The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by BOGEYMAN 43, 2022-04-24 08:19:52

EPI Module 61

EPI Module 61

2. ระบบลูกโซ่ความเย็น (Cold chain system) และความสําาคัญ
ดว้ ยเหตทุ ว่ี คั ซนี ไวตอ่ การเปลย่ี นแปลงของอณุ หภมู ิ ทา ใหเ้ สอ่ื มคณุ ภาพไดง้ า่ ย จงึ ตอ้ งมรี ะบบทถ่ี กู ออกแบบ ให้วคั ซนี อยู่ในอณุ หภมู ทิ ถ่ี กู ต้องเหมาะสมตลอดเวลา ทงั้ ในขณะจดั เกบ็ และขนส่งวคั ซนี ตงั้ แต่ผู้ผลติ วคั ซนี จนถงึ ผู้รับบริการสร้างเสรมิ ภูมิคุ้มกันโรค ซ่ึงเรียกว่า ระบบลูกโซ่ความเย็น (Cold chain system) ดังภาพท่ี 5.3
วัคซีนผลิตในประเทศ วัคซีนผลิตจากต่างประเทศ
สนามบิน
ห้องเย็น (+2oC ถึง +8oC)
องค์การเภสัชกรรม
ห้องเย็น (+2oC ถึง +8oC) และห้องแช่แข็ง (-15oC ถึง -25oC)
คลังวัคซีนระดับอําาเภอ
ตู้เย็น (+2oC ถึง +8oC) และตู้แช่แข็ง (-15oC ถึง -25oC)
สถานบริการเครือข่าย
ตู้เย็น กระติกวัคซีน และกล่องโฟม (+2oC ถึง +8oC)
150
หมวดเนื้อหาที่ 5: วัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
ผู้รับบริการวัคซีน
ภาพท่ี 5.3 ระบบลูกโซ่ความเย็นของประเทศไทย
ระบบลูกโซ่ความเย็น จึงมีความสําาคัญด้วยเหตุผลดังต่อไปน้ี
1. วัคซีนเส่ือมสภาพได้ง่าย เม่อื เวลาผ่านไปความแรง (Potency) ของวัคซีนจะลดลง 2.อุณหภูมิท่ีสูงข้นึจะทาให้ความแรงของวัคซีนลดลงเร็วขึ้น
3. วัคซีนบางชนดิ จะสูญเสียความแรงทันที ถ้าอยู่ในอุณหภูมิท่ีทาให้แข็งตัว (Freezing temperature)
4. เม่ือวัคซีนเส่อื มสภาพ ผู้รับบริการไม่ได้รับการป้องกันโรค
5. วัคซีนท่ีเส่ือมสภาพจากการแช่แข็ง (Freezing) ฉีดแล้วอาจเกิดเป็นไตแข็งบริเวณท่ีฉีดได้ โดยสรุปการจัดเก็บและการขนส่งวัคซนีท่ีไม่เหมาะสมทาให้เกิดความเส่ียงต่อผู้รับบริการท่ีจะไม่ได้รับ
การป้องกันจากโรคติดต่อท่ีป้องกันได้ด้วยวัคซีน และอาจเกิดอาการภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Adverse Event Following Immunization: AEFI) ได้ด้วย


3. อุปกรณ์ท่ีใช้ในการจัดเก็บและขนส่งวัคซีนและการดูแลรักษาอุปกรณ์
3.1
ตู้เย็น ในปัจจุบันคลังวัคซีนระดับอาเภอและสถานบริการส่วนใหญ่ใช้ตู้เย็นบ้าน (Domestic Refrigerator) ซ่ึงจะต้องได้มาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) โดยในระดับคลังควรเป็นตู้เย็นฝาประตู ทึบแสงชนิด 2 ประตู แยกช่องแช่แข็ง (Freezing compartment) และช่องธรรมดา (Refrigerator compartment) ขนาดความจุไม่ต่ากว่า 18 คิว ดังภาพท่ี 5.4 แต่ในสถานบริการ เช่น รพ.สต. อาจใช้ ชนิดประตูเดียว ท่ีมีขนาดความจุไม่ต่ากว่า 5 ควิ
ตู้เย็นสาหรับเก็บรักษาวัคซีน
ภาพที่ 5.4
คุณสมบัติของตู้เย็นที่ใช้เก็บวัคซีน
1.สามารถรักษาอุณหภูมไิด้คงท่ีตลอดทั้งปี
2. เก็บรักษาความเย็นไว้ได้นานอย่างน้อย 3 ชั่วโมง เม่ือไฟฟ้าดับ
3. มีความหนาของฉนวนตู้เย็นไม่น้อยกว่า 30 มม.
4. มอี ายกุ ารใชง้ านนอ้ ยกวา่ 10 ปี หากมอี ายเุ กนิ ตอ้ งตรวจสอบคณุ ภาพของตเู้ ยน็ ในการเกบ็ รกั ษาอณุ หภมู ิ 5. มีความจุในการเก็บวัคซนี ได้อย่างน้อย 1 เดือน
การดูแลตู้เย็นท่ีใช้เก็บวัคซีน
1. ปรับอุณหภูมใิ นช่องแช่แข็งให้ต่ากว่า -15°C 2.ปรับอุณหภูมใินช่องธรรมดาให้อยู่ในช่วง+2°Cถึง+8°Cและเพ่ือป้องกันไม่ให้วัคซีนท่ีไวต่อความเย็น
จัดแข็งตัว ควรปรับ Thermostat ให้ได้ +2°C ถึง +4°C ในช่วงเวลาท่เีย็นท่ีสุด
3. ตรวจสอบอณุ หภมู ทิ งั้ 2 ชอ่ ง วนั ละ 2 ครงั้ และบนั ทกึ ทกุ วนั ถา้ อณุ หภมู เิ บย่ี งเบนออกไปจากคา่ ทก่ี า หนด
ต้องมีการดาเนนิการตามแนวทางท่ีกาหนดไว้ 4.ใส่Ice-packในช่องแช่แข็งและขวดใส่นา้มฝีาปิดวางไว้ชนั้ล่าง(ให้เตม็ช่องเกบ็ผกั)ของตู้เย็นเพ่ือเพ่ิม
อายุความเย็น (Cold life) ทาให้เก็บรักษาความเย็นได้คงท่ีในกรณีเปิดตู้เย็นบ่อย และกรณีไฟดับ
หมวดเนื้อหาที่ 5: วัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
151


152
หมวดเน้ือหาที่ 5: วัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
5. ตดิ ตงั้ ในทแ่ี สงแดดสอ่ งไมถ่ งึ และใหผ้ นงั ตทู้ งั้ 3 ดา้ นหา่ งจากฝาผนงั หอ้ งหรอื อปุ กรณอ์ น่ื ไมต่ า่ กวา่ 6 นวิ้ เพ่ือให้ตู้เย็นระบายความร้อนได้ดี
6. ทาความสะอาดขอบยางและป้องกันไม่ให้เช้ือราเกาะ โดยใช้น้าอุ่นผสมนา้ สบู่เช็ดถูให้ทั่ว ใช้ผ้า ชุบนา้ เช็ดจนสะอาด ใช้ผ้าแห้งเช็ดน้าออกให้แห้ง แล้วใช้ผงฟูหรือเบกกิ้งโซดาผสมกับน้าเปล่า เช็ดตาม ขอบตู้เย็นอีกครั้ง เพ่ือเป็นการป้องกันการเกิดเช้ือรา หรือเอาผ้าชุบนา้ ส้มสายชูเช็ดถูบริเวณขอบยาง ท่ีเป็นรา
7. ติดตั้งในบรเิวณท่ีมีระบบไฟฟ้าสารองมาถึง เสียบปลั๊กและใช้เทปพันปลั๊กให้แน่น
8. ถา้ มนี า้ แขง็ เกาะหนาในชอ่ งแชแ่ ขง็ เกนิ 5 มม. ควรละลายน้าแขง็ ออกใหห้ มด เพราะนา้ แขง็ ทเ่ี กาะหนาไม่ ได้ทา ให้ต้เู ยน็ เยน็ ขนึ้ แต่อาจไปอดุ กนั้ ไม่ให้ความเยน็ ไหลลงช่องธรรมดา ทา ให้อณุ หภมู ใิ นช่องธรรมดา
สูงขึ้น
การเก็บรักษาวัคซีนในคลังและสถานบริการ
ตู้เย็นท่ีใช้ในการเก็บวัคซนี ควรจัดเก็บวัคซีนเพียงอย่างเดียว ไม่ควรเก็บยาชนิดอ่ืน เพ่ือลดความผิดพลาด ในการนาไปใช้ และอาจทาให้เกิดการเส่ือมสภาพของวัคซีนเน่ืองจากการเปล่ียนแปลงของอุณหภูมิภายในตู้ ท่ีเกิดจากการเปิดตู้เย็นบ่อยครงั้ การเก็บวัคซีนแต่ละชนดิ ในคลังและสถานบริการ ให้ดาเนินการ ดังนี้
1. วคั ซนี โปลโิ อชนดิ รบั ประทาน (OPV) ใหเ้ กบ็ ไวท้ อ่ี ณุ หภมู ิ -15°C ถงึ -25°C ทงั้ ในระดบั คลงั และในสถาน บริการ
2. วคั ซนี เชอ้ื เปน็ ชนดิ ผงแห้ง ได้แก่ BCG, MMR, MR, JE และ RV องค์การอนามยั โลกแนะนา ว่า ไม่จา เปน็ ต้องเก็บในช่องแช่แข็ง แต่ให้เก็บในอุณหภูมิ +2°C ถึง +8°C ได้ทั้งในระดับคลังและในสถานบริการ และควรเก็บในกล่องเพ่อืป้องกันแสงตลอดเวลา
3. วคั ซนี เชอ้ื ตายไดแ้ ก่HB,DTP,DTP-HB,DTP-HB-Hib,dT,Tdap,JE,HPV,IPV,InfluenzaและRabies ให้เก็บในอุณหภูมิ +2°C ถงึ +8°C เท่านั้น (ห้ามแช่แข็ง) ทั้งในระดับคลังและในสถานบริการ
4. น้ายาละลายวัคซีน ห้ามแช่แข็ง ในสถานบริการให้เก็บในอุณหภูมิ +2°C ถึง +8°C ในระดับคลัง ถ้าตู้เย็นช่องธรรมดามีพ้ืนท่ีไม่เพียงพอให้เก็บไว้นอกตู้เย็นได้ แต่ถ้าจะนาไปละลายวัคซีนผงแห้งต้อง เก็บไว้ในอุณหภูมิ +2°C ถงึ +8°C ประมาณ 24 ช่ัวโมงก่อนใช้
5. ถาดใต้ช่องแช่แขง็ ไม่ควรเกบ็ วคั ซนี และตวั ทา ละลายทกุ ชนดิ แต่สามารถเกบ็ Ice-pack หรอื Gel-pack ได้
6. ขวดวัคซีนท่ีเปิดใช้แล้วให้จัดเก็บในชั้นเหนือช่องแช่ผัก โดยจัดเก็บในกล่องหรือภาชนะท่ีสามารถวาง ขวดตั้งตรง เพ่ือป้องกันการปนเปื้อน ทั้งน้ีให้เขียนข้อความระบุให้ชัดเจนว่าเป็นวัคซีนท่ีเปิดใช้แล้ว และควรวางไว้ด้านในสุดของชนั้
ดังนนั้จงึควรจัดเรยีงวัคซนีในตู้เย็นดังภาพท่ี5.5โดยควรจัดเก็บวัคซนีไว้ในตะกร้าโปร่งเพ่ือให้ความเย็น ไหลเวียนได้ทั่วถงึวัคซีนท่ีไวต่อแสงให้ใส่ไว้ในกล่องหรือภาชนะท่ปี้องกันแสงและวางวัคซีนท่ีไวต่อความเย็นจัด ไว้ตรงกลางของช่องธรรมดา (Refrigerator compartment) พร้อมเทอร์โมมิเตอร์ เพ่ือกากับติดตามอุณหภูมิไม่ให้ ต่ากว่า +2°C และตดิ ป้ายช่ือท่ชี ั้นวางวัคซีนเพ่ือป้องกันการหยิบวัคซนี ผิด
กรณตี เู้ ยน็ ทม่ี ชี อ่ งแชแ่ ขง็ อยดู่ า้ นลา่ ง หรอื อยดู่ า้ นขา้ ง กอ่ นการจดั เกบ็ วคั ซนี ควรมกี ารดา เนนิ การดงั ตอ่ ไปนี้
1.หลังเสียบปลั๊กตู้เย็นท่บีรรจุขวดน้ามีฝาปิดหรือGel-packเต็มช่องแช่ผักให้ปิดตู้เย็นอย่างสนิทนาน 24 ชั่วโมง โดยจัดวางเทอร์โมมิเตอร์ท่ีผ่านการเทียบเคียงกันแล้วตรงจุดกลางของแต่ละชั้น ทุกชั้น


นานประมาณ 30 นาที แล้วจึงวัดอุณหภูมิ โดยควรวัดอุณหภูมิ 2 ช่วงเวลา ในช่วงเช้าและเย็น หลังจากนั้นให้นาอุณหภูมิของแต่ละชั้นมาหาค่าเฉล่ีย เพ่ือหาค่าอุณหภูมิท่ีเหมาะสมของแต่ละชั้น สาหรับจัดเก็บวัคซนีแต่ละชนิด
2.กาหนดให้ชนั้ท่ีมีอุณหภูมิต่าท่ีสุดวางวัคซีนเช้ือเป็นทั้งชนิดผงแห้งและชนิดน้าได้แก่BCG,MMR,MR, JEและRVส่วนชั้นท่ีเหลอืให้วางวัคซีนเชอ้ืตายได้แก่HB,DTP,DTP-HB,DTP-HB-Hib,dT,Tdap, JE, HPV, IPV, Influenza และ Rabies
ภาพท่ี 5.5 การเก็บรักษาวัคซีนในตู้เย็น
ท่ีมา: แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
3.2 กระตกิ วคั ซนี (Vaccine carrier) เปน็ อปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ นการขนสง่ หรอื เกบ็ วคั ซนี ไวช้ วั่ คราวเหมอื น กล่องโฟม แต่มีขนาดเล็กกว่า และเก็บความเย็นได้ไม่นานเท่ากล่องโฟม กระติกวัคซีนท่ีดี ควรเก็บ ความเย็นได้นานอย่างน้อย24ชั่วโมงและควรมีIce-packท่ีมีขนาดพอดทีี่จะจัดเรียงลงในกระติก โดยไม่เคล่ือนไปมา โดยกระติกวัคซีนควรมีความหนาของฉนวนไม่น้อยกว่า 30 มม.
3.3 กล่องโฟม หรือกระติกวัคซีนขนาดใหญ่ เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้เก็บวัคซีนในระหว่างการขนส่ง หรือ เมอ่ื มไี ฟฟา้ ดบั นาน/ตเู้ ยน็ เสยี หรอื ในระหวา่ งการละลายนา้ แขง็ ในชอ่ งแชแ่ ขง็ ซง่ึ มขี นาดใหญพ่ อทจ่ี ะ ใช้ในการขนส่งวคั ซนี ในแต่ละเดอื นโดยมีIce-packวางไว้โดยรอบทกุ ด้านและควรเกบ็ ความเยน็ ได้ อย่างน้อย 24 ช่ัวโมง โดยกล่องโฟมควรมีความหนาของฉนวนไม่น้อยกว่า 25 มม.
หมวดเนื้อหาที่ 5: วัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
153


154
หมวดเนื้อหาที่ 5: วัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
ภาพที่ 5.6 กล่องโฟม ภาพที่ 5.7 กระติกวัคซีนแบบมาตรฐาน
การบรรจุวัคซีนลงในกระติกวัคซีนหรือกล่องโฟม
1. วาง Ice-pack ทเ่ี รม่ิ ละลายแลว้ (Conditioned ice-pack) ทด่ี า้ นขา้ งทงั้ 4 ดา้ นของกระตกิ วคั ซนี ในกรณี ท่ีเป็นกล่องโฟมหรือกระติกวัคซนีขนาดใหญ่ให้วางIce-packท่ีด้านล่างด้วยทั้งน้ีจานวนIce-pack ท่ีใช้จะข้ึนอยู่กับขนาดของกล่องโฟม หรือกระติกวัคซนี ขนาดใหญ่
2. ใสแ่ ผน่ พลาสตกิ ลกู ฟกู ทด่ี า้ นขา้ งทง้ั 4 ดา้ นของกระตกิ วคั ซนี สา หรบั กลอ่ งโฟมหรอื กระตกิ วคั ซนี ขนาด ใหญ่ ใหเ้ พม่ิ แผน่ พลาสตกิ ลกู ฟกู ทด่ี า้ นบนและลา่ ง ทง้ั นเ้ี พอ่ื ปอ้ งกนั ไมใ่ ห้ Ice-pack สมั ผสั วคั ซนี โดยตรง
3. วางเทอร์โมมเิตอร์เพ่ือวัดอุณหภูมิให้อยู่ในช่วง +2°C ถึง +8°C ก่อนใส่วัคซนี
4. ห่อวคั ซนี แล้ววางไว้กลางกระตกิ วคั ซนี ในกรณที เ่ีปน็ กล่องโฟมหรอื กระตกิ วคั ซนี ขนาดใหญ่วางแผ่น
พลาสติกลูกฟูกท่ดี ้านบนห่อวัคซนี และวางทับด้วย Conditioned ice-pack ก่อนปิดฝา
5. ปิดฝากระติกวัคซีนให้สนิท ในกรณีท่ีเป็นกล่องโฟมคาดด้วยเทประหว่างฝาและตัวกล่องให้รอบ
เพ่ือกันความเย็นร่ัวไหลออก และวางไว้ในท่รี ่ม
6. ถ้ามีแผ่นฟองน้า (Foam pad) วางใต้ฝาปิด จะช่วยกันความร้อนได้ และถ้ามีขวดวัคซีนท่ีเปิดใช้แล้วให้
เสียบขวดวัคซีนไว้ท่ีแผ่นฟองน้า จะช่วยให้วัคซีนไม่ปนเปื้อนเม่ือเทียบกับการวางแช่อยู่ในนา้ ท่ีละลาย จาก Ice-pack บรเิ วณก้นกระตกิ ในกรณีท่แี ผ่นฟองน้าชารุด ให้ตัดแผ่นฟองน้า/แผ่นโฟมใส่แทน


1. กล่องโฟม
กล่องโฟม ด้านหน้า
กล่องโฟม ด้านข้าง
2. ใส่ Ice-pack ท่ีเร่ิมละลายแล้ว (Conditioned Ice-pack) และ
แผ่นพลาสตกิลูกฟูกท่ีด้านข้างทั้ง4ด้านและด้านล่างเพ่ือป้องกัน ไม่ให้ Ice-pack สัมผัสวัคซนี โดยตรง
2
ก่อนใส่
หลังใส่
3. วางเทอรโ์ มมเิ ตอรเ์ พอ่ื วดั อณุ หภมู ใิ หอ้ ยใู่ น ช่วง +2°C ถงึ +8°C ก่อนใส่วัคซนี
4. นา วคั ซนี บรรจลุ งกล่องโฟม และวางเทอร์โมมเิ ตอร์ เพ่ือใช้อ่านอุณหภูมิ
5. วางแผ่นพลาสติกท่ีด้านบนวัคซีนและวาง
Conditioned ice-pack
5
6. ตรวจสอบกล่องโฟมว่าปิดได้สนิท และ คาดเทป ระหว่างฝาและตัวกล่องโฟมให้ รอบเพ่ือกันความเย็นร่ัวไหลออก จะได้ กล่องโฟมท่ีอยู่ในสภาพท่ีพร้อมขนส่งหรือ นาไปให้บรกิาร
ภาพท่ี 5.8 (A) การบรรจุวัคซีนลงในกล่องโฟม
หมวดเน้ือหาที่ 5: วัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
155


11. กระติกวัคซนี
ด้านหน้า ด้านหลัง
2. ใส่ Icepack ท่ีเร่ิมละลายแล้ว
(Conditioned ice-pack)
ก่อนใส่ หลังใส่
2
3. ใส่แผ่นพลาสตกิ ลูกฟูก ป้องกันไม่ให้ Ice-pack ตดิกับขวดวัคซีน
4. วางเทอร์โมมเิตอร์เพ่ือวัดอุณหภูมิให้อยู่ในช่วง
+2°C ถงึ +8°C ก่อนใส่วัคซนี
4
5. ห่อวัคซีนเพ่อื ไม่ให้แตกร้าว และฉลากเปียกน้า
6นาห่อวัคซนีใส่ในกระตกิและวางฟองน้า ก่อนปิดฝา
7. ตรวจสอบฝากระติกว่าปิดได้สนิท
8. อยู่ในสภาพท่ีพร้อมขนส่งหรือนาวัคซีนไปให้
บริการ
8
156
หมวดเนื้อหาที่ 5: วัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
ภาพที่ 5.8 (B) การบรรจุวัคซีนลงในกระติก


