา้ งงานทัศนศลิ ปจ์ ากรูปแบบ • งานทัศนศลิ ป์รูปแบบ ๒ มิติ และ ๓ มติ ิ
๒ มิติ เป็น๓ มติ ิ โดยใช้หลกั การ

ของแสงเงาและน้ำหนกั

๔. สรา้ งสรรค์งานปั้นโดยใช้หลกั การเพ่ิม • การใช้หลักการเพ่ิมและลดในการสร้างสรรค์
และลด งานปั้น

๕. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้หลกั การ • รปู และพน้ื ที่วา่ งในงานทศั นศิลป์
ของรปู และพ้นื ท่วี ่าง

๖. สร้างสรรคง์ านทศั นศิลปโ์ ดยใช้ • การสร้างสรรค์งานทัศนศิลปโ์ ดยใช้
สีคูต่ รงข้ามหลักการจัดขนาดสัดส่วน สีค่ตู รงขา้ ม หลักการจดั ขนาด สัดส่วนและ
และความสมดุล ความสมดลุ

๗. สรา้ งงานทัศนศิลป์เปน็ แผนภาพ • การสรา้ งงานทัศนศลิ ปเ์ ป็นแผนภาพ
แผนผัง และภาพประกอบ เพ่ือถา่ ยทอด แผนผงั และภาพประกอบ
ความคิดหรือเรือ่ งราวเกยี่ วกบั เหตกุ ารณ์

ตา่ ง ๆ

๑๙

สาระที่ ๑ ทศั นศิลป์
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เขา้ ใจความสมั พันธ์ระหวา่ งทศั นศิลป์ ประวัตศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คณุ คา่

งานทศั นศลิ ปท์ ีเ่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาทอ้ งถนิ่ ภมู ปิ ญั ญาไทย และสากล

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ป.๑ ๑. ระบงุ านทัศนศลิ ปใ์ นชีวิตประจำวัน • งานทัศนศิลป์ในชีวติ ประจำวนั

ป.๒ ๑. บอกความสำคญั ของงานทัศนศิลป์ • ความสำคญั ของงานทศั นศลิ ปใ์ นชวี ิต

ที่พบเห็นในชวี ติ ประจำวัน ประจำวนั

๒. อภปิ รายเกยี่ วกบั งานทศั นศิลป์ • งานทศั นศิลป์ในท้องถิ่น
ประเภทต่าง ๆ ในทอ้ งถน่ิ โดยเนน้ ถงึ

วธิ กี ารสร้างงานและวสั ดุอุปกรณ์ ทใี่ ช้

ป.๓ ๑. เลา่ ถึงทมี่ าของงานทัศนศลิ ปใ์ นท้องถ่ิน • ท่มี าของงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น

๒. อธิบายเก่ยี วกบั วัสดุอุปกรณ์และ • วัสดุ อุปกรณ์ และวธิ ีการสร้างงานทศั นศลิ ป์
วธิ ีการสรา้ งงานทศั นศิลป์ในท้องถน่ิ ในทอ้ งถิน่

ป.๔ ๑. ระบุ และอภปิ รายเกย่ี วกับงานทัศนศิลป์ • งานทัศนศิลป์ในวฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ
ในเหตุการณ์ และงานเฉลิมฉลอง

ของวฒั นธรรมในท้องถน่ิ

๒. บรรยายเกีย่ วกับงานทัศนศลิ ป์ • งานทัศนศลิ ป์จากวัฒนธรรมต่าง ๆ
ท่ีมาจากวัฒนธรรมตา่ ง ๆ

ป.๕ ๑. ระบุ และบรรยายเก่ียวกับลกั ษณะ • ลักษณะรปู แบบของงานทัศนศิลป์
รปู แบบของงานทัศนศลิ ป์ในแหลง่ เรียนรู้

หรอื นทิ รรศการศลิ ปะ

๒. อภปิ รายเกยี่ วกับงานทัศนศิลป์ • งานทัศนศิลป์ทสี่ ะท้อนวฒั นธรรมและ
ทส่ี ะท้อนวัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญา ภมู ิปัญญาในท้องถ่นิ
ในทอ้ งถิ่น

ป.๖ ๑. บรรยายบทบาทของงานทัศนศลิ ป์ • บทบาทของงานทัศนศลิ ปใ์ นชีวิต

ทส่ี ะท้อนชีวิตและสังคม และสงั คม

๒. อภปิ รายเกยี่ วกับอทิ ธพิ ลของ • อิทธิพลของศาสนาทม่ี ีตอ่ งานทัศนศิลป์

ความเชือ่ ความศรทั ธาในศาสนาทม่ี ผี ลตอ่ ในท้องถิน่

งานทัศนศลิ ป์ในท้องถน่ิ

๓. ระบุ และบรรยายอิทธพิ ลทาง • อทิ ธพิ ลทางวฒั นธรรมในท้องถิ่นทมี่ ีผล

วฒั นธรรมในท้องถ่นิ ทมี่ ผี ลต่อการสรา้ งงาน ต่อการสรา้ งงานทัศนศิลป์

ทศั นศิลป์ของบุคคล

๒๐

สาระท่ี ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วจิ ารณ์คณุ ค่าดนตรี

ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชน่ื ชม และประยกุ ต์ใช้
ในชีวติ ประจำวัน

ชนั้ ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ป.๑ ๑. รู้วา่ สงิ่ ตา่ ง ๆ สามารถก่อกำเนดิ เสียง
• การกำเนดิ ของเสยี ง
ที่แตกต่างกัน - เสียงจากธรรมชาติ
- แหลง่ กำเนิดของเสยี ง
๒. บอกลกั ษณะของเสยี งดงั -เบา และความช้า- เร็วของ - สสี นั ของเสยี ง
จงั หวะ
๓. ทอ่ งบทกลอน ร้องเพลงง่าย ๆ • ระดับเสียงดัง-เบา (Dynamic)

๔. มีส่วนร่วมในกจิ กรรมดนตรีอย่างสนุกสนาน • อัตราความเรว็ ของจงั หวะTempo

๕. บอกความเก่ียวข้องของเพลงทใ่ี ช้ • การอ่านบทกลอนประกอบจังหวะ
ในชวี ิตประจำวนั
• การรอ้ งเพลงประกอบจังหวะ
ป.๒ ๑. จำแนกแหล่งกำเนิด ของเสยี งทไี่ ด้ยนิ
• กิจกรรมดนตรี
๒. จำแนกคุณสมบตั ขิ องเสียง สูง- ตำ่ , ดงั -เบา - การรอ้ งเพลง สงู -ตำ่
ยาว-ส้ัน ของดนตรี ให้ - การเคาะจังหวะ
- การเคลื่อนไหวประกอบบทเพลง
๓. เคาะจังหวะหรอื เคลื่อนไหวร่างกาย - ตามความดัง- เบาของบทเพลง
สอดคลอ้ งกับเน้ือหาของเพลง - ตามความชา้ เรว็ ของจังหวะ

• เพลงทใี่ ชใ้ นชีวิตประจำวัน
- เพลงกล่อมเดก็
- บทเพลงประกอบการละเลน่
- เพลงสำคญั (เพลงชาติไทย
- เพลงสรรเสรญิ พระบารม)ี

• สีสนั ของเสียงเคร่ืองดนตรี

• สีสนั ของเสยี งมนุษย์

• การฝกึ โสตประสาท การจำแนกเสยี ง
ดงั -เบา ยาว-สัน้

• การเคลอ่ื นไหวประกอบเนอื้ หาในบทเพลง

• การเล่นเคร่ืองดนตรปี ระกอบเพลง

๔. รอ้ งเพลงง่าย ๆ ที่เหมาะสมกับวัย • การขับร้อง

๒๑

ช้นั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.๒ ๕. บอกความหมายและความสำคญั ของเพลงทไ่ี ด้ยิน • ความหมายและความสำคัญของเพลงท่ีไดย้ ิน

- เพลงปลุกใจ

- เพลงสอนใจ

ป.๓ ๑. ระบุรปู ร่างลักษณะของเคร่ืองดนตรี ท่เี ห็นและได้ยนิ • รูปรา่ งลักษณะของเคร่อื งดนตรี

ในชวี ิตประจำวัน • เสยี งของเครื่องดนตรี

๒. ใชร้ ปู ภาพหรือสัญลกั ษณแ์ ทนเสยี ง และจังหวะเคาะ • สัญลกั ษณ์แทนคณุ สมบตั ขิ องเสียง (สงู -ต่ำ ดัง-เบา ยาว-ส้นั )

• สัญลกั ษณ์แทนรูปแบบจังหวะ

๓. บอกบทบาทหน้าทีข่ องเพลงท่ีได้ยิน • บทบาทหน้าที่ของบทเพลงสำคญั

- เพลงชาติ

- เพลงสรรเสริญพระบารมี

- เพลงประจำโรงเรียน

๔. ขับรอ้ งและบรรเลงดนตรงี ่าย ๆ • การขับร้องเดีย่ วและหมู่

• การบรรเลงเคร่ืองดนตรีประกอบเพลง

๕. เคลื่อนไหวท่าทางสอดคล้องกับอารมณ์ของเพลงท่ีฟัง • การเคลอ่ื นไหวตามอารมณข์ องบทเพลง

๖. แสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั เสียงดนตรี เสียงขบั รอ้ ง • การแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกับเสยี งรอ้ งและ

ของตนเองและผอู้ น่ื เสยี งดนตรี

- คณุ ภาพเสยี งร้อง

- คณุ ภาพเสียงดนตรี

๗. นำดนตรีไปใชใ้ นชีวติ ประจำวันหรอื โอกาสตา่ ง ๆ ได้ • การใช้ดนตรีในโอกาสพิเศษ

อย่างเหมาะสม - ดนตรีในงานรืน่ เริง

- ดนตรีในการฉลองวนั สำคัญของชา

ป.๕ ๑. ระบุองค์ประกอบดนตรใี นเพลงทใ่ี ช้ในการสือ่ อารมณ์ • การสอ่ื อารมณ์ของบทเพลงด้วยองค์ประกอบดนตรี

- จงั หวะกบั อารมณ์ของบทเพลง

- ทำนองกับอารมณ์ของบทเพลง

๒. จำแนกลกั ษณะของเสยี งขบั ร้องและเครื่องดนตรีที่อยู่ • ลักษณะของเสียงนกั ร้องกลุ่มตา่ ง ๆ

ในวงดนตรปี ระเภทต่าง ๆ • ลกั ษณะเสียงของวงดนตรีประเภทต่าง ๆ

๓. อ่าน เขยี นโน้ตดนตรีไทยและสากล ๕ ระดับเสียง • เคร่อื งหมายและสญั ลักษณท์ างดนตรี

