The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookcha, 2021-05-24 05:41:07

วิชาศิลปศึกษา ทช11003

art 11003

Keywords: ศิลปศึกษา ทช11003,กศน

93

ลักษณะเปนการแสดงท่ีทันยุคทันสมัย รวมทั้งการพัฒนาความสามารถในการแสดงออกของศิลปนที่
สามารถโนมนาวจิตใจผูฟ ง ไดอ ยา งดี

การทําหนาที่เปนสื่อมวลชนของเพลงพ้ืนบานน้ันจะมี 2 ลักษณะ ไดแก การกระจายขาวสาร
และการวิพากษว ิจารณสงั คม

ในสวนของการกระจายขา วสารนน้ั เพลงพื้นบานจะทาํ หนา ท่ีในการกระจายขา วสารตาง ๆ เชน
เพลงรอยพรรษา ของกาญจนบุรี ทําหนา ทบ่ี อกใหร ูวาถงึ เทศกาลออกพรรษา เพลงบอกของภาคใตและ
เพลงตรุษของสุรินทร ทําหนาที่บอกใหรูวาถึงเทศกาลปใหมแลว นอกจากน้ีเพลงพื้นบานยังเปน
เครื่องมือในการกระจายขา วสารของผูปกครอง หรือผูบริหารประเทศ เชน หมอลํา กลอนลําปลูกผัก
สวนครัว ในสมยั จอมพล ป. พิบลู สงคราม หมอลาํ กลอนลาํ ตอ ตานคอมมวิ นิสต สรรเสริญสหรัฐอเมริกา
ในสมยั จอมพลสฤษฏิ์ ธนะรัชต

ตัวอยางเพลงอีแซวเผยแพรนโยบายและสรางคานิยมในสมยั จอมพล ป. พบิ ลู -สงคราม

จะพดู ถึงเรื่องวฒั นธรรมที่ผูนาํ ขอรอง แกบรรดาพ่นี อ งทีอ่ ยูในแนวภายใน

เราเกดิ เปนไทยรว มธงมาอยใู นวงศลี ธรรม จะตอ งมีหลกั ประจําเปนบทเรียนใสใ จ

ประเทศจะอับจนก็เพราะพลเมือง ประเทศจะรุง เรอื งก็เพราะพวกเราทง้ั หลาย

เราตองชวยกันบํารงุ ใหช าติของเราเจรญิ ฉนั จึงขอชวนเชิญแกบรรดาหญงิ ชาย

มาชว ยกนั สง เสริมใหพูนเพ่ิมเผา พนั ธุ วฒั นธรรมเท่ียงธรรมใ หเ หมาะสมชาติไทย

------------------------------------------ ------------------------------------------

จะพูดถึงการแตงกายหญิงชายพ่นี อ ง ที่ทา นผูนําขอรองแกพ วกเราท้งั หลาย
ทา นใหเ อาไวผ มยาวตามประเพณีนยิ ม สับหยงทรงผมเสียใหงามผึง่ ผาย
จะเที่ยวเอาไวผ มทัดจะไดตดั ผมตงั้ จงเปล่ยี นแบบกนั เสยี บางใหถกู นโยบาย
-------------------------------------- ------------------------------------

นอกจากตัวอยางดงั กลาวแลว ยังมเี พลงอกี จาํ นวนมากทีม่ ีเนื้อหาในการเผยแพรข า วสารเกย่ี วกับ
นโยบายของรัฐบาลและผูปกครอง เชน เพลงอีแซวและเพลงฉอ ยตอไปน้ี

เนอื่ งดวยผวู าราชการจงั หวัดสุพรรณบรุ ี ทานไดมอบหนา ท่ีตามทม่ี ีจดหมาย
ทานผูวา สพุ รรณใหร จู กั ทานท่ัวถิ่น ทานชอื่ วา จรินทร กาญจโนมยั
ใหขวญั จิต ศรปี ระจันตมารอ งเพลงชแี้ จง เพือ่ จะใหแ จม แจงประชาชนเขา ใจ
ใหฉันมาขอบพระคณุ กนั ไปตามหวั ขอ คอื ก.ส.ช. ทผ่ี ลงานเหลอื ใช
พดู ถึงก.ส.ช.กร็ ชู ัดกันทกุ ชัน้ เปนบทบาทของรฐั บาลทต่ี ั้งนโยบาย

94

จ.จานใชด ชี าวศรปี ระจนั ต นีก่ ใ็ กลถ งึ วันแลว เวลา

น่เี ลอื กต้ัง ส.ข. อกี แลวหนอพ่นี อง ดิฉนั จงึ ไดร องบอกมา

วันท่ีสามสบิ กนั ยายนเชญิ ชวนปวงชน- ใหไ ปเลือกกรรมการหนอวาสขุ าฯ

ทกุ บา น

---------------------------------------- --------------------------------------

นอกจากเพลงพืน้ บา นจะทําหนาทีก่ ระจายขาวสารแลว ยังเปนสอ่ื ในการวิพากษว ิจารณสงั คมใน

ดานตา ง ๆ ไดแ ก เหตกุ ารณและเร่ืองราวของชาติ เชน สถาบนั การเมอื ง การปกครอง เศรษฐกิจ ปญหา

สังคม เปนตน

เพลงพืน้ บานบางชนดิ เชน เพลงอีแซว เพลงฉอ ย เปน ตน ในปจจุบันมกี ารวพิ ากษวิจารณสังคม

อยางเห็นไดชัด ซึ่งอาจเกิดจากความเจริญกาวหนาของสังคม และระบบการเมืองการปกครองท่ีให

เสรภี าพแกประชาชนและสือ่ มวลชนในการแสดงความคิดเห็นของตนไดอ ยางเปดเผย ทง้ั ในกลมุ ของตน

ในทส่ี าธารณะ หรอื โดยผานสือ่ มวลชน ศิลปน พ้ืนบานจึงสามารถแสดงออกทางความคิดไดโดยอิสระ

ในฐานะท่ีเปนประชาชนของประเทศ นอกจากนี้เพลงพื้นบานยังเปนสมบัติของสวนรวม ที่สังคม

รับผิดชอบรวมกัน ผูแตงหรือผูรองจึงทําหนาที่แสดงความคิดเห็นในฐานะที่เปนตัวแทนของกลุมชน

ดว ย ขอยกตัวอยางเพลงพน้ื บา นท่ีมีเนอ้ื หาวพิ ากษว จิ ารณสงั คม ดังนี้

ลําตดั เรื่องประชาธปิ ไตย ของขวญั จิต ศรีประจันต

การแสดงพื้นบานหวั ขอ ขานเงอื่ นไข กบั ประชาธปิ ไตยของเมอื งไทยวนั นี้

ความรสู ึกนกึ ไวว า ไมไดของจริง ยงั รอแรร งุ ร่ิงยงั ไมนิง้ เตม็ ท่ี

ฉันเกดิ มาชานานอายุฉนั ส่ีรอบ เรือ่ งระบบระบอบและผดิ ชอบชั่วดี

รูสึกยังหนอมแนมมอมแมมหมกเม็ด แบบวา หาประชาธปิ ไตยจนไหลเ คล็ดยงั ไม -

สําเร็จสักที

----------------------------------- ------------------------------------

สามัคคีสังฆสั สะคําพระทา นวา ตัดโลภโมโทสาแลว ทานวาเยน็ ดี

ไมแ กงแยงแขง ขันไมดื้อดานมักได ประชาธปิ ไตยกเ็ กดิ ไดทันที

แตคนเราไมง ้นั ความตอ งการมากเกนิ ยงิ่ บานเรือนเจรญิ ใจตน้ื เขนิ ขึน้ ทกุ ที

มีสติปญ ญาเรยี นจนตาํ ราทวมหวั แตค วามเห็นแกตวั ความเมามัวมากมี

เจริญทางวตั ถุแตม าผทุ ่ใี จ ประชาธปิ ไตยคงรอไปอีกรอ ยป

------------------------------ -----------------------------------

นักการเมืองปจ จบุ ันก็ผวนผนั แปรพรรค พอเราจะรูจ ักก็ยายพรรคเสียน่ี

บางคนทาํ งานดีและไมม ปี ญ หา ไมเ ลียแขงเลยี ขาไมกาวหนาสกั ที

95

คนดมี อี ุดมการณม ักทํางานไมได แตพวกกะลอ นหลงั ลายไดยงิ่ ใหญทุกท.ี ..

จากทกี่ ลา วมาทัง้ หมดนจี้ ะเห็นไดวา เพลงพื้นบานมคี ณุ คาตอสงั คมสว นรวมและประเทศชาติที่
ปรากฏใหเ ห็นอยา งชัดเจน นอกจากมคี ณุ คาใหความบนั เทงิ ทมี่ ีอยูเปน หลักแลว ยังมีคุณคาใหการศึกษา
แกคนในสังคมทัง้ โดยทางตรงและโดยทางออม รวมทง้ั มคี ณุ คา ในการเปน ทางระบายความเก็บกดและ
การจรรโลงวฒั นธรรมของชาติ ตลอดจนมีคุณคาในฐานะเปนสอื่ มวลชนทท่ี าํ หนาที่กระจายขา วสารและ
วิพากษวิจารณสังคม เพลงพื้นบานจึงมิใชจะมีคุณคาเฉพาะการสรางความสนุกสนานเพลิดเพลินใจ
เทานนั้ แตยังสรา งภูมิปญญาใหแ กค นไทยดว ย

ในปจจุบันเพลงพื้นบานมีบทบาทตอสังคมนอยลงทุกทีเพราะมีส่ิงอ่ืนขึ้นมาทดแทนและทํา
หนาท่ีไดดีกวา เชน มีสิ่งบันเทิงแบบใหมมากมายใหความบันเทิงมากกวาเพลงกลอมเด็กหรือเพลง
ประกอบการเลน มีการศึกษาในระบบโรงเรียนเขา มาทาํ หนา ทใ่ี หการศึกษาและควบคุมสังคมแทน และ
มีระบบเทคโนโลยีทางการสื่อสารและคมนาคมทําหนาที่เปนส่ือมวลชนไดมีประสิทธิภาพ ย่ิง
กวา เพลงพื้นบานจงึ นบั วันจะยตุ ิบทบาทลงทกุ ที เวน เสยี แตเพลงพ้ืนบานบางชนิดท่ีพัฒนารูปแบบและ
เน้อื หาใหเ หมาะสมกับสงั คมปจ จบุ นั เชน เพลงอีแซว ในรูปแบบของเพลงลูกทุง ซึ่งนักรองหลาย
คนนํามารอง เชน เอกชยั ศรวี ิชยั และเสรี รุงสวาง เปนตน ทําใหเพลงพื้นบานกลับมาเปนที่นิยมและมี
คุณคา ตอ สงั คมไดอีกตอไป

2. การอนรุ กั ษเพลงพืน้ บา น
การอนุรักษเพลงพื้นบานใหคงอยูอยางมีชีวิตและมีบทบาทเหมือนเดิมคงเปนสิ่งที่เปนไป
ไมได แตส่ิงท่ีอาจทําไดในขณะน้ีก็คือการอนุรักษ เพื่อชวยใหวัฒนธรรมของชาวบานซึ่งถูกละเลยมา
นานปรากฏอยูในประวัติศาสตรของสังคมไทยเชนเดียววัฒนธรรมที่เราถือเปนแบบฉบับ การ
อนรุ ักษม ี 2 วิธีการ ไดแ ก การอนรุ กั ษตามสภาพด้งั เดมิ ทเ่ี คยปรากฏ และการอนุรักษโดยการประยุกต
2.1 การอนุรักษตามสภาพด้ังเดมิ ท่เี คยปรากฏ หมายถึงการสืบทอดรูปแบบเนื้อหา วิธีการรอง
เลน เหมอื นเดิมทุกประการ เพอื่ ประโยชนใ นการศกึ ษา
2.2. การอนรุ กั ษโดยการประยุกต หมายถงึ การเปล่ียนแปลงรูปแบบและเนือ้ หาใหสอดคลองกับ
สงั คมปจจบุ ันเพ่อื ใหคงอยแู ละมบี ทบาทในสังคมตอ ไป
2.3. การถา ยทอดและการเผยแพรเปน สงิ่ สาํ คัญที่ควรกระทําอยา งจรงิ จัง และตอเน่ืองเพ่ือไมให
ขาดชว งการสืบทอด ปกตศิ ิลปน พ้ืนบานสวนใหญม กั จะเต็มใจทจ่ี ะถา ยทอดเพลงพื้นบานใหแกลูกศิษย
และผสู นใจทั่วไป แตปญหาท่ีพบคือไมมีผูสืบทอดหรือมีก็นอยมาก ดังน้ันการแกปญหาจึงนาจะอยูที่
การเผยแพรเพ่ือชักจูงใจใหคนรุนใหมเห็นความสําคัญ รูสึกเปนเจาของ เกิดความหวงแหนและอยาก
ฝก หัดตอ ไป

