The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วารสารโพธิยาลัย 29

podhiyalai_29

พระราชาในดวงใจ

ปี ที่ ๓ ฉ บั บ ท่ี ๒ ๙ เ ดื อ น ตุ ล า ค ม ๒ ๕ ๖ ๐ ๒๙

รักพ่อไม่เคยพอเพียง

เพราะเหตุใด ความรัก จึงหนักแน่น
ไม่คลอนแคลน เสื่อมลง ท่ีตรงไหน
แม้เวลา ผันผ่าน นานเท่าใด
ในหัวใจ ยังรักพ่อ ไม่พอเพียง
ท่ีพ่อสร้าง
เพราะเหตุแห่ง ความดี เฟื่องช่ือเสียง
มิเว้นว่าง ต่อเน่ือง จะร้อยเรียง
มากมายเกิน ค�ำกล่าวถ้อย ทุกนาที
ทรงอยู่เคียง ข้างประชา เห็นรักพ่อ
อุดมศรี
จะมองไป ทางไหน บารมี
อันเกิดก่อ สร้างสม ‘ภูมิพล’
เพียบพร้อมด้วย พระบุญญา กลับคืนสรวง
ไทยสุขี เพราะภูมี ไปทุกหน
ดั่งสายชล
มาบัดน้ี พ่อมาลับ ไม่พอเพียง
ลูกเจ็บทรวง ร้าวรวดใจ
น�้ำตาริน ร่วงราย ธ สถิตในดวงใจเสมอไป
กี่ปีพ้น ยังรักพ่อ คณะผู้ใจท�ำวารสารโพธิยาลัย

เปดิ เล่ม
ฉบับที่ ๒๙ เดอื นตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
วารสารโพธิยาลัยฉบับนี้ เป็นฉบับที่เราจัดท�ำเป็น เธอปวดขาข้างนั้นอยู่เสมอ แต่ความต้องการไปส่งเสด็จ
พิเศษอีกคร้ังหนึ่ง ในวาระพระราชพิธีถวายพระเพลิง ท�ำให้เธอไม่ย่อท้อ ในที่สุดเธอก็เดินไปถึงโรงแรมรัตนโกสินทร์
พระบรมศพ “พอ่ หลวง” ของเรา เปน็ ฉบบั สดุ ทา้ ยทจ่ี ดั ทำ� ถวาย และไม่สามารถไปต่อได้ เน่ืองจากไม่มีพื้นที่ท่ีจะเข้าไปได้
เป็นอนุสรณ์ถึงพระองค์ท่าน หลังจากที่ได้จัดท�ำมาแล้ว ๓ อีกแล้ว เธอยืนมองควันไฟท่ีพวยพุ่งจากพระเมรุมาศ ในใจ
ฉบับ คอื แผ่นดนิ รำ่� ไห้ อาลยั พอ่ หลวง (ตุลาคม ปี ๕๙) ฉบบั ก็อธิษฐานกราบขอส่งเสด็จพ่อหลวงด้วยความจงรักภักดี
จักสบื สานพระราชปณธิ าน (พฤศจิกายน ปี ๕๙) ฉบับ สายธาร อย่างทส่ี ุด
พระกรุณา (ธันวาคม ปี ๕๙) และฉบับน้ี พระราชาในดวงใจ พระจริยวัตรของพ่อหลวง ท�ำให้คนจ�ำนวนมากเช่ือว่า
ฉบับสุดทา้ ยของหนังสอื ชุดนี้ พระองค์คือพระโพธิสัตว์ท่ีเสด็จจากสวรรค์ลงมายังโลกมนุษย์
เดือนตุลาคม ปีพุทธศักราช ๒๕๖๐ จึงเป็นเดือนส�ำคัญ มาบ�ำเพ็ญบารมีเพื่อการตรัสรู้ในกาลข้างหน้า ค�ำพูดน้ีไม่ได้
ที่มีเหตุการณ์ที่โลกจะต้องจารึกไว้เป็นประวัติศาสตร์ ว่างาน เกินเลยแต่อย่างใด หากพิจารณาดูด้วยเหตุผลก็จะเห็นว่า
ถวายพระเพลิงพระบรมศพในหลวงรัชกาลท่ี ๙ เป็นงานที่ เป็นเช่นนั้นอย่างไม่ต้องสงสัย ใครเลยจะให้คนอื่นได้มาก
ส�ำคัญและย่ิงใหญ่ที่สุดที่ประเทศไทยเคยมีมา พสกนิกรไทย เท่านี้ ราวกับว่าทุกความคิดค�ำนึงของพระองค์มีแต่คิดที่จะให้
ทง้ั ประเทศรว่ มใจกนั แตง่ ชดุ ดำ� และมงุ่ หนา้ มาทท่ี อ้ งสนามหลวง ให้พสกนิกรของพระองค์มีความร่มเย็นผาสุก ทุกวันที่ผ่านไป
เพ่ือเข้าร่วมงาน มาก่อนล่วงหน้าเป็นวัน มานอนกลางดินกิน คือโครงการต่างๆ ที่รังสรรค์มาเพ่ือแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนแก่
กลางทราย เพอื่ รอใหไ้ ดค้ วิ เขา้ ไปในบรเิ วณงาน เพอื่ เปน็ ประจกั ษ์ พสกนิกร ความรักความเมตตาท่ีทรงให้ มีมากมายจนไม่อาจ
พยานในการส่งเสด็จพระราชาผู้เป็นดวงใจ แม้ฝนจะตกแดด บรรยายได้หมด ไม่แต่เฉพาะพสกนิกรที่เป็นคน แม้แต่สัตว์
จะออก ลมจะพัด ร้อนหนาวอย่างไรไม่สนใจ ขอให้ได้อยู่ ต่างๆ ภายในพระราชอาณาจักร ก็ทรงใส่ใจแผ่กว้างไปอย่าง
ณ ที่น้ัน ด้วยความมุ่งม่ันเป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน ผู้ใดมาไม่ได้ ไม่สิ้นสุด
ก็ไปวางดอกไม้จันทน์ เข้าคิวยาวเป็นกิโลก็ไม่นึกหวั่นไหว มีรายการทีวีรายการหน่ึงไปสัมภาษณ์สัตวแพทย์ท่าน
หรือท้อถอย ดังมีภาพประทับใจปรากฏข้ึนในส่ือโซเชียลว่า หนึ่ง เขาเล่าวา่ พระเจ้าอยหู่ วั ทรงรกั คุณทองแดงสุนัขทรงเล้ียง
แม้แต่หญิงสาวท้องแก่คนหนึ่ง ก็ไปยืนเข้าคิวรอถวายดอกไม้ มาก และอยากให้คุณทองแดง ซ่ึงมีบุญได้เป็นสุนัขทรงเล้ียง
จันทน์ในจังหวัดหน่ึงทางภาคใต้ ฝนตกลงมาจนเธอและ มีโอกาสช่วยเพื่อนบ้าง ทรงพระราชนิพนธ์หนังสือเรื่อง
ลูกน้อยเปียกปอน แต่เธอก็ไม่คิดจะกลับ เธอลูบท้องคล้าย คุณทองแดง และท�ำเส้ือมีหน้าคุณทองแดงเป็นลายประดับ
กับบอกลูกน้อยว่าให้ทนอีกนิด ไหนๆ มาแล้ว ขอให้ท�ำให้ เล็กๆ ทมี่ ุมอกด้านซ้าย ปรากฏว่าขายดิบขายดี ทรงนำ� เงนิ ทีไ่ ด้
ส�ำเร็จ ขอให้ได้วางดอกไม้จันทน์ถวายพ่อหลวง และก็เป็น จากการน้ีบริจาคให้มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ น�ำไปสร้าง
เช่นนั้นจริง ภายหลังสื่อได้ตามหาเธอผู้นั้นจนพบตัว ว่าเธอ สระวา่ ยน�ำ้ สวุ รรณชาด เพื่อรักษาสนุ ัขทีป่ ่วยดว้ ยโรคข้อสะโพก
อายุ ๓๑ ปี ยืนยันว่าเป็นภาพของตน พร้อมลูกคนแรกของ เส่ือม เดินไม่ได้ ได้มีโอกาสออกก�ำลังกาย รักษาโรค และ
เธอ และเธอพูดอย่างน้ันกับลูกน้อยจริงๆ ว่า ขอให้อดทน ทรงบริจาคเคร่อื งมอื แพทยส์ �ำหรับการรักษาสนุ ัขปว่ ยอกี หลาย
อีกนิด เราต้องท�ำให้ส�ำเร็จ ปรากฏว่าเธอใช้เวลารอครึ่งชั่วโมง รายการ ตดิ ปา้ ยไว้ว่า “พระราชทาน” เจ้าของสุนขั บางรายมา
จงึ ได้วางดอกไมจ้ ันทน์ ใช้บรกิ าร ถึงกบั ยกมอื ไหวเ้ ครื่องนน้ั รูส้ กึ ซาบซึง้ ในพระเมตตา
หญงิ สาวอกี นางหนงึ่ เปน็ จติ อาสาชว่ ยงานอยทู่ พี่ ระราชวงั ท่กี วา้ งไกลไปถึงสรรพสตั ว์
ดุสติ ท้งั วนั พอใกลเ้ วลาถวายพระเพลงิ จริง เธอสทู้ นเดินมาจาก ด้วยเหตุนี้ โพธิยาลัยฉบับน้ี จึงได้คัดเลือกพระบรม-
พระราชวงั ดุสติ มายงั ทอ้ งสนามหลวง ดว้ ยความประสงค์จะไป ฉายาลกั ษณข์ องพระองคท์ า่ น ทถี่ า่ ยรว่ มกบั สตั วเ์ ลย้ี งในพระองค์
ส่งเสด็จ เธอกะเวลาและเดินมาเรื่อยๆ ท่ีน่าประทับใจมากคือ มาตีพมิ พไ์ วเ้ ปน็ อนสุ รณ์ถึงพระเมตตาอนั หาทส่ี ดุ มไิ ดจ้ ริงๆ
เธอไม่ได้มีขาที่แข็งแรงเหมือนคนอ่ืน ขาเธอบกพร่องข้างหน่ึง เม่อื งานถวายพระเพลิงสน้ิ สดุ ไปแลว้ เราไม่แนใ่ จว่า จะมี
จากอบุ ัตเิ หตุทางรถยนตเ์ ม่ือหลายสบิ ปีก่อน และยังมผี ลท�ำให้ โอกาสถวายความจงรักภักดี และความระลึกถึงพระองค์

2 ๒๙ ๒๙ สารบัญ

ท่านได้อย่างนี้อีก เราจึงจัดท�ำวารสาร ประธานทป่ี รึกษา a ตามรอยศาสตรพ์ ระราชา................................๓
ฉบับน้ีให้เป็นฉบับพิเศษอีกคร้ัง โดย พระครธู รรมธรสุมนต์ นนฺทิโก a ธรรมของพระราชา.........................................๑๑
เพ่ิมหน้าเพ่ิมเนื้อหาจาก ๔๘ หน้า a ตสุ ติ าลยธรรม.................................................๑๙
เป็น ๖๘ หน้า ประกอบด้วยบทความ อัคคมหาบณั ฑิต a สวรรค์แนวพทุ ธ..............................................๓๔
ที่คัดสรรมาเป็นพิเศษเพื่อการน้ีโดย บรรณาธิการอํานวยการ a กวนี พิ นธ์ : พระสมภารบารมีเป็นทสี่ ุด............๔๒
เฉพาะ เพ่ือให้ผู้อ่านวารสารของเรา พระมหาประนอม ธมมฺ าลงกฺ าโร a ความรกั ของ ร.๙............................................๔๓
ได้เก็บไว้เป็นอนุสรณ์เตือนใจถึงพระ- a พระธรรมเทศนา สมเด็จพระสังฆราช ฯ.........๔๗
ราชาผู้เป็นดวงใจของเราทุกคน เก็บไว้ บรรณาธกิ ารบริหาร a พระบรมราโชวาทเกีย่ วกบั พระพุทธศาสนา....๕๐
ยืนนานให้ลกู หลานต่อไป พนติ า องั จนั ทรเพญ็ a เรื่องเล่าจากผถู้ วายงาน..................................๕๓
เรอ่ื งเดน่ ของฉบบั นค้ี อื บทสมั ภาษณ์ [email protected] a กวนี พิ นธ์ : ลอยกระทงปนี ี้ไม่มพี อ่ หลวง.........๕๖
พระอาจารยม์ หาประนอม ธมมฺ าลงกฺ าโร รองบรรณาธกิ าร a สืบสานพระราชปณธิ าน ................................๕๗
รองเจา้ อาวาสวดั จากแดง บรรณาธกิ าร ทพญ. อัจฉรา กลน่ิ สวุ รรณ์ a พระโพธสิ ตั ว์กับพระเมตตาตอ่ ปวงสัตว.์ ..........๖๕
อำ� นวยการวารสารโพธยิ าลยั เรอ่ื ง “ตาม [email protected] a กวีนพิ นธ์ : ความรักของพระโพธสิ ตั วฯ์ ...........๖๗
รอยศาสตรพ์ ระราชา” มมุ มองนม้ี คี วาม a รายช่ือหนงั สอื แจกในงานถวายพระเพลิง ฯ.....๖๘
พิเศษท่ีแตกต่าง เพราะแทรกแง่คิดใน ประสานงาน ห า ก ท ่ า น ผู ้ อ ่ า น มี ค ว า ม ป ร ะ ส ง ค ์ จ ะ ติ ด ต ่ อ
ทางธรรมะอยมู่ ากมาย ใหค้ วามประทบั พระครูประคุณสรกจิ กองบรรณาธิการวารสารโพธิยาลัย หรือต้องการ
(พระมหาการุณย์ กสุ ลนนโฺ ท) แสดงความเห็น ติชม หรือค�ำแนะน�ำใดๆ กรุณา
[email protected]
กองบรรณาธิการ
คณะสงฆ์วัดจากแดง
สำ�นกั งาน : วดั จากแดง
ใจในความรกั ทม่ี ตี อ่ พอ่ หลวงเพม่ิ ทวไี มม่ ี ๑๖ หมู่ ๖ ถ.เพชรหงึ ษ์ ติดต่อได้ที่อีเมลล์ [email protected]
ท่สี น้ิ สดุ ซ.เพชรหึงษ์ ๑๐ (พระครูประคุณสรกิจ หรือพระมหาการุณย์
สุดท้ายนี้ วารสารโพธิยาลัย ใน ต.ทรงคนอง อ.พระประแดง กุสลนนฺโท)
ฐานะสื่อเล็กๆ ในทางธรรมะ หวังเป็น จ.สมุทรปราการ ๑๐๑๓๐ วารสารโพธิยาลัยจัดพิมพ์ด้วยปัจจัยบริจาค
อย่างย่ิงว่า ด้วยความดีงามดังเช่น โทรศพั ท์. ๐๒-๔๖๔-๑๑๒๒ ของท่านผู้มีจิตศรัทธา โดยเลือกใช้กระดาษถนอม
พระโพธิสัตว์ทั้งหลายของพ่อหลวง พิมพ์คร้งั ที่ ๑ : ธนั วาคม ๒๕๖๐ สายตาเพอื่ รกั ษาสขุ ภาพของผอู้ า่ นเปย่ี มดว้ ยคณุ คา่
จะคงอยู่ในความทรงจ�ำของพวกเรา ทางปัญญาท่ีคัดสรรเพื่อแจกเป็นธรรมทานและ
เป็นแบบอย่าง ที่เราได้เหน็ เปน็ รปู ธรรม จำ�นวน ๑๓,๐๐๐ เลม่ บริจาคไปตามห้องสมุด หากท่านอ่านจบแล้ว
มาโดยตลอดเปน็ ทพี่ งึ่ ทรี่ ะลกึ ใหเ้ ราเจรญิ ปก ต้องการแบ่งปันธรรมทาน โปรดส่งต่อให้ท่านอ่ืน
รอยตามเบื้องพระยุคลบาท หากเรา ที่เห็นคุณค่า หรือมอบให้ สถาบัน ห้องสมุด วัด
ท�ำได้เช่นนั้นกันทุกคน หากพระองค์ พระราชาในดวงใจ หรือสถานปฏิบัติธรรมต่างๆ เป็นต้น เพื่อให้เกิด
ทรงหยัง่ ทราบดว้ ยญาณวิถใี ด คงจกั พอ ภาพปก ประโยชนท์ างปญั ญากวา้ งขวางต่อไป
พระราชหฤทัยอย่างท่ีสุด เพราะหาก ท่านสามารถติดตามอ่านวารสารโพธิยาลัย
ลูกๆ ของพ่อเป็นคนดี เป็นท่ีหวังได้ว่า ศลิ ปนิ สุวิทย์ ใจป้อม ทุกฉบับย้อนหลังได้ทาง เว็บไซต์วัดจากแดง
ประเทศชาตจิ ะดำ� รงคงอยตู่ อ่ ไปอกี นาน เครดิตภาพ www.watchakdaeng.com, เว็บไซต์ชมรม
แสนนาน โดยมีพลังแห่งแผ่นดินคือ กัลยาณธรรม www.kanlayanatam.com,
พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ล เขมา เขมะ, Pimukt nakab, Line Official id : @kanlayanatam และ
อดุลยเดช บรมนาถบพิตร เป็นแรง ทพ.แสงชัย โสภณสกุลสุข Facebook Page : Kanlayanatam
บนั ดาลใจไปชั่วกลั ปาวสาน และขอขอบคุณเจา้ ของภาพ
จากทาง Internet ทุกท่าน ขออนุโมทนาบุญผรู้ ว่ มจดั พิมพว์ ารสารฉบับนี้
คณะผู้จดั ท�ำ ๑. ชมรมกลั ยาณธรรม
ศิลปกรรม ๒. คุณจิรวรรณ ศริ ิจิตร และครอบครวั
สหมิตรกรุ๊ปทมี ๓. คุณสวุ พร หทยั สุทธธิ รรม และครอบครวั
อปุ ถัมภอ ปุ กรณคอมพวิ เตอร ๔. คณุ พอ่ วชั ระ - คณุ แมท่ องสขุ โลทารกั ษพ์ งศ์
โดยคณุ พัชรพิมล ยงั ประภากร
ประธานกรรมการสินคา้ แบรนด์

‘สุวิมล’
จัดพมิ พโ์ ดย
สหมติ รพรนิ้ ติง้ แอนดพ์ ับลชิ ช่ิง
โทร. ๐๒ ๙๐๓ ๘๒๕๗-๙

๕. คุณณรงคฤ์ ทธ์ิ อปุ ถัมภ์ และครอบครวั

๒๙ 3

พระอาจารยม์ หาประนอม ธมฺมาลงฺกาโร
วสิ ัชนาธรรม

ตามรอย ศาสตร์พระราชา
วารสารโพธิยาลัยฉบบั เดือนตุลาคม ฉบบั เจ้าอาวาสวัดจากแดง ได้กรณุ าใหส้ ัมภาษณ์ถึง
สดุ ทา้ ยในชดุ พเิ ศษทตี่ ง้ั ใจจดั ทำ� ถวายพอ่ หลวง พระราชกรณียกิจของพระองค์ท่านได้อย่าง
รัชกาลท่ี ๙ ช่ือฉบับ “พระราชาในดวงใจ” เหน็ ภาพในมมุ มองทล่ี กึ ซง้ึ ทง้ั มติ ทิ างเทคโนโลยี
กองบรรณาธิการจึงไม่พลาดโอกาสท่ีจะน้อม และทางธรรม ตอกยำ้� ความจงรกั ภกั ดที มี่ เี ปย่ี ม
ร�ำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณเก่ียวกับศาสตร์ ล้นในทุกดวงใจของปวงพสกนิกรชาวไทย
พระราชาของพระมหากษัตริย์นักพัฒนา ซึ่ง
บรรณาธกิ ารอำ� นวยการวารสารโพธยิ าลยั ทา่ น ปุจฉา : ในฐานะพระสงฆ์นักเผยแผ่ท่ีเข้มแข็ง
พระอาจารย์มหาประนอม ธมฺมาลงกฺ าโร รอง มานาน และพระอาจารยก์ เ็ ปน็ หนง่ึ ชวี ติ ภายใต้
รม่ พระบรมโพธสิ มภารรชั กาลที่ ๙ หากยอ้ น
ระลึกไปตั้งแต่จ�ำความได้จนถึงวันที่พระองค์
เสดจ็ สวรรคตแลว้ พระอาจารยม์ คี วามประทบั
ใจ และความทรงจ�ำเก่ียวกับในหลวงรัชกาลท่ี
๙ อย่างไรบา้ งเจา้ ค่ะ

วิสัชนา : เรื่องความประทับใจก็มีหลายเร่ือง
คงเล่าให้ฟังได้ไม่หมด แต่หากพูดถึงในเขต
สมุทรปราการน้ี ก็เช่นเรื่องการสร้างสะพาน
ภูมิพล เร่ืองคลองลัดโพธิ์ เรื่องพื้นท่ีสีเขียวคุ้ง
บางกะเจ้า ที่ทรงน่ังเฮลิคอปเตอร์บินผ่าน ได้

4 ๒๙

ทอดพระเนตรเห็นว่าตรงนี้เป็นพ้ืนที่สีเขียว
หากรักษาไว้ได้ จะเป็นปอดของกรุงเทพฯได้ดี
พระองค์จึงทรงให้เจ้าหน้าท่ีมาดูและช่วยซ้ือที่
เวนคนื ที่ดนิ เพื่อรักษาพน้ื ท่ีสีเขียวไว้ ทีป่ ระทบั
ใจมากคอื เรอ่ื งของตน้ ไม้ ตงั้ แตต่ น้ ไมท้ เ่ี ลก็ ทส่ี ดุ
เช่นหญ้าแฝกจนถึงต้นไม้ที่ใหญ่ที่สุด พระองค์
ก็ให้ท�ำโครงการวิจัยเพ่ือดูแลรักษาพันธุ์ไม้ทุก
ชนิด ใหย้ ังมขี ยายแพรพ่ นั ธุ์อยูใ่ นประเทศไทย ไมม่ กี ารผลติ จำ� หนา่ ย เปน็ แหลง่ เรยี นรหู้ ลกั และ
ในพระไตรปิฎกก็มีกล่าวถึงเก่ียวกับเร่ือง วิธีการเท่านัน้ สดุ ทา้ ยบรษิ ัทเอกชนขอลิขสิทธ์ิ
ตน้ ไมอ้ ย่หู ลายท่ี เชน่ วนโรปสูตร พระสูตรที่ ไปผลิต อาตมาก็ได้ไปซื้อจากบริษัทเอกชน
พระองคต์ รสั เกยี่ วกบั เรอ่ื งการปลกู ตน้ ไม้ เทวดา เขาก็ให้ไปศึกษาท่ีต้นแหล่งคือที่มหาวิทยาลัย-
มาทูลถามพระพุทธองค์ว่า พวกข้าพระองค์ เกษตร จึงทราบท่ีมาว่าเป็นโครงการหลวง
ขี้เกียจท�ำบุญแต่อยากได้ผลบุญทุกวัน ได้ผล ในหลวงทรงพระราชดำ� ริไวน้ านแล้ว จึงเหน็ ว่า
บญุ ยาวนาน ควรทำ� บุญอะไรดี พระองคก์ ต็ รัส พระองคท์ รงทำ� ไวใ้ หม้ ากมายหลายเรอ่ื ง แมแ้ ต่
วนโรปสตู ร เรื่องขยะ พระองคก์ ็ได้ทรงทำ� มาก่อนต้งั หลาย
อาตมากเ็ ร่ิมปลูกตน้ ไม้มาตง้ั แตป่ ี ๒๕๔๘ สบิ ปีแล้ว
จนถงึ ปจั จบุ นั นี้ เปน็ งานทที่ ำ� อยปู่ ระจำ� และยงั อาตมาจึงเชิญชวนพระในวัดมาพัฒนา
มีงานเร่ืองส่ิงแวดล้อมโดยเฉพาะเร่ืองขยะท่ี ระบบจัดการขยะกัน ตามขั้นตอนมีท้ังหมด
เปน็ ปญั หามานาน ทว่ี ดั นพ้ี อนำ�้ ขนึ้ กพ็ ดั ขยะมา ๗ วธิ ี คือ Recycle Reuse Reduce Reject
พอน�้ำลงก็เหลือขยะไว้ อาตมาหาทางบริหาร Repair Rethink ตอนนี้เรามาถึงสุดท้าย คือ
จัดการขยะหลายปี ดูข้อมูลจากพระไตรปิฎก Return ปลกู ตน้ ไมค้ นื สธู่ รรมชาติ ตอนนเ้ี ครอ่ื ง
ด้วย ก็ท�ำมาเรื่อยๆ แล้วยังได้ไปดูงานท่ีมหา- จักรตัวใหญ่ก�ำลังลง ถ้าตรงนี้ด�ำเนินการเสร็จ
วทิ ยาลยั เกษตร ทงั้ ทเี่ กษตรบางเขนและเกษตร ก็จะช่วยจัดการเรื่องขยะภายในคุ้งบางกะเจ้า
กำ� แพงแสน ตอนแรกไม่ทราบว่าเป็นโครงการ ไดอ้ กี มาก วดั เรากจ็ ะไดเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลางนำ� ชมุ ชน
หลวง ภายหลังจึงได้ทราบว่าเป็นโครงการที่ ให้มีการปรับเปลี่ยนพัฒนา ช่วยกันรักษาสิ่ง
ในหลวงรัชกาลท่ี ๙ ทรงคดิ ค้นไว้นานแลว้ * แวดลอ้ มตอ่ ไป สว่ นหนง่ึ คอื วดั ไดป้ ยุ๋ ไดแ้ กส๊ ได้
อาตมาอยากทำ� วดั จากแดงใหเ้ ปน็ ตวั อยา่ ง เป็นแหล่งความสะอาด เปน็ แหลง่ เรียนรู้ ช่วย
ตามท่ีพระองค์ได้ทรงด�ำริคิดค้นไว้ เครื่องไม้ แก้ปัญหาเร่ืองคนตกงานได้ และปุ๋ยที่ได้ก็เอา
เคร่ืองมืออะไรต่างๆ ท่เี กย่ี วกบั การจดั การขยะ ไปใชใ้ นวดั บ้าง อกี สว่ นหนงึ่ กจ็ ำ� หนา่ ยจ่ายแจก
กไ็ ดม้ าจากโครงการหลวง แตว่ า่ โครงการหลวง ออกไป เพอ่ื เปน็ ทุนกลบั มาพฒั นาระบบตอ่

(*อ่านเพม่ิ เตมิ ในโพธิยาลัย ฉบับที่ ๑๙ เดือนธนั วาคม ๒๕๕๙ บทความ “หยดน้ำ� หน่งึ หยดเพือ่ แผน่ ดินสร้างความดี
บูชาถวายพ่อหลวง ร.๙” โดย ผศ. บญุ มา ปา้ นประดิษฐ์ หัวหนา้ ศนู ย์ปฏบิ ตั ิการวิศวกรรมพลังงานและส่ิงแวดลอ้ ม
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำ� แพงแสน มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร)์

๒๙ 5

อาตมาได้ไปซื้อเมล็ดพันธุ์ ทั้งจากใน เข้าใจ ๒. ฝึกหัดท�ำเป็นก็คือเข้าถึง และ ๓.
ประเทศและต่างประเทศ ตอนนี้ก�ำลังทดลอง ลงมือปฏิบัติอย่างจริงจังก็คือพัฒนา เป็นสาม
เพาะเมล็ดพันธุ์ต่างๆ เพราะดินและปุ๋ยเรามี ข้ันตอนคือ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา นอกจากนี้
พร้อมแล้ว ที่อาตมาประทับใจมากคือถ้าเรา หลักธรรมะท่ีพระองค์เอามาใช้เป็นพระบรม
มีโอกาสเข้าไปเรียนรู้โครงการหลวงแต่แรก ก็ ราโชวาทในโอกาสตา่ งๆ พระองคก์ ไ็ ปศกึ ษาจาก
นา่ จะไดค้ วามรมู้ ากมาย แตเ่ ราเขา้ ไมถ่ งึ เพราะ พระไตรปฎิ ก ซึ่งเป็นส�ำนวนวัด ส�ำนวนผู้คงแก่
เห็นโครงการหลวงมเี ยอะมาก ตง้ั เกอื บ ๕ พนั เรียน พระองค์ก็มาปรับเป็นส�ำนวนภาษาชาว
โครงการ จึงไมร่ วู้ ่าจะเข้าไปในส่วนไหนได้บา้ ง บ้าน แล้วพระราชทานเป็นพระบรมราโชวาท
ตามวาระโอกาสต่างๆ เช่น หลักคุณธรรม
ปุจฉา : แล้วค�ำว่า “ศาสตร์ของพระราชา” ๔ ประการ พระราชดำ� รสั ของในหลวง ทีจ่ ริง
กินความอย่างไรบ้างเจา้ คะ ก็คือ ฆราวาสธรรม แต่พระองค์ไม่ได้เอา
วิสัชนา : “ศาสตร์พระราชา” จริงๆ แล้ว ค�ำศัพทท์ างธรรมะมาใช้เลย
พระองค์ศึกษามาจากท้ังศาสตร์วิชาการทาง
โลกและจากทางธรรม จากพระไตรปิฎก
ศาสตรแ์ ตล่ ะศาสตรล์ ว้ นตกผลกึ จากทพี่ ระองค์
เรียนรู้ทฤษฎี คิดค้นและประมวลความรู้จาก
แหล่งต่างๆ เมื่อทรงศึกษาแล้ว ก็ยังไม่ทรง
ถ่ายทอดความรู้ไปทันที ทรงเอามาลองท�ำ
ดูก่อนว่าเห็นผลจริงไหม หากได้ผลดีจริง
พระองคจ์ ึงจะเอามาถา่ ยทอด แตศ่ าสตรค์ วาม
รู้บางอย่างใช้ภาษาสูง เป็นศัพท์เทคนิคเยอะ
ทรงมีพระเมตตาถ่ายทอดด้วยภาษาชาวบ้าน
ง่ายๆ ไม่ทรงใช้ภาษาวิชาการมากเกินไป
ประชาชนจึงเข้าใจและท�ำตามได้ง่าย นี่คือ
ทมี่ าของ “ศาสตร์พระราชา”
อยา่ งเช่นค�ำว่า ไตรสิกขา สิกขา ค�ำน้ีถา้
แปลตามศัพท์ตามต�ำรา สิกขา แปลว่า ๑.
การตั้งใจฟังให้เข้าใจ ๒. ทรงจ�ำให้ได้ ๓. ปุจฉา : โยมสังเกตดูส่วนใหญ่พระองค์ทรง
ทบทวนอย่าให้ลืม ๔. ฝึกอ่านให้เป็น และ แกป้ ัญหาอะไรก็ทรงทำ� แบบไม่ย่งุ ยาก เหมือน
๕. ลงมือปฏิบัติจริงจัง แปลไว้สลับซับซ้อน กับเอาธรรมชาติมาแก้ธรรมชาติ อย่างเช่น
ลึกซ้ึงมาก พระองค์ทรงถอดเอาความหมาย ปัญหาเร่ืองน�้ำเสียก็ให้ปลูกต้นนั้นต้นนี้ อะไร
๕ อย่างน้ี มาท�ำให้เข้าใจง่ายขึ้น เหลือแค่ ๓ อย่างนี้ เป็นการประหยัด ไม่ยุ่งยาก และใช้
ความหมาย ๑. ต้ังใจฟังให้เข้าใจก็ใช้ค�ำว่า ประโยชน์ได้จรงิ ดว้ ยเจา้ คะ่

