อ่านขอ้ ความต่อไปน้ี แลว้ ตอบคาถามข้อ ๖ ๑๐๑
๑) ถึงบางพูดพดู ดีเปน็ ศรศี ักด์ิ ๒) มคี นรักรสถอ้ ยอรอ่ ยจิต
๓) แมน้ พูดชว่ั ตวั ตายทาลายมิตร ๔) จะชอบผิดในมนษุ ย์เพราะพดู จา
๖. จากบทประพนั ธ์ขา้ งตน้ ข้อความวรรคใดกล่าวถึงผลของการพดู ดแี ละการพดู ไมด่ ี
๑. วรรคที่ ๑ ๒. วรรคท่ี ๒
๓. วรรคที่ ๓ ๔. วรรคที่ ๔
ใช้ขอ้ ความต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ ๗
“เมื่อนัน้ มัจฉานฤุ ทธิแรงแข็งขัน
ฟังลูกพระพายเทวัญ ขบฟนั ชหี้ น้าแลว้ ร้องไป
เหมเ่ หมด่ ูดู๋กระบศ่ี รี มสุ าพาทีก็เป็นได้
ถ้อยคาหยาบชา้ ไม่เกรงใจ ใครจะเชือ่ ฟังวานร
แม้นหาวเปน็ ดาวเดอื นตะวนั ใหเ้ ห็นสาคญั ประจกั ษ์ก่อน
เราจงึ จะเช่อื วา่ บิดร ทหารพระสีก่ รอวตาร
๗. จากคาประพนั ธ์ข้างตน้ ข้อใดไมใ่ ชค่ ณุ ลกั ษณะของมัจฉานุ
๑. เกง่ กล้าสามารถ ๒. มสี ตพิ ิจารณา
๓. ไม่เกรงกลวั ผู้ใด ๔. เช่ือฟังคาพดู ผ้ใู หญ่
ใชข้ อ้ ความต่อไปนต้ี อบคาถามข้อ ๘
“ถึงบางไกรไกรทองอยคู่ ลองนี้ จึงมชี ่ือทุกวันเหมือนหมัน่ หมาย
ไปเข่นฆ่าชาละวันใหพ้ ลันตาย เป็นยอดชายเชย่ี วชาญการวิชา”
๘. บทประพันธข์ ้างตน้ น้มี จี ุดมงุ่ หมายหลกั ในด้านใด ๒. บอกประวตั ิของตัวละคร
๑. บอกที่มาของช่อื สถานท่ี ๔. บอกประโยชน์ของการศกึ ษา
๓. บอกพฤตกิ รรมของตัวละคร
ปักหมดุ O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๐๒
อ่านบทรอ้ ยกรองท่กี าหนดให้แลว้ ตอบคาถามขอ้ ๙
เมอื่ เคราะหร์ ้ายกายเรากเ็ ท่านี้ ไม่มีทีพ่ สุธาจะอาศยั
ล้วนหนามเหน็บเจ็บแสบคับแคบใจ เหมอื นนกไรร้ งั เร่อยู่เอกา
๙. บทรอ้ ยกรองข้างตน้ แสดงถงึ ความรู้สกึ ใดมากท่สี ุด ๒. แค้นเคือง
๑. มที กุ ข์ ๔. วติ กกงั วล
๓. หวาดกลัว
จงใช้ข้อความต่อไปนี้ ตอบคาถามขอ้ ๑๐
ยรี าฟเป็นสัตวท์ ไ่ี ม่มภี ยั ไม่ทาร้ายใครเลย มีแต่ถูกทาร้าย เช่น ถูกสิงโตโจมตี เวลาถูกโจมตีมันจะเตะ
สุดกาลัง ถ้าสิงโตโดดข้ึนหลัง มันจะวิ่งเต็มที่ ฝ่าเข้าไปในดงหนามรก ๆ หนังยีราฟหนา หนามตาไม่เข้า ส่วน
สิงโตแย่โดนหนามตาก็ตอ้ งปล่อย สิงโตจะฆา่ ยีราฟจงึ ตอ้ งพาพวกมารุมกันหลาย ๆ ตัว มิฉะน้ันเอายีราฟไม่อยู่
เปน็ กรรมอยหู่ น่อยทย่ี ีราฟจะกินน้าตอ้ งไปยนื ท่ีริมหนอง ถ่างขาหน้ากางออกไปให้ตัวเตี้ยลง แล้วจึงก้มคอยาว
ลงไปเอาปากดดู น้าขน้ึ มา ตอนถ่างขาออกน่แี หละเปน็ โอกาสใหศ้ ัตรูโจมตีได้สะดวก เพราะกว่าจะกางออกกาง
เขา้ ต้องใชเ้ วลานาน
๑๐. ขอ้ ใดไม่ปรากฏในข้อความขา้ งตน้ ๒. ถน่ิ กาเนิดของยรี าฟ
๑. ศตั รขู องยีราฟ ๔. รูปร่างลักษณะของยีราฟ
๓. การป้องกนั ตวั ของยรี าฟ
จงอ่านบทประพันธต์ ่อไปน้ี แล้วตอบคาถามขอ้ ๑๑
เพลงพวงมาลัย
เออ้ ระเหยลอยไป เพลงพวงมาลัยน้ันหรือจา๋
ทราบว่าแรกเกิดที่เพชรบุรี การลอยอัคคีในคงคา
เพญ็ เดือนสิบสองลอยกระทง บูชาองคพ์ ระศาสดา
ผ้าปา่ กฐนิ และตรษุ สงกรานต์ หรอื คราวมงี านในท้องไร่ทอ้ งนา
เจา้ ชอ่ มะกอกเจ้าดอกจาปา ร้องเลน่ กันมานานเอย
๑๑. ข้อใดไม่ปรากฏในเพลงพวงมาลยั ขา้ งตน้ ๒. แหลง่ กาเนิดการรอ้ ง-เลน่
๑. การแตง่ กายของผู้ร้อง-เลน่ ๔. โอกาสในการรอ้ งเลน่
๓. สถานที่ท่ีมกี ารรอ้ ง-เลน่
ปักหมดุ O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๐๓
จงใช้ข้อความต่อไปนต้ี อบคาถามข้อ ๑๒
ผีตองเหลอื งไม่ใช่ผีท่คี อยหลอกหลอนคนท่วั ๆ ไป แตเ่ ป็นชนเผ่าหนง่ึ ซงึ่ อาศัยอยู่ในปา่ ลึกตามเขตแดน
จงั หวดั ในภาคเหนอื บ้านช่องผตี องเหลอื งจะไม่สร้างถาวรอยปู่ ระจาท่ี แต่จะเอากิง่ ไม้ใบไมส้ ด ๆ มาทาเปน็ เพงิ
อาศัยอยไู่ ปวัน ๆ เทา่ นน้ั มใี บหนา้ กลมแบน หกู าง จมูกแฟบ มักไปลา่ และจบั สตั ว์ต่าง ๆ มากินเป็นอาหารโดย
ใชอ้ าวธุ คือ หอก หลาว ชุบอาบยาพิษ สามารถเอาหอกซัดชา้ งจนถึงตายและชาแหละเน้อื ชา้ งมาแบ่งกันกนิ
๑๒. ข้อใดกล่าวเกย่ี วกับชนเผ่าตองเหลอื งไดส้ อดคลอ้ งกบั ขอ้ ความข้างต้น
๑. มีที่อยู่อาศัยเปน็ หลักแหลง่ ๒. ล่าสัตว์ใหญ่มาเปน็ อาหารได้
๓. มอี าชีพเพาะปลกู และเลย้ี งสตั ว์ ๔. พบไดต้ ามภาคตา่ ง ๆ ของประเทศไทย
จงใชข้ ้อความต่อไปนต้ี อบคาถามข้อ ๑๓
ตามความเช่อื คนโบราณ นา้ ผงึ้ จะมคี ณุ ภาพดีท่ีสุด คือน้าผึ้งเดือน ๕ มักเร่ิมในเดือนมีนาคมและเดือน
เมษายนทุกปี เน่ืองจากเป็นช่วงอากาศแห้งทาให้น้าผึ้งมีความเข้มข้นสูง ความชื้นต่าประกอบกับเป็นช่วงที่
ดอกไมพ้ ชื พันธ์ใุ นปา่ ผลดิ อกออกใบ ทาให้ผึ้งสามารถเก็บน้าหวานและเกสรดอกไม้หลากหลายพันธ์ุ น้าผ้ึงที่ได้
จงึ เปน็ เสมอื นสมุนไพรดี ๆ นเ่ี อง ประโยชนข์ องน้าผึง้ คอื ใชเ้ ปน็ อาหารและยารักษาโรคต่าง ๆ เช่น ลดอาการ
อกั เสบ ลดความดนั โลหิต แกท้ ้องผูก นอนไม่หลับ และแกไ้ อ
๑๓. ข้อใดกล่าวไมส่ อดคล้องกับขอ้ ความขา้ งต้น
๑. นา้ ผง้ึ สามารถใชร้ กั ษาโรคได้หลายชนิด
๒. นา้ ผ้ึงเดอื น ๕ มีราคาแพงกว่าน้าผ้ึงเดอื นอน่ื ๆ
