The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การนิเทศเพื่อพัฒนาครู กศน. ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebookcha, 2020-04-30 22:46:13

การนิเทศเพื่อพัฒนาครู กศน. ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

การนิเทศเพื่อพัฒนาครู กศน. ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

การนิเทศเพ่ือพัฒนา ครู กศน. ตาบล โดยการสร้างชุมชนการเรยี นรูท้ างวชิ าชพี
ในการจัดการเรยี นรู้ทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคญั

จรสั ศรี หวั ใจ
ศกึ ษานิเทศก์ ชานาญการพเิ ศษ

สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

สานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
กระทรวงศึกษาธกิ าร

บทคดั ย่อ

ชือ่ งานวิจัย : การนิเทศเพื่อพฒั นา ครู กศน. ตาบล โดยการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ใน
การจัดการเรียนรู้ทเ่ี นน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ

ชอื่ ผ้วู จิ ยั : นางสาวจรสั ศรี หัวใจ
ตาแหน่ง : ศึกษานเิ ทศก์ (ชานาญการพเิ ศษ)
การศึกษาสงู สดุ : ปรชั ญาดุษฎบี ัณฑิต (การวิจยั การศกึ ษา)
สถานท่ีติดต่อ : สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด
ฉะเชิงเทรา เลขท่ี 283 ถนน ศุขประยูร ตาบล หน้าเมือง อาเภอ เมือง จังหวัดฉะเชิงเทรารหัสไปรษณีย์
24000 โทรศพั ท์ 038-981622 โทรสาร 038-981620
โทรศัพท์เคล่ือนท่ี 086-3039752 E-mail : [email protected]
ระยะเวลาในการทาวจิ ัย : พ.ศ. 2557-2559

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) ปฏิบัติการนิเทศตามกระบวนการนิเทศเพื่อพัฒนาครู กศน.
ตาบล โดยการสรา้ งชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 2) ศึกษาผลท่ี
เกิดกับครู กศน. ตาบล และผู้เรียน จากการปฏิบัติการนิเทศตามกระบวนการนิเทศ ประชากร คือครู กศน.
ตาบล จานวน 68 คน กลุ่มตัวอย่างคือครู กศน. ตาบล จานวน 21 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง ผู้เรียน
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จานวน 1,260 คน กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง จานวน 297 คน โดยการสุ่มอย่างง่าย
เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการวิจัย ไดแ้ ก่ แบบทดสอบ แบบนิเทศ แบบประเมินตนเองของครู กศน.ตาบล แบบสอบถาม
ความคิดเห็นของผู้เรียน การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการทดสอบความรู้ ประเมินตนเองของครู กศน. ตาบล
ก่อน-หลังการพัฒนา รวบรวมข้อมูลจากการนิเทศ และข้อมูลจากการสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียน สถิติที่
ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลเชิงปริมาณใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีความสอดคล้อง ค่าอานาจจาแนกรายข้อ ค่าความยากง่าย ค่าความเช่ือม่ัน ส่วน
การวิเคราะห์เชิงคณุ ภาพ ใช้การวิเคราะห์เชงิ เนอื้ หา

ผลการวจิ ยั พบวา่
1. การนิเทศเพื่อพฒั นาครู กศน. ตาบล โดยการเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในการ
จัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ทาให้ครู กศน. ตาบล มีความรู้ สามารถจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญโดยการอบรม ได้ตามมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ของการประกันคุณภาพการศึกษา และมีการพัฒนาตนเอง
พฒั นาการคณุ ภาพการจดั การเรยี นรู้ที่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคญั
2. ผลการจัดการเรียนรทู้ ี่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั ของครู กศน. ตาบล ท่เี กิดกับผ้เู รยี น พบว่า ผู้เรียน
ได้เรยี นรูจ้ ากการปฏบิ ตั ิ การใชก้ ระบวนการคดิ การใช้กระบวนการกลมุ่ การนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ตรงกบั
หลกั การ แนวทางการจัดการเรยี นรทู้ ีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ ซึ่งรวบรวมผลจากการบันทึกหลังการจดั การเรยี นรู้
ของครู กศน. ตาบล ผ้เู รยี นมีความคดิ เห็นต่อการจัดการเรียนรู้ที่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั ของครู กศน. ตาบล ใน
ภาพรวมอยู่ในระดับมาก

ข

สารบัญ

บทคดั ยอ่ .................................................................................................................................................. ก
สารบญั ..................................................................................................................................................... ข
หลักการความเป็นมา และความสาคัญของปัญหา .................................................................................... 1
แนวคดิ /ทฤษฎี ......................................................................................................................................... 3
กรอบแนวคดิ การวิจัย ............................................................................................................................. 19
วัตถุประสงค์การวิจัย .............................................................................................................................. 20
ตวั แปรและนิยมตัวแปร .......................................................................................................................... 20
ประชากร................................................................................................................................................ 21
กลุ่มตวั อยา่ ง........................................................................................................................................... 21
เครอื่ งมือวจิ ัย.......................................................................................................................................... 21
การสรา้ งและหาคุณภาพเครอื่ งมอื .......................................................................................................... 22
การเก็บรวบรวมข้อมลู ............................................................................................................................ 24
การวเิ คราะหข์ อ้ มูล ................................................................................................................................. 26
สถติ ิทใี่ ชใ้ นการวิเคราะหข์ ้อมูล................................................................................................................ 26
ผลการวจิ ยั ............................................................................................................................................. 27
อภิปรายผล............................................................................................................................................. 32
ขอ้ เสนอแนะ........................................................................................................................................... 33
การนาผลการวจิ ยั ไปใช้........................................................................................................................... 34
บรรณานกุ รม.......................................................................................................................................... 35
ภาคผนวก............................................................................................................................................... 37

หลกั การความเปน็ มา และความสาคัญของปญั หา

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติมฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2545 ฉบับ
ท่ี 3 พ.ศ. 2553 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษาจะต้องยึดหลักว่า “ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้
และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด”กระบวนการจัดการศึกษา ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน
สามารถพัฒนาตามธรรมชาตแิ ละเต็มศักยภาพ การจัดการเรียนการสอนให้ความสาคัญทั้งความรู้ กระบวนการ
เรียนรู้ และคุณธรรม จัดให้มีการประเมินผลการเรียนตามสภาพจริง โดยพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน
ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ การรว่ มกิจกรรม และการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรียน
การสอน ครูจะตอ้ งพัฒนากระบวนการเรยี นการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทงั้ สามารถวิจยั เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้
ทีเ่ หมาะสมกับผเู้ รียน (สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาแห่งชาติ. 2553)

การจัดการเรียนการสอนของครู โดยเน้นกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ ยึดผู้เรียนเป็นตัวต้ัง คานึงถึงความเหมาะสมกับผู้เรียน และประโยชน์สูงสุดที่ผู้เรียนจะได้รับ (ทิศนา
แขมมณี. 2551) เป็นกระบวนการพัฒนาผู้เรียน ด้วยการยึดผู้เรียนเป็นแกนกลางตามความต้องการและความ
สนใจของผเู้ รียน ให้มีส่วนร่วมรู้ ร่วมคิด ร่วมกระทา ผู้สอนทาหน้าท่ีวางแผนกิจกรรมและกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้ ส่งเสริมความคิดและอานวยความสะดวกให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองอย่างเต็มที่ (ศิริชัย กาญจนวาสี.
2547) มีแนวการจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนสร้างความรู้ใหม่ และประดิษฐ์สิ่งใหม่ โดยการใช้
กระบวนการทางปัญญา (กระบวนการคิด) กระบวนการทางสังคม (กระบวนการกลุ่ม) ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์
และมีสว่ นรว่ มในการเรียน สามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้ เน้นการบูรณาการความรู้ในศาสตร์สาขาต่าง ๆ
ใช้หลากหลายวิธีการสอน หลากหลายแหล่งความรู้ สามารถพัฒนาปัญญาอย่างหลากหลาย คือพหุปัญญา
รวมทั้งเนน้ การวัดผลอยา่ งหลากหลายวิธี (พิมพันธ์ เดชะคปุ ต์. 2550)

สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดฉะเชิงเทรา
(สานักงาน กศน. จังหวัดฉะเชิงเทรา) มีบทบาทหน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุน วิจัย นิเทศติดตามประเมินผล
เพือ่ พัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาในสังกัด ซึ่งจากการ
นิเทศ ตดิ ตามประเมินผล การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา ท้ังจากการรายงานการประเมินตนเอง (SAR)
ของสถานศึกษา การประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด และการประเมินคุณภาพภายนอกเพ่ือรับรอง
มาตรฐานการศึกษา จากสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ด้านคุณภาพครู
คุณภาพและประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของครู พบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนของผู้เรียน อยู่ในระดับต่ากว่าเกณฑ์ ซึ่งปัญหาอุปสรรคในการจัดกระบวนการเรียนรู้ของครู ที่ส่งผลต่ อ
ผลสมั ฤทธ์ิของผูเ้ รยี น คือ ครูการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยตาบล (ครู กศน. ตาบล) ไม่จบวุฒิ
ทางการศึกษา แต่ตอ้ งสอนทุกวชิ า ประสบการณ์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรูย้ ังมีน้อย สว่ นปัญหาอุปสรรคด้าน
ผเู้ รียน คือเปน็ ผ้ทู ต่ี อ้ งประกอบอาชีพเพ่ือหาเลี้ยงชีพ ทาให้ไม่มีเวลาทบทวนบทเรียน ปัญหาอุปสรรคเหล่านี้ทา
ให้คุณภาพการจัดการศึกษามีคุณภาพในระดับพอใช้ ซ่ึงในการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษามีข้อเสนอแนะ

2

ว่า ควรจัดทาคู่มือการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญสาหรับครู ร่วมกับการนิเทศช่วยเหลือ ให้
คาปรึกษา เพอ่ื แกป้ ัญหาในด้านกระบวนการจดั การเรยี นรขู้ องครู (สานกั งาน กศน. จงั หวัดฉะเชงิ เทรา. 2556)

จากข้อเสนอแนะดังกล่าว สานักงาน กศน. จังหวัดฉะเชิงเทรา ได้จัดอบรมให้ความรู้แก่ ครู
กศน. ตาบล ในด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตามมาตรฐาน ตัวบ่งช้ีการประกันคุณภาพ
การศึกษา ส่วนการนิเทศการจัดการเรียนรู้หลังจากการอบรมให้ความรู้ พบสภาพปัญหาคือในแต่ละภาคเรียน
ไมส่ ามารถนิเทศการจดั การเรียนรู้ของครู กศน. ตาบลได้ครบทุกคน ทาให้ยังไม่สามารถแก้ไขปัญหาและพัฒนา
ครู กศน. ตาบลในการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญได้อย่างต่อเนื่อง รวมทั้งครู กศน. ตาบล มีความ
แตกต่างกันทั้งในด้านพ้ืนฐานความรู้และประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ ซ่ึงการนิเทศเพ่ือพัฒนาครู กศน.
ตาบล มีความสาคัญและจาเป็นมาก เนื่องจากการนิเทศจะช่วยปรับปรุงกระบวนการศึกษาให้มีคุณภาพ และ
เกิดความสูญเปล่าทางการศึกษาน้อยที่สุด การนิเทศจึงมีบทบาทสาคัญในการช่วยพัฒนาครูให้สามารถพัฒนา
งานการเรียนการสอนให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานมากที่สุด (ศรีสว่าง เลี้ยววาริณ. 2554) การนิเทศการสอน
คอื การใหค้ วามช่วยเหลือ แนะนา ให้ความรู้ และฝึกปฏิบัติ เป็นกระบวนการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างผู้นิเทศ
และครู เพ่ือที่จะพัฒนาหรือปรับปรุงคุณภาพการจัดการศึกษา และการจัดการเรียนการสอนของครู ท่ีส่งผล
โดยตรงต่อผลการเรียนรู้ของผู้เรียน (วัชรา เล่าเรียนดี. 2553) สอดคล้องกับผลการวิจัยของสมบัติ ศรีสุพัฒน์
(2556) ยุทธศาสตร์การนิเทศแบบสะท้อนกลับ เพื่อพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูโดยการใช้แนวคิดชุมชน
การเรยี นรเู้ พื่ออาชีพ Professional Learning Community (PLC) คือครูนาประสบการณ์ตรงจากการสอนมา
แลกเปลีย่ นเรียนรูก้ บั เพ่อื นครู ทาให้ครูมีพฤติกรรมการสอนท่ีเปล่ยี นไปในทางทีด่ ีข้นึ นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิสูงข้ึน
สามารถแก้ปัญหาการนิเทศท่ีไม่ต่อเน่ือง ลดภาระการนิเทศของศึกษานิเทศก์ และแก้ปัญหากับการเรียนการ
สอนในรายวิชาที่ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่า และสอดคล้องกับงานวิจัยของจุไรรัตน์ สุดรุ่ง (2559) การนิเทศ
แบบเพ่อื นช่วยเพื่อน: ทางเลอื กหนึ่งในการพัฒนาวชิ าชพี ครทู ย่ี ง่ั ยืน โดยเป็นการสง่ เสรมิ ให้ครูได้มีโอกาสร่วมกัน
แก้ปัญหา แบ่งปันประสบการณ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในศักยภาพที่แต่ละคนมี สร้างบรรยากาศในการทางานท่ีดี
เปน็ การพัฒนาวิชาชีพครดู ว้ ยการนเิ ทศทย่ี ั่งยนื และเป็นการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรูใ้ ห้เกิดข้นึ ในสถานศกึ ษา