6 ๒๙

วสิ ัชนา : วิธีการกค็ อื เอาธรรมชาตสิ ธู้ รรมชาติ มีพร้อมทั้งวิทยาศาสตร์และพุทธศาสตร์ เรียก
เอาธรรมชาติแก้ธรรมชาติ ปัญญาน้ีก็เกิดจาก ว่าทรงมีท้ังหลักธรรมชาติ หลักธรรมนิยาม
ทรงสังเกตธรรมชาติ เข้าใจธรรมชาติ เช่น พระองค์เอามาใชแ้ ก้ปญั หาครบหมด
โครงการแหลมผกั เบ้ีย ซึง่ เป็นโครงการการจดั ฉะนน้ั ถา้ ศกึ ษาไมล่ กึ ซงึ้ เราอาจจะมองเหน็
การน�้ำเสยี ทไี่ ม่ต้องใชค้ นทำ� งานเลย เฉพาะดา้ นวทิ ยาศาสตรท์ พ่ี ระองคค์ ดิ คน้ ขนึ้ มา
อยา่ งปญั หาฝนไมต่ ก พระองคท์ รงแกต้ าม แต่พระราชจริยวัตรที่พระองค์ทรงประพฤติ
สาเหตุทั้งหมด แก้ตามสาเหตุนี้ก็ส�ำคัญมาก บ�ำเพ็ญ เชน่ การรักษาศีล การปลกู ตน้ ไม้ การ
อย่างโครงการฝนหลวงฝนเทียมในช่วงท่ี ท�ำบุญด้วยน�้ำ การสวดพระปริตร ส่ิงเหล่าน้ี
พระองค์อยู่ เราเห็นแต่หลักวิทยาศาสตร์ท่ี เราไม่เห็นและไม่ได้เอามารวมด้วย เช่นในช่วง
พระองค์นำ� เสนอ แตห่ ลกั ธรรมชาติ หรือหลกั ภยั แลง้ มโี ครงการนำ�้ พระทยั จากในหลวง พระ-
ธรรมนิยามที่พระองค์ไม่ได้บอกตรงๆ คือ ฝน องค์ส่งน้�ำไปท�ำบุญ อานิสงส์ของการท�ำบุญ
เทียมนี้ต้องใช้สารเคมี แต่ก่อนจะใช้สารเคมี ดว้ ยนำ้� กช็ ว่ ยใหภ้ ยั แลง้ ลดลง อานสิ งสข์ องการ
พระองค์ปลูกต้นไม้ ท�ำบุญด้วยน�้ำ รักษาศีล ปลูกต้นไมก้ ็ดี การรักษาศลี ๕ กด็ ี กช็ ่วยใหภ้ ัย
๕ และทรงสวดพระปริตร ซึ่งตรงน้ีถ้าพูดถึง แล้งลดลง อาตมากร็ วบรวมขอ้ มลู เรือ่ งการแก้
ฝนเทียมฝนหลวง เราก็จะเห็นแต่สารเคมีที่ ปัญหาภัยแล้งท้ังหมด ตามหลักวิทยาศาสตร์
ทำ� ใหเ้ มฆกอ่ ตวั เหน็ สว่ นทเี่ ปน็ วทิ ยาศาสตร ์ แต่ ตามหลักพุทธศาสตร์ ตามหลักธรรมชาติ น�ำ
การท่ีพระองค์รักษาศีล ปลูกต้นไม้ สวดพระ- ทุกศาสตร์มารวมกันหมด อาตมาจึงเข้าใจว่า
ปริตร ไมม่ ใี ครพดู ถงึ จรงิ ๆ มีเหตปุ ัจจัยต่างๆ ในหลวงทรงใช้ทุกศาสตร์มาประยุกต์ ใช้แล้ว
มากมายท่เี ราอาจมองไม่เห็น เหน็ ผล แตบ่ างครง้ั เราไปเอาหลักเดียว ศาสตร์
อาตมาลองสงั เกตดู ในชว่ งหลงั ๆ ฝนเทยี ม เดยี วมาพจิ ารณา จงึ ไมค่ รบองคป์ ระกอบ จงึ ไม่
ท�ำข้ึนไปหลายร้อยเที่ยวแต่ท�ำไมฝนไม่ตก ก็ สำ� เร็จประโยชน์
เพราะเขาเอาแค่สารเคมีที่เป็นวิทยาศาสตร์ อาตมาสังเกตและติดตามโครงการท�ำ
ข้ึนไป ในส่วนที่เป็นพุทธศาสตร์ คือการปลูก ฝนเทียม จึงเห็นว่าพระองค์ใช้ครบทุกศาสตร์
ต้นไม้ ทำ� บุญด้วยน�้ำ รักษาศลี ๕ และสวดพระ ทรงมอี งคค์ วามรมู้ ากและทรงนำ� หลายๆศาสตร์
ปรติ ร สงิ่ เหล่านีเ้ ขาไมไ่ ด้ทำ� แตท่ �ำไมพระองค์ มารวมกัน ประสิทธิภาพจึงสมบูรณ์ได้ดั่งใจ
ทำ� ฝนเทยี มแลว้ ฝนตกทนั ที นน่ั เพราะพระองค์ เปน็ “ศาสตรพ์ ระราชา” ทเ่ี หน็ ผล ใชป้ ระโยชน์
ได้จรงิ

ปุจฉา : ท่ีพระอาจารยพ์ ดู ถึงพทุ ธศาสตร์ ก็ขอ
โยงมาถงึ เรอื่ ง “ธรรมของพระราชา” พระองค์
ทรงบำ� เพญ็ หลกั ธรรมตา่ งๆ มากมาย อยา่ งเชน่
หลัก ทศพิธราชธรรม อยากให้พระอาจารย์
ยกตัวอย่างคุณธรรมหรือศาสตร์เกี่ยวกับธรรม
ของพระราชา ของในหลวงรัชกาลที่ ๙ เจา้ คะ

๒๙ 7

ปุจฉา : พระราชจริยวัตรที่โยมประทับใจ
เห็นชัดเจนคือเร่ืองที่ทรงรักผูกพันกับสมเด็จ
พระราชชนนีมาก ทรงเรียกสมเด็จย่าด้วยค�ำ
ธรรมดาวา่ “แม”่ และสมเดจ็ ยา่ กท็ รงเปน็ แบบ
อยา่ งใหพ้ ระองคเ์ สมอ กราบเรยี นพระอาจารย์
วสิ ชั นา : มสี ว่ นทเี่ หน็ ชดั เจนคอื ในชว่ งพฤษภา ช่วยขยายความคุณธรรมขอ้ น้เี จ้าคะ่
ทมิฬ ท่ีเกิดความไม่สงบระหว่างทางทหารกับ
ประชาชน เป็นปฏปิ กั ษ์กัน (พ.ศ. ๒๕๓๕ พล วสิ ชั นา : พระองคท์ รงเปน็ พระมหากษตั รยิ ย์ อด
เอกสุจินดา คราประยูร เป็นนายกรัฐมนตรี) กตญั ญู ทรงเป็นลูกกตญั ญูของสมเด็จย่า ทั้งใน
พระองค์ทรงใช้หลักธรรมที่ไม่มีอคติ ในเมื่อ ดา้ นกายภาพและทงั้ ในสว่ นของคณุ ธรรม ดแู ล
พระองคต์ อ้ งพ่งึ พาทหาร พึ่งพาประชาชน แต่ เอาใจใส่ ใหม้ ีกจิ กรรมหลายๆ อยา่ ง เชน่ ตอน
ทงั้ สองฝา่ ยมคี วามคดิ เหน็ ตา่ งกนั พระองคเ์ ชญิ ท่ีสมเด็จย่าพักรักษาอยู่ท่ีโรงพยาบาลศิริราช
ทั้งสองฝ่ายมาเปิดอกคุยกัน เมื่อคุยกันรู้เร่ือง มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมพุทธศาสนา ให้
แลว้ บา้ นเมอื งกผ็ า่ นวกิ ฤตไปไดร้ อด ไมต่ อ้ งเสยี โรงเรียนตา่ งๆ มาแขง่ ขนั ตอบปญั หาธรรมะชิง
เลือดเสียเน้ือ พระองค์ไม่ต้องบังคับใครเลย รางวลั จากสมเดจ็ ยา่ อาตมาได้มีโอกาสไปเปน็
ตรงนอ้ี าตมาเห็นว่า การมาจับเขา่ คุยกัน เข้าใจ กรรมการตัดสิน จงึ ไดเ้ หน็ เหตุการณ์นี้
กัน ปัญหาก็ยุติสงบลงได้ ยากมากนะที่จะหา คือมีคร้ังหนึ่ง ในหลวงประชวรเข้าโรง
คนทำ� อยา่ งพระองคไ์ ด้ พยาบาล ช่วงนั้น สมเด็จย่าเพ่ิงส้ินไป แต่มี
โครงการแสดงธรรมเน่ืองในวันสมเด็จย่า พอ
ปุจฉา : เป็นผลจากการท่ีพระองค์ทรงมีศีลมี แสดงธรรมเสรจ็ แลว้ ในหลวงเสดจ็ จากหอ้ งพกั
ธรรมหรอื เปล่าเจ้าคะ ? ของพระองคม์ าเยยี่ มชมกจิ กรรมงานสมเดจ็ ยา่
วสิ ัชนา : ทรงมีคณุ ธรรมคือพรหมวิหาร ๔ มี ขนาดพระองค์ประชวรอยู่ ก็ทรงให้คนเข็นรถ
เมตตา กรณุ า มุทิตา อุเบกขา ครบสี่ขอ้ ทำ� ให้ พาชมกิจกรรมท้ังหมดดว้ ยความสนพระทยั
ไม่มีอคติเกิดข้ึน คุณธรรมจึงเกิดข้ึนจริง ได้ ในช่วงที่สมเด็จย่าประชวร ประทับอยู่ที่
ผลจริงๆ ยุคสมัยนั้น รัฐบาลอยากให้ฝ่ายโน้น โรงพยาบาล ในหลวงทรงเสด็จไปเย่ียม ดูแล
ฝ่ายนี้มาคุยกนั บางทีเรียกก็ไม่มา บางคร้ังมา อย่างใกล้ชดิ ทงั้ ๆ ท่ีทน่ี ่นั ท่มี ที ง้ั หมอ พยาบาล
ไมพ่ รอ้ มกัน จึงแกป้ ัญหาไมไ่ ด้ หรือบางทีศาล พร้อม แสดงถึงความกตัญญู ซึ่งถ้าคนไทยมี
(ซ่ึงถือว่าสูงสุดแล้วของระบบการปกครอง) จิตส�ำนึกกตัญญูต่อบิดามารดาเหมือนอย่างท่ี
ออกหมายเรียก ศาลเรียกแล้วบางคนก็ไม่ไป พระองค์มี สถาบันครอบครัวไทยจะอบอุ่นข้ึน
เกิดอะไรขึ้น แต่พระองค์เรียกมาคุย ท�ำไมถึง ปัญหาครอบครวั จะลดลงมาก และการทพี่ ระ-
มาตรงนเี้ พราะพระองคท์ รงมคี ณุ ธรรมทเี่ ดน่ ชดั องค์ใส่พระทัยต่อสมเด็จย่า ตอนท่ีป่วยอยู่โรง
ที่สุดคือ พรหมวิหาร ๔ พระองค์ไม่มีอคติ พยาบาล ทรงมาดูแลด้วยตัวของพระองค์เอง
เป็นคุณสมบัติเฉพาะบุคคล เป็นคุณธรรมของ ทกุ วนั เปน็ การรกั ษาใจผสู้ งู อายโุ ดยเฉพาะบดิ า
พระองค์เอง ไมเ่ กยี่ วกบั ระบบ มารดาไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ถา้ ลูกๆ หม่นั มาเยย่ี ม มา

8 ๒๙

วสิ ชั นา : การรกั ในหลวง สง่ิ แรกเลยทวี่ ดั ทำ� อยู่
เชน่ โครงการจดั การขยะ ทวี่ ดั จากแดงจะขอนำ�
เอาศาสตร์พระราชาส่วนน้ีมาเป็นต้นแบบให้
วัดต่างๆ ที่อยากจะเรียนรู้เร่ืองการจัดการ
บริหารขยะให้ครบวงจร เร่ืองของการปลูก
ต้นไม้เพ่ือรักษาระบบนิเวศน์ ทางวัดก็จะท�ำ
และเรื่องการศึกษาธรรมะ ซ่ึงพระองค์ได้ทรง
ศกึ ษาจรงิ แลว้ ทรงนำ� ไปใช้ ทางวดั กจ็ ะสานตอ่
ดแู ลพอ่ แม่ของตนเอง มนั ดกี ว่ายาทกุ ขนานใน พระราชปณิธานตรงน้ี พระองค์ทรงห่วงเร่ือง
โรงพยาบาล ลูกคนนม้ี าถามลูกคนนั้นมาเย่ยี ม ภาษาบาลมี าก ทรงถวายทนุ ทรพั ยส์ ว่ นพระองค์
มาพูดคุย ท�ำให้พอ่ แมช่ ่นื ใจ ดีใจ ๗๒ ลา้ นเพื่อฟืน้ ฟูภาษาบาลี

ปุจฉา : ถือเป็นโอสถทิพย์เลยใช่ไหมเจา้ คะ ปจุ ฉา : พระองคท์ รงถวายปจั จยั ๗๒ ลา้ นบาท
วสิ ชั นา : เจรญิ พร เปน็ โอสถทพิ ย์ ยาวเิ ศษจรงิ ๆ แกค่ ณะสงฆห์ รือเจ้าคะ
เป็นธรรมชาติบ�ำบัด อาตมาเห็นว่าสมเด็จย่า วสิ ชั นา : พระองคท์ รงหว่ งวา่ พระสงฆเ์ รยี นบาลี
พระชนมช์ พี มากอายยุ นื แลว้ ไดม้ าเหน็ ในหลวง ลดลง องคค์ วามรบู้ าลลี ดลง ทำ� อยา่ งไรจะฟน้ื ฟู
มาเยี่ยมบอ่ ยๆ ทงั้ ทพ่ี ระองค์มพี ระราชภารกจิ การศึกษาภาษาบาลีข้ึนมา ตอนน้ันเป็นวัน
มากมาย ท�ำให้ก�ำลังวังชา ก�ำลังพระทัยของ พระราชสมภพครบ ๗๒ พรรษา ประชาชน
สมเดจ็ ย่าเพ่ิมขนึ้ ทนั ที ทส่ี ำ� คัญก็คือประชาชน ท้ังประเทศทูลเกล้าถวายโดยเสด็จพระราช
เห็นพระองค์ท�ำแล้ว ก็นึกถึงพ่อแม่ของตนเอง กศุ ล ๗๒ ลา้ นบาท โดยเสดจ็ พระราชกุศลตาม
ว่า ขนาดในหลวงงานยุ่งอย่างนี้ ยังสละเวลา พระราชอธั ยาศยั จึงทรงคดิ จะฟนื้ ฟกู ารศกึ ษา
มาดแู ล มาเยยี่ ม ใหก้ ำ� ลงั ใจสมเดจ็ ยา่ สมำ่� เสมอ ของคณะสงฆโ์ ดยเฉพาะภาษาบาลี ซง่ึ คณะสงฆ์
หลายคนก็ได้สติ ที่เคยลมื ดูแลพอ่ แมต่ นเอง ก็ ไดร้ บั งบพระราชทานมาแลว้ กจ็ ดั ประชมุ หารอื
เอาใจใสด่ แู ลพอ่ แม่มากขึน้ เพราะพระองค์ท�ำ กนั อาตมากไ็ ดไ้ ปรว่ มประชมุ ดว้ ย กน็ ำ� เสนอวา่
เป็นแบบอย่างซงึ่ มคี า่ กวา่ ค�ำตรัสสอนมากมาย ควรมาปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาสงฆ์และ
ใครทช่ี อบทงิ้ พอ่ แม่ อา้ งงานยงุ่ ไมม่ เี วลา สง่ เงนิ พัฒนาส่ือการสอน หลังจากน้ันคณะสงฆ์ก็ยัง
ไปใหก้ พ็ อแลว้ กจ็ ะคดิ ไดแ้ ละแกไ้ ขปรบั ปรงุ ตน ไม่กล้าตัดสินใจว่าจะน�ำไปใช้ส่วนไหน ก็ยัง
เก็บไว้ในธนาคาร สุดท้ายก็เอามาท�ำเป็นทุน
ปจุ ฉา : พระองคม์ พี ระมหากรณุ าธคิ ณุ มากมาย เลา่ เรียนหลวง
เกนิ จะกลา่ วไดค้ รบถว้ น ถงึ วนั นที้ พี่ ระองคเ์ สดจ็ อาตมาจึงมาท�ำโครงการนี้ ที่วัดจากแดง
สู่สวรรคตแล้ว พระอาจารย์จะมีข้อคิดฝากไว้ แหง่ น้ี ตงั้ ใจทำ� งานเตม็ ที่ จะขอฟน้ื ฟภู าษาบาลี
อย่างไรในการตอบแทนพระมหากรุณาธิคุณ ตามพระราชประสงคข์ องพระองค์ ถึงงบประ-
หรือสืบสานพระราชปณิธาน ให้สมกับท่ีเรา มาณส่วนน้ันจะไม่ได้เอามาใช้ในโครงการน้ี
บอกว่า เรารกั ในหลวง

๒๙ 9

อาตมากจ็ ะหางบประมาณเอง เพอื่ ทจี่ ะสบื สาน ประเทศไทย เป็นช่ือสถาบันท่ีพระองค์คิดเอา
พระปณธิ านทีพ่ ระองค์หวงั ไว้ ไว้ ไพเราะมากและมีความหมายดีมาก “โพธิ
อาตมาเรม่ิ ทำ� โครงการตงั้ แตป่ พี .ศ. ๒๕๔๘ ยาลยั ” บา้ นแห่งธรรมะ อาคารแหง่ การเรียน
จนปี พ.ศ. ๒๕๕๐ พอถึงปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ก็เร่มิ รู้เพ่ือความหลุดพ้น แต่สถาบันท่ีพระองค์
เห็นผล คือวัดจากแดงได้รับรางวัลส�ำนักเรียน ต้องการนี้ จะเป็นศาสตร์พระราชาท่ีเรียนรู้
ดีเด่นด้านภาษาบาลี จนกระท่ังปัจจุบันวัดเรา ท้ังทางโลกและทางธรรมเพ่ือฟื้นฟูประเทศ
ก็ยังได้รับรางวัลส�ำนักเรียนดีเด่น แต่ถือว่า ชาติ แต่ของอาตมาไม่ได้เน้นทางโลก เน้น
ยังไม่ได้ตามพระราชประสงค์ เพราะอาตมา ทางธรรมเป็นหลัก ทางโลกก็จะมีแค่เรื่องส่ิง
ต้องการที่จะให้มีการเรียนการสอนพระไตร- แวดล้อม แต่ของพระองค์ก็คือ มหาวิทยาลัย
ปฎิ กบาล ี อรรถกถา ฎกี าอยา่ งครบวงจร วนั ไหน ปูทะเลย์ ท่ีพระองค์ได้คิดเอาไว้ในพระราช
ท่ีสามารถจัดการเรียนการสอนพระไตรปิฎก- นิพนธ์พระมหาชนกน้ี เป็นการเรียนทางโลก
อรรถกถา ฎกี า เปน็ ภาษาบาลไี ด้ครบถว้ น วนั กบั ทางธรรมควบคกู่ นั ไป เพอื่ ฟน้ื ฟปู ระเทศชาติ
นนั้ จงึ ถอื วา่ พระราชประสงคข์ องพระองคเ์ สรจ็ ตอนน้ีมี โพธิยาลัยของในหลวง ตั้งไว้
สมบูรณ์และการท�ำงานของอาตมาก็จะส�ำเร็จ แห่งแรก ของวัดจากแดง แห่งที่สอง ท่ี มจร.
ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ปีหน้านี้จะขยายอาคาร เชยี งใหม่ ทส่ี าม ทีว่ ดั ทางปักษ์ใต้ แห่งท่สี ่ี คอื
เรียน ท�ำห้องสมุดทม่ี ีมาตรฐานขนึ้ มา และจดั ตั้งชื่อสถาบันโพธิยาลัย ตามรอยศาสตร์พระ-
ปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอน อาตมา ราชา เรอื่ งการพฒั นาการศกึ ษาทงั้ ทางโลกและ
คงต้องเปน็ หลักเรื่องการสอนเอง ทางธรรม ผสมผสานกันเพอ่ื สรา้ งประเทศชาติ
งบประมาณจะมีหรือไม่มีค่อยหาเอา แต่ แตข่ องวดั จากแดงเนน้ ดา้ นพระศาสนา และขอ
ก�ำลังใจเรามเี กนิ รอ้ ย คิดว่าพระองค์คงจะทรง เน้นว่าพระองค์ทรงห่วงภาษาบาลี ทางวัด
รบั ทราบวา่ อาตมากำ� ลังท�ำ อาตมาก็ไม่ไดห้ วงั จากแดงจึงเน้นศาสตร์พระราชาในส่วนของ
ว่างบประมาณจะได้หรือไม่ได้ แต่ก�ำลังใจจาก การศึกษาภาษาบาลี เพื่อให้เป็น “โพธิยาลัย
พระองค์ท่านคงส่งมาช่วยแล้ว อาตมาก็จะ ในส่วนของพระไตรปิฎกโดยตรง” ส่วน
ท�ำให้เกิดมีข้ึนตามพระประสงค์ และขอต้ัง โพธิยาลัยเพ่ือฟื้นฟูทางโลกน้ัน สถาบันอ่ืนเขา
ปณิธานว่า สิ่งเหล่าน้ีต้องเกิดขึ้นให้ได้ในสมัย ท�ำกนั อยแู่ ลว้
ท่ีอาตมายังมีชีวิตอยู่ ต้องท�ำให้ส�ำเร็จตาม
พระราชปณิธานของพระองค์ให้ได้

ปุจฉา : อยากทราบที่มาและความหมายของ
ชอ่ื “สถาบันโพธยิ าลยั ” เจ้าคะ

วิสัชนา : “สถาบันโพธิยาลัย” อาตมา
ต้ังชื่อเอง พอตั้งช่ือแล้ว ไปค้นเจอช่ือน้ีเข้า
จึงทราบว่าพระองค์ได้จัดต้ังเป็นช่ือแรกใน

10 ๒๙

ครง้ั ละ ๓,๐๐๐ บาท พระองคต์ ิดกณั ฑ์เทศน์
และพระองค์ฝากบอกว่า ได้ติดตามฟังอาตมา
ทางวิทยุและทรงให้ก�ำลังใจ กัณฑ์เทศน์ท่ี
พระองค์ได้ตดิ ไว้ครัง้ ละ ๓,๐๐๐ สองครงั้ และ
กระเช้าดอกไม้ อาตมาคิดว่างบประมาณ ๗๐
ล้านบาทอาจไม่ได้ แตไ่ ด้ ๖,๐๐๐ บาทท่ีพระ-
องค์ถวายกัณฑ์เทศน์มา มีคุณค่าทางก�ำลังใจ
มากกว่า

อาตมาจึงขอใช้ชื่อ “สถาบันโพธิยาลัย” โยม : หกพนั บาทจากกัณฑ์เทศน์พระราชทาน
เป็นการส่ือสารภาพรวมที่จะยืนหยัดสืบสาน ถือเป็นขวัญถุง ขวญั กำ� ลงั ใจในการท�ำงาน นา่
พระราชปณธิ าน “ศาสตรข์ องพระราชา” ทจ่ี ะ ปลม้ื ใจแทนพระอาจารยจ์ รงิ ๆ กราบอนโุ มทนา
ฟน้ื ฟกู ารศกึ ษาภาษาบาลที พี่ ระองคห์ ว่ งใย ขอ ดว้ ยเจา้ ค่ะ
ตามรอยพระราชด�ำริ เร่ืองนี้แต่เดิม ร.๕ ได้ บทสัมภาษณ์วันนี้ จบลงด้วยความสุข
ทรงดำ� รเิ อาไว้ พระองคต์ รสั วา่ สมเดจ็ ปู่ คดิ เอา เปย่ี มลน้ จติ ใจ เมอ่ื ตา่ งไดน้ อ้ มรำ� ลกึ ถงึ พระราชา
ไวแ้ ลว้ สรา้ งมหาจฬุ าฯ และมหามกฏุ ฯ สมเดจ็ ปู่ ในดวงใจ สงั คมไทยของเรา จะก่อเกิดปรากฏ-
สร้างอาคารได้ แต่คุณภาพการศึกษายังท�ำไม่ การณพ์ ลงั ยง่ิ ใหญแ่ หง่ ความสำ� นกึ ในพระมหา-
ส�ำเรจ็ พระองคจ์ งึ ทรงสานตอ่ อาตมาเองก็ถูก กรุณาธิคุณ ด้วยความจงรักภักดี ท่ีจะช่วยกัน
สง่ ไปเรยี นตา่ งประเทศในโครงการนเ้ี พอ่ื ทจี่ ะได้ สืบสานพระราชปณิธาน “ศาสตร์ของพระ-
กลบั มาชว่ ยฟน้ื ฟเู รอื่ งการศกึ ษาบาลใี หม้ คี ณุ ภาพ ราชา” ของพระผทู้ รงสถติ ในใจปวงชนชาวไทย

ขนึ้ ตามพระราชดำ� รขิ องสมเดจ็ ปู่ คอื ร.๕ ตอน
อาตมากลับมาเมืองไทยก็ยังไม่ได้ท�ำให้ส�ำเร็จ
ท่ีวัดมหาธาตุฯ จึงมาท�ำท่ีวัดจากแดง อย่าง
น้อยๆ ส�ำเร็จสักส่วนหนึ่งเพ่ือให้เป็นไปตาม
พระราชประสงค์
และบทสัมภาษณ์นี้ก็ขอเป็นหน่ึงในแรง
ปจุ ฉา : โยมขอถวายกำ� ลงั ใจพระอาจารย์ ขอให้ บนั ดาลใจแดป่ วงชนชาวไทย ทไี่ ดผ้ า่ นชว่ งเวลา
พระอาจารย์ทำ� ไดส้ ำ� เร็จ สุดท้ายน้กี ข็ อให้พระ แห่งความเศร้าโศกอันใหญ่หลวงมาด้วยกัน
อาจารย์สุขภาพแข็งแรงแรงด้วยเจ้าค่ะ พระ และพวกเราลูกหลานไทย จะมุ่งม่ันก้าวไป
อาจารยม์ ีอะไรจะฝากเพ่ิมเติมไหมคะ ในทางแห่งความดี เจริญรอยตามเบื้องพระ-
วิสัชนา : ตอนท่ีพระองค์ยังทรงพระชนม์ ยุคลบาท โดยมีพระราชปณิธานของพระองค์
อยู่ พระองค์ให้ส�ำนักพระราชวังน�ำกระเช้า เปน็ แสงสวา่ งนำ� ทาง ในการดำ� เนนิ ชวี ติ ทด่ี งี าม
ดอกไม้มาถวาย ๒ ครั้ง พร้อมกัณฑ์เทศน์ ตอ่ ไป

๒๙ 11

ปรารภธรรม สมเ(ดป็จ.อพ.รปะพยุตุทฺโธตโ)ฆษาจารย์

ธรรมของ พระราชา

เมอื่ ตอนเยน็ วนั น้ี ทโี่ บสถว์ ดั ญาณเวศกวนั
มีพิธีบ�ำเพ็ญกุศลถวายเป็นพระราชกุศล แด่
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล-
อดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ในพิธีน้ัน มีการสวด
พระพุทธมนต์และเจริญจิตตภาวนาถวายเป็น
พระราชกศุ ล

นกึ ถงึ พระองคเ์ ม่ือใด กค็ ดิ ว่า “เราจะต้องท�ำ
อะไร ?”
ตามหลักทางธรรม เมื่อเกิดมีเหตุการณ์
ส�ำคัญๆ อย่างนี้ข้ึน ไม่ว่าดีหรือร้ายก็ตาม
พระพุทธเจ้าทรงน�ำไว้ คือจะทรงปรารภ ๑. จักรวรรดวิ ตั ร ๑๒
เหตุการณ์นั้น เพื่อแสดงธรรม หรือทรงยก ๒. ราชสงั คหวัตถุ ๔
เร่อื งราวนนั้ ขนึ้ เปน็ ขอ้ ปรารภทีจ่ ะแสดงธรรม ๓. ขัตติยพละ ๕
เม่ือปรารภการสวรรคตของในหลวง ๔. ราชธรรม ๑๐ (ทศพิธราชธรรม)
รัชกาลที่ ๙ และผู้คนพากันพูดถึงพระราช-
กรณียกิจต่างๆ มากมายที่ได้ทรงบ�ำเพ็ญไว้ ไม่ว่าระบบไหน จะดีได้ ตัวคนต้องเป็น
การที่ทรงงานหนักหลากหลายมากมาย ทรง ธรรมาธิปไตย
เพียรพยายามเหน็ดเหน่ือยยากล�ำบากอย่าง เรมิ่ ดว้ ยชดุ ท่ี ๑ “จกั รวรรดวิ ตั ร ๑๒” วา่
น้นั ๆ กเ็ พื่อให้ประชาราษฎร์มีกนิ มใี ชห้ ายทกุ ข์ ตามพระไตรปฎิ ก คอื ตามพทุ ธพจน์ เราสามารถ
อยูด่ ีมีความสุข ให้ประเทศชาติบ้านเมืองเจริญ จบั ที่หลกั ใหญ่ และจดั แยกเปน็ คุณสมบัติ กบั
มั่นคงอย่างนัน้ ๆ การปฏิบัติ เริ่มท่ีคุณสมบัติ พระจักรพรรดิ
ธรรมของพระราชา ๓๑ ขอ้ นี้ รเู้ ขา้ ใจให้ชัด (ภาษาบาลเี รยี กวา่ “จกกฺ วตตฺ ”ิ ) ทรงเคารพธรรม
ให้ดี นับถือธรรม บูชาธรรม มีธรรมเป็นธงชัย
ธรรมส�ำหรับองค์พระมหากษัตริย์ ๔ มีธรรมเป็นสูงสุด เป็นธรรมาธิปไตย (ถือ
หมวดสำ� คญั ถอื เปน็ หลกั ใหญข่ องการปกครอง ธรรมเป็นใหญ่) จุดส�ำคัญอยู่ท่ีค�ำสุดท้าย คือ
แผ่นดิน คือ ธรรมาธิปไตย พระเจ้าจักรพรรดิ คือพระเจ้า
แผ่นดินผยู้ ่ิงใหญน่ ี้ เปน็ ธรรมาธปิ ไตย