96

การจงู ใจใหค นรุนใหมห นั มาฝกหดั เพลงพื้นบานไมใชเร่ืองงาย แตวิธีการท่ีนาจะทําได ไดแก
เชญิ ศลิ ปน อาชีพมาสาธติ หรอื แสดง เชญิ ศิลปน ผูเชี่ยวชาญมาฝกอบรมหรอื ฝกหัดกลุมนักเรียนนักศึกษา
ใหแสดงในโอกาสตาง ๆ ซงึ่ วิธนี ้จี ะไดทัง้ การถายทอดและการเผยแพรไ ปพรอ ม ๆ กัน

อยางไรกต็ ามการถายทอดเพลงพื้นบา นจะอาศยั เฉพาะศิลปน พ้นื บา นคงไมไ ด เพราะมขี อ จาํ กดั
เกย่ี วกับปจจยั ตาง ๆ เชน เวลา สถานท่ี และงบประมาณ แนวทางการแกไขกค็ วรสรา งผูถ า ยทอด
โดยเฉพาะครอู าจารย ซง่ึ มีบทบาทหนา ท่ีในการปลกู ฝงวฒั นธรรมของชาติ และมกี าํ ลงั ความสามารถใน
การถายทอดใหแกเยาวชนไดจ าํ นวนมาก แตก ารถายทอดทฤษฎีอยางเดียวคงไมเพยี งพอ ครอู าจารยค วร
สรา งศรัทธาโดย “ทําใหดู ใหรดู วยตา เหน็ คา ดว ยใจ” เพราะเม่ือเด็กเห็นคุณคาจะสนใจศกึ ษาและใฝห า
ฝกหดั ตอ ไป

2.4. การสงเสรมิ และการสนบั สนนุ เพลงพื้นบา น เปนงานหนักที่ตองอาศัยบุคคลที่เสียสละและ
ทุมเท รวมทง้ั การประสานความรวมมือของทุกฝาย ที่ผานมาปรากฏวามีการสงเสริมสนับสนุนเพลง
พื้นบานคอนขางมากท้ังจากหนวยงานของรัฐและเอกชน ไดแก สํานักงานวัฒนธรรมแหงชาติ ศูนย
วัฒนธรรมประจําจังหวัด สถาบันการศึกษาตาง ๆ ศูนยสังคีตศิลป ธนาคารกรุงเทพฯ สํานักงานการ
ไฟฟา ฝา ยผลิตแหงประเทศไทย เปน ตน

2.5. การสง เสรมิ เพลงพ้ืนบานใหเปนสวนหน่ึงของกิจกรรมในชีวิตประจําวัน โดยแทรกเพลง
พ้นื บานในกิจกรรมรน่ื เรงิ ตา ง ๆ ไดแ ก กิจกรรมของชีวิตสว นตัว เชน งานฉลองคลายวันเกิด งานมงคล
สมรส งานทําบุญขึ้นบานใหม ฯลฯ กิจกรรมในงานเทศกาลตาง ๆ เชน ปใหม ลอยกระทงหรือ
สงกรานต กิจกรรมในสถาบันการศึกษา เชน พิธีบายศรีสูขวัญ งานกีฬานองใหม งานฉลองบัณฑิต
และกจิ กรรมในสถานที่ทํางาน เชน งานเล้ยี งสงั สรรค งานประชุมสัมมนา เปน ตน

2.6. การสงเสริมใหนําเพลงพื้นบานไปเปนสื่อในการโฆษณาประชาสัมพันธ ท้ังในระบบ
ราชการและในวงการธุรกิจ เทาท่ีผานมาปรากฏวามีหนวยงานของรัฐและเอกชนหลายแหงนําเพลง
พื้นบานไปเปน สือ่ ในการโฆษณาประชาสัมพันธ เชน จังหวัดสุพรรณบุรีเชิญ ขวัญจิต ศรีประจันต ไป
รองเพลงพ้ืนบานประชาสมั พันธผลงานของจงั หวัด บริษัทท่ีรับทําโฆษณานํ้าปลายี่หอทิพรส ใชเพลง
แหลสรางบรรยากาศความเปนไทย อุดม แตพานิช รองเพลงแหลในโฆษณาโครงการ หารสอง
รณรงคใหประชาชนประหยดั พลังงาน บญุ โทน คนหนุม รองเพลงแหลโ ฆษณานาํ้ มันเคร่ือง ท็อปกัน 2
T การใชเพลงกลอ มเด็กภาคอีสานในโฆษณาโครงการสํานึกรักบานเกดิ ของ TAC เปน ตน การใชเพลง
พื้นบานเปนสื่อในการโฆษณาประชาสัมพันธดังกลาวนับวานาสนใจและควรสงเสริมใหกวางขวาง
ย่ิงขน้ึ เพราะทาํ ใหเ พลงพนื้ บานเปน ท่คี ุนหขู องผูฟง และยังคงมีคณุ คา ตอ สังคมไทยไดตลอดไป

97

กจิ กรรมที่ 1.
1.1ใหผ ูเรยี นอธิบายลกั ษณะของดนตรีพื้นบานเปนขอ ๆ ตามทเ่ี รยี นมา
1.2 ใหผูเรียนศึกษาดนตรีพื้นบานในทองถิ่นของผูเรียน แลวจดบันทึกไว จากนั้นนํามาอภิปราย
ในชั้นเรียน
1.3 ใหผเู รียนลองหัดเลน ดนตรพี นื้ บา นจากผรู ใู นทองถิน่ แลว นํามาเลนใหช มในชน้ั เรียน
1.4 ผเู รยี นมีแนวความคดิ ในการอนุรักษเ พลงพ้ืนบานในทอ งถิน่ ของผเู รยี นอยา งไรบา ง ใหผเู รยี น

บนั ทกึ เปนรายงานและนาํ แสดงแลกเปล่ยี นความคิดเห็นกันในชัน้ เรยี น

98

บทท่ี 3
นาฏศิลปพืน้ บา น

สาระสําคัญ

1. นาฏศิลปพ ้ืนบา นและภมู ิปญ ญาทอ งถิน่
2. คุณคา และการอนุรักษน าฏศิลปพ นื้ บาน วฒั นธรรมประเพณแี ละภมู ิปญ ญาทอ งถ่ิน

ผลการเรียนรูท คี่ าดหวงั

1. บอกประวตั คิ วามเปนมาของนาฏศิลปพ้นื บา นแตล ะภาคได
2. บอกความสมั พนั ธร ะหวา งนาฏศิลปพน้ื บานกับวัฒนธรรมประเพณี
3. บอกความสัมพนั ธระหวางนาฏศลิ ปพื้นบานกับภมู ปิ ญญาทอ งถน่ิ ได
4. นํานาฏศลิ ปพ ืน้ บาน ภมู ปิ ญ ญาทองถิ่นมาประยุกตใ ชไ ดอยา งเหมาะสม

ขอบขา ยเน้ือหา

1. นาฏศิลปพื้นบานและภูมปิ ญญาทอ งถิ่น
2. นาฏศลิ ปพ ื้นบา นภาคเหนอื
3. นาฏศิลปพ ้ืนบา นภาคกลาง
4. นาฏศิลปพ นื้ บา นภาคอีสาน
5. นาฏศิลปพ น้ื บา นภาคใต

99

เรือ่ งท่ี 1 นาฏศิลปพ ื้นบา นและภูมปิ ญ ญาทองถนิ่

นาฏศิลปพืน้ บาน เปน การแสดงทเี่ กดิ ข้ึนตามทองถิ่นตา ง ๆ มกั เลนเพือ่ ความสนุกสนาน บันเทิง
ผอนคลายความเหน็ดเหน่ือย หรือเปนการแสดงท่ีเก่ียวกับการประกอบอาชีพของประชาชนตามภาค
นัน้ ๆ นาฏศลิ ปพ ื้นบานเปนการแสดงท่ีสะทอนความเปนเอกลักษณของภูมิภาคตาง ๆ ของประเทศ
ไทย ตามลักษณะพื้นที่ วัฒนธรรมทองถ่ิน ประเพณีท่ีมีอยูคูกับสังคมชนบท ซ่ึงสอดแทรกความ
สนกุ สนาน ความบันเทงิ ควบคไู ปกับการใชชีวติ ประจําวัน

นาฏศิลปพ้นื บานภาคเหนือ
การฟอนคือการแสดงนาฏศิลปภาคเหนือที่แสดงการรายรํา เอกลักษณที่ดนตรีประกอบมีแต
ทาํ นองจะไมม ีคาํ รอ ง การฟอ นราํ ของภาคเหนือ มี 2 แบบ คือ แบบอยางดังเดิม กับแบบอยางที่ปรับปรุง
ขึน้ ใหม การฟอ นรําแบบดั้งเดิม ไดแ ก ฟอ งเมือง ฟอ นมา น และฟอนเงยี้ ว
1. ฟอนเมอื ง หมายถงึ การฟอ นราํ แบบพืน้ เมอื ง เปนการฟอ นรําที่มแี บบแผน ถายทอดสบื ตอกนั
มาประกอบดวยการฟอนราํ การฟอ นมแี ตดนตรกี บั ฟอน ไมม กี ารขับรอง เชน ฟอ นเล็บ ฟอ น
ดาบ ฟอนเจงิ ฟอนผมี ด ฟอ นแงน เปน ตน

การแสดงฟอ นดาบ
2. ฟอ นมาน หมายถงึ การฟอนราํ แบบมอญ หรอื แบบพมา เปน การสบื ทอดรูปแบบทา รํา และ

ดนตรี เมือ่ ครั้งท่พี มา เขา มามีอํานาจเหนอื ชนพน้ื เมือง เชน ฟอนพมา ฟอนผีเม็ง ฟอนจา ดหรอื
แสดงจา ดหรือลเิ กไทยใหญ

การแสดงฟอ นมา นมงคล

100

3. ฟอนเงี้ยว เปนการแสดงของชาวไต หรือไทยใหญ รูปแบบของการแสดงจะเปนการฟอนรํา
ประกอบกบั กลองยาว ฉาบ และฆอง เชน ฟอ นไต ฟอนเง้ยี ว ฟอนกงิ กะหลา ฟอ นโต

ฟอนกงิ กะหลา

การฟอนราํ แบบปรบั ปรุงใหม เปนการปรับปรุงการแสดงที่มีอยูเดิมใหมีระเบียบแบบแผนให
ถกู ตอ งตามนาฏยศาสตร ใชทวงทาลลี าท่งี ดงามย่ิงข้นึ อาทิเชน ฟอ นเล็บ ฟอนเทียน ฟองลองนาน ฟอน
เงีย้ วแบบปรับปรุงใหม ฟอนมา นมุยเชียงตา ระบาํ ซอ ระบาํ เก็บใบชา ฟอนสาวไหม เปน ตน
ฟอ นเลบ็

ประวตั คิ วามเปน มา
ฟอนเล็บ เปนการฟอนรําที่สวยงามอีกอยางหน่ึงของชาวไทยภาคเหนือ เรียกช่ือตามลักษณะ
ของการฟอ น ผูแสดงจะสวมเลบ็ ทที่ ําดว ยโลหะทกุ นวิ้ ยกเวนน้ิวหัวแมมือ แบบฉบับของการฟอน เปน
แบบแผนในคุม เจา หลวงในอดีตจงึ เปนศลิ ปะท่ีไมไดชมกันบอยนัก การฟอนรําชนิดน้ีไดแพรหลายใน
กรุงเทพมหานคร เม่อื ครั้งสมโภชนพระเศวตคชเดชดลิ ก ชา งเผือก ในสมัยรชั กาลท่ี 7 เม่อื พ.ศ. 2470
ครูนาฏศิลปข องกรมศลิ ปากร ไดฝก หัดถา ยทอดเอาไว และไดน าํ มาสืบทอดตอ กันมา

101

ภาพการฟอนเล็บ นาฏศลิ ปของภาคเหนือ

เครอ่ื งดนตรี
เคร่ืองดนตรีทใ่ี ชประกอบการฟอ นเลบ็ ไดแก ปแน กลองแอว ฉาบ โหมง
เครือ่ งแตงกาย
เคร่อื งแตง กาย สวมเสื้อคอกลมหรือคอปดแขนยาว ผาหนาติดกระดุม หมสไบทับตัวนุงผาซิ่น
พ้นื เมอื งลายขวางตอตนี จกหรอื เชงิ ซิ่นเกลามวยสงู ประดับดว ยดอกไมแ ละอบุ ะสวมสรอยคอและตา งหู
ทาราํ
ทารํา มีช่ือเรียกดังน้ี ทากังหันรอน ทาเรียงหมอน ทาเลียบถํ้า ทาสอดสรอยมาลา ทาพรหมส่ี
หนา ทา ยงู ฟอนหาง
โอกาสของการแสดง
ใชแสดงในโอกาสมงคล งานรื่นเรงิ การตอนรับแขกบานแขกเมอื ง