บรรจุวัคซีนลงในกระติก
การดูแลกระตกิวัคซีนและกล่องโฟม
1. หลังการใช้งาน ทาความสะอาดแล้วเปิดฝาวางทิ้งไว้ให้แห้ง เพ่ือป้องกันเช้ือรา
2. เก็บในท่ีร่ม เพ่อื ป้องกันการแตกร้าว
3. ห้ามโยนหรือเคาะ กระติกวัคซีน/กล่องโฟม และนาส่ิงของอ่ืนไปวางทับ เพราะจะทาให้แตกได้
ไม่ควรผ่งึ แดด เพราะอาจทาให้กรอบและแตกร้าว
3.4 ซองนํา้าแข็ง (Ice-pack) คือ ซองพลาสติกมีฝาปิดท่ีใส่น้าถึงระดับที่บ่งช้ีและนาไปแช่แข็ง ในการแช่แข็งให้เรียง Ice-pack ในแนวตั้งให้ฝาปิดอยู่ด้านบน โดยมีช่องว่างระหว่างแผ่น เพ่ือให้ แข็งตัวได้ท่ัวถึง ในกรณีท่ีความสูงของช่องแช่แข็งไม่มากพอ ให้วางตั้งบนสันด้านข้างแทน ก่อนนา มาใช้บรรจุวัคซีนท่ีไวต่อความเย็นจัด องค์การอนามัยโลกแนะนาให้ทา Conditioning Ice-pack คือการนา Ice-pack ออกมาวางในอุณหภูมิห้องในช่วงเวลาหน่ึง เพ่ือทาให้นา้ แข็งท่ีอยู่ใน Ice-pack มีอุณหภูมิกลับมาท่ี 0°C ดังน้ี
§ วาง Ice-pack บนโต๊ะ/ เคาน์เตอร์ เรียงเป็นแถวเด่ียว แต่ไม่ควรมากกว่า 2 แถว
§ วาง Ice-pack ให้มพี ้ืนท่ีว่างรอบๆ แต่ละก้อนประมาณ 5 ซม.
§ เขย่า Ice-pack แต่ละก้อนทุก 2-3 นาที รอจนกระทั่งมีน้าจานวนเล็กน้อย
ซง่ึ จะใชเ้ วลาประมาณ 1 ชวั่ โมงในอณุ หภมู ิ 20°C และใชเ้ วลานอ้ ยลงในอณุ หภมู ทิ ส่ี งู กวา่ นา้ แขง็ ใน Ice-pack จะมอี ณุ หภมู กิ ลบั มาท่ี 0°C ทนั ทที น่ี ้าแขง็ เรม่ิ เคลอ่ื นไหวไดเ้ ลก็ นอ้ ย
ในระหว่างให้บริการห้ามนาวัคซีนไปวางบน Ice-pack แต่ควรวางเสียบในแผ่นฟองน้าท่ีปิดอยู่บน กระติกวัคซีนดังภาพท่ี 5.9 และไม่ควรใช้นา้ แข็งแทน Ice-pack
นอกจากน้ี ควรมีการดูแล Ice-pack เพ่ือให้ใช้งานได้นาน ดังน้ี §เก็บในช่องแช่แข็งเพ่ือหมุนเวยีนออกไปใช้เม่ือนากลับมาเก็บให้ตรวจสอบรอยแตก
ร้าว/รั่วซมึ
§ ระดับน้าใน Ice-pack ต้องไม่มากกว่าระดับท่ีกาหนด เพราะน้าท่ีแข็งตัวจะขยายออก
จนทาให้แตกร้าวได้
ภาพท่ี 5.9 กระติกวัคซีนชนิดมีฟองน้าใต้ฝาปิด
หมวดเนื้อหาที่ 5: วัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
157


3.5 อุปกรณ์ควบคุมกําากับอุณหภูมิ
3.5.1 Vaccine Vial Monitor (VVM) เป็นเคร่ืองหมายท่ีทาจากวัสดุไวต่อความร้อน ชนิด Irreversible อยู่บนฉลากของขวดวัคซีน ซ่ึงใช้ชี้บ่งว่าวัคซีนสัมผัสกับความร้อนมาใน ชว่ งระยะเวลาตงั้ แตอ่ อกจากโรงงานผลติ วคั ซนี จนถงึ ผใู้ ช้ การเปลย่ี นแปลงของเครอ่ื งหมาย VVM จะเตือนให้เจ้าหน้าท่ีทราบว่าวัคซีนได้สัมผัสกับอุณหภูมิท่ีสูงมาระยะเวลาหน่ึงจนมี ผลต่อคุณภาพของวัคซีน โดยสังเกตการเปล่ียนแปลงของสีในส่ีเหล่ียมว่าเข้มขึ้นหรือไม่ ถ้าสีในส่ีเหล่ียมมีความเข้มเท่ากับหรือมากกว่าสีในวงกลมแสดงว่าวัคซีนได้สัมผัส กับความร้อนมามากจนทาให้วัคซีนเส่ือมสภาพและไม่สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้ ดังภาพท่ี 5.10 แต่ VVM ไม่ได้ชี้บ่งเร่ืองการสัมผัสกับอุณหภูมิท่ีเย็นจัด (Freezing tem- perature)
ภาพที่ 5.10 การแปลผลเคร่ืองหมาย Vaccine Vial Monitor หรือ VVM
3.5.2 FreezeWatch(FW)เป็นอุปกรณ์ชนิดIrreversibleท่ีใช้ในการกากับติดตามอุณหภูมิ ในระหว่างการจัดเก็บหรือขนส่งวัคซีน ซ่ึงมี 2 ชนิด คือชนิด 0°C หรือ -4°C เพ่ือเตือนว่า วัคซีนสัมผัสกับอุณหภูมิท่ีเย็นจัด โดยวาง FW ไว้ในตู้เย็น กระติกวัคซีนหรือกล่องโฟม ถ้า FW สัมผัสกับอุณหภูมิท่ีต่ากว่า 0°C (Subzero temperature) สีนา้ เงินท่ีอยู่ในกระเปาะ จะแตกออกมาเปื้อนแผ่นสีขาวท่ีรองอยู่ดังภาพท่ี 5.11 FW จึงเป็นอุปกรณ์ท่ีชี้บ่งว่า วัคซีนอาจกระทบกับจุดเยือกแข็ง แต่การตัดสินใจว่าจะใช้วัคซีนท่ีไวต่อความเย็นจัดนั้น ได้หรือไม่ ต้องทาการทดสอบคุณภาพของวัคซีนโดยการทา Shake test
158
หมวดเนื้อหาที่ 5: วัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น


ภาพที่ 5.11 Freeze Watch
การทดสอบคุณภาพของวัคซีนที่สงสัยว่าผ่านการแช่แข็ง (Shake test)
วัคซีนชนดิน้าท่ีมีAlumซ่ึงเป็นAdjuvant(สารเพ่มิการกระตุ้นภูมิคุ้มกัน)ผสมอยู่ได้แก่วัคซีนHB,DTP, DTP-HB, DTP-Hb-Hib, dT และ Tdap จะเส่ือมสภาพหรือสูญเสียความแรงได้ถ้าอยู่ในอุณหภูมิท่ีทาให้แข็งตัว ดงั นนั้ ถา้ สงสยั วา่ วคั ซนี อาจถกู แชแ่ ขง็ ใหท้ า การทดสอบโดยการสงั เกตลกั ษณะทางกายภาพของวคั ซนี ดงั ตอ่ ไปน้ี
§ แช่แข็งวัคซนี 1 ขวด เพ่อื เป็น Control (Lot.no. เดียวกัน, ผู้ผลิตเดียวกัน)
§ เม่ือวัคซีนแช่แข็งเต็มท่แี ล้ว นาออกมาวางนอกตู้เย็นให้ละลาย
§ เม่ือละลายแล้ว เขย่าดูการตกตะกอนเปรียบเทียบกับวัคซนี ขวดท่ีสงสัยว่าถูกแช่แข็ง
ภาพท่ี 5.12 แนวทางการพิจารณาคุณภาพวัคซีนท่ีสงสัยผ่านการแช่แข็ง
หมวดเน้ือหาที่ 5: วัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
159


ภาพที่ 5.13 แสดงการทา Shake test
ตารางท่ี 5.2
ลกั ษณะทางกายภาพของวคั ซนี dT, DTP, DTP-HB ทบี่ ง่ ชวี้ า่ วคั ซนี อาจเสอ่ื มคณุ ภาพ
ลักษณะปกติ
ลักษณะผิดปกติที่เกิดจํากกํารเก็บไว้ ในอุณหภูมิที่ทําให้แข็งตัว
§ ส่วนใหญ่ลักษณะตะกอนเบาเหมือนวุ้นสีขาว อาจมตีะกอนท่มีีลักษณะค่อนข้างเหนียวจับกัน เป็นก้อนสขี าว หรือขาวครมี เม่ือตั้งทิ้งไว้นาน หลายเดือน
§เม่ือเขย่าจะกระจายเป็นเน้อืเดียวกัน §หลังเขย่าเม่ือตงั้ทิ้งไว้จะใช้เวลาในการตก
ตะกอนนานประมาณคร่งึชั่วโมง
§มีตะกอนท่ีมลีักษณะเหมือนผงชอล์กปนอยู่ §เม่ือเขย่าจะไม่เป็นเน้อืเดียวกัน §หลังเขย่าเม่ือตงั้ท้ิงไว้ตะกอนจะตกเร็วมาก
โดยเฉพาะส่วนท่มีีลักษณะเหมือนผงชอล์ก
160
หมวดเนื้อหาที่ 5: วัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
3.5.3 Data Logger คืออุปกรณ์ท่ีใช้บันทึกอุณหภูมิ ซ่ึงมีโปรแกรมท่ีใช้กาหนดการทางาน โดยมี Sensor ท่ีใช้วัดและบันทึกอุณหภูมิในช่วงประมาณ -40oC ถึง +85oC และสามารถ ตั้งค่าการทางาน ให้บันทึกอุณหภูมิได้เป็นวินาที/ นาที/ ชั่วโมง สามารถบันทึกอุณหภูมิได้ เป็นร้อย/ พัน/ หม่ืนครั้ง (แล้วแต่รุ่น) แสดงผลเป็นกราฟ วัน/ เวลา และอุณหภูมิท่ีบันทึก และข้อมูลทางสถิติ เช่น ค่าสูงสุด ต่าสุด และค่าเฉล่ีย


ภาพที่ 5.14 Data Logger
3.5.4 เทอรโ์ มมเิ ตอร์ (Thermometer) คอื อปุ กรณท์ ใ่ี ชว้ ดั อณุ หภมู ิ ซง่ึ ควรเปน็ ชนดิ ทว่ี ดั อณุ หภมู ิ ได้ทั้งค่าบวก ค่าลบ (ประมาณ -30°C ถึง +50°C) ได้แก่ Bimetal vaccine thermometer, Dial thermometer และStem thermometer โดย Bimetal vaccine thermometer และ Dial Thermometer จะมีความแม่นยา (Accuracy) ลดลงเม่ือเวลาผ่านไป จึงควรนาไป สอบเทียบ (Calibration) โดยหน่วยงานมาตรฐาน เช่น ศูนย์วิศวกรรมการแพทย์ หรือ เทียบเคียงกับเทอร์โมมิเตอร์ที่สอบเทียบแล้ว หรือกับ Stem Thermometer โดยการนา ไปวางไว้ด้วยกันเพ่ือวัดอุณหภูมิทั้งในและนอกตู้เย็น ซ่ึงควรทาอย่างน้อย ปีละครั้ง โดยส่วนใหญ่ Stem Thermometer จะมคี วามแม่นยามากกว่าเทอร์โมมิเตอร์ดังกล่าว
การเทียบเคียงเทอร์โมมิเตอร์ ให้นาเทอร์โมมิเตอร์ท่ีต้องการจะเทียบเคียงไปวางไว้ใน ตา แหนง่ เดยี วกบั เทอรโ์ มมเิ ตอรท์ ไ่ี ดร้ บั การสอบเทยี บแลว้ ทงั้ ในและนอกตเู้ ยน็ โดยวางไวใ้ น แต่ละตาแหน่งเป็นเวลา อย่างน้อย 30 นาที และบันทึกค่าความคลาดเคล่ือนของอุณหภูมิ ท่ีอ่านได้จากเทอร์โมมิเตอร์ เม่ือเทียบเคียงกับเทอร์โมมิเตอร์ท่ีได้รับการสอบเทียบแล้ว โดยบันทึกวันท่ีเทียบเคียงไว้ด้านหลังเทอร์โมมิเตอร์นั้น ทั้งน้ี ค่าความคลาดเคล่ือนของ อุณหภูมิท่ีบันทึกไว้จะต้องนามาบวกเพ่ิม หรือลบออกด้วยทุกครั้งท่ีอ่านอุณหภูมิจาก เทอร์โมมิเตอร์เคร่ืองนั้นๆ
ภาพที่ 5.15 Thermometer
หมวดเนื้อหาที่ 5: วัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
161


3.5.5 Digital Thermometer เปน็ เทอรโ์ มมเิ ตอรท์ ม่ี จี อแสดงคา่ ทว่ี ดั ได้ บางรนุ่ จะแสดงอณุ หภมู ิ สงู สดุ /ตา่ สดุ และมสี ญั ญาณเตอื น(Alarm)ทด่ี งั ขนึ้ ตามคา่ ทต่ี งั้ ไว้บางรนุ่ มีProbeเปน็ สายยาว ท่ีนาไปใส่ในตู้เย็น แล้วสามารถอ่านอุณหภูมิจากหน้าจอของเทอร์โมมิเตอร์ท่ีวางอยู่นอก ตู้เย็นได้
ภาพที่ 5.16 Digital Thermometer
การควบคุมกําากับอุณหภูมิในตู้เย็น
คลังวัคซีนและสถานบรกิารควรมีเทอร์โมมิเตอร์วางไว้ในตู้เย็นโดยเฉพาะในช่องธรรมดาเพ่ือตรวจสอบ และบันทึกอุณหภูมิในตาราง/ แผนภูมิทุกวันๆ ละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น (ไม่เว้นวันหยุด) โดยปรับตั้ง Thermostat ให้มอี ณุ หภมู อิ ย่ใู นช่วง +2°C ถงึ +8°C เพอ่ื ให้มนั่ ใจว่าวคั ซนี อย่ใู นอณุ หภมู ทิ เ่ี หมาะสมตลอดเวลา และเกบ็ ตาราง/ แผนภูมิท่ีบันทกึอุณหภูมิไว้ไม่น้อยกว่า6เดือนเพ่ือตรวจสอบการทางานของตู้เย็นว่าสามารถรักษาอุณหภูมิให้ อยู่ในช่วงท่กี าหนด หรือมคี วามผิดปกติเกิดขึ้นหรือไม่
162
หมวดเนื้อหาที่ 5: วัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
ภาพท่ี 5.17 ตัวอย่างแบบบันทึกอุณหภูมิแบบ 1 เดือน


ภาพที่ 5.18 ตัวอย่างแบบบันทึกอุณหภูมิแบบ 1 ปี
ภาพที่ 5.19 แผนภูมิบันทึกอุณหภูมิท่ีแสดงการเปล่ียนแปลงของอุณหภูมิ
แนวทางการปรับอุณหภูมิในตู้เย็น ในกรณีท่ีพบว่าอุณหภูมิต่ําาหรือสูงกว่าที่กําาหนด
1. ถ้าอุณหภูมิต่ากว่า +2°C
§ ปรับปุ่ม Thermostat ท่ตี ั้งไว้เดมิ เพ่ือทาให้อุณหภูมิสูงข้ึน
§ หากอุณหภูมิต่ากว่า 0°C ให้ตรวจสอบลักษณะทางกายภาพของวัคซีนท่ีไวต่อความเย็นจัดว่ามี
การเปล่ียนแปลงท่ที าให้วัคซีนเส่ือมสภาพจากการแช่แข็งหรือไม่ โดยการทา Shake test
หมวดเนื้อหาที่ 5: วัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
163


2. ถ้าอุณหภูมิสูงกว่า +8°C
§ ตรวจดูว่าตู้เย็นยังทางาน หรอื มีกระแสไฟฟ้าเข้าตู้เย็นหรือไม่
§ ตรวจสอบประตูว่าปิดสนทิ ดีหรือไม่ ขอบยางเส่ือมสภาพหรือไม่
§ ตรวจสอบช่องแช่แข็งว่ามนี ้าแข็งหนาเกนิ กว่า 5 มม. หรือท่อกระจายความเย็นอุดตันหรือไม่
§ ปรับปุ่ม Thermostat ท่ตี ั้งไว้เดมิ เพ่ือทาให้อุณหภูมิต่าลง และติดตามดูอุณหภูมิไม่ให้ต่ากว่า +2°C
§ ระหว่างซ่อมตู้เย็น หรือทาการละลายน้าแข็ง ให้ย้ายวัคซีนไปเก็บไว้ในตู้เย็นอ่ืน หรือกล่องโฟม/
กระติกวัคซนี
คาเตือน ห้ามปรับ Thermostat ให้อุณหภูมิต่าลง ในกรณีต่อไปนี้
§ หลงั ไฟฟ้าดบั ให้รอจนกระแสไฟฟ้ากลบั เข้าส่ภู าวะปกตแิ ละอณุ หภมู กิ ลบั มาคงทแ่ี ล้ว จงึ ค่อยปรบั
Thermostat ตามความเหมาะสม
§ เม่ือนาวัคซนี ท่ีเบิกมาใหม่เข้าตู้เย็น (เพราะอาจทาให้อุณหภูมิลดต่าเกินไป)
4. เหตุการณ์ฉุกเฉินในระบบลูกโซ่ความเย็น (Cold chain break down)
เหตุการณ์ฉุกเฉินในระบบลูกโซ่ความเย็น หมายถึง เหตุการณ์ท่ีทาให้อุณหภูมิในระหว่างการขนส่งหรือ การจัดเก็บวัคซนีสูงผิดปกติหรือเย็นจัดจนต่ากว่า0°Cตัวอย่างเช่นอุณหภูมิในตู้เย็นตอนเช้าสูง+18°Cสาเหตุ เกิดจากการทาความสะอาดหลังตู้เย็นแล้วทาให้ปลั๊กตู้เย็นหลุด/ หลวม หรือเจ้าหน้าท่ีพบว่าอุณหภูมิ ในกระติก วัคซีนต่าถงึ -5°C สาเหตุเกดิ จากไม่ได้ใช้ Conditioned ice-pack ในการบรรจุวัคซีน
เพ่ือป้องกันเหตุการณ์ฉุกเฉนิท่ีอาจเกิดขึ้นจึงควรกาหนดให้มีเจ้าหน้าท่รีับผิดชอบเฉพาะโดยจัดเตรียม อุปกรณ์ท่ีเก่ียวข้องให้พร้อมใช้งาน กาหนดขั้นตอนในการปฏิบัติ และผังการเตรียมความพร้อมกรณีฉุกเฉินใน ระบบลูกโซ่ความเย็น (ดังตัวอย่างในภาพท่ี 5.20) ติดไว้ให้มองเห็นได้ง่าย พร้อมทั้งซักซ้อมความเข้าใจเจ้าหน้าท่ี ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง โดยควรมกี ารซอ้ มแผนซง่ึ อาจจะซอ้ มแบบ Table top exercise โดยใหเ้ จา้ หนา้ ทใ่ี นกลมุ่ งานมานงั่ รวมกนั แล้วกาหนดสถานการณ์สมมติเหตุฉุกเฉินในระบบลูกโซ่ความเย็น และให้ผู้รับผิดชอบ ท่ีเก่ียวข้องบอกวิธีการ แก้ไขสถานการณ์ โดยมีผลสรุปรายงานการซ้อมแผนพร้อมข้อเสนอแนะในการปรับปรุงการดาเนินงานระบบ ลูกโซ่ความเย็นของหน่วยงาน
ประเดน็ สา คญั ทคี่ วรคา นงึ ถงึ คอื การมกี ระแสไฟฟ้าเข้าตู้เยน็ ตลอดเวลา เพอ่ื รกั ษาอณุ หภมู ใิ นการจดั เกบ็ วัคซีนให้ได้ตามมาตรฐานการปฏิบัติ เจ้าหน้าท่ีต้องเอาใจใส่และดาเนนิ การ ดังต่อไปนี้
§ ติดป้าย “ห้ามดงึ ปลั๊กตู้เย็น” หรอื “ห้ามปิดสวทิ ช์ Breaker ของตู้เย็น”
§ ปลั๊กตู้เย็นควรมีเต้าเสียบแยกต่างหาก และพันเทปกาวให้ปล๊ักตู้เย็นติดแน่น เพื่อป้องกันการดึง
ผิดปลั๊ก ถ้ามีหลายเต้าเสียบให้ใช้เทปปิดเต้าเสียบท่ีเหลือ เพ่ือไม่ให้เสียบเคร่ืองใช้ไฟฟ้าชนิดอ่ืน (ท่ีอาจทาให้กระแสไฟฟ้าเข้าตู้เย็นไม่สม่าเสมอ) และป้องกันการดึงผิดปลั๊ก
164
หมวดเนื้อหาที่ 5: วัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น


ภาพที่ 5.20 ผังการเตรียมความพร้อมกรณีฉุกเฉินในระบบลูกโซ่ความเย็น
5. แนวทางการจัดการเมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินในระบบลูกโซ่ความเย็น (Cold chain break down management) ของตู้เย็น
เม่ือเกิดไฟฟ้าดับนาน ตู้เย็นเสีย ปล๊ักตู้เย็นหลุด/ หลวม หรือขอบยางเส่ือมทาให้ประตูตู้เย็น ปิดไม่สนิท และทา ใหอ้ ณุ หภมู ใิ นตเู้ ยน็ สงู ขนึ้ มาก ขอใหย้ า้ ยวคั ซนี ไปเกบ็ ในตเู้ ยน็ อน่ื หรอื กลอ่ งโฟม/ กระตกิ วคั ซนี ทม่ี อี ณุ หภมู ิ +2°Cถงึ +8°Cและตรวจสอบข้อมูลความคงตัว(Stabilitydata)ของวัคซีนแต่ละชนิดจากผู้ผลิต/ผู้นาเข้าหรือ กองโรคปอ้ งกนั ดว้ ยวคั ซนี กรมควบคมุ โรค เพอ่ื ตดั สนิ ใจวา่ จะใชว้ คั ซนี นนั้ หรอื ไม่ โดยตรวจสอบขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ดังต่อไปน้ี
1. อุณหภูมิท่ีพบเป็นเท่าใด และเหตุการณ์เกิดข้ึนนานก่ีชั่วโมง/ วัน
2. มีวัคซีนชนดิ ใดบ้าง ช่ือผู้ผลิต/ผู้นาเข้า เลขท่ีผลิต (Lot No.) วันหมดอายุ และจานวนท่ีมีอยู่ในตู้เย็นนั้น 3. วัคซีนท่ีมเีคร่ืองหมาย VVM มีการเปล่ียนแปลงอย่างไร ยังใช้ได้หรือไม่
กรณีท่ีต้องการสอบถามความคงตัวของวัคซีนจากกลุ่มบริหารจัดการวัคซีน กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน กรมควบคมุ โรคใหบ้ นั ทกึ ขอ้ มลู ลงใน“แบบรายงานเมอ่ื เกดิ เหตกุ ารณฉ์ กุ เฉนิ ในระบบลกู โซค่ วามเยน็ ”และ สง่ ทางโทรสารหมายเลข 02-591-7716 หรอื 02-590-3196-9 ตอ่ 104 หรอื โทรศพั ท์ 02-590-3222 ถา้ วคั ซนี ไม่สามารถใช้ต่อได้ ให้ตัดออกจากทะเบียนรับ-จ่ายวัคซนี และทาลายแบบขยะติดเช้ือ
หมวดเนื้อหาที่ 5: วัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
165


แบบรายงานเม่ือเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉินในระบบลูกโซ่ความเย็น
ชอ่ื หนว่ ยงาน....................................................................................................................................................... สาเหตุของเหตุการณ์ฉุกเฉนิในระบบลูกโซ่ความเย็น
*ตู้เย็นเสยี *กระแสไฟฟ้าขัดข้อง*อ่ืนๆ(ระบุ)..................................................................................... อุณหภูมิในตู้เย็น (ทันทีท่ีตรวจพบเหตุการณ์ฉุกเฉิน)......................................................................................°C ระยะเวลาท่ีเกดิเหตุการณ์ฉุกเฉิน..............................ชั่วโมง
หลงั ตรวจพบอณุ หภมู สิ งู หรอื ตา่ กวา่ มาตรฐาน หนว่ ยงานไดจ้ ดั เกบ็ วคั ซนี ไวใ้ น (ระบอุ ปุ กรณ)์ ................................... ท่ีมีอุณหภูมิ...................... °C
ชื่อ วัคซีน
ชื่อบริษัทท่ีผลิต/นําเข้ํา
เลขที่ผลิต (Lot No.)
วันหมด อํายุ
กํารเปลี่ยนแปลงของ เครื่องหมําย VVM (ถ้ํามี)
จํานวนที่เหลือ ในตู้เย็น (โด๊ส)
166
หมวดเนื้อหาที่ 5: วัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
ผู้รายงาน........................................................................................................................................... โทรศัพท์................................................................โทรสาร................................................................ วัน/เดือน/ปีท่รีายงาน..........................................................................................................................