๓. สภาพอากาศเดอื น ๕ สง่ ผลตอ่ คุณภาพของน้าผึง้
๔. นา้ ผ้งึ ในเดอื นเมษายนมคี ุณภาพดีเพราะมคี วามเข้มข้นสูง
จงใช้คาประพนั ธต์ อ่ ไปน้ีตอบคาถามข้อ ๑๔ มนั แสนสดุ ลึกล้าเหลือกาหนด
กไ็ ม่คดเหมอื นหน่งึ ในนา้ ใจคน
แล้วสอนวา่ อย่าไว้ใจมนษุ ย์
ถงึ เถาวัลยพ์ ันเกีย่ วทเี่ ล้ียวลด
๑๔. คาประพันธข์ า้ งต้นแสดงข้อคิดเห็นตรงกับขอ้ ใด
๑. การเลือกคบคน ๒. การเปน็ มติ รกบั ทกุ คน
๒. การตอบโต้ผู้ท่ีเปน็ ศตั รู ๔. การไม่ยอมใหใ้ ครเอาเปรยี บ
ปักหมดุ O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๐๔
จงใช้คาประพันธ์ตอ่ ไปนตี้ อบคาถามขอ้ ๑๕
ตีนงูงูหากไซร้ เห็นกนั
นมไกไ่ กส่ าคัญ ไกร่ ู้
หม่โู จรตอ่ โจรหัน เหน็ เล่ห์ กันนา
เชิงปราชญ์ฉลาดกลา่ วผู้ ปราชญ์รเู้ ชงิ กัน
๑๕. ขอ้ ใดแสดงความหมายตรงกบั คาประพันธ์ขา้ งต้น ๒. พวกเดียวกันชว่ ยเหลือกนั
๑. พวกเดียวกนั รเู้ ทา่ ทนั กัน ๔. พวกเดียวกันแต่ไม่รู้จกั กนั
๓. พวกเดียวกันแตไ่ มค่ บกนั
จงใช้ข้อความตอ่ ไปนี้ตอบคาถามข้อ ๑๖
แรดเปน็ สัตว์บกใหญ่เปน็ อนั ดับท่ีสองรองจากช้าง แม้แรดจะมีสายตาที่ไม่ดี แต่มีหูและจมูกดีมาก จึง
รบั รถู้ งึ อนั ตรายในระยะไกล แรดมนี อบนหัวไวใ้ ช้ตอ่ สแู้ ละป้องกันตัว ชาวต่างชาติบางประเทศนานอแรดมาใช้
ทายา จงึ อยู่ในตารับยาโบราณหลายขนาน ทาให้แรดท่ัวโลกถูกคุกคามอย่างหนักเพ่ือล่าตัดนอส่งขายในทวีป
แอฟริกาจึงมกี ารฆ่าล้างเผ่าพันธ์ุแรดกันอย่างหนัก เดิมทีประเทศไทยเคยเป็นท่ีอยู่อาศัยของแรด ๒ สายพันธุ์
คอื แรดขาวและแรดสุมาตรา แตท่ งั้ สองชนิดสูญพนั ธุ์ไปจากธรรมชาติมานานกวา่ ๖ ทศวรรษ
๑๖. จากข้อความขา้ งตน้ ข้อใดกลา่ วเก่ยี วกบั “แรด” ได้ถูกตอ้ ง
๑. แรดขาวในเมืองไทยยงั มีอย่ตู ามธรรมชาติ
๒. แรดมสี ายตาดมี าก จึงมองเหน็ ศตั รใู นระยะไกล
๓. จานวนแรดลดลงจนเกือบสญู พันธเุ์ พราะน้ามือมนุษย์
๔. ชนเผา่ ในทวีปแอฟริกาลา่ แรดเพื่อนามาทาเป็นอาหาร
ปักหมุด O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๐๕
เรือ่ งท่ี ๑๖
คุณคา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี า่ นและนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ จรงิ
ข้อสอบเร่อื งคณุ คา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมจะออกขอ้ สอบทุกปี นักเรียนตอ้ งอา่ นและตคี วามให้
ไดว้ า่ เรื่องน้นั ๆ ให้คุณคา่ ในดา้ นใด
ความหมายของวรรณกรรมและวรรณคดี
วรรณกรรม คอื ผลงานสร้างสรรค์ที่ วรรณคดี คอื ผลงานสรา้ งสรรค์ท่ี
เกดิ จากอารมณ์ ความร้สู ึกนึกคดิ และการใช้ ไดร้ ับการยกยอ่ งวา่ แต่งดี มีศิลปะในการ
ภาษาอยา่ งมีศลิ ปะ ประพนั ธ์ ให้คณุ ค่าควรแก่การศึกษา มีการ
อ่านสบื ทอดกันมาเปน็ เวลานาน
คณุ ค่าของวรรณคดี แบ่งออกได้ ดังนี้
๑. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ คอื กลวิธกี ารประพันธ์ที่ดีเยีย่ ม
- การใช้โวหาร ได้แก่
บรรยายโวหาร เปน็ การเล่าเรอ่ื ง
พรรณนาโวหาร เปน็ การให้รายละเอยี ดของเรอ่ื งราว เพอ่ื ให้ผูอ้ า่ นเหน็ ภาพ
เทศนาโวหาร มุง่ ในการสัง่ สอน โนม้ น้าวจติ ใจผูอ้ า่ นใหค้ ล้อยตาม
สาธกโวหาร เปน็ การยกตวั อยา่ งประกอบเพ่อื สนบั สนนุ ใหน้ ่าเช่ือถือ
- การใชภ้ าพพจน์ ไดแ้ ก่ อุปมา อุปลักษณ์ สัญลักษณ์ อตพิ จน์ บุคคลวัต สัทพจน์ ฯลฯ
- การเล่นเสยี ง คือ การเลอื กสรรคาทม่ี เี สียงสัมผัสกนั ไดแ้ ก่ การเล่นเสยี งอักษร เล่นเสียงสระ
และเล่นเสยี งวรรณยกุ ต์
๒. คณุ ค่าดา้ นสังคมและวฒั นธรรม จะสะทอ้ นให้เหน็ สภาพของสงั คม ขนบ ธรรมเนยี มประเพณี
ความเชอ่ื วถิ ีการดาเนนิ ชีวติ และคา่ นยิ ม
๓. คุณคา่ ดา้ นปัญญา การอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมจะทาให้ได้รับข้อคดิ ต่าง ๆ ไมว่ า่ จะเป็นคติ
ธรรม คาสอนต่าง ๆ เช่นการศึกษาเล่าเรยี น การรจู้ กั ใชช้ ีวิตอย่างพอเพียง ความสามัคคี ความผดิ ชอบชั่วดี การ
ปฏิบตั หิ นา้ ที่ของตน
๔. คุณค่าทางอารมณ์ จะทาให้ผอู้ ่านเขา้ ใจธรรมชาติของมนุษยใ์ นเร่ืองความร้สู ึกและอารมณ์ต่าง ๆ
ของตัวละคร ท้ังความดีใจ ความเสยี ใจ ความโกรธ ความรัก ความกลวั เป็นต้น ทาให้ผอู้ ่านเกดิ อารมณค์ ล้อย
ตามหรืออารมณส์ ะเทือนใจไปดว้ ย
ปักหมดุ O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๐๖
แนวข้อสอบ
อา่ นโคลงโลกนิตติ อ่ ไปน้แี ล้วตอบคาถามข้อ ๑
ยศศักดจ์ิ กั เกิดดว้ ย บุญทา
ภยั เกดิ เพือ่ ผลกรรม ก่อนให้
ตเิ ตยี นและจองจา กรรมกอ่ น เองนา
ใครจักเว้นแวะได้ ท่ัวทอ้ งโลกา
๑. “โคลงโลกนิติ” เปน็ วรรณกรรมท่ีมคี ณุ คา่ ด้านใดมากท่สี ดุ
๑. คุณคา่ ทางปัญญา ๒. คณุ คา่ ทางอารมณ์
๓. คุณคา่ ทางดา้ นวรรณศิลป์ ๔. คณุ ค่าทางสังคมและวัฒนธรรม
อ่านคาประพนั ธ์ตอ่ ไปนี้แล้วตอบคาถามข้อ ๒
“ทา่ นจงแบง่ ปันเปน็ หมเู่ หลา่ พากันเข้าปา่ ไผไ่ พศาล