- บนั ไดเสยี ง ๕ เสียง

- โน้ตเพลงในบันไดเสียง ๕ เสยี ง Pentatonic

scale

๒๒

ช้ัน ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.๕ ๔. ใชเ้ ครื่องดนตรีบรรเลงจังหวะ และทำนอง • การบรรเลงเคร่ืองประกอบจงั หวะ

• การบรรเลงทำนองดว้ ยเครื่องดนตรี

๕. ร้องเพลงไทยหรือเพลงสากลหรือเพลง • การรอ้ งเพลงไทยในอตั ราจงั หวะสองชน้ั
ไทยสากลทเี่ หมาะสมกบั วัย • การร้องเพลงสากล หรือไทยสากล

• การรอ้ งเพลงประสานเสยี งแบบ Canon
Round

๖. ด้นสดง่าย ๆ โดยใชป้ ระโยคเพลง • การสร้างสรรค์ประโยคเพลงถาม-ตอบ
แบบถามตอบ

๗. ใช้ดนตรีรว่ มกับกิจกรรมในการแสดงออกตาม • การบรรเลงดนตรปี ระกอบกจิ กรรมนาฏศลิ ป์
จนิ ตนาการ • การสร้างสรรค์เสียงประกอบการเล่าเรอื่ ง

ป.๖ ๑. บรรยายเพลงท่ีฟงั โดยอาศัยองค์ประกอบดนตรี และ • องค์ประกอบดนตรแี ละศัพท์สังคีต
ศัพทส์ ังคีต

๒. จำแนกประเภทและบทบาทหนา้ ที่ • เครอ่ื งดนตรีไทยแตล่ ะภาค
เคร่อื งดนตรีไทยและเคร่ืองดนตรที ่ี • บทบาทและหน้าที่ของเครือ่ งดนตรี
มาจากวฒั นธรรมตา่ ง ๆ • ประเภทของเคร่ืองดนตรสี ากล

๓. อา่ น เขียนโน้ตไทย และโนต้ สากลทำนองง่าย ๆ • เครอ่ื งหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี

• โน้ตบทเพลงไทย อตั ราจังหวะสองช้ัน

• โน้ตบทเพลงสากลในบันไดเสยี ง C Major

๔. ใช้เครอ่ื งดนตรบี รรเลงประกอบ การรอ้ ง • การรอ้ งเพลงประกอบดนตรี

เพลง ดน้ สด ท่มี จี ังหวะและทำนองงา่ ย ๆ • การสรา้ งสรรค์รปู แบบจงั หวะและทำนองด้วยเครื่อง
ดนตรี

๕. บรรยายความรสู้ กึ ท่ีมตี อ่ ดนตรี • การบรรยายความร้สู กึ และแสดงความคดิ เห็นท่มี ตี ่อ

บทเพลง

๖. แสดงความคิดเห็นเกย่ี วกบั ทำนอง จังหวะการประสาน - เน้ือหาในบทเพลง
เสียง และคุณภาพเสยี งของเพลงทีฟ่ ัง - องค์ประกอบในบทเพลง

- คณุ ภาพเสยี งในบทเพลง

๒๓

สาระท่ี ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหวา่ งดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า

ของดนตรีที่เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ภูมปิ ัญญาไทยและสากล

ชั้น ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.๑ ๑. เลา่ ถึงเพลงในทอ้ งถิ่น • ทีม่ าของบทเพลงในทอ้ งถิน่

๒. ระบุสง่ิ ท่ชี นื่ ชอบในดนตรที ้องถิ่น • ความน่าสนใจของบทเพลงในทอ้ งถ่ิน

ป.๒ ๑. บอกความสัมพนั ธ์ของเสียงร้อง • บทเพลงในทอ้ งถน่ิ
เสียงเคร่ืองดนตรใี นเพลงทอ้ งถ่นิ - ลกั ษณะของเสียงร้องในบทเพลง
โดยใช้คำง่าย ๆ - ลักษณะของเสียงเครอื่ งดนตรที ใี่ ช้ในบทเพลง

๒. แสดงและเข้าร่วมกิจกรรมทางดนตรี • กิจกรรมดนตรีในโอกาสพเิ ศษ

ในทอ้ งถ่ิน - ดนตรกี ับโอกาสสำคญั ในโรงเรยี น

- ดนตรกี ับวันสำคัญของชาติ

ป.๓ ๑. ระบลุ ักษณะเด่นและเอกลักษณ์ • เอกลักษณ์ของดนตรีในท้องถ่ิน
ของดนตรีในท้องถนิ่ - ลักษณะเสียงรอ้ งของดนตรใี นท้องถนิ่

- ภาษาและเน้ือหาในบทร้องของดนตรีในท้องถน่ิ

- เครือ่ งดนตรีและวงดนตรีในท้องถ่ิน

๒. ระบุความสำคัญและประโยชน์ของ • ดนตรกี ับการดำเนนิ ชวี ติ ในท้องถิน่
ดนตรีต่อการดำเนนิ ชีวิตของคนในท้องถน่ิ - ดนตรใี นชวี ิตประจำวนั

- ดนตรีในวาระสำคญั

ป.๔ ๑. บอกแหล่งท่มี าและความสัมพันธ์ • ความสมั พนั ธ์ของวถิ ีชีวติ กับผลงานดนตรี
ของวิถีชวี ติ ไทย ท่ีสะทอ้ นในดนตรี - เน้ือหาเรื่องราวในบทเพลงกับวิถีชวี ิต
และเพลงทอ้ งถน่ิ - โอกาสในการบรรเลงดนตรี

๒. ระบคุ วามสำคัญในการอนรุ ักษส์ ง่ เสริม • การอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมทางดนตรี
วฒั นธรรมทางดนตรี - ความสำคญั และความจำเปน็ ในการอนรุ ักษ์
- แนวทางในการอนุรกั ษ์

ป.๕ ๑. อธิบายความสัมพันธร์ ะหว่างดนตรกี บั • ดนตรกี บั งานประเพณี

ประเพณีในวัฒนธรรมต่าง ๆ - บทเพลงในงานประเพณีในท้องถ่ิน

- บทบาทของดนตรีในแต่ละประเพณี

๒๔

ชั้น ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
ป.๕ ๒. อธบิ ายคณุ ค่าของดนตรีท่ีมาจาก
• คุณคา่ ของดนตรจี ากแหลง่ วฒั นธรรม
วฒั นธรรมทต่ี ่างกัน - คุณค่าทางสังคม
- คุณค่าทางประวัติศาสตร์

ป.๖ ๑. อธิบายเรอ่ื งราวของดนตรีไทย • ดนตรีไทยในประวัตศิ าสตร์

ในประวตั ิศาสตร์ - ดนตรใี นเหตุการณส์ ำคญั ทาง

๒. จำแนกดนตรีท่ีมาจากยุคสมยั ทต่ี ่างกัน ประวัตศิ าสตร์

๓. อภิปรายอิทธิพลของวฒั นธรรม - ดนตรีในยุคสมยั ต่าง ๆ

ตอ่ ดนตรีในท้องถิน่ - อทิ ธพิ ลของวัฒนธรรมท่ีมีต่อดนตรี

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์

มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์วิจารณ์

คุณค่านาฏศลิ ป์ ถ่ายทอดความร้สู ึก ความคดิ อยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยุกตใ์ ช้

ในชวี ิตประจำวัน

ช้ัน ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.๑ ๑. เลียนแบบการเคลื่อนไหว • การเคล่อื นไหวลักษณะต่าง ๆ

- การเลยี นแบบธรรมชาติ

- การเลียนแบบคน สัตว์ ส่ิงของ

๒. แสดงทา่ ทางงา่ ย ๆ เพ่ือส่ือความหมาย แทนคำพูด • การใชภ้ าษาทา่ และการประดษิ ฐ์
ท่าประกอบเพลง

• การแสดงประกอบเพลงท่ีเกยี่ วกับ

ธรรมชาตสิ ตั ว์

๓. บอกสิง่ ที่ตนเองชอบ จากการดูหรอื รว่ มการแสดง • การเปน็ ผู้ชมที่ดี

ป.๒ ๑. เคลื่อนไหวขณะอยู่กับทแี่ ละเคลอ่ื นที่ • การเคลื่อนไหวอย่างมรี ปู แบบ

- การนัง่

- การยนื

- การเดิน

๒. แสดงการเคลื่อนไหวทีส่ ะท้อนอารมณ์ของตนเองอย่าง • การประดิษฐ์ทา่ จากการเคลื่อนไหว
อสิ ระ อย่างมีรูปแบบ

• เพลงทเ่ี กย่ี วกับสิง่ แวดลอ้ ม

๒๕

ชัน้ ตัวช้วี ดั แทน สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
• หลักและวิธกี ารปฏบิ ัตนิ าฏศิลป์
ป.๒ ๓. แสดงทา่ ทาง เพ่ือสอื่ ความหมาย
คำพดู - การฝกึ ภาษาท่าสื่อความหมายแทน
อากปั กิรยิ า
๔. แสดงทา่ ทางประกอบจงั หวะ อย่าง
สรา้ งสรรค์ - การฝึกนาฏยศัพท์ในสว่ นลำตัว
• การใชภ้ าษาท่าและนาฏยศัพท์ประกอบ
๕. ระบุมารยาทในการชมการแสดง จังหวะ

ป.๓ ๑. สรา้ งสรรค์การเคล่ือนไหวในรูปแบบต่าง ๆ ใน • มารยาทในการชมการแสดง การเขา้ ชม
สถานการณ์ส้นั ๆ หรอื มสี ่วนร่วม
• การเคลื่อนไหวในรปู แบบต่าง ๆ
๒. แสดงทา่ ทางประกอบเพลงตามรูปแบบนาฏศิลป์
๓. เปรียบเทยี บบทบาทหนา้ ท่ีของผ้แู สดงและผ้ชู ม - รำวงมาตรฐาน
- เพลงพระราชนิพนธ์
๔. มีสว่ นร่วมในกจิ กรรมการแสดงทเี่ หมาะสมกบั วยั - สถานการณส์ ั้น ๆ
๕. บอกประโยชนข์ องการแสดงนาฏศิลป์ - สถานการณ์ที่กำหนดให้
ในชีวติ ประจำวัน • หลกั และวิธกี ารปฏบิ ตั นิ าฏศิลป์
ป.๔ ๑. ระบทุ กั ษะพนื้ ฐานทางนาฏศิลป์และ - การฝึกภาษาท่าส่ืออารมณ์ของมนุษย์
การละครที่ใช้ส่ือความหมายและอารมณ์ - การฝึกนาฎยศัพท์ในส่วนขา
• หลกั ในการชมการแสดง
๒. ใช้ภาษาท่าและนาฏยศพั ท์หรือศัพทท์ างการละคร - ผูแ้ สดง
งา่ ย ๆ ในการถ่ายทอดเรือ่ งราว - ผชู้ ม
- การมีสว่ นรว่ ม

• การบูรณาการนาฏศิลป์กบั สาระ
การเรยี นรู้อื่น ๆ
• หลักและวธิ กี ารปฏบิ ัตนิ าฏศิลป์