จากความสาคัญ ปัญหาและข้อเสนอแนะของการนิเทศเพื่อพัฒนาครู กศน. ตาบลดังกล่าว
จาเป็นท่ีจะตอ้ งมกี ารพฒั นาครู กศน. ตาบล ในการจัดการเรียนรทู้ เ่ี น้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เน่ืองจากครูเป็นปัจจัย
สาคัญในการนาหลักสูตรสู่การปฏิบัติในชั้นเรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และเจคติ คุณลักษณะอันพึง
ประสงคต์ ามหลักสตู ร ซง่ึ การพัฒนาความรูพ้ ฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ของครู กศน.ตาบล ให้ได้ตามมาตรฐาน
ตัวบ่งช้ีในการประกันคุณภาพนั้น ผู้วิจัยซึ่งเป็นศึกษานิเทศก์ สังกัด สานักงาน กศน.จังหวัดฉะเชิงเทรา จึง
ตระหนักถึงความสาคัญของการนิเทศเพ่ือพัฒนาครู กศน. ตาบล ในการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
อย่างต่อเน่ือง โดยการเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ดังนั้นจึงได้ดาเนินการวิจัย การนิเทศเพื่อ
พัฒนาครู กศน. ตาบล โดยการเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรูท้ างวิชาชีพในการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคญั สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวัดฉะเชิงเทรา

3

แนวคิด/ทฤษฎี

แนวคดิ /ทฤษฎีท่ผี ู้วจิ ยั ได้ศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อ
วเิ คราะห์ สังเคราะห์ และบรู ณาการให้ไดก้ รอบแนวคดิ ของการวจิ ยั ในหวั ข้อตอ่ ไปนี้

1. การจดั การเรียนรู้ทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ
2. การนเิ ทศเพอ่ื พฒั นาครู พัฒนางาน และพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษา
3. ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC)
4. งานวิจัยท่เี ก่ยี วขอ้ ง
แนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจยั ท่เี ก่ยี วข้อง มรี ายละเอยี ดดงั นี้
1. การจดั การเรยี นรทู้ ี่เน้นผูเ้ รียนเปน็ สาคญั

ความหมายของการจดั การเรยี นรทู้ ่ีเนน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญ
ทิศนา แขมมณี (2547: 37) พิมพันธ์ เดชะคุปต์ (2550: 17) พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2555: 518) ให้ความหมายของการจัดการเรียนรู้หรือการจัดการเรียนการสอนที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ ที่มีความสอดคล้องกันคือ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นกระบวนการในการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่เน้นเร่ืองความแตกต่างระหว่างบุคคล ทาให้ครูต้องมีการวิเคราะห์ผู้เรียน เพื่อการ
ออกแบบการจัดการเรียนรู้ การใช้ส่ือการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผล ที่หลากหลาย สอดคล้องกับผู้เรียนใน
ด้านความสนใจ ความสามารถและความถนัด เพ่ือทาให้ผู้เรียนมีพัฒนาการทางการเรียนรู้ตามเป้าหมายและ
จุดประสงคก์ ารเรยี นร้ขู องหลักสตู ร
แนวคิด หลกั การจัดการเรยี นร้ทู ี่เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั
การจัดการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสาคัญเกิดขึ้นจากพ้ืนฐานความเชื่อที่วาการจัดการศึกษามี
เปาหมายสาคัญท่ีสุดคือ การจัดการใหผูเรียนเกิดการเรียนรูเพื่อใหผูเรียนแตละคนไดพัฒนาตนเองสูงสุด ตาม
กาลงั หรือศักยภาพของแตละคน แตเน่ืองจากผูเรียนแตละคนมีความแตกตางกัน ทั้งดาน ความตองการ ความ
สนใจ ความถนัดและยังมีทักษะพ้ืนฐานอันเปนเคร่ืองมือสาคัญที่จะใชในการเรียนรูอันไดแกความสามารถใน
การฟง พูด อาน เขียน ความสามารถทางสมอง ระดับสติปญญาและการแสดงผลของการเรียนรูออกมาใน
ลักษณะที่ตางกัน จึงควรมีการจัดการที่เหมาะสมในลักษณะท่ี แตกตางกัน ตามเหตุปจจัยของผูเรียนแตละคน
และผูท่ีมีบทบาทสาคัญในกลไกของการจัดการนี้คือครู แตจากขอมูลอันเปนปญหาวิกฤติทางการศึกษา และ
วิกฤติของผูเรียนที่ผานมาแสดงใหเห็นวาครูยังแสดงบทบาทและทาหนาท่ีของตนเองไมเหมาะสม จึงตอง
ทบทวน ทาความเขาใจ ซ่ึงนาไปสูการปฏิบัติเพื่อแกไขปญหาวิกฤติทางการศึกษา และวิกฤติของผูเรียน การ
ทบทวนบทบาทของครู ควรเรม่ิ จากการทบทวนและปรับแตงความคิด ความเขาใจเกี่ยวกับความหมายของการ
เรียน โดยตองถอื วา แกนแทของการเรียนคือการเรียนรูของผูเรียน ตองเปล่ียนจากการยึดวิชาเปนตัวตั้ง มาเป
นยึดมนุษยหรือผูเรียนเปนตัวต้ัง หรือที่เรียกวาผูเรียนเปนสาคัญ ครูตองคานึงถึงหลักความแตกตางระหวาง
บุคคลเปนสาคญั (พิมพันธ์ เดชะคุปต์. 2550)

4

ลกั ษณะของการจดั การเรียนรทู้ ี่เน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั
1. จัดตามความสนใจ ความสามารถ ตั้งแต่การร่วมกาหนดวัตถุประสงค์ เน้ือหา กิจกรรมการ
เรียนรู้ส่อื และการประเมินผล
2. จัดให้ผู้เรียนได้ลงมือทากิจกรรม ปฏิบัติ แก้ปัญหาหรือศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากส่ือเพื่อน
และครู
3. จัดใหผ้ ูเ้ รียนได้มีโอกาสฝึกทักษะตา่ ง ๆ เช่น ทักษะทางการคดิ วิเคราะห์ การสังเกต การทดลอง
ค้นควา้ การจดบันทกึ ตลอดจนการสังเคราะหก์ ารสรุปข้อความรตู้ า่ ง ๆ ของตนเอง
4. จัดใหผ้ ้เู รยี นได้มโี อกาสนาความรู้ทไ่ี ดไ้ ปใช้ให้เกดิ ประโยชน์ในชวี ิตประจาวัน
5. จัดให้ผู้เรียนได้มโี อกาสสรา้ งความสัมพันธ์ แลกเปลี่ยนความรู้ความคิดกับเพื่อน ๆ จากการทา
กจิ กรรมตา่ ง ๆ
แนวทางการจัดการเรยี นรู้ท่เี น้นผ้เู รียนเปน็ สาคัญ

การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (student centered instruction) ผู้สอนต้องจัด
สถานการณข์ องการเรยี นร้ทู ่ีใหผ้ ู้เรยี นมคี วามกระตือรอื ร้น (active) เข้าร่วมในกิจกรรมหรือกระบวนการเรียนรู้
ท้ังทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ทั้งน้ี มีแนวการจัดการเรียนรู้ ท่ีเชื่อว่าผู้เรียนจะเรียนรู้ได้
สงู สุด หากได้มสี ่วนรว่ มในการเรยี นอยา่ งกระตอื รอื ร้น ดงั นนั้ ควรจัดสภาพแวดล้อมในการเรียนที่ผู้เรียนคุ้นเคย
ผู้สอนควรให้ความสาคัญกับความสนใจ ความสามารถ ตลอดจนประสบการณ์เดิมของผู้เรียน ควรส่งเสริม
ผู้เรียนให้รู้จักเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเองได้อย่างเต็มท่ี ผลิตผู้เรียนที่สามารถนาตนเอง
(self–directed) มีอิสระทางความคิดและการแสดงออกและมีความคิดสร้างสรรค์ แนวการสอนเช่นน้ี
สอดคล้องกับแนวคิดของกลุ่ม constructivism ที่เช่ือว่าการเรียนรู้เป็นกระบวนการปฏิบัติ (active process)
เกิดเฉพาะตัวบุคคล ซึ่งการสอนด้วยวิธีการบอกเล่าเป็นกระบวนการเชิงรับ (passive process) ไม่ช่วยในการ
พฒั นาแนวความคดิ ของผเู้ รียนใหส้ รา้ งความร้ใู หม่ได้ด้วยตนเอง ผู้สอนจึงต้องคานึงถึงประเด็นต่าง ๆ ในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ (ทศิ นา แขมมณี. 2547: 9-11)

การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญตามมาตรฐาน ตัวบ่งช้ีของการประกันคุณภาพ
การศกึ ษา

การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และการประเมินคุณภาพภายนอก ของมาตรฐาน ตัว
บ่งชี้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยกาหนดไว้ในมาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัด
การศึกษา การให้บริการ ตัวบ่งช้ีที่ 2.3 คุณภาพการจัดการเรียนการสอนของครูที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
หมายถึง ครกู ารศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน สามารถบริหารจัดการให้ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้ เต็มตามความสามารถและศักยภาพ
ทางการเรียนรู้แต่ละบุคคล โดยครอบคลุมท้ังด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ สมรรถนะที่สาคัญ และกาหนด
เป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่ชัดเจน คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล มีการสารวจข้อมูลความ
ต้องการ การมีส่วนร่วมของผู้เรียนเพื่อนามาออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การใช้สื่อ
เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม และนาภูมิปัญญาท้องถ่ิน มาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ การประเมินผลที่มุ่งเน้น

5

พัฒนาการของผ้เู รียนด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย รวมถึงการให้คาแนะนา คาปรึกษา และแก้ไขปัญหาของผู้เรียน
อย่างท่ัวถึง นาผลการวิจัยในชั้นเรียนมาพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้บรรลุเป้าประสงค์ของหลักสูตรการศึกษา
นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีรายละเอียดของตัวบ่งช้ีในมาตรฐานท่ี 2 ดังนี้
ตวั บ่งชี้ที่ 2.3 คุณภาพการจดั การเรียนการสอนของครู (การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน)