นาฏศิลปพ้นื บานภาคกลาง
เปน ศลิ ปะการรา ยรําและการละเลนของชนชาวพ้นื บา นภาคกลาง ซ่ึงสวนใหญมีอาชีพเกี่ยวกับ

เกษตรกรรม ศิลปะการแสดงจึงมคี วามสอดคลอ งกับวิถชี ีวติ และเพื่อความบันเทิงสนกุ สนานเปนการผัก
ผอ นหยอ นใจจากการทาํ งาน หรอื เม่ือเสร็จจากเทศกาลฤดเู ก็บเกย่ี ว เชน การเลนเพลงเกี่ยวขาว เตนกํารํา
เคียว ราํ เถิดเทงิ รําเหยอย เปน ตน มีการแตงกายตามวัฒนธรรมของทองถ่ินและใชเคร่ืองดนตรีพื้นบาน
เชน กลองยาว กลองโทน ฉ่งิ ฉาบ กรบั และโหมง

102

รําเหยอย
ประวัตคิ วามเปนมา
รําเหยอย คอื การรําพน้ื เมืองที่เกา แกชนิดหนึ่ง มีตน กาํ เนดิ ท่จี ังหวัดกาญจนบุรี แถบอําเภอเมอื ง

อําเภอพนมทวน ซึ่งยงั มกี ารอนรุ กั ษรปู แบบการละเลนนเี้ อาไว

การแสดงราํ เหยอ ย

การราํ การรองเพลงเหยอ ย จะเริม่ ดวยการตีกลองยาวโหมโรงเรียกคนกอน วงกลองยาวก็เปน
กลองยาวแบบพนื้ เมอื ง ประกอบดวย กลองยาว ฉง่ิ ฉาบ กรับ โหมง มปี ท่เี ปนเครอื่ งดาํ เนินทํานอง ผูเลน
รําเหยอยก็จะแบงออกเปนฝายชาย กับฝายหญิง โดยจะมีพอเพลง แมเพลง และลูกคู เม่ือมีผูเลน
พอสมควรกลองยาวจะเปลย่ี นเปน จังหวะชาใหพอเพลงกับแมเพลงไดรองเพลง โตตอบกัน คนรอง
หรอื คนรําก็จะมผี าคลอ งคอของตนเอง ขณะท่มี ีการรองเพลง กจ็ ะมีการเคล่ือนที่ไปยังฝา ยตรงขาม นําผา
ไปคลอ งคอ เพอ่ื ใหอ อกมาราํ ดวยกันสลับกันระหวางฝายชายและฝายหญิง คํารองก็จะเปนบทเกี้ยวพา
ราสี จนกระทัง่ ไดเวลาสมควรจึงรองบทลาจาก

ทารํา ไมมีแบบแผนท่ีตายตัว ข้ึนอยูกับผูรําแตละคู การเคล่ือนไหวเทาจะใชวิธีสืบเทาไป
ขางหนา กรมศิลปากรไดสืบทอดการแสดงรําเหยอยดวยการปรับปรุงคํารอง และทารําใหเหมาะสม
สาํ หรบั เปนการแสดงบนเวที หรือกลางแจงในเวลาจาํ กัด จงึ เปนการแสดงพ้ืนเมอื งทส่ี วยงามชุดหน่ึง
การแตง กาย

ฝายชาย สวมเสอื้ คอกลม นุงโจงกระเบน มีผา คาดเอว
ฝา ยหญิง สวมเส้อื แขนกระบอก นุงโจงกระเบน มีผา คลอ งคอ
คํารองของเพลงเหยอ ยจะใชฉ นั ทลกั ษณแบบงาย เหมือนกบั เพลงพื้นบา นทั่วไป ท่ีมักจะลงดวย
สระเดยี วกัน หรอื เรยี กวา กลอนหวั เตยี ง คํารอ งเพลงเหยอ ยจะจบลงดวยคําวาเหยอย จึงเรียกกันวาเพลง
เหยอยราํ พาดผาก็เรียก เพราะผูรํามีการนําผาไปคลองใหกับอีกฝายหนึ่ง ฉันทลักษณของเพลงเหยอยมี
เพียงสองวรรค คือ วรรคหนา กับวรรคหลัง มสี ัมผัสเพียงแหงเดียว เม่ือรองจบ 2 วรรค ลูกคูหญิงชายก็
จะรองซาํ้ ดังตัวอยาง คาํ รอ งเพลงเหยอย ฉบับกรมศลิ ปากร ดงั น้ี

103

ชาย มาเถดิ หนาแมมา มาเลน พาดผา กนั เอย
พ่ีตัง้ วงไวท า อยา น่งิ รอชาเลยเอย
พีต่ ัง้ วงไวค อย อยา ใหวงกรอ ยเลยเอย
เขา มาพาดผา เถดิ เอย
หญงิ ใหพยี่ ื่นแขนขวา พาดที่องคน อ งเอย
ชาย พาดเอยพาดลง ไปรํากบั เขาหนอ ยเอย
หญิง มาเถิดพวกเรา รบี รําออกมาเถดิ เอย
ชาย สวยเอยแมค ณุ อยา ชา สวยดังหงสทองเอย
หญิง ราํ รายกรายวง สวยดงั กนิ นรนางเอย
ชาย ราํ เอยราํ รอน นาเอ็นดูจริงเอย
หญงิ ราํ เอยรําคู พ่ีรักเจา สาวจริงเอย
ชาย เจาเคยี วใบขา ว อยา มาเปน หว งเลยเอย
หญิง เจาเคียวใบพวง รักแลวไมท้งิ ไปเลย
ชาย รักนอ งจรงิ รักแลวกท็ ิง้ ไปเอย
หญงิ รกั นองไมจ รงิ รกั จะตกเสยี แลว เอย
ชาย พแ่ี บกรักมาเตม็ อก เชื่อไมไ ดเลยเอย
หญิง ผชู ายหลายใจ ชา งไมเมตตาเสยี เลยเอย
ชาย พ่แี บกรกั มาเตม็ รา จะใหน อ งรกั อยางไรเอย
หญิง เมยี มีอยูเตม็ ตกั เมียพ่มี ีเมอ่ื ไรเอย
ชาย สวยเอยคนดี จะทิง้ ทอดทานใหใครเอย
หญงิ เมียมีอยูทบี่ า น จะฉกี ใหด ใู จเอย
ชาย ถาฉกี ไดเ หมอื นปู รีบไปสูข อนอ งเอย
หญงิ รักจริงแลว หนอ สนิ สอดเทา ไรนอ งเอย
ชาย ขอกไ็ ด ใหพร่ี บี ไปขอเอย
หญงิ หมากลกู พลจู บี เห็นสดุ แรงนองเอย
ชาย ขา วยากหมากแพง รีบไปใหถ ึงเถดิ เอย
หญิง หมากลูกพลูครง่ึ เห็นจะดีกวา เอย
ชาย รกั กนั หนาพากันหนี ไมเ ช่อื คําชายเลยเอย
หญงิ แมส อนเอาไว หนตี ามกันไปเถดิ เอย
ชาย แมสอนเอาไว ใหก ลับพาราแลว เอย
หญงิ พอ สอนไวว า

104

ชาย พอ สอนไววา ใหก ลบั พาราพ่ีเอย
หญงิ กาํ เกวยี นกาํ กง จะตองจบวงแลวเอย
ชาย กรรมเอยวิบาก วันนีต้ อ งจากแลว เอย
หญิง เวลาก็จวน นอ งจะรีบดว นไปกอนเอย
ชาย เรารวมอวยพร กอ นจะลาจรไปกอนเอย
พรอมกนั ใหห มดทกุ ขโ ศกโรคภยั สวัสดมี ีชัยทุกคนเอย

นาฏศิลปพ ้นื บานภาคอสี าน
เปน การแสดงศลิ ปะการรําและการเลน พนื้ บา นภาคอีสานหรือภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ของไทย

แบงเปน 2 กลุมวฒั นธรรมใหญ ๆ คอื
1. กลุมอีสานเหนือ มีวัฒนธรรมไทยลาวเรียกการละเลนวา “หมอลํา, เซิ้ง และฟอน” เชน ลํา

เตย ลําลอ ง ลํากลอนเกี้ยว เซิ้งบั้งไฟ เซิ้งตังตวาย ฟอนภูไท เปนตน ดนตรีพ้ืนบานที่ใชประกอบไดแก
พิณ แคน โปงลาง กลองยาว ซอ โหวด ฉ่งิ ฉาบ ฆอ ง และกรับ

ฟอนภูไท ของชาว จงั หวดั สกลนคร

2. กลุมอีสานใต ไดรับอิทธิพลไทยเขมร มีการละเลนท่ีเรียกวา เรือมหรือเร็อม เชน
เรอื มอนั เร หรือ รําสาก หรอื กระโดสาก สว นละเลนเพลงโตต อบกนั เชน กันตรึม เจรียง อาไย เปนตน วง
ดนตรี ดนตรีที่ใชป ระกอบไดแก วงมโหรีพื้นบา น ประกอบดวย ซอดวง กลองกันตรึม ปออ ปสไล ฉ่ิง
และกรับ

105

เรอื มอันเรหรอื รําสาก
การแตงกายประกอบการแสดงนาฏศิลปพ้ืนบานอีสานเปนไปตามวัฒนธรรมของพื้นบาน
ลักษณะทารําและทวงทาํ นองดนตรีสวนใหญคอ นขา งกระซับ รวดเรว็ และสนุกสนาน
เซ้งิ กระตบิ ขา ว
ประวัติความเปน มา
เซิ้งกระตบิ ขาว เปนการละเลนพื้นเมอื งของชาวภูไท ท่ีตั้งถิ่นฐานอยูแถวจังหวัดสกลนคร และ
จงั หวัดใกลเ คียง นิยมเลน ในโอกาสรื่นเรงิ ในวนั นักขัตฤกษ การแสดงจะเรมิ่ ดว ยฝายชายนาํ เคร่อื งดนตรี
ไดแ ก แคน กลองยาว ฉิ่ง ฉาบ กรบั โหมง มาบรรเลงเปนวงใชท ํานองและจังหวะที่สนุกสนานแบบเซ้ิง
อีสาน สวนฝายหญิงกจ็ ะสะพายกระติบขา ว (ภาชนะสาํ หรับบรรจุขาว เหนียวนึ่ง) ออกมารายรําดวย
ทวงทาตา งๆ ซึ่งมีความหมายวา การนาํ อาหารไปใหส ามีและญาติพี่นองท่ีออกไปทํานา การฟอนรําเซิ้ง
กระตบิ ไมมคี ํารองประกอบ

106

เคร่ืองแตงกาย ผูหญิงสวมเส้ือแขนกระบอกนุงผาซิ่นตีนจกหมสไบทับเสื้อเกลามวยประดับ
ดอกไมต า งหูสรอยคอกาํ ไลขอมือขอ เทาสะพายกระติบขาว ผูชายที่เปนนักดนตรีสวมเสื้อแขนสั้นสีดํา
หรือกรมทา นงุ ผาโจงกระเบนสแี ดง หรอื โสรง มผี าคาดเอว

โอกาสของการแสดง อาทิ งานบุญประเพณี งานตอนรบั แขกบา นแขกเมือง งานวัฒนธรรม หรอื
งานเผยแพรวัฒนธรรมไทยในตางประเทศ เปน ตน

นาฏศลิ ปพ ื้นบานภาคใต
เปนศิลปะการแสดงและการละเลนของชาวพื้นบานภาคใตอาจแบงตามกลุมวัฒนธรรมได 2

กลุมคือวัฒนธรรมไทยพุทธ ไดแก การแสดงโนรา หนังตะลุง เพลงบอก และวัฒนธรรมไทยมุสลิม
ไดแ ก ชาํ เปง ลเิ กซลู ู ซลิ ะ รองเง็ง

การแสดงรองเง็ง

การแสดงนาฏศิลปพ้ืนบานภาคใตแบงออกเปนหลายแบบคือ แบบด้ังเดิมและแบบที่ไดรับ
อิทธิพลจากตา งประเทศ

1. แบบดง้ั เดิมไดรบั แบบแผนมาจากสมัยอยุธยา หรือครั้งท่ีกรุงศรีอยุธยาเสียแกขาศึก บรรดา
ศิลปนนักแสดงทั้งหลายก็หนีภัยสงครามลงมาอยูภาคใต ไดนํารูปแบบของการแสดงละครที่เรียกวา
ชาตรี เผยแพรส ภู าคใตและการแสดงด้งั เดมิ ของทองถ่ิน เชน การสวดมาลยั เพลงนา เพลงเรอื เปน ตน