- การฝกึ ภาษาท่า
- การฝกึ นาฏยศัพท์
• การใชภ้ าษาทา่ และนาฏยศัพทป์ ระกอบ
เพลงปลกุ ใจและเพลงพระราชนพิ นธ์
• การใชศ้ ัพทท์ างการละครในการถ่ายทอด
เร่ืองราว

๒๖

ชัน้ ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ป.๔ ๓. แสดง การเคลื่อนไหวในจังหวะตา่ ง ๆ • การประดิษฐท์ า่ ทางหรือท่ารำประกอบ

ตามความคดิ ของตน จงั หวะพนื้ เมือง

๔. แสดงนาฏศิลป์เปน็ คู่ และหมู่ • การแสดงนาฏศลิ ป์ ประเภทคู่และหมู่

- รำวงมาตรฐาน

- ระบำ

๕. เล่าส่ิงทชี่ ื่นชอบในการแสดงโดยเน้น • การเลา่ เรอื่ ง
จุดสำคญั ของเรอ่ื งและลักษณะเดน่ - จดุ สำคัญ
ของตวั ละคร - ลกั ษณะเด่นของตวั ละคร

ป.๕ ๑. บรรยายองค์ประกอบนาฏศิลป์ • องค์ประกอบของนาฏศิลป์

- จังหวะ ทำนอง คำร้อง

- ภาษาท่า นาฏยศัพท์

- อุปกรณ์

๒. แสดงทา่ ทางประกอบเพลงหรือเรอ่ื งราว • การประดิษฐท์ า่ ทางประกอบเพลง

ตามความคิดของตน หรือท่าทางประกอบเร่ืองราว

๓. แสดงนาฏศิลป์ โดยเน้นการใช้ภาษาท่า • การแสดงนาฏศิลป์

และนาฏยศัพทใ์ นการสอ่ื ความหมายและ - ระบำ

การแสดงออก - ฟอ้ น

- รำวงมาตรฐาน

๔. มสี ว่ นรว่ มในกลมุ่ กับการเขยี น • องคป์ ระกอบของละคร
เคา้ โครงเรอ่ื งหรอื บทละครสน้ั ๆ - การเลือกและเขยี นเค้าโครงเรื่อง

- บทละครส้ัน ๆ

๕. เปรียบเทียบการแสดงนาฏศิลป์ชุดตา่ ง ๆ • ที่มาของการแสดงนาฏศลิ ป์ชุดตา่ ง ๆ

๖. บอกประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับจากการชม • หลกั การชมการแสดง
การแสดง • การถา่ ยทอดความร้สู กึ และคุณค่า

ของการแสดง

ป.๖ ๑. สร้างสรรคก์ ารเคล่ือนไหวและการแสดง • การประดษิ ฐ์ทา่ ทางประกอบเพลงปลกุ ใจ
โดยเน้นการถา่ ยทอดลลี าหรอื อารมณ์ หรอื เพลงพื้นเมืองหรือทอ้ งถน่ิ เนน้ ลลี า

หรอื อารมณ์

๒. ออกแบบเครอื่ งแต่งกาย หรอื อปุ กรณ์ • การออกแบบสร้างสรรค์

ประกอบการแสดงอย่างง่าย ๆ - เครอ่ื งแตง่ กาย

- อุปกรณ์ ฉากประกอบการแสดง

๒๗

ชัน้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ป.๖ ๓. แสดงนาฏศิลปแ์ ละละครงา่ ย ๆ • การแสดงนาฏศิลปแ์ ละการแสดงละคร

- รำวงมาตรฐาน

- ระบำ

- ฟอ้ น

- ละครสรา้ งสรรค์

๔. บรรยายความรูส้ ึกของตนเองท่ีมีต่องาน • บทบาทและหน้าทใี่ นงานนาฏศลิ ปแ์ ละ

นาฏศลิ ป์และการละครอย่างสร้างสรรค์ การละคร

๕. แสดงความคดิ เหน็ ในการชมการแสดง • หลกั การชมการแสดง

- การวิเคราะห์

- ความร้สู กึ ช่นื ชม

๖. อธิบายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งนาฏศิลป์ • องคป์ ระกอบทางนาฏศิลป์และการละคร

และการละครกับสง่ิ ท่ีประสบ

ในชวี ติ ประจำวนั

สาระที่ ๓ นาฏศลิ ป์ เข้าใจความสมั พันธร์ ะหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตรแ์ ละวัฒนธรรม
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เห็นคณุ คา่ ของนาฏศลิ ปท์ เี่ ป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญั ญาท้องถิน่
ภูมิปัญญาไทยและสากล

ชนั้ ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ป.๑ ๑. ระบุ และเลน่ การละเลน่ ของเด็กไทย • การละเลน่ ของเด็กไทย

- วธิ กี ารเล่น

- กตกิ า

๒. บอกสิ่งที่ตนเองชอบในการแสดงนาฏศิลป์ • การแสดงนาฏศิลป์

ป.๒ ๑. ระบแุ ละเลน่ การละเลน่ พื้นบา้ น • การละเล่นพน้ื บ้าน

- วิธกี ารเล่น

- กตกิ า

๒. เชอื่ มโยงสง่ิ ทพี่ บเหน็ ในการละเล่นพื้นบ้าน • ทมี่ าของการละเลน่ พนื้ บา้ น

กบั สง่ิ ทพ่ี บเหน็ ในการดำรงชวี ิตของคนไทย

๓. ระบสุ งิ่ ทีช่ ื่นชอบและภาคภูมิใจ • การละเลน่ พน้ื บ้าน

ในการละเล่นพนื้ บ้าน

๒๘

ช้ัน ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง

ป.๓ ๑. เลา่ การแสดงนาฏศิลป์ท่เี คยเห็น • การแสดงนาฏศิลป์พื้นบ้านหรือท้องถน่ิ ของตน
ในท้องถน่ิ
๒. ระบุส่ิงที่เปน็ ลักษณะเด่นและเอกลักษณ์ • การแสดงนาฏศิลป์
ของการแสดงนาฏศิลป์ - ลักษณะ
- เอกลักษณ์
๓. อธบิ ายความสำคัญของการแสดง
นาฏศิลป์ • ที่มาของการแสดงนาฏศลิ ป์
ป.๔ ๑. อธบิ ายประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ - สิง่ ทเ่ี คารพ
หรอื ชุดการแสดงอย่างง่าย ๆ
• ความเปน็ มาของนาฏศลิ ป์
• ทม่ี าของชุดการแสดง

๒. เปรยี บเทยี บการแสดงนาฏศิลป์ • การชมการแสดง
กับการแสดงทีม่ าจากวฒั นธรรมอน่ื - นาฏศิลป์

- การแสดงของท้องถนิ่

๓. อธบิ ายความสำคัญของการแสดงความ • ความเป็นมาของนาฏศลิ ป์

เคารพในการเรียนและการแสดงนาฏศิลป์ - การทำความเคารพก่อนเรยี นและก่อนแสดง

๔. ระบุเหตุผลท่ีควรรกั ษา และสืบทอด • ความเปน็ มาของนาฏศลิ ป์

การแสดงนาฏศิลป์ - คณุ คา่

ป.๕ ๑. เปรยี บเทียบการแสดงประเภทต่าง ๆ ของ • การแสดงนาฏศิลปป์ ระเภทต่าง ๆ

ไทย ในแตล่ ะท้องถิน่ - การแสดงพนื้ บา้ น

๒. ระบุหรอื แสดงนาฏศลิ ป์ นาฏศิลป์พ้นื บา้ น • การแสดงนาฏศิลป์ประเภทต่าง ๆ

ทสี่ ะท้อนถงึ วฒั นธรรมและประเพณี - การแสดงพน้ื บา้ น

ป.๖ ๑. อธิบายสงิ่ ทม่ี ีความสำคัญต่อการแสดง • ความหมาย ความเปน็ มา ความสำคัญ ของ

นาฏศลิ ปแ์ ละละคร นาฏศิลป์และละคร

- บุคคลสำคญั

- คุณค่า

๒. ระบุประโยชนท์ ่ไี ด้รบั จากการแสดงหรือ • การแสดงนาฏศิลป์และละคร

การชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ในวนั สำคญั ของโรงเรยี น

๒๙

ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ๑ ส่วนท่ี ๔
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑
คำอธิบายรายวชิ า/โครงสร้างรายวชิ า

คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ
เวลา ๔๐ ช่วั โมง

ศึกษาและเรียนรู้การสร้างงานทัศนศิลป์เกี่ยวกับรูปร่างลักษณะ ขนาดของสิ่งต่าง ๆ รอบตัวใน

ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อภิปรายเกี่ยวกับรูปร่างลักษณะขนาดของสิ่งต่าง ๆ รอบตัวในธรรมชาติและสิ่งที่

มนุษย์สรา้ งข้ึน บอกความรู้สึกทมี่ ตี ่อธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มรอบตวั มีทกั ษะพ้นื ฐานในการใช้วสั ดุ อปุ กรณ์

ในการสร้างงานทัศนศิลป์ สร้างงานทัศนศิลป์ ศึกษาสิ่งต่าง ๆ ที่สามารถก่อกำเนดิ เสียง ลักษณะของเสียง

ดงั – เบา ความชา้ – เรว็ ของจงั หวะ ความเกี่ยวข้องของบทกลอน เพลงง่าย ๆ รู้สิ่งตา่ ง ๆ ที่สามารถ เข้าใจ

ก่อกำเนิดเสียง บอกลักษณะของเสียงดังและแสดงการเคลือ่ นไหว ท่าทางง่าย ๆ เพื่อสื่อความหมาย แทน

คำพูด สิง่ ท่ตี นเองชอบจากการดูหรอื ร่วมการแสดง การละเล่นของเด็กไทย ส่ิงท่ตี นเองชอบในการแสดง

นาฏศิลป์ โดยการทดลองสีด้วยเทคนิคง่าย ๆ วาดภาพระบายสีภาพธรรมชาติตามความรู้สึกของตนเอง การ

เลยี นแบบ แสดง บอก ระบแุ ละเล่น

เพื่อให้เห็นคุณค่าของความสวยงามตามธรรมชาติ เกิดความรู้สึกชื่นชมธรรมชาติ สามารถคิดและ

แสดงความรู้สึกจากการรับรู้ความงาม ความเพลิดเพลิน เกิดความมั่นใจในตนเองในการสร้างงานทัศนศิลป์

รักษ์ธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม เพอ่ื ให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เห็นความสำคัญของเพลงไทย เกิดความรู้สึกช่ืน

ชมเพลงไทย และสามารถนำกิจกรรม ของเพลงไปใช้เพื่อความเพลิดเพลินได้ เพื่อเห็นคุณค่าของนาฏศิลป์