6. ตัวอย่างเหตุการณ์ฉุกเฉินในระบบลูกโซ่ความเย็น และแนวทางการจัดการ
ตัวอย่ํางที่ 1
“กระติกวัคซีนท่ีขนส่งจากโรงพยาบาลแม่ข่ายถึง รพ.สต. พบว่าอุณหภูมิในกระติกวัคซีนเท่ากับ -5°C ซ่ึงมีวัคซีนในกระตกิ วัคซนี ดังน้ี DTP, DTP-HB และ MMR”
แนวทางการจัดการ
1. การแก้ไข
กรณีท่ีพบวัคซนีทุกชนิดแข็งตัว
§ แสดงวา่ วคั ซนี ชนดิ เชอ้ื ตาย และทอ็ กซอยด์ (DTP, DTP-HB) นนั้ เสอ่ื มสภาพแลว้ ไมส่ ามารถใชต้ อ่ ได้ § ให้แยกวัคซีนดังกล่าวออก ไม่เก็บรวมในตู้เย็น พร้อมทั้งตัดออกจากทะเบียนรับ-จ่ายวัคซีน
และทาลายแบบขยะตดิเช้ือ
§รีบแจ้งโรงพยาบาลแม่ข่ายเพ่อืขอเบิกวัคซนีดังกล่าวมาทดแทน
§ ส่วนวัคซีนชนิดเช้ือเป็นอ่อนฤทธ์ิ (MMR) จะมีความทนต่อความเย็นจัด จึงสามารถใช้ต่อได้
โดยให้รบี นาวัคซีนจัดเก็บท่ีอุณหภูมิ +2°C ถงึ +8°C
กรณีท่ีวัคซีนทุกชนดิไม่แข็งตัว
§ ต้องทาการทดสอบวัคซีนชนิดเช้ือตาย และท็อกซอยด์ (DTP, DTP-HB) ว่าผ่านการแข็งตัวจาก
การผ่านการแช่แข็งมาแล้วหรอืไม่
§ โดยใหท้ า การทดสอบทางกายภาพของวคั ซนี ดงั กลา่ วดว้ ยวธิ ี Shake test หากผลการทดสอบปรากฏ
ว่า วัคซนี ดังกล่าวผ่านการแข็งตัวมาแล้ว แสดงว่าวัคซีนนั้นเส่ือมสภาพแล้ว ไม่สามารถใช้ต่อได้
§ ให้แยกวัคซีนดังกล่าวออก ไม่เก็บรวมในตู้เย็น พร้อมทั้งตัดออกจากทะเบียนรับ-จ่ายวัคซีน
และทาลายแบบขยะตดิเช้ือ
§รีบแจ้งโรงพยาบาลแม่ข่ายเพ่อืขอเบิกวัคซนีดังกล่าวมาทดแทน
§ ส่วนวัคซีนชนิดเช้ือเป็นอ่อนฤทธ์ิ (MMR) จะมีความทนต่อความเย็นจัด จึงสามารถใช้ต่อได้
โดยให้รบี นา วคั ซนี จดั เกบ็ ทอ่ี ณุ หภมู ิ +2°C ถงึ +8°C กรณมี ขี ้อสงสยั เพม่ิ เตมิ สามารถสอบถามไดท้ ่ี
กลุ่มบริหารจัดการวัคซนี กองโรคป้องกันด้วยวัคซนี กรมควบคุมโรค
2. การป้องกัน
§ ควรใช้ Conditioned ice-pack มาใช้สาหรับการบรรจุวัคซนี § ไม่ควรใช้น้าแข็ง หรือน้าแข็งแห้ง (Dry ice) แทน Ice-pack
หมวดเน้ือหาที่ 5: วัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
167


168
หมวดเน้ือหาที่ 5: วัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
ตัวอย่ํางท่ี 2
“ตู้เย็นสาหรับจัดเก็บวัคซนีของรพ.สต.แห่งหน่งึ พบว่ามอีุณหภูมสิูง15°Cโดยตู้เย็นนนั้มอีายุการใช้งาน มานาน 10 ปี ซ่งึ มีวัคซีนในตู้เย็น ดังน้ี DTP, DTP-HB, IPV, dT, OPV, MMR และ JE (เช้ือเป็น)”
แนวทางการจัดการ
1. การแก้ไข
§ รีบย้ายวัคซีนทั้งหมดไปไว้ในอุปกรณ์อ่ืนท่ีมีอุณหภูมิ +2°C ถึง +8°C เช่น ตู้เย็นอ่ืน กระติกวัคซีน หรือกล่องโฟม เป็นต้น
§ ตรวจสอบข้อมูลความคงตัวของวัคซีนทั้งหมด หรือสามารถสอบถามข้อมูลเพ่ิมเติมได้ท่ี กลมุ่ บรหิ ารจดั การวคั ซนี กองโรคปอ้ งกนั ดว้ ยวคั ซนี กรมควบคมุ โรค เพอ่ื การตดั สนิ ใจใชว้ คั ซนี ตอ่ ซง่ึ หากตรวจสอบแลว้ พบวา่ มวี คั ซนี เสอ่ื มสภาพไมส่ ามารถใชต้ อ่ ได้ ใหแ้ ยกวคั ซนี ดงั กลา่ วออกจาก วัคซีนอ่ืน พร้อมท้ังตัดออกจากทะเบียนรับ-จ่ายวัคซีน และทาลายแบบขยะติดเช้ือ แล้วรีบแจ้ง โรงพยาบาลแม่ข่ายเพ่อืขอเบิกวัคซีนดังกล่าวมาทดแทน
§ตรวจสอบหาสาเหตุของอุณหภูมทิ ่ีสูงขน้ึอย่างผดิปกติได้แก่ตรวจสอบการทางานของตู้เย็นว่ายัง ทางานได้ปกติหรือไม่ ซ่ึงรวมทั้งการทางานของระบบทาความเย็นและคอมเพรสเซอร์ เน่ืองจาก ตู้เย็นมีอายุการใช้งานค่อนข้างมาก ตรวจสอบปลั๊กหลุด/ หลวม หรือสายไฟยังอยู่ในสภาพปกติ หรือไม่ ตรวจสอบขอบยางของตู้เย็นว่ามีการเส่ือมสภาพจนแข็งตัวหรือเกิดการแข็งตัวเน่ืองจากมี เช้ือราเกาะหรือไม่ ตรวจสอบว่ามีน้าแข็งเกาะหนาในช่องแช่แข็งหรือไม่ เป็นต้น
§ เม่ือทราบสาเหตุแล้ว ให้รีบทาการแก้ไขปัญหา โดยหากสาเหตุเกิดจากการทางาน ของตู้เย็น ซ่ึงไม่สามารถซ่อมได้ ต้องจัดหาตู้เย็นใหม่ทดแทน เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดสาหรับ การจัดเก็บวัคซนีในระยะยาว
§ หลังจากแก้ไขปัญหาแล้ว และตู้เย็นมีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง +2°C ถึง +8°C ให้ย้ายวัคซีนทั้งหมดมา จัดเก็บไว้ให้ถูกต้องตามชนดิของวัคซีน
2. การป้องกัน
§ เน่ืองจากตู้เย็นมีอายุการใช้งานค่อนข้างมากจึงควรหมั่นตรวจสอบการทางานของตู้เย็นอย่าง สม่าเสมอ
§ ปลั๊กตู้เย็นควรมีเต้าเสียบแยกต่างหาก หรือกรณีท่ีจาเป็นต้องใช้เต้าเสียบร่วมกัน ไม่ให้ใช้ร่วมกับ เคร่ืองใช้ไฟฟ้าอ่ืน (ยกเว้น ตู้เย็นสาหรับจัดเก็บวัคซีน/ ยา) และให้ใช้เทปพันปลั๊กให้ติดแน่นกับ เต้าเสียบ เพ่ือป้องกันปลั๊กหลุด/ หลวม และไม่ใช้ปลั๊กพ่วง รวมทั้งควรหม่ันตรวจสอบสภาพของ สายไฟให้ปกตอิยู่เสมอ
§ หม่ันตรวจสอบและทาความสะอาดขอบยางอย่างสม่าเสมอ หรือเม่ือพบว่ามีเช้ือราเกาะ เพ่ือไม่ให้เกิดปัญหาขอบยางแข็ง ทาให้ตู้เย็นปิดไม่สนิท ทั้งน้ี สามารถตรวจสอบว่าขอบยางเร่ิม เส่ือมสภาพจนแข็งตัวหรือไม่ โดยการวางกระดาษ A4 ระหว่างการปิดฝาประตูตู้เย็น แล้วปิดฝา ตู้เย็นให้สนิท จากนั้นทดสอบโดยดึงกระดาษออกด้วยแรงปกติ หากกระดาษสามารถดึงออกได้ โดยง่าย แสดงว่าขอบยางนนั้ เกดิ การเส่ือมสภาพจนแข็งตัว ให้รีบดาเนินการแก้ไขต่อไป
§ หมนั่ ตรวจสอบชอ่ งแชแ่ ขง็ ไมใ่ หม้ นี า้ แขง็ เกาะหนาเกนิ 5 มม. หากพบวา่ มนี า้ แขง็ หนา ใหร้ บี ละลาย น้าแข็งออกให้หมด


เอกสารอ้างอิง
ศิริรัตน์ เตชะธวัช, ปนัดดา ล่ีสถาพรวงศา, ธนพัฒน์ เลาวหุตานนท์ และ วรรณภา สกุลพราหม์, บรรณาธิการ. คู่มือการบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น ปี 2554. กรุงเทพฯ: บริษัท ศรีเมืองการพิมพ์ จากัด; 2554.
ศิริรัตน์ เตชะธวัช, บรรณาธกิ าร. มาตรฐานการดาเนินงานด้านคลังและการเก็บรักษาวัคซีน; 2556.
World Health Organization, Department of Immunization, Vaccines and Biologicals, Family and Community Health. Training for Mid Level Managers (MLM) Module1. Cold chain, Vaccines and safe–injection
equipment management. Switzerland; 2008.
WHO, Department of Vaccines and Biologicals. Product Information Sheets; 2000. World Health Organization and PATH. Temperature Sensitivity of Vaccines; March 2014.
หมวดเน้ือหาที่ 5: วัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
169


แบบทดสอบความรู้หลังการอบรม
ข้อ
คําถําม
คําตอบ
1.
ปัจจัยใดไม่มผีลกระทบต่อคุณภาพ วัคซีน
ก. ความร้อน
ข. ความเย็นจัด
ค. ความช้ืน ง.แสงจากหลอดไฟและแสงจากดวงอาทติย์
2.
ข้อความใดไม่ถูกต้องเก่ยีวกับคุณสมบัติ ของวัคซีน
ก.วัคซีนทุกชนดิไวต่อความร้อน ข.วัคซีนทุกชนดิไวต่อแสง ค.วัคซีนบางชนดิไวต่อแสง ง.วัคซีนบางชนดิไวต่อความเย็นจัด
3.
วัคซีนในแผนงานสร้างเสรมิภูมิคุ้มกัน โรคชนิดใด เม่อื แช่แข็งแล้วเส่ือมสภาพ ทันที
ก.วัคซีนเช้อืตายทุกตัว ข.วัคซีนเช้อืเป็นชนิดผงแห้งทุกตัว ค.วัคซีนเช้อืเป็นชนิดน้าทุกตัว
ง. ถูกทุกข้อ
4.
การจัดเก็บวัคซนีและน้ายาละลาย ในตู้เย็นข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. OPV เก็บในช่องแช่แข็ง
ข. HB, DTP-HB , DTP, dT และ JE (เช้อื ตาย)
เก็บในช่องแช่แข็ง
ค. HB, DTP-HB , DTP, dT และ JE (เช้อื ตาย)
เก็บในช่องธรรมดา (+2°C ถงึ +8°C)
ง. MR, MMR, BCG, JE (เช้อื เป็น) และน้ายาละลาย
เก็บในช่องธรรมดา (+2°C ถงึ +8°C)
5.
ห้ามใช้อะไรเพ่อืทาให้เกิดความเย็น ในกระตกิวัคซีน
ก. น้าแข็ง
ข. น้าแข็งแห้ง (dry-ice)
ค. Ice-pack ท่เีพ่ิงนาออกมาจากช่องแช่แข็ง ง. ถูกทุกข้อ
6.
วิธีการจัดเรยีงวัคซีนในกระตกิ ขนาดเล็ก (ความจุประมาณ 1.7 ลติ ร) ข้อใดผิด
ก. ใส่ Ice-pack ทงั้ ด้านล่าง ด้านบน และด้านข้าง ทั้ง 4 ด้าน
ข. ใส่ Ice-pack ด้านล่าง และด้านข้างทงั้ 4 ด้าน ค. ใส่ Ice-pack ด้านบน และด้านข้างทงั้ 4 ด้าน ง. ผิดทุกข้อ
170
หมวดเนื้อหาที่ 5: วัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น


ข้อ
คําถําม
คําตอบ
7.
การดูแลตู้เย็นท่ใีช้เก็บวัคซีนข้อใดผดิ
ก. อย่าให้น้าแข็งเกาะหนาในช่องแช่แข็งเกนิ 5 มม. ข.ใช้เต้าเสยีบร่วมกับเคร่ืองใช้ไฟฟ้าทั่วไปได้
ค. ปรับอุณหภูมใิ นช่องธรรมดาให้ได้ +2°C ถงึ +4 °C
ในช่วงเวลาท่เีย็นท่ีสุด
ง. ใส่ขวดน้ามีฝาปิดในช่องเก็บผัก เพ่อื ช่วยเก็บรักษา
ความเย็นในตู้เย็น
8.
การกากับอุณหภูมใินตู้เย็นข้อใดผดิ
ก. บนั ทกึ อณุ หภมู วิ นั ละ 1 ครงั้ ทกุ เชา้ ไมเ่วน้ วนั หยดุ ราชการ
ข. บันทึกอุณหภูมวิ ันละ 1 ครงั้ ทุกเช้า เว้นวันหยุดราชการ
ค. บันทึกอุณหภูมวิ ันละ 2 ครงั้ เว้นวันหยุดราชการ
ง. ผิดทุกข้อ
9.
คาแนะนาในการปรับ Thermostat ในตู้เย็น ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ปรับทุกครั้งหลังไฟฟ้าดับ
ข. ปรับทุกครั้งถ้าอุณหภูมสิ ูงเกิน +8°C
(หลังจากตรวจสอบสาเหตุแล้ว) ค.ปรับทุกครั้งก่อนรับวัคซนีเข้าตู้เย็น ง. ทั้งข้อ ก. และ ค.
10.
ข้อใดไม่ถูกต้องเก่ยีวกับการเตรยีม ความพร้อมกรณฉีุกเฉินในระบบลูกโซ่ ความเย็น
ก. จัดเตรียมอุปกรณ์สารองให้พร้อมใช้งาน ข.กาหนดขนั้ตอนในการปฏบิัติเม่ือเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉนิ ค.เจ้าหน้าท่ทีุกคนเป็นผู้รับผิดชอบ
ง. ซักซ้อมความพร้อมของเจ้าหน้าท่ที ่ีเก่ียวข้อง
หมวดเนื้อหาที่ 5: วัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น
171




การเต6รียมการ และการให้บริการวัคซีน
หลักสูตรเชิงปฏิบัติการสําาหรับเจ้าหน้าท่ีสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2561
173




แผนการส6อนหมวดเนื้อหาที่ กํารเตรียมกํารและกํารให้บริกํารวัคซีน
วัตถุประสงค์
เม่ือสิ้นสุดการเรยี นการสอน ผู้เรียนสามารถ
1. อธิบายบทบาทและความสาคัญของผู้ให้บริการวัคซีน 2.ประเมินความพร้อมของผู้รับวัคซนีและคัดกรองผู้ท่ีมีภาวะเส่ียงได้อย่างถูกต้อง 3.อธิบายขนั้ตอนและวิธกีารการให้บริการในแต่ละขั้นตอนได้อย่างถูกต้อง
4. อธิบายการตรวจสอบและแสดงการเตรียมวัคซีนได้ถูกต้อง 5.แสดงวธิีการเตรียมเด็กและจัดท่าเด็กในการให้วัคซนีได้อย่างถูกต้อง
6. แสดงวธิ ีการให้วัคซีนรูปแบบต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง 7.บอกวิธกีารปฏิบัติตัวภายหลังการได้รับวัคซีนได้ถูกต้อง 8.บอกวิธกีารกาจัดอุปกรณ์ท่ีใช้แล้วได้อย่างถูกต้อง
กิจกรรมกํารสอน
1.บรรยายและอภปิรายเน้ือหาตามวัตถุประสงค์
2. กจิ กรรมกลมุ่ (การแสดงบทบาทสมมตขิ องกลมุ่ ยอ่ ย เกย่ี วกบั การประเมนิ ความพรอ้ มของผรู้ บั บรกิ าร
ในการรับวัคซนี ประมาณ 3-4 สถานการณ์) 3.สาธิตและฝึกปฏบิัติการให้วัคซนี
สื่อกํารสอน
1. เอกสารประกอบการบรรยาย (Hand out Power point ท่ีใช้บรรยาย)
2. ใบงานสถานการณจ์ า ลอง เพอ่ื แสดงบทบาทสมมตขิ องกลมุ่ ยอ่ ย เกย่ี วกบั การประเมนิ ความพรอ้ มของ
ผู้รับบริการในการรับวัคซนี ประมาณ 3-4 สถานการณ์ พร้อมใบเฉลยและสรุปความรู้
3. Clip VDO/VCD แสดงการให้วัคซีนแต่ละช่องทาง
4. อุปกรณ์การทากิจกรรมฐาน “ฉีดวัคซีน” ได้แก่ ขวดวัคซีน เข็ม Syringe กระปุกสาลี หุ่นเด็ก
และแผ่นหนังจาลอง หรืออาจผลิต Simulation model เป็นชิ้นส่วนของอวัยวะบริเวณท่ีใช้ในการฉีดยา มีสัญญาณบอกว่าฉดีถูกหรือผิด
กํารประเมินผล
1. แบบทดสอบ ก่อนและหลังการอบรม 2.การสาธติย้อนกลับการให้วัคซนีรูปแบบต่างๆ 3.การมีส่วนร่วมในกจิกรรมในระหว่างเรียน
เรื่อง
การเตรียมการและการให้บรกิารวัคซนี
ผู้เรียน
เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข/ ผู้ให้บรกิ ารวัคซีนทุกระดับ
กําหนดกํารสอน
3 ชั่วโมง
หมวดเนื้อหาที่ 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
175


แบบทดสอบความรู้ก่อนการอบรม
ข้อ
คําถําม
คําตอบ
1.
ข้อมูลสาคัญท่ีใช้ในการซักประวัติ ประกอบการพจิารณาให้วัคซีน คือข้อใด
ก.ประวัตกิารตั้งครรภ์ของมารดา ข.ประวัตกิารมีโรคติดต่อทางพันธุกรรม ค.ประวัตกิารเจ็บป่วยในอดตีและปัจจุบัน
ง. ข้อมูลผลการตรวจทางห้องปฏบิ ัติการใน 1 เดือน
ท่ีผ่านมา
2.
ข้อใดเป็นหลักการท่ถีูกต้องในการจัด เตรียมสถานท่ที ่ีให้บริการวัคซนี
ก.ควรแยกท่ใีห้บริการวัคซีนออกจากบรเิวณท่ีรักษา เด็กป่วย
ข. ตอ้ งมตี เู้ ยน็ และอา่ งลา้ งมอื อยใู่ นสถานทใ่ี หว้ คั ซนี เสมอ ค. สถานท่ีท่ีฉดี ควรเป็นสถานท่ีเปิดโล่ง มลี มพัดผ่าน ง.ควรจัดให้มที ่ีนั่งรอในห้องท่ใีห้วัคซีนสาหรับ
ผู้รับบริการรายต่อๆ ไป
3.
ข้อใดไม่จาเป็นในขนั้ตอนการเตรยีม ก่อนให้วัคซนี
ก.การซักประวัตแิละตรวจร่างกาย ข.การให้คาแนะนาเก่ยีวกับวัคซนีท่ีจะได้รับ ค.การเตรยีมอุปกรณ์และตรวจสอบสภาพของวัคซนี ง.การตรวจสอบจานวนผู้มาใช้บรกิาร
4.
คาแนะนาในข้อใดถูกต้องและเป็นไป ตามหลักการให้วัคซนี
ก. บอยอายุ 4 เดอื น ตรวจไม่พบ BCG scar ควรแนะนา ให้ฉีดซ้า
ข. บิวอายุ 6 เดอื น มีไข้ ไอ มเี สมหะสีขาวขุ่น วัดไข้ได้ 37.8 °C ให้เล่อื นรับวัคซนี ในครั้งนี้ไปก่อน
ค. บาสอายุ 9 เดอื น มารดาแจ้งว่าเม่อื เช้ากินไข่ขาวแล้ว ผน่ื ขนึ้ ไมค่ วรใหร้ บั วคั ซนี MMR ใหเ้ ปลย่ี น
เปน็ MRแทน
ง. บูมอายุ 2 ปี 6 เดอื น 2 สัปดาห์ท่แี ล้วรักษาตัวใน โรงพยาบาลเป็นปอดอักเสบได้รับยา และสารนา้ ทางหลอดเลือดดาสามารถให้วัคซนีในครั้งนี้ได้
5.
ในการพจิารณาให้วัคซีนในกลุ่มท่มีี ภาวะเส่ียง ข้อใดถูกต้อง
ก. เด็กท่ีได้พลาสมา หรอื เลือดมาไม่ถึง 3 เดอื น ไม่ควรให้วัคซนีโปลิโอชนดิรับประทาน
ข.เด็กท่ีมีประวัตคิรอบครัวเป็นโรคชักและมปีระวัติ ชักจากไข้ ไม่สามารถให้วัคซนี รวมคอตบี -ไอกรน- บาดทะยักในครงั้ต่อไปได้
ค. เด็กท่ีได้รับยากดภูมคิุ้มกันสามารถให้วัคซนีชนิดเช้ือ เป็นอ่อนฤทธ์ไิ ด้ หากเด็กหยุดยากดภูมคิ ุ้มกัน มาแล้ว อย่างน้อย 3 เดอื น
ง.เด็กแรกเกดิท่ีมารดาติดเช้ือเอชไอวีไม่ควรให้วัคซนี BCG ถึงแม้เด็กจะไม่มอี าการ
176
หมวดเนื้อหาที่ 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน


ข้อ
คําถําม
คําตอบ
6.
การปฏิบัติในการเตรยีมน้ายาวัคซีน เพ่ือให้บริการข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ให้ตรวจดูสภาพของนา้ ยาวัคซีนทุกครงั้
ข. สามารถเตรยี มดดู ไวใ้ น Syringe มากกวา่ 10 โดส๊ ได้
แต่ต้องเก็บไว้ในตู้เย็น
ค. การผสมตัวทาละลายกับยาท่เีป็นผง ควรดูด
ตัวทาละลายมาทงั้หมด ง.เข็มท่ีใช้ดูดน้ายาไม่สามารถใช้เข็มเดยีวกันได้ถงึแม้ว่า
จะเป็นวัคซนีท่ีต่างขวดแต่ชนดิและ Lot number เดยี วกัน
7.
การฉีดวัคซนีเข้ากล้ามเน้ือให้กับเด็ก อายุ 4 ปี ข้อใดเหมาะสม
ก. แทงเข็มทามุม 90 องศา
ข. ควรให้ความรู้แก่เด็กและให้เด็กทาความคุ้นเคยกับ
อุปกรณก์ ารฉดี วคั ซนี กอ่ นฉดี เพอื่ ลดปฏกิ ริ ยิ าตอ่ ตา้ น ค.ควรพิจารณาฉดีวัคซีนท่ีบริเวณกล้ามเน้อืสะโพก
มากกว่ากล้ามเน้อื ต้นแขนหรือหน้าขา โดยเฉพาะใน
เด็กท่ีผอม
ง. ไม่จาเป็นต้องให้ยาลดไข้ในเด็ก เพราะมีความต้านทาน
ต่อการเกิดปฏกิิริยาของวัคซีนได้ดกีว่า เด็กเล็ก ๆ
8.
ข้อใดเป็นการฉดีวัคซีนเข้าชั้นใต้ผวิหนัง ท่ีถูกต้อง
ก. สามารถเลือกฉดี บริเวณ Upper outer triceps หรือหน้าขาก็ได้ในทารก 9 เดอื น
ข. ถ้าฉีดบริเวณหน้าขา ทาการวัด โดยแบ่งบรเิ วณตงั้ แต่ ปุ่มกระดูกใหญ่ของกระดูกต้นขาถงึปุ่มกระดูกบริเวณ หัวเข่าเป็น 3 ส่วน และฉดี ส่วนท่ี 1
ค. แทงเข็มทามุม 60 องศากับผวิ หนัง ง.ไม่ต้องทาการทดสอบก่อนดันวัคซนีเข้าร่างกาย
9.
คาแนะนาใดท่เีหมาะสมสาหรับมารดา ในการดูแลทารกวัย 6 เดอื นท่ไี ด้รับ วัคซีน
ก. เฝ้าระวังเร่ืองภาวะไข้ภายหลังได้รับวัคซนี 5-10 วัน ข. ให้นวดคลงึ เบา ๆ บริเวณท่ฉี ีดวัคซีน เพ่ือลดโอกาสใน
การเกิดไตแข็ง
ค. หากพบว่าครงั้ ท่ีผ่านมาลูกมีไข้สูง ควรให้ยาลดไข้หลัง
ฉีดวัคซีนทันที
ง. ใน 24 ชั่วโมงแรกสามารถประคบเย็นบรเิวณท่ีฉีด
วัคซีนและหลังจากนนั้ให้ประคบอุ่น
10.
ข้อใดเป็นการกาจัดอุปกรณ์ การให้วัคซนีอย่างถูกต้อง
ก.เข็มควรนาไปเผาหรอืฝัง ข.ถังท่ีใส่เข็มฉดีวัคซีนควรแช่น้ายาฆ่าเช้ือ
ค. ขวดวัคซนี ท่ีเก็บมานาน 7 วันแล้วจะเอาไปทาลาย
แบบขยะติดเชอ้ื
ง. สามารถทิ้งกระบอกฉดี ยาท่ีติดเข็มลงในถังหนาๆ ได้
โดยไม่จาเป็นต้องถอดหัวเข็ม
หมวดเนื้อหาที่ 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
177


178
หลักสูตรเชิงปฏิบัติการสําาหรับเจ้าหน้าท่ีสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ปี 2561


หม6วดเน้ือหาที่ กํารเตรียมกํารและกํารให้บริกํารวัคซีน
สาระสังเขป
ปัจจุบันการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นความจาเป็นพ้ืนฐานของการสาธารณสุขเพ่ือมุ่งท่ีจะป้องกัน ประชาชนให้ปลอดจากโรคท่ีสามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน การให้บริการท่ีมีความรู้และทักษะท่ีเพียงพอถือเป็น องค์ประกอบสาคัญท่ีจะทาให้ผู้รับบริการได้รับวัคซีนอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลในการป้องกัน โรคได้อย่างแท้จริง ผู้ให้บริการต้องมีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าท่ีของตนเองตามขอบเขตท่ีกฎหมาย กา หนดและปฏบิ ตั งิ านใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐาน ตงั้ แตก่ ารเตรยี มการกอ่ นใหบ้ รกิ าร การใหบ้ รกิ าร วธิ กี ารใหว้ คั ซนี ในช่องทางต่างๆการให้คาแนะนาผู้รับบรกิารภายหลังได้รับวัคซนี และการกาจัดอุปกรณ์ท่ีใช้แล้วซ่ึงทุกขนั้ตอน ล้วนมีมาตรฐานในการปฏบิัตทิั้งสิ้น
การเตรียมการก่อนให้บริการวัคซีนจะหมายถึงการเตรียมกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการ ผู้ให้บริการต้อง ประมาณการจานวนผู้มารับบริการเพ่ือจะได้คานวณปริมาณวัคซีนแต่ละชนิดและอุปกรณ์ท่ีใช้ได้ถูกต้องและ เพียงพอแก่ผู้รับบริการ ซ่ึงระบบการติดตามกลุ่มเป้าหมายนั้นขึ้นอยู่กับแต่ละสถานบริการ ไม่ว่าจะใช้ระบบใด ส่ิงสาคัญคือสามารถประมาณการได้ถูกต้องและติดตามผู้รับบริการอย่างต่อเน่ืองได้ นอกจากการเตรียมกลุ่ม เป้าหมายแล้วก่อนให้บริการ ผู้ให้บริการต้องเข้าใจหลักการเตรียมสถานท่ีให้บริการท่ีจะช่วยให้การดาเนินงาน ในการให้วัคซนีเป็นไปด้วยความรวดเร็วและเป็นระบบสถานท่ีท่ีให้บริการวัคซีนอาจจาแนกเป็น2ลักษณะคือ ล กั ษ ณ ะ ท เ่ ี ป น็ ห น ว่ ย บ ร กิ า ร ใ น ส ถ า น ท แ่ ี ล ะ ห น ว่ ย บ ร กิ า ร น อ ก ส ถ า น ท ่ ี ส า ห ร บั ใ น ห น ว่ ย บ ร กิ า ร ค ว ร แ ย ก จ า ก ค ล นิ กิ เ ด ก็ ป่วย ถ้าต้องใช้สถานท่ีเดียวกันต้องจัดคนละช่วงเวลา ควรจัดวางอุปกรณ์ท่ีจาเป็นในการใช้งานไว้ภายในบริเวณ
หมวดเนื้อหาที่ 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
179


180
หมวดเนื้อหาที่ 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
ท่ีให้บริการ เพ่ือความสะดวกและรวดเร็วในการปฏิบัติงาน ทั้งนี้รวมถึงบริเวณท่ีล้างมือและท่ีเก็บวัคซีนด้วย ควรมีบริเวณท่ีสงบเพ่ือผู้ให้บริการสามารถอธิบายและให้คาแนะนาแก่ผู้รับบริการได้โดยสะดวก ควรจัดให้ห้อง ฉีดวัคซีนมีทางเข้าและออกคนละทาง เพ่ือไม่ให้เกิดอุบัติเหตุและไม่สร้างความต่ืนตระหนกให้แก่ผู้ท่ีรอฉีดวัคซีน ในรายต่อๆ ไป แต่ถ้าจัดไม่ได้ควรให้ผู้รับบริการเข้ามาทีละราย ไม่ควรให้รออยู่ในห้องทีละหลายๆ คน ในกรณี ท่ีตั้งหน่วยรับบริการนอกสถานท่ีควรตั้งอยู่ในท่ีร่ม ไม่ควรอยู่กลางแจ้งท่ีมีแสงแดดส่องถึงมีลมหรือฝุ่นพัดผ่าน มีป้ายบอกจุดบรกิารท่ีชัดเจนจัดเตรียมบริเวณทางเข้าออกให้สะดวกแก่การบริการบริเวณท่ีให้วัคซนีมีฉากกั้น มิดชิดและมีเก้าอี้ให้น่ังรับวัคซีนเพ่ือป้องกันอุบัติเหตุ ส่ิงท่ีสาคัญคือ การเก็บรักษาวัคซีนให้อยู่ในอุณหภูมิท่ี เหมาะสม และการจัดเตรียมอุปกรณ์การช่วยเหลือเม่ือเกิดอาการแพ้รุนแรง ไม่ว่าจะเป็นในหน่วยหรือ นอกหน่วยบรกิารควรมีสถานท่สีังเกตอาการ
ขนั้ตอนการให้บรกิารประกอบด้วยขนั้ตอนสาคัญ5ขนั้ตอนดังนี้คอื 1)การประเมนิคัดกรองผู้รับบรกิาร ทงั้ การซกั ประวตั แิ ละตรวจรา่ งกาย ขนั้ ตอนนจี้ ะชว่ ยใหผ้ ใู้ หบ้ รกิ ารทราบในเบอ้ื งตน้ วา่ ผรู้ บั บรกิ ารมขี อ้ จา กดั หรอื ข้อควรระวังในการท่ีจะให้วัคซีนหรือไม่ โดยเฉพาะการได้รับวัคซีนชนิดเช้ือเป็นอ่อนฤทธ์ิ สามารถให้วัคซีนได้ หรือไม่ หรือจาเป็นต้องเล่ือนออกไป และยังสามารถพิจารณาได้อีกด้วยว่าผู้รับบริการได้รับภูมิคุ้มกันตามวัย และตามเกณฑท์ ค่ี วรจะไดร้ บั มาแลว้ หรอื ยงั นอกจากนคี้ วรตรวจสอบเอกสารการไดร้ บั วคั ซนี ครงั้ สดุ ทา้ ยในสมดุ สขุ ภาพรว่ มดว้ ย สง่ิ ทผ่ี ใู้ หบ้ รกิ ารควรสงั เกตรว่ มกบั การซกั ประวตั ิ คอื ลกั ษณะทา่ ทาง การตอบสนองของเดก็ และ ตรวจรา่ งกายเบอ้ื งตน้ เมอ่ื ตอ้ งการยนื ยนั อาการทพ่ี บ และอาจนา ไปสกู่ ารสง่ ตอ่ หรอื การดแู ลรกั ษาทถ่ี กู ตอ้ งตอ่ ไป 2)การเตรียมอุปกรณ์สาหรับการให้วัคซนี ผู้ให้บริการต้องให้ความสาคัญในการเลือกอุปกรณ์ท่ีใช้ให้เหมาะสม กบั การใหว้ คั ซนี ในแตล่ ะชอ่ งทาง เตรยี มใหเ้ พยี งพอและคา นงึ ถงึ ความสะอาดปราศจากเชอ้ื 3) การเตรยี มการเพอ่ื ลดโอกาสในการตดิ เชอ้ื ผใู้ หบ้ รกิ ารควรใหค้ วามสา คญั กบั การลา้ งมอื หรอื การใชแ้ อลกอฮอลเ์ จลทกุ ครงั้ ในการให้ บริการแต่ละราย การใส่ถุงมือไม่ใช่ส่ิงจาเป็น ยกเว้นมีกรณีท่ีต้องสัมผัสสารคัดหลั่ง การจากัดอุปกรณ์สาหรับ ฉีดวัคซีนท่ีใช้แล้ว ควรหาภาชนะใส่เพ่ือลดโอกาสการรับเช้ือและแพร่กระจายเช้ือ 4) การตรวจสอบวัคซีนท่ีจะ ใช้ ตรวจสอบการเกบ็ วคั ซนี และนา้ ยาทา ละลายในอณุ หภมู ทิ เ่ี หมาะสม การเลอื กใชน้ า้ ยาทา ละลายทถ่ี กู ตอ้ ง และ ขอ้ ควรปฏบิ ตั เิ พอ่ื ปอ้ งกนั ความผดิ พลาด โดยยดึ หลกั 6R และ5) การเตรยี มวคั ซนี เนน้ การใชเ้ ทคนคิ ปราศจากเชอ้ื ลดการสูญเสียวัคซนีจากการเลือกใช้ขนาดเข็มฉีดยาและเทคนคิการดูดน้ายาวัคซีนท่ถีูกต้อง
เมอ่ื มาถงึ ขนั้ ตอนการให้วคั ซนี ผู้ให้บรกิ ารควรต้องมคี วามแม่นยา ว่าวคั ซนี ชนดิ หนง่ึ ๆ ให้ในปรมิ าณเท่าใด และใหใ้ นชอ่ งทางใด อกี ทงั้ ใหค้ วามสา คญั กบั เทคนคิ ทถ่ี กู ตอ้ งสา หรบั การใหว้ คั ซนี ในชอ่ งทางตา่ งๆ เทคนคิ การจดั ทา่ ผู้รับบริการเพ่ือลดโอกาสเกิดการบาดเจ็บในขณะให้วัคซีน ปัจจุบันวัคซีนท่ีใช้อยู่ในประเทศไทยมีการนาเข้าสู่ รา่ งกาย 4 วธิ คี อื การรบั ประทาน ไดแ้ ก่ RV และ OPV การฉดี เขา้ ในหนงั ไดแ้ ก่ BCG การฉดี เขา้ ชนั้ ใตผ้ วิ หนงั ไดแ้ ก่ JEและMMRและการฉดีเข้าชั้นกล้ามเน้ือได้แก่DTP-HB,DTP,IPV,Influenza,HBV,HPVและDTP-HB-Hib แต่ในต่างประเทศมกีารพ่นจากจมูกอีกวิธีหน่ึง
การฉีดวัคซีนเข้าในหนัง (Intradermal) เป็นการนายาผ่านเข้าไปเพียงแค่ในหนัง วิธีการน้ีใช้สาหรับวัคซีน ท่ีต้องการลดแอนติเจนลง กระตุ้นภูมิคุ้มกันชนิดเซลล์ได้ดี ปริมาณยาที่ฉีดก็มักจะมีปริมาณน้อย ใช้เข็มเบอร์ 26หรอื27ความยาว1⁄2น้วิและเน่ืองจากวัคซนีท่ีฉีดเข้าในหนังเป็นวัคซีนชนิดเช้ือเป็นหากใช้แอลกอฮอล์เช็ด ต้องรอให้แห้งก่อนจงึจะฉีดก่อนฉีดต้องจัดท่าเด็กให้น่ิงและม่ันคงท่ีสุดเพราะการฉีดเข้าในหนังต้องอาศัยความ ชานาญและความน่งิมากท่ีสุดเทคนคิการฉีดควรดึงหนังบริเวณท่ีฉีดให้ตึงค่อยๆแทงเข็มลงไปทามุมประมาณ 15 องศา แลว้ ดนั ยาเขา้ ไป ถา้ เทคนคิ ถกู ตอ้ งจะเหน็ วา่ เมอ่ื ดนั ยาเขา้ ไปจะมตี มุ่ นนู ขนึ้ มาใหเ้ หน็ ชดั ตอ้ งใหม้ อื นง่ิ มาก ทส่ี ดุ เพราะยาอาจรวั่ ซมึ ออกมาได้หากปลายเขม็ แทงทะลอุ อกมานอกผวิ หนงั บรเิ วณทฉ่ี ดี วคั ซนี BCG มกั ฉดี เข้า ท่ีบริเวณต้นแขนด้านบน ไม่ควรสูงขึ้นมาถึงกระดูกหัวไหล่


การฉีดวัคซนีเข้าใต้ชั้นผิวหนัง(Subcutaneous)เป็นการนายาผ่านเข้าไปในFattytissueอยู่ใต้ชั้นผิวหนัง และอยู่เหนือชั้นกล้ามเน้ือ มักใช้กับวัคซีนท่ีไม่ต้องการให้ดูดซึมเร็วและเป็นวัคซีนท่ีไม่มีสารดูดซับ ปกติแล้ว S u b c u t a n e o u s t i s s u e พ บ ไ ด ้ ท วั ่ ร ่ า ง ก า ย ส า ห ร บั เ ด ก็ เ ล ก็ บ ร เิ ว ณ ท น่ ี ยิ ม ใ ห ้ ว คั ซ นี ค อื บ ร เิ ว ณ ห น ้ า ข า แ ล ะ ถ ้ า เ ป น็ เ ด ก็ อายุ 1 ปีขึ้นไป หรือผู้ใหญ่ก็จะใช้บริเวณ Upper outer triceps ของแขนได้อีกท่ีหน่ึง ก่อนฉีดเช็ดบริเวณผิวหนัง ด้วยสาลีแอลกอฮอล์ แล้วจงึ แทงเข็มเข้าไปทามุมกับผิวหนัง 45 องศา โดยไม่จาเป็นต้องทดสอบก่อนดันวัคซีน
การฉีดวัคซนีเข้าชั้นกล้ามเน้ือ(Intramuscular)เป็นการนายาเข้าสู่Muscletissueมักใช้กับวัคซีนท่ีมีสาร ดูดซับบริเวณท่ีใช้ในการฉดีวัคซีนเข้ากล้ามเน้ือมี2แห่งคือบริเวณกล้ามเน้ือต้นขาส่วนหน้า(Vastuslateralis) ใช้ในเด็กอายุต่ากว่า 3 ปี และบริเวณกล้ามเน้ือต้นแขน (Deltoid) สามารถใช้กับเด็กอายุ 3 ปีขึ้นไปและผู้ใหญ่ กล้ามเน้ือต้นขาส่วนหน้า (Vastus lateralis) ซ่ึงจะอยู่บริเวณต้นขาหน้าขาด้านนอก ก่อนฉีดจะต้องทาการวัดก่อน โดยแบ่งบริเวณตั้งแต่ปุ่มกระดูกใหญ่ของกระดูกต้นขา (Greater tronchanter of femur) ถึงปุ่มกระดูกบริเวณ หัวเข่า (Lateral femoral condyle) เป็น 3 ส่วน ฉีดส่วนท่ี 2 ในเด็กโตและผู้ใหญ่ท่ีผอม ก็สามารถใช้กล้ามเน้ือ บริเวณหน้าขาได้เช่นกัน แทงเข็มเข้าไปทามุมกับผิวหนัง 90 องศา ทดสอบก่อนดันวัคซีน ถ้าพบว่ามีเลือดออก ให้เปล่ียน Set ใหม่และเปล่ยี นท่ีฉีด
ภายหลงั จากฉดี ยา ผ้ใู ห้บรกิ ารไม่ควรดงึ เขม็ จาก Syringe และไม่ควรสวมปลอกเขม็ กลบั ก่อนทงิ้ สามารถ ทิ้งSyringeท่ีมีเข็มตดิอยู่ทิ้งลงในถังพลาสติกหนาท่ีเข็มไม่สามารถแทงทะลุได้หรือเราเรยีกว่าPunctureproof containers ซ่ึงสามารถนากล่องพลาสติกหนาที่มีอยู่แล้วมาใช้ได้หากไม่มีกล่องท้ิงเข็มมาตรฐาน นอกเหนือจาก Syringeและเข็มแล้วอุปกรณ์อ่นืๆท่ีใช้ในการฉีดวัคซีนเช่นขวดยาท่ีใช้หมดแล้วหรือVaccineหมดอายุก็ต้อง จัดเป็นขยะอันตรายหรอืขยะตดิเช้ือเช่นเดียวกัน
บทบาทของผู้ให้บริการท่ีสาคัญอีกประการหน่ึงคือ การให้คาแนะนาแก่ผู้รับบริการในการปฏิบัติตัว ภายหลงั ไดร้ บั วคั ซนี โดยปกตแิ ลว้ ตอ้ งเนน้ ยา้ ใหผ้ รู้ บั บรกิ ารอยสู่ งั เกตอาการ 30 นาทกี อ่ นกลบั บา้ น หนว่ ยบรกิ าร ต้องมีการจัดหาสถานท่ีและจัดกิจกรรมหรือเตรียมจัดมุมเล่นให้เด็กเล่นในขณะรอ อาการไม่พึงประสงค์ท่ีอาจ พบได้และคาแนะนาการปฏบิ ัติตัว มีดังน้ี
มีตุ่มหนอง
ตุ่มหนองท่เีกิดจากวัคซีนบีซีจีจะพบได้หลังฉดี ประมาณ2-3สัปดาห์และเป็นๆยุบๆอยู่3-4สัปดาห์ สามารถยุบหายเองได้ ไม่จาเป็นต้องใส่ยาหรือปิดแผล ให้รักษาบริเวณตุ่มหนองให้สะอาด โดยใช้สาลีสะอาดชุบ นา้ สะอาดเชด็ ผวิ หนงั รอบๆ ตุ่มหนองแล้วซบั ให้แห้ง ไม่ให้เจาะ บ่งตุ่มหนอง หรอื ทายาฆ่าเชอ้ื หากมตี ุ่มหนองเกดิ ขึ้นในบรเิวณกว้างลามมาถึงรักแร้และมตี่อมนา้เหลืองโตก็ควรพามาพบแพทย์หากเกิดตุ่มหนองบริเวณท่ีฉีด วัคซีนอ่ืนๆ เช่น ท่หี น้าขา ควรพามาพบแพทย์
อํากํารปวด บวมแดง หรือมีก้อนแข็งบริเวณที่ฉีดวัคซีน
หากมีอาการปวดมาก ให้รับประทานยาแก้ปวดพาราเซตามอล โดยคานวณจากน้าหนักตัว คือ 10มลิลกิรัม/นา้หนักตัว1กโิลกรัม/ครงั้และให้ประคบเย็นบรเิวณท่ีฉดีวัคซนีในวันแรกหลัง24ชั่วโมงไปแล้ว ให้ประคบอุ่น เพอ่ื ลดอาการบวม ดแู ลทา ความสะอาดโดยไม่ควรนา ยาไปทา หรอื ยาผงชนดิ ต่างๆ ไปทาบรเิ วณที่ ฉีดวัคซีน และหากเกิดก้อนแข็งบริเวณท่ีฉีดวัคซีน ให้ประคบอุ่นต่อเน่ือง ประมาณ 2-3 เดือน ก้อนแข็งจะยุบลง
หมวดเน้ือหาที่ 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
181