2. แบบท่ีไดรับอิทธิพลจากตางประเทศ ภาคใตเปนพ้ืนท่ีติดตอกับประกาศมาเลเซีย ดังนั้น
ประชาชนทีอ่ าศยั อยูแ ถบชายแดน กจ็ ะรบั เอาวฒั นธรรมการแสดงของมาเลเซียมาเปนการแสดงทองถิ่น
เชน ลเิ กฮูลู สลาเปะ อาแวลูตง คาระ กรอื โตะ ซัมเปง เปน ตน

107

การแสดงซัมเปง
มโนราห

ประวัติความเปนมา
โนรา หรือ มโนราห เปนการแสดงท่ียิ่งใหญ และเปนวิถีชีวิตของชาวใตเกือบทุกจังหวัด และ
นบั วาเปน การแสดงที่คูกับหนังตะลงุ มาชา นาน ความเปน มาของโนราน้ัน มีตาํ นานกลา วไวห ลายกระแส
มีตาํ นานหนงึ่ กลาววา ตวั ครโู นราคนหนึ่งซงึ่ ถือวา เปนคนแรกนนั้ มาจากอยธุ ยา ชอื่ ขุนศรัทธา ซงึ่ สมเดจ็
พระเจา บรมวงศเธอกรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ ทรงสนั นิษฐานวา คงเปนครูละครที่มีช่ือเสียงของกรุง
ศรีอยธุ ยา ชวงปลาย ๆ มีคดีจนตองถูกลอยแพไปติดอยเู กาะสีชงั ชาวเรือชวยพามายังนครศรธี รรมราชได
ใชความสามารถสง่ั สอนการแสดงละครตามแบบแผนของ กรงุ ศรีอยุธยา

การแสดงโนราหรอื มโนราหใ นภาคใต

108

และตามคําบอกเลา ของขนุ อุปถัมภน รากร (พุม เทวา) ก็กลาวในนางนวลทองสําลี พระธดิ าของ

ทา นพระยาสายฟา ฟาด ตอ งโทษดว ยการเสวยเกสรดอกบัวแลวเกดิ ตั้งครรภ จงึ ถกู ลอยแพกบั นางสนมไป

ติดอยูท่เี กาะสชี ัง และประสตู ิโอรส ซ่ึงเจาชายนอย ไดรับการส่ังสอนการรายรํา 12 ทา จากพระมารดา

ซ่ึงเคยฝนวา มนี างฟามาสอนใหจดจาํ ไว 12 ทา นางก็พยายามจําอยา งขึน้ ใจ แลวยงั ไดส ่ังสอนใหน างสนม

กํานัลอีกดวย เจาชายนอยไดเขาไปรําถวายใหพระยาสายฟาฟาดทอดพระเนตร มีการซักถามถึงบิดา

มารดาก็รวู าเปน หลานขวัญ จงึ สงคนไปรับกลบั เขาเมอื ง นางศรี คงคา ไมยอมกลับตองมัดเอาตัวข้ึนเรือ

เม่ือเรอื เขามาสูปากนํา้ ก็มีจระเขขวางเรือพวกลูกเรือชวยกันแทงจระเข จึงบังเกิดทารําของโนราขึ้นอีก

กระบวนทาหนง่ึ แสดงถึงการราํ แทงจระเข การเก่ียวเน่ืองระหวางโนรากับละครชาตรีของภาคกลางก็

อาจจะซบั ซอนเปนอนั มาก

คําวา ชาตรี ตรงกับคําวา ฉัตริยะของอินเดียใต แปลวา กษัตริย หรือนักรบผูกลาหาญ และ

เนอื่ งจากการแสดงตา ง ๆ มักมีตัวเอกเปน กษตั ริย จึงเรียกวา ฉัตรยิ ะ ซง่ึ ตอ มากไ็ ดเพ้ยี นมาเปน ชาตรี หรือ

ละครชาตรี เพราะเห็นวา เปนการแสดงอยางละคร มีผูรูกลาววาท้ังโนราและชาตรีนาจะเขามาพรอม ๆ

กนั ท้งั ภาคใต และภาคกลาง เหตทุ ่โี นราและชาตรีมคี วามแตกตางกันออกไปบางก็คงเปนไปตามสภาพ

ของวถิ ชี ีวติ วฒั นธรรมประเพณีของแตล ะภาค ความนยิ มทแ่ี ตกตา งกัน แตอยา งไรก็ตาม ส่ิงทย่ี งั คงเปน

เอกลกั ษณของการแสดงโนรา และชาตรี คือเครื่องดนตรีท่ีใชโทน (ทน) ฆอง และป เปนเครื่องยืนพ้ืน

ในภาคกลางมกี ารใชระนาดเขามาบรรเลงเมือ่ ครั้งสมยั รัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวน้ี

เอง ในสมยั เดมิ นัน้ คาํ วา โนรา ยงั ไมไ ดมีการเรียกจะใชคําวา ชาตรี แมใ นสมยั รตั นโกสนิ ทรก ็ยังใชคําวา

ชาตรีอยู ดังคําประพันธของกรมหมนื่ ศรีสเุ รนทรว า

“ชาตรตี ลบุ ตลุบทง้ิ กลองโทน

ราํ สะบัดวัดสะเอวโอน ออนแปล

คนกรบั รบั ขยับโยน เสยี งเยิน่

รอ งเรอ่ื งรถเสนแห หอขยุม ยาโรย”

ตอเมอ่ื ไดนําเอาเร่ืองพระสุธนมาแสดงกับชาตรี จึงเรียกติดปากวา มโนราหชาตรี ตามชื่อของนางเอก
เรือ่ งสธุ น ตัวบทละครกเ็ กิดขน้ึ ในภาคใต หาไดนําเอามาจากอยุธยาไม ในที่สุดการแสดงโนราจึงกลาย
จากเรือ่ งพระสุธน ในสมัยตอมาก็มกี ารนําเอาวรรณคดีพน้ื บา นเรอ่ื งอนื่ มาแสดง แตก ย็ ังเรียกการแสดงนี้
วา มโนราห เม่ือนานเขา เกดิ การกรอนของภาษา ซึ่งเปนลกั ษณะทางภาษาของภาคใตท่จี ะพูดถอยคําหวน
ๆ จงึ เรียกการแสดงน้ีวา “โนรา”

109

การแสดงโนรานัน้ มีทาราํ สําคญั 12 ทา แตละคณะก็แตกตางกนั ออกไปบาง โดยมีการสอนทา รํา
โนรา คอื โดยใชบทประพนั ธที่แสดงวธิ กี ารรายราํ ดว ยลีลาตาง ๆ การเชื่อมทา การขยับหรอื เขยิบเทา การ
กลอมตัวต้ังวง และการเคลื่อนไหวที่คอ นขางรวดเร็ว ในบทราํ ทา ครูสอนมีคํากลอนกลาวถึงการแตงตัว
และลีลาตาง ๆ ดงั นี้

“ครูเอยครสู อน เสดอื้ งกรตอ งา
ครูสอนใหผผู า สอนขา ใหทรงกาํ ไล
สอนครอบเทรดิ นอ ย แลว จบั สรอยพวงมาลยั
สอนทรงกําไล สอนใสซายขวา
เสด้ืองเยอ้ื งขา งซาย ตีคาไดหาพารา
เสดอื้ งเย้อื งขางขวา ตคี า ไดหา ตาํ ลึงทอง
ตีนถีบพนัก สวนมือชักเอาแสงทอง
หาไหนมิไดเ สมอื นนอ ง ทาํ นองพระเทวดา”

นอกจากบทรําทาครูสอนแลว ยังมีการประดิษฐทารําเพิ่มเติมขึ้นอีกมากมาย จนถึง
การประดิษฐทารําสวนตัว และทารําเฉพาะ ไดแก การรําไหวครู รําโรงครู รําแกบท รําบทครูสอน รํา
ปฐมบท รําแทงจระเข รําเพลงโค รําเพลงทับเพลงโทน รําคลอ งหงส เปน ตน

การแตง กายของโนรา แตเดิมสวมเทรดิ (เครอ่ื งสวมหัวคลา ยชฏา) นงุ สนับเพลา คาดเจียรบาด
มีหอ ยหนา ประดบั หางอยางมโนราห มีสายคลอ งวาลประดับทบั ทรง กรองคอ และสวมเลบ็ ยาว

เครอ่ื งดนตรี คอื กลอง ทบั คู ฆองคู โหมง ฉ่งิ และป โดยการเร่มิ บรรเลงโหมโรง จากนัน้ เชิญครู
รองหนา มาน หรอื กลาวหนา มา น เรื่องทแี่ สดงเรยี กเปน ภาษาถนิ่ วา “กําพรัดหนามาน” จากนั้นจึงเร่ิมทํา
การแสดง

โนราแตละคณะจะประกอบดว ยผูแสดงประมาณ 15 – 20 คน แตเดิมผูแสดงสวนใหญจะเปน
ผชู ายแตก ็มผี ูหญงิ ผสมอยูดว ย

110

โอกาสของการแสดงโนรา กแ็ สดงในงานทัว่ ไป

กิจกรรมการเรียนรู 1 ความ

ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวงั
1. บอกประวัติความเปน มาของนาฏศิลปพื้นบา นแตละภาคได
2. แสดงนาฏศิลปพ ้นื บา นไดอยางถูกตอ งและเหมาะสม
3. รคู ณุ คาและอนุรักษนาฏศิลปพ ื้นฐานและภูมปิ ญญาทองถิน่

คําชีแ้ จง
1. จงอธบิ ายความรูเกี่ยวกบั นาฏศิลปพ นื้ บา นของไทยมาพอสังเขป
2. ใหผ เู รียนศึกษาการแสดงนาฏศิลปพ้ืนบานของทองถิ่นตนเอง โดยศึกษาประวัติ
เปน มา รปู แบบการแสดง วิธีการแสดงและฝก หัดการแสดงอยา งนอ ย 1 ชดุ

กจิ กรรมการเรยี นรู 2
ผลการเรียนรูท ค่ี าดหวัง

- บอกความสัมพนั ธร ะหวา งนาฏศลิ ปพ น้ื บา นกับวฒั นธรรมประเพณีและภมู ิปญญาทองถ่นิ ได
คาํ ชี้แจง

ใหผเู รียนศึกษานาฏศิลปพ ้ืนบานในทอ งถน่ิ หรอื ท่ีตนเองสนใจอยางลกึ ซึง้
- อทิ ธิพลใดมผี ลตอ การเกดิ นาฏศลิ ปพื้นบาน
- แนวทางอนุรกั ษนาฏศลิ ปพ ้นื บา น

111

บทท่ี 4
การผลิตเครอื่ งดนตรี

ปจ จัยหลกั ของการประกอบอาชีพ

ส่ิงสําคัญของการเริ่มตนประกอบอาชีพอิสระ ตองพิจารณาวาจะประกอบอาชีพอิสระอะไร
โอกาสและความสําเร็จมมี ากนอ ยเพยี งไร และตอ งเตรียมตัวอยางไรจึงจะทําใหประสบผลสําเร็จ ดังน้ัน
จึงตอ งคํานึงถึงปจจยั หลักของการประกอบอาชพี ไดแ ก

1. ทนุ คือ ส่งิ ที่จําเปนปจ จยั พน้ื ฐานของการประกอบอาชีพ โดยตองวางแผนและแนวทางการ
ดําเนินธุรกิจไวลวงหนา เพื่อท่ีจะทราบวาตองใชเงินทุนประมาณเทาไร บางอาชีพใชเงิน ทุนนอย
ปญหายอมมีนอย แตถาเปนอาชีพท่ีตองใชเงินทุนมากจะตองพิจารณาวามีทุนเพียงพอหรือไมซ่ึงอาจ
เปนปญ หาใหญ ถาไมพอจะหาแหลงเงินทุนจากที่ใด อาจจะไดจากเงินเก็บออม หรือจากการกูยืมจาก
ธนาคาร หรือสถาบันการเงินอ่ืน ๆ อยางไรก็ตามในระยะแรกไมควรลงทุนจนหมดเงินเก็บออมหรือ
ลงทนุ มากเกนิ ไป

2. ความรู หากไมม คี วามรูเพียงพอ ตองศึกษาหาความรูเพิ่มเติม อาจจะฝกอบรมจากสถาบันที่
ใหความรดู านอาชพี หรอื ทาํ งานเปน ลูกจา งคนอ่นื ๆ หรือทดลองปฏบิ ัตดิ วยตนเองเพ่ือใหม คี วามรู ความ
ชํานาญ และมีประสบการณในการประกอบอาชพี น้ัน ๆ

3. การจดั การ เปนเร่ืองของเทคนคิ และวิธกี าร จงึ ตอ งรจู ักการวางแผนการทาํ งานในเร่อื งของ
ตัวบุคคลทีจ่ ะรว มคิด รว มทําและรวมทนุ ตลอดจนเครือ่ งมือ เครอ่ื งใชและกระบวนการทํางาน