ตัดไม้ไผม่ าให้พอแรงการ แล้วจกั สานรูปร่างอยา่ งชะลอม
แตต่ าถ่ีทว่ งทีเหมือนกระจาด รูปขนาดกระบุงใบย่อม
เอาชนั ยาภายในไวใ้ ห้พรอ้ ม ใช้กระออมนตี้ กั วารี”
จากบทละครพูดคากลอน เรือ่ ง พระรว่ ง บทพระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ ัว
๒. คาประพันธ์ขา้ งตน้ แสดงถึงคณุ ค่าของวรรณคดที างด้านใด
๑. คุณคา่ ทางอารมณ์ ๒. คุณคา่ ทางปญั ญา
๓. คุณคา่ ทางวรรณศิลป์ ๔. คุณค่าทางสังคมและวัฒนธรรม
อ่านบทกลอนข้างต้นแล้วตอบคาถามขอ้ ๓
สาแดงแผลงฤทธิเ์ กรียงไกร แลว้ ลงมาไหว้พระมารดา
ทัง้ พระองค์พระพายเรืองเดช สาคญั วา่ บิตุเรศนาถา
๓. บทกลอนข้างตน้ ให้คุณค่าทางดา้ นใด ๒. คุณคา่ ทางอารมณ์
๑. คุณคา่ ทางปญั ญา ๔. คุณคา่ ทางสงั คมและวัฒนธรรม
๓. คุณค่าทางดา้ นวรรณศิลป์
ปักหมดุ O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๐๗
อ่านบทร้อยกรองท่ีกาหนดให้ แลว้ ตอบคาถามข้อ ๔
คนใดไปเสพดว้ ย คนพาล
จกั ทุกขท์ นเนานาน เนิ่นแท้
ใครเสพท่วยทรงญาณ เปรมปราชญ์
เสวยสุขล้าเลศิ แล้ เพราะไดส้ ดับดี
จากโคลงโลกนิติ ของสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอกรมพระยาเดชาดิศร
๔. บทร้อยกรองขา้ งตน้ มีคุณคา่ ของวรรณคดีด้านใดมากท่สี ุด
๑. คุณค่าทางปญั ญา ๒. คณุ ค่าทางวรรณศิลป์
๓. คุณคา่ ทางอารมณ์ ๔. คณุ คา่ ทางสังคมและวฒั นธรรม
อา่ นคาประพนั ธต์ ่อไปนี้แลว้ ตอบคาถามขอ้ ๕
อันรกั ษาศลี สัตยก์ ตั เวที ยอ่ มเปน็ ท่ีสรรเสริญเจริญคน
ทรลักษณอ์ กตัญญุตาเขา เทพเจา้ ก็จะแช่งทุกแห่งหน
ใหท้ ุกขร์ อ้ นงอนหง่อทรพล พระเวทมนตเ์ ส่อื มคลายทาลายยศ
จากพระอภยั มณี ของสนุ ทรภู่
๕. บทรอ้ ยกรองนีม้ คี ณุ คา่ ของวรรณคดดี ้านใด ๒. อารมณ์
๑. ปญั ญา ๔. วรรณศิลป์
๓. วัฒนธรรม
อา่ นบทร้อยกรองต่อไปนแ้ี ล้วตอบคาถามขอ้ ๖
อันขา้ ไทไดพ้ ่งึ เขาจงึ รกั แม้นถอยศักด์สิ ้ินอานาจวาสนา
เขาหนา่ ยหนมี ไิ ด้อย่คู ู่ชีวา แต่วชิ าช่วยกายจนวายปราณ
จากเพลงยาวถวายโอวาท ของสนุ ทรภู่
๖. บทรอ้ ยกรองข้างต้นให้คุณคา่ วรรณคดีดา้ นใด ๒. อารมณ์
๑. ปญั ญา ๔. วฒั นธรรม
๓. วรรณศิลป์
ปักหมุด O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๐๘
อา่ นบทร้อยกรองขา้ งต้นแลว้ ตอบคาถามข้อ ๗
เป็นมนุษย์สดุ นยิ มเพียงลมปาก จะได้ยากโหยหวิ เพราะชวิ หา
แม้นพดู ดมี คี นเขาเมตตา จะพูดจาจงพเิ คราะห์ใหเ้ หมาะความ
๗. บทรอ้ ยกรองข้างต้นให้คณุ คา่ ด้านใด ๒. คณุ ค่าทางอารมณ์
๑. คุณค่าทางปญั ญา ๔. คุณคา่ ทางสงั คมและวัฒนธรรม
๓. คุณค่าทางคุณธรรม
ใช้ขอ้ ความต่อไปนต้ี อบคาถามขอ้ ๘
“(๑) ปากเปน็ เอกเลขเปน็ โทโบราณวา่
(๒) หนงั สือตรีมปี ัญญาไม่เสียหลาย
(๓) ถา้ รมู้ ากไมม่ ปี ากลาบากตาย
(๔) มอี ุบายพูดไมเ่ ป็นเหน็ ป่วยการ”
๘. จากบทประพันธ์ข้างต้น ข้อใดไมไ่ ด้แสดงคุณคา่ ของการพดู
๑. ข้อท่ี ๑ ๒. ขอ้ ที่ ๒
๓. ข้อที่ ๓ ๔. ขอ้ ที่ ๔
จงอา่ นบทประพันธ์ตอ่ ไปนี้ แลว้ ตอบคาถามข้อที่ ๙
เหน็ ฝูงปลามาเปน็ พรวนทวนกระแส สองเงาะแบมอื จ้องเทย่ี วมองจับ
เหยียบศิลากลงิ้ กลมลื่นลม้ พับ ลงนอนทบั กนั งอนหง่อหัวรอ่ คกิ
โกง้ โค้งมอื จ้องมองจะชอ้ นใหม่ กลวั ปลาตกใจไม่กระดกิ
พอไดท้ ีฉวยผบั ปลากลับพลกิ ด้ินดก๊ิ ดิก๊ โยนไปในกลางทราย
๙. คุณค่าทางวรรณศิลป์ขอ้ ใดไมป่ รากฏในบทประพันธ์ข้างตน้
๑. การใชส้ ัมผัสสระ
๒. การใช้สัมผัสพยัญชนะ
๓. การใชค้ าเปรียบเทียบ
๔. การใชค้ าแสดงภาพและเสียง
ปักหมดุ O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๐๙
๑๐. ขอ้ ใดเป็นคณุ ค่าสาคญั จากการอา่ นนทิ านพ้ืนบ้านทแี่ ตกตา่ งจากคณุ คา่ ของการอ่านนทิ านท่วั ไป
๑. ความสนุกสนานเพลิดเพลิน
๒. การอนรุ กั ษน์ ทิ านพืน้ บา้ น
๓. การปลูกฝังคุณธรรมอันพึงประสงค์
๔. ขอ้ คดิ คติสอนใจในการนามาประยุกตใ์ ช้
จงอ่านบทประพนั ธ์ต่อไปนแี้ ล้วตอบคาถามขอ้ ๑๑
เม่อื ทาการสิ่งใดใครค่ รวญคิด เหน็ ถกู ผดิ แก้ไขใหพ้ น้ ผ่าน
ใช้สมองตรองตรคิ ิดพจิ ารณ์ ปรากฏงานกา้ วไกลไมล่ าเค็ญ
ความสาเรจ็ จะวา่ ใกล้ก็ใช่ที่ จะวา่ ไกลหรือก็มอี ยใู่ หเ้ ห็น
ถ้าจรงิ จังตั้งใจไมย่ ากเยน็ และจะเป็นผชู้ นะตลอดกาล
๑๑. ข้อใดคอื คุณค่าที่ได้จากบทประพันธ์ขา้ งตน้ ๒. ความรู้
๑. ข้อคดิ ๔. ความเชอื่
๓. ค่านยิ ม
จงใช้คาประพนั ธ์ตอ่ ไปนตี้ อบคาถามข้อ ๑๒
คนเราจะได้ดีตอ้ งดดี ว้ ย
อย่ารอให้โชคชว่ ยไมเ่ ปน็ ผล
ตอ้ งมานะตอ้ งบากบ่นั ตอ้ งจาทน
จะนาตนสู่เส้นชยั ในชีวิต
๑๒. คาประพันธ์ขา้ งตน้ ให้คณุ คา่ ในเรือ่ งใด ๒. การคาดหวังผลสาเรจ็
๑. การวางแผนชวี ติ ๔. การรอคอยโชควาสนา
๓. การอดทนตอ่ อุปสรรค
ปักหมุด O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๑๐
เร่อื งที่ ๑๗
การเขียนเร่ืองตามจินตนาการและสรา้ งสรรค์
โมเดลขอ้ สอบการเขยี นเรือ่ งจากภาพ