12 ๒๙

“ธรรมาธปิ ไตย” เป็นขอ้ หลักการใหญ่ เป็น จักรพรรดทิ รงธรรม ล�ำ้ เหนอื emperor
ข้อแกน พระพุทธเจ้าก็ทรงเป็นธรรมาธิปไตย ค�ำว่า “จักรพรรดิ / จักกวัตติ” นี้
นคี่ อื บอกวา่ บคุ คลทเ่ี ปน็ ตน้ แบบของมนษุ ยชาติ จักรพรรดิ คือผู้หมุนจักรรัตน์ ที่แปลกันว่า
เปน็ หลกั ของสงั คม เปน็ ผนู้ ำ� ของหมชู่ นตอ้ งเปน็ จักรแก้ว ซึ่งหมุนไปตามค�ำบอกสั่งและพาไป
ธรรมาธปิ ไตย ไมว่ า่ ในระบบการปกครองอะไร ทางอากาศได้ถึงที่หมายเร็วไวทุกหนแห่ง ข้อ
ถา้ จะเปน็ ผปู้ กครองทดี่ ี ตวั ผปู้ กครองกต็ อ้ งเปน็ ส�ำคัญอยทู่ วี่ ่า ให้ท้งั โลกอยใู่ นสนั ติสุข
ธรรมาธิปไตยทั้งนั้น แล้วทีน้ี ถ้าระบบนั้นดี ท่านสอนว่าเราด�ำเนินชีวิตอยู่ได้ด้วยจักร
ที่สุด เป็นอันว่า ตัวบุคคลที่เป็นผู้น�ำนี่แหละ คอื ลอ้ ของรถแหง่ ชวี ติ ซง่ึ ทา่ นเรยี กวา่ อริ ยิ าบถ-
โดยคุณสมบตั ิส่วนตวั ของเขา ต้องเป็นธรรมา- จักร แปลวา่ จกั รคืออิริยาบถ ๔ ได้แก่ ยืน เดนิ
ธิปไตย พระพุทธเจ้าก็เป็นธรรมาธิปไตย ถือ นั่ง นอน นเ่ี อง ถ้าชีวติ ของเราไมม่ จี กั ร ๔ ลอ้
ธรรมเป็นใหญ่ จักรพรรดิที่ว่าน้ีก็เป็นธรรมา- น้ีก็ติดขัด คนจะมีชีวิตที่ดี ต้องตระหนักถึง
ธิปไตย ยดึ เอาธรรมเป็นเกณฑ์ตดั สนิ ใจ ความส�ำคัญของสี่ล้ออิริยาบถน้ี และเอาใจ
พูดมาถึงตรงน้ี ก็ท�ำให้ขอย้อนไปพูด ใส่รักษาสุขภาพ โดยบริหารอิริยาบถท้ัง ๔ นี้
ถึงหลักการที่ได้พูดในคราวที่แล้ว คือเรื่อง ให้สม�่ำเสมอ สมดลุ จะได้คลอ่ งแคล่ว สะดวก
“ยถากรรม - ยถาธรรม” ซึง่ มีใจความบอกว่า แกก่ ารดำ� เนนิ ไปของชวี ิต
ให้เตือนกันเองหรือเตือนตัวเองว่า ไหนๆ ใน ทีนี้ จักกวัตติ คือพระเจ้าจักรพรรดิ ผู้
ทีส่ ดุ เรากจ็ ะต้องไปกันตามยถากรรม เม่อื ยังมี หมุนจักรในความหมายนี้ก็ได้แก่ พระราชา
ชวี ติ อยู่ จะทำ� อะไร กข็ อใหท้ ำ� กนั ตามยถาธรรม หรือพระเจ้าแผ่นดิน ผู้ทรงหมุนจักรวงล้อของ
ไดบ้ อกไวใ้ นคราวนน้ั วา่ “ยถาธรรม” แปล ชีวิตคือ อิริยาบถ ๔ ท้ัง ยืน เดิน น่ัง นอน
วา่ ตามธรรม คอื ตามความจรงิ ตามความถกู ตอ้ ง “ปรหิตายะ” เพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น หมาย
ตามความดีงาม ตามที่จะเป็นคุณประโยชน์ ความวา่ จักรพรรดิ คอื พระราชาผู้ทรงดำ� เนิน
นค่ี ือ ผนู้ �ำจะตดั สนิ ใจอะไร ก็ตอ้ งถือตามยถา- พระชนม์ชีพโดยทรงด�ำเนินอิริยาบถท้ังส่ี ไม่
ธรรม ตรงนเี้ มอื่ เอาไปโยงกบั ทพ่ี ดู คราวกอ่ นนน้ั วา่ จะยนื จะเดนิ จะนงั่ จะนอน กค็ ดิ กพ็ ดู กท็ ำ�
ก็ได้ความว่า ถ้าผู้น�ำคนไหน ท�ำอะไร ตาม การท�ำงาน เพ่ือประโยชน์สุขของประชาชน
ยถาธรรมก็แสดงว่าเขาเป็นธรรมาธิปไตย ตลอดเวลา สล่ี อ้ อริ ยิ าบถทข่ี บั เคลอ่ื นชวี ติ กค็ อื
ขบั เคล่ือนประโยชน์สขุ ของปวงประชา

จักรวรรดวิ ัตร จากคุณสมบตั ิ สปู่ ฏิบัติ
ไดบ้ อกแลว้ วา่ มี “วตั ร” คอื หนา้ ที่ หรอื ขอ้
ปฏิบัติประจ�ำองค์ของพระราชาทรงธรรมท่ียิ่ง
ใหญ่ ๑๒ ประการ ซงึ่ จะตอ้ งทรงจดั ดำ� เนนิ การ
ต่อเนื่องเป็นนิตย์ เรียกว่า จักรวรรดิวัตร ๑๒
ก) คณุ สมบตั ิ เปน็ ธรรมาธปิ ไตย ดงั ทว่ี า่
แลว้ ขอ้ นเ้ี ปน็ ฐาน เปน็ แกนเลยทเี ดยี ว พระเจา้

๒๙ 13

๔. อนยุ นต์ ได้แก่ เหล่าราชบรพิ ารท่ีขับ
เคลือ่ นงานสนองพระบรมราโชบาย
๕. พราหมณคฤหบดี ได้แก่ เหล่าชนผู้
ประกอบวิชาชีพอสิ ระ พวกพอ่ ค้า ผปู้ ระกอบ
การ คนมง่ั มี ครอู าจารย์ นกั วชิ าการทัง้ หลาย
ซงึ่ สว่ นมากอยใู่ นกรงุ ในเมอื ง หรอื ในถน่ิ ทเ่ี จรญิ
(ในสมัยน้นั เหลา่ พวกปัญญาชน นักวชิ าการ ก็
คือพวกพราหมณ์ เขาไมใ่ ช้ศัพท์อืน่ )
๖. เนคมชานปท คอื ชาวนคิ มชนบท ไดแ้ ก่
คนพน้ื ถ่ินนอกเมอื งหลวงออกไป จนกระทง่ั ถึง
แผ่นดิน จักรพรรดิราชาที่ย่ิงใหญ่ ไม่ว่าจะท�ำ ชายแดนหมดทง้ั ประเทศ นา่ สงั เกตวา่ เรอ่ื งชาว
อะไร กถ็ อื ธรรมเปน็ ใหญ่ ใชธ้ รรมเปน็ มาตรฐาน บา้ นชาวถนิ่ ในชนบทและแดนหา่ งไกลน ่ี ในหลวง
เป็นเกณฑ์ตดั สนิ ร.๙ ทรงเอาพระทัยใส่ ถือเป็นส�ำคัญมาก
ข) ปฏิบัติจัดการ เมื่อตนเองเป็นธรรมา ๗. สมณพราหมณ์ ได้แก่ พระสงฆ์และ
ธิปไตย ได้หลักใหญ่หลักยืนแล้ว ก็เริ่มงาน นักบวช เหล่าผู้ทรงศีลทรงธรรม เป็นผู้สอน
ปกครอง โดยจดั ดำ� เนนิ การในขอ้ สำ� คญั ตอ่ ไปนี้ ธรรม เปน็ หลักใจของประชาชน
ข้อท่ี ๑ ธรรมกิ ารกั ขา จดั อารักขาท่ีเปน็ ธรรม ๘. มคิ ปกั ษี แปลงา่ ยๆ วา่ บรรดาสตั วบ์ ก
ชอบธรรมให้แกป่ ระชาชนทกุ หมู่เหล่า ซ่ึงในท่ี สัตว์บิน พระราชาผู้ทรงธรรม เป็นจักรพรรดิ
นี้ทา่ นจัดแยกเป็น ๘ เหลา่ เป็นธรรมกิ ารกั ขา มหี นา้ ทต่ี ้องคุ้มครองดแู ลมิคปกั ษีดว้ ย
จัดอารักขาคุ้มครองป้องกันอันชอบธรรม แก่
ประชาชนทกุ หมู่เหลา่ คอื ตอ่ ไปก็ ขอ้ ท่ี ๒ อธรรมการนเิ สธนา (อรรถกถา
๑. อันโตชน แปลง่ายๆ ว่า ชนภายใน เรยี กว่า อธรรมการ - ปฏกิ เขโป) แปลว่า ห้าม
หรือคนใน คือ พระราชวงศ์ และข้าราชการ ก้ันการอธรรม หรือมิให้มีอธรรมการ คือการ
ในพระองค์ กระทำ� ทไี่ มช่ อบธรรมไมเ่ ปน็ ธรรม ทงั้ หา้ มปราม
๒. พลกาย คอื กองทัพ หรือปวงทหาร ป้องกัน จนกระท่ังปราบปรามไม่ให้มีอธรรม
๓. ขัตตยิ ะ คือ บรรดากษตั รยิ ์ทีร่ องๆ ลง การนนั้ ไม่ใหเ้ กิดมขี ้ึนมาได้
มา ไม่ใช่องค์จักรพรรดิราชา เทียบในสมัยนี้ ข้อท่ี ๓ ธนานุประทาน คือ จัดสรรปันเฉลี่ย
ก็คือผู้บริหาร ผู้ปกครองประเทศในระดับท่ี แผก่ ระจายเพิม่ เสรมิ ทรพั ยใ์ ห้ทวั่ ถงึ ไมใ่ ห้มีคน
กระจายออกไป (นเ่ี ปน็ ขตั ตยิ ะ ในความหมายท่ี ไรท้ รพั ย ์ ขอ้ นกี้ ส็ ำ� คญั มาก หนา้ ทขี่ องผปู้ กครอง
มจี กั รพรรดริ าชา แตถ่ า้ เปน็ กรณขี องพระราชา ทยี่ ง่ิ ใหญ่ คอยตามเพม่ิ เตมิ เฉลย่ี เผอ่ื แผ่ จดั สรร
ทว่ั ไป ขตั ตยิ ะกอ็ าจใหห้ มายถงึ กษตั รยิ ท์ อ่ี น่ื ซงึ่ ให้ทั่วถึง
แทนท่ีจะจัดธรรมิการักขา ก็เปลี่ยนเป็นเจริญ ข้อท่ี ๔ ปริปุจฉา แปลว่า ซักรอบสอบถาม
สัมพนั ธไมตรี) คือไม่ประมาทในการแสวงธรรมแสวงปัญญา
โดยไปพบปะสนทนากับสมณพราหมณ์ ท่าน

14 ๒๙

ผทู้ รงศลี ทรงธรรมทรงปญั ญา หมนั่ ปรกึ ษาสอบ โดยเฉพาะบุคคลท่ีเป็นหัวหน้าของหมู่ชน
ถาม ความไม่ประมาทในการแสวงธรรมแสวง ตงั้ แตห่ วั หนา้ ครอบครวั คอื พอ่ แม่ จะตอ้ งปฏบิ ตั ิ
ปัญญาน้ีส�ำคัญมาก จะได้รู้ทันว่าในเรื่องราวน้ี หรือต้องใช้สังคหวัตถุ ๔ เป็นประจ�ำ ย่ิงเป็น
เรอ่ื งอยา่ งน ้ี พวกผรู้ ู้ ผเู้ ปน็ ปราชญ ์ รกู้ นั อยา่ งไร หัวหน้าของมวลชน ทัง้ รฐั ทัง้ ประเทศ ทา่ นถอื
มองกนั อยา่ งไร คิดกนั อยา่ งไร การปฏิบัตสิ ังคหวตั ถุ ๔ นั้นเปน็ ค�ำจำ� กดั ความ
หรือเป็นความหมายของความเป็นราชาเลย
เป็นอันจบเร่ืองจักรวรรดิวัตร ที่จัดโดย ทีเดียว ดงั คำ� วเิ คราะห์ศัพทเ์ ปน็ ภาษาบาลีวา่
หลกั ใหญ่เปน็ คุณสมบัติ ๑ กบั ปฏบิ ัติ ๔ ขอ้
ซง่ึ แยกย่อยเป็น ๑๐ หรอื ๑๒ ขอผ่านตอ่ ไปสู่ “จตูหิ สงคฺ หวตถฺ หู ิ ชนํ รญเฺ ชตีติ ราชา”
ธรรมของพระราชา ชดุ หรอื หมวดท่ี ๒ (ชื่อว่า ‘ราชา’ เพราะท�ำให้ประชาชนชื่นชม
ยินดีมีสุขเอิบอ่ิม ด้วยสังคหวัตถุ ๔, เช่น องฺ.อ.
๒/๘๗)

พระพุทธเจ้าทรงแสดงสังคหวัตถุ ๔ นี้ไว้
คุมท้ายปิดรายการหลักธรรมส�ำหรับชาวโลก
โดยตรสั วา่ (ที.ปา.๑๑/๒๐๕/๑๗๒)

การให้ (ทาน) ๑ คำ� พดู ดว้ ยใจรกั (ปยิ วาจา)
๑ การประพฤตปิ ระโยชนแ์ กก่ นั (อตั ถจรยิ า) ๑
ความเสมอสมานกนั ในธรรมทงั้ หลายใหถ้ กู ควร
ในแตล่ ะกรณี (สมานัตตตา) ๑ ธรรมสอี่ ยา่ งน้ี
เป็นเคร่ืองสงเคราะหร์ วมคน (สังคหะ) ในโลก
เป็นเหมอื นลม่ิ สลักเพลารถท่กี �ำลังแลน่ ไป

ถ้าสังคหะ (การสงเคราะห์รวมใจคนไว้)
เหลา่ นไ้ี มม่ ี ถงึ แมเ้ ปน็ มารดาบดิ ากจ็ ะไมไ่ ดค้ วาม
หัวหน้าหม่ชู นดี รวมหวั ใจคนได้ นับถือหรือบูชาเพราะเขาเป็นบุตร แต่เพราะ
เหล่าบัณฑิตชนเหลียวแลสังคหธรรมเหล่านี้
คราวนี้มาถึง ราชสังคหวัตถุ ๔ ซ่ึงก็เป็น จึงถงึ ความเป็นผู้มีคณุ ความดยี ่งิ ใหญ่ และเป็น
หลักธรรมชดุ ทส่ี ำ� คญั มาก เทยี บกบั พธิ บี ชู ายญั ผทู้ ี่ชนท้งั หลายจะพงึ สรรเสริญ
ทย่ี ่ิงใหญท่ ่สี ุดของพราหมณ์ ตามปกติ สำ� หรับ
คนท่ัวไป ก็มีหลักธรรมชุดที่พึงปฏิบัติเป็น พระพุทธเจ้าทรงย้�ำเน้นความส�ำคัญ
ประจ�ำอยู่แล้ว เรียกว่า สังคหวัตถุ ๔ นับว่า ของการยึดเหน่ียวใจรวมคนให้อยู่ในสามัคคี
เปน็ คกู่ ับชดุ ที่เรยี กวา่ พรหมวหิ าร ๔ โดยทีว่ ่า ดว้ ยสังคหวตั ถุ ๔ น้ีมาก ดังท่ที รงยกย่องให้มี
ชุดพรหมวิหาร ๔ เป็นคุณสมบัติในใจ และ พระสาวกท่ีเป็นเอตทัคคะในด้านสงเคราะห์
สังคหวัตถุ ๔ เปน็ ปฏบิ ัติการทางสงั คม ท่แี สดง ชมุ ชนด้วยสังคหวัตถุ ๔ ไดแ้ ก่ เจ้าชายหตั ถกะ-
ออกของพรหมวหิ าร ๔ นั้น อาฬวกะ (องฺ.เอก.๒๐/๑๕๑/๓๓)

๒๙ 15

น่าสังเกตว่า เด๋ียวนี้คนไทยแทบไม่มีใคร
รู้จักหลักธรรมภาคปฏิบัติการในสังคม คือ
สังคหวัตถุ ๔ น้ี จ�ำกันแต่หลักธรรมภาคในใจ
คอื พรหมวหิ าร ๔ อยูแ่ คเ่ มตตา กรณุ า มทุ ิตา
อุเบกขา ท่ีจ�ำกันมาพร่าๆ มัวๆ พอออกมา
เป็นสังคหวัตถุ ๔ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา
สมานัตตตา ก็กะพรอ่ งกะแพร่ง ขอ้ นข้ี าด ขอ้
นัน้ หาย จัดเป็นชดุ ไม่ได้

ธรรมภาคจติ ใจในพรหมวิหาร เช่นเมตตา
กรุณาต้องมีธรรมภาคปฏิบัติในสังคหวัตถุ มา
รับช่วงต่อ ธรรมภาคปฏิบัติน้ีควรฟื้นกันให้
จริงจังเสียที ไม่ใช่อยู่กันแค่มีเมตตา กรุณา
ในใจ แต่ต้องออกสู่สังคม สังคหวัตถุ ๔ น้ี
ต้องเอามาเน้นมาย�้ำกันจริงๆ จังๆ ท้ังทาน ๑. อัสสเมธ ฆ่ามา้ บูชายญั
ปิยวาจา อัตถจริยา และสมานัตตตา ๔ ให้ ๒. ปุรสิ เมธะ ฆา่ คนบูชายญั
ครบทัง้ ชดุ ๓. สมั มาปาสะ ยัญแท่นบชู าลอดบว่ ง
๔. วาชเปยะ ยัญด่มื เพ่มิ พลงั ชัย
ใหพ้ รหมวหิ าร ๔ ที่เปน็ ฐานในใจ รบั กัน ๕. นิรคั คฬะ ยญั ฆา่ ทุกอย่างไมเ่ ว้น
กับสังคหวัตถุ ๔ ท่ีเป็นปฏิบัติการในสังคม ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเล่าว่า ท่ีจริง
ใหค้ ณุ ธรรมในใจออกมาเปน็ ปฏบิ ตั กิ ารในสงั คม มหายัญ ๕ นี้ เดิมเป็นหลักการปกครอง
และให้มีปฏิบัติการทางสังคมที่ออกมาจากใจ บ้านเมืองท่ีดีงาม แต่พวกพราหมณ์จัดไป
จรงิ คนไทยควรมาศกึ ษาทบทวนท�ำให้ชดั เจน จัดมาให้เป็นทางหาผลประโยชน์จนกลาย
จรงิ จัง จนมั่นใจตัวเองได้ เป็นพิธีบูชายัญอย่างว่าข้างต้น พระพุทธเจ้า

นกั ปกครองยิ่งใหญ่ รวมใจคนท้ังชาติ ทรงให้ยกเลิกการบูชายัญทุกอย่าง แล้วมหา-
ยัญท้งั ๕ นนั้ ก็เปล่ยี นความหมายไปหมดส้ิน
แม้จนถึงพระราชา ต้องมีสังคหวัตถุ ๔ โดยกลายมาเป็นหลักการสงเคราะห์รวมใจ
เพราะต้องรวมคนให้เป็นสังคมท่ีคนท้ังหลาย ประชาชน เรยี กว่า ราชสังคหวตั ถุ ๔ คอื
อยู่กันได้ด้วยดี แต่ส�ำหรับพระราชาซ่ึงเป็น ๑. สัสสเมธัง ปรีชาสามารถในการบ�ำรุง
ผู้น�ำท่ีรวมสังคมใหญ่ของประชาชนทั้งชาติ พืชพันธ์ุธัญญาหาร สง่ เสริมการเกษตร
ยังมีสังคหวัตถุ ๔ ท่ีพึงปฏิบัติประจ�ำพระองค์ ข้อ ๑ คือ สสั สเมธงั หรือ สสั สเมธ นี้ ของ
อีกชุดหน่ึงเรียกว่า ราชสังคหวัตถุ ๔ ซ่ึงใน พราหมณเ์ ปน็ อสั สเมธ (สนั สกฤต : อัศวเมธ)
ยุคของพราหมณ์ เป็นเรื่องของการบูชายัญ พระพทุ ธศาสนาเปลยี่ นจากตวั อ - อสั สะ / อศั ว
ในระดบั ทีย่ ิ่งใหญ่ทีส่ ุด ซง่ึ มี ๕ อยา่ ง ขอบอก (มา้ ) มาเปน็ ตวั ส - สสั สะ (ขา้ วกลา้ หรอื พชื พนั ธ)์ุ
ส้ันๆ วา่ คือ

16 ๒๙

ส่วน “เมธ” ของเขาแปลว่า “ฆ่า” แต่ใน อ�ำนวยปัญญา เร้าเตือนคนทุกหมู่เหล่าให้
ความหมายของพุทธ แปลว่า “ปรีชาฉลาด” ใส่ใจปฏิบัติหน้าที่ของตนอย่างจริงจังสุจริต
เหมือนในค�ำว่า “เมธี” ซ่ึงแปลว่าผู้มีเมธา ให้สัมฤทธ์ิผลดี ที่จะให้สังคมประเทศชาติ
(เมธากค็ ือปัญญา) พระราชาแทนทจี่ ะเก่งดว้ ย เจรญิ พฒั นาสขุ สนั ต์ม่ันคง และให้ทุกตัวบุคคล
การท�ำพิธีฆ่าม้าบูชายัญ ก็เปลี่ยนมาเป็นผู้มี พฒั นาชีวิตของตน
ปรชี าสามารถในการบำ� รุงพชื พนั ธ์ุธญั ญาหาร จะเห็นว่า ในหลวง ร.๙ ทรงมีพระบรม-
๒. ปุริสเมธัง ปรีชาสามารถในการบ�ำรุง ราโชวาทมากมายซึ่งแสดงว่าทรงปฏิบัติในข้อ
ขา้ ราชการ ทง้ั ทหาร และพลเรอื น เชน่ สง่ เสรมิ “วาชไปยัง” นีอ้ ยา่ งมากทีเดยี ว
คนดีมีความสามารถ ผู้ฉลาด ซื่อสัตย์สุจริต จบข้อ ๔ “วาชไปยงั ” แลว้ ของพราหมณ์
ขยนั หมนั่ เพียร ยังมีมหายัญอย่างท่ี ๕ เป็นข้อสุดท้าย คือ
๓. สัมมาปาสัง ปรีชาสามารถผูกใจ “นิรัคคฬัง” แปลตามตัวอักษรว่า “ไม่มีล่ิม
ประชาชนเหมือนเอาบ่วงคล้องไว้ ด้วยการ กลอน” หมายความว่า ไม่มีขีดข้ันจ�ำกัด คือ
ส่งเสริมสัมมาชีพ เช่น ให้กู้ยืมเงินทุนไปสร้าง เอาทุกอย่าง ทั่วทั้งหมด ไม่เว้นเลย เป็นการ
ตัวในพาณิชยกรรม และในการประกอบการ บูชายัญท่ีฆ่าทุกอย่าง ต้ังแต่มนุษย์เป็นต้นไป
ตา่ งๆ ชว่ ยใหค้ นจนตัง้ ตัว ใหค้ นล้มฟนื้ ตวั ได้ รวมเปน็ มหายัญ ๕ อย่างของพราหมณ์
๔. วาชไปยัง มีวาจาดดู ด่มื ใจ ทรงปรีชา ช่อื มหายัญที่ ๕ วา่ “นริ คั คฬัง” นี้ ทาง
สามารถในการเจรจาปราศรัยเข้าถึงประชาชน พระพุทธศาสนาเอามาใช้เป็นค�ำบอกอานิสงส์
แสดงให้เห็นความเอาพระทัยใส่ห่วงใย รับรู้ ท่ีว่า “ไม่มีลิ่มกลอน” น้ัน แทนท่ีจะเป็นการ
ปัญหา รับฟังปัญหา มีวาทะท่ีฟังแล้วชวนใจ ฆ่าทุกอย่างไม่เว้น ก็กลายเป็นผลดีของราช
ให้อยากท�ำอยากปฏิบัติ อยากร่วมมือร่วม สังคหวัตถุ ๔ น้นั วา่ เมอื่ พระราชาปฏบิ ัตติ าม
การร่วมงานทกุ อยา่ ง ตลอดจนแนะนำ� สัง่ สอน หลักสี่ข้อนี้แล้ว ประเทศชาติบ้านเมืองก็จะ
ประชาชน ว่าควรจะประพฤติปฏิบัติตัวช่วย ม่ันคงมั่งคั่ง ประชาชนอยู่กันสงบสุขปลอดภัย
เหลือกันอย่างไร ให้มีการส่ือสารอวยธรรม ถึงข้ันท่ีว่าบ้านเรือนไม่ต้องลงล่ิมกลอน คือจะ
นอนหรือจะไปไหนก็ไม่ต้องปิดประตูบ้าน จะ
เปิดประตทู งิ้ ไว้กไ็ ด้
แลว้ แถมทา้ ย ตอ่ จาก “ประตเู รือนไม่ต้อง
ลงลมิ่ กลอน” กบ็ อกว่า “ใหบ้ ตุ รฟอ้ นบนอก”
หมายความวา่ กระทง่ั ในครอบครวั ทเี่ ปน็ สงั คม
หน่วยยอ่ ยทส่ี ดุ กร็ ่าเริงสดใสสุขสนั ต์ สรวลเส
กัน มีลูกน้อย ก็ให้เขาสนุกสนานมาโลดเต้น
เล่นบนอก รวมความว่า ประชาชนมีความสุข
บา้ นเมืองรม่ เย็นเกษมศานต์

๒๙ 17

ก�ำลังของพระมหากษตั รยิ ์ ก�ำลังภยันตรายที่แสนร้าย ส่วนก�ำลังปัญญา
หลกั ธรรมหมวดต่อไป คือ ขัตติยพละ ๕ เปน็ กำ� ลงั อนั ประเสรฐิ เปน็ ยอดแหง่ พลงั ทงั้ ปวง
แปลว่า ก�ำลังของกษัตริย์ ๕ อย่าง หรือพลัง เพราะเป็นเคร่ืองก�ำกับ ควบคุม และน�ำทาง
ของบุคคลผู้ย่ิงใหญ่ท่ีสามารถเป็นกษัตริย์ ก�ำลงั อน่ื ทุกอย่าง ใหส้ ำ� เร็จการทง้ั ปวง
ปกครองแผน่ ดนิ ได้ ชดุ นเ้ี ปน็ คณุ สมบตั ปิ ระเภท ถึงจะมีก�ำลังอย่างอ่ืนทุกข้อพร่ังพร้อม
ทุนหรอื ต้นทนุ ขององคพ์ ระราชา กำ� ลัง ๕ นนั้ อยา่ งดี แตถ่ ้าขาดปญั ญาพลงั กพ็ ังเลย สลาย
มีดงั น้ี หมดสิ้น จึงต้องมีปัญญาพลังคุมท้าย และไม่
๑. พาหาพลัง หรอื กายพลงั ก�ำลงั แขน ประมาทในการพฒั นาปญั ญานัน้ เรื่อยไป
หรอื กำ� ลงั กายคอื ความแขง็ แรงมสี ขุ ภาพดี ทรง
พลงั สามารถและชำ� นาญในการใชแ้ ขนใชม้ อื ใช้ ทศพิธราชธรรม
อาวธุ ตลอดจนก�ำลงั ยุทโธปกรณ์ทพี่ รง่ั พร้อม ธรรมของพระราชายงั มอี กี ชดุ หนง่ึ เปน็ ชดุ
๒. โภคพลัง ก�ำลังโภคสมบัติ คือ มีทุน ท่ีคนไทยรู้จักดที ่ีสดุ (ร้จู ักช่อื ดี แตเ่ น้อื ธรรมไม่
ทรัพย์บริบูรณ์ มีท้องพระคลังใหญ่โต พร้อม คอ่ ยเข้าใจ) และได้ยนิ เอย่ อา้ งกันบอ่ ยมาก คอื
ท่ีจะใช้บ�ำรุงเลี้ยงคน และด�ำเนินกิจการได้ไม่ ทศพิธราชธรรม หรอื ราชธรรม ๑๐ ประการ
ติดขดั เป็นคุณสมบัติประจ�ำพระองค์ แม้แต่หัวข้อก็
๓. อมจั จพลงั ก�ำลังอ�ำมาตย์ หรอื ก�ำลงั มาก จึงจ�ำยาก พูดยาก แต่ก็มีบอกไว้เป็นคาถา
ขา้ ราชการ คอื มที ปี่ รกึ ษา มนตรี และขา้ ราชการ ซึ่งชว่ ยให้นา่ ท่องไว้ และจ�ำกไ็ มล่ �ำบาก จึงบอก
ช้ันปกครอง และระดับบริหารท่ีทรงคุณวุฒิ คาถาไว้ให้ดูง่ายทีหน่ึงก่อน (ขุ.ชา.๒๘/๒๔๐/๘๖)
เก่งกล้าสามารถ และจงรักภักดี ซ่ือสัตย์ต่อ ดังน้ี
แผ่นดนิ
๔. อภชิ ัจจพลงั กำ� ลังความมีชาติสงู คือ ทานํ สลี ํ ปรจิ จฺ าคํ อาชชฺ วํ มททฺ วํ ตปํ
ก�ำเนิดในตระกูลสูง เป็นขัตติยชาติ ต้องด้วย อกโฺ กธํ อวิหสึ ญฺจ ขนฺตญิ ฺจ อวโิ รธนํ
ความนิยมเชิดชูของมหาชน และได้รับการฝึก จะอธบิ ายทศพธิ ราชธรรม คือราชธรรม
อบรมมาแลว้ เปน็ อยา่ งดตี ามประเพณแี หง่ ชาติ (ธรรมของพระราชา) ๑๐ ประการน้ันแสดง
ตระกูลนนั้ ความหมายพอเป็นพนื้ ฐานความเขา้ ใจ ดังน้ี
๕. ปญั ญาพลงั กำ� ลงั ปญั ญา คอื ทรงพระ- ๑. ทาน อวยทาน คือ พระราชทานทรพั ย์
ปรชี าสามารถหย่ังรเู้ หตผุ ล ผิดชอบ ประโยชน์ ส่ิงของ บ�ำรุงเลี้ยง ช่วยเหลือประชาราษฎร์
มิใช่ประโยชน์ สามารถวินิจฉัยเหตุการณ์ และบ�ำเพญ็ สาธารณประโยชน์
ทั้งภายในภายนอก และด�ำริการ จัดการ ๒. ศีล รักษาศีล คือ ส�ำรวมกายและวจี
ดำ� เนนิ การทงั้ หลาย ให้ได้ผลเปน็ อย่างดี ประกอบการท่ีดีงามสุจริต รักษากิตติคุณให้
พาหาพลงั กำ� ลงั แขน กำ� ลงั กาย และกำ� ลงั ควรเปน็ แบบอยา่ ง และเปน็ ทเี่ คารพนบั ถอื ของ
ยุทโธปกรณ์ แม้จะส�ำคัญ แต่ท่านจัดว่าต�่ำสุด ประชาราษฎร์ มิใหม้ ีข้อท่ีใครจะดแู คลน
หากไม่มีพลังอ่ืนควบคุมค้�ำจุนอาจกลายเป็น ๓. ปริจาคะ เสียสละได้ คือ เสียสละ
ความสขุ สำ� ราญ เปน็ ตน้ ตลอดจนชวี ติ ของตนได้
เพอ่ื ประโยชนส์ ขุ ของประชาชน และความสงบ
เรียบรอ้ ยของบา้ นเมอื ง