1. ครูทุกคนมีการศึกษา วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา เป้าหมายการจัดการเรียนรู้ตามรายวิชาที่
จดั การเรียนการสอน

2. ครทู ุกคนมกี ารวเิ คราะห์ศกั ยภาพการเรยี นรู้ของผเู้ รียนเป็นรายบุคคลและรายกลุ่ม
3. ครทู กุ คนมีการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ
4. ครูทุกคนนาเทคนคิ การเรียนการสอน การใช้สือ่ เทคโนโลยีทีห่ ลากหลายเหมาะสม
และมกี ารจัดบรรยากาศท่ีเอือ้ ต่อการเรียนรู้
5. ครทู กุ คนมกี ารบนั ทึกหลงั สอน การทาวิจยั ในชั้นเรยี น การประเมนิ ผลจัดการเรยี นรู้
ของครูเพอ่ื นาไปพฒั นากระบวนการเรียนรู้
6. ครูทุกคนมีการประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย รวมทั้งการวาง
เงื่อนไขให้ผเู้ รยี นประเมนิ ความกา้ วหน้าของตนเอง และนามาใชป้ รับปรงุ และพฒั นาตนเอง
7. ครูทุกคนมกี ารจัดระบบชว่ ยเหลอื ผู้เรยี นใหป้ ระสบความสาเรจ็ ในการเรียนรู้
8. ครูทุกคนต้องมผี ลการประเมินความพึงพอใจจากผ้เู รียนในระดบั ดขี ึน้ ไปอย่างน้อย ร้อยละ 80

ส่วนการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งเป็นการติดตามตรวจสอบ ประเมินคุณภาพ และ
มาตรฐานผลผลิตของสถานศึกษาจากภายนอก โดยสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
(สมศ.) ได้กาหนดกลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน : ผลการจัดการศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการ
สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ หมายถึง การดาเนินการของสถานศึกษาให้สามารถจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นถึง
ความสามารถของผู้เรียนเป็นรายบุคคล และจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองได้
ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ มีตวั บง่ ช้ยี อ่ ย 2 ตัวบง่ ชี้ คือ

ตัวบ่งช้ีที่ 6.1 ประสิทธิผลการดาเนินการของสถานศึกษา หมายถึง ครูได้รับการพัฒนา การ
ตรวจสอบประเมินคุณภาพแผน การนิเทศกากับตดิ ตามประเมินผล การวิเคราะห์คุณภาพแบบวัด แบบทดสอบ
และมกี ารนาผลไปพัฒนาอยา่ งตอ่ เนื่อง

ตัวบ่งชี้ท่ี 6.2 กระบวนการจัดการเรียนรู้ของครู หมายถึง ครูสามารถจัดการเรียนรู้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพโดยเน้นผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ จานวน 8 ขอ้ ดังนี้

1. การกาหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดข้ึนกับผู้เรียน ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการท่ีเป็น
ความคิดรวบยอด หลักการและความสัมพันธ์ รวมทัง้ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์

2. การศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเป็นรายบุคคล แล้วนาข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่
ทา้ ทายความสามารถของผ้เู รียน

6

3. การออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ท่ีตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและ
พฒั นาการทางสมอง เพอ่ื นาผเู้ รียนไปสเู่ ป้าหมาย

4. การจัดบรรยากาศทีเ่ ออื้ ตอ่ การเรียนรู้ และดแู ลช่วยเหลอื ผเู้ รยี นให้เกดิ การเรยี นรู้
5. การจดั เตรียมและใช้สือ่ ให้เหมาะสมกับกิจกรรม นาภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีที่เหมาะสมมา
ประยุกต์ในการจดั การเรียนรู้
6. การประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีที่หลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติของวิชาและ
ระดับพัฒนาการของผู้เรียน รวมท้ังการวางเง่ือนไขให้ผู้เรียนประเมินความก้าวหน้าของตนเอง และนาใช้
ปรบั ปรงุ และพัฒนาตนเอง
7. การวิเคราะห์ผลการประเมินและนามาใช้ในการซ่อมเสริม และพัฒนาผู้เรียน รวมท้ังปรับปรุง
การจดั การเรียนรู้
8. การศกึ ษาคน้ ควา้ วจิ ยั เพ่ือพัฒนาสอ่ื และกระบวนการจดั การเรียนรูท้ เ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั

ประเด็นต่าง ๆ เหล่าน้ี มีลักษณะเป็นหลักการที่ครูสามารถนามาขยายความเพิ่มเติมในเชิง
ปฏิบัติ เพ่อื เปน็ แนวทางและใช้เป็นข้อสังเกตในการปฏิบัติงาน และประเมินการปฏิบัติงานของตนเองที่ผ่านมา
ครูได้แสดงบทบาทมากน้อยเพียงใดในการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีส่วนใดท่ียังไม่ได้ทาหรือต้อง
ปรบั ปรุง แก้ไขบ้าง และจากข้อมูลท้ังหมดท่ีได้กล่าวมา จะเห็นว่าการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญเป็น
สง่ิ ท่สี อดคลอ้ งกบั มาตรฐาน ตัวบง่ ชีข้ องการประกันคุณภาพการจัดการเรียนรู้ของครู เน่ืองจากเป็นสิ่งที่กาหนด
ไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ และเป็นภาระงาน ดังน้ัน ครูต้องจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ตามหลักการ วิธีการ ของการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ซึ่งในเบ้ืองต้นจาเป็นต้องมีการพัฒนาครู
เพ่ือให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญที่สอดคล้องกับมาตรฐาน
ตัวช้ีวัดของการประกันคุณภาพการจัดการเรียนรู้ของครู ซ่ึงผู้วิจัยได้ศึกษาวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
กับการนิเทศเพื่อพัฒนาครูโดยการอบรมเชิงปฏิบัติการ เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจ และการนิเทศการสอน
เพ่อื การชว่ ยเหลือ แนะนาใหค้ าปรกึ ษาในการปฏิบัติการจัดการเรียนรู้ที่ถกู ต้อง มีคุณภาพ

2. การนิเทศเพอื่ พฒั นาครู พฒั นางาน และพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษา
เป้าหมายในการพฒั นาวิชาชพี ครู
เป้าหมายในการพัฒนาวิชาชีพครูที่ยอมรับและมีความเห็นสอดคล้องกันในประชาคม

วชิ าชีพครูระดบั นานาชาติ มีดังนี้ (เบญจวรรณ ก่สี ุขพันธ์. 2551: 75-76)
1. เพื่อปรับปรุงการเรียนรู้ของผู้เรียนทุกคนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดตามศักยภาพของผู้เรียนแต่

ละคน
2. เพ่ือปรบั ปรุงประสทิ ธิภาพการปฏบิ ตั ิงาน ทกั ษะการสอน ส่งเสริมสมรรถภาพทางสติปัญญาและ

ความเป็นผูน้ าของครูและนักการศกึ ษา
3. เพ่ือส่งเสริมให้ครูเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง โดยใช้วิธีการสะท้อนความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ต่อ

วิชาชพี ของครู

7

4. เพ่ือให้ครูใช้วิธีการสืบเสาะปรับปรุงการสอน ใช้เหตุผลและข้อค้นพบจากการวิจัยประกอบการ
ตัดสินใจและปฏบิ ตั งิ านเกี่ยวกับการจัดการเรยี นรู้ เพอ่ื ให้จัดการเรียนการสอนส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนใน
หลายสาขาวชิ า

ความสาคญั ของการนิเทศการศึกษา
การนิเทศการศึกษาเป็นวิธีการอย่างหนึ่งท่ีใช้ควบคู่กับการบริหารการศึกษา เพื่อการปรับปรุง

คุณภาพการเรียนการสอนให้ดาเนินการอย่างราบรื่น เรียบร้อย และมีผลสัมฤทธิ์สูง ดังน้ันการนิเทศการศึกษา
จงึ มีความสาคัญอย่างย่งิ เป็นการดาเนินงานทม่ี ุ่งใหบ้ ุคลากรท่เี กี่ยวขอ้ งให้มีแนวคิดในการปฏิบัติงานที่มีรูปแบบ
และทศิ ทางเดียวกนั สะท้อนใหเ้ ห็นความสาคัญของการนเิ ทศการศกึ ษาว่า เป็นกระบวนการที่ใช้เพ่ือพัฒนาและ
ปรับปรุงคุณภาพการจัดการศึกษา เป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการ
ศึกษาที่เก่ียวข้อง การนิเทศการศึกษาจะช่วยปรับปรุงกระบวนการศึกษาให้มีคุณภาพ และเกิดความสูญเปล่า
ทางการศึกษานอ้ ยที่สุด การปรบั ปรุงการศกึ ษาจาเปน็ ตอ้ งอาศยั คณุ ภาพวธิ สี อน การนิเทศจึงมีบทบาทสาคัญใน
การช่วยพัฒนาครูให้สามารถพัฒนางานการเรียนการสอนให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานมากที่สุด ซ่ึงการนิเทศ
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนากิจกรรมการศึกษา นอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย ให้มีคุณภาพ โดยมุ่งพัฒนากลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ให้รู้จักวิเคราะห์ข้อมูล อันจะ
นาไปส่กู ารคิดเปน็ แกป้ ญั หาเป็น รู้จกั พ่ึงตนเอง ตลอดจนใหบ้ คุ ลากรทกุ ระดับสมารถแก้ปัญหาผู้เรียน และช่วย
การดาเนนิ งานการศกึ ษานอกโรงเรียนเป็นไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ (ศรสี ว่าง เลี้ยววาริณ. 2554)

จุดมุง่ หมายของการนเิ ทศการศกึ ษา
จุดมุ่งหมายของการนิเทศการศึกษา คือ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของผู้เรียน โดย

ปฏิบตั กิ ารผา่ นครู ซึ่ง สงัด อุทรานันท์ (2530: 12-13) ได้ให้ความเห็นเรื่องจุดมุ่งหมายของการนิเทศการศึกษา
ไว้ดังนี้

1. เพ่อื พฒั นาคนให้มีคุณภาพสูงขนึ้ มีความรคู้ วามสามารถในการปฏิบัติงานสูงข้ึน
2. เพอ่ื พัฒนางานให้ได้ผลดี คอื เมอ่ื เกิดการนิเทศแลว้ จะต้องมีปัญหาจากการปฏิบัติงานน้อยที่สุด
และผลงานท่ีได้รบั ต้องมคี ุณภาพสูงสดุ
3. เพ่ือพัฒนากระบวนการทางาน ซ่ึงการนิเทศที่ดีต้องมีการประสานสัมพันธ์อันดีระหว่าง
ผูป้ ฏิบัตงิ าน ลดความขัดแยง้ ใหไ้ ดม้ ากทส่ี ดุ
4. เพื่อสร้างขวัญและกาลังใจในการปฏิบัติงาน สร้างความมั่นใจ ความสุข มีกาลังใจในการทางาน
น่ันเอง

รปู แบบการนิเทศการศึกษา
รปู แบบของการนิเทศการศึกษามีรูปแบบที่หลากหลาย เม่ือพิจารณาจากอดีตมาถึงปัจจุบันจะ
พบว่ามีนกั วชิ าการแบง่ รปู แบบการนเิ ทศการศึกษาไว้แตกต่างกนั ตามยุคสมัยทั้งในประเทศและต่างประเทศ แต่
เน่ืองจากรูปแบบ และลักษณะการนิเทศไม่แตกต่างกันนัก คือจะเน้นการนิเทศการศึกษาแบบตรวจตราและ
แบบประชาธิปไตยเป็นส่วนใหญ่ จึงไม่ได้แยกตามยุคสมัย แต่แบ่งการนิเทศการศึกษาตามรูปแบบการนาไปใช้