สถานการณ์ : กาหนดภาพที่มีความคมชัดจานวน ๑ ภาพ ทีน่ กั เรียนระดับชน้ั ป.๖ สามารถนาเสนอความคดิ
ทน่ี า่ สนใจ
คาถาม : เป็นคาสั่งให้เขยี นเร่อื งตามจนิ ตนาการและสรา้ งสรรคจ์ ากภาพท่กี าหนดให้ มีความความ ๔ - ๗
บรรทดั
คาตอบ : เล่าเร่ือง (มตี วั ละครหรอื ใชต้ ัวเองเป็นตัวละครเล่าเรอื่ งเพอ่ื เป็นตัวอย่างประกอบการอธิบาย
เขยี น/เลา่ เรื่องทสี่ ัมพันธ์กับภาพ แสดงความคดิ สาคัญของภาพท่ีกาหนดให้)
เวลาที่ใชใ้ นการทาแบบทดสอบ : ๑๕ นาที
เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเตม็ ๑๐ แบ่งเป็น ๓ สว่ น คือ
๑. เขียนตรงคาสัง่ (การเขียนตรงตามคาสงั่ /การเขียนเลา่ เร่อื ง) จานวน ๑ คะแนน
๒. เนื้อหา (การนาเสนอความคดิ สาคญั ของภาพ การเรียงลาดบั ความคิด และการเชือ่ มโยงความคิด
จานวน ๔ คะแนน
๓. ภาษา (การสะกดคา และการใช้ไม้ยมก การใช้คา/ถอ้ ยคาสานวน ประโยคและวรรคตอนถูกต้อง)
จานวน ๕ คะแนน
การเขียนเรือ่ งจากภาพ
การเขียนเรื่องจากภาพ เป็นการเขียนโดยการใชค้ วามคิด (จินตนาการ) ร่วมกับประสบการณ์จริงของ
แต่ละบคุ คล เพ่ือถา่ ยทอดอารมณ์ ความรู้สกึ นึกคดิ ออกมาเปน็ เร่อื งราวที่น่าสนใจ โดยความคิดท่ีสื่อออกมาน้ัน
จะต้องมคี วามเกี่ยวข้องสมั พนั ธก์ นั กับภาพทม่ี องเหน็ มสี ถานท่ี/เวลา มีตัวละคร มีการเคล่ือนไหว มีเหตุการณ์
รวมไปถงึ คณุ ธรรมตา่ ง ๆ ที่อาจปรากฏอยู่ในภาพนั้นดว้ ย
หลกั การเขยี นเร่อื งจากภาพ
๑. มองภาพ เพ่ือพิจารณารายละเอยี ดต่าง ๆ โดยเฉพาะความคดิ สาคญั ของภาพ
๒. จินตนาการถึงเรื่องราวทเ่ี กิดข้นึ ในภาพ มองหาบุคคล สถานที่ เหตุการณ์
๓. ผูกเรอื่ งและลาดบั เรื่องราวใหม้ ีความตอ่ เนอ่ื งสัมพนั ธก์ นั
๔. เขยี นด้วยลายมือที่อ่านง่าย ใช้ภาษาไทยมาตรฐาน เว้นวรรคใหถ้ ูกต้อง และปฏบิ ัติตามคาสั่ง
อยา่ งเคร่งครดั
(เมอ่ื เขียนเสรจ็ หากมเี วลาใหอ้ า่ นเรอ่ื งทีต่ นเองเขียนดว้ ย ๑-๒ รอบ)
ปักหมุด O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๑๑
๑. จงเขยี นเร่อื งจากภาพด้วยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ไม่ต้องต้ังช่ือเร่ือง ไม่เขียนเป็นบทร้อยกรอง ไม่ใช้คาย่อ
และไม่ใช้คาทับศัพท์ โดยใช้ภาษาไทยมาตรฐาน (ภาษาไทยกลาง) ความยาว ๔ – ๗ บรรทัด ถ้าเขียนเกิน ๗
บรรทัด จะตรวจถงึ บรรทัดที่ ๗ เทา่ น้ัน
ภาพจากเว็บไซต์ โลกนีไ้ มม่ ขี ยะ
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ปักหมุด O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๑๒
๒. จงเขียนเรือ่ งจากภาพด้วยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ไม่ต้องต้ังช่ือเร่ือง ไม่เขียนเป็นบทร้อยกรอง ไม่ใช้คาย่อ
และไม่ใช้คาทับศัพท์ โดยใช้ภาษาไทยมาตรฐาน (ภาษาไทยกลาง) ความยาว ๔ - ๗ บรรทัด ถ้าเขียนเกิน ๗
บรรทัด จะตรวจถงึ บรรทดั ท่ี ๗ เท่านน้ั
ภาพจาก สทศ.
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ปักหมดุ O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๑๓
๓. จงเขียนเรอื่ งจากภาพด้วยตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด ไม่ต้องต้ังชื่อเรื่อง ไม่เขียนเป็นบทร้อยกรอง ไม่ใช้คาย่อ
และไม่ใช้คาทับศัพท์ โดยใช้ภาษาไทยมาตรฐาน (ภาษาไทยกลาง) ความยาว ๔ - ๗ บรรทัด ถ้าเขียนเกิน ๗
บรรทดั จะตรวจถึงบรรทดั ท่ี ๗ เท่านั้น
ภาพจาก สทศ.
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ปักหมดุ O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๑๔
๔. จงเขียนเรอื่ งจากภาพด้วยตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด ไม่ต้องต้ังช่ือเรื่อง ไม่เขียนเป็นบทร้อยกรอง ไม่ใช้คาย่อ
และไม่ใช้คาทับศัพท์ โดยใช้ภาษาไทยมาตรฐาน (ภาษาไทยกลาง) ความยาว ๔ - ๗ บรรทัด ถ้าเขียนเกิน ๗
บรรทดั จะตรวจถึงบรรทดั ท่ี ๗ เท่านั้น
ภาพจาก สทศ.
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ปักหมดุ O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๑๕
๕. จงเขียนเร่อื งจากภาพด้วยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ไม่ต้องต้ังชื่อเร่ือง ไม่เขียนเป็นบทร้อยกรอง ไม่ใช้คาย่อ
และไม่ใช้คาทับศัพท์ โดยใช้ภาษาไทยมาตรฐาน (ภาษาไทยกลาง) ความยาว ๔ - ๗ บรรทัด ถ้าเขียนเกิน ๗
บรรทัด จะตรวจถึงบรรทดั ท่ี ๗ เท่านน้ั
ภาพจาก สทศ.
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ปักหมดุ O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๑๖
๖. จงเขยี นเรือ่ งจากภาพด้วยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ไม่ต้องตั้งช่ือเร่ือง ไม่เขียนเป็นบทร้อยกรอง ไม่ใช้คาย่อ
และไม่ใช้คาทับศัพท์ โดยใช้ภาษาไทยมาตรฐาน (ภาษาไทยกลาง) ความยาว ๔ - ๗ บรรทัด ถ้าเขียนเกิน ๗
บรรทดั จะตรวจถึงบรรทดั ที่ ๗ เท่าน้ัน
ภาพจาก สทศ.