18 ๒๙

๔. อาชวะ มีใจซ่ือตรง คือ ซ่ือตรงทรง
สัตย์ ไร้มารยา ปฏิบัติภารกิจโดยสุจริต มี
ความจรงิ ใจ ไม่หลอกลวงประชาชน
๕. มัททวะ ทรงความอ่อนโยน คือ มี
อัชฌาสัยไม่เย่อหย่ิง หยาบคาย กระด้าง ถือ
องค์ มีความงามสงา่ เกดิ แตท่ ว่ งทกี ิริยา สุภาพ
นมุ่ นวล ละมุนละไม ใหไ้ ด้ความรักภักดี แต่มิ
ขาดยำ� เกรง
๖. ตปะ ทรงเดชข่มกิเลสได้ คือ แผดเผา
กิเลสตัณหา มิให้เข้ามาครอบง�ำย่�ำยีจติ ระงับ อย่างใด กไ็ ม่หมดก�ำลงั ใจ ไม่ละทิ้งกจิ กรณียท์ ี่
ยับยั้งข่มใจได้ ไม่ยอมหลงใหลหมกมุ่นใน บำ� เพญ็ โดยชอบธรรม
ความสุขส�ำราญและความปรนเปรอ มีความ ๑๐. อวิโรธนะ ไม่คลาดธรรม คือ วาง
เปน็ อยสู่ มำ่� เสมอ หรอื งา่ ยๆ สามญั มงุ่ มน่ั แตจ่ ะ องค์เป็นหลักหนักแน่นในธรรม คงที่ ไม่เอน
บำ� เพญ็ เพยี ร ท�ำกจิ ใหบ้ รบิ ูรณ์ เอยี งหวนั่ ไหวเพราะถอ้ ยคำ� ดรี า้ ย ลาภสกั การะ
๗. อักโกธะ ไม่เกรี้ยวโกรธ คือ ไม่ หรืออิฏฐารมณ์ อนิฏฐารมณ์ใดๆ สถิตม่ันใน
กร้ิวกราดลุอ�ำนาจความโกรธ จนเป็นเหตุให้ ธรรม ทั้งส่วนยุติธรรม คือ ความเที่ยงธรรม
วินิจฉัยความและกระท�ำการต่างๆ ผิดพลาด ก็ดี นิติธรรม คือ ระเบียบแบบแผนหลักการ
เสียธรรม มีเมตตาประจ�ำใจไว้ระงับความ ปกครอง ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณี
เคืองขุ่น วินิจฉัยความและกระท�ำการด้วยจิต อนั ดงี าม กด็ ี ไมป่ ระพฤตใิ หเ้ คลอ่ื นคลาดวบิ ตั ไิ ป
อนั ราบเรียบ ไม่ว่วู าม เผลอขาดสติ พระราชาทรงทศพิธราชธรรมน้ีแล้ว ทรง
๘. อวิหิงสา ไมก่ ดขข่ี ม่ เหง คือ ไมบ่ ีบคนั้ ด�ำรงมั่นในความเป็นธรรมาธิปไตย ด�ำเนิน
กดขี่ เชน่ เกบ็ ภาษขี ดู รดี หรอื เกณฑแ์ รงงานเกนิ ไปในพระราชกิจตามจักรวรรดิวัตรเป็นหลัก
ขนาด ไม่หลงละเลิงอ�ำนาจ ขาดความกรุณา ยนื แผพ่ นู ขยายพระราชกรณยี อ์ อกไปในราช-
หาเหตุเบียดเบียนลงโทษอาชญาแก่ประชา- สังคหวัตถุ ๔ โดยมีพลังแห่งขัตติยพละ ๕
ราษฎรผ์ ้ใู ดเพราะอาศยั ความอาฆาตเกลียดชงั เปน็ ทุนท่คี ำ้� จนุ หนนุ ให้พรอ้ ม
๙. ขันติ อดได้ทนได้ คือ อดทนต่องาน ก็เป็นอันครบ ๔ หมวดแห่งธรรมของ
ต่อความล�ำบากตรากตร�ำ ต่อถ้อยค�ำกระทบ พระราชา ส�ำหรับองค์พระมหากษัตริย์ ที่
กระทั่ง ถึงจะเหนื่อยยากเพียงไร ก็ไม่ท้อถอย เป็นประเพณีในประเทศไทย ซ่ึงได้คัดมาจาก
ถึงจะถูกยั่วถูกหยันด้วยค�ำเสียดสีถากถาง พระไตรปิฎกที่พระพุทธเจา้ ตรัสสอนไว้

ทม่ี า : ธรรมกถาหลังสวดปาตโิ มกข์ ท่อี ุโบสถวดั ญาณเวศกวนั วนั ท่ี ๙ มิถุนายน ๒๕๖๐ (ตรงกบั วนั เสด็จเถลิงถวัลย-
ราชสมบตั ิ ณ วนั ท่ี ๙ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๔๘๙) ไดจ้ ดั พมิ พเ์ ปน็ ธรรมทานบญุ กิรยิ าบรมราชทู ศิ วันพระราชพธิ ถี วาย
พระเพลงิ พระบรมศพ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร วันพฤหสั บดีที่ ๒๖ ตุลาคม
พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ (ท่านสามารถขอรบั ฉบับเต็มได้ทว่ี ัดญาณเวศกวนั อ. สามพราน จ. นครปฐม และ download
มาอ่านเพม่ิ เติม ได้ท่ี เวบ็ ไซตว์ ัดญาณเวศกวนั และมีฉบบั แปลภาษาองั กฤษดว้ ย)

๒๙ 19

พระอาจารย์ชยสาโร
พระธรรมเทศนา

ตสุ ติ าลยธรรม

ท่มี า : แสดงธรรมทศี่ าลาดุสติ าลยั สวนจิตรลดา พระราชวงั ดุสิต วนั จันทร์ท่ี ๑๘ กันยายน พศ. ๒๕๖๐

ขอเจริญพร วนั นีอ้ าตมามโี อกาสใหข้ ้อคดิ สูงสุดไม่ได้อยู่อื่นไกล แต่อยู่ในการท�ำความ
ในเรื่องธรรมะ ค�ำว่าธรรมะเป็นค�ำที่ศักดิ์สิทธิ์ เข้าใจในชวี ติ จรงิ ในสง่ิ ท่เี ปน็ ธรรมดาๆ ทเ่ี รา
เป็นค�ำสูงมาก และในขณะเดียวกันก็เป็นค�ำที่ มกั จะมองขา้ ม
ธรรมดาท่ีสุด ค�ำว่าธรรมะใช้ในความหมาย ฉะนัน้ ความศักด์สิ ิทธิ์ไมไ่ ดอ้ ยทู่ ่สี งิ่ ล้ีลับ แต่
สัจธรรมความจริง ในความหมายของค�ำสั่ง อย่ใู นการท�ำความเขา้ ใจใหม่กับของเก่า ของ
สอนที่จะน�ำพวกเราให้ถึงความเป็นจริงของ เกา่ คอื อะไร ? กเ็ ริ่มตงั้ แต่เร่อื งกายเร่อื งใจของ
ชวี ติ และโลกทเ่ี ราอยอู่ าศยั แตค่ ำ� วา่ ธรรมะหรอื เรานนั่ เอง ชวี ติ ของเราประกอบดว้ ยการกระทำ�
ธรรมมีความหมายอีกนัยหนึ่งว่าส่ิงใดส่ิงหน่ึง การกระทำ� เราแบง่ ออกเปน็ สองอย่าง คอื การ
หรือถ้าแปลภาษาอังกฤษอาจจะตรงกับค�ำว่า กระทำ� ดว้ ยเจตนา และการกระทำ� ทไ่ี มม่ เี จตนา
phenomena ซึ่งสอนให้เราเห็นว่าความจริง หรือไร้เจตนา การกระท�ำหรือเจตนาที่ปรากฏ

20 ๒๙

ทางกาย ทางวาจา ทางใจ ท่านใช้คำ� ว่า กรรม
หรอื จะใชอ้ กี คำ� หนงึ่ วา่ ท�ำ กย็ งั ได้ หมายความวา่
ตงั้ แตเ่ ราตน่ื เชา้ ตลอดจนถงึ เวลาทเี่ รานอนหลบั
ตอนกลางคนื เราย่อมมกี ารกระทำ� ตลอดเวลา
ส่วนมากส่วนใหญ่ก็เป็นการกระท�ำด้วยเจตนา
นน่ั กค็ อื กรรม นน่ั คอื การกระทำ� นนั่ กค็ อื “ท�ำ”
ท่ีเราปฏิบัติ ฉะนั้นการท่ีญาติโยมจ�ำนวนไม่
น้อย ถือว่ายังไม่ถึงเวลาปฏิบัติธรรม อาตมา
เห็นว่าเป็นความเข้าใจผิด เพราะว่าไม่เข้าใจ
ความหมายของคำ� วา่ ธรรม คอื ในชวี ติ ของเรา
เราต้องมีการปฏิบัติธรรมอยู่ตลอดเวลา
ทางเลือกของเรา ไมไ่ ดอ้ ยู่ระหวา่ งปฏิบตั ิ การกระท�ำที่เปน็ อกุศล ซง่ึ เปน็ เหตุให้เกิดทกุ ข์
ธรรมหรือไมป่ ฏิบตั ิธรรม แตท่ างเลอื กของเรา ทง้ั แก่ตนเอง และเหตุใหเ้ ราสร้างความทุกข์ให้
อยู่ระหว่างปฏิบัติกุศลธรรมหรือปฏิบัติอกุศล กบั คนอน่ื
ธรรม หรอื ถา้ จะพดู อกี นัยหน่งึ หรืออกี สำ� นวน คงเป็นที่ยอมรับกันว่า มีหลายสิ่งหลาย
หนงึ่ เรยี กวา่ ปฏบิ ตั ธิ รรมหรอื ปฏบิ ตั อิ ธรรม และ อยา่ งในชวี ติ ทเ่ี รารวู้ า่ ไมด่ ี แตเ่ ลกิ ไมไ่ ดซ้ กั ที และ
ในชวี ติ ของเรา การกระทำ� เปน็ ตวั กำ� หนดความ มหี ลายสง่ิ หลายอยา่ งทรี่ วู้ า่ ดี ยอมรบั วา่ ดี แตย่ งั
เจริญ - ความเสื่อม ไมข่ ึ้นอยู่กับการดลบนั ดาล ท�ำไม่ได้เลย แล้วท�ำไมเป็นเช่นน้ัน ในเมื่อสติ
ของสง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธทิ์ ไี่ หน แตข่ นึ้ อยกู่ บั คณุ ภาพของ ปัญญาได้ก�ำหนดว่าส่ิงนี้ไม่ดี ควรเลิก แต่เรา
การกระท�ำ ไม่มีพระเจ้าท่ีไหนสร้างโลกให้เรา เลิกไม่ได้ ส่ิงนี้ดีควรท�ำ แต่เราท�ำไม่ได้ เป็น
เราเปน็ ผูส้ รา้ งโลกให้กับตวั เอง สรา้ งโลกท้ังใน เพราะอะไร ใครเปน็ ผบู้ งั คับ ไมม่ ีใครบงั คบั มัน
ความหมายส่วนตัวและในความหมายสากล เปน็ ความออ่ นแอของจติ ใจของเราเอง ทง้ั ๆ ท่ี
ถา้ ความหมายสากล หมายความวา่ การกระทำ� เราต้องการความสุข เรามักจะสร้างเหตุสร้าง
ของพวกเรา เป็นผู้ก�ำหนดความเป็นอยู่ของ ปัจจัยให้เกิดทุกข์มากกว่า ไม่มีใครอยากเป็น
ชมุ ชน ชุมชนเล็กทสี่ ุดคอื ครอบครวั ของเรา ไป ทุกข์แม้แต่นิดเดียว แต่อดไม่ได้ท่ีจะสร้างเหตุ
จนถงึ สงั คมและโลกทเ่ี ราอาศยั อย ู่ โลกนจ้ี ะอยู่ สร้างปัจจัยให้ทุกข์นั้นเกิดขึ้นทุกวัน ฉะนั้นเรา
ได้ก็อยู่ท่ีพวกเรา โลกนี้จะอยู่ไม่ได้ก็อยู่ท่ีการ อยู่ในโลกนี้ เราเป็นผู้ที่อยู่ด้วยการกระท�ำ แต่
กระทำ� ของมนษุ ยแ์ ตล่ ะคน การกระท�ำท่ที �ำใหช้ ีวิตดีขึ้น โลกดีขึน้ กม็ ี ท่ที ำ�
พระพุทธศาสนาจึงสอนให้เรารับผิดชอบ ใหช้ ีวติ เลวลง โลกเลวลงก็มี
ชวี ติ ของตน หนา้ ทข่ี องตน หนา้ ทตี่ อ่ ชวี ติ หนา้ ที่ ฉะนน้ั สงิ่ ทส่ี ำ� คญั ทสี่ ดุ ในชวี ติ กค็ อื เราตอ้ ง
ตอ่ ครอบครวั หนา้ ทตี่ อ่ ชมุ ชน หนา้ ทต่ี อ่ ประเทศ พัฒนาชีวิตตัวเองอย่างไร เพื่อเราจะได้ด�ำเนิน
ชาติ หน้าทีต่ อ่ โลก ฉะนน้ั ถ้าเราไม่มีเปา้ หมาย ชวี ติ ในทางทสี่ อดคลอ้ งกบั อดุ มการณแ์ ละหลกั
ชีวิตในการพัฒนาตน ก็ยากท่ีเราจะได้ป้องกัน การ พระพทุ ธองคก์ ต็ รสั ถงึ การประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ

๒๙ 21

ธรรมว่า เป็นสิ่งท่ีไม่เหลือวิสัยของมนุษย์ เคย คอื Islamic religions เขาถือวา่ ความเชอ่ื กับ
ตรัสไว้ว่า ถ้าการละบาป การบ�ำเพ็ญกุศล ศาสนา เป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน เม่ือเป็นเช่น
การชำ� ระจิตใจให้ขาวสะอาด เป็นสงิ่ ท่พี วกเธอ นน้ั กม็ กั จะมปี ญั หาตามมาวา่ เมอื่ ความเชอ่ื ของ
ทำ� ไมไ่ ด้ พระตถาคตไมส่ อนหรอก ทพี่ ระตถาคต แตล่ ะศาสนาไมต่ รงกนั แล้วมคี �ำสอนวา่ เฉพาะ
พรำ�่ สอนกเ็ พราะวา่ เปน็ สง่ิ ทพี่ วกเธอท�ำได้ และ ศาสนาของตนเทา่ นนั้ ทถี่ กู กย็ ากทจ่ี ะหลกี เลย่ี ง
ควรท�ำ ฉะนน้ั ในชวี ติ ของเรา ถา้ เราไมม่ เี ปา้ หมาย การขัดแย้งระหว่างศาสนาได้ ที่เราเห็นจาก
ทางจิตใจในการพัฒนาชีวิต เรามักจะหลงอยู่ ประวตั ศิ าสตรข์ องโลกตะวนั ตก ซงึ่ มสี งครามมี
กับวัตถุเป็นส่วนมาก ความเจริญด้วยวัตถุเป็น การรบราฆา่ ฟนั เพราะเหตจุ ากศาสนาตลอดมา
เปา้ หมายหนงึ่ ในชวี ติ ซง่ึ เราไมไ่ ดด้ หู มนิ่ ถอื วา่
ส�ำคัญเหมือนกัน แต่ถ้าจิตใจของเรามุ่งมั่นแต่
เฉพาะในวัตถุอย่างเดียว ชีวิตของเราก็ไม่
สมบูรณ์ แล้วก็เป็นท่ีน่าสังเกตว่าผู้ท่ีให้ความ
มงุ่ มน่ั ในชวี ติ แคบลง จนเหลอื แตเ่ รอื่ งลาภ เรอ่ื ง
ยศ เรอ่ื งสรรเสริญ เรือ่ งสุข สิ่งเหลา่ นี้ จะรสู้ ึก
วา่ ขาดอะไรซกั อยา่ งอยใู่ นจติ ใจตลอดเวลา รสู้ กึ
วา่ ไดเ้ ทา่ ไหรก่ ไ็ มพ่ อซกั ท ี ทเ่ี ปน็ เชน่ นน้ั เพราะวา่
เราก�ำลังแสวงหาความสุขท่ีเท่ียงแท้ถาวรจาก
สงิ่ ทไ่ี มเ่ ทย่ี งไมแ่ ทไ้ มถ่ าวร สง่ิ เหลา่ นนั้ ไมม่ คี วาม
ผิดอยูใ่ นตัวหรอก แตเ่ รามีความคาดหวงั ในสง่ิ
เหลา่ นนั้ ซง่ึ เขาไมส่ ามารถจะใหแ้ กเ่ ราได ้ ดงั นน้ั
พร้อมกับการพัฒนาด้านนอก พัฒนาทางด้าน
อาชพี แลว้ เราทกุ คนควรจะมกี ารพฒั นาดา้ นใน
ไว้ด้วย ด้านนอกด้านในก็มคี วามสัมพันธ์พงึ่ พา สว่ นพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนาคนละตระกลู
อาศัยกัน กัน เป็นตระกูลของศาสนาท่ีเกิดในประเทศ
ศาสนาในโลกน้ีมีหลายศาสนา แตศ่ าสนา อินเดีย พุทธศาสนาไม่ได้ให้ความส�ำคัญกับ
ทัง้ หลายน้ีเราสามารถแบง่ ออกเปน็ ๒ ตระกลู ความเช่ือและศรัทธามากเท่าศาสนาท่ีเกิดข้ึน
ใหญค่ ือ ตระกูลศาสนาท่เี กดิ ขนึ้ ในตะวันออก- ในตะวันออกกลาง แทนท่ีจะเป็นระบบความ
กลาง ซ่ึงมีศาสนายิว ศาสนาคริสต์ ศาสนา เชอื่ อยา่ งเชน่ ศาสนาอน่ื นนั้ เอกลกั ษณข์ องพทุ ธ
อิสลามเป็นหลักใหญ่ ศาสนาเหล่าน้ีถือว่า ศาสนาเปน็ ศาสนาแหง่ การศกึ ษา อรยิ มรรคมี
ศรทั ธา ความเชอื่ คอื คุณธรรมหลัก คณุ ธรรม องค์ ๘ ซึ่งเป็นหลักการปฏิบัติ ในทางพุทธ
ใหญ่ ซึ่งเราจะเหน็ ได้จากส�ำนวนภาษาอังกฤษ ศาสนานน้ั มกั จะยอ่ ลงเปน็ ๓ เรยี กวา่ ไตรสกิ ขา
ในสมัยน้ที ่ีชอบใชค้ ำ� ว่า Christian faiths คอื สิกขานั้นก็ตรงกับภาษาไทยว่า “ศึกษา” แต่
Christian religions และ Islamic faiths ค�ำว่าศึกษาในสมัยก่อนน้ันหรือในความหมาย

22 ๒๙

ของสกิ ขานนั้ จะหมายถงึ เลา่ เรยี นดว้ ย ปฏบิ ตั ิ
ตามสง่ิ ทเี่ ลา่ เรยี นดว้ ย เรยี กวา่ สกิ ขาหรอื ศกึ ษา
และพทุ ธองค์ใหเ้ รามีสกิ ขา ใหม้ กี ารฝึกตน ให้
มีการศึกษา มีการค้นคว้า มีการฝึกปรืออยู่ใน
เรื่องพฤตกิ รรม ๑ เรอื่ งจติ ใจ ๑ เรื่องปญั ญา ๑
คำ� สง่ั สอนของพระพทุ ธเจา้ ในอรยิ มรรคมอี งค์
๘ หรอื ในไตรสกิ ขา นคี้ อื ระบบองคร์ วม หมาย
ถงึ วา่ เวลาเราจะปฏบิ ตั ิ เราตอ้ งปฏบิ ตั ทิ งั้ ๓ ดา้ น
ทงั้ ๓ ขอ้ พรอ้ มกนั เลย ทางดา้ นพฤตกิ รรมดว้ ย
ทางดา้ นจติ ใจดว้ ย ทางดา้ นปญั ญาดว้ ย อยา่ ง
เราอยากจะเปลย่ี นพฤตกิ รรมของใคร เรากต็ อ้ ง
มียุทธศาสตร์ยทุ ธวธิ ี ทั้งในดา้ นพฤตกิ รรมด้วย สงั คม ? เรยี กวา่ เปน็ พน้ื ฐานทเี ดยี ว ทม่ี นษุ ยเ์ รา
ด้านจิตใจด้วย ด้านปัญญาด้วย จึงจะประสบ ไมว่ า่ จะเปน็ ผทู้ นี่ บั ถอื ศาสนา หรอื ผไู้ มม่ ศี าสนา
ความส�ำเร็จ สิ่งที่ทุกคนต้องการ และไม่มีใครขาดได้ คือ
ส่วนของพฤติกรรมนั้นจะเป็นส่วนของ อะไร ถ้าตอ้ งการความสขุ คำ� ตอบข้อแรกก็คอื
ศีลธรรม ทนี ศ้ี ีลธรรมในทางพทุ ธศาสนาถ้าเรา ความร้สู ึกปลอดภยั ทุกคนตอ้ งการความรู้สกึ
ดทู ่ศี ลี ๕ เปน็ ต้น ดทู ลี ะขอ้ เราอาจจะสรุปได้ ปลอดภัย ถ้าเราอยู่ที่ไหนรู้สึกไม่ปลอดภัย
ว่าคล้ายกับศาสนาอ่ืน มีอะไรซ�้ำกันหลายข้อ ความสขุ เกดิ ขนึ้ ไมไ่ ด้ ถงึ จะนง่ั สมาธกิ จ็ ะไมส่ งบ
อยู่ แต่ศีลธรรมในทางพุทธศาสนามีอะไรที่ ถ้ารู้สึกไม่ปลอดภัย ถ้าครอบครัวไม่ปลอดภัย
ค่อนข้างแตกต่างจากศาสนาอื่น เพราะว่าไม่ ลกู หลานไมป่ ลอดภยั จติ ใจปลอ่ ยวางอะไรไมไ่ ด้
เชื่อว่ามีผู้ดลบันดาลหรือผู้ส่ังว่ามนุษย์ท่ีดีต้อง เพราะกังวล ฉะนั้นผู้ท่ีอยู่ในสังคมทุกคนต้อง
ประพฤติตัวอย่างนี้ ต้องไม่ประพฤติตัวอย่าง การความรสู้ ึกปลอดภัย ศลี ธรรมคอื แนวทางท่ี
นัน้ ไมม่ ีการล่อดว้ ยรางวลั ไม่มกี ารขูด่ ว้ ยโทษ จะน�ำไปสู่ความรู้สึกเช่นน้ันได้ โดยท่ีทุกคนให้
ว่า คนดีตายแลว้ ข้นึ สวรรค์ คนชั่วตายแล้วตก สญั ญาตอ่ กนั และกนั วา่ จะไมท่ ำ� จะไมพ่ ดู ในสง่ิ
นรก อันนั้นไม่ใช่ศีลธรรมในทางพุทธศาสนา ท่ีท�ำให้คุณรู้สึกว่าไม่ปลอดภัย อย่างเช่นจะไม่
เรื่องสวรรคน์ รก เราไม่ไดป้ ฏเิ สธ เรากย็ อมรับ เบียดเบียนโดยกาย โดยวาจา เปน็ อันขาด
แต่ในเร่ืองการใหก้ �ำลงั ใจ หรือวา่ ชักชวนใหค้ น ระบบศลี ธรรม ถา้ ตามระบบพุทธศาสนา
รกั ษาศลี เราไมเ่ อาชาตหิ นา้ มาเปน็ เครอื่ งบงั คบั เรานน้ั ยอมรบั วา่ กเิ ลสเรากย็ งั มอี ยู่ เหมอื นกบั
ใจคน แตเ่ ราเรม่ิ ตน้ ดว้ ยการพจิ ารณาความเปน็ เราพดู กบั คนรอบขา้ งวา่ ยอมรบั วา่ บางครงั้ บาง
อยขู่ องมนษุ ยท์ ดี่ ี และความเปน็ อยขู่ องมนษุ ยท์ ี่ คราวนี้ เราโกรธ เราโมโห บางทีคดิ จะท�ำร้าย
ไม่ดี ความเปน็ อยู่ทมี่ ีปญั หา และความเป็นอยู่ รา่ งกายดว้ ยซำ�้ ไป อาจจะมคี วามคดิ เพราะหา้ ม
ทไี่ มม่ ปี ัญหาหรอื มีปัญหาน้อย เราตัง้ คำ� ถามวา่ ความคิด ห้ามความรูส้ กึ ของตวั เองไมไ่ ด้ แตข่ อ
อะไรเป็นสิ่งที่ทุกคนต้องการในชีวิตทางด้าน สญั ญาไวว้ า่ ไมว่ า่ อารมณภ์ ายในใจเราจะรนุ แรง

๒๙ 23

ขนาดไหน ก็จะไม่เบียดเบียนด้วยกาย ด้วย ยาก เรอื่ งหนง่ึ คอื ความสขุ ความรสู้ กึ ปลอดภยั
วาจา แบบน้ีคนที่อยู่รอบข้างก็สบายใจใช่ไหม ที่อยู่ในสังคมผู้ทรงศีล เราอยู่ด้วยกัน ไม่ต้อง
รู้สกึ ปลอดภัย คอื ไมไ่ ดค้ าดหวังท่วี า่ เขาตอ้ งรัก สงสยั เลย ไมต่ ้องระแวงใครเลย ไม่ต้องกลวั วา่
เราในทกุ ๆ เรอ่ื ง แบบเปน็ พเ่ี ปน็ นอ้ งกนั คอื ไมไ่ ด้ ใครโกรธ ใครโมโห จะทำ� รา้ ยร่างกาย ไมต่ ้อง
หวังให้คนมีกิเลสเป็นคนบริสุทธิ์ผุดผ่อง ก็รู้ว่า กลวั วา่ ของจะหาย ไมต่ อ้ งกลวั วา่ คนรอบขา้ งจะ
มีกิเลสกันท้ังน้ัน แต่ที่ส�ำคัญที่อยากให้สังเกต เบยี ดเบยี น ไมว่ า่ ทางตรงหรอื วา่ ทางออ้ ม ไมต่ อ้ ง
คนเราไมอ่ าจหา้ มความคดิ ไมใ่ หเ้ กดิ ขน้ึ แตส่ ง่ิ ระแวงว่าพูดจริงหรือเปล่า อันนี้เป็นความสุข
ทมี่ นษุ ยท์ กุ คนท�ำได้ คอื หา้ มปฏบิ ตั ติ ามความ พน้ื ฐานในชวี ติ ทเ่ี ราควรจะปรารถนา และควร
คดิ น้ัน เราหมายถึงว่าถ้าเปน็ มโนกรรมยังหา้ ม จะมีส่วนในการให้กับคนที่เรารักและคนที่เรา
ไม่ได้ แต่กายกรรม วจีกรรมเราห้ามได้ เรา อยู่ด้วยกัน มันไม่ยากนะ มนั ท�ำได้ แต่จะท�ำได้
สัญญากบั คนรอบขา้ งวา่ จะไม่เบยี ดเบยี น เปน็ อย่างสม�่ำเสมอ ต่อเน่ืองได้ จะต้องมี การฝึก
การให้ความสบายใจ ให้ความรู้สึกปลอดภัย ในอีก ๒ ด้านพร้อมกัน คอื ในด้านจิตใจ และ
แก่เขา เราจะไม่ถือของที่เจ้าของไม่ได้ให้เป็น ในดา้ นปัญญา
อนั ขาด เราจะไมน่ อกใจ เราจะไม่โกหก เราจะ
ไม่หลอกลวง ถ้าเราสัญญาไว้กับคนรอบข้าง
เราได้อย่างน้ี เขาจะมีความสุขมากขึ้นทันที
ศลี สีข่ อ้ นี้ ธรรมดาเราอาจจะรักษาไว้ได้ แต่ถา้
ดมื่ เหลา้ ดว้ ยกร็ บั รองตวั เองไมไ่ ดใ้ ชไ่ หม เพราะ
วา่ หลายคนเวลาไมเ่ มา เวลาไมด่ มื่ ใจดี แตพ่ อดมื่
แลว้ กเ็ ปลยี่ นเปน็ คนละคน ฉะนนั้ ถา้ เรายงั รกั ษา
ศีลข้อท่ี ๕ ไม่ได้ เราก็ให้ความรู้สึกปลอดภัย
กับคนรอบข้างไม่ได้เต็มที่ เพราะจะต้องมี
เงื่อนไขว่า เม่ือไหร่เราไม่เมา เมื่อเราไม่ดื่ม
เราสัญญานะว่าเราจะไม่เบียดเบียน จะไม่ถือ
ของท่ีเจา้ ของไมไ่ ดใ้ ห้ จะไมน่ อกใจ จะไมโ่ กหก
แตถ่ ้าด่ืมเมือ่ ไหรร่ ับรองตัวเองไมไ่ ด้ อย่างนีค้ ง เพราะอะไรเป็นส่ิงท่ีท�ำให้เกิดปัญหาและ
ไม่ใช่ เราจึงต้องงดจากการดื่มด้วย ท�ำให้เราผิดศีล ท�ำให้เกิดความไม่ยุติธรรม
ฉะนั้น พระพุทธองค์บอกว่าจะเป็นผู้ท่ี ท�ำให้เกิดคอรัปชั่น ท�ำให้เกิดความประพฤติ
ไดบ้ ุญ เพราะเป็นผู้ที่ให้มหาทาน มหาทานคอื ท่ีไม่เรียบร้อย ไม่ถูกต้อง เพราะกิเลสในจิตใจ
การให้ความรสู้ ึกปลอดภัยกบั คนรอบขา้ ง ถ้า คนใช่ไหม เราก็ต้องมาจัดการกับกิเลสที่อยู่ใน
ญาติโยมดูชีวิตของพระสงฆ์ บางทีจะสงสัยว่า ใจ และจะจัดการอย่างไร ? ก็จะต้องพัฒนา
ท่านอยไู่ ดอ้ ย่างไร ท่านกไ็ มม่ อี ะไร ทา่ นอยยู่ าก คณุ ธรรมตา่ งๆ ซง่ึ เปน็ ปฏปิ กั ษก์ บั กเิ ลสโดยตรง
แต่พระเราได้อะไรหลายอย่างท่ีญาติโยมหาได้ อย่างเช่นในกรณีที่เราเป็นคนขี้โกรธ ขี้โมโห