ไทย เกิดความชื่นชมนาฏศิลป์ไทย ความเพลิดเพลินแก่ตนเองและผู้อื่น และได้มีการบูรณาการอาเซียน

ศึกษาได้ศึกษาวิวัฒนาการของการผนึกกำลังรวมกลุ่มกันเป็นอาเซียน กลไกการทำงานของอาเซียน การเมือง
การปกครองที่หลากหลายในอาเซียน อัตลักษณ์ประจำชาติของอาเซียน การเผยแผ่ศาสนาในอาเซียน การ
สร้างสัมพันธไมตรีกับภาคนี อกอาเซียน บูรณาการถงึ หลักสูตรเพศวถิ ีศึกษา การส่งเสริมความเทา่ เทียมกันทาง
เพศในอาเซียน การพัฒนาสังคมตามแบบอย่างของคนเก่งอาเซียน และการจัดตั้งประชาคมอาเซียน โดยเน้น
การจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน รวมทั้งความท้าทายกับการก้าวไปสู่ประชาคมอาเซียน
บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้นักเรียนรู้และเข้าใจประวัติความเป็นมาความหมายหลักปรัชญาแนวคิด
เศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการการรีไซเคิลเพื่อเป็นการนำเศษวัสดุของเหลือกินเหลือใช้มาแปรรูปใหม่เพื่อนำ
กลับมาใช้งานอีกครั้ง เป็นการจัดการวัสดุเหลือใช้ที่กำลังจะเป็นขยะ โดยนำไปผ่านกระบวนการแปรสภาพ
และนำกลับมาใช้ใหม่ และบูรณาการเรื่องยาเสพติดในสถานศึกษาเพื่อให้นักเรียนได้รู้โทษของยาเสพติดและ
เพื่อป้องกันนักเรียนไม่ให้เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด บุหรี่และแอลกอฮอล์ และ บูรณาการถึงหลักสูตรต้าน

ทุจริตศึกษา เพื่อให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์สุจริต และสามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและ

ผลประโยชน์สว่ นรวม ส่งเสริมให้นักเรยี นต้านการทจุ ริตเพ่ือใหส้ ังคมเป็นทีน่ า่ อยูแ่ ละอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข

เพื่อให้เห็นคุณค่าของความสวยงามตามธรรมชาติ เกิดความรู้สึกชื่นชมธรรมชาติ สามารถคิดและ
แสดงความรู้สึกจากการรับรู้ความงาม ความเพลิดเพลิน เกิดความมั่นใจใจตนเองในการสร้างงานทัศนศิลป์
และรกั ษ์ธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม นำดนตรไี ปใช้ในชวี ติ ประจำวัน หรือโอกาสต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม

๓๐

รหสั ตวั ช้ีวดั
ศ๑.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓ ป.๑/๔ ป.๑/๕
ศ๑.๒ ป.๑/๑
ศ๒.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๔ ป.๑/๓ ป.๑/๕
ศ๒.๒ ป.๑/๑ ป.๑/๒
ศ๓.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓
ศ๓.๒ ป.๑/๑ ป.๑/๒
รวม ๑๘ ตัวช้ีวดั

๓๑

คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน

ศ๑๒๑๐๑ ศลิ ปะ๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง

ศกึ ษารูปร่าง ทศั นะธาตแุ ละส่ิงแวดล้อมในการสร้างงานทัศศิลป์ แหลง่ กำเนดิ และคณุ สมบัติ

ของเสียง รคู้ วามหมายและความสำคัญของเพลงทไี่ ด้ยนิ ร้องเพลงงา่ ย ๆ ท่เี หมาะสมกับวัย จำแนก

แหล่งกำเนดิ ของเสยี งท่ีไดย้ นิ คณุ สมบตั ขิ องของเสยี งสงู – ตำ่ เข้าใจและแสดงเคลือ่ นไหวขณะอยู่กับท่แี ละ

เคลอ่ื นที่ การเคล่อื นไหวท่ีสะท้อนอารมณข์ องตนเองอยา่ งอิสระท่าทาง เพื่อส่อื ความหมายแทนคำพูด

ท่าทางประกอบจังหวะอย่างสร้างสรรค์ มารยาทในการชมการแสดงการละเล่นพ้ืนบ้าน เช่อื มโยงสง่ิ ทพี่ บ

เหน็ ในการละเลน่ พื้นบา้ นกบั สิง่ ทพ่ี บเหน็ ในการดำรงชีวติ ของคนไทย โดยบรรยาย รปู รา่ ง รปู ทรงใน

ธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม ระบทุ ัศนธาตทุ ่ีอยู่ในสิง่ แวดล้อมของงานทัศนศลิ ป์ โดยเนน้ เส้น สี รูปร่างและรปู ภาพ

สร้างงานทศั นศิลป์ตา่ ง ๆ โดยใชท้ ศั นธาตุท่เี นน้ รปู รา่ ง มีทกั ษะพ้ืนฐานในการใชว้ ัสดุ อุปกรณ์ สร้างงาน

ทัศนศิลป์ สรา้ งเคล่ือนไหว โดยการแสดง บอก ระบแุ ละเลน่

เพื่อให้เห็นคุณค่าของความสวยงามตามธรรมชาติ เกิดความรู้สึกชื่นชมธรรมชาติ สามารคิดและ

แสดงความรู้สึกจากการรับรู้ความงาม ความเพลิดเพลิน เกิดความมั่นใจใจตนเองในการสร้างงานทัศนศิลป์

และรักษ์ธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เห็นความสำคัญและคุณค่าของเพลงไทย เพลงสากลและนำกิจกรรมการ

ฟงั เพลง การรอ้ งเพลงไปใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้ด้วยความเพลิดเพลิน เหน็ คณุ คา่ ของนาฏศิลป์ไทย เกิดความ

ชื่นชมนาฏศิลป์ไทย ความเพลิดเพลินแก่ตนเองและผู้อื่น และได้มีการบูรณาการอาเซียนศึกษาได้ศึกษา

วิวัฒนาการของการผนึกกำลังรวมกลุ่มกันเป็นอาเซียน กลไกการทำงานของอาเซียน การเมืองการปกครองท่ี
หลากหลายในอาเซียน อัตลักษณป์ ระจำชาติของอาเซียน การเผยแผศ่ าสนาในอาเซียน การสร้างสัมพันธไมตรี
กับภาคีนอกอาเซียน บูรณาการถึงหลักสูตรเพศวิถีศึกษา การส่งเสริมความเท่าเทียมกันทางเพศในอาเซียน
การพัฒนาสังคมตามแบบอย่างของคนเก่งอาเซียน และการจัดตั้งประชาคมอาเซียน โดยเน้นการจัดต้ัง
ประชาคมการเมืองและความม่ันคงอาเซียน รวมทั้งความท้าทายกับการก้าวไปสู่ประชาคมอาเซียน บูรณาการ
เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้นักเรียนรู้และเข้าใจประวัติความเป็นมาความหมายหลักปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจ
พอเพียง บูรณาการการรีไซเคิลเพื่อเป็นการนำเศษวัสดุของเหลือกินเหลือใช้มาแปรรูปใหม่เพื่อนำกลับมาใช้
งานอีกครั้ง เป็นการจัดการวัสดุเหลือใช้ที่กำลังจะเป็นขยะ โดยนำไปผ่านกระบวนการแปรสภาพ และนำ
กลับมาใช้ใหม่ และบูรณาการเรื่องยาเสพติดในสถานศึกษาเพื่อให้นักเรียนได้รู้โทษของยาเสพติดและเพื่อ
ป้องกันนักเรียนไม่ให้เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด บุหรี่และแอลกอฮอล์ และ บูรณาการถึงหลักสูตรต้านทุจริต

ศกึ ษา เพือ่ ใหน้ กั เรยี นมคี วามซื่อสัตยส์ ุจรติ และสามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์

ส่วนรวม สง่ เสรมิ ให้นกั เรยี นต้านการทุจรติ เพอื่ ให้สงั คมเป็นที่นา่ อย่แู ละอย่รู ว่ มกนั อยา่ งสงบสขุ

เพื่อให้เห็นคุณค่าของความสวยงามตามธรรมชาติเกิดความรู้สึกชื่นชมธรรมชาติสามารถคิดและ
แสดงความรู้สึกจากการรับรู้ความงาความเพลิดเพลินเกิดความมั่นใ จใจตนเองในการสร้างงานทัศนศิลป์และ
รกั ษธ์ รรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม นำดนตรีไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั หรือโอกาสตา่ ง ๆ ได้อย่างเหมาะสม

รหัสตัวชี้วดั

ศ๑.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ ป.๒/๖ ป.๒/๕ ป.๒/๖ ป.๒/๗ ป.๒/๘

๓๒

ศ๑.๒ ป.๒/๑ ป.๒/๒
ศ๒.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ ป.๒/๕
ศ๒.๒ ป.๒/๑ ป.๒/๒
ศ๓.๑ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓ ป.๒/๔ ป.๒/๕
ศ๓.๒ ป.๒/๑ ป.๒/๒ ป.๒/๓

รวม ๒๕ ตัวช้วี ัด

๓๓

คำอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน

ศ๑๓๑๐๑ ศลิ ปะ๓ กลุม่ สาระการเรียนรู้ศลิ ปะ
ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ เวลา ๔๐ ชว่ั โมง

ศึกษารูปร่างรูปทรงในธรรมชาติสิ่งแวดล้อม วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างผลงาน เมื่อชมงานทัศนศิลป์
ทศั นธาตุของสง่ิ ต่าง ๆ ในธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ ม ทศั นศลิ ปเ์ นน้ เรื่องเสน้ สี รูปร่าง รูปรา่ งลักษณะของเคร่ือง
ดนตรีที่เห็น ที่ได้ยิน ในชีวิตประจำวัน รูปภาพหรือสัญลักษณ์แทนเสียง หน้าที่ของเพลงที่ได้ยิน ขับร้อง
บรรเลงดนตรีง่าย ๆ เคลื่อนไหวท่าทาง เข้าใจและแสดงการเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ ในสถาน การณ์สั้น ๆ
ท่าทางประกอบเพลงตามรูปแบบนาฏศลิ ป์ บทบาทหน้าที่ของผู้แสดงและผู้ชม กิจกรรมการแสดงท่ีเหมาะสม
กับวัยประโยชน์ของการแสดงนาฏศิลป์ในชีวิตประจำวัน การแสดงนาฏศิลป์ที่เคยเห็นในท้องถิ่น สิ่งที่เป็น
ลักษณะเด่นและเอกลักษณ์ของการแสดงนาฏศลิ ป์ ความสำคญั ของการแสดงนาฏศลิ ป์