8

แทน ซึง่ รปู แบบการนิเทศทเ่ี น้นในเรื่องของการพัฒนาครูของนกั การศึกษาต่างประเทศ ได้แก่ Harris (1985) D.
Tanner and L. Tanner (1987) Glickman (1995) มรี ปู แบบทีส่ อดคลอ้ งกนั ดงั น้ี

1. การนิเทศแบบเน้นการให้คาแนะนา (Tractive Supervision) รูปแบบน้ีผู้นิเทศจะให้คาแนะนา
ให้ผไู้ ดร้ ับการนิเทศนาไปปรับปรงุ แก้ไข

2. การนิเทศแบบเน้นความเป็นพลวัต (Dynamic Supervision) รูปแบบน้ีผู้นิเทศจะจุด ประกาย
ทางด้านความคิดเพ่อื ส่งเสริมให้ผู้ไดร้ บั การนเิ ทศนาไปปฏบิ ัติ ผ้ไู ดร้ บั การนิเทศ สามารถใช้ความรู้ ความสามารถ
ตลอดจนประสบการณ์ท่ีตนเองมีมาปรับปรุงการสอนตามความเหมาะสมกับสภาพความเปน็ จริง

3. การนิเทศแบบตรวจตรา (Inspection Supervision) การนิเทศรูปแบบนี้เป็นแบบเก่าแก่ท่ีมีใช้
มานาน ผูน้ เิ ทศจะตรวจการทางานของสถานศึกษาใหเ้ ป็นไปตามกฎเกณฑ์ ระเบียบของหลกั สูตรทกี่ าหนดไว้

4. การนเิ ทศแบบเน้นผลงาน (Supervision as Production) การนิเทศรูปแบบน้ีจะดู ผลงานของ
สถานศึกษาว่าสามารถผลิตผู้เรียนออกสู่สังคมอย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ มากน้อย เพียงใด บางคนเรียกการ
นิเทศแบบวทิ ยาศาสตร์ เพราะมกี ารวางแผนการทางานอย่างเป็นระบบระเบียบตรวจสอบย้อนกลับได้อย่างเป็น
ขน้ั ตอนท่ีชดั เจน

5. การนิเทศแบบคลนิ กิ (Clinical Supervision) การนิเทศแบบน้ีเน้นท่ีการปรับปรุง กระบวนการ
เรียนการสอนในลักษณะที่พิจารณาและแก้ไขตามความเหมาะสมของผู้ได้รับการนิเทศแต่ละแห่ง การนิเทศ
การศึกษาจะมุ่งให้ผู้ได้รับการนิเทศเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการเรียนการสอนให้มี ความเหมาะสม โดยผู้นิเทศ
และผ้ไู ดร้ บั การนิเทศจะได้พบปะเผชิญหนา้ กันและรบั คาแนะนาไป ปรบั ใชต้ ามความเหมาะสมและความจาเป็น
เพื่อประโยชนข์ องการใช้งาน

6.การนิเทศแบบเน้นการพัฒนา (Developmental Supervision) การนิเทศแบบน้ี เน้น
พัฒนาการของผู้รับการนิเทศ ให้มีความรู้ ความสามารถในการแก้ไขปัญหาของตนเองได้ตาม สถานการณ์ที่
เกิดข้ึนในสถานศึกษา Glickman (1981) ได้แบ่งวิธีการนิเทศแบบน้ี เป็น 3 วิธีคือวิธีท่ีมีการชี้นา ไม่มีการช้ีนา
และวิธีผสมผสาน โดยพิจารณาตามความสามารถ ของผไู้ ด้รับการนิเทศ

ส่วนนักการศึกษาของไทย ศรีสว่าง เลี้ยววาริณ (2554) ได้สรุปรูปแบบของการนิเทศ และ
ผ้วู จิ ัยไดว้ เิ คราะหใ์ นสว่ นที่สอดคลอ้ งกับการนเิ ทศเพอื่ พัฒนาครู กศน. ตาบล ดังนี้

1. การนเิ ทศแบบปฏิกริ ยิ าสมั พันธ์ (Interactive Supervision) เปน็ การนิเทศรายบุคคล กลุ่ม หรือ
จดั ประชุมสัมมนา อบรม ประชุมปฏิบัตกิ าร และนิเทศตามควรแกก่ รณี

2. การนิเทศแบบบริการ (Servicing Supervision) เป็นการนิเทศโดยให้บริการเอกสาร ส่ือการ
เรยี นการสอน ส่อื ประกอบการนิเทศ

3. การนิเทศแบบประสานงาน (Coordinating Supervision) เป็นสื่อในการแสวงหาความ
ชว่ ยเหลือจากบคุ คลท่ีจะสนับสนนุ การพฒั นากจิ กรรมการเรียนรู้

9

4. การนิเทศแบบร่วมมือ (Cooperative Supervision) เป็นการวางแผนการปรับปรุงการเรียน
การสอน โดยท่ีครูและศึกษานิเทศก์ทางานร่วมกันในการวิเคราะห์และกาหนดคุณลักษณะต่าง ๆ ของการ
จัดการเรยี นการสอน

5. การนิเทศแบบสร้างสรรค์ (Creative Supervision) เป็นความพยายามของศึกษานิเทศก์และครู
ในการสร้างแผนงานเพ่ือปรับปรุงการการจัดการเรียนการสอน โดยการทดลองค้นคว้าส่ิงใหม่ ๆ หรือความคิด
รเิ รม่ิ ใหม่ ๆ

6. การนิเทศแบบตรวจตรา (Inspectional Supervision) เป็นการนิเทศท่ีมีการประเมินผลการ
ทางานของครู โดยเข้าไปดูการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ของครู

7. การนิเทศแบบผสมผสาน (Integrated Supervision) เป็นการนิเทศที่ใช้หลายรูปแบบ
ผสมผสานกนั เพ่ือให้การนเิ ทศเกิดประโยชนส์ งู สดุ แกผู้รับการนเิ ทศ

8. การนิเทศแบบเช้ือเชิญ (Invitational Supervision) เป็นการที่ครูเชิญศึกษานิเทศก์ มาให้
คาแนะนาการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ เพ่อื พฒั นางานของตนใหม้ ปี ระสิทธิภาพมากข้ึน

จากการศึกษาแนวคิดทฤษฎี รปู แบบการนเิ ทศ ท่ีมีท้ังการนิเทศเพื่อพัฒนาครู พัฒนางาน
เพ่ือพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ผู้วิจัยได้ใช้แนวคิดทฤษฎีการนิเทศการสอนแบบพัฒนาการ ที่สอดคล้อง
กับการพัฒนาครู กศน. ตาบล คือ การนิเทศการสอนของ Glickman, Gordon and Ross- Gordon. (2004:
324-328) ซ่ึงมีแนวคิด หลักการในการนิเทศการสอน ท่ีใช้สาหรับครูผู้สอน โดยคานึงถึงความแตกต่างของครู
แต่ละคน แต่ละกลุ่มในด้านความสามารถในการคิดเชิงระบบ (Abstract Thinking) ความรู้สึกผูกพันต่อ
ภาระหน้าท่ี (Commitment) ระดับความเชี่ยวชาญ (Expertise) และประสบการณ์ (Experience Teaching)
ของครูที่แตกต่างกันตามวัย ดังนั้นในการนิเทศการสอน ผู้นิเทศจะต้องมุ่งช่วยครูในการพัฒนาตนเอง พัฒนา
อาชีพครู เพื่อเป้าหมายเดียวกันคือ คุณภาพผู้เรียน เน่ืองจากความแตกต่างกันในหลาย ๆ ด้านของครู หรือครู
ผู้รับการนิเทศ ผู้นิเทศจะต้องเลือกใช้วิธีการนิเทศท่ีเหมาะสม เพ่ือช่วยให้ครูได้พัฒนาตนเองอย่างเต็มตาม
ศักยภาพ

กระบวนการนิเทศการสอน
การนเิ ทศการสอนเพ่ือให้เกิดผลสาเร็จ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จาเป็นอย่างยิ่งที่

จะต้องดาเนินการตามลาดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่องกัน โดยต้องดาเนินการอย่างเป็นกระบวนการ เป็นลาดับ
ขน้ั ตอนอย่างต่อเน่ือง ตามระเบียบแบบแผน พร้อมด้วยเหตุผลและความเป็นไปได้ ซึ่งนักการศึกษาได้นาเสนอ
กระบวนการนเิ ทศการสอนไวด้ ังน้ี

Copeland and Boyan (1978: 3) นาเสนอกระบวนการนเิ ทศการสอน 4 ข้นั ตอน ไดแ้ ก่
1. การประชุมก่อนการสังเกตการสอน
2. การสงั เกตการสอน
3. การวิเคราะห์ข้อมลู จากการสังเกตการสอน
4. การประชมุ หลงั การสงั เกตการสอน

10

Glatthorn (1984: 2) ได้กาหนดกระบวนการนิเทศการสอน 8 ข้ันตอน ไดแ้ ก่
1. การสร้างความสมั พนั ธ์ทีด่ ีระหวา่ งผนู้ ิเทศกบั ครผู ูร้ บั การนิเทศ
2. การวางแผนปรบั ปรงุ และพฒั นาการเรยี นการสอนรว่ มกับครู
3. วางแผนการสังเกตการสอน
4. สงั เกตการสอน
5. วิเคราะห์กระบวนการเรยี นรแู้ ละกระบวนการสอน
6. วางแผนกาหนดวธิ ีการในการประชุมเพ่ือปรึกษาหารอื
7. ประชมุ เพื่อปรกึ ษาหารือเกยี่ วกับแนวทางในการพัฒนาปรบั ปรงุ
8. วางแผนการสงั เกตการสอนในครั้งต่อไป

Glickman, Gordon and Ross- Gordon. (2004: 324-328) ได้นาเสนอกระบวนการนิเทศการ
สอน ประกอบด้วย 5 ขนั้ ตอน ไดแ้ ก่

1. การประชุมรว่ มกับครใู นการสังเกตการสอน เพ่ือพจิ ารณารายละเอยี ดรว่ มกันก่อนสังเกตการ
สอน รวมทั้งการทาความเข้าใจเก่ียวกับเหตุผล จุดมุ่งหมายของการสังเกต ประเด็นการสังเกตการสอน วิธีการ
และรปู แบบการสังเกตท่ีใช้ การกาหนดเวลาในการสงั เกตการสอน

2. การสังเกตการสอนในช้ันเรียน เป็นการสังเกตพฤติกรรมการสอนของครูในชั้นเรียน เพ่ือให้
เกิดความเขา้ ใจสอดคล้องกับหลักการและรายละเอียดตา่ ง ๆ ทก่ี าหนด

3. การวเิ คราะห์และตดิ ตามผลการสงั เกตการสอน ผู้นิเทศหลังจากได้สังเกตการสอนและได้รับ
ขอ้ มลู ของครมู าครบแลว้ นาขอ้ มลู ท่ีได้มาวเิ คราะหข์ อ้ มูล โดยใชส้ ถิตวิ ิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ เคราะห์เนื้อหา
ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ ตามตัวแปรท่กี าหนดในการสงั เกตการสอน แปลความหมายจาก การวิเคราะหข์ ้อมูล

4. ประชุมร่วมกับครูภายหลังการสังเกตการสอน เพ่ือเป็นการให้ข้อมูลย้อนกลับและร่วมกัน
อภปิ รายผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ซึ่งผลทีไ่ ด้จากการวเิ คราะห์ อภิปรายร่วมกัน ครูสามารถนาไปใช้ในการวางแผน
ปรับปรุงการสอนในคร้งั ตอ่ ไปได้

การวิพากษว์ จิ ารณ์ผลทีไ่ ดร้ บั จากขนั้ ตอนทัง้ 4 ข้ันตอน
วัชรา เล่าเรียนดี (2553: 27) ได้นาเสนอกระบวนการนิเทศการสอน ซึ่งเป็นการนิเทศเพ่ือพัฒนา
ปรบั ปรุงการจัดการเรียนการสอนโดยตรง ไดแ้ ก่