182
หมวดเนื้อหาท่ี 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
อํากํารไข้
อาการไข้เป็นเร่ืองท่ีพบบ่อยหลังจากฉีดวัคซีนคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก ชนิด DTwP 1-2 วัน และ อาจเกิดข้ึนได้หลังฉดีวัคซีนรวมหัดหัดเยอรมันคางทูมไปแล้วประมาณ5-10วันให้ดูแลด้วยการเช็ดตัวลดไข้ ด้วยนา้ อุ่น ไม่ควรรบั ประทานยาลดไข้ป้องกนั ไว้ก่อน หากมไี ข้ควรให้รบั ประทานยาลดไข้ประเภทพาราเซตามอล ร่วมกับการเช็ดตัวลดไข้ หากมีอาการชักให้นาส่งโรงพยาบาลและควรให้ประวัติเก่ียวกับการได้รับวัคซีน ด้วย อาการไข้ในเด็กท่เีคยชักจากไข้ แนะนาให้เฝ้าระวังภาวะไข้และให้ยาลดไข้ทันทีท่ีมีไข้ร่วมกับเช็ดตัวลดไข้
อํากํารชัก
อาการชักมักไม่เกดิจากผลของวัคซีนโดยตรงแต่อาจเกิดจากไข้สูงมากเกินไปดังนั้นการป้องกันไม่ให้มี ไข้สงู จงึ มคี วามสา คญั และเมอ่ื เกดิ อาการชกั แล้วให้ปฏบิ ตั ดิ งั น้ี ให้จบั เดก็ นอนตะแคงหน้า ไม่ควรนา สง่ิ ใดงดั หรอื ใสใ่ นปากขณะเดก็ กา ลงั ชกั เกรง็ เนอ่ื งจากอาจทา ใหเ้ กดิ การบาดเจบ็ ในชอ่ งปากหรอื ฟนั หกั หลดุ เขา้ ไปอดุ หลอดลม ซ่ึงจะเป็นอันตราย ควรนาส่งโรงพยาบาลทันที
มีผื่นข้ึนหลังจํากฉีดวัคซีน
ผน่ื อาจเกดิ ไดจ้ ากการแพส้ ว่ นประกอบในวคั ซนี หรอื ตวั เชอ้ื ทอ่ี ยใู่ นวคั ซนี โดยตรง เชน่ หดั เยอรมนั คางทมู อีสุกอีใส เน่ืองจากเช้ือเหล่าน้ีทาให้เกิดไข้ออกผ่ืนอยู่แล้ว ผ่ืนท่ีข้ึนจากการฉีดวัคซีนมักไม่อันตราย อาจขึ้นหลัง จากฉีดไปแล้ว 5-10 วัน ร่วมกับอาการมีไข้ด้วย แต่หลังจากนั้นประมาณ 1 สัปดาห์ก็จะหายไปเอง แนะนาให้ สวมเส้ือผ้าท่ีระบายอากาศได้ดี หากผ่ืนขึ้นนานเกิน 7 วัน หรือเป็นผ่ืนจากสาเหตุการแพ้ร่วมกับอาการบวม รอบตา รมิ ฝีปาก หายใจไม่ออก ควรรีบไปพบแพทย์ทันที
จากท่ีกล่าวมาจะเห็นว่าขั้นตอนการให้บริการมีรายละเอียดหลายประการ ดังนั้นผู้ให้บริการจาเป็นต้อง ศึกษาในรายละเอียดเพ่ือให้เกิดการปฏิบัติอย่างถูกต้องตามมาตรฐานงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ลดอันตราย ทจ่ี ะเกดิ กบั ผรู้ บั บรกิ ารและลดความเสย่ี งตอ่ การฟอ้ งรอ้ งจากความผดิ พลาดตา่ งๆ ถงึ แมจ้ ะมวี คั ซนี ทไ่ี ดม้ าตรฐาน แต่ขาดบุคลากรท่มีีความรู้ความสามารถและทักษะท่ีเพียงพอก็ไม่สามารถทาให้เกิดผลลัพธ์ท่ีดีได้


บทนําา
การสรา้ งเสรมิ ภมู คิ มุ้ กนั โรคจดั เปน็ งานสาธารณสขุ ขนั้ พน้ื ฐานมงุ่ ทจ่ี ะปอ้ งกนั ประชาชนใหป้ ลอดจากโรคที่ สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน แต่การท่ีจะทา ให้ผู้รับบริการได้รับวัคซีนอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ในการป้องกันโรคได้นั้นจาเป็นต้องมีองค์ประกอบสาคัญ 3 ส่วน น่ันคือ ระบบการบริหารจัดการวัคซีนท่ีมี ประสทิ ธภิ าพ วคั ซนี ทผ่ี ลติ มามมี าตรฐาน และผใู้ หบ้ รกิ ารทม่ี คี วามรแู้ ละทกั ษะทเ่ี พยี งพอ อยา่ งไรกด็ เี มอ่ื พจิ ารณา องค์ประกอบในเร่ืองของระบบและตัววัคซีนแล้วพบว่าในสององค์ประกอบนี้มีกระบวนการกากับตามมาตรฐาน อย่างเป็นระบบ แต่องค์ประกอบด้านผู้ให้บริการยังคงเป็นเป็นปัญหาในหลายประเด็น ยังพบอุบัติการณ์จาก ความผิดพลาดต่างๆ ในการให้บริการจากหลายสาเหตุ จนในบางกรณีมีประเด็นถึงขั้นฟ้องร้องกันทางกฎหมาย ดงั นนั้ ถงึ แมจ้ ะมวี คั ซนี คณุ ภาพดี แตผ่ ใู้ หบ้ รกิ ารขาดทกั ษะและความรกู้ ไ็ มส่ ามารถทา ใหเ้ กดิ การสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั โรค ในผู้รบั บรกิ ารได้ ผู้ให้บรกิ ารเองอาจจะยงั ไม่ทราบว่าการสร้างเสรมิ ภมู คิ ุ้มกนั โรคนนั้ เปน็ บทบาททส่ี ามารถทา ได้ ในวิชาชีพท่ีได้รับการอนุญาตตามท่ีกฎหมายกาหนดเท่านั้น ซ่ึงได้แก่วิชาชีพแพทย์และพยาบาล แต่เน่ืองด้วย ในการใหบ้ รกิ ารนนั้ มพี ยาบาลและนกั วชิ าการสาธารณสขุ เปน็ กลมุ่ หลกั ในการใหบ้ รกิ าร พยาบาลจะใชม้ าตรา 4(3) แ ห ่ ง พ ร ะ ร า ช บ ญั ญ ตั วิ ชิ า ช พี ก า ร พ ย า บ า ล แ ล ะ ผ ด งุ ค ร ร ภ ์ พ . ศ . 2 5 4 0 ส า ม า ร ถ ใ ห ้ บ ร กิ า ร ส ร ้ า ง เ ส ร มิ ภ มู คิ ม้ ุ ก นั โ ร ค ไ ด ้ ตามแผนงานสรา้ งเสรมิ ฯ และนกั วชิ าการสาธารณสขุ มพี ระราชบญั ญตั กิ ารประกอบอาชพี เวชกรรม ตามระเบยี บ กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2539 ให้ความคุ้มครองในการปฏิบัติงาน โดยแท้จริงแล้วนักวิชาการสาธารณสุข ท่ีไม่ใช่พยาบาล หรือเป็นนักวิชาการสาธารณสุขท่ีเป็นพยาบาลแต่ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพก็ไม่สามารถ กระทา การสรา้ งเสรมิ ภมู คิ มุ้ กนั โรคได้ แตเ่ นอ่ื งจากการขาดแคลนบคุ ลากรในหนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู จิ งึ มพี รบ.รองรบั โดยให้อยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ดังนั้นผู้ให้บริการต้องมีความรู้ความเข้าใจ ในบทบาทหน้าท่ีของตนเองตามขอบเขตท่ีกฎหมายกาหนดและปฏิบัติงานให้เป็นไปตามมาตรฐาน ตั้งแต่ การเตรียมการก่อนให้บริการ การให้บริการในหน่วยบริการ วิธีการให้วัคซีนในช่องทางต่างๆ การให้คาแนะนา ผู้รับบริการภายหลังได้รับวัคซีน และการกาจัดอุปกรณ์ท่ีใช้แล้ว ทุกขั้นตอนล้วนมีมาตรฐานในการปฏิบัติ หมวดเน้ือหาน้ีได้รวบรวมเน้ือหาสาคัญในแต่ละขั้นตอนของการบริการอย่างละเอียดเพ่ือลดอุบัติการณ์ ความผิดพลาดต่างๆ และเพ่อื ให้ผู้ให้บริการมีแนวทางในการให้บริการอย่างเป็นมาตรฐานเดียวกัน
1. การเตรียมการก่อนให้วัคซีน
1.1 การเตรียมกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการ
การประมาณการจานวนผู้มารับบริการเป็นสิ่งสาคัญ เพ่ือจะได้คานวณปริมาณวัคซีนแต่ละชนิด และอปุ กรณท์ ใ่ี ชไ้ ดถ้ กู ตอ้ งและเพยี งพอแกผ่ รู้ บั บรกิ าร ซงึ่ ในปจั จบุ นั มกี ารนา ระบบคอมพวิ เตอรม์ าใช้ บนั ทกึ แทนทะเบยี นผมู้ ารบั บรกิ าร ซง่ึ จะมกี ารลงบนั ทกึ วนั นดั ใหบ้ รกิ ารครงั้ ตอ่ ไป ระบบคอมพวิ เตอรน์ ี้ สามารถประมวลผลได้ว่า มีผู้ท่ีได้รับการนัดมารับบริการในแต่ละวัน จานวนเท่าใด กลุ่มอายุใด ต้องรับวัคซีนชนิดใด ซ่ึงเป็นข้อมูลท่ีเพียงพอสาหรับเจ้าหน้าท่ีในการเตรียมวัคซีนอย่างเพียงพอ เพ่ือให้บริการ นอกจากนี้ยังต้องเตรียมวัคซีนเพ่ิมสาหรับผู้รับบริการรายใหม่ เช่น เด็กเกิดใหม่ด้วย แต่ถ้าถึงวันนัดแล้วกลุ่มเป้าหมายไม่มาตามนัด ผู้ให้บริการจะต้องบันทึกแก้ไขวันนัดใหม่ จึงจะรวม เป้าหมายได้ทุกคน ขั้นตอนนี้ถ้าปรับแก้ไม่สมบูรณ์ก็จะทาให้จานวนเป้าหมายท่ีจะมารับบริการท่ี ถกู บนั ทกึ ในระบบคอมพวิ เตอรน์ อ้ ยกวา่ ความเปน็ จรงิ ทา ใหก้ ารเตรยี มวคั ซนี เพอ่ื ใหบ้ รกิ ารไมเ่ พยี งพอ ต่อกลุ่มเป้าหมายท่ีจะมารับบริการ ก็อาจจะเกิดปัญหาวัคซีนไม่เพียงพอต่อการบริการ
หมวดเน้ือหาที่ 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
183


184
หมวดเนื้อหาที่ 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
นอกจากน้ีในการให้บริการฉีดวัคซีนแต่ละครั้ง ผู้ให้บริการจะต้องตรวจสอบในแฟ้มประวัติหรือ สมดุ บนั ทกึ สขุ ภาพทกุ ครงั้ วา่ กลมุ่ เปา้ หมายไดร้ บั วคั ซนี ครบทกุ ชนดิ ตามกา หนดอายหุ รอื ตามชว่ งเวลา ทค่ี วรจะเปน็ หรอื ไม่ เนอ่ื งจากกลมุ่ เปา้ หมายบางคนอาจมารบั วคั ซนี ลา่ ชา้ แตไ่ มไ่ ดแ้ จง้ ใหผ้ ใู้ หบ้ รกิ าร ทราบ การไม่ตรวจสอบอาจทาให้เกิดการให้ชนิดของวัคซีนท่ีผิดพลาดได้ อีกทั้งหากได้รับวัคซีน ไม่ครบ ผู้ให้บริการจะต้องทาตารางนัดหมายให้ได้รับวัคซีนจนครบตามแผนการสร้างเสริม ภมู คิ มุ้ กนั โรคของกระทรวงสาธารณสขุ โดยนา หลกั การจากหมวดเนอ้ื หาท่ี 2 มาใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ าน
การติดตามกลุ่มเป้าหมายท่ีไม่มารับวัคซีนตามนัด เป็นส่ิงสาคัญอีกส่วนหน่ึงท่ีหน่วยงานจะ ต้องทาให้ระบบการติดตามมีประสิทธิภาพ มีความคุ้มค่า คุ้มทุน โดยการจัดระบบในเร่ืองของ ระยะการตดิ ตามและวธิ กี ารตดิ ตามนน้ั อาจจะอยใู่ นรปู แบบของการนา โปรแกรมคอมพวิ เตอรม์ าใชใ้ น การบันทึกฐานข้อมูลของกลุ่มประชากรท่ีอยู่ในพ้ืนท่ีรับผิดชอบของ รพ.สต. หรือสถานบริการ สาธารณสขุ ตา่ งๆ กรณที ใ่ี ชก้ ารตดิ ตามดว้ ยระบบเอกสารตอ้ งเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู อยา่ งครบถว้ นและ ถูกต้อง จึงจะเป็นประโยชน์กับผู้ให้บริการ
1.2 การเตรียมสถานท่ีให้บริการ
การวางแผนในการจัดเตรียมสถานท่ีอย่างเหมาะสม ช่วยทาให้การดาเนินงานในการให้วัคซีนเป็น ไปด้วยความรวดเร็วและเป็นระบบ สาหรับการจัดสถานท่ีในการให้บริการควรพิจารณาถึงความ ครอบคลุมของกระบวนการให้บริการ ได้แก่ สถานท่ีลงทะเบียนรับบริการ บริเวณช่ังน้าหนัก วดัความยาวหรอืส่วนสูงห้องตรวจหรอืบรเิวณทใ่ีช้ซกัประวตัแิละตรวจร่างกายเพอ่ืประเมนิสภาพ ผรู้ บั บรกิ ารกอ่ นไดร้ บั วคั ซนี บรเิ วณทใ่ี หว้ คั ซนี การใหค้ า แนะนา และจดั สถานทส่ี า หรบั สงั เกตอาการ ภายหลังได้รับวัคซีน โดยให้คานึงถึงการลาดับขั้นตอนการรับบริการท่ีไม่เกิดความยุ่งยากซับซ้อน เพอ่ื ความสะดวกของผรู้ บั บรกิ าร นอกจากนสี้ ถานทค่ี วรสะอาด และเปน็ บรเิ วณทไ่ี มแ่ ออดั สามารถ รองรบั ผ้รู บั บรกิ ารได้เพยี งพอ สถานทท่ี ใ่ี ห้บรกิ ารวคั ซนี อาจจา แนกเปน็ 2 รปู แบบ คอื หน่วยบรกิ าร ในสถานท่ีและหน่วยบริการนอกสถานท่ี
(1) หน่วยบริการในสถานท่ี เช่น หน่วยบริการในโรงพยาบาลหรือ รพ.สต. เป็นต้น หลักการจัด สถานท่ีให้บรกิ ารควรดาเนินการ ดังนี้
1) ควรแยกจากคลนิ กิ เดก็ ป่วย สามารถใช้สถานทเ่ี ดยี วกบั ทต่ี รวจรกั ษาเดก็ ป่วยได้ แต่ต้องจดั คนละช่วงเวลา เพ่อื ไม่ให้เด็กท่ีมสี ุขภาพดีสัมผัสกับเด็กป่วย
2) ควรจัดวางอุปกรณ์ท่ีจาเป็นในการใช้งานไว้ภายในบริเวณท่ีให้บริการ เพ่ือความสะดวก และรวดเร็วในการปฏบิ ัติงาน ทงั้ นี้รวมถึงบริเวณท่ีล้างมือด้วย
3) ควรเป็นบริเวณท่ีเงียบสงบ เป็นส่วนตัวเพ่ือผู้ให้บริการสามารถซักประวัติ ตรวจร่างกาย หรือให้คาแนะนาแก่ผู้รับบรกิารได้โดยสะดวก
4) ควรจดั ใหห้ อ้ งใหว้ คั ซนี มที างเขา้ และทางออกคนละทาง จดั ทน่ี งั่ ใหผ้ รู้ บั บรกิ ารเพอ่ื ไมใ่ หเ้ กดิ อุบัติเหตุและไม่สร้างความต่ืนตระหนกให้แก่ผู้รับบริการท่ีรอ แต่ถ้าจัดไม่ได้ ควรให้ผู้รับ บริการเข้ามาครงั้ ละคน ไม่ควรให้รออยู่ในห้องครั้งละหลายๆ คน


(2)หน่วยบรกิารนอกสถานท่ีได้แก่การออกหน่วยบริการในโรงเรียนหรือในชุมชนเป็นต้นมีหลัก การจัดสถานบรกิ ารท่ีแตกต่างจากการให้บริการในสถานท่ี ดังนี้
1)ควรตั้งอยู่ในท่รี่มไม่ควรอยู่กลางแจ้งท่ีมีแสงแดดส่องถึงหรือมีลมหรือฝุ่นพัดผ่านจัดมุม ให้บริการเป็นสัดส่วน
2) มีป้ายบอกจุดบรกิ ารท่ีชัดเจน เช่น ชั่งน้าหนัก วัดส่วนสูง ซักประวัติตรวจร่างกาย เป็นต้น
3) จัดเตรียมบรเิ วณทางเข้าและทางออกคนละทาง จัดให้มีสถานท่นี ั่งรอท่ีสะดวก สะอาด
4) ในจุดบริการควรมีโต๊ะวางอุปกรณ์ต่างๆ และวางอุปกรณ์ใช้งานให้อยู่ในบริเวณท่ี
หยิบ จับง่ายและไม่เกดิ การปนเปื้อน
5) ควรจดั เกา้ อสี้ า หรบั ผใู้ หบ้ รกิ ารและผรู้ บั บรกิ ารในการใหว้ คั ซนี การใหน้ งั่ เกา้ อใ้ี นการรบั วคั ซนี
สามารถป้องกันอุบัติเหตุได้ หากเด็กมีอาการเป็นลม และควรมีฉากกั้นมิดชิด เพ่ือลด
ความต่ืนตระหนกของผู้ท่รี อรับวัคซีน และป้องกันการเกิดอุปาทานหมู่
6)ควรจัดเตรยีมเตียงนอนสาหรับเด็กท่ีมีอาการผิดปกติหลังได้รับวัคซีน
7) ควรจัดบรเิวณท่ีล้างมือ หรือเตรียมเจลแอลกอฮอล์ให้เพียงพอ
8) ควรมกี ารจดั เตรยี มวสั ดุ อปุ กรณ์ให้เพยี งพอ และการเกบ็ รกั ษาวคั ซนี ต้องให้อย่ใู นอณุ หภมู ิ
ทเ่ี หมาะสม โดยกระตกิ เกบ็ วคั ซนี ควรอย่ใู กล้บรเิ วณทใ่ี ห้บรกิ าร หรอื หากสถานทใ่ี ห้บรกิ าร มีตู้เย็นเก็บวัคซีนก็จะดี เพ่ือจะได้ไม่ต้องนาวัคซีนออกจากท่ีเก็บมาจานวนมากเกินไป ในกรณีท่ีต้องใช้วัคซีนเพ่ิมจะเกิดความสะดวกและยังป้องกันการเส่ือมคุณภาพของวัคซีน อีกด้วย
2. การให้บริการ
ขั้นตอนการให้บริการประกอบด้วยขั้นตอนสาคัญ 3 ขั้นตอน ได้แก่ การประเมินคัดกรองผู้รับบริการ ทั้งการซักประวัตแิ ละการสังเกตอาการ การจัดเตรียมอุปกรณ์การให้วัคซีน และการจัดเตรียมวัคซีน ดังนี้
2.1 การประเมินคัดกรองผู้รับบริการ
2.1.1 การซักประวัติ
การซักประวัติเป็นขั้นตอนท่ีมคีวามสาคัญเป็นอย่างย่ิงจะช่วยให้ทราบในเบ้ืองต้นว่าผู้รับ บรกิ ารมขี อ้ จา กดั หรอื ขอ้ ควรระวงั ในการทจ่ี ะใหว้ คั ซนี ชนดิ นนั้ ๆ หรอื ไม่ มคี วามพรอ้ มในการ รับวัคซีนในครั้งน้ี หรือต้องเล่ือนการรับวัคซีนออกไป และยังสามารถพิจารณาได้อีกด้วย ว่าผู้รับบริการได้รับภูมิคุ้มกันตามวัยและตามเกณฑ์ท่ีควรจะได้รับมาแล้ว การประเมิน คดั กรองจา เปน็ ตอ้ งดรู ายละเอยี ดในสมดุ สขุ ภาพของเดก็ ประกอบ นอกเหนอื จากการซกั ถาม พูดคุย หากเป็นเด็กในโรงเรียนผู้ให้บริการจาเป็นต้องศึกษาข้อมูลประวัติสุขภาพและ ประวัติการได้รับวัคซีนท่ีโรงเรียนจากทะเบียนประวัตินักเรียนก่อนให้บริการวัคซีนด้วย
จากการศึกษาแนวทางของประเทศสหรัฐอเมริกา แนะนาให้ใช้ในการคัดกรองเบ้ืองต้น สา หรบั ผรู้ บั บรกิ ารโดยเฉพาะในเดก็ และวยั รนุ่ ทม่ี ารบั วคั ซนี ซง่ึ เปน็ แบบ Checklist ทส่ี ามารถ ทาได้ง่าย อาจเป็นเคร่ืองมือท่ีช่วยให้ผู้ให้บริการมีแนวทางในการให้วัคซีนแก่ผู้รับบริการ อย่างถูกต้องเหมาะสมมากย่ิงข้ึน เคร่ืองมือน้ีสามารถให้ผู้รับบริการทาด้วยตนเอง หรือ บุคลากรผู้ให้บริการซักประวัติตามข้อคาถามในแบบคัดกรองก็ได้ ตามรายละเอียด ดังนี้
หมวดเนื้อหาที่ 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
185