24 ๒๙

อยใู่ นสมอง กย็ งั ถอื ว่ายังอยใู่ นปจั จบุ ัน ไม่ใชว่ ่า
อยู่ในปัจจุบันคอื อยู่เหมอื นสัตวเ์ ดรจั ฉาน ไมม่ ี
ความคิดอะไรอยู่ในสมองเลย สมองคนเรานะ
ถา้ ดใู หด้ ี ขยะเยอะนะ เรยี กวา่ ขยะสมอง การฝกึ
จิต ไม่ใช่ว่าต้องการให้อยู่แบบไม่คิดอะไรเลย
แตเ่ ม่อื ความคดิ ของเรามีส่วนเกนิ มาก มีความ
คิด มีอารมณ์ ท่ีไม่น�ำไปสู่ความสุข ไม่น�ำไปสู่
ประโยชน์ในชีวิตเราเลย เรามาฝึกจิตเพ่ือขจัด
ส่วนเกินท่ีท�ำให้จิตใจเราเศร้าหมอง ก็น่าจะ
ถือว่าเป็นงานส�ำคัญ แม้แต่การใช้เหตุผล ถ้า
หากเราไม่ฝึกคิดกล่ันกรองความคิดในสมอง
การใชเ้ หตผุ ลกจ็ ะถกู ดงึ ไปโดยไมร่ ตู้ วั ใชไ่ หม คดิ
เข้าข้างตัวเองบ้าง เรียกว่าคิดอย่างมีจุดบอดก็
เปน็ ตน้ เรากเ็ นน้ ทเี่ มตตาธรรม ตอ้ งเนน้ ทคี่ วาม มีเยอะ เป็นไปได้ง่าย เพราะถ้าเราก็ไม่รู้อะไร
อดทน และทส่ี ำ� คญั ทส่ี ดุ คอื สติ สตคิ อื รตู้ วั อยใู่ น เปน็ อะไรอยใู่ นใจแลว้ มนั จะเตม็ ไปดว้ ยอารมณ์
ปัจจุบัน ร้กู ายรใู้ จอยใู่ นปัจจบุ ัน เตม็ ไปด้วยความฟุ้งซา่ นวนุ่ วายตา่ งๆ ยากท่จี ะ
ฉะนนั้ การฝกึ จติ เรายำ้� มากใชไ่ หมในการ ปอ้ งกนั ความบรสิ ทุ ธขิ์ องเหตผุ ลทต่ี อ้ งการใชใ้ น
อยู่ในปัจจุบัน แต่ในการอยู่ในปัจจุบันน้ัน เรา การแกป้ ัญหา ในการสร้างประโยชน์ ฉะนนั้ ใน
ไมไ่ ดห้ มายความวา่ ห้ามเอาเรอื่ งในอดีตมาคดิ เรอ่ื งของไอควิ เรือ่ งของความคิด เราต้องรู้จัก
ห้ามเอาอนาคตมาคิด มันเป็นไปไม่ได้อยู่แล้ว ปกป้องไม่ให้อารมณ์ครอบง�ำ ฉะน้ันเราต้อง
หรือแม้แต่พระพุทธเจ้าเอง ก็ยังปรารภเรื่อง ฝกึ ดูจิตใจตวั เอง
ในอดีตของพระองค์เพื่อประโยชน์ในปัจจุบัน การอยใู่ นปจั จบุ นั ทว่ี า่ มาน ี้ เปรยี บเหมอื น
แล้วก็ยังทรงพยากรณ์อนาคตว่า ถ้าเราท�ำ เราอยู่ในห้องเรียน คือการท่ีเราจะเรียนรู้เร่ือง
อย่างนี้ๆ พุทธศาสนาจะเสื่อม ถ้าท�ำอย่างน้ีๆ ชีวิตตามความเป็นจริงได้ เราต้องอยู่ในห้อง
พทุ ธศาสนาจะไมเ่ สอ่ื ม เอาเรอ่ื งอดตี มาพดู เอา เรียนคอื ปัจจุบัน และการท่จี ะอยู่ในหอ้ งเรยี น
เรอ่ื งอนาคตมาพูด ด้วยสติ ด้วยความรู้ตวั เพ่อื คอื ปจั จบุ นั ได ้ กต็ อ้ งเจรญิ สต ิ ตอ้ งมวี นิ ยั ภายใน
ประโยชน์อยู่ในปัจจุบัน เพราะฉะนั้นปัจจุบัน เร่ืองวินัยภายนอกจะเป็นวินัยแท้ ต่อเมื่อเรามี
เปน็ จดุ รวมของอดีตและอนาคต วนิ ยั ภายในจติ ใจดว้ ย อยา่ งเชน่ ในกรณที เี่ ราฝกึ
อดีตคืออะไร อดีตก็คือความจ�ำที่ปรากฏ วนิ ยั ดว้ ยการลงโทษแรงๆ อยา่ งผปู้ กครองบางที
อยใู่ นปัจจบุ ัน อนาคตคืออะไร คือความคิดใน กต็ ีลกู ดว้ ยความหวงั ดใี ชไ่ หม แตถ่ ้าเราใชว้ ธิ ลี ง
ปจั จบุ นั ฉะนน้ั ถา้ เรารตู้ วั อยใู่ นปจั จบุ นั รเู้ ทา่ ทนั โทษแรงๆ ผ้ทู ร่ี ับโทษ บางทกี ็จะโกรธ ไมพ่ อใจ
ความจำ� วา่ สกั แตว่ า่ ความจำ� รเู้ ทา่ ทนั ความคดิ กม็ ี แตท่ สี่ ำ� คญั กค็ อื จะกลวั แตไ่ มใ่ ชก่ ลวั ผดิ แต่
ว่า สักแตว่ า่ ความคดิ ถงึ จะมคี วามจ�ำ ความคิด กลวั ถกู จบั การกลวั ผดิ กบั การกลวั ถกู จบั เพราะ

๒๙ 25

ผดิ น้ี มันต่างกันมาก สิง่ ท่ีเราตอ้ งการกค็ อื หิริ-
โอตตปั ปะ ความละอายและความเกรงกลวั ตอ่
บาป อนั นน้ั จะเปน็ ตวั ตำ� รวจ จะเปน็ ตวั ควบคมุ
พฤติกรรมท่ีดีท่ีสุด แม้เราจะบังคับใครให้มีหิริ
มโี อตตปั ปะ อยใู่ นใจไมไ่ ด้ แตเ่ ราสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ
ขึน้ ได้ เม่อื คนมีสตแิ ลว้ การรตู้ วั กม็ ากขึน้ และ
สามารถเหน็ ผลของการกระทำ� ชดั ขึน้ เข้าใจใน
เร่ืองกฎแห่งกรรม ในเม่ือจิตใจของเราสับสน
วุ่นวาย มนั คิดอะไรไมค่ ่อยจะถูก
เมอื่ อาทติ ยท์ แ่ี ลว้ อาตมาคยุ กบั อยั การทา่ น
หนง่ึ ทา่ นพดู ถงึ เรอื่ งคดยี าเสพตดิ วา่ กอ่ นจะโดน
จับ ผู้ทก่ี ระท�ำผดิ ส่วนใหญ่ เขาจะเช่อื วา่ ตัวจะ
ไมถ่ กู จบั การทว่ี า่ ถกู จบั แลว้ จะตดิ คกุ นาน ๕ ปี
๑๐ ปี ๒๐ ปี ๓๐ ปี ไม่มีผลกับการคิด การตัด อยู่ในปัจจุบัน หยุดแล้วจิตไม่ตามกระแสของ
สนิ ใจของเขาเลย เพราะเขาเชอ่ื วา่ เขาไมถ่ กู จบั ความเคยชิน ไมท่ ำ� ตามสญั ชาตญาณ หยุดแลว้
หรอก เพราะถ้าท�ำความผิดแล้ว เขาไม่ถูกจับ ดู เพราะจิตจะหยดุ แล้วมนั ตื่น ตื่นจากหลับ
เขากไ็ มก่ ลวั และนก่ี ค็ อื ความออ่ นแอของสงั คม พอเราหยุดว่าก�ำลงั ท�ำอะไรอยู่ ค�ำวา่ บาป
เรา ที่เราไม่สามารถปลูกฝังหิริโอตตัปปะใน บุญ คณุ โทษ ก็จะมีความหมายข้นึ อยู่ในขณะ
จิตใจของเด็กได้ ให้เขามีสติ มีปัญญาในเรื่อง นนั้ นคี้ อื รากฐานของศลี ธรรม ฝกึ ใหค้ นรตู้ วั อยู่
ของพฤติกรรม ผลของพฤติกรรม การที่พฤติ- ในปจั จบุ นั ไมอ่ ยา่ งนนั้ กต็ ามกระแสของอารมณ์
กรรมเป็นผ้สู รา้ งชวี ติ เปน็ ผสู้ รา้ งสังคม ในการ อารมณ์นี้กระแสมันแรงมาก ถ้าเราไม่ฝึกทวน
ที่เราจะขู่วา่ ถ้าท�ำผดิ แลว้ จะเป็นอยา่ งน้ันอย่าง กระแสด้วยการเจริญสติเป็นประจ�ำ จิตใจมัน
น้แี ลว้ เขาจะกลัว เขาจะไม่ท�ำ มนั ไม่คอ่ ยเปน็ ไม่อยู่ และความคิดท่ีเป็นเหตุผลจะเป็นความ
เชน่ นนั้ ใชไ่ หม เพราะวา่ คนจะคดิ เขา้ ขา้ งตวั เอง คิดที่อยู่ในกรอบแคบๆ หรือจะเป็นความคิด
วา่ เขาฉลาดเกนิ ไป ไมม่ ใี ครจบั เขาไดห้ รอก กม็ ี ท่ีเหมือนกับเป็น “ลูกจ้างของตัณหา” แม้ว่า
ความหวังว่าเขาจะไม่ถกู จับหรอก เหตุผลน้ีจะส�ำคัญมาก แต่ไม่ใช่ค�ำตอบของ
ในการฝึกท่ีดีคือ ฝึกให้จิตใจของเรามีสติ ปญั หาเลยทเี ดยี ว
มากขึ้น ให้รู้ตัวมากขึ้น ให้เห็นความสัมพันธ์ อย่างเช่นดูในอารยธรรมของตะวันตกใน
ระหวา่ งพฤตกิ รรมและจติ ใจมากขน้ึ แลว้ ความ ประเทศอเมริกา ชาวอเมรกิ นั เกือบ ๔๐ เปอร-์
รู้สึกว่าอันน้ีมันน่าเกลียด อันนี้มันน่าละอาย เซ็นต์เช่ือว่าโลกน้ีมีอายุประมาณ ๕,๐๐๐ ปี
อันน้ีมันไม่คุ้ม อันน้ีมันโง่ มันจะเกิดข้ึนได้ ท้ังๆ ที่วิทยาศาสตร์หลายศาสตร์ไม่ว่าดารา-
เพราะคนเราต้องหยุด ก่อนท่ีจะดู ก่อนที่จะ ศาสตร์ ไมว่ า่ ธรณศี าสตร์ ไมว่ า่ ฟสิ กิ ส์ เคมี บอก
เรียนรู้ เราควรจะหยุดตรงไหน ก็ควรจะหยุด เสยี งเดยี วกันว่า โลกนมี้ อี ายเุ ป็นพนั ลา้ นปี แต่

26 ๒๙

ผทู้ ปี่ ฏเิ สธวา่ มแี ค่ ๕,๐๐๐ ปี ไมใ่ ชว่ า่ ไมม่ เี หตผุ ล แตช่ วี ติ ของเรานน้ั มหี ลายสว่ นทวี่ ดั ไมไ่ ด้
นะ แต่เขาถือว่าคัมภีร์ในศาสนา ความเชื่อใน เชน่ ความรกั ความรักวดั ได้ไหม ไม่มีใครวดั ได้
ศาสนาตอ้ งสงู กวา่ เหตผุ ล ถา้ เหตผุ ลกบั คำ� สอน แต่ว่าเป็นของมีจริง ฉะนั้นบางส่ิงบางอย่างนี้
ในคมั ภรี ข์ ดั แยง้ กนั กต็ อ้ งเอาคมั ภรี ไ์ วก้ อ่ น ไมใ่ ช่ ตอ้ งลกึ ลกึ เขา้ ไปอกี ลกึ จากสงิ่ ทวี่ ดั ได ้ สงิ่ ทว่ี ดั
วา่ พวกนง้ี มงายทเี ดยี ว แตว่ า่ สมคั รใจงมงายใน ไดม้ นั ขน้ึ อยกู่ บั เทคโนโลย ี แตส่ งิ่ นม้ี นั ตอ้ งรดู้ ว้ ย
บางเรอื่ ง ดว้ ยศรทั ธา ดว้ ยความเชอื่ ในศาสนา จติ ใจท่พี น้ จากความฟุ้งซ่านวนุ่ วายตา่ งๆ พทุ ธ
ความคดิ ในเหตุผลมนั มกี รอบไดน้ ะ ไมใ่ ชว่ ่ามนั ศาสนาสอนวา่ จะรคู้ วามจรงิ ได ้ ตอ่ เมอ่ื กเิ ลสบาง
จะท�ำงานโดยไม่ต้องยุ่งกับส่วนอ่ืนของชีวติ ตัวไม่ปรากฏ กิเลสที่เป็นอุปสรรคต่อการใช้
ส่วนในทางพุทธศาสนา เมื่อมีความแตก ปญั ญา มชี อื่ โดยเฉพาะวา่ นวิ รณ์ คอื สงิ่ ทขี่ ดั ขอ้ ง
ตา่ งกนั ตรงทวี่ า่ เราไมถ่ อื วา่ ความจรงิ ในศาสนา ขัดขวาง อย่างจะมีความพอใจยินดีในความ
จะปฏเิ สธเหตุผล แตถ่ ือวา่ เหตผุ ลกับความจรงิ คิดซึ่งเป็นเร่ืองต่างๆ ที่เราชอบ ท่านเรียกว่า
จะสอดคลอ้ งกนั ได้ เหตผุ ลเปรยี บเสมอื น ๒ มติ ิ กามฉันทะ อย่างเช่นเรานั่งเรียนหนังสือแล้ว
ถา้ เขา้ ถงึ ความจรงิ ของธรรมชาตดิ ว้ ยจติ ใจทไี่ ด้ เกิดความเบื่อขึ้นมา แล้วจิตเอาเรื่องท่ีชอบคิด
เจริญด้วยสมาธภิ าวนาแล้ว มันจะลกึ เข้าไปอีก ขน้ึ มาปรงุ แตง่ อนั นเ้ี ปน็ อปุ สรรคตอ่ การทำ� งาน
เปน็ มติ ทิ ่ี ๓ แต่มติ ิที่ ๓ จะไม่ขัดกับทงั้ ๒ มติ ิ อปุ สรรคตอ่ การเรยี น อปุ สรรคตอ่ การทำ� สมาธิ
แรก มนั เสรมิ กนั คือความรู้ความเขา้ ใจในหลกั คอื เวลาจติ มคี วามทกุ ข ์ มคี วามเบอื่ หาอะไรดๆี
ธรรม ไมไ่ ดป้ ฏเิ สธหลกั เหตผุ ลหลกั วทิ ยาศาสตร ์ หาอะไรสนุกสนานมาคิด มาปลอบใจ มาเป็น
แต่มันลึกเข้าไป วิทยาศาสตร์ก็เป็นวิธีท่ีจะ เครอื่ งบนั เทงิ ของจติ ใจ ไมอ่ ยา่ งนนั้ กจ็ ะเอาเรอื่ ง
แสวงหาความจรงิ ของสง่ิ ทว่ี ดั ได ้ นค้ี อื ขอ้ จำ� กดั ท่ีเราไม่พอใจ มาคิด มาปรุงแต่ง ไม่อย่างนั้น
ของวทิ ยาศาสตรท์ ่ตี ้องวัดได้ เวลาเราทำ� งานทท่ี ำ� ไดย้ าก จติ ใจมกั จะเกดิ ความ
ง่วงเหงาหาวนอน เพราะขาดความกระตือ-
รือร้นในสิ่งที่เราก�ำลังท�ำอยู่ ไม่อย่างนั้นก็
ฟงุ้ ซา่ น ไม่อยา่ งน้นั ก็ลังเลสงสัย คอื สง่ิ เหล่านี้
เป็นอาการของจิตที่เป็นประจ�ำ เป็นเรื่อง
ธรรมดาของคนทุกคน แต่เพราะปกติเรามอง
ไม่เห็น ทีน้ีเม่ือเราเจริญสติในรูปแบบอย่าง
ทีเ่ รยี กว่าน่งั สมาธิ เดินจงกรมนนั้ เป็นการเปดิ
เผยกิเลสท่ีอยู่ในจิตใจ ให้เห็นว่าเป็นส่ิงเศร้า
หมองจรงิ ๆ ที่ตามปกติเรามองไม่เหน็
การปฏิบัติธรรมในรูปแบบ จัดสรรสิ่ง
แวดล้อม จัดสรรอิริยาบถทุกสิ่งทุกอย่าง ให้
เออ้ื ตอ่ การเรยี นรดู้ า้ นใน พอเรากำ� หนดสงิ่ ใดสง่ิ
หน่ึง เชน่ ลมหายใจเป็นต้น จติ ใจจะดิน้ รน จะ

๒๙ 27

แลว้ ดบั ไป เกดิ ขน้ึ แลว้ ดบั ไป แลว้ ถา้ สงิ่ ใดเกดิ ขน้ึ
แล้วดับไป จะเป็นเราเป็นของเราได้อย่างไร
กอ็ ะไรจะเปน็ ของเรา เราก็ตอ้ งบังคบั ได้
อย่างครูบาอาจารย์บอกว่าร่างกายน้ีถ้า
เป็นของเราจรงิ ๆ ต้องอยู่ในอ�ำนาจ ต้องอยใู่ น
โอวาท เราก็สั่งมันได้ว่าอย่าเพิ่งแก่เลย อย่า
เพ่ิงเจ็บเลย อย่าเพ่ิงตายเลย แต่มันไม่เคยฟัง
เราเลยซกั ท ี เพราะมนั เปน็ ไปตามเหตตุ ามปจั จยั
ของมนั ไมเ่ ปน็ ไปตามความตอ้ งการของเรา อนั นี้
คือการสงั เกตงา่ ยๆ เร่ืองง่ายๆ เกี่ยวกบั ชีวติ ที่
จะนำ� ไปสคู่ วามรทู้ างธรรมะ ฉะนน้ั ในการปฏบิ ตั ิ
ต่อต้านเต็มที่ เพราะเราทวนความเคยชินของ ธรรม เริ่มต้น เราฝืนกระแสความเคยชินของ
จิตใจ แล้วรูปแบบของปฏิกิริยาท่ีเกิดข้ึนนั้นก็ สมองของจติ ใจ และมาดปู ฏกิ ริ ยิ าโตต้ อบทเ่ี กดิ
จะอยใู่ น ๕ หวั ข้อท่วี า่ มาน ี้ พอเราอยูก่ บั สง่ิ ใด ข้ึน และเรียนรู้ในวิธีท่ีจะจัดการกับมัน ที่จะ
สงิ่ หนง่ึ เช่นลมหายใจได้ไม่นาน กไ็ มอ่ ยากอยู่ บรหิ ารมนั ที่จะปลอ่ ยวางมนั ได้ แลว้ เมอื่ จติ ใจ
แลว้ กไ็ ปคดิ เรอ่ื งอดตี บา้ ง เรอ่ื งอนาคตบา้ ง เรอื่ ง เรม่ิ สงบบา้ ง การอยใู่ นปจั จบุ นั กจ็ ะทำ� ไดง้ า่ ยขนึ้
ทค่ี ดิ แล้วสบายใจ คดิ แล้วสนุก คิดแลว้ บนั เทิง เราจะเรมิ่ เหน็ อาการของจติ วา่ สงิ่ ทเี่ คยนกึ
เพ่ือจะได้มีเครื่องอยู่ในปัจจุบัน ไม่อย่างนั้นมี วา่ เรา วา่ ของเรา ทจ่ี รงิ มนั ไมใ่ ช ่ เปน็ แคอ่ ารมณ ์
เรื่องท่ีเราไม่สบายใจ เราไม่พอใจ ก�ำลังโกรธ เปน็ อาการของจิต ไมม่ เี น้อื หาสาระอะไรทเ่ี ปน็
ก็เอามาคิด เอามาเป็นเคร่ืองบันเทิงของจิตใจ แกน่ สาร เปน็ สาระอยา่ งทคี่ ดิ เลย คอื เราเรยี นรู้
ไมอ่ ย่างน้นั จิตกง็ ว่ ง จิตก็ฟงุ้ ซ่าน ไม่อย่างนนั้ ก็ จากส่ิงภายในได้ ในเม่ือจิตใจของเรามีสติอยู่
สงสยั วา่ ท�ำท�ำไม ในปัจจุบัน จากน้ัน เร่ืองบาป บุญ คุณ โทษ
เรามโี อกาสเหน็ อาการของจติ เหลา่ น้ี รแู้ ลว้ มนั จะชดั ขนึ้ มาทนั ที อยา่ งนเี้ ปน็ บญุ ไหม อยา่ งน้ี
วาง รแู้ ลว้ วาง ทำ� ใหจ้ ติ ใจของเราเขม้ แขง็ ขนึ้ มา เปน็ บาปไหม จะรเู้ ลย เพราะบญุ นเ้ี ปน็ อาการ
คอื อารมณข์ องจิตใจน้ันจะมี ๒ อยา่ งทีเ่ ราต้อง ผอ่ งใสภายใน บาปกม็ อี าการขนุ่ มวั อยภู่ ายใน
สังเกต ส่วนแรกคือเนอ้ื หา สว่ นมากเราจะหลง เม่ือเรารับรู้ต่ออาการผ่องใส อาการขุ่นมัว
อยู่กับเน้ือหาของอารมณ์ แต่พร้อมกับเน้ือหา ภายในแลว้ เรากจ็ ะมเี ครอื่ งตดั สนิ ของเราเองวา่
แล้ว ยังมีการมองเป็นลักษณะกระบวนการ อะไรถูกอะไรผิด เราดูได้ รไู้ ด้ เรื่องน้มี นั เปน็ สิง่
ดว้ ย ในการปฏบิ ตั นิ ี้ เปน็ การปฏิรูปการทำ� งาน ท้าทายในชวี ติ ท�ำให้ชีวติ เรามรี สชาติดนี ะ มัน
ของจติ ปฏิรปู การท�ำงานของสมอง จากการที่ สนุก มันเป็นส่ิงท่ีน่าท�ำ พอทำ� แลว้ ผลมนั กเ็ กิด
หมกมุ่นกับเนื้อหาของอารมณ์ ให้ดกู ระบวน ข้ึนกับตัวเราด้วย เกิดขึ้นกับคนรอบข้างด้วย
การของอารมณ ์ กระบวนการของอารมณฟ์ งั ดู เพราะว่าส่ิงท่ีเปล่ียนแปลงทางจิตใจย่อมมีผล
ยากแต่ง่ายๆ ก็คือวา่ เกดิ ขนึ้ แลว้ ดบั ไป เกดิ ข้นึ ในการกระท�ำ ในการพูดของเราดว้ ย เป็นส่ิงท่ี

28 ๒๙

ทกุ คนทำ� ได ้ ไมว่ า่ ผชู้ าย ไมว่ า่ ผหู้ ญงิ ไมว่ า่ คนไทย ไม่ได้ออกจากต�ำรา ไม่ได้ออกจากปรัชญา
ไม่วา่ คนต่างชาติ แล้วเป็นข้อคิดที่อาตมาว่าน่าพิจารณาเหมือน
อย่างอาตมาก็ได้มาอยู่เมืองไทยก็จะ ๔๐ กนั วา่ การทีค่ นใดคนหน่งึ พูดอะไร อีกคนหนง่ึ
ปีแล้ว มาตั้งแต่อายุ ๒๐ ได้มีโอกาสไปอยู่กับ ฟังได้ รบั ได้ เชอ่ื ได้ เป็นเพราะอะไร เพราะบาง
หลวงพ่อชาที่วัดหนองป่าพง จังหวัดอุบล- คนนพ่ี ดู เกง่ มาก ใชภ้ าษาไดด้ มี าก แตว่ า่ ไมถ่ งึ ใจ
ราชธานี ตอนที่ไปอยู่ใหม่ๆ ยังพูดภาษาไทย เรา แต่บางคนพูดอะไรง่ายๆ แต่ว่ามันถึงใจ
ไม่ได้ แล้วหลวงพ่อชาท่านก็พูดภาษาอังกฤษ อยา่ งไมม่ วี นั ทเ่ี ราจะลมื ได ้ คอื มนั เกดิ จากความ
ไม่ได้ แลว้ ชาวบ้านท่ไี ปกราบท่าน มกั จะงงอยู่ เชื่อในความเมตตาและปัญญาของผูพ้ ูดดว้ ย
เสมอว่า ในเมอ่ื หลวงพอ่ พดู ภาษาต่างประเทศ ตง้ั แตว่ นั แรกทอี่ าตมาไดก้ ราบหลวงพอ่ ชา
ไม่ได้ แล้วท�ำไมพระฝรัง่ จึงมาอย่ทู ่นี ี่เยอะแยะ กเ็ กดิ ศรทั ธาในองคท์ า่ นวา่ มรรค ผล นพิ พาน
ไม่พ้นสมัยจริง และมีความหวังในการปฏิบัติ
แลว้ รสู้ กึ วา่ ทา่ นทำ� ได ้ เรากท็ ำ� ไดเ้ หมอื นกนั คอื
ศรัทธาน้ไี ม่ใช่ศรัทธาวา่ ทา่ นเก่ง ท่านนา่ เคารพ
นับถือ แล้วจบแค่นั้น ในทางพุทธศาสนา เรา
ศรัทธาใคร นั่นแปลว่า ท�ำยังไงเราจึงจะเจริญ
รอยตามทา่ นได้ อนั นคี้ อื ศรทั ธาในพทุ ธศาสนา
แล้วต้องน�ำไปสกู่ ารกระท�ำ
ความเชื่อในพุทธศาสนาก็มีเหมือนกัน ที่
มีอยู่คนหนึ่งถามหลวงพ่อว่า พูดภาษา บอกเมื่อกี้นี้ว่า ศรัทธาไม่ใช่คุณธรรมหลักของ
องั กฤษไดไ้ หม หลวงพ่อบอก ไม่ได้ แลว้ ภาษา พุทธศาสนาก็จริง แต่ศรัทธาต้องมี ศรทั ธาของ
ฝรงั่ เศสได้ไหม ไมไ่ ด้ เขาก็งงวา่ พวกฝร่ังนีม้ า เราคือ ศรัทธาในศักยภาพของตัวเอง ในการ
อยู่ได้ยังไง หลวงพ่อชายอ้ นถามวา่ ท่ีบ้านโยม ละบาปบ�ำเพ็ญกุศล ช�ำระจิตใจของตนให้ขาว
มคี วายไหม มีครบั หลวงพ่อ สนุ ขั มไี หม มคี รบั สะอาด เราต้องเชื่อว่าเราท�ำได้และควรท�ำ
หลวงพ่อ ไก่มีไหม มีครับ แล้วโยมพูดภาษา ควรจะพัฒนาชวี ิตของตน เพือ่ ประโยชน์ เพื่อ
ควายไดเ้ หรอ ไมไ่ ดค้ รบั แล้วภาษาสนุ ัข ภาษา ความสุขของเรา ของครอบครัว ของชุมชน
ไกไ่ ดเ้ หรอ ไมไ่ ดค้ รบั อา้ ว แลว้ ทำ� ไมมนั จงึ อยไู่ ด้ ของสงั คม ประเทศชาติ คณุ งามความดจี ะคงอยู่
ท่านบอกว่าฝร่ังนะก็เหมือนควาย จูงไปจูงมา และเพมิ่ มากขน้ึ หรอื จะหายไป หรอื ลดนอ้ ยลง
เด๋ียวก็เป็นเอง ไม่ต้องใช้ภาษาอะไรมาก ท่าน มนั อยู่ทน่ี ี่ มันอย่ทู ี่พวกเรานะ อย่างท่ีพูดตน้ ๆ
ว่าอยา่ งน้ัน ว่าแค่หวังให้ประเทศเราเจริญงอกงาม หวังว่า
ที่จริงพระฝร่ังเราอยู่ตอนแรก ส่ิงท่ีเป็น ครอบครวั เราจะดี ถา้ หากวา่ เราไมม่ กี ารปฏบิ ตั ิ
เครื่องอยู่ มันไม่ใช่ค�ำสั่งสอนของท่านเท่าไหร่ ไมม่ กี ารฝกึ ตนกจ็ ะไมไ่ ดผ้ ล เพราะเราไมส่ ามารถ
เพราะภาษาเรายังไมค่ ่อยจะได้ แตม่ คี วามเชือ่ ทำ� ได ้ เหมอื นเราเหน็ ของหนกั ทว่ี า่ ถา้ เรายกขนึ้
ว่า ท่านพูดอะไรมันออกจากใจจริงของท่าน มามันจะดีนะ แต่เราเองไม่มีก�ำลังจะยกขึ้น