1. วางแผนรว่ มกันระหว่างผ้นู เิ ทศกับครผู ู้รับการนเิ ทศ
2, เลอื กประเดน็ หรือเรอ่ื งท่ีสนใจ จาเปน็ ตอ้ งได้รบั การพฒั นา ปรับปรุง
3. นาเสนอโครงการพฒั นา และขน้ั ตอนการปฏิบตั ิการนเิ ทศการสอน
4. ให้ความรหู้ รอื แสวงหาความรจู้ ากเอกสารตา่ ง ๆ และการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับ
เทคนิคการสังเกตการสอนในชัน้ เรียน และความรูเ้ ก่ียวกบั วธิ ีสอน และนวัตกรรมใหม่ ๆ
5. จดั ทาแผนการนิเทศ กาหนด วนั เวลา ทจ่ี ะสงั เกตการณ์สอน ประชุมปรึกษาหารือ เพื่อการ
แลกเปล่ียนความคดิ เห็น และประสบการณ์

11

6. ดาเนินการตามแผน โดยผู้นิเทศและครูผู้รับการนิเทศ (แผนนิเทศ และแผนการจัดการ
เรยี นร้)ู

7. สรุป ประเมนิ ผลการปรบั ปรงุ และพัฒนา รายงานผล
จากกระบวนการนิเทศการสอน ของนักการศึกษาดังกล่าว มีกระบวนการท่ีสอดคล้องกันโดยแบ่ง
ออกเปน็ 5 ข้นั ตอนใหญๆ่ คอื ขัน้ วางแผนก่อนการสังเกตการสอน ขน้ั สังเกตการสอน ขั้นวิเคราะห์ผล อภิปราย
ผลการสังเกตการสอน และ ข้ันการนาผลสังเกตการสอนไปพัฒนาการสอน ซึ่งผู้วิจัยนาไปปรับประยุกต์ในการ
นิเทศเพ่ือพัฒนาครู กศน. ตาบล โดยนากระบวนการนิเทศการสอนของ Glickman, Gordon and Ross-
Gordon. (2004: 324-328) ไปใชป้ ฏิบตั กิ ารนเิ ทศ ทีเ่ หมาะสม สอดคลอ้ งกับการจดั การเรยี นรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญของครู กศน. ตาบล และสอดคล้องกับบริบท พื้นฐานการจัดการเรียนรู้ของครู กศน. ตาบล การนิเทศ
เพอื่ พัฒนาครู กศน. ตาบลในการจดั การเรยี นรทู้ เ่ี น้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สานักงาน กศน.) ได้นิยาม ครู
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตาบล หรือ ครู กศน. ตาบล ว่าอยู่ในฐานะพนักงานราชการ
เป็นตัวแทนของภาครัฐ เข้าไปปฏิบัติงานในชุมชน มี กศน.ตาบล เป็นฐานปฏิบัติงาน มีหน้าที่หลักในการจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับประชาชนในพื้นที่ ในรูปแบบการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
โดยมุ่งหมายให้ประชาชนในชุมชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ (สานักงานส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั . 2553: 15)
คุณสมบัติของครู กศน. ตาบล ต้องมีวุฒิการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาตรีทางการศึกษา และอ่ืน ๆ
เทยี บเทา่ ไม่ต่ากว่านี้ ดังนั้น ครู กศน. ตาบล ทั้งหมดสาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี บางส่วนกาลังศึกษาต่อ
ในระดบั ประกาศนยี บตั รบัณฑติ และระดบั ปรญิ ญาโท ทัง้ นี้ประสบการณ์การทางาน ในการเป็นครู กศน. ตาบล
ส่วนใหญ่มีประสบการณ์การเป็นครูมาแล้ว 4 ปี แม้ว่าครู กศน. ตาบล จะมีวุฒิการศึกษาขั้นต่าคือปริญญาตรี
แต่มีครูที่มีวุฒิการศึกษาจบทางด้านการศึกษา มีไม่ถึง 5-10 % แต่ต้องจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษา
นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ในทุกรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร และบางคน
ต้องสอนท้ัง 3 ระดับการศึกษา คือระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย (นภมณฑ์
เจยี มสุข. 2555) จากสภาพปัญหาดงั กลา่ วจึงต้องมกี ารพัฒนาครู กศน. ตาบล อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ซ่งึ ในการพัฒนาครู
กศน. ตาบล ทุกคนได้รับการพัฒนาแบบเผชิญหน้า (face to face) อย่างน้อยปีละไม่น้อยกว่า 2 คร้ัง เนื้อหา
หลักสูตรส่วนใหญ่มักเป็นเรื่องกว้าง ๆ ท่ีมีความสัมพันธ์กับการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน การใช้โปรแกรม
ทะเบียนนักศกึ ษา งานทะเบียน การจัดทาหลกั ฐาน และโครงการพเิ ศษอืน่ ๆ
ซ่ึงไม่สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความจาเป็น และความต้องการ ของครูเป็นรายบุคคลมากนัก
สาหรับการพัฒนาในด้านการจดั การเรยี นร้ใู นรายวชิ าต่าง ๆ นั้น มีการดาเนินการบ้างในบางสถานศึกษา โดยครู
มักได้รับการสนับสนุนให้เข้ารับการพัฒนาเก่ียวกับเทคนิคการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศ าสตร์ และ
ภาษาอังกฤษ เนื่องจากเป็นรายวิชาพ้ืนฐานและเป็นรายวิชาท่ียากแก่การจัดการเรียนรู้ รวมท้ังผู้เรียนมี
ผลสัมฤทธใิ์ นรายวิชาน้ตี ่า ในขณะที่รายวิชาอ่ืน ๆ ไดร้ บั การสนับสนุนรองลงมา (นภมณฑ์ เจียมสขุ . 2555)

12

บทบาทหนา้ ที่ของครู กศน. ตาบลในการจดั การเรียนรู้
บทบาทหน้าที่ของครู กศน. ตาบล ในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) (สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศัย. 2553: 7-11)

1. จัดทาขอ้ มลู ผ้เู รยี นเป็นรายบุคคล โดยให้มีการประสานงานกันระหวา่ งสถานศึกษา บ้าน และ
ชมุ ชน เพ่อื การพฒั นาผู้เรียนให้มคี ุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

2. วางแผนสร้างหนว่ ยการเรียนรู้ กาหนดกิจกรรมการเรียนรู้
3. จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนปฏิบัติจริง
แสดงออกอย่างอิสระ และมีสว่ นรว่ มทุกกจิ กรรม
4. จัดทาและพัฒนาส่ือการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา
และจดั หาแหล่งเรียนรู้ทีส่ อดคล้องกบั เน้อื หาวิชา
5. พัฒนาตนเองให้เป็นบคุ คลทใ่ี ฝร่ ู้ ทันต่อเหตกุ ารณ์
6. เป็นแบบอยา่ งทีด่ ี มคี ุณธรรม ปฏบิ ตั ติ นท่ีดตี อ่ เพือ่ นครแู ละผู้เรียน
7. จดั สภาพแวดลอ้ ม บรรยากาศของห้องเรยี นและสถานศกึ ษาใหเ้ ออ้ื ต่อการเรียนรู้
8. วดั และประเมินผลการเรยี นรขู้ องผ้เู รียนท่หี ลากหลาย สอดคลอ้ งกับการจัดกจิ กรรม
9. การเรยี นร้แู ละจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
10. จดั ทาวจิ ยั ในช้ันเรยี นเพอื่ พัฒนาการเรยี นร้ขู องผเู้ รยี น
การพัฒนาสมรรถนะครู กศน. ตาบล
การพัฒนาสมรรถนะของครูในการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้น้ัน ครูเป็นผู้ที่มีความสาคัญ
ท่ีสุด ครูจึงต้องได้รับการพัฒนาท่ีหลากหลายวิธี อย่างสม่าเสมอ และต่อเน่ือง เพ่ือเพิ่มพูนความสามารถและ
เทคนคิ วิธกี ารสอนใหม่ ๆ โดยเฉพาะพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี
2) พ.ศ. 2545 (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 ถือว่าครูเป็นบุคลากรวิชาชีพที่ทาหน้าที่ในด้านการจัดการเรียนการสอน
ดงั นั้นการเลอื กแนวทางหรือวิธีการในการพัฒนาครู ทาได้โดยการเพ่ิมพูนทักษะความสามารถของบุคลากร ท้ัง
ภายในและภายนอกองค์กร การปรับปรุงบุคลิกภาพ การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ซึ่งควรจะให้สอดคล้องกับ
กระบวนการเรียนรู้ เพ่ือที่ผู้รับการพัฒนาจะได้เรียนรู้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การเรียนรู้ได้รับการสะท้อน
มากเท่าไรประสิทธิภาพในการพัฒนาบุคลากรก็ยิ่งมากขึ้นเท่านั้น สาหรับแนวทางการพัฒนาบุคลากรมีหลาย
วิธีการด้วยกัน โดยการฝึกอบรมในขณะปฏิบัติงานจริง (On the Job Training) (กุลธร เลิศสุริยะกุล. 2554:
35-59) ซ่งึ มีความเหมาะสมและสอดคลอ้ งกับสภาพความต้องการพฒั นาสมรรถนะครู กศน.ตาบล ดงั น้ี
1. การสอนงานและให้คาปรึกษา (Coaching and Consoling) วิธีนี้นามาใช้เมื่อบุคลากร ไม่
สามารถปฏิบัติงานในหน้าท่ีที่รับผิดชอบอยู่ให้เกิดผลดีได้ วิธีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์วิธีน้ี เป็นวิธีที่เปิด
โอกาสไวต้ ลอดเวลาเมือ่ ตวั บุคลากรต้องการใหส้ อนหรอื ขอคาปรกึ ษาในการทางาน

13

2. การสอนและการนิเทศงาน (Job instruction and Job supervision) ต่างจากการสอน
และการให้การปรึกษา คือ การสอนและการนิเทศงานนั้น ผู้นิเทศงานต้องเป็นฝ่ายลงไปคลุกคลีกับการ
ปฏิบัติงานของบุคลากรอย่างใกล้ชิดไม่ใช่นั่งรอคอยข้อมูลอยู่ห่าง ๆ เช่น วิธีการสอน ตรวจ แนะนาแก้ไข ให้
บุคลากรปฏบิ ตั ิงานด้วยความถูกตอ้ ง รวดเร็วและมปี ระสทิ ธภิ าพ

3. การพัฒนาตนเอง (Self-Learnig) เป็นกระบวนการในการเรียนรู้ ไม่ว่าจากการศึกษาหรือ
การฝึกอบรม ซ่ึงเป็นการนาความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร ทักษะและทัศนคติ ตลอดจนแนวความคิดที่ได้รับรู้ นาไป
ประยุกต์ใช้ ปรบั ปรุงเปลี่ยนแปลงเพือ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ในการปฏิบตั งิ าน

4. การนิเทศงาน ทั้งการนิเทศภายนอกและการนิเทศภายในสถานศึกษา เป็นการแสดงการ
ปรับปรุงสถานการณ์ทางด้านการจัดการเรียนรู้ (Teaching-learning Situation) และเง่ือนไขท่ีมีผลต่อการ
จัดการเรียนรู้ การนิเทศภายในสถานศึกษาเป็นบทบาททางการบริหาร ซึ่งรวมทั้งคณะกรรมการนิเทศภายใน
ของสถานศึกษา การนิเทศงานเป็นกระบวนการท่ีนาไปสู่การปรับปรุงและพัฒนา ด้านการจัดการเรียนรู้ โดย
การทางานร่วมกับครูและผู้เรียน เป็นกระบวนการกระตุ้นและช่วยเหลือครูให้รู้จักช่วยตนเอง เพ่ือพัฒนาการ
จัดการเรียนรู้ การนิเทศท่ีจัดขึ้นในสถานศึกษาน้ัน เป็นการอานวยความสะดวกในสภาวการณ์ที่เป็นการ
ปรบั ปรงุ พฒั นาดา้ นการจดั การเรียนรู้ของครู

3. ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community: PLC)
แนวคดิ ชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชพี
วิจารณ์ พานิช (2555: 133- 155) กล่าวว่า Richard Du Four เป็น “บิดาของ PLC”

(Professional Learning Community: PLC) ในหนังสือ เรื่อง Learning by Doing: A Handbook for
Professional Learning Communities at Work. 2nd Ed, 2010 เขียนโดย Richard Du Four, Rebecca
Du Four, Robert Eaker, Thomas Many โดยเขาเร่ิมทางานวิจัยพัฒนาและส่งเสริม PLC มาตั้งแต่ คศ.
1998 คือ พ.ศ. 2541 PCL มีความเช่ือมโยงกับการจัดการความรู้ (KM) เพราะ PLC ก็คือ CoP (Community
of Practice) CoP คอื รปู แบบหน่ึงของ KM (Knowledge Management)

ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) คือ การรวมตัว รวมใจ รวมพลัง ร่วมมือกันของครู
ผู้บรหิ าร และนักการศึกษา ในโรงเรียน เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสาคัญ ดังที่ Sergiovanni (1994)
ได้กล่าวว่า PLC เป็นสถานท่ีสาหรับ “ปฏิสัมพันธ์” ลด “ความโดดเดี่ยว” ของมวลสมาชิกวิชาชีพครูของ
โรงเรยี นในการทางาน เพือ่ ปรับปรุงผลการเรียนของนักเรียน หรืองานวิชาการ โรงเรียน ซึ่ง Hord (1997) มอง
ในมุมมองเดียวกัน โดยมองการรวมตัวกันดังกล่าว มีนัยยะแสดงถึงการเป็นผู้นาร่วมกันของครู หรือเปิดโอกาส
ให้ครเู ปน็ “ประธาน” ในการเปลีย่ นแปลง (วจิ ารณ์ พานิช, 2555) การมคี ณุ คา่ ร่วม และวิสัยทัศน์ร่วมกัน ไปถึง
การเรียนรู้ร่วมกันและการนาสิ่งท่ีเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้อย่างสร้างสรรค์ร่วมกัน การรวมตัวในรูปแบบน้ีเป็น
เหมือน แรงผลักดัน โดยอาศัยความต้องการและความสนใจของ สมาชิกใน PLC เพ่ือการเรียนรู้และพัฒนา
วิชาชีพ สู่มาตรฐานการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นหลัก (Senge, 1990) การพัฒนาวิชาชีพให้เป็น “ครูเพื่อศิษย์”
(วจิ ารณ์ พานิช, 2555) โดยมองว่า เป็น “ศิษย์ของเรา” มากกว่ามองว่า “ศิษย์ของฉัน”และการ เปล่ียนแปลง

14

คุณภาพการจัดการเรียนรู้ที่เริ่มจาก “การเรียนรู้ของครู” เป็นตัวต้ังต้น เรียนรู้ท่ีจะมองเห็นการปรับปรุง
เปลี่ยนแปลง พัฒนาการจดั การเรยี นรูข้ องตนเอง เพื่อผู้เรียนเป็นสาคัญ อย่างไรก็ตามการรวมตัวการเรียน การ
เปล่ียนแปลงใด ๆ เป็นไปได้ยากท่ีจะทาเพียงลาพังหรือเพียงนโยบาย เพ่ือให้เกิดการขับเคล่ือนทั้งระบบ
โรงเรียน จึงจาเป็นต้องสร้างความเป็น PLC ท่ีสอดคล้องกับธรรมชาติทางวิชาชีพร่วมในโรงเรียน ย่อมมีความ
เป็นชุมชนท่ีสัมพันธ์กันอย่างแน่นแฟ้น (Senge, 1990) ชุมชนท่ีสามารถขับเคล่ือนให้เกิดการเปล่ียนแปลงทาง
วชิ าชีพไดน้ ั้น จึงจาเป็นต้องมีอย่รู ่วมกันอย่างมีความสุขทางวิชาชีพ มีฉันทะ และศรัทธาในการทางาน “ครูเพื่อ
ศษิ ย์ร่วมกัน” บรรยากาศ การอยรู่ ่วมกนั จึงเปน็ บรรยากาศ “ชุมชนกัลยาณมิตร ทางวิชาการ” (สุรพล ธรรมร่ม
ดี, ทัศนีย์ จันอินทร์, และ คงกฤช ไตรยวงศ์, 2553) ท่ีมีลักษณะความเป็นชุมชน แห่งความเอื้ออาทรอยู่บน
พื้นฐาน “อานาจเชิงวิชาชีพ” และ “อานาจเชิงคุณธรรม” (Sergiovanni, 1994) เป็นอานาจที่สร้างพลัง
มวลชนเรมิ่ จากภาวะผนู้ ารว่ มของครูเพอ่ื ขับเคลอ่ื นการ ปรับปรุงและพัฒนาสถานศึกษา (Fullan, 2005) กล่าว
โดยสรปุ PLC หมายถงึ การรวมตัว รว่ มใจร่วมพลัง ร่วมทาและร่วมเรียนรู้ร่วมกันของครู ผู้บริหาร และนักการ
ศกึ ษาบนพน้ื ฐานวฒั นธรรมความสัมพันธ์แบบกลั ยาณมติ ร มวี สิ ยั ทัศน์ คณุ คา่ เปา้ หมายและภารกิจร่วมกัน โดย
ทางานร่วมกันแบบทีมเรียนรู้ท่ีครูเป็นผู้นาร่วมกัน และผู้บริหารแบบผู้ดูแลสนับสนุนสู่การเรียนรู้และพัฒนา
วิชาชีพเปลี่ยนแปลงคุณภาพตนเอง สู่คุณภาพการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นความสาเร็จหรือประสิทธิผลของผู้เรียน
เปน็ สาคญั และความสุขของการทางานร่วมกันของสมาชกิ ในชมุ ชนการเรยี นรู้

ความสาคัญของชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี
ความสาคัญของชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ (PLC) จากผลการวิจัยโดยตรงที่ยืนยันว่าการ

ดาเนนิ การในรปู แบบ PLC นาไปส่กู ารเปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพทั้งด้านวิชาชีพและผลสัมฤทธ์ิของนักเรียน จาก
การสังเคราะห์รายงานการวิจัยเก่ียวกับโรงเรียนที่มีการจัดต้ัง PLC โดยใช้คาถามว่า โรงเรียนดังกล่าวมีผลลัพธ์
อะไรบา้ ง ที่แตกตา่ งไปจากโรงเรยี นทว่ั ไปท่ีไม่มชี มุ ชนแหง่ วิชาชพี และถ้าแตกต่างแล้วจะมีผลดีต่อครูผู้สอนและ
ตอ่ นกั เรยี นอยา่ งไรบา้ งซ่ึงมีผลสรุป 2 ประเดน็ ดังน้ี

ประเด็นที่ 1 ผลดีต่อครูผู้สอนพบว่า PLC ส่งผลต่อครูผู้สอน กล่าวคือลดความรู้สึกโดดเด่ียว
งานสอนของครู เพมิ่ ความรสู้ ึกผกู พันต่อพันธกจิ และเป้าหมายของโรงเรยี นมากข้ึน โดยเพิ่มความกระตือรือร้นที่
จะปฏบิ ตั ใิ หบ้ รรลุพันธกจิ อย่างแข็งขนั จนเกิดความรู้สึกว่า ต้องการร่วมกันเรียนรู้และรับผิดชอบต่อพัฒนาการ
โดยรวมของนักเรียนถือเป็นพลังการเรียนรู้ซ่ึงส่งผลให้การปฏิบัติการสอนในช้ันเรียนให้มีผลดียิ่งขึ้น กล่าวคือมี
การค้นพบความรู้ และความเชอ่ื ทเ่ี กยี่ วกบั วิธกี ารสอนและผู้เรยี นซึง่ ท่ีเกิดจากการคอยสังเกตอย่างสนใจ รวมถึง
เขา้ ใจในด้านเน้ือหาสาระ ท่ีตอ้ งจัดการเรียนรู้ไดแ้ ตกฉานย่ิงข้ึน จนตระหนกั ถงึ บทบาทและพฤติกรรมการสอนที่
จะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีท่ีสุด อีกทั้งการรับทราบข้อมูลสาระสนเทศต่าง ๆ ท่ีจาเป็นต่อวิชาชีพได้
อย่างกว้างขวาง และรวดเร็วขึ้น ส่งผลดีต่อการปรับปรุงพัฒนางานวิชาชีพได้ตลอดเวลา เป็นผลให้เกิดแรง
บนั ดาลใจที่จะพัฒนาและอุทิศตนทางวิชาชีพเพื่อศิษย์ ซึ่งเป็นท้ังคุณค่าและขวัญกาลังใจต่อการปฏิบัติงานให้ดี
ยิ่งขึ้นที่สาคัญคือยังสามารถลดอัตราการลาหยุดงานน้อยลง เม่ือเปรียบเทียบกับโรงเรียนแบบเก่ายังพบว่ามี

15

ความก้าวหนา้ ในการปรบั เปลีย่ นวิธีการจัดการเรียนรใู้ หส้ อดคลอ้ งกับลักษณะผู้เรียนได้อย่างเด่นชัดและรวดเร็ว
กว่าท่พี บในโรงเรยี นแบบเกา่ มคี วามผกู พันท่จี ะสรา้ งการเปลย่ี นแปลงใหม่ ๆ ใหป้ รากฏอยา่ งเดน่ ชดั และยั่งยืน

ประเดน็ ท่ี 2 ผลดตี ่อผเู้ รยี นพบว่า PLC ส่งผลตอ่ ผเู้ รยี นกลา่ วคอื สามารถลดอัตราการ ตกซ้าช้ัน
และจานวนช้ันเรียนที่ต้องเล่ือนหรือชะลอการจัดการเรียนรู้ให้น้อยลง อัตราการขาดเรียนลดลงมีผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนในวิชาวิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์และวิชาการอ่านท่ีสูงขึ้นอย่างเด่นชัด เมื่อเทียบกับโรงเรียน
แบบเก่าสุดท้ายคือมี ความแตกต่างด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระหว่างกลุ่มนักเรียนที่มีภูมิหลังไม่เหมือนกัน
และลดลงชัดเจน

กล่าวโดยสรุป คือ PLC มีพัฒนาการมาจากกลยุทธ์ระดับองค์กรท่ีมุ่งเน้นให้องค์กรมีการ
ปรับตัวต่อกระแสการเปล่ียนแปลงของสังคมท่ีเกิดข้ึนอย่างรวดเร็ว โดยเริ่มพัฒนาจากแนวคิดองค์กรแห่งการ
เรียนรู้ และปรับประยุกต์ให้มีความสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนและการเรียนรู้ร่วมกันในทางวิชาชีพ ท่ีมี
หน้างานสาคัญคือความรับผิดชอบการเรียนรู้ของผู้เรียนร่วมกันเป็นสาคัญจากการศึกษาหลายโรงเรียนใน
ประเทศสหรัฐอเมริกาดาเนินการในรูปแบบ PLC พบว่าเกิดผลดีทางวิชาชีพครู และผู้เรียนท่ีมุ่งพัฒนาการของ
ผู้เรยี นเป็นสาคญั

กระบวนการ กลยุทธ์ในการจดั การและใช้ชมุ ชนแหง่ การเรียนทางรวู้ ชิ าชีพ (PLC) อย่างยั่งยนื
1. เร่ิมต้นด้วยขั้นตอนง่าย ๆ (Take a baby steps) โดยเริ่มต้นจากการกาหนดเป้าหมาย