แบบคัดกรองสําหรับผู้ที่มํารับวัคซีน
ดัดแปลงจาก Screening Questionnaire for child and Teen Immunization Technical content reviewed by the Centers for Disease Control and Prevention (April, 2009)
คาช้ีแจง สาหรับผู้ปกครอง / ผู้มารับวัคซนี
คาถามต่อไปนี้จะช่วยให้ตัดสินใจได้ว่าผู้มารับวัคซีนควรได้รับวัคซีนในวันนี้หรือไม่ คาตอบ “ใช่” ไม่ได้หมายความว่า ผู้รับบริการไม่ควรได้รับวัคซีน (หากท่านทาแบบคัดกรองนี้ด้วยตนเองและมีข้อสงสัย ให้สอบถามเจ้าหน้าท่ไีด้ทันทีในข้อคาถามท่ีไม่ชัดเจน)
คาช้ีแจง สาหรับผู้ให้บริการวัคซีน
หากพบว่ามีคาตอบ “ใช่” ให้ซักประวัติและประเมินอาการเพ่ิมเติม เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีถูกต้องก่อนการให้ วัคซีน ดังคาอธบิ ายใต้ตาราง
คําถําม
ใช่
ไม่ใช่
ไม่ทรําบ
1. วันนี้ผู้มารับวัคซีนมีอาการเจ็บป่วยใดๆ หรอื ไม่
£
£
£
2. ผู้มารับวัคซนี เคยมีประวัติแพ้ยา สารอาหารและแพ้วัคซนี ตัวใดบ้าง หรือไม่
£
£
£
3. ในการได้รับวัคซีนครั้งท่ีผ่านๆ มา ผู้มารับวัคซีนเคยมอี าการรุนแรง หรือมีปฏิกิรยิ าของร่างกายใดๆ ต่อวัคซนี บ้างหรือไม่
£
£
£
4. ผู้มารับวัคซนี มีโรคประจาตัว เช่น โรคหดื โรคปอด โรคหัวใจ โรคไต โรคเมตาบอลกิ หรือโรคเลือดบ้างหรอืไม่
£
£
£
5. ใน 1 ปีท่ผี ่านมา แพทย์หรือเจ้าหน้าท่ีอนามัยเคยบอกท่านว่า ผู้มารับ วัคซีนหายใจมเี สียงดังว๊ีด เป็นหดื หรือไม่ (สาหรับเด็กท่ไี ด้รับวัคซีนใน ช่วงอายุ 2-4 ปี)
£
£
£
6. ผู้มารับวัคซนี เคยมีประวัติชัก และมอี าการแสดงถึงความผิดปกติ ทางระบบประสาทบ้างหรอืไม่
£
£
£
7. ผมู้ ารบั วคั ซนี เคยไดร้ บั การวนิ จิ ฉยั วา่ เปน็ โรคมะเรง็ มะเรง็ เมด็ เลอื ดขาว เอดส์ หรอื ปัญหาสุขภาพท่ีเกิดความผดิ ปกติของภูมิคุ้มกันหรอื ไม่
£
£
£
8. ในช่วง 3 เดอื นท่ีผ่านมา ผู้มารับวัคซนี เคยได้รับยากลุ่มสเตยี รอยด์ ยากดภูมิคุ้มกัน ยาต้านมะเร็ง หรอื ยาต้านไวรัส หรอื ไม่
£
£
£
9. ใน 1 ปีท่ผี ่านมา ผู้มารับวัคซนี เคยได้รับเลอื ด ผลิตภัณฑ์จากเลอื ด หรืออิมมูโนโกลบูลนิ หรือไม่
£
£
£
10. ผู้มารับวัคซนี เคยได้รับวัคซนี ใดในรอบ 1 เดอื นท่ีผ่านมาหรอื ไม่
(โดยเฉพาะวัคซนีชนิดเช้ือเป็นอ่อนฤทธ์)ิ
£
£
£
11. ผู้มารับวัคซนี กาลังตั้งครรภ์หรอื ไม่ (ในกรณวี ัยรุ่น)
£
£
£
186
หมวดเน้ือหาที่ 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน


การใช้คาถามตามรายการท่ีกล่าวมาแล้วขั้นต้น จะช่วยให้บุคลากรทีมสุขภาพหรือผู้ให้บริการมีเกณฑ์ใน การตัดสินใจท่ีตรงตามหลักวิชาการมากขึ้น ซ่ึงจะขออธิบายรายละเอียดในการซักประวัติท่ีจาเป็นหรือข้อควร พิจารณา ดังน้ี
ควํามเจ็บป่วยหรือสภําพร่ํางกํายในปัจจุบัน
สอบถามรายละเอียดของอาการเจ็บป่วยท่ีเกิดขึ้นในระยะเวลา 1 สัปดาห์ท่ีผ่านมา เพ่ือประเมินระดับ ความรุนแรงของภาวะเบ่ียงเบนทางสุขภาพหากพบว่ามีอาการเล็กน้อย เช่น เป็นหวัด ไอ มีไข้ต่าๆ สามารถ ให้วัคซีนได้ ถึงแม้จะรับประทานยาปฏิชีวนะอยู่ก็ตาม นอกจากนี้ควรสังเกตอาการผิดปกติเพ่ิมเติมร่วมกับ การซักประวัตดิ ้วย และต้องตรวจร่างกายประกอบการพิจารณาความรุนแรงของการเจ็บป่วยนั้น
ประวัติในเรื่องกํารแพ้ยําหรือสํารอําหํารต่ํางๆ
สอบถามอาการและอาการแสดงของอาการแพ้จากการได้รับอาหาร เช่น ไข่ขาว หรือได้รับ วัคซีนใน ครั้งท่ีผ่านๆ มา หากพบว่าเคยมีปฏิกิริยาเพียงเล็กน้อย เช่น มีผ่ืนขึ้นก็สามารถพิจารณาให้วัคซีนได้และสังเกต อาการภายหลังได้รับวัคซนีอย่างใกล้ชิดแต่ถ้าเคยมีปฏิกิรยิาแพ้แบบรุนแรงเช่นมีอาการหายใจลาบากหายใจ เสียงดังว๊ีด หมดสติ จะต้องพิจารณางดวัคซีนท่ีทาให้เกิดอาการแพ้และเปล่ียนชนิดของวัคซีน
ประวัติโรคประจําตัวหรือภําวะเจ็บป่วยเรื้อรัง
สอบถามประวัติการเจ็บป่วย การเกิดอาการกาเริบ การรักษาท่ีได้รับในปัจจุบันและการควบคุมอาการ เจ็บปว่ ย พรอ้ มกบั ตรวจสอบขอ้ มลู ในประวตั กิ ารรกั ษาทบ่ี นั ทกึ ไวใ้ นทะเบยี นประวตั สิ ขุ ภาพพรอ้ มกบั ตรวจรา่ งกาย ผรู้ บั บรกิ ารในเบอ้ื งตน้ อยา่ งละเอยี ด เรอ่ื งนมี้ กั จะถกู ละเลยในการใหบ้ รกิ ารวคั ซนี ทโ่ี รงเรยี น ควรดา เนนิ การ Screening พร้อมกับการขอคายินยอมจากผู้ปกครองเด็ก ข้อมูลนี้มีความสาคัญมากในการให้วัคซีนเช้ือเป็นชนิดอ่อนฤทธ์ิ หากผปู้ กครองไมส่ ามารถใหข้ อ้ มลู ไดค้ วรแนะนา ใหไ้ ปขอประวตั กิ ารรกั ษาจากโรงพยาบาลมาประกอบการตดั สนิ ใจ ผู้ให้บริการสามารถแนะนาให้ผู้ปกครองพาเด็กไปรับวัคซีนในหน่วยบริการท่ีมีกุมารแพทย์ได้
ประวัติชักหรือมีอํากํารทํางระบบประสําท
สอบถามการเกิดอาการชักหลังได้รับวัคซีน ซ่ึงต้องแยกอาการชักจากไข้และอาการชักท่ีเป็นอาการ ผิดปกติทางระบบประสาท เด็กท่ีมีประวัติชักจากไข้ สามารถให้วัคซีนชนิดนั้นในครั้งต่อไปได้ แต่ถ้ามีอาการชัก จากความผิดปกติทางระบบประสาทต้องงดรับวัคซีนชนิดนั้นหรือเปล่ียนชนิดวัคซีน เช่น เด็กท่ีเคยได้รับวัคซีน DTP แล้วมีไข้สูง (เกิน 40.5°C) ภายใน 48 ชั่วโมง หลังฉีดวัคซีน หรือมีอาการไข้ชัก หรือชักโดยไม่มีไข้ภายใน 3 วนั กรดี ร้องนานเกนิ กว่า 3 ชวั่ โมง การให้วคั ซนี ครงั้ ต่อไปให้สงั เกตอาการหลงั ได้รบั วคั ซนี อย่างระมดั ระวงั และ ให้ยาลดไข้ ถ้ามีอาการทางสมอง (Encephalopathy) หรือชักจากความผิดปกติทางระบบประสาท ภายใน 7 วัน หลังฉีดวัคซนี ให้งดการรับวัคซนี ท่ีมีส่วนประกอบของ DTP
ประวัติกํารเจ็บป่วยด้วยโรคหรือกํารรักษําที่ทําให้ภูมิคุ้มกันของร่ํางกํายต่ํา
ผู้ท่ีติดเช้ือHIVหรือAIDS(CD4มากกว่า15%)ไม่ว่าจะมีหรือไม่มีอาการก็สามารถให้วัคซนีทุกชนิดได้ เหมือนเด็กปกติ (ยกเว้นวัคซีนอีสุกอีใส CD4 ต้องมากกว่า 25%) วัคซีน BCG ให้ได้เฉพาะเด็กท่ีติดเช้ือแต่ยัง ไม่มีอาการ ส่วนวัคซนี OPV สามารถให้ได้แม้เด็กจะมีอาการของโรคเอดส์ (CD4 ต่ากว่า 15%) แล้วก็ตาม
หมวดเน้ือหาที่ 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
187


188
หมวดเน้ือหาที่ 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
ผทู้ ไ่ี ดร้ บั ไดร้ บั รงั สรี กั ษาหรอื เคมบี า บดั ควรตดิ ตามคา่ เมด็ เลอื ดขาวตา่ ถา้ Lymphocyte มากวา่ 1000 cells/mm สามารถให้วัคซีนไข้หวัดใหญ่และวัคซีนเช้ือตายได้ 3-4 สัปดาห์หลังได้รับยาชุดล่าสุด หากต้องได้รับวัคซีนเช้ือ เป็นอ่อนฤทธ์ิสามารถให้ได้หลังหยุดการรักษาด้วยยาเคมีบาบัดหรือรังสีรักษาอย่างน้อย 3-6 เดือน หากได้รับ วัคซีนก่อนได้รับการรักษาน้อยกว่า 2 สัปดาห์ให้ถือว่าไม่ได้รับวัคซีนนั้น
เดก็ มภี มู คิ ้มุ กนั ผดิ ปกตแิ ต่กา เนดิ ไม่ควรให้วคั ซนี เชอ้ื เปน็ อ่อนฤทธ์ิ และไม่ควรให้วคั ซนี ป้องกนั โรคโปลโิ อ ชนิดรับประทานแก่เด็กปกติท่ีมีคนในบ้านเป็นโรคขาดภูมิคุ้มกันแต่กาเนิด เพราะเช้ือไวรัสจากวัคซีนโปลิโอ อาจทาให้คนท่มีีภูมิคุ้มกันบกพร่องป่วยหรืออาจมีอาการอัมพาตได้
ผ้ทู ไ่ี ด้รบั ยากดภมู คิ ้มุ กนั ให้สอบถามขนาดของยาทไี่ ด้รบั สามารถให้ทอ็ กซอยด์และวคั ซนี ชนดิ เชอื้ ตายได้ ถงึ แมว้ า่ ภมู คิ มุ้ กนั จะขนึ้ นอ้ ยกวา่ คนปกตแิ ตก่ เ็ พยี งพอทจ่ี ะปอ้ งกนั โรคได้ หากตอ้ งไดร้ บั วคั ซนี ชนดิ เชอ้ื เปน็ ออ่ นฤทธ์ิ ต้องหยุดยากดภูมคิ ุ้มกันมาแล้วอย่างน้อย 3 เดือน
ประวัติกํารได้รับอิมมูโนโกลบูลิน พลําสมํา เลือดหรือผลิตภัณฑ์จํากเลือด
สอบถามประวัติและระยะเวลาการได้รับเลือดและผลิตภัณฑ์จากเลือด ในเด็กท่ีเป็นโรคเลือดหรือมี ความเจบ็ ปว่ ยทต่ี อ้ งไดร้ บั การรกั ษาดว้ ยผลติ ภณั ฑจ์ ากเลอื ดและการใหอ้ มิ มโู นโกลบลู นิ หากไดร้ บั อมิ มโู นโกลบลู นิ ขนาดสูงเข้าหลอดเลือด ต้องเล่ือนวัคซีนชนิดเช้ือเป็นอ่อนฤทธ์ิไปอีกอย่างน้อย 5–11 เดือน ยกเว้นโปลิโอ ชนิดรับประทาน หากเด็กมีประวัติได้รับเลือดหรือผลิตภัณฑ์จากเลือดต้องงดให้วัคซีนชนิดเช้ือเป็นอ่อนฤทธ์ิ อยา่ งนอ้ ย 3 เดอื น หากไดร้ บั วคั ซนี เชอ้ื เปน็ ออ่ นฤทธก์ิ อ่ นไดร้ บั เลอื ดนอ้ ยกวา่ 2 สปั ดาหใ์ หถ้ อื วา่ ไมไ่ ดร้ บั วคั ซนี นนั้
ประวัติกํารได้รับวัคซีนครั้งท่ีผ่ํานมํา
สอบถามและตรวจสอบประวัตกิารได้รับวัคซีนครั้งท่ีผ่านมาจากสมุดสุขภาพหากพบว่าวัคซีนครั้งล่าสุด ท่ีได้รับเป็นวัคซนีชนิดเช้ือเป็นอ่อนฤทธ์ิต้องเว้นระยะห่างอย่างน้อย28วันจงึจะฉีดวัคซีนชนิดเช้ือเป็นอ่อนฤทธ์ิ เข็มถัดไปได้ แต่ถ้าฉีดในวันเดียวกันสามารถให้ 2 ชนิดในวันเดียวกันได้ ส่วนวัคซีนชนิดเช้ือตายสามารถให้ได้ โดยไม่ต้องคานงึถึงระยะห่าง
การตั้งครรภ์ ให้ฉีดวัคซนี ชนิดเช้ือตายได้ แต่ไม่ให้วัคซีนชนดิ เช้ือเป็นอ่อนฤทธ์ิ
2.1.2 การสังเกตอาการก่อนให้วัคซีน
นอกเหนอื จากการซกั ประวตั แิ ล้ว การสงั เกตลกั ษณะท่าทางและอาการแสดงของเดก็ ก่อน ไดร้ บั วคั ซนี เปน็ สง่ิ สา คญั อกี อยา่ งหนง่ึ เนอ่ื งจากการไดข้ อ้ มลู จากการซกั ประวตั เิ พยี งอยา่ ง เดยี วอาจจะยงั ไมน่ า่ เชอ่ื ถอื เพยี งพอเทา่ กบั การมขี อ้ มลู จากการสงั เกตและตรวจรา่ งกายมา ประกอบการตดั สนิ ใจ ผใู้ หบ้ รกิ ารควรใชห้ ลกั การตรวจรา่ งกายพน้ื ฐาน คอื ดู คลา เคาะ ฟงั และใช้อุปกรณ์การตรวจร่างกายท่ีจาเป็น ดังนี้
2.1.2.1 ผู้ให้บริการควรต้องสังเกตลักษณะทั่วไปของผู้รับบริการ ส่ิงท่ีผู้ให้บริการควร สังเกต คือ ลักษณะท่าทาง การตอบสนองของเด็ก หากเด็กซึม ดูอ่อนเพลียมาก ต้องประเมินสภาพและซักประวัติเพ่ิมเติมเพ่ือหาสาเหตุและตรวจร่างกายเบ้ืองต้น เพ่ือประเมินความพร้อมท่ีจะรับวัคซีน ไม่ควรตัดสินใจเพียงแค่ได้ข้อมูลจาก ผู้ปกครองหรือผู้ให้บริการเท่านั้น


2.1.2.2 การสังเกตรอยท่ีฉีดวัคซีนเม่ือครั้งท่ีผ่านมา เพ่ือนามาใช้ในการตัดสินใจว่า ครั้งนี้ จะฉดี วคั ซนี บรเิ วณใดขา้ งใดเพอ่ื ไมใ่ หม้ กี ารฉดี วคั ซนี ทเ่ี ดมิ ซา้ ๆ หรอื ฉดี วคั ซนี บรเิ วณ ผิวหนังท่ีมปี ัญหา เช่น ผิวหนังมีเป็นแผล Burn หรือติดเช้ือ เป็นต้น
2.1.2.3 การตรวจร่างกายหรือประเมินสภาพเพ่ิมเติม เพ่ือยืนยันอาการท่ีผิดปกติท่ีเป็น ข้อห้ามในการได้รับวัคซีน หากผู้ปกครองให้ข้อมูลว่าเด็กมีไข้ในช่วงเวลาใกล้ๆ กับการมารับวัคซีน ควรวัดอุณหภูมิร่างกายพร้อมกับถามประวัติการให้ยาลดไข้ นอกจากน้ียังต้องประเมินสภาพในระบบต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง เช่น หากเด็กมีไข้สูง มีเสมหะหรือน้ามูกเขียว ควรเล่ือนการฉีดวัคซีนออกไปก่อน และทาความเข้าใจ กับผู้รับบริการว่า การฉีดวัคซีนท่ีล่าช้าไปกว่ากาหนดไม่ได้มีผลทาให้ภูมิคุ้มกัน ในร่างกายลดน้อยลง แต่ให้เน้นย้าว่าเม่ืออาการดีขึ้นหรือหายจากอาการต่างๆ แล้ว ให้พาเด็กมารับวัคซีนทันที
2.1.2.4 การสังเกตความพร้อมทางด้านจิตใจ อารมณ์ของเด็กจะทาให้ผู้ให้บริการคานึงถึง การเตรียมเด็ก และการรับมือกับเด็ก เป็นเร่ืองปกติท่เีด็กจะมีความกลัวในการรับ การตรวจร่างกายหรือฉีดวัคซีน เพราะการฉีดวัคซีนจะทา ให้เกิดการบาดเจ็บของ เน้ือเย่ือและความรู้สึกเจ็บ ผู้ให้บริการจึงต้องคานึงถึงหลักการของ Atraumatic care หรือการดูแลท่ีไม่ทาให้เกิดความทุกข์ทรมาน ได้แก่ การเข้าใจในพัฒนาการ ตามวัยของเด็กเลือกวิธกีารเข้าหาเด็กหรือเตรยีมเด็กท่ีทาให้เด็กไม่เกิดความกลัว ไม่ใช้คาพูดข่มขู่หรือแสดงท่าทีคุกคามเด็ก มีการพูดคุยสร้างบรรยากาศ ให้วัคซีน ด้วยเทคนิควิธีการท่ีถูกต้อง รวดเร็วและปลอดภัย เป็นต้น อีกทั้งในบางกรณีผู้ให้ บริการยังจาเป็นต้องเตรียมความพร้อมในผู้ปกครองอกีด้วย
2.2 การเตรียมอุปกรณ์สําาหรับการให้วัคซีน
อุปกรณ์ท่ใีช้ประกอบด้วย
§ โต๊ะ เก้าอ้ี
§ ผ้าสะอาดปูบนโต๊ะ เพ่อื วางวัคซีน §เข็มสาหรับดูดวัคซนีเบอร์21ข้นึไปและเข็มสาหรับฉีดวัคซนีเบอร์25ขนาด1นิ้วและ26หรือ
27 ขนาด 1⁄2 น้วิ
§ กระบอกฉีดยา (Syringe) ขนาด 1 และ 3 มล.
§ สา ลแี อลกอฮอล์ และสา ลแี หง้ (ทงั้ นขี้ น้ึ อยกู่ บั แตล่ ะสถานบรกิ าร อาจมกี ารใชอ้ ปุ กรณท์ แ่ี ตกตา่ งกนั ) § พลาสเตอร์ §กระติกวัคซนี,ซองน้าแข็งท่ีเร่ิมละลาย(ConditioningIcepack)และฉนวนกันความเย็นสามารถ
ใช้แผ่นพลาสตกิ ลูกฟูก หรือ Flute board (ฟิวเจอร์บอร์ด) ได้
§ กล่องสาหรับเก็บขวดวัคซนี ท่ีใช้แล้ว (เก็บในตู้เย็น +2 ถึง +8 °C เป็นเวลา 7 วัน) §กล่องใส่เข็มท่ใีช้แล้วเป็นถังพลาสติกหนา
§ ถังขยะ (ขยะธรรมดา, ขยะตดิ เช้ือ, กล่องทิ้งขวดวัคซนี )
หมวดเน้ือหาที่ 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
189