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ปักหมดุ O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๑๗
๗. จงเขยี นเรือ่ งจากภาพด้วยตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด ไม่ต้องตั้งชื่อเร่ือง ไม่เขียนเป็นบทร้อยกรอง ไม่ใช้คาย่อ
และไม่ใช้คาทับศัพท์ โดยใช้ภาษาไทยมาตรฐาน (ภาษาไทยกลาง) ความยาว ๔ - ๗ บรรทัด ถ้าเขียนเกิน ๗
บรรทัด จะตรวจถึงบรรทัดที่ ๗ เทา่ นัน้
ภาพจากเวบ็ ไซต์
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ปักหมุด O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๑๘
๘. จงเขียนเรือ่ งจากภาพด้วยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ไม่ต้องต้ังช่ือเร่ือง ไม่เขียนเป็นบทร้อยกรอง ไม่ใช้คาย่อ
และไม่ใช้คาทับศัพท์ โดยใช้ภาษาไทยมาตรฐาน (ภาษาไทยกลาง) ความยาว ๔ - ๗ บรรทัด ถ้าเขียนเกิน ๗
บรรทัด จะตรวจถงึ บรรทดั ท่ี ๗ เท่านน้ั
ภาพจาก สทศ.
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ปักหมดุ O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๑๙
๙. จงเขียนเรือ่ งจากภาพด้วยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ไม่ต้องต้ังช่ือเร่ือง ไม่เขียนเป็นบทร้อยกรอง ไม่ใช้คาย่อ
และไม่ใช้คาทับศัพท์ โดยใช้ภาษาไทยมาตรฐาน (ภาษาไทยกลาง) ความยาว ๔ - ๗ บรรทัด ถ้าเขียนเกิน ๗
บรรทัด จะตรวจถงึ บรรทดั ท่ี ๗ เท่านน้ั
ภาพจาก สทศ.
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ปักหมดุ O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๒๐
๑๐. จงเขยี นเรอื่ งจากภาพดว้ ยตัวบรรจงครึง่ บรรทัด ไม่ต้องต้งั ชอ่ื เรอ่ื ง ไม่เขียนเป็นบทร้อยกรอง ไม่ใช้คาย่อ
และไม่ใช้คาทับศัพท์ โดยใช้ภาษาไทยมาตรฐาน (ภาษาไทยกลาง) ความยาว ๔ - ๗ บรรทัด ถ้าเขียนเกิน ๗
บรรทดั จะตรวจถงึ บรรทดั ที่ ๗ เทา่ นั้น
ภาพจาก สทศ.
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ปักหมดุ O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๒๑
เรอื่ งที่ ๑๘
การเขยี นสรุปใจความสาคญั จากการอา่ น
โมเดลข้อสอบการเขยี นสรุปใจความสาคญั
สถานการณ์ : กาหนดเรื่องท่ีมเี นือ้ หาน่าสนใจเหมาะกบั นักเรยี นระดบั ช้นั ป.๖ จานวน ๑ เร่ือง มปี ระเดน็
สาคัญ ๔ ประเดน็ ความยาม ๑/๒ - ๓/๔ หนา้
คาถาม : เปน็ คาส่ังให้เขยี นสรุปใจความสาคัญจากบทอ่านทกี่ าหนดให้ ความยาวไมเ่ กิน ๓ บรรทดั
คาตอบ : เขียนสรปุ ใจความสาคัญได้และใชภ้ าษาไดถ้ ูกตอ้ ง
เวลาที่ใช้ในการทาแบบทดสอบ : ๑๕ นาที
เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเตม็ ๑๐ แบ่งเปน็ ๒ ส่วน คอื
๑. ด้านเนอ้ื หา ๗ คะแนน ประกอบดว้ ย
ประเดน็ สาคญั ๔ ประเด็น สรุปใจความสาคญั ไดค้ รบ ๔ ประเด็น (๔ คะแนน)
การเรยี งลาดบั ความคดิ และการเชอ่ื มโยงความคดิ (๑ คะแนน)
รกู้ ลวธิ กี ารสรุปความ จานวน ๒ คะแนน
๓. ดา้ นภาษา ๓ คะแนน ประกอบด้วย
การสะกดคา การใชไ้ ม้ยมก และการใชอ้ ักษรย่อ (๑ คะแนน)
การใชค้ า (๑ คะแนน)
การใช้ประโยค (๑ คะแนน)
การเขียนสรุปใจความสาคัญ
ใจความสาคัญ คือ ขอ้ ความสาคญั ของเรื่อง จะตัดออกไปไม่ได้ เพราะหากตัดออกไปเรื่องน้ัน ๆ จะไม่
ครบถว้ นสมบูรณ์
การสรุปใจความสาคัญ เป็นการอ่านเพื่อหาสาระสาคัญของเรื่อง ในหนึ่งย่อหน้าจะมีใจความสาคัญ
หลักเพียงใจความเดียว นอกนั้นคือใจความรอง ซึ่งใจความสาคัญนี้มักปรากฏอยู่ส่วนต้น ส่วนกลาง หรือ
ส่วนท้ายของย่อหน้าตา่ ง ๆ ในเรือ่ งน้ัน
หลักการเขียนสรปุ ใจความสาคัญ
๑. อา่ นเพอ่ื ทาความเขา้ ใจเน้ือหา
๒. คิดโดยการตงั้ คาถาม ใคร ทาอะไร ท่ีไหน เมอื่ ไหร่ อยา่ งไร
๓. ขดี เพอ่ื ร่างข้อความหรอื คาตอบทไี่ ด้
๔. เขียนสรปุ ใจความสาคญั ตามข้อความทข่ี ีดไว้ดว้ ยสานวนภาษาของตนเอง
ปักหมุด O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๒๒
๑. จงสรุปใจความสาคัญของบทอ่านต่อไปน้ี เขียนด้วยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด โดยใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน (ภาษาไทยกลาง) ความยาวไมเ่ กิน ๓ บรรทดั
หมบู่ า้ นหวั ปายตั้งอยู่ในหุบเขาในอาเภอปาย จังหวดั แม่ฮ่องสอน หมบู่ า้ นน้ที รุ กนั ดาร ไมม่ ีสาธารณูปโภคใด ๆ
ไมม่ ที ้งั ไฟฟ้าและน้าประปา แหลง่ กาเนดิ ไฟฟ้าเพยี งแหลง่ เดยี วของชาวบ้านที่น่ีคือแผงพลังงานแสงอาทิตย์ซึ่งจะเก็บ
ไฟฟ้าไว้ใชเ้ ฉพาะตอนกลางคืน สว่ นน้านั้นหาได้จากแมน่ า้ ในหมู่บ้าน หมูบ่ ้านน้มี ีชาวบ้านอาศยั อยปู่ ระมาณ ๑๕๐ คน
ในจานวนนีเ้ ปน็ เดก็ รวมทั้งสิ้น ๔๘ คน ปะกู จะตีก๋อย
ผู้นาชุมชนเล่าให้ฟังวา่ มีเดก็ ที่อายุเกิน ๗ ปีประมาณ ๑๕ คนทย่ี ังไม่ได้เขา้ เรียนในโรงเรียน
การเดนิ ทางจากหมู่บา้ นไปโรงเรยี นในหุบเขาโดยใชร้ ถเครอ่ื งน้นั ใช้เวลามากกวา่ หนึง่ ช่ัวโมงเพราะถนนหน
ทางมีความสงู ชนั และมโี ค้งมาก การรบั สง่ เด็กไปโรงเรยี นเปน็ เร่ืองยากลาบากสาหรับหลายครอบครวั เนือ่ งจากระยะ
ทางทห่ี ่างไกลและตอ้ งเสียค่านา้ มนั รถ ปะกใู ช้เงนิ ประมาณ ๒๐๐ บาทต่อสัปดาห์เป็นค่าน้ามันในการรับส่งลูกสาวไป
โรงเรยี น
“เด็กทุกคนท่ีน่ีอยากไปโรงเรียนทั้งน้ันแหละครับ” ปะกูกล่าว “แต่การเดินทางลาบากหลายคนเลยไป
โรงเรียนไม่ได้ ถา้ มีโรงเรียนใกล้หมู่บา้ นคงดีมาก เด็กจะไดม้ ีโอกาสเรียนหนงั สอื ทกุ คน”
เรื่องจาก สทศ.