โดยบรรยายรูปร่างรูปทรงธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างผลงานเมื่อชมงาน
ทัศนศิลป์ จำแนกทัศนศิลป์ของสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์โดยเน้นเรื่องเส้น สี
รูปร่าง รูปทรงและพื้นผิว ระบุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างผลงานเมื่อชมงานทัศนศิลป์ วาดภาพระบายสีสิ่งที่อยู่
รอบตวั ถา่ ยทอดความคิด ความรสู้ ึกจากเหตกุ ารณจ์ รงิ โดยใชเ้ สน้ รปู ร่าง รปู ทรง สแี ละพืน้ ผิว สร้างสรรค์
งานทัศนศิลป์เป็นรูปแบบงานโครงสร้างเคลื่อนไหว ระบุรูปร่างลักษณะของเคร่ืองดนตรีที่เห็น ได้ยิน ใน
ชีวิตประจำวัน ใช้รูปภาพหรือสัญลักษณ์แทนเสียงและเคาะจังหวะ บอกบทบาทหน้าทีข่ องเพลงที่ได้ยิน ขับ
รอ้ งและบรรเลงดนตรงี ่าย ๆ เคลื่อนไหวท่าทางสอดคล้องกบั อารมณข์ องเพลงท่ีฟัง แสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกับ
เสียงดนตรีเสียงขับร้องของตนเองและผู้อื่น โดยการสร้างสรรค์ แสดง เปรียบเทียบ ร่วมกิจกรรม บอก
เล่า ระบุและอธบิ าย และได้มกี ารบรู ณาการอาเซียนศึกษาได้ศึกษาววิ ัฒนาการของการผนกึ กำลังรวมกลุ่มกัน
เป็นอาเซียน กลไกการทำงานของอาเซียน การเมืองการปกครองที่หลากหลายในอาเซียน อัตลักษณ์ประจำ
ชาติของอาเซียน การเผยแผ่ศาสนาในอาเซียน การสร้างสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน บูรณาการถึง
หลักสูตรเพศวิถีศึกษา การส่งเสริมความเท่าเทียมกันทางเพศในอาเซียน การพัฒนาสังคมตามแบบอย่างของ
คนเกง่ อาเซียน และการจัดตั้งประชาคมอาเซียน โดยเนน้ การจดั ตงั้ ประชาคมการเมืองและความม่ันคงอาเซียน
รวมทงั้ ความท้าทายกับการก้าวไปสู่ประชาคมอาเซียน บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้นักเรียนรู้และเข้าใจ
ประวัติความเป็นมาความหมายหลักปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการการรีไซเคิลเพื่อเป็นการนำ
เศษวสั ดุของเหลือกินเหลือใช้มาแปรรูปใหม่เพื่อนำกลับมาใช้งานอีกครัง้ เปน็ การจดั การวัสดุเหลือใช้ที่กำลังจะ
เป็นขยะ โดยนำไปผ่านกระบวนการแปรสภาพ และนำกลับมาใช้ใหม่ และบูรณาการเรื่องยาเสพติดใน
สถานศึกษาเพื่อให้นักเรียนได้รู้โทษของยาเสพติดและเพื่อป้องกันนักเรียนไม่ให้เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
บุหรี่และแอลกอฮอล์ และ บูรณาการถึงหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เพื่อให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์สุจริต และ

สามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ส่งเสริมให้นักเรียนต้านการทุจริต

เพอื่ ให้สังคมเป็นทีน่ า่ อย่แู ละอยู่ร่วมกนั อยา่ งสงบสุข

เพื่อให้เห็นคุณค่าของความสวยงามตามธรรมชาติ เกิดความรู้สึกชื่นชมธรรมชาติ สามารถคิดและ
แสดงความรู้สึกจากการรับรู้ความงาม ความเพลิดเพลิน เกิดความมั่นใจใจตนเองในการสร้างงานทัศนศิลป์
และรกั ษธ์ รรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม นำดนตรไี ปใช้ในชีวิตประจำวัน หรอื โอกาสตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

๓๔

รหัสตวั ช้วี ัด
ศ. ๑.๑ ป.๓/๑ ป. ๓/๒ ป. ๓/๓ ป. ๓/๔ ป. ๓/๕ ป. ๓/๖ ป. ๓/๗ ป. ๓/๘ ป. ๓/๙ ป.๓/๑๐
ศ. ๑.๒ ป.๓/๑ ป. ๓/๒
ศ. ๒.๑ ป.๓/๑ ป. ๓/๒ ป. ๓/๓ ป. ๓/๔ ป. ๓/๕ ป. ๓/๖ ป. ๓/๗
ศ. ๒.๒ ป.๓/๑ ป. ๓/๒
ศ. ๓.๑ ป.๓/๑ ป. ๓/๒ ป. ๓/๓ ป. ๓/๔ ป. ๓/๕
ศ. ๓.๒ ป.๓/๑ ป. ๓/๒ ป. ๓/๓
รวม ๒๙ ตัวช้ีวัด

๓๕

ศ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ๔ คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ
เวลา ๘๐ ช่ัวโมง

ศึกษาลักษณะของรูปร่างรูปทรงในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมงานทัศนศิลป์ อิทธิพลของสี วรรณะอุ่น

วรรณะเย็นที่มีต่ออารมณ์ของมนุษย์ ศึกษาเพลง ประโยคเพลงอย่างง่าย เครื่องดนตรีที่ใช้ในเพลงที่ฟัง

ทิศทางการเคล่ือนที่ขึน้ – ลงง่ายๆของทำนอง รูปแบบจงั หวะและความเร็วของจังหวะเพลงที่ฟัง ศึกษาโนต้

ดนตรีไทยและสากล ทักษะพื้นฐานทางนาฏศิลป์และการละครที่ใช้สื่อความหมายและอารมณ์ ภาษาท่า

และนาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครง่ายๆ ในการถ่ายทอดเรื่องราว การเคลื่อนไหวในจังหวะต่างๆ ตาม

ความคิดของตน นาฏศลิ ปเ์ ปน็ คู่และหมู่ ชื่นชอบในการแสดงโดยเน้นจุดสำคญั ของเร่ืองและลกั ษณะเด่นของ

ตัวละคร ประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ หรือชุดการแสดงอย่างง่ายๆ การแสดงนาฏศิลป์กับการแสดง

ทมี่ าจากวัฒนธรรมอืน่ ความสำคัญของการแสดงความเคารพในการเรียนและการแสดงนาฏศิลป์ เหตุผลที่

ควรรักษา และสืบทอดการแสดงนาฏศิลป์ โดยเปรียบเทียบรูปลักษณะของรูปร่างรูปทรงในธรรมชาติ

สิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ อภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของสีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็นที่มีต่ออารมณ์ของ

มนุษย์ บอกประโยคของเพลงอย่างง่าย จำแนกประเภทของเครื่องดนตรีที่ใช้ในเพลงที่ฟัง ระบุทิศทางการ

เคลอ่ื นท่ีขนึ้ – ลง ตา่ ง ๆ ของทำนอง รปู แบบจังหวะและความเร็วของจังหวะในเพลงที่ได้ฟัง อา่ น เขยี นโน้ต

ดนตรีไทยและสากล ร้องเพลงโดยใช้ช่องเสียงที่เหมาะสมกับตนเอง การสร้างสรรค์ แสดง เปรียบเทียบ

รว่ มกจิ กรรม บอก เลา่ ระบแุ ละอธิบายเพอื่ ให้เขา้ ใจเหน็ คณุ คา่ ของความงามของธรรมชาติ ศิลปะของไทย

ศิลปะท้องถิ่น ศิลปะสากล เกิดความรู้สึกชืน่ ชมในความงามของธรรมชาติและภาคภูมิใจในความงาม ความ

ประณีตศิลปะของไทย ศลิ ปะท้องถ่ิน มองเหน็ ความแตกตา่ งของศิลปะไทย ศลิ ปะสากล

ชื่นชมภูมิใจรักษาศิลปะไทยไว้และยอมรับคำติชมและแก้ไขข้อบกพร่อง ให้เห็นความสำคัญและ

คุณค่าของเพลงไทย เพลงสากล เข้าใจในอารมณ์เพลง สามารถแสดงความรู้สึกจากการรับรู้ความไพเราะ

ของเพลง กิจกรรมการฟังเพลงไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ด้วยความเพลิดเพลิน เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ไทย

เกิดความชื่นชมนาฏศิลป์ไทย สามารถนำกิจกรรมของนาฏศิลป์ไปใช้แสดงในโอกาสต่าง ๆ เพื่อความ

เพลิดเพลินแก่ตนเองและผู้อื่น และได้มีการบูรณาการอาเซียนศึกษาได้ศึกษาวิวัฒนาการของการผนึกกำลัง

รวมกลุ่มกันเปน็ อาเซยี น กลไกการทำงานของอาเซียน การเมืองการปกครองท่ีหลากหลายในอาเซยี น
อัตลักษณ์ประจำชาติของอาเซียน การเผยแผ่ศาสนาในอาเซียน การสร้างสัมพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน
บูรณาการถึงหลักสูตรเพศวิถีศึกษา การส่งเสริมความเท่าเทียมกันทางเพศในอาเซียน การพัฒนาสังคมตาม
แบบอยา่ งของคนเก่งอาเซียน และการจดั ต้งั ประชาคมอาเซียน โดยเนน้ การจดั ตัง้ ประชาคมการเมืองและความ
มั่นคงอาเซียน รวมทั้งความท้าทายกับการก้าวไปสู่ประชาคมอาเซียน บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้นัก
เรียนรู้และเข้าใจประวัติความเป็นมาความหมายหลักปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการการรีไซเคิล
เพื่อเป็นการนำเศษวัสดุของเหลือกินเหลือใช้มาแปรรูปใหม่เพื่อนำกลับมาใช้งานอีกครั้ง เป็นการจัดการวัสดุ
เหลอื ใช้ที่กำลังจะเป็นขยะ โดยนำไปผา่ นกระบวนการแปรสภาพ และนำกลบั มาใช้ใหม่ และบรู ณาการเร่ืองยา
เสพติดในสถานศึกษาเพื่อให้นักเรียนได้รู้โทษของยาเสพติดและเพื่อป้องกันนักเรียนไม่ให้เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยา
เสพตดิ บหุ ร่ีและแอลกอฮอล์ และ บรู ณาการถงึ หลักสูตรต้านทุจริตศกึ ษา เพอื่ ใหน้ ักเรยี นมีความซื่อสัตย์สุจริต

๓๖

และสามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม สง่ เสรมิ ให้นกั เรยี นต้านการทุจริต
เพ่อื ใหส้ ังคมเปน็ ทนี่ ่าอยู่และอย่รู ว่ มกันอยา่ งสงบสขุ

รหสั ตัวชว้ี ดั
ศ๑.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ ป.๔/๖ ป.๔/๗ ป๔/๘
ศ๑.๒ ป.๔/๑ ป.๔/๒
ศ๒.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕ ป.๔/๖ ป.๔/๗
ศ๒.๒ ป.๔/๑ ป.๔/๒
ศ๓.๑ ป.๔/๑ ป.๔/๒ ป.๔/๓ ป.๔/๔ ป.๔/๕
ศ๓.๒ ป.๔/๑ ป.๔/๒