ภาพ 6.1 การเตรียมอุปกรณ์ใน Setting
กํารเลือกใช้กระบอกฉีดยํา (Syringe) และเข็มฉีดวัคซีน
Syringe ท่ีใช้ผสมวัคซีน อาจมีขนาดบรรจุ 1 และ 3 มล. ต้องเป็น Syringe ท่ีเปล่ียนหัวเข็มได้เท่านั้น และ การเลือกใช้เข็มเบอร์ 21-25 ในการผสมหรือดูดวัคซีนจากขวดนั้นให้พิจารณาขนาดเข็มท่ีใช้ให้เหมาะสมกับ ปริมาณน้ายาทาละลายเน่ืองจากวัคซนีส่วนใหญ่จะเป็นMulti-dosesจึงต้องมีการดูดหลายครั้งและในกรณีท่ี ผรู้ บั บรกิ ารมานานๆ ครงั้ ควรปลดเขม็ ดดู ยาทงิ้ แลว้ คอ่ ยใชเ้ ขม็ ใหมด่ ดู ยาในการฉดี ครงั้ ตอ่ ไป หากมกี ารเปลย่ี นเขม็ ดูดบ่อยๆ ก็อาจจะทาให้เสียปริมาณยาท่ีค้างในหลอดเข็ม ดังนั้นผู้เตรียมวัคซีนต้องดูดยาออกจากเข็มก่อน ปลดทิ้ง ส่วนเข็มท่ใี ช้ฉีดวัคซีนสามารถใช้เข็มขนาดเล็กได้ เน่ืองจากวัคซนี เป็นน้าใส ไม่หนืดข้น
190
หมวดเนื้อหาที่ 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
ภาพที่ 6.2
§ ใช้เข็มเบอร์ 25 ความยาว 1 น้วิ คร่ึง สาหรับฉีดเข้ากล้ามเน้ือ
§ เข็มเบอร์ 26 หรอื 27 ความยาว 1⁄2 น้วิ สาหรับฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง §ควรเลือกใช้Syringeขนาดบรรจุ3มล.เพ่ือบรรจุวัคซีนท่มีีโด๊ส0.5-1มล.และเลือกใช้Syringe
ขนาดบรรจุ 1 มล. แบบเปลย่ี นหวั เขม็ ไดเ้ ทา่ นนั้ เพอ่ื บรรจวุ คั ซนี ทม่ี โี ดส๊ นอ้ ยกวา่ 0.5 มล. เชน่ วคั ซนี JE เช้ือตาย ท่ใี ช้ 0.25 มล.
อุปกรณ์กระบอกฉีดยา (Syringe) และเข็มฉีดยาท่ีใช้ในการฉีดวัคซีน


2.3 การเตรียมการเพ่ือลดการติดเชื้อ
การเตรียมการท่ีถูกต้องและเป็นไปตามหลักควบคุมและป้องกันการติดเช้ือเป็นส่ิงสาคัญท่ีจะทาให้ ลดอันตรายที่จะเกิดได้กับผู้ให้และผู้รับบริการ ซ่ึงส่ิงท่ีควรคานึงถึง ได้แก่ การล้างมือ สวมถุงมือ การป้องกันการบาดเจ็บจากเข็มแทง การใช้อุปกรณ์ชนิดท่ีใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง
§การล้างมือ:เป็นวธิกีารป้องกนัการตดิเชอ้ืหรอืการปนเปือ้นทม่ีปีระสทิธภิาพทส่ีดุวธิกีาร ล้างมือควรล้างด้วยสบู่หรือใช้น้ายาล้างมือ และล้างน้าตามขั้นตอน แล้วซับให้แห้งก่อน เตรยี มยา อาจใชเ้ จลแอลกอฮอลท์ ดแทนได้ อยา่ งไรกด็ กี ารทา ความสะอาดมอื ของผใู้ หบ้ รกิ าร ต้องทาความสะอาดก่อนและหลังให้บริการผู้รับบริการแต่ละราย
§ การเลอื กใชอ้ ปุ กรณท์ ใี่ ชค้ รงั้ เดยี วแลว้ ทงิ้ : อปุ กรณท์ กุ อยา่ งตอ้ งเปน็ อปุ กรณท์ ป่ี ราศจาก เช้ือและใช้ครงั้เดียวแล้วทิ้ง
§ ถงุ มอื : หากพบวา่ การใชว้ คั ซนี ครงั้ นนั้ เปน็ การเสย่ี งตอ่ การตดิ เชอ้ื หรอื ใชเ้ มอ่ื มแี ผลทม่ี อื ทอ่ี าจ สมั ผสั กบั นา้ ลายหรอื สารคดั หลงั่ จากผรู้ บั วคั ซนี แตห่ ากไมม่ ภี าวะเสย่ี งใดๆ กไ็ มจ่ า เปน็ ตอ้ งใช้ § เข็ม: ไม่นาเข็มท่ีใช้ดูดยามาใช้ฉีดวัคซีนให้กับผู้รับบริการ ต้องเปล่ียนเข็มทุกครั้ง ในขณะ เตรยี มหรอื ผสมยา ผใู้ หบ้ รกิ ารควรแนใ่ จวา่ เขม็ ฉดี ยาทใ่ี ชต้ อ้ งไมม่ กี ารปนเปอ้ื นและไมส่ มั ผสั
กับส่ิงใดๆ
§ การเตรยี มภาชนะรองรบั สง่ิ มคี มที่ไดม้ าตรฐาน: ใหเ้ ตรยี มภาชนะรองรบั ทไ่ี ดม้ าตรฐาน
เพอ่ื ทงิ้ เขม็ ขวดวคั ซนี และของมคี มตา่ งๆ ขอ้ ปฏบิ ตั ภิ ายหลงั จากการฉดี วคั ซนี แลว้ ไมต่ อ้ งสวม ปลอกเข็มกลับ (Recap) เพ่ือไม่ให้เกิดการบาดเจ็บจากเข็มแทงและทาให้เกิดการปนเปื้อน และเพ่ือลดโอกาสเส่ยีงต่อการบาดเจ็บและการติดเช้ือจากการถูกเข็มท่ีใช้แล้วแทง
2.4 การตรวจสอบวัคซีนและข้อปฏิบัติเพื่อป้องกันความผิดพลาด
การท่ีผู้ให้บริการจะฉีดวัคซีนชนิดใดให้แก่ผู้รับบริการอย่างมีประสิทธิภาพนั้น ต้องพิจารณาและ ตรวจสอบอย่างถ่ีถ้วนเพ่ือให้ผู้รับวัคซีนได้รับวัคซนีท่ีมีคุณภาพอย่างถูกต้องเหมาะสมควรมีการ ตรวจสอบวัคซีนในเร่ืองต่อไปน้ี
1) ชนิดของวัคซีนการตรวจสอบขวดวัคซีนท่ีจะใช้เป็นส่ิงสาคัญผู้ให้บริการควรอ่านฉลากช่ือวัคซนี ท่ีขวดทุกครงั้ไม่ควรอาศัยความเคยชนิหรอืใช้การจดจาสแีละลกัษณะของขวดและตรวจสอบกบั รายการวัคซนีท่ีผู้รับบริการจะได้รับในวันนี้
2) ลกั ษณะของขวดวคั ซนี สภาพของขวดวคั ซนี ควรอยใู่ นสภาพทส่ี มบรู ณ์ ไมม่ รี อย เปดิ หรอื ขวดแตกรา้ ว
3) ลักษณะของน้ายาวัคซีน วัคซีนท่ีผสมแล้วเม่ือเขย่าขวด วัคซีนควรกระจายตัวเป็นเน้ือเดียวกัน หากวัคซีนตกตะกอนแยกชนั้หรอืมีลักษณะท่ีผิดปกติถงึแม้ว่าจะยังไม่หมดอายุก็ไม่ควรนามาใช้
4) วนั หมดอายขุ องวคั ซนี และการเสอ่ื มสภาพของวคั ซนี การนา วคั ซนี มาใชท้ กุ ครงั้ ตอ้ ง ตรวจสอบวนั หมด อายขุ องวคั ซนี ทร่ี ะบไุ วท้ งั้ ทก่ี ลอ่ งและทข่ี วด วคั ซนี จะใชไ้ ดจ้ นกระทงั่ ถงึ วนั เดอื นปที ร่ี ะบไุ ว้ กรณที รี่ ะบุ เฉพาะเดอื นและปที ห่ี มดอายใุ หใ้ ชว้ คั ซนี ขวดนนั้ ไดถ้ งึ วนั สดุ ทา้ ยของเดอื นทร่ี ะบไุ ว้ หากมเี ครอ่ื งหมาย VVM บนขวดวคั ซนี ใหต้ รวจสอบลกั ษณะของ VVM ประกอบดว้ ยหลกั การพจิ ารณาไดก้ ลา่ วถงึ ในหมวด เนอ้ื หาท่ี 5 วคั ซนี ทล่ี กั ษณะ VVM ผดิ ปกตจิ ะไมน่ า มาใช้ ถงึ แมว้ า่ วคั ซนี จะยงั ไมห่ มดอายุ
หมวดเนื้อหาที่ 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
191


192
หมวดเน้ือหาที่ 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
5) น้ายาทาละลาย วัคซีนบางชนิดจะมีการบรรจุหีบห่อพร้อมกับมีน้ายาทาละลาย (Diluents) มาให้ เมอ่ื ผสมวคั ซนี ผใู้ หบ้ รกิ ารตอ้ งใชน้ า้ ยาทา ละลายของวคั ซนี ชนดิ นนั้ ๆ ไมค่ วรใชน้ า้ ยาทา ละลายทเ่ี หลอื จากวัคซีนหรอืยาตัวอ่ืนๆแล้วนามาใช้ผสมกับวัคซนีโดยเด็ดขาดหากน้ายาทาละลายไม่เพียงพอ การท่ีจะตัดสินใจใช้สารน้าใดทดแทนนั้น ให้สอบถามท่ีบริษัทผู้ผลิตเพ่ือยืนยันความถูกต้อง กอ่ นใชต้ อ้ งแนใ่ จวา่ นา้ ยาทา ละลายไดถ้ กู เกบ็ ไวท้ อ่ี ณุ หภมู ิ +2 ถงึ +8° C มาแลว้ อยา่ งนอ้ ย 24 ชวั่ โมง
6) วัคซีนท่ีผสมแล้วหรือเปิดใช้แล้ว เม่ือผสมวัคซีนหรือเปิดใช้วัคซีนแล้ว ต้องปฏิบัติตามคาแนะนาใน เอกสารกากับยาเสมอ เพราะวัคซนี แต่ละชนิดจะระบุไว้ว่าควรใช้หลังจากผสมแล้วภายในก่ีชั่วโมง
7) การเก็บวัคซีน วัคซีนบางตัวถูกแสงไม่ได้ ต้องใช้ทันทีเม่ือนาออกมา ดังนั้นก่อนนามาใช้ผู้ให้ บริการควรพิจารณาว่าวัคซีนแต่ละชนิดได้ถูกเก็บรักษาในลูกโซ่ความเย็นมาอย่างถูกต้องหรือไม่ (รายละเอียดของการใช้วัคซีนหลังเปิดใช้แล้วในตารางแสดงการให้วัคซีนแต่ละชนิดท่ีจะกล่าวถึง ต่อไป)
8) ไม่ควรดูดวัคซีนไว้ใส่ Syringe ไว้ล่วงหน้าเป็นจานวนมาก การดูดวัคซีนไว้ใน Syringe เพ่ือความ สะดวกของผ้ใู ห้บรกิ าร ถงึ แม้ว่าผ้ใู ห้บรกิ ารจะแน่ใจและทราบว่าวคั ซนี ทเ่ี ตรยี มไว้เปน็ วคั ซนี ชนดิ ใด แต่การผิดพลาดก็มีโอกาสเกิดข้ึนได้เสมอ ดังนั้นไม่ควรประมาท และไม่ควรทาการดูดวัคซีน ใส่ Syringe ไว้ล่วงหน้า เพราะนอกจากจะทาให้เกิดการสูญเสียหากใช้วัคซีนไม่หมด วัคซีนอาจ ตกตะกอนใน Syringe และยังมโีอกาสปนเปื้อนเช้ือโรคได้มาก ทั้งน้ีเน่ืองจาก Syringe ถูกผลิตมา เพ่ือใช้เป็นอุปกรณ์ในการฉีดยา ไม่ใช่เพ่ือการเก็บยา หากมีผู้รับบริการจานวนมาก เช่น การให้ บริการอนามัยโรงเรยีนหรือวัคซนีรณรงค์ต่างๆอาจอนุโลมให้เตรียมวัคซนีในSyringeได้ไม่เกิน ครั้งละ 10 Syringes (CDC, 2017)
9) ผเู้ ตรยี มวคั ซนี กบั ผใู้ หว้ คั ซนี ควรเปน็ คนเดยี วกนั ผใู้ หบ้ รกิ ารควรตระหนกั ไวเ้ สมอวา่ ผทู้ เ่ี ตรยี มวคั ซนี ใส่ Syringe ควรจะเปน็ ผใู้ หว้ คั ซนี นนั้ ดว้ ยตนเองเพอ่ื ปอ้ งกนั ความผดิ พลาด ถงึ แมว้ า่ วธิ กี ารนจ้ี ะเปน็ หลักการบรหิารยาพ้ืนฐานแต่มักจะถูกละเลยจากผู้ปฏิบัตอิยู่เสมอหรือหากมีความจาเป็นต้องมี การเตรียมวัคซนี โดยบุคคลอ่ืน ผู้ให้วัคซีนต้องมีระบบการตรวจสอบเพ่ือยืนยันได้
10)ระบุลาดับท่ีของขวดวัคซีน กรณีการใช้วัคซีนชนิดบรรจุขวดละหลายโด๊ส ต้องสามารถระบุได้ว่า ผรู้ บั บรกิ ารคนใดไดร้ บั วคั ซนี ขวดเดยี วกนั โดยใหก้ า หนดเลขทข่ี องขวดวคั ซนี ทน่ี า มาใชเ้ พม่ิ เตมิ จาก Lot number
ข้อปฏิบัติในการป้องกันการผิดพลาดในการให้วัคซีน
(1) ผู้ท่ีให้บริการวัคซีนทุกคนควรเป็นผู้มีความรู้ท่ีแท้จริงเกี่ยวกับวัคซีนทุกชนิด ดังนั้นต้องมีการฝึก อบรมเพ่ือให้มคีวามรู้ความเข้าใจท่ถีูกต้อง
(2) ควรทาตารางการให้วัคซีนไว้ในหน่วยงาน เพ่ือให้บุคลากรได้ใช้อ้างอิงหากไม่แน่ใจ ควรระบุช่วง อายุท่ีใช้ ระยะห่างของวัคซนี แต่ละชนิด ขนาดท่ีให้และวิธีใช้ ขนาดของเข็มท่ีใช้ ช่องทางท่ีให้
(3) ให้ใช้วคั ซนี ทใ่ี กล้หมดอายกุ ่อน และหากพบวคั ซนี หมดอายุ หรอื VVM ผดิ ปกติ ให้ทง้ิ วคั ซนี ขวดนนั้ ตามระบบการทาลายขยะตดิเช้ือ
(4) การเก็บวัคซีนควรมีฉลากไว้ท่ีภาชนะ หรือแยกวัคซีนแต่ละชนิดเป็นสัดส่วน เพ่ือไม่ให้เกิด การผิดพลาดเวลานามาใช้


ภาพที่ 6.3
ในการเตรียมวัคซีนตอนให้บริการ ผู้ให้บริการควรดาเนินการดังนี้
(1) ตรวจสอบชนิดของวัคซีนท่ีจะให้กับใบส่ังการรักษา
(2) ตรวจสอบวันหมดอายุและเคร่ืองหมาย VVM (ถ้ามี) ท่ีขวดวัคซีนท่ีจะใช้
(3) ขวดยาท่ีเป็น Vial ขวดใหม่ทุกขวด ก่อนใช้จะแกะฝาพลาสติกออก ต้องใช้สาลีแอลกอฮอล์เช็ดท่ี
จุกยางและรอให้แห้งก่อนแทงเข็มดูดยาลงไป ตามขนาดการใช้ของวัคซีนแต่ละชนิด โดยคานึงถึง
เทคนิคปลอดเช้ืออย่างเคร่งครัด
(4) ในขวดท่ีวัคซีนใกล้จะหมด หากดูดวัคซนี ออกมาแล้วไม่ครบโด๊ส ให้ทิ้งไป แล้วเตรียมใหม่ ห้ามดูด
ขวดใหม่เพ่อืเติมปริมาณให้ครบโด๊ส
(5) ในกรณีท่ีเป็นวัคซีนชนิดบรรจุขวดละหลายโด๊ส ใช้เข็มเบอร์ 21- 25 ดูดวัคซีนใส่ Syringe ตาม
ปริมาณท่ีต้องการ (การใช้เข็มใหญ่อาจทาให้วัคซีนค้างในเข็มจนปริมาณไม่พอฉีด) และเปล่ียน เข็มเป็นเข็มฉีดก่อนท่ีจะฉีดทุกครั้ง เข็มท่ีใช้ดูดวัคซีนชนิดใดแล้วห้ามนาไปใช้ดูดวัคซีนชนิดอ่ืนๆ โดยเด็ดขาด
(6) หากวคั ซนี เปน็ ชนดิ ผงและผสมนา้ ยาทา ละลาย ควรดดู นา้ ยาทา ละลายใหห้ มดขวดแลว้ ผสมในขวด วัคซีน ต้องเขย่าขวดให้แน่ใจว่าน้ายาทาละลายกับผงวัคซีนรวมเป็นเน้ือเดียวกัน จึงค่อยนาวัคซีน มาใช้
การเตรียมวัคซีนขณะให้บริการ
(5) ใช้หลัก 6 R ในการให้วัคซีน คือ ถูกคน (Right patient) ถูกชนิด (Right drug) ถูกทาง (Right route) ถูกขนาด (Right dose) ถูกเวลา (Right time) และเทคนิคถูกต้อง (Right method)
(6) ก่อนฉีดวัคซีนควรให้ข้อมูลแก่ผู้รับบริการทุกคร้ังว่าวันนี้จะได้รับวัคซีนชนิดใด และอธิบาย ผลข้างเคียง ท่ผี ู้รับบริการหรือผู้ปกครองต้องสังเกต
( 7 ) ใ น ก า ร ด ดู ต วั ท า ล ะ ล า ย ต อ้ ง ด ดู ใ ห ห้ ม ด ข ว ด เ พ ร า ะ ผ ผ้ ู ล ติ ไ ด เ้ ต ร ยี ม ม า ใ ห พ้ อ ด สี า ห ร บั ผ ส ม ว คั ซ นี แ ล ว้ จะได้ปรมิ าตรของวคั ซนี ทผ่ี สมแล้วตามทก่ี า หนดข้างขวด และต้องดดู วคั ซนี ทผ่ี สมแล้วให้หมดขวด (กรณี Single dose) ถงึ แม้ว่าปริมาณท่ีดูดได้จะเกินปริมาณท่ีกาหนด เวลาใช้ต้องใช้ให้หมด
(8) เม่ือให้วัคซีนแล้วต้องบันทึกวันท่ีให้ ช่ือผู้รับบริการ ชนิด และครั้งท่ีให้วัคซีน Lot number และ เลขทข่ี องขวดวคั ซนี ในสมดุ ทะเบยี นผมู้ ารบั บรกิ าร เพอ่ื เปน็ ขอ้ มลู ทท่ี า ใหต้ ดิ ตามการไดร้ บั วคั ซนี ได้
2.5 กํารเตรียมวัคซีน
หมวดเนื้อหาท่ี 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
193


3. วิธีการให้วัคซีน
ในหัวข้อน้จี ะกล่าวถึง การจัดท่าเด็กและเทคนิคการให้วัคซีน / วธิ ีการฉีดวัคซีนเข้าชั้นผิวหนังชั้นต่างๆ
3.1 กํารจัดท่ําเด็ก
194
หมวดเนื้อหาที่ 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
ภาพท่ี 6.4
การจัดท่าเด็กเป็นส่ิงสาคัญเพราะเป็นการลดความเจ็บปวดและความกลัวของผู้รับบริการได้ ช ว่ ย ใ ห ก้ า ร ใ ห ว้ คั ซ นี เ ป น็ ไ ป ด ว้ ย ค ว า ม เ ร ยี บ ร อ้ ย ป อ้ ง ก นั ก า ร เ ก ดิ อ บุ ตั เิ ห ต แุ ล ะ ก า ร บ า ด เ จ บ็ เ ช น่ เ ข ม็ ห กั เป็นต้น การให้วัคซนี ในเด็กจาเป็นต้องมกี ารจัดท่าเด็กท่ีเหมาะสม เน่ืองจากเด็กอาจกลัวและดนิ้ หนี โดยเฉพาะเด็กโต หากไม่มกี ารจัดท่าท่ีดพี อ จะทาให้เสยี เวลาและเด็กจะเจ็บมากย่ิงขน้ึ ได้ แนะนาให้ จัดท่าเด็กเล็กและเด็กโต ดังนี้
3.1.1 การจัดท่าเด็กเล็ก
สาหรับเด็กเล็ก จะจัดท่าได้ง่ายเพราะเด็กตัวเล็กและมักจะไม่ดิ้นหนีรุนแรง การจัดท่าเด็ก เล็กท่ีเป็นทารก ขวบปีแรก ควรให้ผู้ปกครองกอดไว้ในท่าน่ังตามภาพท่ี 6.4 โดยจัดให้เด็ก นั่งบนตักผู้ปกครอง และหลังพิงแขนแล้วแขนผู้ปกครองโอบด้านบนไว้ ส่วนขาของเด็กให้ ผู้ปกครองใช้ขาทั้งสองข้างหนีบไว้ และนามืออีกข้างกดเข่าจะทาให้เด็กอยู่กับท่ี สาหรับใน เด็กอายุ 1-2 ปี หากจัดท่าในท่านั่งได้ เป็นไปตามภาพท่ี 6.5
การจัดท่าสาหรับทารก