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ปักหมุด O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๒๓
๒. จงสรุปใจความสาคัญของบทอ่านต่อไปนี้ เขียนด้วยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด โดยใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน (ภาษาไทยกลาง) ความยาวไม่เกิน ๓ บรรทดั
โครงการ “เลย้ี งไก่ไข่เพ่ืออาหารกลางวนั ” เปน็ โครงการที่สนับสนนุ ใหน้ กั เรียนในโรงเรียนตามถิ่นทุรกันดาร
ได้บริโภคไข่ไก่ อาหารทอี่ ุดมไปด้วยประโยชน์
ครูผูด้ ูแลโรงเลี้ยงไก่กลา่ วว่า “รสู้ กึ ดใี จทีโ่ รงเรียนได้มีโครงการนี้ ผู้สนับสนุนโครงการได้สร้างอาคารเล้ียงไก่
ไข่ขนาดกวา้ ง ๖ เมตร ยาว ๑๔ เมตร สูง ๒.๕ เมตร ซ่ึงจะเลี้ยงไก่ไข่ได้ไม่เกิน ๕๐๐ ตัว และจัดการหาอาหารไก่ให้
รวมถงึ ให้ความรู้เกย่ี วกับวธิ กี ารเล้ยี งไก่แก่ครแู ละนักเรียนเพื่อที่จะดูแลไก่เหล่าน้ี เด็ก ๆ เองก็ดูต่ืนเต้นกับไก่ตัวใหญ่
แบบนีเ้ หมอื นกนั และวิธเี ลี้ยงไกก่ ็เปน็ แบบที่เป็นระบบมาก ๆ จากท่ีเห็นกจ็ ะมีการให้นา้ แบบระบบนา้ หยดท่ปี ระหยัด
ท้งั น้าและเวลา ทาให้เดก็ ๆ ไดเ้ ปดิ หูเปดิ ตาและกย็ ังสามารถทาเป็นอาชพี เสริมไดใ้ นอนาคตดว้ ย”
ผลท่ีได้จากโครงการนี้ คือการสอนให้เด็กได้รู้จักการช่วยเหลือตนเอง ซ่ึงเป็นเรื่องท่ีดีเพราะเป็นเหมือน
การสอนให้เด็กจับปลามากกว่าท่ีจะหาปลาให้เขา การเล้ียงไก่ก็เหมือนกัน วันหนึ่งเขาจะประกอบอาชีพอะไรก็
แล้วแต่ แต่อย่างน้อยเด็ก ๆ เหล่าน้ีจะมีทักษะการเลี้ยงไก่ติดตัวเขาไป หรือในอนาคตเขาอาจนาเอาความรู้ตรงนี้
ไปประกอบเป็นอาชีพของเขาจรงิ ๆ ก็ได้
เรือ่ งจาก สทศ.
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ปักหมดุ O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๒๔
๓. จงสรุปใจความสาคัญของบทอ่านต่อไปน้ี เขียนด้วยตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด โดยใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน (ภาษาไทยกลาง) ความยาวไม่เกนิ ๓ บรรทัด
ความขยันไม่ได้เป็นเร่ืองเก่ียวกับกรรมพันธ์ุ แต่เป็นพฤติกรรมท่ีได้มาจากการเรียนรู้และการฝึกฝน
การปลูกฝังในเร่ืองน้ีควรเร่ิมตั้งแต่เด็ก ๆ โดยมีแนวปฏิบัติ เช่น รู้จักแบ่งเวลาให้เหมาะสม มีการจัดเวลาสาหรับ
ทบทวนบทเรียน ขณะเดียวกันควรมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีโรงเรียนจัดข้ึนด้วย เช่น กิจกรรมกีฬา กิจกรรม
นันทนาการ กิจกรรมหารายไดร้ ะหวา่ งเรยี น ฯลฯ
การสอนเด็กให้ขยันและมุ่งมั่นเป็นการปลูกฝังให้เด็กมีความต้ังใจและรับผิดชอบด้วยความเพียรพยายาม
อดทนเพ่ือให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย ส่ิงเหล่าน้ีจะติดตัวเด็กไปจนถึงการทางานในอนาคต เพราะฉะน้ัน ความขยัน
จึงเป็นคณุ ธรรมสาคญั ทตี่ ้องปลกู ฝังใหเ้ ด็ก
เมื่อเดก็ เหล่าน้เี ตบิ โตไปเปน็ ผู้ใหญก่ จ็ ะมีความตั้งใจ เพยี รพยายามทาหน้าที่การงานอย่างต่อเน่ือง สม่าเสมอ
ไม่ท้อถอยเม่ือพบอุปสรรค ส่ิงสาคัญท่ีสุดคือ เม่ือพบอุปสรรคก็สามารถใช้ความขยันควบคู่กับการใช้ปัญญาแก้ไข
ปัญหา ด้วยเหตนุ ี้จงึ อาจกล่าวได้วา่ ความขยันเป็นต้นทุนอันสาคัญประการหนึ่งท่ีจะนาความสาเร็จมาสู่ชีวิต ขณะท่ี
ความเกยี จครา้ นจะนามาซง่ึ ความลม้ เหลวและความขัดสน
เรอื่ งจาก สทศ.
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ปักหมุด O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๒๕
๔. จงสรุปใจความสาคัญของบทอ่านต่อไปน้ี เขียนด้วยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด โดยใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน (ภาษาไทยกลาง) ความยาวไม่เกนิ ๓ บรรทดั
ไรฝุ่นเป็นสตั ว์ขนาดเล็กที่มองเห็นด้วยตาเปล่าได้ยาก เพราะมีขนาดเพียง ๐.๑ - ๐.๓ มิลลิเมตร หรือเทียบได้
กับจุดดินสอเล็ก ๆ มี ๘ ขา รูปร่างกลมรี สีขาวขุ่น ตัวไรฝุ่นมักจะอยู่ในท่ีอับ ซ่ึงมีเส้นใยให้เกาะเกี่ยว เช่น ที่นอน
หมอน ผา้ หม่
จริง ๆ แล้วตัวไรฝุ่น จะไม่กัดหรือต่อยผิวหนัง แต่จะผลิตสารก่อภูมิแพ้ไรฝุ่น ซึ่งพบมากในมูลไรฝุ่น
เม่ือร่างกายได้รับสารเข้าไปจะกระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาตอบสนองและเป็นโรคในระบบทางเดินหายใจ เช่น โรคจมูก
อกั เสบจากภมู ิแพ้ โรคหดื เปน็ ต้น
ปัจจบุ นั ยังไม่มีวิธีใดวิธีหนึ่งที่สามารถควบคุมหรือกาจัดไรฝุ่นได้อย่างเด็ดขาด จึงต้องใช้หลายวิธีร่วมกัน เช่น
การทาความสะอาดบา้ นและห้องนอนอยเู่ สมอ อย่างนอ้ ยเดอื นละ ๑ - ๒ คร้ัง โดยเฉพาะห้องนอน ควรปัดกวาดเช็ดถู
ด้วยผ้าชุบน้าหมาด ๆ ปรับสภาพให้โล่ง มีอากาศถ่ายเทสะดวก มีแสงเข้าถึง และไม่ควรปูพ้ืนด้วยพรม นอกจากน้ัน
เราควรคลุมเครื่องนอนด้วยผ้ากันไรฝุ่น หรือผ้าท่ีมีเส้นใยทอแน่นเพื่อป้องกันการมุดไชของตัวไรฝุ่นและป้องกัน
การเล็ดลอดของมูลไรฝุ่น ทั้งน้ีควรซักทาความสะอาดผ้ากันไรฝุ่นในน้าท่ีผสมผงซักฟอก หรือใช้น้าร้อนจะช่วยให้
สามารถกาจดั ไรฝนุ่ ไดด้ ยี ่งิ ข้นึ
เรื่องจาก สทศ.