อภปิ ราย สะท้อนผล แลกเปล่ยี นกับคนอ่ืน ๆ เพื่อกาหนดวา่ จะดาเนินการอยา่ งไร โดยพิจารณาและสะท้อนผล
ในประเดน็ ต่อไปน้ี

1.1 หลักการอะไรท่ีจะสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติ
1.2 เราจะเรมิ่ ต้นความรูใ้ หม่อยา่ งไร
1.3 การออกแบบอะไรท่คี วรใช้ในการตรวจสอบหลักฐานของการเรียนรู้ทสี่ าคัญ
2. การวางแผนดว้ ยความร่วมมอื (Plan Cooperatively) สมาชกิ ของกลุ่มกาหนดสารสนเทศท่ี
ต้องใชใ้ นการดาเนนิ การ
3. การกาหนดความคาดหวังในระดับสูง (Set high expectations) และวิเคราะห์การสอนสืบ
เสาะหาวธิ ีการที่จะทาใหป้ ระสบผลสาเร็จสูงสุด
3.1 ทดสอบข้อตกลงท่ีเกี่ยวข้องกับการสอนหลังจากได้มีการจัดเตรียมต้นแบบท่ีเป็นการ
วางแผนระยะยาว (Long-term)
3.2 จดั ใหม้ ีชว่ งเวลาของการช้แี นะ โดยเน้นการนาไปใชใ้ นช้นั เรยี น
3.3 ใหเ้ วลาสาหรับครูทม่ี คี วามยุ่งยากในการสังเกตการณ์ปฏิบัติในช้ันเรียนของครูท่ีสร้าง
บรรยากาศในการเรยี นรู้อยา่ งประสบผลสาเรจ็
4. เริ่มต้นจากจุดเลก็ ๆ (Start small) กอ่ น แล้วค่อยปรับขยาย
5. ศึกษาและใชข้ ้อมลู (Study and use the data) ตรวจสอบผลการนาไปใช้และการสะท้อน
ผลเพื่อนามากาหนดว่า แผนไหน ควรใช้ต่อไป แผนไหนควรปรบั ปรงุ หรอื ยกเลกิ

16

6. วางแผนเพ่ือความสาเร็จ (Plan for success) เรียนรู้จากอดีต ปรับปรุงหรือปฏิเสธในส่ิงที่
ไม่สาเรจ็ และทาตอ่ ไป ความสาเรจ็ ในอนาคต หรอื ความล้มเหลวขน้ึ อยู่กบั เจตคตแิ ละพฤติกรรมของครู

7. นาสู่สาธารณะ (Go public) แผนไหนท่ีสาเร็จก็จะมีการเชิญชวนให้คนอื่นเข้ามามีส่วน
รว่ ม ยกย่องและแลกเปลีย่ นความสาเร็จ

8. ฝึกฝนร่างกายและหล่อเล้ียงสมอง (Exercise the body & nourish the brain) จัด
กิจกรรมที่ไดม้ กี ารเคล่อื นไหวและเตรยี มครูท่ีทางานสาเรจ็ ของแตล่ ะกล่มุ

จากการศึกษาเกี่ยวกับ PLC ทาให้ครูมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้ มีการพัฒนาการ
เรยี นการสอนอยา่ งต่อเน่อื งด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการสะทอ้ นผล ทาให้ส่งผลต่อผู้เรียนที่มุ่งพัฒนาการ
ของผเู้ รยี นเป็นสาคญั มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนของผูเ้ รียนให้สงู ข้นึ ผวู้ ิจยั จงึ ไดน้ าหลกั การนีเ้ ปน็ ในกระบวนการ
ของการนิเทศเพ่ือพัฒนาครู กศน. ตาบล ในขั้นตอนการเผยแพร่ สะท้อนผล และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการ
จัดการเรยี นรทู้ เ่ี น้นผ้เู รียนเป็นสาคญั

จากการท่ีผู้วิจัยได้ศึกษา ทบทวนวรรณกรรม เก่ียวกับการนิเทศเพื่อพัฒนาครู การนิเทศการ
สอนของ Glickman, Gordon and Ross- Gordon. (2004: 324-328) ไปใช้ปฏิบัติการนิเทศ การสร้างชุมชน
การเรียนรู้เพื่ออาชีพ Professional Learning Community (PLC) ของ Richard Du Four โดยมี วิจารณ์
พานชิ (2555) นามาเผยแพร่ และเป็นหลักการในการพัฒนาวิชาชีพครู ไปพัฒนารูปแบบท่ีสอดคล้องกับบริบท
ของครู ผูเ้ รยี น และหน่วยงานต้นสงั กัด นอกจากนีผ้ วู้ จิ ยั ไดศ้ ึกษางานวจิ ัยที่เกย่ี วข้อง ดงั น้ี

4. งานวจิ ัยทเ่ี กีย่ วข้อง
งานวิจยั เกีย่ วกบั เนอ้ื หา วธิ ีการพัฒนาครู กศน. มีงานวิจัยที่เก่ียวข้อง ดังน้ี กุลธร เลิศสุริยะกุล

(2554) ได้เสนอแนะในการขับเคล่ือนแนวทางในการแก้ปัญหาและพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครู
กศน.ตาบล สานกั งาน กศน.จังหวดั ฉะเชงิ เทรา คอื ควรจัดอบรมพฒั นาให้ ครู กศน.ตาบล อย่างเร่งด่วน เพราะ
ต้องนาไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน และหลังจากการอบรมพัฒนาแล้ว ผู้บริหารสถานศึกษาต้องติ ดตาม
ประเมนิ ผลอย่างใกล้ชดิ ดว้ ย อนงค์ ชูชัยมงคล (2554) เสนอแนวทางการพัฒนาครูศูนย์การเรียนชุมชน โดย
พบว่า ครูตอ้ งการพัฒนาในด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ การจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา การ
วัดผลประเมนิ ผล การพัฒนาสือ่ และเทคโนโลยี พรพิพัฒน์ ซอื่ สตั ย์ (2555) มีแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการ
ปฏิบัติงานของครู กศน. ตาบล ได้แก่ การจัดอบรม การศึกษาดูงาน การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ การจัด
สัมมนาเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยเน้อื หาในการพฒั นาครูในดา้ นการจัดการเรยี นรู้ของครู ต้องมีการพัฒนาโดย
จัดอบรมการวิเคราะหห์ ลกั สตู ร อบรมเชิงปฏิบัติการโดยใช้วิทยาการสมัยใหม่ เพื่อเพิ่มทักษะ ท้ังความสามารถ
ทักษะทางด้านภาษา และเทคนิคการสอน หรือใช้วิธีการสัมมนาครูเพ่ือการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ใช้วิธีการพี่สอน
น้อง รวมทัง้ ควรมกี ารอบรมครูแกนนาของแต่ละสถานศึกษาในการจัดการเรียนรู้สู่กลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ซ่ึงการ
พฒั นาครู กศน. ตาบล จาเปน็ จะต้องใหค้ วามสาคัญเปน็ อย่างมาก

งานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาครู กศน. โดยใช้กระบวนการนิเทศเพ่ือการพัฒนาอย่าง
ต่อเน่ือง ได้แก่ นิพาดา อุปัชฌาย์ (2553) ภาวินันท์ สิริวัฒนไกรกุล (2553) วิจัยการพัฒนาครูศูนย์การเรียน

17

ชุมชนในการจัดการเรียนรู้ โดยใช้กลยุทธ์ในการพัฒนา 2 กลยุทธ์คือ การอบรมเชิงปฏิบัติการ และการนิเทศ
การสอน ทาใหค้ รูศนู ย์การเรียนชมุ ชนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญได้ตามกรอบการจัดการเรียนรู้ ส่วนครูส่วนน้อยท่ียังไม่เข้าใจการจัดการเรียนรู้ ได้เพิ่มยุทธศาสตร์การ
นิเทศการสอน ชว่ ยเหลือให้คาปรึกษา เพื่อติดตามผลการจัดการเรียนรู้ ทาให้ครูสามารถปรับปรุงพัฒนาตนเอง
ตามคาแนะนาของผนู้ เิ ทศ ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ทาใหเ้ กิดการแลกเปล่ียนประสบการณ์การทางาน โดยมีการ
จัดทาคู่มือการจัดกิจกรรมนิเทศ และดาเนินการนิเทศตามคู่มือ กิจกรรมการนิเทศประกอบด้วย การตรวจ
แผนการจัดการเรียนรู้ การสังเกตการสอน ทาให้ครูปรับพฤติกรรมการสอน สามารถเขียนแผนการจัดการ
เรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญได้ นอกจากนี้ สิริรัตน์ เกษประทุม (2553) วิจัยพบว่า สภาพ
ปัญหาด้านการพัฒนาครูทีไ่ ม่ตอ่ เนอ่ื งและไมเ่ ป็นระบบ ขาดประสบการณ์และเทคนิคการจัดการเรียนรู้ ไม่ได้รับ
การพัฒนาในระหว่างการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งรูปแบบการนิเทศการศึกษานอกโรงเรียนสู่การปฏิรูป
การเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับสถานศึกษา เขตกรุงเทพมหานคร มีองค์ประกอบ 3 ประการ ได้แก่ 1) วิธีการนิเทศ
แบบเคยี งค่ทู ั้งด้านกจิ กรรม กศน. และระหว่าผู้นิเทศกับผู้รับการนิเทศ 2) วิธีการนิเทศแบบต่อเน่ืองไม่รู้จบ คือ
วิธีการนิเทศที่ครู กศน. ทุกคน ต้องได้รับการนิเทศทุกกิจกรรม อย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง 3) กระบวนนิเทศ
แบบครบวงจรนิเทศ ประกอบ ด้วย 4 ข้ันตอน ได้แก่ ขั้นเตรียมการนิเทศ ปฏิบัติการนิเทศ สรุปผลกรนิเทศ
และนาเสนอผลการนิเทศ ไพรินทร์ เหมบุตร, สมชัย วงษ์นายะ และทวนทอง เชาวกีรติพงศ์. (2556) พบว่า
กลยุทธ์การนิเทศเพื่อพัฒนาครูมืออาชีพในเครือข่ายการนิเทศท่ี 18 ที่สาคัญคือส่งเสริมสนับสนุนศึกษานิเทศก์
ผู้บริหาร และครูเผยแพร่ผลงาน สื่อนวัตกรรมเพื่อนิเทศการศึกษา ผ่านระบบเทคโนโลยีท่ีเอ้ือต่อการพัฒนา
ตนเองสู่ความเป็นครูมืออาชีพ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเป็นเคร่ืองมือในการนิเทศการศึกษาแนวใหม่ท่ีทันสมัย
ส่งเสริมการดาเนินการนิเทศครูมืออาชีพด้วยระบบเครือข่ายการนิเทศทุกระดับ และส่งเสริมระบบการนิเทศ
ติดตามและประเมินผล การพฒั นาครสู ู่มืออาชีพ

งานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาครู กศน. โดยใช้การสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ได้แก่ สมบัติ ศรีสุพัฒน์ (2556) วิจัย ยุทธศาสตร์การนิเทศแบบสะท้อนกลับ โดยให้ครูและเพ่ือนครูร่วมกัน
นิเทศการสอน โดยสลับบทบาทหน้าท่ีกันสังเกตพฤติกรรมการสอน 5 ด้าน คือการเตรียมการสอน การจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน การสรา้ งบรรยากาศในช้นั เรียน การใช้ส่ือการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล
ภายหลังการจัดการเรียนการสอน เมื่อครูจัดการเรียนการสอนของตนเอง ครูผู้นิเทศสะท้อนกลับผลการ
ประเมนิ พฤตกิ รรมการสอน และมีการแลกเปลย่ี นเรียนรู้หลังการประเมินแต่ละคร้ัง เพ่ือปรับปรุงแผนครั้งต่อไป
โดยการใช้แนวคิดชุมชนการเรียนรู้เพื่ออาชีพ Professional Learning Community (PLC) คือครูนา
ประสบการณต์ รงจากการสอนมาแลกเปลย่ี นเรยี นรูก้ ับเพอ่ื นครู ทาให้ครูมพี ฤตกิ รรมการสอนท่ีเปลี่ยนไปในทาง
ท่ีดีขึ้น นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์สูงข้ึน สามารถแก้ปัญหาการนิเทศท่ีไม่ต่อเนื่อง
ลดภาระการนิเทศของศกึ ษานเิ ทศก์ และแก้ปัญหากับการเรียนการสอนในรายวิชาท่ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่า
ธนสิ รณ์ เกษมสันต์ ณ อยุธยา (2557) ไดน้ าเสนอแนวทางการพฒั นาครูการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานนอกระบบ พบว่า ควรเพ่ิมจานวน