๒๙ 29
ปกั ษ์ใต้ เท่าที่อาตมาเหน็ ไมเ่ คยมี ถา้ เทียบกับ
เมืองนอกมันต่างกันมาก คือคนไทยนี้ไม่
ประณามคนทัง้ ชาติ ไมป่ ระณามคนทุกคนใน
ศาสนา เพยี งเพราะพฤตกิ รรมของคนบางคน
เราก็ไม่คิดจะเบียดเบียนใคร เพียงเพราะว่า
นับถอื ศาสนาเดียวกับคนที่ไม่ดี หรือว่าแตง่ ตัว
เหมือนคนที่ไม่ดี อันน้ีก็เป็นความดีงามของ
เมืองไทย ทอ่ี าตมาวา่ น่าภาคภมู ิใจมาก หลาย
เรอื่ งเหมอื นกัน
อาตมาว่าการรักชาติ การนิยมชาติ หรือ
วา่ คนทรี่ ักชาติ หรือคนชาตินยิ ม มันไม่เหมอื น
กันนะ ถ้ารักชาติ เราต้องรักสิ่งที่ดีงามในชาติ
ส่ิงท่ีท�ำให้ชาติ คือชาติท่ีเราต้องการ แล้วใน
มนั กเ็ ปน็ คำ� พูดทีเ่ ปล่าประโยชน์ แล้วเมืองไทย เมอื งไทย อาตมาเองถอื วา่ สว่ นมากสว่ นใหญน่ น้ั
เราจะเจริญงอกงามได้ มันอยู่ท่ีเราแต่ละคน ดงี าม สง่ิ ทน่ี า่ อนรุ กั ษไ์ ว้ คอื สง่ิ ทมี่ รี ากฐานใน
รับผดิ ชอบในการพัฒนากาย วาจา ใจ ของเรา พระพทุ ธศาสนาของเรา ในบางศาสนายง่ิ เครง่
แล้วทุกคนก็มีส่วน ในการสืบต่ออายุของ ในศาสนายง่ิ นา่ กลวั แตช่ าวพทุ ธเรายงิ่ เครง่ ใน
พระพุทธศาสนา ในการสืบต่อสิ่งดีงามใน ศาสนายง่ิ ไมน่ า่ กลวั เพราะเราเขา้ ถงึ ความจรงิ
สงั คม ของชีวิตแล้ว จะต้องซาบซึ้งว่าเราทุกคนเป็น
อาตมาเจอคนไทยไม่น้อยเลยที่ชอบติว่า เพอ่ื น เพอ่ื นเกดิ แก่ เจบ็ ตาย ทกุ คนในโลกรกั สขุ
คนไทย อาตมาว่าคนเมืองนอกก็เป็นเหมือน เกลยี ดทกุ ขด์ ว้ ยกนั ทงั้ หมด ฉะนน้ั จติ ใจของเรา
กัน ไม่ใช่คนไทยชาติเดียวท่ีไม่ดี แล้วคน ต้องอยู่ในโลกสมมติด้วย แต่เราก็ต้องสามารถ
ไทยเรากม็ หี ลายอยา่ งทมี่ นั ดมี ากเลย อาจจะหา ถอนออกมาจากโลกสมมติแห่งภาพรวมของ
ไดย้ ากแตเ่ ราอาจจะมองขา้ ม ยกตวั อยา่ งดขู า่ ว ชวี ติ แหง่ ภาพรวมของความเปน็ มนษุ ยด์ ว้ ย และ
ต่างประเทศบ้างไหม ที่มีการก่อการร้ายต่างๆ กเ็ ขา้ ถงึ ความจรงิ ภายใน เมอ่ื เราเขา้ ถงึ ความจรงิ
ท่ีประเทศทางตะวันตก ชาวอิสลามไม่ว่าอยู่ แล้ว ทุกอยา่ งก็นา่ เคารพหมดเลย
ท่ีไหน คนรู้สึกไมป่ ลอดภัยเลย ทัง้ ๆ ท่เี ขาเปน็ อาตมาเกดิ ศรทั ธาในพทุ ธศาสนาตงั้ แตว่ ยั
คนที่ไม่เห็นด้วยกับการก่อการร้าย เขาก็เป็น รุ่น แลว้ เดนิ ทางไปประเทศอนิ เดยี ไปแสวงหา
ชาวบา้ นธรรมดา แตว่ า่ ไปทไ่ี หนคนรงั เกยี จ คน ความรู้ กลับมาถึงองั กฤษ หลงั จากเดนิ ทางไป
เขารู้สกึ ไมป่ ลอดภัย ถูกทำ� ร้ายรา่ งกายก็มบี ่อย เกอื บ ๒ ปี ตดั สนิ ใจไมเ่ ขา้ มหาวทิ ยาลยั แตย่ งั หา
แตท่ นี่ ใี้ นประเทศไทย มจี งั หวดั ไหนของประเทศ แนวทางของตวั เองไมค่ อ่ ยถกู จนกระทงั่ ไดข้ า่ ว
ไทยไหม ทช่ี าวอสิ ลามรู้สกึ ไมป่ ลอดภัย ที่ชาว เรื่องอาจารย์วิปัสสนาท่ีอยู่ปักษ์ใต้ของอังกฤษ
พุทธคิดจะแก้แค้นเพราะเรื่องท่ีเกิดข้ึนใน ว่าน่านับถือ อาตมาจึงไปเข้าคอร์สวิปัสสนา

30 ๒๙

ปรากฏว่าอาจารย์ท่านนี้เคยบวชเป็นพระใน
ประเทศไทยตงั้ ๖พรรษา แลว้ เวลาทา่ นบรรยาย
ธรรม ทา่ นมกั จะเลา่ ถงึ สมยั ทา่ นเปน็ พระวดั ปา่
ในประเทศไทย พอฟังแลว้ ก็รู้เลยวา่ นค่ี อื สิง่ ท่ี
แสวงหาตั้ง ๒ ปี ๓ ปแี ล้ว จงึ ตัดสินใจออกบวช
ในประเทศไทย
อาตมาไม่เคยสนใจท่ีจะเป็นพระในต่าง
ประเทศ เพราะตอ้ งการจะเปน็ พระในเมอื งพทุ ธ
แลว้ เมอ่ื มาอยเู่ มอื งไทยกม็ คี วามรสู้ กึ ผกู พนั เรม่ิ
ตน้ กเ็ ปน็ ความรผู้ กู พนั ทางบญุ คณุ ทช่ี าวบา้ นใน
บ้านบุ่งหวาย จ.อุบลฯ ได้ดูแลเหมือนเราเป็น
ลกู ชายของเขาทเี ดยี ว ซง่ึ ในวดั เรากจ็ ะเรยี กชาว
บ้านว่าพ่อว่าแม่ เรียกว่าเป็นพ่อออกแม่ออก
มคี วามอบอนุ่ และมคี วามซาบซง้ึ ในบญุ คณุ แลว้
ในเมอื่ เราเปน็ พระแลว้ เราจะตอบแทนบญุ คณุ ก็สร้างประโยชน์ต่อประเทศไทย ซ่ึงเป็นสิ่งที่
ของญาติโยมได้ยังไง รู้สึกว่ามีวิธีที่ดีที่สุดก็คือ ตรงกบั อุดมการณ์ของอาตมาทีเดียว
การแสดงธรรม นั่นก็ท�ำให้เราได้ขยันในการ
เรียนภาษาไทย เริ่มต้นจากเพราะอยากจะได้ น�ำเจริญภาวนา
ฟงั คำ� สอนของหลวงพ่อชาโดยตรง โดยไม่ตอ้ ง จากนไ้ี ปมโี อกาสในการนงั่ สมาธิ ๑๕ นาที
อาศยั ลา่ ม และตอ่ มาเพอื่ จะไดต้ อบแทนบญุ คณุ ในการนงั่ สมาธิ เราเรมิ่ ตน้ ในการนง่ั ในอริ ยิ าบถ
แล้วอาตมาก็ได้ต้ังใจต้ังแต่ตอนน้ันว่า จะ ทเี่ ออ้ื ทสี่ ดุ ตอ่ งาน ในเรอื่ งของอริ ยิ าบถนนั้ ความ
ต้องอยู่ในเมืองไทยตลอดชีวิต จะไม่ไปไหน ส�ำคัญอยู่ท่ีกระดูกสันหลังกับศีรษะของเรา
ทุกวันน้ีก็ไม่มีความรู้สึกว่าเป็นพระฝรั่ง บางที ให้ตรง ตรงแต่ไม่เกร็ง เราก็นั่งหลับตา แล้ว
รู้สึกข�ำตัวเองด้วยซ้�ำไป เคยได้ยินเวลาออกไป พยายามให้นิ่งเท่าที่จะนิ่งได้ ทีน้ีในเบื้องต้น
ขา้ งนอก บอกพระฝรั่งๆ อาตมาก็ยงั หันไปถาม ส�ำหรับผทู้ ่ยี งั ไมค่ ่อยชำ� นาญ เราจะตามลมเขา้
ที่ไหนล่ะ ใครมา อ๋อ ! เขาหมายถึงตัวเราเอง ตามลมออกกอ่ น

ลืมไป ก็เรียกวา่ เราเปน็ พระในสถาบันสงฆไ์ ทย เพอ่ื ทำ� ความคนุ้ เคยกบั ลมหายใจ ซงึ่ เราตงั้
เราภาคภูมิใจมากท่ีได้มีโอกาสท่ีได้ครองผ้า ขอ้ สังเกต ๓ จดุ จดุ แรกคือปลายจมกู จุดท่ี ๒
เหลืองในประเทศไทย และนอกจากการท�ำ คอื หน้าอก จุดที่ ๓ คอื ท้อง ใหเ้ ราดู ใหเ้ รารับรู้
หน้าที่ต่อชีวิตตัวเอง และการประพฤติปฏิบัติ ต่อลมหายใจเขา้ ที่ปลายจมูก ทีห่ น้าอก ที่ท้อง
ตามหลกั คำ� สอนของพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ยงั แล้วก็หายใจออก ทอ้ ง หน้าอก ปลายจมูก ไม่
รูส้ กึ มีความสขุ ทไ่ี ดใ้ ห้ธรรมเปน็ ทาน และสร้าง ต้องบังคบั ใหส้ บายๆ ลมหายใจกไ็ มใ่ ช่ของเรา
ประโยชน์ แม้จะเป็นประโยชน์เล็กๆ น้อยๆ อยู่แล้ว เป็นของธรรมชาติ มันก็เขา้ มันก็ออก

๒๙ 31

อย่างน้ีตลอดเวลาแหละ แต่ว่าตอนนี้เราจะใช้
การตง้ั สตกิ บั ลมหายใจเปน็ อบุ าย เปน็ เครอ่ื งมอื
ใหเ้ จรญิ สติ ใหต้ อ่ เนอื่ งอยใู่ นปจั จบุ นั ทนี ใ้ี นเมอ่ื
เราพยายามอย่กู ับลมหายใจ เราจะมคี วามคดิ
สอดแทรกเขา้ มากไ็ มเ่ ปน็ ไรแตร่ แู้ ลว้ วาง กลบั มา
อยกู่ บั ลมหายใจ เราอยกู่ บั ลมหายใจ ทเี่ ขา้ มาจาก
ปลายจมกู ผ่านหนา้ อก ไปสู่ทอ้ งไดพ้ อสมควร
แล้วเราจงึ ก�ำหนด ณ จุดใดจดุ หนึง่ ในการนั่ง
ภาวนา ส่วนใหญ่จะนิยมพิจารณาก�ำหนดลม ค�ำว่าพุทธะแปลว่าตื่น เราไม่น่ังสมาธิ
หายใจอย่ทู ป่ี ลายจมกู แตไ่ มใ่ ชข่ อ้ บงั คับ ขอให้ เพอื่ ใหจ้ ิตใจทือ่ ๆ เฉยๆ นั่นจะเป็นมจิ ฉาสมาธิ
เราหาจุดที่ชัด ที่สบาย แล้วต้ังสติอยู่ตรงจุด สัมมาสมาธิ สมาธิแบบพุทธ ต้องมีความ
นั้น แต่การอยู่กับลมหายใจอย่าเพ่ิงให้กลาย รู้สึกตื่นอยู่ มีความคมชัด มีความผ่องใส
เป็นการเพ่ง ถา้ เพง่ แลว้ จะเครียด อาการของสมาธิที่ส�ำคัญ เรียกว่า กัมมนีโย
นเี้ ราก�ำลงั เรยี นรวู้ ชิ าชวี ติ หลายวชิ า วชิ า กมั มนโี ยแปลวา่ พรอ้ มทจี่ ะท�ำงานคอื มปี ญั ญา
หนึ่งก็คือการท�ำความเพียรอย่างไม่เครียดจน ที่จะเข้าใจเรื่อง ความไม่เที่ยง เรื่องความเป็น
เกนิ ไป ไมผ่ อ่ นคลายจนเกนิ ไป แต่พอดี ก�ำลงั ทุกข์ เร่ืองเป็นอนัตตาได้ เป็นประสบการณ์
หาความพอดอี ยู่ ถ้าเราต้ังใจมากเกินไป ขาด ตรง ไมใ่ ชแ่ คป่ รชั ญา แตร่ เู้ หน็ ในปจั จบุ นั ถา้ จติ ใจ
การผอ่ นคลาย จะไมส่ งบ ถา้ ผอ่ นคลายมากเกนิ เรายังฟุ้งซ่าน วุ่นวาย เรามองไม่เห็น รู้ไม่ได้
ไป ขาดความตง้ั ใจ กจ็ ะไมส่ งบ ฉะนน้ั ปรบั ความ จิตไม่มีคุณสมบัติพอ อย่างจิตท่ีมีสมาธิแล้ว
เพียร ปรับความพยายาม อย่างไรจึงจะพอดี มีท้ังความหนักแน่น และความนุ่มนวลอยู่ใน
ระยะเวลาของการนัง่ สมาธิ คอื การกำ� หนดลม ขณะเดียวกัน มีความตื่นอยู่ในเวลานั้น รู้อยู่
หายใจ เราไม่ก�ำหนดเวลาเป็นนาทีเป็นชั่วโมง ในเวลาน้ันและเบิกบานอยู่ตรงน้ัน
แตเ่ ราตงั้ ใจวา่ หนง่ึ ลมหายใจเขา้ หนงึ่ ลมหาย- ไมต่ อ้ งรำ� คาญตวั เอง ไมต่ อ้ งทอ้ แทใ้ จ จติ ใจ
ใจออก นั่นคือระยะเวลา ให้มันได้ดีที่สุดเลย ของเรายังดื้ออยู่ ไม่เป็นไร จติ ใจของเรามนั ฝกึ
หนง่ึ ลมหายใจเขา้ หนง่ึ ลมหายใจออก แลว้ กต็ งั้ ได้ ต้องใจเย็น ท�ำอย่างสม่�ำเสมอ ไม่ยอมแพ้
ต้นใหม่ๆ คนเราโดยเฉพาะในปัจจุบันน้ี นิสัย กิเลส เอาละ พอสมควรแกเ่ วลา
ขี้เบ่ือ ถ้าเราติดอยู่กับการกระตุ้นมากเกินไป
การอยู่กับลมหายใจมันท้าทายมาก เพราะลม ตอบปัญหา
หายใจมันไม่มีอะไรนา่ สนใจ ไมม่ ีอะไรนา่ ดงึ ดดู กราบนมัสการพระอาจารย์ครับ กระผม
แต่อยไู่ ด้ก็ดว้ ยความตง้ั ใจ ด้วยความจรงิ ใจ จิต องคมนตรี ใคร่ขอเรียนถามท่านพระอาจารย์
เผลอ รตู้ ัวแล้ววาง กลับมาอย่กู ับลมหายใจ ทุก วา่ ธรรมะขอ้ ใดทขี่ า้ ราชบรพิ ารในพระองค ์ ควร
ครงั้ ท่รี ูแ้ ล้วว่าเผลอ เราต้ังตน้ ใหม่ นั้นเปน็ การ จะใช้ยึดถือและใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติ
สร้างบารมี เรยี กว่า เนกขัมมะบารมี เพ่ือที่จะได้ถวายงานแก่พระมหากษัตริย์ให้มี
ประสิทธิภาพสงู ท่สี ดุ ครับ กราบนมสั การครับ

32 ๒๙
พอจ.ชยสาโร : ท่ีจริงค�ำสอนของพระ-
พุทธเจ้านั้นเราไม่ได้แยกออกจากกันเป็นข้อๆ
ไป วา่ ขอ้ นน้ั ขอ้ นจี้ ะเหมาะสมสำ� หรบั คนกลมุ่ นนั้
กลุ่มน้ี ส่วนมากจะเน้นที่การปฏิบัติอย่างเป็น
องค์รวม อย่างที่ได้กล่าวมาเม่ือก้ีนี้ว่า เราทุก ถ้าพูดโดยทั่วไปแล้ว เรื่องอาชีพคน มีอาชีพท่ี
คนต้องมีการพฒั นา ต้องมกี ารขดั เกลาในเรอ่ื ง เป็นสัมมาอาชีพโดยตรงก็นอ้ ย ถ้าเปน็ ครู เป็น
พฤตกิ รรมของตน ในเรอ่ื งของจติ ใจและในเรอ่ื ง คุณหมอ เป็นพยาบาล เป็นอาชีพท่ีบอกได้ว่า
ปัญญา ซึ่งมันต้องไปด้วยกัน อย่างต้องการ แค่ท�ำงานในด้านน้ีก็เป็นบุญคือเป็นบุญอยู่ใน
ความเรียบร้อยหรือความสมานสามัคคี ก็ศีล ตวั นน้ั กน็ อ้ ยมาก แตใ่ นงานเปน็ ขา้ ราชบรพิ ารน้ี
ธรรมนน้ั แหละสำ� คญั มาก แตศ่ ลี ธรรมจะมนั่ คง ก็ถือว่ามีโอกาสที่ให้การเลี้ยงชีพของเรา เป็น
ได้ ก็ต่อเมื่อมีการฝึกทางจิตใจด้วย ถ้าหากว่า การรับใช้ประเทศชาติด้วย เป็นการสร้างส่ิงดี
ไม่มีการเจริญสติ ไม่มีการเจริญเมตตาเป็นต้น งามในสังคมด้วย เป็นตัวอย่างที่ดีด้วย คือมี
ศลี ธรรมจะอยไู่ ดย้ าก เพราะความคดิ จะละเมดิ โอกาสท่ีจะเอื้อใหช้ ีวิตเราเป็นบญุ
เกิดขึ้นเร็วมาก และถ้าเราไม่เคยดูด้านใน พอ ถา้ เราพจิ ารณาในขอ้ นเ้ี กดิ ความภาคภมู ใิ จ
ความคดิ ผดุ ขน้ึ มาในจติ ใจของเรา เรากจ็ ะจบั ไว้ ในการมีโอกาสที่จะอยู่ตรงน้ี ท�ำงานอยู่ตรงนี้
ยดึ ไว ้ ยดึ ไวว้ า่ เปน็ เรา เปน็ ของเรา แลว้ กท็ ำ� ตาม แลว้ ตอ้ งการจะทำ� ดที ส่ี ดุ เทา่ ทจ่ี ะทำ� ได ้ ถอื วา่ นนั่
ท้ังๆ ท่ีต้ังใจจะประพฤติตัวให้ดี เมื่ออารมณ์ คอื กำ� ไร คอื เราไดอ้ รยิ ทรพั ยอ์ ยใู่ นใจ อรยิ ทรพั ย์
เกดิ ข้นึ อารมณม์ พี ลังมาก ท�ำใหเ้ ราลมื สิง่ ทเ่ี รา ทเี่ รามกี ารเสยี สละความสะดวกสบาย มกี ารเสยี
ตงั้ อกตงั้ ใจไว้ คอื ตงั้ อกตง้ั ใจจะซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ ตง้ั สละความคดิ ความเห็น มีการเสยี สละหลายสิ่ง
อกตั้งใจจะระมัดระวังเร่ืองการพูดการจาแล้ว หลายอย่าง ท่ีเป็นรูปธรรม นามธรรม เพ่ือ
กลับลืมไป อันน้ีเป็นปัญหามาก คนเราน้ีจะ ประโยชนอ์ นั แทข้ องสถาบนั อนั นจ้ี ะเปน็ ความ
ฉลาด จะรูท้ กุ สง่ิ ทกุ อยา่ ง เฉพาะเวลาท่ีไมม่ ี สขุ ทห่ี าไดย้ าก นอกจากเปน็ การฝกึ ตนแลว้ กย็ งั
อารมณ์ แต่เมื่อมีอารมณ์เกิดขึ้น จะลืมทุกส่ิง อยากใหเ้ ราไดค้ ิดพิจารณาบอ่ ยๆ ทเ่ี ราจะไดไ้ ม่
ทกุ อย่าง แต่พออารมณ์ดับไป กก็ ลับเป็นคนรู้ ประมาทในโอกาสอนั ดี คอื พทุ ธธรรม เราถอื วา่
ทุกส่ิงทุกอย่างอีกครั้งหนึ่ง แต่ปัญหาก็คือ ใน แคเ่ กดิ เปน็ มนษุ ยย์ ากแสนยากแลว้ แตก่ ารเกดิ
เวลาทต่ี อ้ งการใชป้ ญั ญา เวลาทม่ี ปี ญั หามคี วาม เปน็ มนษุ ยใ์ นประเทศอนั สมควรอยา่ งเชน่ เมอื ง
กดดัน เครยี ด เปน็ ต้น สตปิ ัญญานี้ไมส่ ามารถ ไทยเปน็ ต้นนนั้ ย่งิ ยากเข้าไปอีก
ทำ� งานได้ ไมส่ ามารถเป็นที่พงึ่ ไมส่ ามารถเปน็ ฉะน้ันการที่พวกเราได้เกิดในประเทศอัน
เข็มทิศใหเ้ ราได้ เพราะถกู อารมณ์ครอบงำ� สมควรแลว้ กย็ งั มโี อกาสทำ� งานรบั ใชใ้ นสถาบนั
ฉะน้ันการท�ำงานด้านใน การท่ีศึกษา มหากษัตริย์ แล้วในเมื่อมหากษัตริย์ของเรา
เรยี นรู้เรอ่ื งอารมณต์ ่างๆ เรือ่ งกุศลธรรม เรือ่ ง เปน็ ชาวพทุ ธดว้ ย แลว้ ยงั ทรงมมี หากรณุ าธคิ ณุ
อกศุ ลธรรม อารมณ์ทอ่ี ยู่ฝ่ายผ่องใส อารมณ์ท่ี ใหพ้ วกเราไดศ้ กึ ษา ไดป้ ฏบิ ตั ธิ รรมดว้ ย ถอื วา่ มี
อยูฝ่ า่ ยว้าวุ่นข่นุ มวั นั้น เปน็ งานส�ำคญั มาก แต่ บุญมากทเี ดยี ว อยากใหส้ �ำนกึ ในบญุ แลว้ เอา

๒๙ 33

บุญนน้ั เป็นฐานท่จี ะท�ำให้ดยี ิง่ ๆ ขึ้นไป คืออย่า ขา้ พเจา้ คนเดยี ว ขา้ พเจา้ และคนอน่ื ดว้ ย สรรพ
ให้มกี ารแขง่ ขนั กนั อยา่ มกี ารนินทาลบั หลงั กัน สตั วด์ ว้ ย และกไ็ มใ่ ชร่ ะยะสน้ั แตเ่ ปน็ ระยะยาว
อย่ามีอะไรที่เป็นการกระท�ำตามกิเลส ท่ีจะ ตลอดกาลนาน ฉะน้นั เราจะอยอู่ ยา่ งไร เราจึง
ท�ำให้จิตใจเราเศร้าหมองและสร้างปัญหา คน สามารถสรา้ งความสขุ สรา้ งประโยชนก์ บั ชีวติ
เราทุกคนก็ต้องมีกิเลสท้ังน้ัน อยากให้เรารับรู้ เราเอง สรา้ งความสขุ สรา้ งประโยชนก์ บั ครอบ-
แลว้ ปล่อยวาง รับรแู้ ลว้ ปลอ่ ยวาง อย่างน้ีเรยี ก ครัวเรา กับตระกูลเรา สร้างความสุข สร้าง
วา่ เปน็ ไปเพอื่ ประโยชนแ์ ละความสขุ ตวั เองดว้ ย ประโยชนต์ อ่ ประเทศชาติ นเ้ี ปน็ การมงุ่ มนั่ ทจ่ี ะ
เพอื่ ประโยชนเ์ พอ่ื ความสขุ ของสว่ นรวมไวด้ ว้ ย สร้างความสุข สร้างประโยชน์ ก็ต้องน�ำไปสู่
การพิจารณาว่า ความสุขคืออะไร ประโยชน์
กราบนมัสการขอบพระคุณ ผมขอ คอื อะไร ๒ คำ� นถ้ี งึ จะฟงั งา่ ยๆ แตก่ ม็ คี วามหมาย
อนญุ าตนมสั การกราบเรยี นถามวา่ มนษุ ยเ์ กดิ อันลึกซ้ึงเหมือนกัน อะไรคือประโยชน์ อะไร
มาเพอื่ อะไร อาจจะเปน็ ปญั หาทล่ี กึ มากหนอ่ ย ไมใ่ ช่ประโยชน์ อะไรเป็นเครอ่ื งตดั สินว่า ส่งิ น้ี
ขอความเมตตาอนเุ คราะหด์ ว้ ยครับ เปน็ ประโยชนส์ งิ่ นไี้ มใ่ ชป่ ระโยชน์
พอจ.ชยสาโร : ท่พี ดู เมอ่ื กี้นวี้ ่า เราถือวา่
การเกดิ เป็นมนุษย์ เปน็ ลาภ เป็นบุญ เพราะว่า
ความเป็นมนุษย์นี้มีโอกาสพัฒนาตนท่ีดีท่ีสุด
เลย ถ้าเทยี บกบั เทวดา เทวดาจะปฏิบตั ธิ รรม
ยากกว่ามนุษย์เพราะสบายเกินไป ไม่มีอะไรท่ี
จะมากดดัน หรือมากระตุ้นให้ฝืนกิเลส มีแต่
สบายๆ ถ้าตกนรก ไปอยู่ภพภูมิที่ยากล�ำบาก
ไม่ต้องพดู ถงึ มนั ทรมานเหลือเกนิ ไม่มโี อกาส
ปฏิบตั ธิ รรม ไม่มีโอกาสพัฒนาตน แต่การเปน็ ค�ำถามท่ีว่า เราเกิดเพื่ออะไร แล้วเราอยู่
มนุษย์มีสุขมีทุกข์สลับกันไป สุขก็ไม่สุขจน เพื่ออะไร ไม่ใช่ค�ำถามที่ควรจะมีค�ำตอบง่ายๆ
ลืมตัวไดน้ าน ถ้าทุกขก์ ็ไมท่ ุกข์นาน กม็ ีสลับกนั แล้วจบ แตค่ วรจะเป็นค�ำถามท่ีอย่ใู นใจเราทุก
มขี ้นึ ๆ ลงๆ เป็นโอกาสดที ่ีจะไดเ้ รียนรเู้ ร่ืองสขุ คนอยู่ตลอดเวลา พระพุทธองค์ตรัสเตือนว่า
เรื่องทุกข์ ดังน้ันเรื่องการพ้นทุกข์ยังเป็นส่ิงท่ี วันคนื ล่วงไปๆ เราก�ำลังท�ำอะไรอยู่ ค�ำถามน้ี
มนษุ ยเ์ ราหวงั ได้ กโ็ ยงไปถงึ วา่ เราอยเู่ พอ่ื อะไร ทกุ วนั นเ้ี ราทำ� อะไร
ในคำ� ถามวา่ อยู่เพอ่ื อะไร เกดิ เพอ่ื อะไร ก็ อยเู่ พอ่ื อะไร เรามกี จิ กรรมมอี ะไรบา้ งไหมทรี่ สู้ กึ
มีประโยคหนึ่งที่ทุกคนคงคุ้นเคยท่ีเรากล่าวใน ว่าเป็นไปเพ่ือความสุขตน เพื่อความสุขคน
พธิ กี รรมตา่ งๆ วา่ “เพอ่ื ประโยชน์ เพอื่ ความสขุ อนื่ เพอื่ ประโยชนต์ น เพอ่ื ประโยชนผ์ อู้ น่ื บา้ ง
แกข่ า้ พเจา้ ทง้ั หลายตลอดกาลนานเทอญ” คำ� น้ี ฉะนั้นค�ำถามน้ีเป็นค�ำถามท่ีจะป้องกันไม่ให้
ก็สรุปแล้วว่า อยู่เพื่ออะไรดี เราอยู่เพื่อความ ประมาทได้ ท�ำให้มีความคิดในทางที่จะเจริญ
สขุ เพอื่ ประโยชนแ์ กข่ า้ พเจา้ ทงั้ หลาย คอื ไมใ่ ช่ ในสง่ิ ท่ดี งี ามยงิ่ ๆ ข้นึ ไปได้

34 ๒๙

ธีรปัญโญ ให้กับใจของเราได้เหมือนกันหากพวกเรารู้จัก
คิดให้ถูกวิธี จะว่าไปแล้วพระองค์ท่านก�ำลัง
ปั ญญาภิวัฒน์ แสดงกฎธรรมชาติของอนิจจังให้พวกเราได้
เห็น และเมอ่ื พวกเราพอจะคลายความเศรา้ ไป
ไดบ้ า้ งแลว้ ยงั อยากทจ่ี ะสอื่ สารกบั พระองคท์ า่ น
ขอชักชวนให้มาศึกษาภาษาบาฬีด้วยกันเถิด
นอกจากไดบ้ ญุ แลว้ ยงั เปน็ การสรรคส์ รา้ งเวลา
ว่างให้เกิดประโยชน์อีกด้วย เพราะการศึกษา
เปน็ กศุ ล แตก่ ารวนอยกู่ บั ความเศรา้ เปน็ อกศุ ล
และการเรยี นภาษาใหมๆ่ ยงั ทำ� ใหห้ า่ งไกลจาก
โรคสมองฝ่อ อัลไซเมอร์ได้อกี ด้วย

ท�ำไมตอ้ งภาษาบาฬี ?
ภาษาเปน็ รากฐานของอารยธรรม เปน็ สิ่ง
แสนววรพรุทคธ์ ที่ยึดเหนี่ยวชุมชนไว้ด้วยกัน ว่าโดยเฉพาะ
แล้วภาษาบาฬีถือกันมาว่าเป็นรากฐานของ
อริยธรรมชาวพุทธ และเป็นสิ่งท่ียึดเหน่ียว
อริยชนไว้ด้วยกันมาในทุกยุคทุกสมัยตราบใด
ท่ียงั มพี ระพทุ ธศาสนา
ภาษาบาฬี เป็นภาษาท่ีใช้กันมาตั้งแต่ต้น
ปลายเดือนตุลาคมที่เพ่ิงผ่านมา หลาย กัลป์ มีบันทึกไว้ว่าคนต้นกัลป์ใช้ภาษาบาฬี
ทา่ นคงจะไดเ้ หน็ การเนรมติ ทงุ่ พระเมรบุ นทอ้ ง สื่อสารกัน และเป็นภาษาท่ีใช้พูดกันบนสรวง
สนามหลวงให้เป็นสรวงสวรรค์ มีการจ�ำลอง สวรรคด์ ว้ ย เมอื่ พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ไปเทศนพ์ ระ
จกั รวาลโดยมเี ขาพระสเุ มรเุ ปน็ แกนกลาง เพอ่ื อภิธรรมโปรดพระพุทธมารดาและทวยเทพที่
ส่งเสด็จในหลวงในพระบรมโกศบนพระเมรุ- สวรรค์ช้ันดาวดึงส์ก็ใช้ภาษาบาฬีน้ีแหละ ดัง
มาศในงานพระราชพิธีที่ได้จัดข้ึนอย่างสมพระ มีหลักฐานท่ีบันทึกกันมาในพระอภิธรรมปิฎก
เกยี รตกิ ันไปแล้ว การเสด็จจากไปของในหลวง เนอ่ื งด้วยตอนนีใ้ นหลวงรชั กาลที่ ๙ ของพวก
ผู้เป็นท่ีรักย่ิง ที่เป็นเสมือนพ่อของแผ่นดินนั้น เรา พระองคท์ า่ นสวรรคต (แปลตามศพั ทว์ า่ ไป
นบั เปน็ ความสญู เสยี ครงั้ ยงิ่ ใหญท่ น่ี ำ� ความเศรา้ สู่สวรรค์) ก็หมายความวา่ พระองคท์ า่ นคงจะ
โศกเสียใจมาสพู่ วกเราชาวไทยทุกคน ได้สถิตอยู่ ณ สรวงสวรรค์ชั้นใดชั้นหนึ่งใน ๖

ส่อื ภาษา ในหลวง บนสรวงสวรรค์ ช้ันแล้ว (ถ้าถือตามคติพระบรมโพธิสมภาร
แม้กาลเวลาจะกลืนกินสรรพสิ่งรวมท้ังตัว ที่พระเจ้าแผ่นดินในเมืองพุทธ มักจะถือกัน
มนั เองกจ็ รงิ แต่กาลเวลาก็มคี ณุ สมบัติเยยี วยา ว่า พระเจ้าอยู่หัวทรงอุบัติมาเพื่อสร้างบารมี