4. การตลาด เปน ปจจัยที่สําคัญมากที่สุดปจจัยหน่ึง เพราะหากสินคาและบริการท่ีผลิตข้ึนไม
เปนท่นี ิยมและไมสามารถสรา งความพอใจใหแกผ บู ริโภคได ก็ถือวากระบวนการท้ังระบบไมประสบ
ผลสาํ เร็จ ดังนัน้ การวางแผนการตลาดซ่งึ ปจ จบุ นั มีการแขงขนั สูง จึงควรไดร บั ความสนใจในการพัฒนา
รวมท้ังตองรแู ละเขา ใจในเทคนิคการผลติ การบรรจแุ ละการหีบหอ ตลอดจนการประชาสัมพนั ธ เพ่ือให
สินคาและบรกิ ารของเราเปน ทนี่ ิยมของลูกคา กลมุ เปา หมายตอไป

ขอแนะนาํ ในการเลือกอาชพี
กอ นตดั สินใจเลือกประกอบอาชีพใด ๆ กต็ าม ควรพจิ ารณาอยา งรอบคอบ ซ่งึ มขี อแนะนํา ดงั นี้
1. ควรเลอื กอาชีพทีช่ อบหรอื คดิ วา ถนัด ควรสํารวจตัวเองวาสนใจอาชีพอะไร ชอบหรือถนัด
ดานไหน มีความสามารถอะไรบาง ที่สําคัญคือตองการหรืออยากจะประกอบอาชีพอะไร จึงจะ

112

เหมาะสมกับตัวเองและครอบครัว กลาวคือพิจารณาลักษณะงานอาชีพ และพิจารณาตัวเอง พรอมท้ัง
บคุ คลในครอบครัวประกอบกนั ไปดว ย

2. พัฒนาความสามารถของตัวเอง คอื ควรศึกษารายละเอียดของอาชีพที่จะเลือกไปประกอบ
ถาความรูความเขาใจยังมีนอย มีไมเพียงพอก็ตองทําการศึกษา ฝกอบรม ฝกปฏิบัติเพิ่มเติมจากบุคคล
หรือหนวยงานตา ง ๆ ใหม พี ้ืนฐานความรคู วามเขา ใจในการเริม่ ประกอบอาชพี ทถ่ี กู ตอง เพื่อจะไดเ รียนรู
จากประสบการณจริงของผูมีประสบการณมากอน จะไดเพิ่มโอกาสความสําเร็จสมหวังในการไป
ประกอบอาชีพนน้ั ๆ

3. พิจารณาองคประกอบอ่นื ที่เกี่ยวของ เชน ทําเลที่ต้ังของอาชีพที่จะทําไมวาจะเปน การ
ผลิต การจาํ หนาย หรอื การใหบ รกิ ารก็ตาม สภาพ แวดลอมผรู ว มงาน พ้ืนฐานในการเร่มิ ทําธุรกจิ เงนิ ทุน
โดยเฉพาะเงนิ ทุนตอ งพิจารณาวามีเพยี งพอหรอื ไมถ าไมพ อจะหาแหลง เงนิ ทนุ จาก ทใ่ี ด

อาชพี การผลติ ขลยุ

ขลยุ จาํ แนกเปนประเภทตาง ๆ ไดดงั น้ี
ขลุยหลบิ หรือขลยุ หลีกหรอื ขลุย กรวด เปน ขลุย ขนาดเลก็ เสยี งสงู กวา ขลุย เพยี งออเปนคูส่ี ใชใ น

วงมโหรเี ครอ่ื งคู เครือ่ งใหญ และวงเครื่องสายเครื่องคโู ดยเปน เคร่ืองนําในวงเชน เดียวกบั ระนาดหรือซอ
ดว งนอกจากน้ยี งั ใชในวงเครื่องสายปชวาเพราะขลุยหลิบมีเสียงตรงกับเสียงชวาโดยบรรเลงเปนพวก
หลังเชน เดยี วกบั ซออู

ขลยุ เพียงออ เปนขลุยที่มีระดับเสียงอยูในชวงปานกลาง คนท่ัวไปนิยมเปาเลน ใชใน วง
มโหรหี รอื เครื่องสายทว่ั ๆ ไป โดยเปนเครื่องตามหรืออาจใชในวงเคร่ืองสายปชวาก็ไดแตเปายากกวา
ขลุย หลบิ เนือ่ งจากเสยี งไมต รงกบั เสียงชวาเชนเดยี วกับนาํ ขลุยหลิบมาเปา ในทางเพียงออตองทดเสียงขึ้น
ไปใหเ ปน คู 4 นอกจากน้ยี ังใชใ นวงปพ าทยไ มนวมแทนปอ กี ดว ย โดยบรรเลงเปนพวกหนา

ขลยุ อู เปนขลุยขนาดใหญ เสียงต่ํากวาขลุยเพียงออสามเสียง ใชในวงปพาทยดึกดําบรรพ ซ่ึง
ตอ งการเครื่องดนตรีทีม่ เี สียงตาํ่ เปนพืน้ นอกจากน้ใี นอดีตยงั ใชในวงมโหรีเครื่องใหญ ปจจุบันไมไดใช
เนอื่ งจากหาคนเปา ท่มี คี วามชาํ นาญไดย าก

113

ลักษณะขลยุ ท่ีดี
ขลุยโดยทัว่ ไป ทาํ จากไมไผ ซึ่งเปน ไมไผเฉพาะพันธุเทานน้ั ปจ จบุ นั นไ้ี มไผท ีท่ ําขลุยสวนใหญ

มาจากสระบุรี และนครราชสมี า นอกจากไมไผแ ลวขลยุ อาจทําจากงาชาง ไมชิงชัน หรือไมเน้ือแข็งอ่ืน
ๆ และปจ จุบนั มีผูนาํ พลาสตกิ มาทาํ ขลยุ กนั บางเหมอื นกัน

ในเรื่องคุณภาพนั้น ขลุยที่ทําจากไมไผจะดีกวาขลุยท่ีทําจากวัตถุอื่น เนื่องจากไมไผเปน
รูกระบอกโดยธรรมชาติมีผิวทั้งดานนอกดานในทําใหลมเดินสะดวก เม่ือถูกนํ้าสามารถขยายตัวได
สัมพันธก บั ดากทาํ ใหไ มแตกงา ย นอกจากนีผ้ ิวนอกของไมไ ผส ามารถตกแตง ลายใหสวยงามได เชน ทํา
เปนลายผาปูม ลายดอก ลายหิน ลายเกร็ดเตา เปนตน อีกประการหน่ึงที่สําคัญคือ ไมไผมีขอโดย
ธรรมชาติ ซงึ่ โดยทวั่ ๆ ไป จะเหน็ วา สวนปลายของขลุยดานทไี่ มใชเปาน้ันมีขอติดอยูดวยแตเจาะเปนรู
สําหรับปรบั เสยี งของน้วิ สดุ ทายใหไ ดร ะดบั สวนของขอทเี่ หลอื จะทําหนา ทีอ่ มุ ลมและเสียง ใหเ สยี งขลุย
มคี วามกังวานไพเราะมากข้นึ ซึ่งถาเปน ขลุย ทที่ าํ จากวัสดุอ่ืนโดยการกลึง ผูทําอาจไมคํานึงถึงขอนี้อาจ
ทาํ ใหข ลุยดอยคณุ ภาพไปได

ดงั ที่กลาวมาแลววาขลยุ ทดี่ ีควรทํามาจากไมไ ผ นอกจากนี้ก็ควรพิจารณาส่ิงอื่น ๆ ประกอบไป
ดวย

1. เสยี ง ขลยุ ทใี่ ชไดดเี สียงตองไมเ พย้ี นต้ังแตเสียงต่ําสุดไปจนถึงเสียงสูงสุด คือทุกเสียงตอง
หางกันหน่ึงเสียงตามระบบของเสียงไทย เสียงคูแปดจะตองเทากันหรือเสียงเลียนเสียงจะตองเทากัน
หรอื นิว้ ควงจะตองตรงกนั เสยี งแทเสียงตอ งโปรงใสมีแกวเสยี งไมแหบพราหรือแตก ถานําไปเลน
กับเครื่องดนตรีท่ีมีเสียงตายตัว เชน ระนาดหรือฆองวงจะตองเลือกขลุยท่ีมีระดับเสียงเขากับเครื่อง
ดนตรเี หลา นน้ั

2. ลม ขลยุ ทด่ี ตี อ งกนิ ลมนอยไมห นกั แรง เวลาเปา ซง่ึ สามารถระบายลมไดงาย
3. ลกั ษณะของไมท ่นี ํามาทํา จะตอ งเปนไมท่ีแกจัดหรือแหงสนิท โดยสังเกตจากเสี้ยนของไม
ควรเปน เสยี้ นละเอยี ดทมี่ สี นี ํา้ ตาลแกคอ นขา งดํา ตาไมเลก็ ๆ เน้อื ไมหนาหรือบางจนเกินไป คือตอง
เหมาะสมกบั ประเภทของขลยุ วาเปน ขลยุ อะไร ในกรณที เ่ี ปน ไมไผถาไมไมแกจัดหรือไมแหงสนิท เม่ือ
นาํ มาทาํ เปน ขลุยแลวตอ ไปอาจแตกราวไดงาย เสยี งจะเปลยี่ นไป และมอดจะกนิ ไดง า ย
4. ดาก ควรทําจากไมสักทอง เพราะไมมีขุยหรือขนแมวขวางทางลม การใสดากตอง
ไมชิดหรือหางขอบไมไผจนเกินไปเพราะถาชิดจะทําใหเสียงทึบ ต้ือ ถาใสหางจะทําใหเสียงโวง
กินลมมาก
5. รตู า งๆบนเลาขลุย จะตองเจาะอยางประณีตตอ งเหมาะกับขนาดของไมไผไ มกวางเกินไป
ขลยุ ในสมัยกอ นรูตาง ๆ ท่ีนิ้วปดจะตองกวานดา นในใหเวา คือผิวดานในรูจะกวางกวาผิวดานนอก แต
ปจจุบนั ไมไ ดก วา นภายในรูเหมอื นแตก อนแลว ซึ่งอาจจะเน่ืองมาจากคนทําขลุย ตองผลิตขลุยคราวละ
มาก ๆ ทาํ ใหละเลยในสว นน้ีไป

114

6. ควรเลือกขลุยทมี่ ีขนาดพอเหมาะกบั นิ้วของผเู ปา กลาวคือ ถา ผเู ปามีนิ้วมือเล็กหรอื บอบบาง
ก็ควรเลอื กใชขลยุ เลาเลก็ ถา ผเู ปา มมี ืออวบอวน กค็ วรเลอื กใชขลยุ ขนาดใหญพ อเหมาะ

7. ลกั ษณะประกอบอืน่ ๆ เชน สผี วิ ของไมส วยงาม ไมมีตําหนิ ขดี ขว น เทลายไดสวยละเอียด แต
ส่งิ เหลานกี้ ไ็ มไ ดมีผลกระทบกบั เสยี งขลุย แตอ ยา งใด เพยี งพิจารณาเพอ่ื เลือกใหไ ดขลุยที่ถูกใจเทา นั้น

ข้ันตอนการทําขลยุ
1. เลือกไมไ ผร วกทม่ี ีลาํ ตรง ไมคดงอ มาตัดเปนปลอ ง ๆ โดยเหลือนิดหน่ึง คัดเลือกขนาดตาม

ชนดิ ของขลุย
2. นาํ ไมไผรวกทต่ี ดั แลวไปตากแดด จนไมเปล่ียนจากสีเขยี วมาเปนสีเหลือง ซึ่งแสดงวาไมไผ

รวกแหง สนทิ พรอมทจี่ ะนํามาทาํ ขลุย ตากแดดประมาณ 7-10 วนั
3. นาํ กาบมะพรา วชุบน้ําแตะอิฐมอญที่ปนละเอียด ขัดไมรวกใหข้ึนมันเปนเงาวาว อาจจะใช

ทรายขดั ผิวไมไผรวก กอนจะขัดดว ยอิฐมอญก็ได
4. ใชน ้ํามันหมู หรอื นาํ้ มันพืช ทาผวิ ไมไผรวกใหทัว่ เพื่อใหต ะกวั่ ท่ีรอ นตดั ผิวไมรวก เวลาเท

ตอจากนนั้ เอาไมสอดจับขลุยพาดปากกะทะ ซึ่งในกะทะมีตะก่ัวหลอมละลายบนเตาไฟ ใชตะหลิวตัก
ตะกว่ั ทห่ี ลอมเหลวราดบนไมไ ผร วก จะเกิดลวดลายงาม เรยี กวา เทลาย