ภาพท่ี 6.5
การจัดท่าสาหรับเด็กวัย 1-3 ปี
3.1.2 การจัดท่าเด็กโตและผู้ใหญ่
หากเดก็ ตวั โตสามารถจดั ใหเ้ ดก็ อยใู่ นทา่ นอนได้ สา หรบั เดก็ โตทเ่ี ปน็ เดก็ วยั เรยี นและผใู้ หญ่ มักจะฉีดท่ีต้นแขน ให้น่ังเอาแขนแนบลาตัว จัดสถานท่ีให้มิดชิด และให้เข้ามารับวัคซีน ครั้งละคน เพ่ือลดความต่ืนกลัวและลดความเส่ียงต่อการเกิดอุบัติเหตุหากเป็นลมล้มลง
ในขณะท่ีเตรียมจัดท่าเด็ก ควรทาความเข้าใจกับผู้ปกครองเก่ียวกับการได้รับวัคซีนของ เดก็ ในวนั นี้ การเลอื กบรเิ วณทฉ่ี ดี การให้ความมนั่ ใจในความปลอดภยั รวมทงั้ ให้คา แนะนา การดูแลภายหลังท่ีได้รับวัคซีน เน่ืองจากเม่ือเด็กได้รับวัคซีนแล้ว จะร้องไห้ งอแง ทาให้ ผู้ปกครองกังวลกับเด็ก ขาดสมาธิในการรับฟังข้อมูลต่างๆ ท่ีเป็นประโยชน์ จากการศึกษา วจิ ยั ในปจั จบุ นั พบวา่ การนวดคลงึ บรเิ วณทฉ่ี ดี กอ่ นทจ่ี ะฉดี วคั ซนี การทายาชา การเบย่ี งเบน ความสนใจโดยใชข้ องเลน่ การใหด้ ดู นมแม่ กอ่ น ระหวา่ ง และหลงั ฉดี การจดั ทา่ ทเ่ี หมาะสม และอย่ใู กล้ชดิ ผ้ปู กครอง และการฉดี ยาให้เรว็ โดยไม่ต้องทดสอบ (No aspiration) จะช่วยให้ ระดับความเจ็บปวดของเด็กลดลง และกรณีท่ีมีการฉีดวัคซีนมากกว่า 1 ชนิดควรฉีดวัคซีน ท่ีเจ็บมากท่ีสุดไว้ลาดับสุดท้าย เช่น MMR เป็นต้น
3.2 กํารให้วัคซีนและเทคนิคกํารนําวัคซีนเข้ําสู่ร่ํางกําย
วิธีการให้วัคซีนเป็นปัจจัยสาคัญท่ีจะทาให้วัคซีนเข้าสู่ร่างกายและมีการดูดซึม รวมทั้งมีการ กระจายตัวของวัคซีน ทาให้เกิดการสร้างภูมิคุ้มกันอย่างมีประสิทธิผลสูงสุด หลักปฏิบัติ โดยทั่วไปก่อนทาการฉีดต้องยึดหลักการบริหารวัคซีนอย่างเคร่งครัด หากมีการตรวจสอบวัคซีน และการเตรียมวัคซีนท่ีถูกต้องแล้วพร้อมท่ีจะนาวัคซีนเข้าสู่ร่างกาย
หมวดเนื้อหาที่ 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
195


3.2.1 การให้วัคซีนแต่ละชนิด ปัจจุบันวัคซีนแต่ละชนิดในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค มีรายละเอียดในการให้วัคซีนเข้าร่างกายท่ีแตกต่างกัน ดังตารางแสดงการให้วัคซีน แต่ละชนิดท่ีกาหนด โดยกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ในกรณีท่ีวัคซีนมาจาก หลากหลายบริษัท ขอให้อ่านเอกสารกากับยาด้วย
ตารางที่ 6.1 แสดงรายละเอียดของวัคซีนและการบริหารวัคซีนแต่ละชนิด
ลําดับ
ชนิดวัคซีน
ขนําดกํารฉีด
ตําแหน่งกํารให้
บริเวณที่ฉีด
ระยะเวลํากํารใช้
1
บีซีจี (BCG)
0.1 มล.
ชั้นผิวหนัง (Intradermal: ID)
บริเวณต้นแขนส่วนบน
„BCG ของ QSMI ผสมแล้วควรใช้ ให้หมดภายใน 2 ชั่วโมง
„ระหว่างการใช้ต้องเก็บไว้ในตู้เย็น หรือกระตกิวัคซีนท่ีมีอุณหภูมิ +2 ถึง +8 ๐C
„เก็บให้พ้นแสง
2
ตับอักเสบบี (HB)
„ในทารกแรก เกิด ถึง อายุ 10 ปี ให้ 0.5 มล.
„ในเด็กโตและ ผู้ใหญ่ ให้
1 มล.
กล้ามเน้ือ (Intramuscular: IM)
„ฉีดท่ีกล้ามเนอ้ืหน้าขา ส่วนกลางด้านนอก (Vastus lateralis muscle) ได้ทุกช่วงอายุ
„ฉีดท่ีกล้ามเนอ้ืไหล่ (Deltoid muscle) ในผู้ใหญ่ และเด็กอายุ มากกว่า 3 ปี ท่มี ี กล้ามเน้ือสมบูรณ์
„ควรเก็บไว้ท่ีอุณหภูมิ +2 ถงึ +8 ๐C และห้ามเก็บในช่อง แช่แข็งเพราะวัคซนีจะเส่ือม คุณภาพทันทีเม่ือแข็งตัว
„เปิดใช้แล้ว ควรเก็บไว้ ไม่เกนิ
8 ชั่วโมง ระหว่างการใช้ต้องเก็บ วัคซีนไว้ในตู้เย็นหรอืกระตกิวัคซีน ท่ีมีอุณหภูมิ +2 ถงึ +8 ๐C
3
„คอตีบ-บาดทะยัก- ไอกรน-ตบั อกั เสบบี (DTwP-HB)
„คอตีบ-บาดทะยัก- ไอกรน (DTwP)
„คอตีบ-บาดทะยัก (dT) ฉีดให้เด็ก 7 ปี ขึ้นไป
0.5 มล.
กล้ามเน้ือ (Intramuscular: IM)
„ฉีดท่ีกล้ามเนอ้ืหน้าขา ส่วนกลางด้านนอก (Vastus lateralis muscle) ได้ทุกช่วงอายุ
„ฉีดท่ีกล้ามเนอ้ืไหล่ (Deltoid muscle) ในผู้ใหญ่ และเด็กอายุ มากกว่า 3 ปี ท่ีมีกล้ามเน้ือสมบูรณ์
„ควรเก็บไว้ท่ีอุณหภูมิ +2 ถงึ +8 ๐C และห้ามเก็บในช่อง แช่แข็งเพราะวัคซนีจะเส่ือม คุณภาพทันทีเม่ือแข็งตัว
„เปิดใช้แล้ว ควรเก็บไว้ ไม่เกนิ
8 ชั่วโมง ระหว่างการใช้ต้องเก็บ วัคซีนไว้ในตู้เย็นหรอืกระตกิวัคซีน ท่ีมีอุณหภูมิ +2 ถงึ +8 ๐C
4
โปลิโอชนดิ รับประทาน (OPV) :ไวรัส เช้ือเป็นอ่อนฤทธ์ิ type 1, 3
ขนาดโด๊สละ 2-3 หยด แล้ว แต่บริษัทผู้ผลติ
โดยการรับประทาน (Oral route)
-
„ควรเก็บไว้ในช่องแช่แข็ง „เปิดใช้แล้ว ควรเก็บไว้ ไม่เกนิ
8 ชั่วโมง ระหว่างการใช้ต้องเก็บ วัคซีนไว้ในตู้เย็นหรอืกระตกิวัคซีน ท่ีมีอุณหภูมิ +2 ถงึ +8 ๐C
„ขวดท่ีเอาออกจากช่องแช่แข็งแล้ว ไม่ได้เปิดใช้สามารถ Refreeze ได้ หาก VVM ยังอยู่ในเกณฑ์ท่ใี ช้ได้
5
โปลิโอชนดิ ฉีด (IPV) : ไวรัสเช้อื ตาย type 1, 2, 3
0.5 มล.
กล้ามเน้ือ (Intramuscular: IM)
„ฉีดท่ีกล้ามเนอ้ืหน้าขา ส่วนกลางด้านนอก (Vastus lateralis muscle) ได้ทุกช่วงอายุ
„ฉีดท่ีกล้ามเนอ้ืไหล่ (Deltoid muscle) ใน ผู้ใหญ่ และเด็กอายุ มากกว่า 3 ปี ท่มี ี กล้ามเน้ือสมบูรณ์
„ควรเก็บไว้ท่ีอุณหภูมิ +2 ถงึ +8 ๐C และห้ามเก็บในช่อง แช่แข็ง
„เปิดใช้แล้ว ควรเก็บไว้ ไม่เกนิ
8 ชั่วโมง ระหว่างการใช้ต้องเก็บ วัคซีนไว้ในตู้เย็นหรอืกระตกิวัคซีน ท่ีมีอุณหภูมิ +2 ถงึ +8 ๐C
196
หมวดเนื้อหาที่ 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน


ลําดับ
ชนิดวัคซีน
ขนําดกํารฉีด
ตําแหน่งกํารให้
บริเวณที่ฉีด
ระยะเวลํากํารใช้
6
„หัด-คางทูม-หัด เยอรมัน (MMR) (เช้ือคางทูม สายพันธุ์
Jeryl Lynn) หรอื „หัด-หัดเยอรมัน
(MR):ไวรัส เช้ือเป็นอ่อนฤทธ์ิ
0.5 มล.
ฉีดเข้าใต้ผวิหนัง (Subcutaneous:Sc)
„ฉีดบริเวณหน้าขาในเด็ก อายุน้อยกว่า 1 ปี
„ฉีดท่ีต้นแขนบริเวณ Upper Outer Triceps ในเด็กอายุ 1ปีข้นึ ไป หรือผู้ใหญ่
„วัคซีน MMR ผงแห้ง ควรเก็บไว้ใน อุณหภูมิ +2 ถงึ +8๐C หรือในช่อง แช่แข็ง และป้องกันแสง
„น้ายาทาละลายควรเก็บไว้ใน
+2 ถึง +8 ๐C หรืออุณหภูมิห้อง ห้ามแช่แข็ง และต้องนาเก็บใน อุณหภูมิ +2 ถงึ +8 ๐C อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนใช้
„ปกติเป็น Single dose แต่หาก ผสมแล้วยังไม่ได้ใช้ต้องรบีใช้ ภายใน 6 ชั่วโมง โดยเก็บไว้ใน ท่ีมีอุณหภูมิ +2 ถงึ +8 ๐C และ ให้พ้นจากแสง
7
„ไข้สมองอักเสบเจอี ชนิดเช้ือเป็น อ่อนฤทธ์ิ สายพันธุ์ SA 14-14-2
„ไวรัสเช้ือเป็น (Chimeric JE; THAIJEV®/ IMOJEV®)
CD JE VAX® หรือ THAIJEV® หรือ IMOJEV® ฉีด 0.5 มล.
ฉีดเข้าใต้ผวิหนัง (Subcutaneous: SC)
„ฉีดบริเวณหน้าขาใน เด็กอายุน้อยกว่า 1 ปี
„ฉีดท่ีUpper Outer Triceps ในเด็กอายุ 1 ปี ขึ้นไป หรอื ผู้ใหญ่
„ควรเก็บไว้ท่ีอุณหภูมิ +2 ถงึ +8 ๐C ห้ามเก็บในช่องแช่แข็ง
„เก็บให้พ้นแสง
„กรณี Multi-doses เปิดใช้แล้ว
ควรเก็บไว้ไม่เกนิ 8 ชั่วโมง ระหว่างการใช้ต้องเก็บวัคซนีไว้ ในตู้เย็นหรอืกระติกวัคซนีท่ีมี อุณหภูมิ +2 ถงึ +8 ๐C
8
ไข้หวัดใหญ่ (Influenza vaccine)
„เดก็ อายุ 6 เดอื น ถึง 3 ปี ฉดี 0.25 มล.
„เด็ก อายุ 3 ปี ขึ้นไป และ ผู้ใหญ่
ฉีด 0.5 มล.
กล้ามเน้ือ (Intramuscular: IM)
„ฉีดท่ีกล้ามเนอ้ืหน้าขา ส่วนกลางด้านนอก (Vastus lateralis muscle) ได้ทุกช่วงอายุ
„ฉีดท่ีกล้ามเนอ้ืไหล่ (Deltoid muscle) ในผใู้ หญ่ และเดก็ อายมุ ากกวา่ 3 ปี ท่ีมีกล้ามเน้ือสมบูรณ์
„ควรเก็บไว้ท่ีอุณหภูมิ +2 ถงึ +8 ๐C ห้ามเก็บในช่องแช่แข็ง
„เก็บให้พ้นแสง
„กรณี Multi-doses เปิดใช้แล้ว
ควรเก็บไว้ไม่เกนิ 8 ชั่วโมง ระหว่างการใช้ต้องเก็บวัคซนีไว้ ในตู้เย็นหรอืกระติกวัคซนีท่ีมี อุณหภูมิ +2 ถงึ +8 ๐C
9
มะเร็งปากมดลูก (Human Papillomavirus vaccine: HPV)
ฉีด 0.5 มล. (Single dose)
กล้ามเน้ือ (Intramuscular: IM)
„ฉีดท่ีกล้ามเนอ้ืไหล่ (Deltoid muscle)
„ควรเก็บไว้ท่ีอุณหภูมิ +2 ถงึ +8 ๐C ห้ามเก็บในช่องแช่แข็ง
„เก็บให้พ้นแสง
10
คอตีบ บาดทะยัก ไอกรน ตับอักเสบ บี และฮบิ (DTP-HB-Hib)
ฉีด 0.5 มล.
กล้ามเน้ือ (Intramuscular: IM)
„ฉีดท่ีกล้ามเนอ้ืหน้าขา ส่วนกลางด้านนอก (Vastus lateralis muscle) ได้ทุกช่วงอายุ
„ฉีดท่ีกล้ามเนอ้ืไหล่ (Deltoid muscle) ในผู้ใหญ่ และเด็กอายุ มากกว่า 3 ปี ท่มี ี กล้ามเน้ือสมบูรณ์
„ควรเก็บไว้ท่ีอุณหภูมิ +2 ถงึ +8 ๐C ห้ามเก็บในช่องแช่แข็ง
„เก็บให้พ้นแสง
„กรณี Multi-doses เปิดใช้แล้ว
ควรเก็บไว้ไม่เกนิ 8 ชั่วโมง ระหว่างการใช้ต้องเก็บวัคซนีไว้ ในตู้เย็นหรอืกระติกวัคซนีท่ีมี อุณหภูมิ +2 ถงึ +8 ๐C
11
โรต้าไวรัส (RV)
1.5-2.0 มล. ขึ้นกับบริษัท ผู้ผลิต
รับประทาน (Oral route)
-
„ควรเก็บไว้ท่ีอุณหภูมิ +2 ถงึ +8 ๐C ห้ามเก็บในช่องแช่แข็ง
„เก็บให้พ้นแสง
หมวดเนื้อหาที่ 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
197


198
หมวดเนื้อหาที่ 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
3.2.2 เทคนิคการนําาวัคซีนเข้าสู่ร่างกาย โดยมีรายละเอียดในแต่ละช่องทาง ดังน้ี
1) การกิน (Oral route) ใช้ในกรณีท่ีต้องการกระตุ้นภูมิคุ้มกันเฉพาะท่ี โดยมากใช้กับ วคั ซนี ชนดิ เชอ้ื เปน็ เชน่ วคั ซนี โปลโิ อ วคั ซนี ทยั ฟอยด์ เปน็ ตน้ ทา ใหเ้ กดิ ภมู คิ มุ้ กนั ทงั้ ในลา ไส้ และกระแสเลือด
การหยอดวัคซนีโปลิโอ
1. หากปลายหลอดพลาสตกิ สมั ผสั กบั ปากหรอื นา้ ลายเดก็ ใหเ้ ปลย่ี นหลอดพลาสตกิ กอ่ น หยอดเด็กรายต่อไป
2. หากทาการหยอดโปลิโอแล้ว เด็กพ่นออกมาหรืออาเจียนออกมาภายใน 5-10 นาที และพิจารณาแล้วว่ายาออกมาหมด สามารถหยอดซา้ ได้ แต่หากพิจาณาแล้วว่ายา ท่ีหยอดเข้าไปมีโอกาสดูดซึมผ่านเย่ือบุภายในช่องปากแล้ว ก็ไม่จาเป็นต้องหยอดซา้ หากเด็กอาเจียนซ้า และไม่สามารถหยอดโปลิโอซ้าในครั้งน้ีได้ อาจพิจารณาหยอด โปลิโอในการนัดฉดี วัคซีนครงั้ ต่อไป (CDC, 2017)
การให้รับประทานวัคซนีโรต้า
1. การให้วัคซนี RotaRixหรือRV1ทาเป็นรูปผงแห้งในขวดปิดจุกยางมาพร้อมกับตัวทา ละลาย1มล.บรรจุในหลอดพลาสตกิคล้ายกระบอกฉีดยา(ห้ามสวมเข็มแล้วนามา ฉีดเด็ดขาด) กระจายผงยาในตัวทาละลายท่ีให้มาคู่กัน ก่อนหยอดใส่ปากเด็ก เด็กท่ี แพ้ยางไม่ควรเลอืกใช้วัคซีนย่ีห้อน้ี
2. การให้ RotaTeq หรอื RV5 ทาเป็นรูปยาน้าในหลอดบีบพลาสติกบรรจุ 2 มล. 3.การรับประทานโรต้าควรป้อนช้าๆใส่เข้าไปข้างๆกระพุ้งแก้มค่อยๆดันวัคซนีเข้าไป ทีละน้อย เพ่ือป้องกันเด็กสาลักและอาเจียน หากเด็กอาเจียนภายหลังรับวัคซีน ไม่แนะนา ให้รบั วคั ซนี ซา้ เพราะเกรงว่าจะได้รบั เกนิ ขนาด และมโี อกาสเกดิ ภาวะลา ไส้
กลืนกัน
2) การฉีด การฉีดวัคซีนมี 3 ตําาแหน่งคือ ฉีดเข้าช้ันในหนัง ใต้หนัง และช้ันกล้ามเน้ือ
ภาพที่ 6.6
(สานักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2547)
การวางตาแหน่งเข็มและความลึกของการแทงเข็มสาหรับวัคซีนชนิดฉีด


ภาพท่ี 6.7
2.1
การฉีดเข้าในหนัง (Intradermal route)
วิธีการนี้ใช้เม่ือต้องการลดแอนติเจนลง ทาให้เกิดภูมิคุ้มกันได้ดีเพราะกระตุ้นเซลล์ในผิวหนังและ ดูดซึมไปยังท่อน้าเหลือง กระตุ้นภูมิคุ้มกันชนิดเซลล์เป็นส่ือได้ดี ใช้วัคซีนปริมาณน้อย การฉีดทาได้ ยากต้องอาศยั ความชา นาญ วคั ซนี ทใ่ี ห้ทางน้ี ได้แก่ วคั ซนี BCG เปน็ ต้น การฉดี BCG ควรฉดี บรเิ วณ ต้นแขนส่วนบน แต่การตรวจสอบ BCG Scar ปัจจุบันพบว่ามีการฉีดหลายตาแหน่งไม่ว่าจะเป็นต้น แขน บริเวณก้น หรือฝ่าเท้า อย่างไรก็ตาม ในบริเวณก้น และฝ่าเท้า อาจมีความเส่ียงท่ีจะทาให้ เกิดการติดเช้ือได้จากการปนเปื้อนของอุจจาระและปัสสาวะท่ีมีโอกาสสัมผัสกับบริเวณท่ีฉีดวัคซีน จึงไม่แนะนาให้ฉีดในบริเวณดังกล่าว
§ ขนาดเข็มและความยาวของเข็ม: ใช้เข็มเบอร์ 26 หรือ 27 ความยาว 1⁄2 นิ้ว
§ เทคนคิ : เปน็ การนา วคั ซนี ผ่านเข้าไปเพยี งแคใ่ นหนงั เท่านนั้ ขนาดวคั ซนี ทฉ่ี ดี มปี รมิ าณนอ้ ย และเน่ืองจากวัคซีนท่ีฉีดเข้าในหนังเป็นวัคซีนชนิดเช้ือเป็น หลังเช็ดทาความสะอาดด้วยนา้ ตม้ สกุ นา้ เกลอื หรอื แอลกอฮอลบ์ รเิ วณทฉ่ี ดี ตอ้ งรอใหแ้ หง้ กอ่ นจงึ จะฉดี โดยจดั ทา่ เดก็ ใหน้ ง่ิ และมั่นคงท่ีสุด เพราะการฉีดเข้าในหนังต้องอาศัยความชานาญและความน่ิง เพราะวัคซีน อาจร่ัวซึมออกมาได้หากปลายเข็มแทงทะลุออกมานอกผิวหนัง เทคนิคการฉีดควรดึงหนัง บริเวณท่ีฉีดให้ตึง ค่อยๆ แทงเข็มลงไปทามุมทาผิวหนังประมาณ 15 องศา แล้วดันวัคซีน เขา้ ไป ถา้ เทคนคิ ถกู ตอ้ งจะเหน็ วา่ เมอ่ื ดนั วคั ซนี เขา้ ไปจะมตี มุ่ นนู ขนึ้ มาใหเ้ หน็ ชดั (ภาพท่ี 6.7)
การวางตาแหน่งเข็มและความลึกของการแทงเข็มฉีดเข้าในหนัง
2.2 การฉีดเข้าใต้ผิวหนัง(Subcutaneousroute)ใช้กับวัคซีนท่ีไม่ต้องการให้ดูดซึมเร็ว เกนิไปเพราะอาจเกดิปฏกิริยิารนุแรงและเป็นวคัซนีทไ่ีม่มสีารดดูซบั(Adjuvant)เช่นวัคซนีรวมหดั คางทูม และหัดเยอรมัน (MMR) วัคซีนไข้สมองอักเสบเจอี (JE) เป็นต้น เป็นการนาวัคซีนผ่านเข้าไป ใน Fatty tissue อยู่ใต้ชั้นผิวหนังและอยู่เหนือชั้นกล้ามเน้ือ ปกติแล้ว Subcutaneous tissue พบได้ท่ัว ร่างกายสาหรบัเด็กเลก็บรเิวณทน่ียิมให้วคัซนีคอืบรเิวณหน้าขาและถ้าเปน็เดก็อายมุากกว่า1ปี หรือผู้ใหญ่ก็จะใช้ต้นแขนบริเวณ Upper outer triceps ก่อนฉีดเช็ดบริเวณผิวหนังด้วยแอลกอฮอล์ พ้ืนท่ีประมาณเส้นผ่านศูนย์กลาง 2–3 นิ้ว แล้วจึงแทงเข็มเข้าไป โดยไม่จาเป็นต้องทดสอบก่อนดัน วัคซีนเข้าไป (No aspiration)
หมวดเน้ือหาท่ี 6: การเตรียมการและการให้บริการวัคซีน
199


Click to View FlipBook Version