๒๙ 35

รวมความว่า สวรรคต จงึ แปลงา่ ยๆ ไดว้ า่
‘ไปแลว้ สูส่ วรรค’์
ทนี ม้ี าดศู พั ท์ สคคฺ หรอื สวรรค์ กนั ตอ่ วา่ จะ
แปลเปน็ อะไรไดบ้ า้ ง ตามแบบ สคคฺ : มาจาก
สุ + อคฺค
สุ มาจาก โสภโณ แปลวา่ ‘งาม’ หรือ มา
จาก สฏุ ฺฐุ ซึ่งแปลว่า ‘ด’ี
(ลบ อุ ที่ สุ เสยี เหลอื แค่ ส) +
อคคฺ มาจาก อช ธาตุ คตยิ ํ ในการไป แปลง
ช เป็น ค ซ้อน ค
ในทนี่ ต้ี อ้ งแปลวา่ ‘ฐานะเปน็ ไปทยี่ นื นาน’
ตามการวิเคราะหศ์ พั ทท์ ่ีว่า
อชี ยติ จิรํ ฐิ ยเต อสฺ มินฺติ อคฺโค,
เพ่ือจะได้เกิดเป็นพระพุทธเจ้าในพระชาติ ฐานํ
สุดท้าย สวรรค์ที่ท่านจะเสด็จไปก็น่าจะเป็น เมื่อมาแปลรวมกันจึงได้ความหมายว่า
ชน้ั ดสุ ติ เพราะเปน็ ทรี่ วมของพระโพธสิ ตั วท์ กุ ๆ ‘ฐานะเป็นไปท่ียืนนานที่ดงี าม’
พระองค)์ นน่ั กแ็ ปลวา่ พระองคท์ า่ นไดใ้ ชภ้ าษา ดงี าม อย่างไร ? เมื่อเติมคำ� ขยายก็จะได้
บาฬีแล้วนั่นเอง ดังนั้นถ้าอยากจะสนทนากับ ความหมายเพ่มิ ว่า
ท่านก็ต้องเรียนรู้ภาษาของท่านจึงจะถูก เริ่ม รปู าทีหิ ปญฺจหิ กามคเุ ณหิ สฏุ ฐฺ ุ อคฺโคติ
จากค�ำง่ายๆ ที่ใช้กนั อยู่เปน็ ปกติในภาษาไทย สคโฺ ค
ซึง่ มีท่ีมาของคำ� ต่างๆ จากภาษาบาฬถี ึง ๕๐ - ‘เรยี กสวรรคเ์ พราะดีเลิศหรืองามเลศิ ด้วย
๖๐% โดยเฉพาะสิ่งท่ีเป็นนามธรรม มาเรียน กามคุณห้ามีรูปเป็นต้น’(กามคุณห้า คือ รูป
รู้การแยกธาตุ แยกปัจจัย หาองค์ธรรม และ เสยี ง กลน่ิ รส สัมผัส)
เพิ่มความเข้าใจไปทีละนอ้ ยๆ เทา่ กับไดเ้ ขา้ เฝ้า หรือ รปู าทหี ิ วิสเยหิ สุฏฺฐุ อคโฺ คติ สคฺโค
ในหลวงบนสรวงสวรรคผ์ เู้ ปน็ หนอ่ เนอื้ พระบรม ‘เรียกสวรรค์เพราะดเี ลศิ หรืองามเลิศด้วย
โพธสิ มภารพร้อมกนั ไปดว้ ย อารมณ์ท้งั หลายมรี ปู เป็นต้น’
เบอ้ื งตน้ มารจู้ กั คำ� วา่ สวรรคต กนั กอ่ น คำ� (อารมณห์ ก คือ รูป เสียง กลิน่ รส สัมผัส
นีม้ าจากค�ำวา่ ธรรมารมณ)์
สวรรค์ และค�ำว่า คต, สวรรค์ เป็น ที่น้ีเราจะไปถึงสวรรค์กันได้อย่างไร ? ค�ำ
สนั สกฤต แปลวา่ เทวโลก ตรงกบั บาฬี วา่ สคคฺ ขยายบอกว่า
สว่ นคตมาจากคมุธาตุคตยฺ ํในการไป-ถงึ ปฺญุ เฺ ญนสุฏฺ ฐุ อชียเตติสคโฺ ค ‘เรยี กสวรรค์
- บรรลุ ลง ต ปจั จัย ให้เป็นอดตี จึงแปลวา่ ‘ไป เพราะไปถึงได้อย่างราบรืน่ ด้วยบุญ’
แล้ว ถงึ แล้ว หรือ บรรลแุ ลว้ ’

36 ๒๙

ความหมายสวรรค์ตามพจนานกุ รม ๓. ยามะ, ยามา มที า้ วสยุ ามเทพบุตรปกครอง
ตามพจนานกุ รมพทุ ธศาสตร์ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต)
มีคำ� อธบิ ายไวว้ า่ ๔. ดุสติ (บาฬีเป็น ตสุ ิตา) มีทา้ วสนั ดสุ ิตเทว-
ฉกามาพจรสวรรค์ สวรรค์ท่ียังเก่ียวข้องกาม ราชปกครอง สวรรค์ช้ันนี้เป็นท่ีสถิตของพระ
มี ๖ ช้ัน คือ โพธสิ ตั ว์กอ่ นจตุ ลิ งมาสู่มนษุ ยโลกและตรัสรู้ใน
พระชาตสิ ดุ ท้าย
๑. จาตุมหาราชิกา มีมหาราช ๔ องค์ เป็น
ประธาน ปกครองประจำ� ทศิ ทงั้ ๔, ทา้ วมหาราช ๕. นมิ มานรดี มที า้ วสุนมิ มิตเทวราชปกครอง
๔ นนั้ อยภู่ ายใตก้ ารบงั คบั บญั ชาของทา้ วสกั กะ เทวดาช้ันน้ีปรารถนาส่ิงหน่ึงสิ่งใด ก็นิรมิต
(พระอินทร์) เชน่ มหี นา้ ท่ีรายงานสภาพความ เอาได้
เป็นไปของสังคมมนุษย์แก่หมู่เทพชั้นดาวดึงส์ ๖. ปรนิมมิตวสวัตดี มีท้าวปรนิมมิตวสวัตดี
ในสุธรรมสภาเป็นประจ�ำ ถ้าทัพอสูรรุกผ่าน ปกครอง เทวดาช้ันนป้ี รารถนาสิง่ ใดสิง่ หนึ่งไม่
ด่านเบ้ืองต้นใกล้เข้ามา ท้าวมหาราช ๔ ก็ท�ำ ตอ้ งนริ มิตเอง มเี ทวดาอื่นนิรมติ ให้อีกต่อหน่ึง

หนา้ ที่ไปรายงานต่อพระอินทร์ เป็นต้น ความหมายสวรรค์ตามรปู ศัพท์

๒. ดาวดงึ ส์ (บาฬเี ปน็ ตาวตงิ สา) มจี อมเทพ ทีน้ีมาดูค�ำอธิบายตามรูปวิเคราะห์ศัพท์จาก
ผปู้ กครองชอ่ื ทา้ วสกั กะ ซง่ึ โดยทว่ั ไปเรยี กกนั วา่ คัมภรี ส์ ัททศาสตร์กันบ้าง
พระอินทร์, อรรถกถาอธิบายความหมายของ จาตุมหาราชิกา :
“ดาวดึงส”์ ว่าคือ “แดนท่ีคน ๓๓ คนผู้ท�ำบุญ จตูสุ มหาราเชสุ ภตฺติ ภชนํ เอเตสนตฺ ิ จาต-ุ
ร่วมกนั ได้อุบัต”ิ (จ�ำนวน ๓๓ บาฬวี า่ เตตตฺ สึ , มหาราชกิ า ‘เทพทภี่ กั ดหี รอื คนุ้ เคยกบั มหาราช
เขียนตามรูปสันสกฤต เป็น ตรัยตรึงศ์ หรือ ท้ังสี่ เรียกว่าจาตุมหาราชิกา’ จาตุมหาราชิ-
เพี้ยนเป็น ไตรตรึงษ์ ซ่ึงในภาษาไทยก็ใช้เป็น กานํ นวิ าสาติ จาตุมหาราชกิ า ‘ภมู ิคือนิวาส
คำ� เรยี กดาวดงึ สน์ ดี้ ว้ ย) ดงั มตี ำ� นานวา่ ครงั้ หนง่ึ สถานแห่งเทพที่ภักดีหรือคุ้นเคยกับมหาราช
ท่ีมจลคาม ในมคธรัฐ มีนักบ�ำเพ็ญประโยชน์ ทั้งส่ี เรียกว่าจาตมุ หาราชิกา’
คณะหน่งึ จ�ำนวน ๓๓ คน น�ำโดยมฆมาณพได้
รว่ มกนั ทำ� บญุ ตา่ งๆ เชน่ ทำ� ถนน สรา้ งสะพาน
ขดุ บ่อน�ำ้ ปลูกสวนป่า สร้างศาลาท่ีพกั คนเดิน
ทาง ให้แกช่ ุมชนและทำ� ทาน ชวนชาวบ้านตง้ั
อยู่ในศีลและท�ำความดีทั้งหลาย เฉพาะอย่าง
ย่ิงตัวมฆมาณพเองยังรักษาข้อปฏิบัติพิเศษที่
เรียกวา่ วตั รบท ๗ อีกด้วย คร้นั ตายไป ทง้ั ๓๓
คน ก็ได้เกิดในสวรรค์ที่เรียกช่ือว่าดาวดึงส์น้ี
โดยมฆมาณพได้เป็นท้าวสักกะ คือพระอินทร์
ดังที่พระอินทร์นั้นมีพระนามหนึ่งว่า “มฆวา”
(ในภาษาไทยเขยี น มฆวนั มฆั วา หรอื มัฆวาน);

๒๙ 37

ตาวติงสา :
เตตฺตึส ชนา นิพฺพตฺตนฺติ เอตฺถาติ เตตฺตึโส
‘ภพเป็นท่ีเกิดของบุคคล ๓๓ คน จึงเรียกว่า
ตาวตึส’ (เตตตฺ ึส บทหนา้ อ ปัจจัย, แปลง เต
เป็น ตาว, ลบ ต)
หรือ ตาว ปฐมํ ตึสติ ปาตุภวตีติ ตาวตึสา
(ปฐวี) ‘พ้ืนแผ่นดินใด เกิดปรากฏข้ึนในโลก
เปน็ ครงั้ แรกกอ่ น (พนื้ แผน่ ดนิ อน่ื ๆ) พนื้ แผน่ ดนิ
น้นั ชอื่ ว่า ดาวดงึ ส’์
ตามความเข้าใจเร่ืองการแตกดับของโลก
ว่า เมื่อโลกถูกท�ำลายจนหมดส้ิน แล้วมีการ + วส บทหน้า วตฺต ธาตุ ในความหมายวา่ เปน็
สร้างโลกใหม่ ฝนจะตกลงมาอย่างหนักตรง ไป อี ปัจจัย)
บริเวณที่โลกถูกท�ำลายไป น�้ำนั้นก็ค่อยๆ ขุ่น สวรรคแ์ นวพทุ ธ ควรไปสดุ ทีอ่ ริยสัจ

ขน้ ขนึ้ เปน็ ตะกอน ทบั ถมจนเปน็ ดนิ มหมึ า แลว้ สวรรค์สองชั้นแรกน้ีมีเรื่องมาเก่ียวพันกับ
ลดแหง้ ลงตามลำ� ดบั จนเกดิ พน้ื แผน่ ดนิ ปรากฏ มนุษย์ค่อนข้างมาก เป็นสวรรค์สองชั้นที่มีชื่อ
โผล่ขึ้นให้เห็นก่อน ก็คือเขาสิเนรุ ซ่ึงเป็นท่ีอยู่ เปน็ ตวั เลข ทม่ี คี วามหมายไดห้ ลากหลายนยั ดงั
ของเทวดาชัน้ ดาวดึงส์นั่นเอง ได้อธิบายไวบ้ า้ งแลว้ ในบทความเรอื่ ง ‘ธรรมะ
๓๗’ ในวารสารฉบับก่อนๆ โดยสรุปกค็ ือ เม่ือ
ยามา : เอา ๔ ของ จาตมุ หาราชกิ า มารวมกบั ๓๓ ของ
ทกุ ขฺ โต ยาตา อปคตาติ ยามา ‘เทพผู้ไปจาก ดาวดึงส์ กจ็ ะหมายถงึ องค์ธรรมคือโพธปิ กั ขิย-
ทกุ ข’์ (ยา ธาตุ ในความหมายวา่ ไป + ม ปจั จยั ) ธรรม ๓๗ (ธรรมที่เป็นฝักฝ่ายของการตรัสรู้)
ตุสิตา : อนั เปน็ รตั นะอนั มคี า่ ในพระพทุ ธศาสนานนี้ เ่ี อง
อตฺตโน สิริสมฺปตฺติยา ตุสํ ปีตึ อิตา คตาติ ทนี จี้ ะขอนำ� ศพั ทข์ องชนั้ สวรรคม์ าตงั้ วเิ คราะห์
ตุสิตา ‘เทวดา เหล่าใด ถึงพร้อมด้วยความ ใหม่ เพ่ือเพ่ิมมมุ มองดงั น้ี
ยนิ ดี แชม่ ชน่ื ในสริ ิสมบัติของตน เทวดาเหล่า ตาวตงิ สา :
นน้ั ช่อื วา่ ตสุ ิตา’ เตตตฺ สึ เจตสกิ านิ สมปฺ ยตุ ตฺ านิ เอเตนาติ เตต-ฺ
นิมมานรตี : ตึโส
นิมมฺ าเน รติ เอตสฺสาติ นิมฺมานรตี ‘เทพผูม้ ี ‘ปฏสิ นธจิ ติ ตปุ าทอนั เปน็ ทรี่ วมของเจตสกิ ๓๓
ความยินดใี นสิ่งทีต่ นเนรมติ ’ (นิมมฺ าน+รติ+อี) ชนิด จงึ เรียกว่า ตาวตึส’ (กค็ ือ ติเหตกุ ปฏิสนธิ

ปรนมิ มติ วสวตฺตี : น่นั เอง)
ปรนิมมฺ เิ ตสุ โภเคสุ อตตฺ โน วสํ วตเฺ ตตีติ ปร เตตฺตึสานํ สมูโห เอตฺถาติ เตตตฺ สึ า
นมิ ฺมติ วสวตตฺ ี ‘เทพผยู้ งั อำ� นาจของตนใหเ้ ป็น ‘ภูมิเป็นท่ีรวมแห่งผู้มีติเหตุกปฏิสนธิ เรียกว่า
ไปในโภคะอนั เทพอืน่ เนรมติ ให’้ (ปร + นิมมฺ ิต ดาวดงึ ส’์

38 ๒๙

โดยมองมุมใหม่ว่า การได้ไปเกิดเป็นเทพ นรชนมปี ัญญา ต้งั อยใู่ นศีล เจรญิ จิตตภาวนา
๓๓ เป็นบุคลาธิษฐาน ส่วนธรรมาธิษฐานใน ปญั ญาภาวนา มคี วามเพยี รเผากเิ ลสและนปิ ก-
เร่ืองน้ีก็คือ การได้ปฏิสนธิจิตในภพภูมิใหม่ ปญั ญา เป็นผเู้ ห็นภยั ในวฏั สงสาร จะสามารถ
น่ันเอง การท่มี ฆมาณพและเพื่อนได้ท�ำกุศลไว้ สางรกชฏั แห่งสังสารวฏั น้ีได้
มาก เมื่อไปเกิดจึงไปเกิดด้วยมหากุศลญาณ จะเหน็ ไดว้ า่ ในคาถานมี้ ปี ญั ญาอยู่ ๓ ระดบั
สัมปยุตอันประกอบด้วยโสมนัส (มหากุศล ด้วยกนั คือ
วบิ าก ดวงที่ ๑) จติ ดวงน้เี ปน็ ตเิ หตุกปฏสิ นธิ ๑) สปญฺโญ ได้แก่ นรชนผู้มีปัญญาอันเกิด
(ปฏสิ นธดิ ว้ ยเหตุ ๓ คอื อโลภะเหตุ อโทสะเหตุ จากกรรมเก่าเป็นสชาติปัญญา คือปัญญาที่
และอโมหะเหตุ) คือมีพื้นเพจิตท่ีดีประกอบ เป็นวิบาก เกิดพร้อมติเหตุกปฏิสนธิจิตและ
ด้วยปัญญา (อโมหะ) เป็นจิตที่สามารถบรรลุ เป็นไปสืบต่อจากน้ัน รักษาภพน้ันๆ เอาไว้
โลกตุ ตรธรรมได้ เปน็ ปญั ญาทส่ี ง่ั สมมาแต่อดีต เป็นอุปนิสสัยปัจจัยแก่การเกิดขึ้นของภาวนา
ชาตนิ น่ั เอง ซงึ่ ปฏสิ นธจิ ติ นมี้ เี จตสกิ ทปี่ ระกอบ ปัญญาด้วย
ร่วมด้วย ๓๓ ตัว และใน ๓๓ ตัวนี้ เจตสิก ๒) ปญฺญญฺจ ได้แก่ วิปัสสนาปัญญา ที่ต้อง
ตัวท่ีสำ� คญั ทีส่ ุดกค็ ือ ปญั ญนิ ทรีย์ น่ันเอง (ช่อื ก็ เจริญใหม้ ขี ้ึนคกู่ นั กบั จิตตภาวนา
บอกอยแู่ ลว้ ว่า ปัญญาคืออินทรยี ์ ) โดยนัยนี้ ๓) นิปโก หรอื ปาริหารกิ ปญั ญา คอื ปัญญา
พระอนิ ทร์ คือ ปัญญาเจตสกิ ส่วนเทพท่เี หลือ ที่ฉลาดในการบริหารจัดการกับปัญหาเวลา
กค็ อื เจตสกิ ทเ่ี หลอื ทปี่ ระกอบในตเิ หตกุ ปฏสิ นธิ เจริญกรรมฐาน
จิตน้ัน ผู้ที่มีพื้นเพจิตที่ดี คือมีติเหตุกปฏิสนธิ

เท่าน้ันที่จะมีโอกาสบรรลุธรรมได้ ซึ่งจะว่าไป
กเ็ หมอื นกบั การไดม้ าอยบู่ นดาวดงึ สห์ รอื บนเขา
พระสเุ มรแุ ลว้ นน่ั เอง ถา้ ไดเ้ จรญิ ไตรสกิ ขาตอ่ ไป
ไมป่ ระมาทในอรยิ สจั สก่ี ส็ ามารถบรรลธุ รรมได้
แตถ่ า้ ประมาทกเ็ หมอื นกลายเปน็ พวกอสรู ตอ้ ง
ถกู เหวย่ี งตกลงจากเขาพระสเุ มรไุ ป (คำ� วา่ อสรุ
มาจาก อสุ ธาตุ เขปเน ในการเหวี่ยงไป)

เพ่ือท�ำความเข้าใจนัยน้ีให้ชัดขึ้น ขอยก เอาละ เมอื่ มี ‘ตเิ หตกุ ปฏสิ นธ’ิ กบั ไดเ้ จรญิ
ตวั อยา่ งพระพทุ ธพจนท์ ตี่ รสั ตอบพระอนิ ทรม์ า ‘โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ’ แลว้ ต่อมาคนๆ น้ันก็
ประกอบ พระอนิ ทร์มาทลู ถามว่าจะถางรกชฏั จะสามารถพัฒนาจิตจนเข้าสู่ช่วงต่อระหว่าง
คอื สังสารวัฏนี้ได้อยา่ งไร พระพทุ ธองค์ได้ตรสั โลกียธรรมกับโลกุตตรธรรม หรืออริยสัจส่ีได้
แกไ้ ว้วา่ (ในอริยสัจส่ีนั้นทุกข์และทุกขสมุทัยจัดเป็น
สอาีเลต ปา ปตี ฏินฺฐิปาโยก น ภโกิร ฺขส ุ ปญโฺ ญ โ จสติ ตฺอ มํิ ป ํ ญวชิ ญฺ ฏญเยจฺ ช ภ ฏาวํ ฯยํ โลกยี ะ สว่ นนโิ รธและนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทาจดั เปน็
โลกุตตระ) ท่ีสามารถแสดงได้โดยชั้นสวรรค์

๒๙ 39

ท่ีลอยอยู่เหนือเขาพระสุเมรุขึ้นไป (คือสวรรค์
สช่ี ั้นบน) ดังจะต้ังวิเคราะหใ์ ห้ดูดังต่อไปนี้

ยามา : (ยม - สำ� รวม หรอื ยา - รู้ และ ไป +
ม ปัจจยั )
ทกุ ขฺ โต ยมนา สยํ มนา ยโม, ยโมเยว ยามา
‘การส�ำรวมระวังจากทุกข์ หรือแยกจาก
ทุกข์ ช่ือว่า ยามา’ (ณ ปัจจัย อา อิตถีลิงค์)
สํยม มาจาก สํ + ยมุ ธาต ุ อุปรเม แปล
วา่ สำ� รวม ระวงั คือระวังทกุ ขท์ ีย่ งั ไม่เกิด ไม่ ตสิตา เป็นอีกชื่อหน่ึงของตัณหา มาจาก ตส
ให้เกิดข้ึน โดยการส�ำรวมอินทรีย์ เป็นหน้าท่ี ธาตุ ในอรรถ อพุ เพเค สะดงุ้ ลง ต ปจั จยั อิ
ตอ่ ทกุ ขสจั จะ คอื ตอ้ งกำ� หนดรู้ (สำ� รวมใจไมใ่ ห้ อาคม ‘ตณั หาผู้ทำ� ความสะดุ้ง’
เขา้ ไปเปน็ ทกุ ข์ ใหแ้ ยกออกเปน็ ‘ทกุ ข’์ และ ‘ผู้ จะเหน็ วา่ ตสุ กบั ตส เปน็ สง่ิ ตรงกนั ขา้ มกนั
รทู้ ุกข’์ เปน็ คนละสว่ นกนั ) ตส ธาตุ ในอรรถ ปิปาเส หิว กระหาย
หรอื อกี วเิ คราะหไ์ ดว้ า่ ทกุ ขฺ ํ ญตวฺ า ทกุ ขฺ โต อยาก เป็นไวพจนข์ องตณั หา
ยาติ นิยฺยาตีติ ยามา ‘รู้ทุกข์ (ท่ีเกิดข้ึนแล้ว) ส่วน ตุส ธาตุ ในอรรถ ตุฎฐิยํเอบิ อมิ่ ยินดี
ยอ่ มออกไปจากทกุ ข์ จงึ เรยี ก ยามา’ ยา ธาตุ กค็ อื สนั ตฏุ ฺฐิ หรอื สนั โดษ นน่ั เอง เปน็ คปู่ รบั กบั
คติยํ ในอรรถว่ารู้ และ อรรถวา่ ไป ตณั หา (ถา้ ตณั หาเปน็ มารดาของทกุ ข์ สนั โดษก็
ญาตพฺพํ ปริญฺญาตพฺพํ เอเตนาติ ยามา ตอ้ งเปน็ มารดาของมรรค จงึ ไม่แปลกทม่ี ารดา
‘พงึ รู้ คือ พึงปริญญา จึงเรียกวา่ ยามา’ สวรรค์ ของพระโพธิสัตว์จะต้องมาสถิตอยู่ที่สวรรค์
นรก นยั นจ้ี งึ อาจไมใ่ ชส่ ถานทแี่ ตเ่ ปน็ มมุ มองตอ่ ชน้ั น)้ี

สถานทท่ี เ่ี ราอยู่ (สวรรคใ์ นอกนรกในใจ) สำ� หรบั สันตุสิตา จึงเป็นชอ่ื ของความสันโดษและ
คนที่ซ้ึงในทุกขอริยสัจนี้แล้วแม้ชั้นสวรรค์ก็คง เป็นชื่อของหัวหน้าเทวดาในสวรรค์ช้ันน้ีไป
ไมต่ า่ งจากขมุ นรกเท่าไรนัก พระยายมแมเ้ ป็น พร้อมกัน จะเห็นว่า หน้าท่ีต่อสมุทัยสัจหรือ
เทพก็ยังต้องทนอยู่ในนรกทุกวัน สวรรค์โลก ตัณหานัน้ คือตอ้ งละนน่ั เอง
กลับกลายเป็นยมโลกท่ีต้องรู้และต้องส�ำรวม
ระวงั ในเมอ่ื สขุ กต็ อ้ งแปรไป ถา้ เรายงั ยดึ อยู่ มนั นมิ มานรตี : (นิ - ออก มาน - มานะ รตี - ยนิ ด)ี
ก็คือทุกข์ดีๆ นี่เอง กลายเป็นเรือนจ�ำขังเราไว้ มานโต นกิ ฺขนฺตํ นมิ ฺมานํ นิพฺพานํ ‘เรียก
กบั ความทรงจ�ำทีด่ ๆี ท�ำให้ไม่พ้นไปจากมันได้ นิพพานเพราะออกจากมานะ’
นี ในความหมายว่า นีหรติ น�ำออก น�ำ
ตุสิตา : (อุ - แยก ตสติ า - ตัณหา) มานะซงึ่ เปน็ สงั โยชนช์ ดุ สดุ ทา้ ยออก กค็ อื นโิ รธ
อุ วโิ ยคา ตสิตาย ตุสิตา ‘แยกจากตณั หา หรอื นพิ พาน นั่นเอง
ช่อื ว่า ตสุ ติ า’ หรือ นิมฺมานสฺส รติ รมณา สจฺฉิกิริยา
อุ (ในอรรถวิโยค = การแยกจากกัน) + นิมฺมานรตี ‘ยินดี (ท�ำให้แจ้ง) ซ่ึงนิพพาน
ตสติ า (จากตณั หา) ไดร้ ปู สำ� เรจ็ เปน็ ตสุ ติ า สว่ น จงึ เรียกนมิ มานรต’ี

40 ๒๙

นมิ มานรตี ในการตั้งวิเคราะหแ์ บบนี้ ก็คอื แหละ เพียงแต่จะหยุดอยู่ท่ีสวรรค์หรือจะต่อ
ยนิ ดใี นพระนพิ พาน หรอื ตอ้ งทำ� นโิ รธสจั ใหแ้ จง้ ไปนิพพานก็ขึ้นอยู่กับบารมีของแต่ละคนแล้ว
นั่นเอง วา่ เมอ่ื ไรจะเตม็ รอบ.

ปรนมิ มติ วสวัตตี : (ปร - เลิศ นิมมิต - ไม่มี เป็นท่ีน่าสังเกตว่า ‘พระยามาร’ ก็เป็น
ประมาณ วส - อ�ำนาจ วตฺตี - ให้เปน็ ไป) เจ้าของสวรรค์ชั้นสูงท่ีสุดคือช้ันที่ ๖ ด้วย
ปรสฺส อตุ ฺตมสสฺ นมิ ฺมิตสฺส อมิตสสฺ อปปฺ เหมือนกัน และก็มีแต่พระพุทธเจ้าและพระ
มาณสสฺ จติ ตฺ สสฺ วสํ วตเฺ ตตตี ิ ปรนมิ มฺ ติ วสวตตฺ ี อรหันต์เท่านั้นท่ีจะสามารถมองเห็นพระยา
‘ยังอ�ำนาจ (ความสามารถ) ของจิตที่เลิศ มารได้ ใครที่อยู่บนสวรรค์แต่ไม่รู้จักอริยสัจสี่
ที่สุดท่ีไม่มีประมาณ (โลกุตตรจิต) ให้เป็นไป’ ก็คงต้องเป็นลูกน้องพระยามารกันต่อไป ส่วน
น่นั ก็คอื ต้องเจรญิ มรรคสัจใหบ้ รบิ รู ณน์ น่ั เอง ผู้ที่ศึกษาอริยสัจสี่อาจจะพอเห็นเค้ามารพอ
เปน็ เงาๆ ไดบ้ า้ ง การโยงจากองคเ์ ทพเขา้ สอู่ งค์
สรุปว่าชื่อของสวรรค์สี่ช้ันบนท่ีลอยอยู่ ธรรมจึงเป็นความพยายามก้าวแรกที่จะเข้าใจ
เหนือเขาพระสุเมรุน้ัน เม่ือผ่านการวิเคราะห์ มาร มารนั้น โดยธรรมาธิษฐานก็คือ ความ
รปู ศพั ทใ์ หม่ กค็ อื หนา้ ทต่ี อ่ อรยิ สจั ทงั้ ส่ี นน่ั เอง รสู้ ึกถอื ตวั ถอื ตน หรอื ‘มานะ’ นี้เอง ทีจ่ ริง
๑) หนา้ ทตี่ อ่ ทกุ ข์ คอื ปรญิ ญา ใหก้ ำ� หนดรู้ หามีไม่ มีแต่ธรรมะล้วนๆ ท่ีเป็นไปตามเหตุ
แทนด้วยภูมิ ยามา “รู้ (ทุกข์) แล้วไปจาก ปจั จยั สบื เนอื่ งเปน็ ไปตลอดมาและจะเปน็ อยา่ ง
(ทกุ ข์)” นีต้ ลอดไป เข้าใจจึงหลดุ พ้น ไม่เข้าใจกต็ ดิ สยบ
๒) หนา้ ทตี่ อ่ สมทุ ยั คอื ปหานะ ใหล้ ะ แทน อย่ทู ่สี วรรค์นนั่ แหละ
ดว้ ยภมู ิ ตสุ ติ า “แยกจาก ตสะ (ความสะดงุ้ หรอื
ตัณหา) - ด้วย ตสุ ะ คือความสันโดษ” ดังน้ันพวกเราได้ส่งเสด็จในหลวงไปสู่
๓) หนา้ ท่ตี อ่ นิโรธ คอื สัจฉกิ ริ ิยา ใหท้ ำ� ให้ สวรรคาลยั แลว้ กค็ วรทำ� ความเขา้ ใจสวรรคแ์ นว
แจ้ง แทนด้วยภูมิ นิมมานรตี “ยินดี (ใน พุทธไว้บ้าง การร้องไห้เน่ืองจากการสูญเสีย
นิพพาน) ที่น�ำออกจากมานะ” พ่อ เป็นความรักในตัวบุคคล เป็นน�้ำตาร้อน
๔) หน้าที่ต่อมรรค คือภาวนา ให้เจริญ เปน็ นำ้� ตาทย่ี ังมมี ลทนิ เกิดจากความเศรา้ โศก
แทนดว้ ยภมู ิ ปรนมิ มติ วสวตั ตี “ยงั อำ� นาจของ เร่าร้อนดว้ ยไฟราคะ ไฟโทสะ และไฟโมหะ แต่
(จิต) ทเี่ ลศิ ไม่มีประมาณ (คอื อรยิ มรรคจิต) ให้ ถ้าร้องไห้เพราะความรักในธรรมะ เป็นน�้ำตา
เป็นไป (ย่ิงๆ ขึน้ )” เย็น ปราศจากมลทิน มปี ีติ โสมนสั เพราะได้
สดับธรรม ได้หย่ังรู้ธรรม จัดเป็นยาใช้ช�ำระ
ดังนั้นสวรรค์ชาวพุทธจึงเป็นสวรรค์แห่ง ราคะ โทสะ และโมหะได้
การทำ� ไมใ่ ชส่ วรรคท์ ค่ี อยเสพเสวยผล มหี นา้ ท่ี
ที่ต้องท�ำต่อไปให้สุด ดังค�ำในพระบาฬีท่ีมีว่า เอาล่ะ ได้ทราบความหมายใหม่ของแต่
สคฺคโมกขฺ มคคฺ คือทางไปส่สู วรรค์และวิโมกข์ ละชน้ั สวรรคแ์ ลว้ ทนี ขี้ อตงั้ วเิ คราะหค์ ำ� วา่ สคคฺ
(ความหลุดพ้นหรือพระนิพพาน) นั้นสามารถ ใหม่ วา่ สุขญจฺ ตํ อคฺคญจฺ าติ สคฺค,ํ
ไปถึงด้วยทางคือสัมมามรรคเหมือนกันน่ัน สคคฺ ํ เอตฺถ อตถฺ ตี ิ สคโฺ ค