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ปักหมุด O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๒๖
๕. จงสรุปใจความสาคัญของบทอ่านต่อไปน้ี เขียนด้วยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด โดยใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน (ภาษาไทยกลาง) ความยาวไม่เกิน ๓ บรรทดั
เกษตรกรคนหนง่ึ เปิดเผยว่า ตนและภรรยาได้เช่าที่ดินจานวน ๒๔ ไร่ เพ่ือใช้ทาสวนผัก โดยลองผิดลองถูก
ล้มลุกคลุกคลานมาหลายครั้ง กระท่ังได้ลงมือปลูกผักหลายชนิดสลับสับเปลี่ยนกันไป อาทิ มะระ พริก มะเขือ
แตงกวา มะเขอื เทศ จนมีรายไดด้ ี คือประมาณ ๑,๐๐๐ - ๑,๕๐๐ บาทต่อวัน ขน้ึ อยู่กบั ราคาผกั ในตลาด
“ในการปลูกผักน้ัน ผมใช้ระบบน้าหยดทาให้ลดการใช้น้า ลดต้นทุนรายจ่ายได้มาก และมีผลผลิตเพ่ิมขึ้น
นอกจากนี้ยังใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านเสริมด้วย คือใช้ขวดน้าพลาสติกเจาะรู ๒ ด้าน ใส่น้าไว้ในขวดแล้วแขวนไว้ใน
แปลงเพ่ือดักจับแมลงวันทอง แล้วก็ยังได้ผลิตน้าหมักชีวภาพโดยลองผิดลองถูกด้วยตัวเอง ไม่ใช้ยาฆ่าแมลงเลยท่ี
สาคญั อย่างย่งิ ก็คือพวกเราทากนั เองในครอบครวั ไมม่ กี ารจา้ งคนชว่ ย” เขากลา่ ว
สิ่งทเี่ ขาภูมิใจท่สี ดุ คือมีรายได้จนสามารถเลี้ยงดคู รอบครัวให้มีความสุขและสามารถส่งลูกให้ได้รับการศึกษา
ขน้ั สงู ตอนน้ีลูกเรียนจบปริญญาตรีแล้ว ๒ คน คนโตจบทางด้านสาธารณสุข คนกลางเป็นวิศวกรส่วนคนเล็กกาลัง
เรยี นอยู่การบนิ พาณชิ ย์ นค่ี อื ตวั อย่างของความสาเรจ็ ท่ีนา่ ช่ืนชมของชาวสวนธรรมดาคนหน่ึง
เรื่องจาก สทศ.
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ปักหมุด O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๒๗
๖. จงสรุปใจความสาคัญของบทอ่านต่อไปน้ี เขียนด้วยตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด โดยใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน (ภาษาไทยกลาง) ความยาวไมเ่ กิน ๓ บรรทดั
“การนอนน้อยส่งผลให้เรากินมากขึ้นเพ่ือให้มีแรงทางานและทากิจกรรมต่าง ๆ และยังทาให้เกิด
การต้านทานต่ออินซูลิน การเผาผลาญกลูโคสลดลงทาให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและโรคอ่ืน ๆ ที่จะตามมา
ในอนาคต ซง่ึ เสย่ี งต่อการเกดิ อุบัติเหตตุ ่าง ๆ นอกจากน้ีการนอนน้อยทาให้เกิดภาวะหยุดหายใจในขณะนอนหลับ
การนอนท่ีเพียงพอมีความสาคัญอย่างย่ิงต่อสุขภาพ เราจึงควรให้ความสาคัญกับการนอน โดยพยายาม
เปลี่ยนแปลงการใช้ชีวิตในแต่ละวันให้มีเวลาพักผ่อนอย่างเพียงพอ จัดห้องนอนให้มีบรรยากาศชวนให้นอนหลับ
สบาย เช่น ไม่ควรมีทีวี คอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์ในห้องนอน ปราศจากแสงและเสียงท่ีจะรบกวนการนอน
รบั ประทานอาหารมอื้ เยน็ ท่มี แี ปง้ และนา้ ตาลนอ้ ย ไมค่ วรออกกาลังกายอย่างหนักกอ่ นนอน ทาจิตใจให้สงบและผ่อน
คลาย หลีกเลี่ยงการทากิจกรรมที่ทาให้ร่างกายและสมองตื่นตัว จนไม่อยากนอนหรือนอนหลับยาก ทาใจให้
ปล่อยวาง การสวดมนต์ หรือนั่งสมาธิอาจทาให้นอนหลับง่ายขึ้น แต่ทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่า ถ้าอยากลดน้าหนัก
กต็ ้องนอนใหม้ าก ๆ การนอนมากจนเกนิ ไป กอ็ าจทาใหน้ ้าหนกั เพ่มิ ข้ึนได้ เนื่องจากขาดการออกกาลัง การเผาผลาญ
พลังงานลดลง การนอนหลับได้สนิทในระยะเวลาที่เพียงพอเป็นอีกส่ิงหนึ่งท่ีช่วยให้น้าหนักลดลง เมื่อน้าหนักลด
โรคภัยตา่ ง ๆ กจ็ ะลดลงด้วย”
เร่อื งจาก คณะเภสัช ม.มหิดล
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ปักหมดุ O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๒๘
๗. จงสรุปใจความสาคัญของบทอ่านต่อไปน้ี เขียนด้วยตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด โดยใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน (ภาษาไทยกลาง) ความยาวไมเ่ กนิ ๓ บรรทัด
“สงครามเกาหลีเป็นส่วนหนึ่งของสงครามเย็น ประเทศเกาหลีถูกยึดครองโดยประเทศญี่ปุ่นในช่วง
สงครามโลกครั้งท่ี ๒ หลงั จากญ่ีป่นุ ประกาศยอมแพ้ ประเทศเกาหลีได้รับอิสรภาพ สหรัฐอเมริกาได้ช่วยญ่ีปุ่นในการ
ฟื้นฟูดินแดนเกาหลี เน่ืองด้วยเกาหลีอยู่ติดกับประเทศอ่ืน ๆ รอบด้าน โดยด้านเหนือของเกาหลีติดกับประเทศจีน
และทางใต้ติดกับญ่ีปุ่น ซ่ึงอยู่ภายใต้การดูแลของสหรัฐอมริกานั้น การปกครองที่แตกต่างของประเทศรอบ ๆ ด้าน
จึงเข้ามามีอิทธิพลต่อประเทศเล็ก ๆ ท่ีอยู่ตรงกลางระหว่างมหาอานาจ ซ่ึงจีนและสหภาพโซเวียตมีการปกครอง
แบบคอมมวิ นสิ ต์ ส่วนญ่ีปนุ่ และสหรฐั อเมรกิ ามี การปกครองแบบประชาธิปไตย เกาหลีท่ีได้รับอิสรภาพจาเป็นต้องมี
ผู้นา แต่หากว่าประชากรท่ีมีในขณะน้ันมีความคิดเห็นที่แตกต่างกันไป ส่วนท่ีติดกับจีนก็เห็นว่าการปกครองแบบ
คอมมิวนสิ ต์เปน็ ส่งิ ท่ีดี แต่อีกด้านท่อี ย่ตู ดิ กับญปี่ นุ่ และสหรฐั อเมรกิ ากเ็ หน็ ว่าการปกครองแบบประชาธิปไตยดีจึงเป็น
เหตุให้เกดิ การแบง่ แยกการปกครองออกเป็น ๒ แบบ คือ แบบคอมมวิ นิสตแ์ ละแบบประชาธปิ ไตย เมื่อเกาหลีท้ังสอง
ฝง่ั มีความเหน็ ทตี่ า่ งกันแลว้ เกาหลที ร่ี บั การปกครองแบบคอมมิวนิสต์มาน้ัน มีความต้องการอยาก ท่ีจะให้เกาหลีท่ีมี
การปกครองท่ีต่างกันมีการรวมชาติให้เป็นหน่ึงเดียวกัน จึงส่งกาลังทหารเข้ายึดเกาหลี ส่วนที่รับการปกครองแบบ
ประชาธิปไตย ด้วยวิธีการรวมชาติแบบท่ีผิดไปจึงทาให้เกิดสงครามเกาหลีข้ึน จนเป็นเหตุให้เกาหลีแบ่งออกเป็น
๒ ส่วน คือ เกาหลเี หนือและเกาหลีใต้ โดยมีเสน้ แบ่งอยทู่ ี่เส้นขนาน ที่ ๓๘ ในปัจจบุ นั ”
เรอื่ งจากพชิ ติ O-NET ภาษาไทย
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ปักหมดุ O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๒๙