รวม ๒๖ ตวั ชว้ี ดั

๓๗

ศ๑๕๑๐๑ ศิลปะ๕ คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน
ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๕ กลมุ่ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ
เวลา ๘๐ ช่วั โมง

ศึกษาเกี่ยวกับจังหวะตำแหน่งของสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฏในสิ่งแวดล้อมและงานศิลป์ ความแตกต่าง

ระหว่างงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุอุปกรณ์และวิธีที่ต่างกัน วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสงเงา

น้ำหนัก และวรรณะสี งานปั้นจากดินน้ำมันหรือดินเหนียว งานพิมพ์ภาพ การจัดวางตำแหน่งของสิ่งต่างๆ

ในภาพ องค์ประกอบดนตรีในเพลงที่ใช้ในการสื่ออารมณ์ ลักษณะของเสียงขับร้องและเครื่องดนตรีที่อยู่ใน

วงดนตรีประเภทต่างๆ ศึกษาโน้ตดนตรีไทยและสากล ๕ ระดับเสียง เครื่องดนตรีที่ทำจังหวะและทำนอง

เพลงไทยหรือเพลงสากลทีเ่ หมาะสมกับวัย องค์ประกอบนาฏศิลป์ ท่าทางประกอบเพลงหรือเรื่องราวตาม

ความคิดของตน นาฏศิลป์ โดยเน้นการใช้ภาษาท่าและนาฏยศัพท์ในการสื่อความหมายและการแสดงออก

การเขียนเค้าโครงเรื่องหรือบทละครสั้นๆ การแสดงนาฏศิลป์ชุดต่างๆ ประโยชน์ที่ได้รับจากการชมการ

แสดง การแสดงประเภทต่างๆของไทยในแต่ละท้องถิ่น นาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นบ้านที่สะท้อนถึงวัฒนธรรม

และประเพณี โดยบรรยายเกี่ยวกับจังหวะตำแหน่งของสิ่งต่างๆ ที่ปรากฏในสิ่งแวดล้อมและงานศิลป์

เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุอุปกรณ์ และวิธีการที่แตกต่างกัน

วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสงเงา น้ำหนักและวรรณะสี สร้างสรรค์งานปั้นจากดินน้ำมันหรือดินเหนียวเนน้

การถ่ายทอดจินตนาการ งานพิมพ์ภาพเน้นการจัดวางตำแหน่งของสิ่งต่างๆในภาพ ระบุปัญหาในการจัด

องคป์ ระกอบศิลปแ์ ละการสอ่ื ความหมายในงานศิลปข์ องตนเอง และบอกวธิ กี ารปรบั ปรงุ งานให้ดขี ึน้ บรรยาย

ประโยชน์ของคุณค่าของงานทัศนศิลป์ที่มีผลต่อชีวิตของคนในสังคม ระบุองค์ประกอบดนตรีในเพลงที่ใช้ใน

การสื่ออารมณ์ จำแนกลกั ษณะของเสียงขบั ร้องและเคร่ืองดนตรีท่ีอยู่ในวงดนตรปี ระเภทต่างๆ

เพื่อให้เข้าใจเห็นคุณค่าของความงามของธรรมชาติ ศิลปะของไทย ศิลปะท้องถิ่น ศิลปะสากล

เกดิ ความรูส้ ึกชืน่ ชมในความงามของธรรมชาติและภาคภมู ิใจในความงาม ความประณีตศิลปะของไทย ศิลปะ

ท้องถ่นิ มองเห็นความแตกตา่ งของศลิ ปะไทย ศิลปะสากล ชน่ื ชมภูมิใจรกั ษาศลิ ปะไทยไวแ้ ละยอมรับคำติชม

และแก้ไขข้อบกพร่อง เห็นความสำคัญและคุณค่าของเพลงไทย เพลงสากลเกิดความชื่นชมในการร้องเพลง

ฟงั เพลง นำกจิ กรรมการฟังเพลงและการร้องเพลงไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั ด้วยความเพลดิ เพลนิ เหน็ คุณค่าของ

นาฏศิลป์ไทย เกิดความชื่นชมนาฏศิลป์ไทย สามารถประยุกต์นาฏศิลป์และละครของไทยให้เหมาะสมกับ

สภาพปัจจุบันและดำรงรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ไทย และได้มีการบูรณาการอาเซียนศึกษาได้ศึกษาวิวัฒนาการ

ของการผนึกกำลังรวมกลุ่มกันเป็นอาเซียน กลไกการทำงานของอาเซียน การเมืองการปกครองที่หลากหลาย
ในอาเซยี น อัตลกั ษณป์ ระจำชาติของอาเซียน การเผยแผ่ศาสนาในอาเซยี น การสร้างสมั พนั ธไมตรีกับภาคีนอก
อาเซียน บูรณาการถึงหลักสูตรเพศวิถีศึกษา การส่งเสริมความเท่าเทียมกันทางเพศในอาเซียน การพัฒนา
สงั คมตามแบบอยา่ งของคนเก่งอาเซียน และการจดั ตัง้ ประชาคมอาเซยี น โดยเนน้ การจดั ต้ังประชาคมการเมือง
และความมั่นคงอาเซียน รวมทั้งความท้าทายกับการก้าวไปสู่ประชาคมอาเซียน บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อให้นักเรียนรู้และเข้าใจประวัติความเป็นมาความหมายหลักปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง บูรณาการ
การรีไซเคิลเพื่อเป็นการนำเศษวัสดุของเหลือกินเหลือใช้มาแปรรูปใหม่เพื่อนำกลับมาใช้งานอีกครั้ง เป็นการ
จดั การวัสดเุ หลือใช้ท่ีกำลังจะเป็นขยะ โดยนำไปผา่ นกระบวนการแปรสภาพ และนำกลบั มาใช้ใหม่ และบูรณา
การเรื่องยาเสพติดในสถานศึกษาเพื่อให้นักเรียนได้รู้โทษของยาเสพติดและเพื่อป้องกันนักเรียนไม่ให้เข้าไปย่งุ

๓๘

เกี่ยวกับยาเสพติด บุหรี่และแอลกอฮอล์ และ บูรณาการถึงหลักสูตรต้านทุจริตศึกษา เพื่อให้นักเรียนมีความ
ซอ่ื สตั ย์สจุ ริต และสามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม ส่งเสริมให้นักเรียน
ต้านการทุจรติ เพ่อื ใหส้ งั คมเป็นทน่ี า่ อยแู่ ละอย่รู ว่ มกนั อย่างสงบสุข

รหสั ตวั ชี้วัด
ศ๑.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕ ป.๕/๖ ป.๕/๗
ศ๑.๒ ป.๕/๑ ป.๕/๒
ศ๒.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕ ป.๕/๖ ป.๕/๗
ศ๒.๒ ป.๕/๑ ป.๕/๒
ศ๓.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕ ป.๕/๖
ศ๒.๒ ป.๕/๑ ป๕/๒
ศ๓.๒ ป.๕/๑ ป.๕/๒

รวม ๒๘ ตวั ชว้ี ัด

๓๙

ศ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ๖ คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน
ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ
เวลา ๘๐ ชว่ั โมง

ศึกษาสีคู่ตรงข้ามการใช้สีคู่ตรงข้าม หลักการจัดขนาดสัดส่วนความสมดุลในการสร้างงานทัศนศิลป์

จากรูปแบบ ๒ มิติ เป็น ๓ มิติ เพลงที่ฟังโดยอาศัยองค์ประกอบดนตรีและศัพท์สังคีต ประเภท บทบาท

หน้าที่เครื่องดนตรีไทยและเครื่องดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างๆ โน้ตดนตรีไทยและสากล ทำนองง่ายๆ

เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลง ด้นสดที่มีจังหวะและทำนองง่ายๆ ศึกษาเรื่องของวงดนตรีไทยใน

ประวัติศาสตร์ จากยุคสมัยตา่ งกนั และอทิ ธิพลของวัฒนธรรมดนตรีไทย การเคล่ือนไหวและการแสดงโดยเน้น

การถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์ เครื่องแตง่ กาย หรอื อปุ กรณป์ ระกอบการแสดงอยา่ งง่ายๆ นาฏศิลป์และละคร

ง่ายๆ ความรู้สึกของตนเองที่มีต่องานนาฏศิลป์และการละครอย่างสร้างสรรค์ การชมการแสดง

ความสัมพันธ์ระหวา่ งนาฏศิลปแ์ ละการละครกับสิ่งท่ีประสบในชีวิตประจำวัน สิ่งที่มคี วามสำคัญต่อการแสดง

นาฏศิลป์และละคร ประโยชน์ที่ได้รับจากการแสดงหรือการชมการแสดงนาฏศิลป์และละครโดยใช้หลักการ

แสงเงาและระบุสีคู่ตรงข้าม จำแนกประเภทและบทบาทหน้าที่เครื่องดนตรีไทยและเครื่องดนตรีที่มาจาก

วัฒนธรรมต่างๆ อ่านเขียนโน้ตไทยและโน้ตสากลทำนองง่ายๆ ใช้เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลง

ดน้ สด ทมี่ จี งั หวะและทำนองง่ายๆ บรรยายความรูส้ ึกทมี่ ีตอ่ ดนตรี แสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกับทำนอง จังหวะ

การประสานเสียงและคุณภาพเสียงของเพลงที่ฟัง อธิบายเรื่องราวของดนตรีไทยในประวัติศาสตร์ อภิปราย

อิทธิพลของวฒั นธรรมต่อดนตรีในทอ้ งถิน่ การสร้างสรรค์ แสดง ออกแบบ บรรยาย แสดงความคดิ เหน็

เปรียบเทียบ ระบุและอธิบายเพื่อให้เข้าใจเห็นคุณค่าของความงามของธรรมชาติ ศิลปะของไทย ศิลปะ

ท้องถน่ิ ศลิ ปะสากล

เกิดความรู้สึกชื่นชมในความงามของธรรมชาติและภาคภูมิใจในความงาม ความประณีตศิลปะของ

ไทย ศิลปะท้องถิ่น มองเห็นความแตกต่างของศิลปะไทย ศิลปะสากล ชื่นชมภูมิใจรักษาศิลปะไทยไว้และ

ยอมรับคำติชมและแก้ไขข้อบกพร่องเห็นความสำคัญและคุณค่าของเพลงไทย เพลงสากลเกิดความชื่นชมใน

การรอ้ งเพลง ฟงั เพลง นำกจิ กรรมการฟังเพลงและการร้องเพลงไปใช้ในชีวิตประจำวันดว้ ยความเพลิดเพลิน

เห็นคุณค่าของนาฏศิลป์ไทย เกิดความชื่นชมนาฏศิลป์ไทย สามารถประยุกต์นาฏศิลป์และละครของไทยให้