5. เมื่อไดลวดลายตามตองการแลว นําขลยุ ไปวัดสัดสวน
6. เจาะรูตามสัดสวน โดยเอาสวา นเจาะนาํ รู แลว เอาเหล็กแหลมเผาไฟจนแดง ตามรูท่ีใชสวาน
เจาะนาํ ไวแลว และเจาะทะลุปลอ งขอ ไมไ ผร วกดว ย
7. เอามีดตอกแกะดากปากขลุย ไมดาก คือ ไมสัก เพราะวาเปนไมที่เนื้อไมแข็ง งายตอ การ
แกะ
8. ทําดากปากขลุย อุดปากขลุย โดยใหม รี ูสําหรบั ลมผานเวลาเปา
9. เลือ่ ยใหด ากเสมอกบั ปลายขลยุ
10. ใชม ดี หรือเหล็กปลายแหลม เจาะปากนกแกว ทาํ ไมไผร วกเปน รูปส่ีเหล่ียมใตดากปากขลุย
ประมาณ หนึง่ น้วิ เศษ เราเรียกรนู วี้ า รูปากนกแกว
11. ใชข้ีผึ้งที่หั่นเปนชิ้นเล็ก ๆ กรอกเขาไปทางดานปลอง ท่ีตรงขามกับดากปากขลุย
พอประมาณ กะพอวาเมอ่ื ข้ีผงึ้ ละลาย จะสามารถอุดรรู ัว่ ของลมเปาทดี่ ากปากขลุยได
12. ใชเ หล็กเจาะเผาไฟ แทงเขาทางปลอ งไปจนถงึ ดากปากขลุย ความรอนของเหล็ก จะทําให
ข้ีผึง้ ทก่ี รอกเขา ไปกอนหนาน้ัน หลอมละลายเขาตามรอยรั่วตาง ๆ
13. เม่อื ข้ีผงึ้ เยน็ ลงและแข็งตัว ใชเ หลก็ แหยข ีผ้ ง้ึ ทอี่ ดุ รูสาํ หรบั ใหล มผาน ตรงดาก

115

ประสบการณท าํ ขลยุ ของชมุ ชนวัดบางไสไ ก

ขลยุ บานลาว ( ชุมชนวัดบางไสไก ) ตั้งบานเรือนอยูระหวางริมคลองบางไสไกและ วัด
หิรัญรูจี แขวงหริ ญั รูจี กรงุ เทพมหานคร กลาวกันวาชาวลาวท่ีชมุ ชนบางไสไ กน ้นั บรรพบรุ ษุ เดมิ เปน คน
เวียงจนั ทร เมือ่ ถกู กวาดตอ นมาเปน เชลยศกึ ของไทย พวกเขาไดน ําความรใู นการทําขลุยและแคน ซ่ึงเปน
เครอื่ งดนตรีพืน้ บานมาดว ย เนอ่ื งจากบรเิ วณที่ตั้งรกรากนน้ั อยแู ถววดั บางไสไ ก จงึ เรียกกันจนติดปากวา
"หมบู า นลาว"

คณุ จรินทร กล่ินบุปผา ประธานชุมชน ผูซึ่งเปนชาวลาวรุนท่ี 3 ไดสืบทอดวิชาการทําขลุยตอ
จากคุณปูกลาววา "ไมรวกท่ีใชทําขลุยตองส่ังตัดจากหมูบานทายพิกุล อําเภอพระพุทธบาท จังหวัด
สระบุรี เมื่อไดไมมาแลวจะนาํ มาตดั เปน ทอ นตามความยาวของปลองไม และนําไปตากแดด 15 - 20 วัน
เพ่ือใหเ น้อื ไมแหงสนิท แลวจึงคัดขนาด เลือกประเภท ขัดเงา แลวจึงเจาะรูขลุยโดยใชแคนเทียบเสียง
สว นขนั้ ตอนทําลวดลายน้นั ใชตะกั่วหลอมใหเ หลว แลวใชชอนตักราดลงบนขลุยเปนลวดลายตาง ๆ เชน
ลายพิกุล ลายตอก เปนตน จากน้ันจึงแกะปากนกแกวเพื่อตั้งเสียง ทําการดากขลุยโดยการเหลาไมสัก
หรอื ไมเ นอ้ื แขง็ อดุ เขาไปในรู เวนชอ งสําหรบั ใหล มเปาผาน ตองทําใหระหวางปากขลุยกับปากนกแกว
โคงเปน ทอ งชาง เพอ่ื ใหไ ดเสียงท่ไี พเราะ กงั วาน แลว จึงทดสอบดวู า ไดเ สยี งทม่ี าตรฐานหรือไม"

116

ปจจุบันมีครอบครัวที่ประกอบอาชีพทําขลุยประมาณ 20 หลังคาเรือน ดวยคุณภาพและ
ความมชี อื่ เสยี งมาตงั้ แตใ นอดีตของ "ขลุยบานลาว" ลูกคาสวนใหญจึงนิยมมาส่ังทําขลุยถึงในหมูบาน
นอกเหนือจากการสง ขายตามรา นจาํ หนายเครือ่ งดนตรไี ทยทม่ี ชี ือ่ เสียง

อาชีพการผลติ แคน

แคน เปนเคร่ืองดนตรีที่มีความเกาแกมากท่ีสุด เปนเคร่ืองดนตรีท่ีมีความนิยมเปากันมาก

โดยเฉพาะชาวจงั หวดั ขอนแกน ถอื เอาแคนเปนเอกลกั ษณชาวขอนแกน รวมทั้งเปนเครื่องดนตรีประจํา

ภาคอสี านตลอดไป และในปจ จุบันนช้ี าวบานไดม ีการประดิษฐทาํ แคนเปน อาชีพอยา งมากมาย เชน อําเภอ

นาหวา จังหวัดนครพนม จะทาํ แคนเปน อาชพี ทัง้ หมบู า น รวมทง้ั จงั หวัดอื่น ๆ อีกมากมาย และ

แคนยังเปน เครือ่ งดนตรีท่ีนํามาเปาประกอบการแสดงตาง ๆ เชน แคนวง วงโปงลาง วงดนตรีพื้นเมือง

รวมท้ังมกี ารเปา ประกอบพิธีกรรมของชาวอสี าน เชา ราํ ผีฟา ราํ ภูไท เปนตน รวมท้งั เปา ประกอบหมอลํา

กลอน ลําเพลนิ ลําพน้ื รวมทัง้ หมอลําซิง่ ยังขาดแคนไมไ ด

117

ประเภทของแคน
แคนเปน เครื่องดนตรปี ระเภทใชป ากเปา ดูดลมเขา -ออก ทาํ มาจากไมกูแคนหรือไมซาง ตระกูล

ไมไ ผ มีมากในเทือกเขาภพู วน แถบจังหวดั รอยเอด็ จงั หวัดนครพนม ฝง ประเทศลาวและภาคเหนือของ
ไทย ลักษณะนามการเรยี กช่อื แคนวา “เตา”

แคนแบง ตามรปู รางและลักษณะการบรรเลงสามารถแบงออกไดท้งั หมด 4 ชนดิ คอื
1. แคนหก
2. แคนเจด็
3. แคนแปด
4. แคนเกา
สว นประกอบของแคน
1. ไมกแู คน
2. ไมเตาแคน
3. หลาบโลหะ (ลิน้ แคน)
4. ข้ีสทู
5. เครอื ยา นาง

ประสบการณข องชา งฝมือพนื้ บาน "การทาํ แคน"

นายลา ไพรสน เกิดเมื่อ ป พ.ศ. 2467 อายุ 82 ป อยูบานเลขท่ี 45 หมูที่ 9 บานทุงเศรษฐี
ตําบลนครชุม อําเภอเมืองกําแพงเพชร จงั หวัดกําแพงเพชร ไปเทยี่ วท่จี งั หวัดรอยเอ็ด เห็นเขาทําแคน ก็
ซื้อมาขาย ปรากฏวา ขายดี จงึ คดิ ทําเองโดยไปหัดทาํ จากแหลง ผลิตที่จังหวัดรอ ยเอ็ด แลวมาทําเอง นายลา
ไพรสน ไดย ึดอาชีพเปนชางทําแคน ซ่ึงเปนหัตกรรมเครื่องไม หรือผลิตภัณฑเคร่ืองดนตรีพื้นบานเปน
ผลิตภณั ฑท ีม่ ีคุณคาเปน ภูมปิ ญ ญาทอ งถนิ่ ซง่ึ เปน กรรมวธิ ีในการผลิต ยงั ใชวิธกี ารพืน้ บา น ทาํ ดว ยความ
ปราณตี สวยงาม เสียงเพราะ มีใหเลอื กหลายแบบ ผลิตข้นึ เองจนเปนอาชพี หลกั จนถงึ ปจ จบุ ัน

บุคคลท่สี ามารถใชสตปิ ญญาของคนสัง่ สมความรู ประสบการณ เพ่ือการดาํ รงชพี และถายทอด
จากคนรุนหนง่ึ ไปสคู นอีกรนุ หน่ึง ดว ยวธิ ีการตา ง ๆ ท้งั ทางตรงและทางออ ม โดยรักษาคุณคาดั่งเดิมไว

118

อยางมเี อกลกั ษณ และมีศกั ดศิ์ รี ทุกคนจะมหี ลกั การแบบเดียวกนั คอื การสืบทอดเช่ือมโยงอดีตมาใชใน
ปจจุบัน แตจะมีวิธีการแตกตางกัน ไมมีรูปแบบหรือสูตรสําเร็จใด ๆ แตละทองถ่ินมีการเช่ือมโยง
หลากหลายแตกตางกันไป ตามสภาพของหมูบาน กอใหเกิดภูมิปญญาทองถิ่น เรียกวา “ปราชญ
ชาวบา น” หากมีการสบื ทอด และอนุรักษ สง เสริมอยางเปนระบบ ก็สามารถเพ่ิมคุณคาทางสังคม และ
เพ่มิ มูลคาทางเศรษฐกิจเพอื่ เปน การเพิ่มรายไดใ หแ กประชาชนไดอกี ทางหน่ึง

แคน เปนผลติ ภัณฑเ ครอื่ งดนตรพี น้ื บา น วสั ดทุ ใี่ ชในการผลิตเปนวัสดุธรรมชาติ หาไดจากปา
ใกลบาน จากการปลูกในทองถนิ่ และจากการซ้ือหาในทองถ่ินที่ใกลเคียง เชน ไมรวก ไมซาง ซึ่งเปน
พชื ตระกลู ไมไผ ขี้สทุ หรือชนั โรง หลาบโลหะ ไมเ นื้อแขง็ (สาํ หรบั ทําปลองแกนกลาง) ขื่อกลาง (ทํา
ดว ยไมไผสีสกุ ), หนิ ฟลอไรท (สําหรบั ทาํ รอบล้นิ )

การถายทอดการเรียนรู

1. สอนบตุ รหลานในครอบครวั

2. เปน วทิ ยากรภายนอก สอนดา นการทาํ แคน และการเปาแคนใหกบั นกั เรยี นในโรงเรียน และ

ผูที่สนใจในตําบลนครชุม และตําบลใกลเคียงในเขตอําเภอเมืองกําแพงเพชร จังหวัด

กําแพงเพชร

ราคาในการจาํ หนาย
แคนลูกทุง (แคนเลก็ ) อันละ 1,200 บาท
แคนลาว (แคนใหญ) อันละ 1,500 บาท
การผลติ จะทาํ ไดอ าทิตยละ 1 อัน รายไดเฉลี่ยตอป ประมาณ 30,000 – 40,000 บาทตอป

สถานทีส่ อบถามขอมลู
มีจําหนายที่บานลุงลา ไพรสน เลขที่ 45 หมูที่ 9 บานทุงเศรษฐี ตําบลนครชุม อําเภอเมือง

กาํ แพงเพชร จังหวดั กําแพงเพชร
ตดิ ตอ ไดท ท่ี าํ การกลุมทาํ แคน 78 บา นทาเรอื หมู 1 ตาํ บลทาเรือ อําเภอนาหวา (เจา หนาท่ี นายสุกร

ชัยบิน โทร.0-4259-7532, 0-6218-2817 )

119

อาชีพการผลิตกลองแขก

กลองแขก เปนเครอ่ื งดนตรปี ระเภทเคร่อื งตี ท่ีมรี ปู รา งยาวเปน รปู ทรงกระบอก ขนึ้ หนงั สองขาง
ดว ยหนงั ลูกววั หรือหนงั แพะ หนา ใหญ กวางประมาณ 20 เซนติเมตร เรยี กวา หนา ลุย หรือ "หนามดั "
สวนหนา เล็กกวางประมาณ 15 เซนติเมตร เรยี กวา หนา ตานหรอื "หนาตาด" ตวั กลองหรือหุนกลอง
สามารถทําข้นึ ไดจากไมห ลายชนดิ แตโ ดยมากจะนยิ มใชไ มเน้อื แขง็ มาทําเปนหนุ กลอง เชน ไมชิงชนั ไม
มะรดิ ไมพยงุ กระพเี้ ขาควาย ขนนุ สะเดา มะคา มะพรา ว ตาล กามปู เปนตน ขอบกลองทาํ มาจากหวาย
ผาซกี โยงเรยี งเปนขอบกลองแลวมว นดว ยหนังจะไดข อบกลองพรอมกับหนากลอง และถูกขึงใหต ึงดว ย
หนงั เสนเลก็ เรียกวา หนงั เรยี ดเพ่อื ใชใ นการเรงเสียงใหหนา กลองแตล ะหนาไดเ สยี งที่เหมาะสมตาม
ความพอใจ กลองแขกสํารบั หนง่ึ มี 2 ลูก ลกู เสียงสงู เรียก ตวั ผู ลูกเสยี งตา่ํ เรยี ก ตวั เมีย ตดี ว ยฝา มอื ทง้ั
สองขา งใหส อดสลบั กันทั้งสองลกู