๘. จงสรุปใจความสาคัญของบทอ่านต่อไปนี้ เขียนด้วยตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด โดยใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน (ภาษาไทยกลาง) ความยาวไมเ่ กนิ ๓ บรรทัด
ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ประจาชาติ ที่มีวิวัฒนาการต่อเนื่องมาเป็นเวลาช้านาน นับเป็นภูมิปัญญา
ของชาติทใ่ี ช้ในการสือ่ สาร เปน็ เคร่ืองมือในการดารงชีวิตและเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ การใช้ทักษะทางภาษาใน
การพูด การดู การอ่าน จากบุคคล จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ และสภาพแวดล้อมรอบตัวจะทาให้ช่วยพัฒนา
สติปัญญา กระบวนการคิด การวิเคราะห์ การวิจารณ์ จนเกิด เป็นความรู้ใหม่ ในปัจจุบันสังคมไทยได้ รับ
ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัฒน์เป็นอย่างมาก ก่อให้เกิดปัญหาอย่างมากมาย ท้ังปัญหาด้านศีลธรรม ปัญหา
การศึกษา และปัญหาสังคม ภาษาไทยกาลังอ่อนแอลงจนถึงขั้นระดับเป็นปัญหาจาเป็นต้องได้รับการแก้ไข
เพื่อดารงความเป็นเอกลกั ลกั ษณ์ของชาตไิ ทยไว้
ภาษาเปน็ ศักดิศ์ รขี องชาตไิ ทยเป็นสิ่งแสดงความรงุ่ เรอื งของชนชาติไทยและวฒั นธรรมไทยอยา่ งยง่ิ ยง และ
ยาวนาน ภาษามีชีวิต มีความเปล่ียนแปลง อีกท้ังวิวัฒนาการภาษาไทย ยังได้บ่งบอกถึงลักษณะของชีวิตและ
สังคมไทยในทกุ ถน่ิ ฐาน ดังน้ัน ภาษาไทยจึงนับได้ว่าเป็นเอกลักษณ์ที่แสดงถึงความเป็นชาติไทย พวกเราในฐานะ
ทีเ่ ป็นคนไทย จึงควรเห็นคุณคา่ ควรร่วมกันสบื สานและอนุรกั ษ์ภาษาไทยให้คงอยูค่ ู่ชาตไิ ทยสืบต่อไป
เร่ืองจาก TAGS ภาษาไทยความภูมใิ จของคนในชาติ
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ปักหมุด O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๓๐
๙. จงสรุปใจความสาคัญของบทอ่านต่อไปน้ี เขียนด้วยตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด โดยใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน (ภาษาไทยกลาง) ความยาวไมเ่ กนิ ๓ บรรทดั
แมงปอ่ งเปน็ สัตว์มพี ษิ ทซ่ี ่อนตวั และหลบหลกี ได้เกง่ สามารถพบเจอได้ท่ัวโลก ทุกวันนี้แมงป่องมีสายพันธุ์
มากกว่า ๑,๐๐๐ ชนิด บางชนิดมีพิษร้ายแรงสามารถฆ่าคนตายได้ แต่บางชนิดพิษของมันก็สามารถช่วยคนได้
เชน่ กนั ผลการค้นควา้ วิจัยพบว่าพิษของแมงป่องบางชนิดมีประโยชน์ทางการแพทย์ สามารถเป็นยารักษาโรคเส้น
เลอื ดตบี โรคลาไสอ้ ักเสบ หรอื โรคไขข้ออักเสบได้
พิษของแมงป่องจะอยู่ท่ีปลายหาง ซ่ึงมีลักษณะคล้ายเข็ม เม่ือมันต่อสู้ก็จะปล่อยพิษออกมาขณะท่ีใช้หาง
ทิม่ แทงเหยอื่ หรอื ศัตรขู องมัน การสกัดพษิ แมงป่องจากบริเวณปลายหางน้ีถือเป็นเรื่องยากและอันตราย ดังน้ันยา
ท่ที ามาจากพิษของแมงป่องจงึ มีราคาสงู ลิบล่วิ แตก่ ถ็ ือว่าคมุ้ ค่าเม่อื เทียบกับประโยชนท์ จ่ี ะได้รับ
อย่างไรก็ตามในอนาคต มนุษย์อาจจะไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายดังกล่าวในราคาแพงอีกแล้ว เน่ืองจากกลุ่ม
นักวทิ ยาศาสตรแ์ ห่งมหาวทิ ยาลยั ฮสั ซนั ท่ี ๒ ท่ีสองประเทศโมรอ็ กโกได้คิดคน้ พฒั นา เคร่ืองรีดพษิ แมงป่องท่ีทางาน
โดยการใชส้ ายรดั หางของแมงป่องให้เข้าท่ี จากนน้ั ใช้เคร่ืองควบคุมระยะไกลกระตุ้นไฟฟา้ ที่ตอ่ มพษิ เพ่ือให้แมงป่อง
ปล่อยพิษออกมา เครื่องมือดงั กล่าวมคี วามพิเศษคือนอกจากจะใช้งานได้อย่างรวดเร็วแล้ว ยังปลอดภัยทั้งผู้ใช้งาน
และตัวแมงป่องด้วย นักวิทยาศาสตร์เปรียบเทียบว่าถ้าในอดีตสามารถสกัดพิษจากแมงป่องได้แค่ ๑๐ ตัวต่อวัน
มาถงึ วนั นเี้ ครื่องมอื ทค่ี ดิ คน้ ขึน้ ใหม่จะช่วยให้ทาไดถ้ ึง ๑๕๐ ตวั ภายในหน่งึ วนั
เรอ่ื งจาก สทศ.
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ปักหมุด O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๓๑
๑๐. จงสรุปใจความสาคัญของบทอ่านต่อไปนี้ เขียนด้วยตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด โดยใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน (ภาษาไทยกลาง) ความยาวไม่เกนิ ๓ บรรทดั
ร่างกายมนุษย์มีน้าเป็นองค์ประกอบหลัก ในแต่ละเซลล์จะมีน้าเป็นองค์ประกอบร้อยละ ๖๐ ในสมอง
มนี า้ เปน็ องคป์ ระกอบร้อยละ ๘๕ และในเลือดมนี ้าเปน็ องคป์ ระกอบร้อยละ ๙๒
การด่ืมน้าอย่างถูกต้องและเหมาะสมจะส่งผลดีต่อร่างกาย เช่น ช่วยให้ผิวเปล่งปล่ัง สดใส ช่วยป้องกัน
การเกิดริ้วรอย ช่วยป้องกันไม่ให้ผิวแห้งกร้าน ช่วยให้ดวงตาสดใส ช่วยปรับสมดุลในร่างกายทาให้เซลล์ต่าง ๆ
ในร่างกายไม่ขาดน้าและทางานได้อย่างเป็นปกติ ช่วยควบคุมอุณหภูมิในร่างกายให้คงท่ี ช่วยสร้างภูมิคุ้มกัน และ
ป้องกนั เช้ือโรคตา่ ง ๆ ที่จะเข้าสู่ร่างกายไดอ้ กี ดว้ ย อาจกล่าวได้ว่า น้าคอื ยาวเิ ศษดี ๆ น่เี อง อย่างไรก็ตาม การได้รับ
น้าปริมาณมากเกินไปจะทาให้ไตทางานหนักข้ึน ทาให้เลือดเจือจาง แรงดันในการดูดซึมของสารอาหารสู่เซลล์
น้อยลง ปริมาณน้าในเซลล์เพ่ิมขึ้นทาให้เซลล์บวมน้า ก่อให้เกิดภาวะน้าเป็นพิษ จะเห็นได้ว่า การดื่มน้ามาก
จนเกนิ ไปก็กอ่ ให้เกิดโทษได้เชน่ เดยี วกัน
การดื่มน้าอย่างถูกวิธีคือการดื่มน้าอุณหภูมิปกติ ไม่ร้อนมากหรือเย็นจัด และควรด่ืมอย่างน้อยวันละ
๘ แก้ว โดยดื่มในช่วงเวลาที่เหมาะสม เช่น ด่ืมหลังตื่นนอนประมาณ ๒ แก้ว หลักจากนั้นควรด่ืมก่อนมื้ออาหาร
ประมาณ ๑ ชั่วโมง และจิบทกุ ๆ ๕-๑๐ นาทตี ลอดวนั
(ดดั แปลงจาก “วิธกี ารดื่มน้าใหถ้ กู วธิ ี” ของ ๔๐plus รบั วัยว้าว่นุ จาก https://๔๐plus.posttoday.com/health/๑๒๙๒๒/)
เร่อื งจาก สทศ.
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ปักหมุด O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)
๑๓๒
ขอขอบคณุ ขอ้ มลู จาก
สถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
(องคก์ ารมหาชน)
www.niets.or.th
ปักหมุด O-NET ภาษาไทย ป.๖ (ปี ๒)