เหมาะสมกับสภาพปัจจุบันและดำรงรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ไทย และได้มีการบรู ณาการอาเซียนศึกษาได้ศึกษา

วิวัฒนาการของการผนึกกำลังรวมกลุ่มกันเป็นอาเซียน กลไกการทำงานของอาเซียน การเมืองการปกครองที่
หลากหลายในอาเซยี น อัตลักษณ์ประจำชาติของอาเซยี น การเผยแผ่ศาสนาในอาเซียน การสรา้ งสัมพันธไมตรี
กับภาคีนอกอาเซียน บูรณาการถึงหลักสูตรเพศวิถีศึกษา การส่งเสริมความเท่าเทียมกันทางเพศในอาเซียน
การพัฒนาสังคมตามแบบอย่างของคนเก่งอาเซียน และการจัดตั้งประชาคมอาเซียน โดยเน้นการจัดตั้ง
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน รวมทั้งความท้าทายกับการก้าวไปสู่ประชาคมอาเซยี น บูรณาการ
เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้นักเรียนรู้และเข้าใจประวัติความเป็นมาความหมายหลักปรัชญาแนวคิดเศรษฐกิจ
พอเพียง บูรณาการการรีไซเคิลเพื่อเป็นการนำเศษวัสดุของเหลือกินเหลือใช้มาแปรรูปใหม่เพื่อนำกลับมาใช้
งานอีกครั้ง เป็นการจัดการวัสดุเหลือใช้ที่กำลังจะเป็นขยะ โดยนำไปผ่านกระบวนการแปรสภาพ และนำ
กลับมาใช้ใหม่ และบูรณาการเรื่องยาเสพติดในสถานศึกษาเพื่อให้นักเรียนได้รู้โทษของยาเสพติดและเพ่ือ

๔๐

ป้องกันนักเรียนไม่ให้เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด บุหรี่และแอลกอฮอล์ และ บูรณาการถึงหลักสูตรต้านทุจริต
ศกึ ษา เพือ่ ให้นกั เรียนมคี วามซือ่ สัตย์สจุ ริต และสามารถแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์
ส่วนรวม ส่งเสริมให้นักเรยี นต้านการทุจริตเพ่อื ให้สงั คมเปน็ ทน่ี ่าอยู่และอยรู่ ว่ มกันอย่างสงบสุข

รหัสตัวชีว้ ัด
ศ๑.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.๖/๔ ป.๖/๕ ป.๖/๖ ป.๖/๗
ศ๑.๒ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓
ศ๒.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.๖/๔ ป.๖/๕ ป.๖/๖ ป.๖/๗
ศ๒.๒ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓
ศ๓.๑ ป.๖/๑ ป.๖/๒ ป.๖/๓ ป.๖/๔ ป.๖/๕ ป.๖/๖
ศ๓.๒ ป.๖/๑ ป.๖/๒

รวม ๒๘ ตัวชวี้ ัด

๔๑

ส่วนที่ ๕

เกณฑก์ ารจบการศึกษา

หลกั สตู รโรงเรียนวดั บางกระเจ้า พทุ ธศักราช 256๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551 กำหนดเกณฑส์ ำหรับการจบการศึกษาดงั น้ี

เกณฑก์ ารจบระดับประถมศึกษา

เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษาปีท่ี 1 – 3
1. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน จำนวน 8๔0 ชั่วโมง และรายวิชาเพิ่มเติมจำนวน ๘0

ช่ัวโมง และมีผลการประเมนิ รายวิชาพืน้ ฐานผ่านทกุ รายวิชา
2. ผ้เู รียนตอ้ งมีผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน ระดบั “ผ่าน” ขึน้ ไป
3. ผูเ้ รยี นมผี ลการประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั “ผา่ น” ข้นึ ไป
4. ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและได้รับการตัดสินผลการเรียน “ผ่าน” ทุก

กิจกรรม

เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษาปที ่ี 4 – 6
1. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน จำนวน 840 ชั่วโมง และรายวิชาเพิ่มเติมจำนวน ๘0

ช่วั โมง และมผี ลการประเมินรายวชิ าพน้ื ฐานผ่านทกุ รายวิชา
2. ผู้เรยี นตอ้ งมีผลการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น ระดับ “ผ่าน” ขึ้นไป
3. ผเู้ รียนมีผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั “ผ่าน” ข้นึ ไป
4. ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและได้รับการตัดสินผลการเรียน “ผ่าน” ทุก

กิจกรรม

การจดั การเรียนรู้

การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการสำคัญในการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของผ้เู รียน เปน็ เป้าหมายสำหรับพัฒนาเดก็ และเยาวชน

ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติตามเป้าหมายหลักสูตร ผู้สอนพยายามคัดสรรกระบวนการ
เรยี นรู้ จัดการเรียนรโู้ ดยช่วยให้ผเู้ รยี นเรยี นรผู้ ่านสาระที่กำหนดไวใ้ นหลักสูตร 8 กล่มุ สาระการเรียนรู้ รวมท้ัง
ปลูกฝังเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พัฒนาทักษะต่างๆ อันเป็นสมรรถนะสำคัญให้ผู้เรียนบรรลุตาม
เปา้ หมาย

๔๒

1. หลกั การจัดการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้สมรรถนะ

สำคัญและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ตามทก่ี ำหนดไวใ้ นหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยยดึ หลกั วา่
ผู้เรียนมีความสำคญั ที่สดุ เช่ือวา่ ทกุ คนมีความสามารถเรยี นรแู้ ละพฒั นาตนเองได้ ยดึ ประโยชน์ทเี่ กิดกบั ผเู้ รียน
กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คำนึงถึง
ความแตกต่างระหว่างบคุ คลและพัฒนาการทางสมองเนน้ ใหค้ วามสำคญั ทัง้ ความรู้ และคุณธรรม

2. กระบวนการเรียนรู้
การจัดการเรยี นรู้ที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรยี นรู้ท่ีหลากหลาย

เป็นเครื่องมือที่จะนำพาตนเองไปสู่เป้าหมายของหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ที่จำเป็นสำหรับผู้เรียน อาทิ
กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม
กระบวนการเผชญิ สถานการณแ์ ละแก้ปญั หา กระบวนการเรียนรจู้ ากประสบการณจ์ ริง กระบวนการปฏิบตั ิ ลง
มือทำจริงกระบวนการจดั การ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรยี นรู้การเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการพัฒนา
ลกั ษณะนสิ ัย

กระบวนการเหล่าน้ีเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรูท้ ีผ่ ู้เรียนควรได้รับการฝึกฝน พัฒนา เพราะ
จะสามารถชว่ ยให้ผ้เู รียนเกดิ การเรยี นรไู้ ด้ดี บรรลเุ ป้าหมายของหลักสตู ร ดงั นัน้ ผูส้ อน จึงจำเปน็ ตอ้ งศึกษาทำ
ความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

3. การออกแบบการจดั การเรียนรู้
ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะ

สำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน แล้วจึงพิจารณา
ออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล
เพ่อื ให้ผเู้ รียนได้พฒั นาเต็มตามศกั ยภาพและบรรลุตามเปา้ หมายทก่ี ำหนด

4. บทบาทของผู้สอนและผเู้ รยี น
การจดั การเรยี นรเู้ พ่อื ให้ผู้เรยี นมีคุณภาพตามเป้าหมายของหลักสูตร ทัง้ ผู้สอนและผ้เู รียนควร

มบี ทบาท ดงั นี้
4.1 บทบาทของผู้สอน
1) ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วนำข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการ

เรียนรู้ ทท่ี า้ ทายความสามารถของผเู้ รยี น
2) กำหนดเป้าหมายที่ต้องการใหเ้ กิดข้ึนกับผู้เรียน ด้านความรู้และทักษะกระบวนการ ท่ี

เป็นความคิดรวบยอด หลกั การ และความสมั พันธ์ รวมทัง้ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
3) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและ

พฒั นาการทางสมอง เพอ่ื นำผูเ้ รียนไปสเู่ ปา้ หมาย

๔๓

4) จดั บรรยากาศท่เี ออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ และดแู ลช่วยเหลือผู้เรยี นใหเ้ กดิ การเรยี นรู้
5) จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นำภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีท่ี
เหมาะสมมาประยกุ ต์ใช้ในการจัดการเรยี นการสอน
6) ประเมนิ ความกา้ วหน้าของผเู้ รยี นด้วยวธิ กี ารที่หลากหลาย เหมาะสมกบั ธรรมชาติของ
วชิ าและระดับพฒั นาการของผูเ้ รียน
7) วิเคราะห์ผลการประเมินมาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งปรับปรุงการ
จัดการเรียนการสอนของตนเอง
4.2 บทบาทของผเู้ รยี น
1) กำหนดเปา้ หมายวางแผนและรับผิดชอบการเรียนรูข้ องตนเอง
2) เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถงึ แหล่งการเรยี นรู้ วิเคราะห์ สังเคราะหข์ ้อความรู้ ต้ังคำถาม คดิ
หาคำตอบหรือหาแนวทางแก้ปญั หาดว้ ยวธิ กี ารตา่ งๆ
3) ลงมอื ปฏิบตั จิ รงิ สรปุ ส่ิงท่ไี ด้เรียนรู้และนำความร้ไู ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นสถาน การณต์ ่างๆ
4) มปี ฏสิ ัมพันธ์ ทำงาน ทำกิจกรรมรว่ มกับกลมุ่ และครู
5) ประเมนิ และพฒั นากระบวนการเรยี นรขู้ องตนเองอย่างต่อเนื่อง

สอื่ การเรียนรู้

สื่อการเรียนรู้เป็นเครื่องมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึง
ความรู้ ทักษะกระบวนการ และคณุ ลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพสื่อการเรียนรู้มี
หลากหลายประเภท ทง้ั ส่อื ธรรมชาตสิ อื่ ส่ิงพิมพ์ส่ือเทคโนโลยี และเครือข่ายการเรยี นรู้ตา่ งๆ ที่มีในท้องถิ่นการ
เลือกใช้สอ่ื ควรเลอื กใหม้ ีความเหมาะสมกับระดับพฒั นาการ และลลี าการเรียนร้ทู ีห่ ลากหลายของผู้เรยี น

การจัดหาสื่อการเรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถจัดทำและพัฒนาขึ้นเองหรือปรับปรุงเลือกใช้
อย่างมีคุณภาพจากสื่อต่างๆ ที่มีอยู่รอบตัวเพื่อนำมาใช้ประกอบในการจัดการเรียนรู้ที่สามารถส่งเสริมและ
สื่อสารให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
อย่างแท้จริง สถานศึกษาเขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและผู้มีหน้าที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานควร
ดำเนนิ การดังนี้