ลักษณะเสยี ง
กลองแขกตัวผู มีเสียงท่ีสูงกวากลองแขกตัวเมียโดย เสียง "ติง" ในหนามัด และเสียง โจะ ใน

หนา ตาด
กลองแขกตัวเมีย มีเสียงที่ต่ํากวากลองแขกตัวผู โดย เสียง ทั่ม ในหนามัด และเสียง จะ ใน

หนาตาด

วิธกี ารบรรเลง
การบรรเลงน้นั จะใชม ือตีไปท้งั สองหนา ตามแตจ งั หวะหรือหนาทับที่กําหนดไว ในหนาเล็กหรือ

หนาตาด จะใชนว้ิ ช้หี รอื นวิ้ นางในการตี เพ่อื ใหเกดิ เสียงท่เี ล็กแหลม ในหนามัดหรือหนาใหญ จะใชฝา

120

มอื ตีลงไปเพอ่ื ใหเ กดิ เสียงที่หนกั และแนน ซึ่งมีวธิ กี ารบรรเลงท่ลี ะเอียดออนลงไปอีกตามแตกลวิธีท่ีครู
อาจารยแ ตละทา นจะชี้แนะแนวทางการปฏิบตั ิ

บุคคลทป่ี ระสบความสาํ เรจ็ ในการทํากลองแขก
ครูเสนห ภักตรผ อง

เครอ่ื งดนตรีไทยเปน มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ อันแสดงออกถึงภูมิปญญาต้ังแตอดีตของ
บรรพบรุ ุษไทยทสี่ ืบทอดมาจนถงึ ปจ จุบัน ตามหลักฐานทางประวัติศาสตรตั้งแตสมัยสุโขทัย ไดมีการ
กลาวถงึ การบรรเลงดนตรี และเคร่อื งดนตรีไวในศลิ าจารกึ ใหเ ราทราบไดถ ึงความเจรญิ รงุ เรอื งในอดีต
กาลวาการรองรําทําเพลงหรือความเปนคนเจาบทเจากลอน มีสํานวนโวหารท่ีคนไทยซึมซับอยูใน
สายเลือด เปนความละเมียดละไม เสนหแหงวิถีชีวิตแบบไทย ที่เปนเอกลักษณซึ่งชาวไทยสามารถ
กลา วอา งไดอยางภาคภูมิใจ

ครูเสนห ภักตรผอง เปนชางทํากลองแขกที่มีฝมือ ดวยกรรมวิธีแบบโบราณที่เปน
เอกลักษณซึ่งตางจากชางคนอ่ืน ๆ กลาวคือ เปนข้ันตอนการทํามือทุกอยาง โดยไมใชเคร่ืองทุนแรง
สมยั ใหม อกี ทง้ั รปู ลักษณข องกลอง กส็ วยงามพิถพี ถิ นั ในรปู ทรงสดั สวนและมีเสียงเหมาะสมพอดีทุก
เสียง เพราะวัสดุที่นํามาใชลวนเลือกสรรมาจากธรรมชาติ เชนขอบกลองทําจากไมไผขด ตางกับ
ปจ จบุ ันทใ่ี ชพ ลาสติก หรอื ไมกลงึ ทาํ ใหมีผลตอคณุ ภาพของเสียง

สดั สวนและองคป ระกอบของกลองแขก มดี งั ตอไปนี้
1. หุนกลอง ทาํ ดว ยไมเ น้ือแขง็ เชน พะยูง ชงิ ชนั ประดู และอ่นื ๆ นาํ มากลงึ และควา น
มรี ปู รา งยาวเปนทรงกระบอกความยาว 24 นว้ิ ปากกลองหนาใหญก วา ง 8.5 นว้ิ เรียกวา หนารุย หนา
เลก็ กวาง 7.5 นิ้วเรียกวา หนาตาน ความปอ งของกระพุง 10.5 น้วิ โดยนบั จากปากหนา ลุยลงมา 8 นว้ิ
อนั เปนเอกลักษณของครู เสนห ภกั ตรผอ ง คอื ไมปอ งมาก เมือ่ ข้นึ หนา กลองแลวจะดสู มสวน
2. ขอบกลอง ทาํ ดวยไมไผขด พันทับดวยหวาย แตปจจุบันเปลี่ยนมาใชเสนพลาสติกแข็ง
แทน โดยจักเปน เสน เล็ก ๆ พันหมุ ขอบไมไผที่ขดไว ขอบหนาใหญกวาง 9 น้ิว หนาเล็ก 8 น้ิว พันหุม
ขอบดวยหนงั ววั ทั้ง 4 หนา เม่อื หมุ หนงั แลวเรียกวาหนากลองโดยเนนใหขอบกระชับกับปากของหุน
กลองไมแ บะอา อันเปน กรรมวิธีที่เปนภูมิปญญาของครู เสนห เพราะขอบกลองที่กอดกระชับกับหุน
กลอง จะชวยใหเสยี งกลองดังกังวานขนึ้
3. หนังเรียด ทําจากหนังควายที่มีความหนาประมาณ 2 – 3 มิลลิเมตร นํามาตัดเปน
เสน ความกวาง 4 หุน ความยาว 12 เมตร โดยกรรมวิธีโบราณ คือใชมีดตัดดวยมือ ตางจากการใช
เครื่องชกั เรียดทีช่ า งสวนใหญใ ชใ นปจ จุบัน และเอกลกั ษณข องครเู สนหค อื หนงั เรยี ดท่ีเสนไมโตมากทํา
ใหสาวเรงเสียงไดงายและรักษาหนากลองไมใหขาดเร็ว โดยเฉพาะหนาตานท่ีใชหนังบาง
จะมีอายกุ ารใชงานยาวนานขนึ้

121

4. หชู อ ง คือสว นของการผูกปมหนงั ชวงตน และปลายโดยการนาํ หนังเรียดท่ีเหลือมาขดแลว
ผูกเขากับหวงเหล็กอันนับเปนเอกลักษณของกลองแขกครูเสนห เพ่ือความสวยงามในการเก็บ
หนงั ในขณะทกี่ ลองแขกของชา งอืน่ มักใชก รรมวธิ ีผูกหนังเปนปมแทนการใชหวง การขดวงหนังเขา
ในหูชอ งขึ้นอยกู ันหนงั ทเ่ี หลอื จากการสาวกลองแลว แตไ มควรใหยาวจนเกินไป ประมาณไมเกิน 2 ฟุต
เม่ือมวนเก็บเปนวงกลมจะดูสวยงาม

กรรมวิธใี นการทํากลองแขก มี 5 ขั้นตอนคือ
1. การทาํ ขอบกลองดว ยไมไผ
2. การมวนหนากลอง
3. การตดั หนงั เรียด
4. การขนึ้ กลอง
5. การสาวกลอง
ข้ันตอนทีส่ าํ คญั ไดแก การทําขอบและการมว นหนา กลอง
เอกลกั ษณข องกลองแขกมีดงั น้ี
1. รูปทรงสวยงามไดสัดสวนพอเหมาะ
2. เสยี งดงั กังวานทุกเสยี งถกู ตอ งตามความนยิ ม
3. ทนทานไมข าดงายมีอายุการใชง านยาวนาน

ตอ งการทราบขอ มูลเพมิ่ ไดท ่ี อาจารยภูมิใจ รืน่ เริง
โทร.086-3385304 e-mail : [email protected]

ตัวอยางราคากลองแขก
กวาง 30 เซนตเิ มตร ยาว 30 เซนตเิ มตร สงู 65 เซนตเิ มตร
ราคาขายปลกี 1,600 บาท

สถานที่จําหนา ย
กลมุ อาชีพทาํ กลอง
46 หมู 6 บานปากนํ้า ตาํ บลเอกราช อาํ เภอปา โมก จังหวัดอา งทอง รหสั ไปรษณีย 14130
ติดตอ : คุณเฉลมิ เผา พยัฆ
โทร : 035 661914, 035 661309, 08 1734 1406, 08 1899 5077, 08 1587 4841

122

ชางทาํ เครือ่ งดนตรีไทย
กรงุ เทพมหานคร มีแหลง ซ้ือขายเครื่องดนตรีไทย อยมู ากมาย มีทั้งรานขายปลีก และรา นขายสง

เชน ศกึ ษาภณั ฑพ าณิชย ถนนราชดาํ เนนิ และ ถนนลาดพรา ว รานสยามวาทิต ถนนอรุณอัมรินทร รานดุ
ริยบรรณ ถนนสโุ ขทัย หางพัฒนศิลปการดนตรีและละคร ถนนสามเสนบางกระบือ รานภมรรุงโรจน
สาขาเซ็นทรัลปนเกลา รานจิหรรษา ดิโอลดสยามพลาซา รานสมชัยการดนตรี ซอยวัดยางสุทธาราม
ถนนพรานนก ใกลสามแยกไฟฉาย นอกจากนน้ั จะมีอยทู ีย่ า นเวิง้ นาครเขษม ยา นหลังกระทรวงกลาโหม
ถนนอัษฎางค ริมคลองหลอด ยา นสวนจตุจกั ร เปน ตน
ท่ีอยูของชา งทําเครอื่ งดนตรใี นเขตกรงุ เทพมหานคร

นายสมชัย ขาํ พาลี 795/3 ซอยวัดยางสุทธาราม ใกลสามแยกไฟฉาย ถนนพรานนก แขวงบาน
ชา งหลอ เขตบางกอกนอ ย กรงุ เทพมหานคร 10700 โทร 4112528 ทาํ การผลิต เครื่องดนตรีไทยทุกชนิด
ขายสง และปลกี มีโรงงานอุตสาหกรรมเครอ่ื งดนตรที ่จี งั หวดั กาญจนบุรี และ เปด กจิ การราน "สมชัยการ
ดนตรี" ดว ย

1. นายจํารัส (ชางนพ) สุริแสง 30 ซอยชัยวัฒนะ ถนนวุฒากาศ แขวงบางคอ เขตบางขุน
เทยี น กรงุ เทพมหานคร โทร 4771359 ทาํ การผลติ ซอดวง รูปสวย คณุ ภาพดี มสี ลักชอื่ "ชางนพ" ฝงไว
ดวย

2. นายวินิจ (ชา งเลก็ ) พุกสวัสด์ิ 478/1 หมู 10 ซอยเพชรเกษม 67 ถนนเพชรเกษม แขวงบาง
แค เขตบางแค กรุงเทพมหานคร 10160 โทรศัพท 4215699 01 - 8277718 ทําการผลิต ขิมตอลายไม
จะเข ซอดวง ซออู และ ขลยุ ปรบั เสียง
จังหวัดนนทบรุ ี

1. นางองุน บัวเอี่ยม 81/1 ซอยม่ิงขวัญ 5 ถนนติวานนท 2 ตลาดขวัญ อําเภอเมือง จังหวัด
นนทบรุ ี โทรศพั ท 5261352 ทําการผลิต องั กะลงุ

2. นายพัฒน บวั ท่ัง 49/2 หมู 5 รานดุริยศัพท ถนนประชาราษฎร ตําบลตลาดขวัญ อําเภอ
เมอื ง จงั หวดั นนทบรุ ี 11000 ทําการผลติ องั กะลงุ ขิม ฆอง
จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา

1. นายสมบญุ เกิดจนั ทร 34 หมู 7 ต.พระขาว อาํ เภอบางบาล จังหวดั พระนครศรีอยุธยา ทาํ การ
ผลิต และ ตกแตง เครื่องปพ าทยม อญ ลงรกั ปด ทอง ปดกระจก และ ขบั รอ ง

2. นายประหยัด (ลุงตอ) อรรถกฤษณ 48/12 หมู 2 ตําบลทาวาสุกรี อําเภอเมือง จังหวัด
พระนครศรีอยธุ ยา โทรศัพท 035 - 243552 ทําการผลิต หนังเพอื่ ขายสงตอ ข้นึ หนา กลอง
จงั หวดั สุพรรณบุรี

1. นายชวน บญุ ศรี 87 หมู 1 ต.ตะครา อําเภอบางปลามา จงั หวดั สุพรรณบุรี โทรศัพท 035 -
587843 ทาํ การผลติ องั กะลงุ และ ทาํ ผนื ระนาด