๒๙ 41

เป็นที่สิ้นตัณหา เป็นที่ปราศจากก�ำหนัด เป็น
ท่ีดับทกุ ข์ คือ พระนิพพาน)

โดยสรุป สุ ก็คอื อรยิ สจั ท่ี ๑ และ ๒ และ อคฺค
ก็คอื อริยสจั ท่ี ๓ และ ๔ นนั่ เอง
ดังนน้ั สคคฺ หรอื สวรรค์แบบพทุ ธ ต้องมี
ทงั้ ‘ฐานทดี่ ’ี และ ‘อรยิ สจั ทงั้ สข่ี อ้ ’ เพราะ สขุ
โดยไม่รู้จักสัจจะก็คงสุขอยู่ได้ไม่นาน มีแต่สุข
ท่ีประกอบด้วยสัจจะเท่านั้น จึงจะเป็นสุขที่
ยงั่ ยนื เปน็ สขุ ทพี่ น้ จากความทกุ ขไ์ ดโ้ ดยสนิ้ เชงิ

‘สุ ‘ความสุข’ และ อคฺค ‘ความเลิศ’ มีอยู่ พวกเราส่งเสด็จสู่สวรรค์แล้วก็ควรส่งใจ
ในทใี่ ด ทน่ี น้ั เรียกวา่ สวรรค’์ กนั ใหถ้ งึ อรยิ สจั ดว้ ย จงึ จะจบครบสมบรู ณต์ าม
มาดูความหมายใหม่ของสวรรค์กันอีกที แบบฉบบั สวรรคข์ องชาวพทุ ธ
โดยครงั้ นจ้ี ะขอนำ� ความหมายจากอคั คปั ปสาท- จตุสจฺจปฏิเวธปริยนฺตํ อชฺชตคฺเค ปาณุเปตํ
สตู ร (สตู รวา่ ดว้ ยความเลอ่ื มใสอนั เลศิ ) มาชว่ ย พทุ ฺธํ ธมฺมํ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ
ในพระสูตรน้ี พระพุทธเจ้าตรัสไว้เองว่า อคฺค ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า พระธัมมเจ้า
หรอื ธรรมทีเ่ ลิศน้ี คืออะไร ? พระสังฆเจ้า ว่าเป็นสรณะ ทีพ่ ง่ึ ท่ีระลึก
ตราบจนกว่าจะแทงตลอดด้วยอรยิ สจั สี่ ตัง้ แต่
ยาวตา, ภกิ ฺขเว, ธมฺมา สงฺขตา,
อริโย อฏฺ ฐงฺคิโก มคฺโค เตสํ อคฺคมกฺขายติ วนั นเี้ ป็นตน้ ไปตราบส้ินลมปราณ
ธรรมท้ังหลาย ที่เป็นสังขตะคือสิ่งปรุงแต่ง มี
ประมาณเทา่ ใด หนังสอื อ้างองิ และท่ปี รกึ ษา
ปราชญ์กล่าวอริยมรรคมีองค์ ๘ ว่าเป็นอคฺค พจนานกุ รม มคธ - ไทย รวบรวมโดย พนั ตรี ป. หลงสมบุญ
คือเปน็ เลศิ แหง่ ธรรมท้ังปวงนน้ั ศัพท์วิเคราะห์ พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี) ป.ธ.๙

ราชบณั ฑติ
ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ รจนาโดย พระวิสุทธาจาร-
ยาวตา, ภิกฺขเว, ธมฺมา สงฺขตา วา มหาเถระ
อสงฺขตา วา, วิราโค เตสํ อคฺคมกฺขายติ พระอาจารย์ซอ ชวโน อลังการาภิวังสะ ที่ปรึกษาในการ
ธรรมทั้งหลาย ทั้งท่ีเป็นสังขตะทั้งท่ีเป็นอสัง- วเิ คราะห์ศัพท์

ขตะ มีประมาณเทา่ ใด
ปราชญ์กลา่ ว วิราคธรรม ว่าเปน็ อคฺค คือ
เป็นเลิศแห่งธรรมทง้ั ปวงน้นั

(วิราคะ คือ ธรรมเป็นท่ียังความเมาให้สร่าง
เปน็ ทร่ี ำ� งบั เสยี สน้ิ ซง่ึ ความกระหาย เปน็ ทถี่ อน
ขึ้นหมดซึ่งอาลัย เป็นท่ีเข้าไปตัดเสียซึ่งวัฏฏะ

42 ๒๙

กวนี ิพนธ์

พระสมภารบารมีเป็นที่สุด

พระสมภารบารมีเป็นที่สดุ เปน็ ที่พงึ่ ของมนษุ ยม์ าหนกั หนา
รม่ เยน็ ทั้งปฐพีนานปมี า เจ็ดสิบปพี ระผ่านฟา้ ร่มฟ้าดนิ
น�้ำพระทัยหาไหนไม่ปานเปรยี บ ทุกข์เรียบราบสลายมลายสน้ิ
มีแตส่ ุขทกุ วนั มาเป็นอาจิณ จนนึกจินตการแน่อย่แู กใ่ จ

วา่ พระร่มโพธ์ทิ องจะครองราชย ์ ปกชาติให้สุขสันตน์ ริ นั ดร์สมัย
ไม่มวี นั เปลยี่ นแปรกระแสไป เปน็ อนื่ ใดเพราะเคยเห็นอยเู่ ชน่ นี้

แต่แล้วความเจ็บปวดอันรวดรา้ ว กย็ ่างกา้ วเขา้ มาจนถึงที่
วนั คนื ทีพ่ ระนฤบดี เสดจ็ ลลี าสสวรรค์ล่วงครรไล
สดี ำ� คลำ้� คลมุ้ คลุมแผน่ ดนิ มแี ตห่ ยาดน�ำ้ ตารินสะอน้ื ไห้
พระมหากรณุ าจารึกใจ รอยพระบาทยาตรไปคอื หนทาง
ส่งเสด็จสู่สวรรค์ชน้ั ดสุ ติ อนั พระโพธิสตั ว์สถิตตามแบบอย่าง
เพือ่ บ่มบญุ ให้เข้มเตม็ ระวาง เปน็ พทุ ธางกูรตรสั พระสจั ธรรม

เชน่ นห้ี นอพอทใี่ จจะไดช้ น่ื แผ่นดินไหนใครอนื่ จะเกินก�้ำ
คนไทยเรานีม้ ีบญุ ล้ำ� พบทรงธรรมทรงครองผองพวกเรา
วันข้างหนา้ มลี กู จะบอกลกู เจา้ บุญปลูกพอ่ โชคใหญใ่ ครจะเทา่
เคยไดซ้ บพระบาทคอู่ ยู่แนบเนา พระเปน็ เจ้า "ภมู ิพล" ปลืม้ จนตาย๛

ประพันธโ์ ดย ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ

๒๙ 43

ปุญฺญวํโส

ความรักของ ร.๙ธรรมปริทัศน์

ความรกั คอื ความหว่ งใยอาทร ความหวงั ดี เปลี่ยน มีความหงึ หวงเพื่อตนเสพเทา่ นน้ั เรยี ก
ความปรารถนาใหค้ นรกั มสี ขุ ไมม่ ที กุ ขภ์ ยั ความ วา่ กามนยิ ม ถา้ มีลูกๆ แลว้ เผอื่ แผ่ความรักไป
อยากเอาใจใสด่ แู ล ความอยากชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู ยังลกู ๆ สายโลหิต อยกู่ นั เปน็ ครอบครัว ความ
ความยินดีในความสุขความส�ำเร็จของคนรัก รักก็ขยายตัวข้ึน ความเห็นแก่ตัวน้อยลง แต่
ความเสียสละพร้อมให้แก่คนรัก การยอมเสีย จะเห็นแก่ครอบครัวตัวเอง มิติแห่งความรักก็
เปรยี บ ถา้ รกั ตนเองมากไปจนเหน็ แกต่ วั เอารดั เรม่ิ สงู ขนึ้ เปน็ มิติที่ ๒ เรยี กว่า พันธนุ ยิ ม ถา้
เอาเปรียบผอู้ ่นื ไมย่ อมเสยี สละแบง่ ปันอะไรๆ เผอ่ื แผค่ วามรกั ความชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู ไปยงั หมู่
แก่ใครเลย เอาแตไ่ ด้ ไม่คิดจะให้ หรือทำ� อะไร วงศาคณาญาติมากขึ้น ความเห็นแก่ตัวจะลด
จะคิดถึงผลประโยชน์ผลตอบแทนของตนเอง ลงอกี เปน็ ความรักมิตทิ ี่ ๓ เรียกว่า ญาตนิ ยิ ม
เปน็ สำ� คญั ความรกั ตวั เองนเี้ ปน็ ความเหน็ แกต่ วั เมื่อจิตสำ� นกึ เห็นแก่ส่วนรวมมากข้นึ แบ่ง
เปน็ ความรกั มติ ติ ำ่� สดุ ตดิ ลบ เรยี กวา่ อตั ตนยิ ม ปนั ความชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู บำ� เพญ็ ประโยชนต์ อ่
ถ้าแบ่งปันความรักแก่ผู้อ่ืน หวังให้มาใช้ชีวิต สังคม ตั้งแต่ระดับชุมชน หมู่บ้าน จนถึงภาค
ร่วมกัน ช่วยเหลือกัน ร่วมทุกข์ร่วมสุขกัน น้ี เรียกความรักน้ีว่า สังคมนิยม กระจายกว้าง
เป็นความรักมิติดีข้ึนมาข้ันหน่ึง แต่ยังเห็นแก่ ขวางไปจนทงั้ ประเทศชาติ ไมเ่ ฉพาะจงั หวดั ตน
แคค่ น ๒ คน คอื ตนเองกบั คนรัก ไมไ่ ดเ้ หน็ แก่ ภาคตน เช้ือชาติเผ่าพันธุ์ตน พร้อมช่วยเหลือ
คนอื่นๆ โดยมีเรื่องเพศเป็นเครื่องผูกพันแลก บรรเทาทกุ ขเ์ พอื่ นรว่ มชาติ เมอ่ื เขาประสบทกุ ข์

44 ๒๙

หรือเหตเุ ภทภัย ยอมเสียสละอะไรๆ เพื่อชาติ ความถกู ตอ้ งดงี ามเหนอื สงิ่ ใด เรยี กความรกั มติ ิ
ได้ เรียกวา่ ชาตนิ ิยม ถา้ รักคนทั้งโลก ไมเ่ ก่ยี ง สดุ ทา้ ยที่ ๑๐ นว้ี ่า พุทธภูมนิ ิยม
ชาติ ผิวพรรณ เผ่าพันธุ์ใดในหล้า พร้อมช่วย ในหลวง ร. ๙ ทรงงานอยา่ งหนกั สรา้ งผล
เหลือเมื่อชนชาติอ่ืนประสบทุกข์ภัยด้วยปัจจัย งานท่เี ป็นประโยชน์แกบ่ ุคคล ชมุ ชน ประเทศ
ส่ีหรือแรงกายแรงใจ หวังสันติสุขสันติภาพให้ ชาติ และชาวโลก รวมท้ังสัตว์และสง่ิ แวดล้อม
ชาวโลก เรยี กวา่ สากลนยิ ม ถา้ ความรกั ยงิ่ ใหญ่ มายาวนานจนเปน็ ทปี่ ระจกั ษท์ วั่ ทง้ั โลก ทว่ั โลก
กว่ามิติธรรมดาของคนท่ัวไปในโลก กระจาย ต่างชมเชยยกย่องนบั ถอื ในคณุ ธรรมความเสยี
สู่สรรพชีวิต ไม่แบ่งแยกมิตรศัตรู รักทุกส่ิง สละผลงานของพระองค์ท่าน จนได้รับถ้วย
พร้อมแบกภาระทุกข์ของชาวโลกด้วยความ รางวัลหรือเหรยี ญระดบั โลกหลายคร้ัง จนเชื่อ
กรุณาแม้ตนทุกข์ยากล�ำบากถึงข้ันพลีชีวิต ได้ว่าพระองค์ท่านคือพระโพธิสัตว์ ตามท่ีมี
เพื่อจรรโลงโลกให้ดีงามรุ่งเรืองในธรรม เรียก พระเกจิดังๆ มากหลายท่านได้กล่าวไว้ เม่ือดู
วา่ เทวนิยม พระจริยวัตรของพระองค์ท่านตามหลักวิชา
แต่ความรักที่พลิกมุมกลับ พยายามเลิก พุทธศาสนาแล้ว ก็เข้าได้กับพระโพธิสัตว์จริง
ความรกั ความผกู พนั เลกิ อปุ าทานในสง่ิ ทต่ี นรกั จึงนับได้ว่าพระองค์มีความรักขั้นสูงชั้นพุทธ-
ท่ีท�ำให้ตนมีสุขอันอิงอามิสเป็นเหตุทุกข์ จนมี ภมู ินยิ ม
สภาวะเข้าใจความจริงจนหลุดพ้น ปลดปล่อย
อปุ าทานในความรกั บางสว่ นได ้ เขา้ ถงึ ทกุ ขอรยิ - A bomb of love
สจั จงึ พน้ ทกุ ขไ์ ดร้ ะดบั หนงึ่ เรยี กวา่ สจั นยิ ม ถา้ นิยามค�ำว่า “รัก” ของ อลั เบริ ์ต ไอน์สไตน์
เข้าถึงความจริงขั้นสูงสุดจนหลุดพ้นหมดสิ้น ปลายทศวรรษ 1980 Lieserl Einstein
ความรักเกล้ียง เพราะประจักษ์ว่าความรักใน ลูกสาวของ Albert Einstein ได้บริจาค
กามหรือในภพคือความทุกข์ ก็พ้นทุกข์ได้ส้ิน จดหมายของพ่อให้แก่มหาวิทยาลัยฮีบรู หน่ึง
เชงิ เรยี กวา่ นิพพานนยิ ม ในน้ันเป็นจดหมายถึงเธอ มีใจความวา่ ...
สงู สุดคอื ความรกั ทย่ี ่งิ ใหญ่ เปน็ ความรกั “ตอนท่ีพ่อน�ำเสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพ
ของพระโพธิสัตว์หรือพระพุทธเจ้า คือ ไม่ใช่ ออกไป ไม่ค่อยมีใครเข้าใจพ่อหรอก สิ่งท่ีพ่อ
ความรักแบบโลกๆ ไม่มีความรักอิงอามิส จน จะเปิดเผยในเวลาน้ีเพื่อส่ือถึงมนุษยชาติ ก็จะ
มองได้ว่าไม่มีความรัก แต่เป็นความรักที่เป็น ปะทะกับความเข้าใจผิดและอคติในโลกด้วย
มหากรุณา เป็นความรู้ หรือโพธิญาณ หรือ เช่นกนั พ่อขอใหล้ กู รักษาจดหมายเหล่าน้ไี วใ้ ห้
สพั พญั ญู เสยี สละเพอ่ื มนษุ ยแ์ ละสตั วโ์ ลกอยา่ ง นานตราบเท่าท่จี �ำเปน็ หลายๆ ปี หลายๆ สิบ
ไม่มีขีดจ�ำกัดตลอดถึงภพภูมิทั้งหลาย โอบอุ้ม ปี จนกวา่ สงั คมจะกา้ วหนา้ พอทจี่ ะยอมรบั สงิ่ ท่ี
โลก เตม็ กำ� ลงั ดว้ ยอตุ สาหะอยา่ งไมม่ คี วามเหน็ พ่อจะอธบิ ายตอ่ ไปนี้
แก่ตัวเลย ส่ิงใดดี มีประโยชน์ ถูกต้อง เหมาะ มีพลังที่มีอานุภาพมหาศาลอย่างหน่ึงซ่ึง
สมกบั กาลเวลา กจ็ ะทำ� ใหด้ ที สี่ ดุ โดยไมล่ ำ� เอยี ง จวบจนขณะน้ี วิทยาศาสตร์ยังไม่มีค�ำอธิบาย
เข้าข้างบุคคลใดเลย แต่จะเข้าข้างธรรมคือ อย่างเป็นทางการ เป็นพลังที่รวมและควบคุม
พลังอ่ืนๆ ทั้งปวงเอาไว้ กระท่ังอยู่เบื้องหลัง

๒๙ 45

ปรากฏการณ์ใดๆ ท่ีปฏิบัติการอยู่ในเอกภพ ขอ้ สรปุ วา่ ความรกั เปน็ พลงั ทที่ รงอานภุ าพทสี่ ดุ
และเรายังไม่ได้ท�ำการระบุเสียด้วย พลัง ที่มีอยู่ เพราะมนั ไมม่ ขี ดี จ�ำกัด
จักรวาลนคี้ อื ความรัก หลงั จากทม่ี นษุ ยชาตปิ ระสบความลม้ เหลว
เมอ่ื นกั วทิ ยาศาสตรม์ องหาทฤษฎรี วมของ ในการใช้และควบคมุ พลงั งานอนื่ ๆ ในจักรวาล
จกั รวาล เขาลืมพลังท่มี องไมเ่ ห็นซึ่งมอี านุภาพ ท่ีขัดขวางเราแล้ว จึงเป็นเร่ืองเร่งด่วนท่ีเราจะ
สงู สดุ นไ้ี ปเสยี ความรกั คอื แสงซงึ่ ใหค้ วามสวา่ ง หล่อเลี้ยงตัวเองด้วยพลังงานอีกประเภทหนึ่ง
แกผ่ ใู้ หแ้ ละผรู้ บั ความรกั คอื แรงโนม้ ถว่ ง เพราะ หากเราต้องการให้ species ของเราอยู่รอด
มันดึงดูดคนบางคนเข้าหาคนอ่ืน ความรักคือ หากเราตอ้ งการคน้ หาความหมายของชวี ติ หาก
อำ� นาจ เพราะมันทวีคูณส่งิ ท่ดี ีที่สุดท่เี รามแี ละ เราต้องการช่วยโลกและสิ่งมีชีวิตที่มี sense
ช่วยให้มนุษยชาติไม่ดับสูญไปในความเห็นแก่ รับรู้ซ่ึงอาศัยอยู่ในโลกแล้วละก็ ความรักคือ
ตัวอย่างมืดบอดของตนเอง ความรักคลี่คลาย คำ� ตอบเดยี วทม่ี ี
เผยตัวออกมา เรามีชีวิตอยู่และตายเพื่อความ เราอาจจะยังไม่พร้อมที่จะผลิตระเบิดรัก
รกั ความรกั คอื พระเจา้ และพระเจา้ คอื ความรกั ซง่ึ เปน็ อปุ กรณท์ ม่ี แี สนยานภุ าพพอทจี่ ะทำ� ลาย
พลังน้ีอธิบายทุกส่ิงทุกอย่างและให้ความ ความเกลยี ดชงั ความเหน็ แกต่ วั และความโลภ
หมายแก่ชีวิต นี่คือตัวแปรท่ีเรามองข้ามมา ซงึ่ ยำ่� ยโี ลกไดอ้ ยา่ งราบคาบ แตท่ กุ คนกม็ เี ครอ่ื ง
เนิ่นนานจนเกินไป ที่เรากลัวความรัก อาจ กำ� เนิดความรักเล็กๆ อนั ทรงพลังอย่ใู นตัว ซึง่
เป็นเพราะมันเป็นพลังงานเพียงอย่างเดียวใน รอคอยการปลดปลอ่ ยพลงั งานออกมา
จักรวาลที่มนุษย์ยังไม่รู้จักวิธีการขับเคลื่อนได้ เม่ือเราเรียนรู้ที่จะให้และรับพลังงาน
ตามใจปรารถนา จักรวาลนี้ เราก็จะพิสูจน์ได้ว่า ความรักพิชิต
เพื่อให้มองเห็นภาพความรักได้ พ่อจึงขอ ทุกสิ่งทุกอย่าง สามารถกา้ วขา้ มทุกอยา่ งไม่วา่
แทนค่าสมการท่ีขึ้นช่ือที่สุดของพ่ออย่างง่ายๆ สิง่ ใด ทั้งนเี้ พราะความรักคอื แก่นแท้แหง่ ชวี ิต
แทนท่ีจะเป็น E (พลังงาน) = mc2 (มวล x พ่อเสียใจท่ีไม่สามารถถ่ายทอดสิ่งที่อยู่ใน
ความเร็วแสง2) ถ้าเรายอมรับว่าพลังงานที่จะ หวั ใจของพอ่ ซง่ึ เตน้ เพอื่ ลกู อยเู่ งยี บๆ มาตลอด
เยียวยาโลกได้สามารถได้มาโดยผ่านความรัก ชีวิต ออกมาได้ บางทีอาจจะสายเกินกว่าจะ
คูณด้วย ความเร็วแสงยกก�ำลัง ๒ เราก็จะได้ ขอโทษ แตโ่ ดยทเี่ วลาเปน็ สงิ่ สมั พทั ธ์ พอ่ จงึ ตอ้ ง
บอกลกู วา่ พอ่ รกั ลกู และเพราะลกู พอ่ จงึ บรรลุ
คำ� ตอบขั้นสดุ ทา้ ยนไี้ ด้ ! ”
พ่อของลูก / Albert Einstein…
(Credit : Rafael Téllez-Girón)

ระเบดิ แหง่ ความรักจากพ่อ
เราจะเห็นปรากฏการณ์อย่างหนึ่งหลัง
ในหลวง ร. ๙ เสด็จสวรรคต คือท่ัวโลกต่าง
เสียใจและมาแสดงความเคารพพระบรมศพ

46 ๒๙

ท้ังซาบซ้ึงยกย่องเชิดชูให้เกียรติอย่างจริงใจ
ในความดีงามเสียสละสร้างสรรค์ประโยชน์
แก่มวลมนุษยชาติในพระราชจริยวัตรตลอด
พระชนมช์ พี ของพระองค์ กอ่ ใหเ้ กดิ แรงบนั ดาล
ใจของคนไทยจ�ำนวนมากที่จะท�ำความดี เสีย
สละเพ่ือส่วนรวม เพ่ือในหลวง เพราะความ
รักความอาลัยความซาบซึ้งประทับใจยิ่งใน
พระองค์ท่าน จนเกิดความรักความสามัคคีใน
คนไทยหลายหมู่เหล่า เกิดจิตอาสาเสียสละ
มากมายที่ท้องสนามหลวงและบริเวณใกล้
เคียง รอบพระราชวังอันเป็นท่ีต้ังพระบรมศพ
ทุกคนมาด้วยความคิดจะให้ ท�ำความดีคนละ
เล็กคนละน้อย แต่จ�ำนวนคนท่ีท�ำมากและต่อ
เนื่องยาวนานหลายเดือน จนเกิดคลื่นความ หนึ่งอันเดียวกัน ซ่ึงปกติจะเห็นแค่ช่วงส้ันๆ
รักส่ันสะเทือนกระจายไปท่ัวไทยทั่วโลกเป็น ในวันพอ่ ๕ ธ.ค. นบั เปน็ ปรากฏการณท์ ่หี าได้
ที่ประจักษ์ เกิดโครงการจิตอาสาเพื่อความดี ยากในโลกปัจจุบัน น่ีจะไม่เรียกว่าระเบิดแห่ง
มากมายถวายเพื่อความรักในหลวง คนเมื่อ ความรักตามที่ไอสไตน์กล่าวได้ไง และจะเป็น
จิตใจเดียวกันก็มีความรักความสามัคคีเป็นอัน ตวั อย่างทดี่ แี ก่ผนู้ �ำ และชาวโลกทัง้ มวลต่อไป

(Credit : “ความรักสบิ มติ ิ, ระเบดิ ความรกั จากพอ่ ” สมณะโพธริ กั ษ์ ธรรมทัศนส์ มาคม บุญนยิ มทวี ี)

วิวัฒนาการของความรัก

ความรัก มีหลากหลาย ใช่แค่ชาย หญิงรักหนา
รักตน ด้วยอัตตา รักมารดา พ่อลูกกัน
รักญาติ หมู่เพ่ือนผอง สังคมข้อง เก่ียวตัวฉัน
รักชาติ มวลชนชั้น ใจแบ่งปัน ท่ัวโลกา
พระเจ้า รักทุกข์แทน พลีชีพแม้น ส้ินทรมา
รักอริย สัจสูงค่า อรหันต์พา ส้ินทุกข์ตรม
รักเลิศ ประเสริฐสุด องค์พระพุทธ เหนืออินทร์พรหม

พุทธ ภูมินิยม อุดมม- หากรุณา ๛

๒๙ 47

สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
ตามรอยธรรม

พระธรรมเทศนา “สมเด็จพระสงั ฆราช ฯ”
พระธรรมเทศนาพระอริยวงศาคตญาณ พระองค์ให้ปรากฏแก่ผู้ร�ำลึกถึง ในเวลาค�ำนึง
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ถึงพระราชคุณูปการ จะรู้สึกเหมือนได้รับ
ในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระราชทานพระบรมราชูปถัมภ์โดยตรง เฉก
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล- เช่นบัณฑิตผทู้ รงความปรีชา ยอ่ มปรารภความ
อดุลยเดช บรมนาถบพิตร ในวันที่ ๒๖ ต.ค. อย่างเดียวกัน คือสรรเสริญพระบรมศาสดา
๒๕๖๐ ณ พระที่นง่ั ทรงธรรม มณฑลพธิ ที ้อง แม้พระองค์เสด็จปรินิพพานนานมาแล้ว ก็ดุจ
สนามหลวง มีใจความวา่ ปรากฏอยู่โดยความเป็นอตีตารมณ์ คือค�ำนึง
พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพล- เห็นแม้ล่วงไปแล้วยังอยู่ด้วยพระคุณท้ังหลาย
อดุลยเดช บรมนาถบพิตร แม้เสด็จสวรรคต อนั จะพงึ รสู้ ึกได้ดว้ ยใจ
ล่วงลับไปกวา่ ๑ ปแี ล้ว ก็เหมือนยงั ทรงสำ� แดง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล-
อดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร ทรงถนอมอุปการะ
พระราชโอรส พระราชธดิ า พระราชนดั ดา และ
พระราชปนัดดา ตามหน้าท่ีแห่งสมเด็จพระ
ราชบุพการีตลอดมา พระทายาทที่ทรงพระ
เจริญแล้ว พอจะทรงพระอุเบกขาได้ ก็ยังมี
พระราชหฤทยั จดจอ่ ดว้ ยพระเมตตากรณุ า สม
ด้วยพระพุทธภาษิตว่า พฺรหฺมาติ มาตาปิตโร

48 ๒๙
น้อมน�ำพระปัญญาญาณไปบันดาลชีวิตของ
ตนให้อยู่ดีมีสุข พึ่งพาตนเองได้ เป็นพลเมือง
ดี มีสติปัญญาและคุณธรรมพร่ังพร้อมยังคง
ความผาสขุ รม่ เยน็ อยา่ งยง่ั ยนื ยอ่ มทรงอม่ิ พระ
ราชหฤหัย ดุจดังพระบรมศาสดา ทรงกระท�ำ
พทุ ธกจิ แกพ่ ระสาวก ทรงอม่ิ พระพทุ ธกมลแลว้
เปลง่ พระวาจาวา่ กจิ ใดศาสดาผกู้ รณุ าแสวงหา
ประโยชน์พึงท�ำแก่สาวกท้งั หลาย กิจน้นั เราได้
ทำ� แลว้ แกพ่ วกท่านทุกประการดังน้ี
สมเดจ็ พระสัมมาสัมพทุ ธเจ้า เมื่อจะเสด็จ
ดับขันธปรินิพพานได้ประทานพระปัจฉิม
โอวาทวา่ "หนทฺ ทานิ ภกิ ฺขเว อามันตฺ ยามิ โว

มารดาบิดาชื่อว่าเป็นพรหมของบุตร ก็พรหม วยธมฺมา สงฺขารา อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ"
มีเมตตากรุณาเป็นธรรมะเครื่องอยู่ฉันใด ความว่า ภิกษุทั้งหลาย บัดน้ีเราเตือนท่านทั้ง
พระองค์ย่อมทรงพระเมตตาปรารถนาสุขและ หลาย สงั ขารมคี วามเสื่อมไปเปน็ ธรรมดา ทา่ น
ทรงพระกรุณาวิตกวิจารณ์จากเร่ืองทุกข์ของ ท้ังหลาย จงท�ำประโยชน์ต่อตนและผู้อ่ืนให้
พระทายาทฉันน้ัน แต่พรหมวิหารธรรมของ สมบรู ณด์ ว้ ยความไม่ประมาท
พระองค์หาได้เผ่ือแผ่จ�ำกัดเฉพาะแก่ในเฉพาะ สงั ขารหรอื สภาพแหง่ รา่ งกายและจติ ใจอนั
ประยรู ญาตเิ ทา่ นนั้ แมพ้ ระบรมวงศานวุ งศก์ ย็ งั ถูกปรุงแต่งข้ึน เปรียบเหมือนบ้านเรือน เป็น
เผื่อแผ่ไปด้วย และเผ่ือแผ่ตลอดโดยตรงถึง "อพั ยากตธรรม" ไมจ่ ดั เป็นบุญเปน็ บาป อยา่ ง
อาณาประชาราษฎร์ทุกหมู่เหล่าทุกเช้ือชาติ ดเี พยี งท่ปี รากฏและเหน็ อยู่ภายนอก เป็นของ
ศาสนาทุกเพศและทุกวัย ทั้งบรรพชิตและ สวยของงามแตกต่างกันบ้างก็เท่าน้ัน ความ
คฤหัสถ์ บรรดาที่ควรจะทรงสงเคราะหไ์ ดด้ ว้ ย สำ� คญั อยทู่ ผี่ อู้ ยใู่ นบา้ นเรอื นนน้ั ตา่ งหากวา่ เปน็
สถานใดๆ ก็ทรงสงเคราะห์ด้วยสถานน้ันๆ ใคร ถ้าเปน็ ผูป้ ระเสริฐ บา้ นนั้นก็เปน็ บ้านของ
กล่าวอย่างส้ันคือ ทรงด�ำรงพระชนม์ชีพเพื่อ ผปู้ ระเสรฐิ เชน่ ถา้ เปน็ ทป่ี ระทบั ของพระมหา-
ประโยชน์สุขของมหาชนชาวไทยและชาวโลก
ต้องตามพระปฐมพระบรมราชโองการทุก
ประการ
หากทรงทราบด้วยพระญาณวิถี เมื่อ
สมเด็จบรมบพิตรพระราชสมภารเจ้าได้ทรง
รับสิริราชสมบัติจะทรงคุ้มครองประชาชนโดย
ธรรม และหากทรงทราบโดยพระญาณวิถีว่า
ประชาชนท่ีพระองค์ทรงห่วงนั้น จะสามารถ


Click to View FlipBook Version