1.จัดใหม้ แี หล่งการเรียนรศู้ นู ยส์ อื่ การเรียนรรู้ ะบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือขา่ ย
การเรยี นรทู้ ่มี ีประสทิ ธิภาพท้ังในสถานศกึ ษาและในชุมชนเพอื่ การศึกษาค้นควา้ และการแลกเปลีย่ น
ประสบการณ์การเรียนรู้ ระหว่างสถานศึกษาท้องถ่ิน ชุมชน สังคมโลก

2.จัดทำและจัดหาสื่อการเรียนรู้สำหรับการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียนเสริมความรู้ให้ผู้สอน
รวมทั้งจดั หาส่งิ ท่ีมอี ยู่ในทอ้ งถน่ิ มาประยุกต์ใช้เปน็ สอื่ การเรียนรู้

3.เลือกและใช้สื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพมีความเหมาะสมมีความหลากหลาย สอดคล้องกับ
วิธกี ารเรียนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรยี นรู้ และความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลของผู้เรียน

4.ประเมินคุณภาพของสือ่ การเรียนร้ทู ี่เลือกใช้อย่างเป็นระบบ
5.ศกึ ษาค้นคว้า วิจยั เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรใู้ ห้สอดคล้องกบั กระบวนการเรียนรขู้ องผู้เรียน

๔๔

6.จัดให้มีการกำกับติดตามประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกับสื่อและการใช้ส่ือ
การเรียนรเู้ ปน็ ระยะๆ และสม่ำเสมอ

ในการจัดทำ การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพส่ือการเรียนรู้ทีใ่ ช้ในสถานศึกษาควรคำนึงถงึ
หลักการสำคัญของสื่อการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตรวัตถุประสงค์การเรียนรู้การออกแบบ
กิจกรรมการเรยี นรู้ การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรยี นเน้ือหามคี วามถกู ต้องและทนั สมยั ไม่กระทบความมั่นคงของ
ชาติ ไม่ขดั ต่อศลี ธรรมมกี ารใช้ภาษาทถี่ ูกต้องรูปแบบการนำเสนอท่ีเข้าใจง่ายและน่าสนใจ

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการคือการ
ประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสินผลการเรียนในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ประสบ
ผลสำเร็จนั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้
สะท้อนสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียนระดับสถานศึกษาระดับเขตพื้นที่การศึกษา และ
ระดบั ชาติ การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ เป็นกระบวนการพฒั นาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการประเมินเป็น
ข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสำเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจน
ขอ้ มูลที่เปน็ ประโยชนต์ อ่ การสง่ เสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรียนรู้อย่างเต็มตามศกั ยภาพ

การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ แบ่งออกเปน็ 4 ระดับ ไดแ้ ก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา
ระดบั เขตพ้นื ท่ีการศึกษา และระดบั ชาติ มีรายละเอียด ดงั นี้

1. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการ
เรียนรู้ ผู้สอนดำเนินการเป็นปกติและสม่ำเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่ าง
หลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิน้ งาน/ ภาระ
งาน แฟ้มสะสมงาน การใช้แบบทดสอบฯลฯโดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมิน
ตนเอง เพอ่ื นประเมนิ เพือ่ น ผูป้ กครองร่วมประเมิน ในกรณที ่ไี ม่ผ่านตวั ชี้วัดให้มีการสอนซอ่ มเสรมิ

การประเมินระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการ
เรยี นรอู้ นั เป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่จะต้องได้รับการ
พัฒนาปรับปรงุ และส่งเสริมในด้านใดนอกจากน้ียงั เปน็ ข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนด้วย
ทัง้ นีโ้ ดยสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ช้วี ดั

2. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดำเนินการเพื่อตัดสินผล
การเรียนของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น นอกจากนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา ว่า
ส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนำผลการ
เรียนของผู้เรยี นในสถานศกึ ษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดบั สถานศึกษาจะเป็นข้อมูล
และสารสนเทศเพื่อการปรบั ปรงุ นโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพื่อ
การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการ

๔๕

รายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ผปู้ กครองและชมุ ชน

3. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษาเป็นการประเมินคุณภาพผูเ้ รียนในระดับเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาตามมาตรฐานการเรยี นรตู้ ามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน เพอื่ ใชเ้ ป็นข้อมลู พนื้ ฐานในการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษาตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดำเนินการโดยประเมิน
คุณภาพผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จัดทำและดำเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษา หรือด้วย
ความร่วมมือกบั หนว่ ยงานต้นสงั กัด ในการดำเนินการจดั สอบ นอกจากนยี้ งั ไดจ้ ากการตรวจสอบทบทวนข้อมูล
จากการประเมนิ ระดบั สถานศกึ ษาในเขตพน้ื ที่การศึกษา

4. การประเมินระดับชาติเป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการ
เรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียน ในชั้น
ประถมศกึ ษาปีท่ี3ชน้ั ประถมศึกษาปีท6่ี เข้ารบั การประเมิน ผลจากการประเมินใช้เป็นข้อมลู ในการเทียบเคียง
คุณภาพการศึกษาในระดับต่างๆ เพื่อนำไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาตลอดจนเป็น
ขอ้ มลู สนับสนุนการตดั สนิ ใจในระดบั นโยบายของประเทศ

ข้อมูลการประเมินในระดบั ต่างๆ ขา้ งตน้ เป็นประโยชนต์ อ่ สถานศึกษาในการตรวจสอบ
ทบทวนพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน ถอื เป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาท่จี ะต้องจดั ระบบดแู ลช่วยเหลอื
ปรับปรุงแก้ไข สง่ เสรมิ สนับสนนุ เพอื่ ให้ผเู้ รยี นได้พฒั นาเตม็ ตามศกั ยภาพบนพ้ืนฐานความแตกต่างระหว่าง
บุคคลท่จี ำแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผเู้ รียนท่วั ไป กล่มุ ผู้เรยี นท่ีมีความสามารถพิเศษ
กลมุ่ ผู้เรียนทีม่ ผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นต่ำ กลมุ่ ผเู้ รยี นที่มปี ัญหาด้านวนิ ยั และพฤติกรรมกล่มุ ผ้เู รยี นทปี่ ฏเิ สธ
โรงเรยี น กลุ่มผเู้ รยี นท่มี ปี ญั หาทางเศรษฐกิจและสงั คม กลุ่มพกิ ารทางร่างกายและสตปิ ัญญา เปน็ ต้น ข้อมลู
จากการประเมนิ จึงเป็นหวั ใจของสถานศึกษาในการดำเนินการชว่ ยเหลือผู้เรยี นไดท้ ันท่วงที ปิดโอกาสให้
ผเู้ รยี นได้รับการพัฒนาและประสบความสำเรจ็ ในการเรยี น

สถานศึกษาในฐานะผรู้ ับผิดชอบจดั การศกึ ษาจะต้องจัดทำระเบียบวา่ ดว้ ยการวัดและ
ประเมินผลการเรียนของสถานศกึ ษาให้สอดคลอ้ งและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบตั ิท่เี ปน็ ข้อกำหนด
ของหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน เพื่อให้บุคลากรทีเ่ กี่ยวข้องทุกฝา่ ยถือปฏิบัตริ ่วมกัน
เกณฑก์ ารวดั และประเมินผลการเรยี น

1. การตัดสนิ การใหร้ ะดับและการรายงานผลการเรยี น
1.1 การตดั สนิ ผลการเรยี น
ในการตดั สนิ ผลการเรยี นของกล่มุ สาระการเรียนรู้ การอ่าน คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น

คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผ้เู รียนน้ัน ผูส้ อนต้องคำนงึ ถึงการพัฒนาผ้เู รียนแต่ละคนเปน็
หลกั และตอ้ งเก็บข้อมูลของผู้เรยี นทุกด้านอย่างสม่ำเสมอและต่อเน่ืองในแต่ละภาคเรียน รวมทั้งสอนซ่อมเสริม
ผ้เู รยี นให้พัฒนาจนเตม็ ตามศักยภาพ

ระดับประถมศึกษา
(1) ผ้เู รียนต้องมีเวลาเรยี นไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรยี นทัง้ หมด
(2) ผูเ้ รยี นตอ้ งได้รบั การประเมินทุกตัวช้วี ดั และผ่านตามเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษากำหนด
(3) ผเู้ รยี นต้องได้รับการตดั สนิ ผลการเรยี นทกุ รายวชิ า

๔๖

(4) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา
กำหนด ในการอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น

การพิจารณาเลื่อนชัน้ ถ้าผู้เรียนมีขอ้ บกพรอ่ งเพียงเล็กนอ้ ย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นวา่
สามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสรมิ ได้ ใหอ้ ยใู่ นดุลพินิจของสถานศึกษาทจ่ี ะผ่อนผนั ให้เลือ่ นชั้นได้ แตห่ ากผู้เรียน
ไม่ผ่านรายวิชาจำนวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจต้งั
คณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้ำชั้นได้ ทั้งนี้ให้คำนึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ความสามารถของผู้เรียนเป็น
สำคญั

1.2 การใหร้ ะดับผลการเรียน
ระดับประถมศึกษาในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชาสถานศึกษาสามารถให้

ระดับผลการเรียนหรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียน เป็นระบบตัวเลข ระบบตัวอักษรระบบร้อยละ
และระบบทีใ่ ชค้ ำสำคัญสะท้อนมาตรฐาน

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น ให้
ระดบั ผล การประเมินเปน็ ดเี ยย่ี ม ดี และผา่ น

การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การ
ปฏิบตั ิกิจกรรมและผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษากำหนด และใหผ้ ลการเขา้ ร่วมกิจกรรมเป็นผ่าน
และไมผ่ า่ น

1.3 การรายงานผลการเรยี น
การรายงานผลการเรยี นเปน็ การสือ่ สารใหผ้ ปู้ กครองและผูเ้ รียนทราบความกา้ วหน้าใน

การเรยี นรขู้ องผู้เรียน ซง่ึ สถานศึกษาต้องสรปุ ผลการประเมนิ และจดั ทำเอกสารรายงานให้ผปู้ กครองทราบเป็น
ระยะๆ หรืออย่างน้อยภาคเรยี นละ 1 ครง้ั

การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเปน็ ระดบั คุณภาพการปฏบิ ตั ิของผเู้ รยี นทส่ี ะท้อน
มาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรยี นรู้

2. เกณฑก์ ารจบการศกึ ษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดเกณฑ์กลางสำหรับการจบการศึกษาเป็น 1

ระดับ คือ ระดบั ประถมศกึ ษา
2.1 เกณฑ์การจบระดบั ประถมศกึ ษา
(1) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลา

เรียนทห่ี ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานกำหนด
(2) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่

สถานศึกษากำหนด
(3) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์การ

ประเมนิ ตามท่สี ถานศกึ ษากำหนด


Click to View FlipBook Version