123

จงั หวดั เพชรบรุ ี
1. นายลภ ปญ ญาสาร 50 หมู 1 ตาํ บลหวยโรง อําเภอเขายอย จังหวดั เพชรบรุ ี ทาํ การผลิต กลอง

ยาว กลองทดั กลองแขก กลองตุก โทน รํามะนา เปง มาง ตะโพน
จังหวัดนครปฐม

1. นายสวาท ม่ันศรจี ันทร 26/37 ตําบลบางแขม อําเภอเมือง จงั หวัด นครปฐม 73110 โทรศัพท
034 - 272881 ทําการผลิต ผนื ระนาดเอก ระนาดทุม

2. นายเชาว ชาวนาเปา 23/1 ม 6 ตําบลทาตลาด อําเภอสามพราน จังหวัด นครปฐม 73110
โทรศัพท 034 - 321231 ทาํ การผลิต ซอสามสาย ซอดว ง ซออู ผลติ จากไมและงา
จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา

1. นายประหยดั จาบกุล 121 หมู 13 ตําบลดงนอย อาํ เภอราชสาสน จ. ฉะเชิงเทรา ทําการผลิต
ผนื ระนาดเอก ผืนระนาดทมุ

2. นายทอง อยูสิทธิ 1 หมู 4 ตําบลหัวลําโพง อําเภอแปลงยาว จังหวัดฉะเชิงเทรา โทรศัพท
038- 853326 ทาํ การผลติ ผืนระนาดเอก ผืนระนาดทุม
จังหวดั นครนายก

1. นายพิบลู ย (เกง) นิลวิไลพนั ธ 42/1 หมู 8 ตาํ บลศรนี าวา อําเภอเมอื ง จงั หวดั นครนายก 26000
โทรศพั ท 037 - 313261 ทาํ การผลิต หลอลูกฆอ ง ไทย มอญ จําหนา ยรา นฆอ ง
จังหวัดพษิ ณโุ ลก

1. นายพลอย อ่าํ คมุ 215 หมู 6 ตําบลหัวรอ อาํ เภอเมอื ง จงั หวดั พิษณโุ ลก 65000 โทรศพั ท 055-
213166 ทําการผลติ ซอดวง ซออู
จงั หวัด รอ ยเอด็

1. นายเคน สมจินดา 39 หมู 5 ตําบลศรีแกว อําเภอเมือง จังหวัดรอยเอ็ด 45000 โทรศัพท 01-
4180241 ทําการผลิต แคน มชี ือ่ เสียงมาก (พอ เคน ทาํ แคน) เคยไปสาธติ ท่ีอเมริกา
จังหวัด กาฬสินธุ

1. นายเปล้อื ง ฉายรศั มี (ศิลปนแหงชาติ) 229/4 ถนนเกษตรสมบูรณ ตําบลกาฬสินธุ อําเภอ
เมือง จหวัดกาฬสินธุ 46000 โทรศัพท 043 - 820366 ทําการผลิต พิณ โปงลาง พิณเบส หมากกะโลง
โปงลางเหล็ก โปงลางไมไผ และ ทาํ การสอนท่วี ทิ ยาลัยนาฎศิลปกาฬสนิ ธุ
จังหวัดสงขลา

1. นายอรุณ บันเทิงศิลป 24/1 หมู 1 ตําบลคลองอูตุเภา อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา
ทําการผลิต โหมง ฟาก และ รางโหมง

2. นายธรรม ทองชุมนุม 695 หมู 2 ถนนรัตภูมิ ตําบลควนเนียง อําเมืองควนเนียง
จังหวดั สงขลา ทําการผลิต กลองยาว และ กลอง

124

จงั หวดั เชยี งใหม
1. นายบุญรัตน ทิพยรัตน 108 หมู 10 ซอยชมจันทร ถนนเชียงใหม ฮอด ตําบลปาแดด

อ.เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50100 โทรศัพท 053-281917 ทําการผลิต เคร่ืองสายไทยทุกชนิด เคร่ือง
ดนตรีพื้นเมืองเหนือทุกขนิด บัณเฑาะว กระจับป (สัดสวนแบบโบราณ) พิณเปยะ พิณนํ้าเตา ทําซอสาม
สายกะลาดัด ขึ้นหนา ซอดว ยหนงั แพะ และรับซอ ม

2. นายวเิ ทพ กันทิมา 106 หมู 20 บานน้าํ โทง ตาํ บลสบแมขา อาํ เภอหางดง จังหวัดเชยี งใหม
50200 หรือ วทิ ยาลัยนาฎศิลปเชียงใหม ถนนสุริยวงศ ตําบลหายยา อําเภอเมือง โทรศัพท 053-271596
ทําการผลติ เครอ่ื งสายไทยทกุ ชนดิ และเครอื่ งดนตรีพ้นื เมอื ง
จังหวดั ลําพูน

1. พอหลวงป สิทธิมา 49 หมู 10 หมูบานนํ้าเพอะพะ ตําบลสายหวยกราน-หนองปลาสวาย
อาํ เภอบานโฮง จงั หวัดลําพูน 51130 โทรศพั ท 053-591330 ผลิต กลองหลวง กลองสบสัดชัย กลองปูเจ
รบั ทําหนา กลอง ฉาบ ฉ่งิ ฆอ ง
จงั หวดั ลําปาง

1. นายมานพ ปอนสืบ 833/1 หมู 5 บานแมทะ ตําบลทุงฝาย อําเภอเมือง จังหวัดลําปาง
โทรศัพท 054-358483 ผลติ ขมิ สาย

กิจกรรมทา ยบท
ผลการเรยี นรูท ่คี าดหวัง
อธิบายและบอกแนวทางการประกอบอาชีพการผลติ เคร่อื งดนตรีพืน้ บานได
คาํ ชี้แจง ใหผเู รียนอธบิ ายคาํ ถามตอ ไปน้ี
1. อธิบายขน้ั ตอนแนวทางการประกอบอาชพี การผลิตขลุย
2. อธบิ ายขนั้ ตอนแนวทางการประกอบอาชีพการผลติ แคน
3. อธิบายขนั้ ตอนแนวทางการประกอบอาชพี การผลติ กลองแขก

125

บรรณานกุ รม

จีรพนั ธ สมประสงค. ศิลปะกบั ชีวิต. กรุงเทพฯ, เทเวศรสเตชนั้ เนอร, 2515.
ชลิต ดาบแกว . การเขยี นทัศนียภาพ. กรุงเทพฯ, โอเดียนสโตร, 2541.
ชน้ิ ศลิ ปะบรรเลง และวเิ ชยี ร กลุ ตัณฑ. ศลิ ปะการดนตรีและละคร. พระนคร, กรมสามัญศกึ ษา,

2515.
ทวีศักดิ์ จรงิ กิจและคณะ. พัฒนาทักษะชวี ติ 2. กรุงเทพฯ, วฒั นาพานิช สาํ ราญราษฏร, 2544.
ธนติ อยูโพธ.์ิ ศลิ ปะละครรํา. กรุงเทพฯ, ชุมนุมสหกรณ และการเกษตรแหงประเทศไทย, 2531.
ประติมากรรมเพือ่ ประโยชนใ ชสอย. สารานุกรมไทยสาํ หรับปวงชน. เลมที่ 14, กรงุ เทพมหานคร.
ภูมปิ ญญาทองถนิ่ ไทย กรมทรัพยสนิ ทางปญญา. นนทบุรี.
ยศนันท แยม เมือง และคณะ. ทศั นศลิ ป. พิมพค รัง้ ที่ 1, กรงุ เทพมหานคร. ไทยวฒั นาพานชิ , 2546.
วชิ าการ, กรม. ทฤษฏีและปฏบิ ตั กิ ารวิจารณศ ลิ ปะ. กรงุ เทพฯ, องคการคาของครุ ุสภา, 2532.
สชุ าติ เถาทอง และคณะ. ศิลปะทัศนศลิ ป. กรงุ เทพฯ, อกั ษรเจรญิ ทัศน, 2546
อภศิ ักด์ิ บญุ เลิศ. วาดเขยี น. กรงุ เทพฯ, โอเดยี นสโตร, 2541.
อาภรณ อินฟาแสง. ประวตั ิศาสตรศลิ ป. กรงุ เทพฯ, เทเวศรสเตชัน่ เนอรร,่ี 2512
อาภรณ อินฟา แสง. ทฤษฎสี .ี กรงุ เทพฯ, เสริมสนิ , 2510.

126

คณะผจู ดั ทาํ

ท่ปี รึกษา

1. นายประเสรฐิ บญุ เรือง เลขาธิการ กศน.
รองเลขาธิการ กศน.
2. ดร.ชยั ยศ อมิ่ สุวรรณ รองเลขาธิการ กศน.
ทป่ี รกึ ษาดา นการพัฒนาหลักสตู ร กศน.
3. นายวัชรินทร จาํ ป ผูอํานวยการกลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

4. ดร.ทองอยู แกว ไทรฮะ ขาราชการบํานาญ
กศน. เฉลมิ พระเกรี ยติ จ.บรุ รี มั ย
5. นางรักขณา ตัณฑวุฑโฒ สถาบนั กศน. ภาคใต
สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก
ผเู ขียนและเรียบเรยี ง สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก
กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
1. นายจาํ นง วนั วชิ ยั คณะเลขานกุ าร

2. นางสรญั ณอร พัฒนไพศาล กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
3. นายชยั ยนั ต มณสี ะอาด กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน

4. นายสฤษดิช์ ัย ศิริพร กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
5. นางชอทพิ ย ศิรพิ ร กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
6. นายสรุ พงษ มน่ั มะโน

7. นายศุภโชค ศรรี ตั นศลิ ป

ผูบรรณาธกิ าร และพฒั นาปรบั ปรงุ

1. นายววิ ฒั นไ ชย จันทนส คุ นธ

2. นายสุรพงษ มั่นมะโน

3. นางจุฑากมล อนิ ทระสันต

คณะทํางาน

1. นายสุรพงษ มัน่ มะโน

2. นายศภุ โชค ศรรี ตั นศลิ ป

3. นางสาววรรณพร ปทมานนท

4. นางสาวศรญิ ญา กุลประดษิ ฐ

5. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจติ วัฒนา กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

ผูพมิ พต นฉบบั

นางสาวเพชรินทร เหลืองจิตวัฒนา กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
ผูอ อกแบบปก

นายศุภโชค ศรีรตั นศิลป

127

ผูพัฒนาและปรบั ปรุงครัง้ ท่ี 2

คณะทป่ี รึกษา บญุ เรอื ง เลขาธกิ าร กศน.
อม่ิ สวุ รรณ รองเลขาธกิ าร กศน.
นายประเสริฐ จาํ ป รองเลขาธกิ าร กศน.
นายชัยยศ จนั ทรโอกุล ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดา นพัฒนาสอื่ การเรียนการสอน
นายวชั รนิ ทร ผาตนิ ินนาท ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานการเผยแพรทางการศกึ ษา
นางวทั นี ธรรมวธิ กี ลุ หวั หนา หนวยศกึ ษานเิ ทศก
นางชลุ พี ร งามเขตต ผอู าํ นวยการศกึ ษานอกโรงเรียน
นางอัญชลี
นางศุทธินี

ผพู ัฒนาและปรบั ปรงุ คร้ังที่ 2

นายสรุ พงษ ม่ันมะโน กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
นายศภุ โชค ศรรี ตั นศิลป กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
นายกติ ติพงศ จนั ทวงศ กลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

นางสาวผณนิ ทร แซอง้ึ

นางสาวเพชรนิ ทร เหลืองจิตวัฒนา

128

คณะผปู รบั ปรุงขอ มลู เกย่ี วกับสถาบันพระมหากษตั รยิ ป  พ.ศ. 2560

ทีป่ รกึ ษา จําจด เลขาธกิ าร กศน.
หอมดี ผตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ
1. นายสรุ พงษ ปฏิบัติหนา ทร่ี องเลขาธิการ กศน.
2. นายประเสริฐ สุขสเุ ดช ผูอาํ นวยการกลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
3. นางตรีนชุ

ผูป รบั ปรงุ ขอมลู

นายศภุ โชค ศรรี ัตนศิลป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั

คณะทาํ งาน

1. นายสรุ พงษ มน่ั มะโน กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
2. นายศภุ โชค ศรรี ัตนศิลป กลมุ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
3. นางสาวเบ็ญจวรรณ อาํ ไพศรี กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
กลมุ พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
4. นางเยาวรตั น ปนมณีวงศ กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
5. นางสาวสลุ าง เพ็ชรสวา ง

6. นางสาวทพิ วรรณ วงคเ รอื น

7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน

8. นางสาวชมพนู ท สังขพ ชิ ัย


Click to View FlipBook Version