18

ครั้งในการพัฒนาให้มีความต่อเนื่อง ควรมีหน่วยงานท่ีมีบทบาทหน้าท่ีโดยตรงในการพัฒนาครู เพ่ือความ
ต่อเนอ่ื งในการพัฒนาตง้ั แตก่ ารวิเคราะห์ สังเคราะห์พัฒนาหลักสูตรในการพัฒนาครูให้สอดคล้องกับบริบทของ
ครู สภาพปัญหาความต้องการของครู ควรมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างครู ที่มีความเช่ียวชาญในเนื้อหา
รายวิชาต่าง ๆ รวมทั้งวิธีการในการจัดการเรียนรู้ พรทิพย์พา คาวีวงศ์ (2557) วิจัยเรื่องการพัฒนาครู กศน.
ด้านการทาวิจัยในชั้นเรียน โดยการประชุมเชิงปฏิบัติการ และการนิเทศ เพื่อให้ครูมีความรู้ ความสามารถใน
การทาวิจัยในช้ันเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้กลยุทธ์ การประชุมเชิงปฏิบัติการ และการนิเทศภายใน
เพื่อช่วยให้ครูผู้สอนปรับเปล่ียนพฤติกรรมและวิธีการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญไปใช้ในการแก้ปัญหาผู้เรียน
เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ทีเ่ ตม็ ศักยภาพของผู้เรียน ลวพร สุกียาม่า (2558) วิจัยโดยจัดกระบวนการและสัมภาษณ์
เชิงลึกกบั นักการศึกษานอกระบบ คือครู กศน. ตาบล ของสถานศกึ ษาสงั กัดสานักงาน กศน. จังหวัดฉะเชิงเทรา
โดยข้อค้นพบจากงานวิจัยและขอ้ เสนอเชิงนโยบายในการพัฒนาตนเองของนักการศึกษานอกระบบ ได้แก่ การ
สร้างสภาพแวดล้อมให้เกิดสภาวะที่เอ้ืออานวยต่อการเกิดการเรียนรู้ สร้างกลไกท่ีสนับสนุน ส่งเสริมให้นักการ
ศึกษานอกระบบมีโอกาสแบง่ ปันประสบการณ์และความสามารถเกี่ยวกับการเรยี นรูใ้ นการพัฒนาตนเองต่อผู้อื่น
เพอ่ื เพิ่มประสทิ ธิภาพในการจดั การศกึ ษาตลอดชวี ติ

ส่วนงานวิจัยต่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาครู การนิเทศเพ่ือพัฒนาครู ได้แก่
Hutchison (2007) ผลการวิจัย พบว่า ครูมีความต้องการให้คณะผู้บริหาร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีการ
วางแผนในการพฒั นาครู มีการพัฒนาครอู ย่างตอ่ เนอ่ื ง และมีการติดตามผลหลังการพัฒนาMofareh Alkrdem
(2011) ผลการวิจัยพบว่า ผู้ที่นิเทศการสอนเพ่ือพัฒนาครูและพัฒนาการเรียนการสอนต้องมีบุคลิกความเป็น
ผู้นาทางวิชาการ มีทักษะในการกากับดูแลพัฒนาครูอย่างจริงจัง Kweku Esia-Donkoh and Eric Ofosu-
Dwamena. (2014) ผลการวิจัยพบว่า การนิเทศการสอนเป็นสิ่งสาคัญในการพัฒนาครู ครูได้รับรู้ ได้รับการ
พัฒนาจากการนิเทศการสอนในเชิงบวกท้ังในด้านของการพัฒนาจากประสบการณ์การสอนของครูแต่ละคน
หลักสูตร วิธีการสอน สื่อการสอน การจัดการชั้นเรียน การพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียน และการวัด ผล
ประเมินผล โดยการนเิ ทศการสอนนิเทศเพ่อื พัฒนาตามความจาเป็น ความต้องการของครู และตามแผนการจัด
กจิ กรรมในการพัฒนาครู ข้อค้นพบอ่ืน ๆ ที่มีความสาคัญคือ การนิเทศการสอนทาให้การจัดการเรียนการสอน
ของครูมีประสิทธิภาพขึ้น ลดจุดด้อย เพ่ิมจุดแข็งในการพัฒนาครู โดยพัฒนาทั้งด้านความรู้ ทักษะ และ
ประสบการณ์ Assefa Ekyaw, Berhne (2014) ผลการวิจัยพบว่าศึกษานิเทศก์ ที่ทาหน้าท่ีนิเทศการสอน เป็น
การช่วยเหลือครูในการพัฒนา ปรับปรุง ลดข้อจากัดในการจัดการเรียนการสอน ครูได้รับการสนับสนุนจาก
ศึกษานิเทศก์ท้ังในด้านความรู้ ทักษะการจัดการเรียนการสอน รวมทั้งได้รับการประสานจากหน่วยงานต่าง ๆ
ในชมุ ชน เพอื่ ร่วมมอื กนั ในการพฒั นาคณุ ภาพการจัดการเรียนการสอน และการพัฒนาครู ซึ่งการพัฒนาครูโดย
การใช้กระบวนการนิเทศการสอน เป็นการช่วยเหลืออย่างต่อเน่ือง ด้วยวิธีการฝึกอบรมให้ความรู้สาหรับครูที่
เพง่ิ เร่มิ ทางานเป็นครู การแลกเปล่ยี นประสบการณ์ และสนบั สนนุ ให้ครทู าวจิ ัยเชงิ ปฏิบตั ิการ ปรับปรุงข้อจากัด
ในการสอน สรา้ งเครือข่ายความร่วมมอื ระหวา่ งโรงเรียนเพือ่ แก้ปัญหาครทู ่ีมีภาระงานหลายบทบาทหน้าที่ และ
ใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ในการจดั การศึกษารว่ มกนั

19

จากการศกึ ษา แนวคิด ทฤษฎี เก่ียวกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การพัฒนาครู
การนิเทศเพ่ือพัฒนาครู ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ และงานวิจัยที่เก่ียวข้อง ผู้วิจัยสามารถนามาใช้ใน
การศึกษา วจิ ัย ตัวแปรท่เี ก่ียวข้องกับการนเิ ทศเพอ่ื พัฒนาครู กศน. ตาบล ในการจดั การเรยี นรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ เพื่อเสริมสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ รวมท้ังวิธีดาเนินการวิจัย เคร่ืองมือท่ีใช้ในการพัฒนาครู
เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัย การพัฒนาครู กศน. ตาบล โดยการให้ความรู้เกี่ยวกับการ
จัดการเรียนรู้ท่เี นน้ ผู้เรียนเปน็ สาคัญตามมาตรฐาน ตัวบง่ ชข้ี องการประกันคุณภาพ การทาคู่มือครู กศน. ตาบล
ในการการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การร่วมกันกับครู กศน. ตาบล จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้
ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การนิเทศการสอน ในการนา
แผนการจัดการเรียนรู้ลงสู่การปฏิบัติในชั้นเรียน การให้ความช่วยเหลือแนะนา ให้คาปรึกษา สาธิตการสอน
เพื่อพัฒนาพฤติกรรม ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของครู กศน. ตาบลหลังจากการให้ความรู้
การกาหนดให้มีการสะท้อนผล แลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างครู ผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ ผ่านทางเครือข่าย
อนิ เทอรเ์ นต็ รวมท้งั ศึกษาผลทเ่ี กิดกบั ผู้เรยี น การประเมินครู กศน. ตาบล ในการจดั การเรยี นร้ทู ่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคญั โดยผู้เรยี น ซงึ่ ผู้วิจัยได้กาหนดเป็นกรอบแนวคดิ การวจิ ยั ดงั นี้

กรอบแนวคดิ การวิจยั ผลการดาเนนิ งานตามกระบวนการนเิ ทศ

กระบวนการนิเทศเพื่อพัฒนาครู กศน. ตาบลโดย 1. ผลที่เกิดจากการพัฒนาครู กศน. ตาบล
การเสริมสร้างชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชพี ใน ในการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ และการสร้างชุมชนแห่งการ
การจัดการเรียนร้ทู ี่เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ เรียนรทู้ างวิชาชพี
1. การวิเคราะห์สภาพ ปัญหา การจัดการเรียนรู้
2. ผลการจดั การเรยี นรทู้ เี่ กดิ กบั ผู้เรียน
และการวิเคราะห์ครู กศน. ตาบล รายบคุ คล 3. ความคิดเห็นของผู้เรียนท่ีมีต่อการ
2. ให้ความรู้การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
จัดการเรยี นรขู้ องครู กศน. ตาบล
สาคัญและการตง้ั เป้าหมายรว่ มกัน
3. จดั ทาแผนการเรียนรูร้ ายวชิ ารว่ มกนั
4. ครูนาแผนไปปรับใชใ้ หส้ อดคลอ้ งกับผเู้ รียน
5. ประชุมวางแผนก่อนการนาแผนไปจัดการจัดการ

เรยี นรู้
6. การสงั เกตการจดั การเรยี นรู้
7. การวเิ คราะหผ์ ลการจัดการเรียนรู้
8. การสะท้อนผล แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ เผยแพร่
9. การนาผลการจัดการเรียนรู้ไปพัฒนาอย่าง

ต่อเนอื่ ง

20

วตั ถุประสงคก์ ารวิจยั

1. เพื่อปฏิบัติการนิเทศตามกระบวนการนิเทศเพื่อพัฒนาครู กศน. ตาบล โดยการเสริมสร้าง
ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชีพในการจัดการเรยี นรทู้ ่ีเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั

2. เพื่อศึกษาผลที่เกิดกับครู กศน. ตาบล และผู้เรียน จากการปฏิบัติการนิเทศตาม
กระบวนการนิเทศเพ่อื พฒั นาครู กศน. ตาบล โดยการเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในการจัดการ
เรียนรทู้ เ่ี น้นผู้เรียนเป็นสาคัญ

ตัวแปรและนยิ มตัวแปร

ตัวแปรการวจิ ยั
1. ตัวแปรอิสระ คือ กระบวนการนิเทศเพื่อพัฒนาครู กศน. ตาบล โดยการเสริมสร้างชุมชนแห่ง
การเรียนรู้ทางวิชาชีพในการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวดั ฉะเชิงเทรา
2. ตวั แปรตาม ได้แก่

2.1 ผลท่ีเกิดจากการพัฒนาครู กศน. ตาบล ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตาม
มาตรฐานตวั บ่งชีก้ ารประกนั คุณภาพการศึกษา ด้านความรู้ และทักษะ

2.2 ผลการจดั การเรียนร้ทู ่เี กดิ กับผเู้ รยี น
2.3. ความคิดเหน็ ของผเู้ รียนท่ีมตี ่อการจดั การเรยี นรูข้ องครู กศน. ตาบล
นยิ ามตวั แปร
กระบวนการนิเทศเพื่อพัฒนาครู กศน. โดยการเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพใน
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ หมายถึง วิธีการ ขั้นตอนการนิเทศ 9 ข้ันตอน ได้แก่ การวิเคราะห์
สภาพ ปญั หา การจัดการเรียนรู้ การวเิ คราะห์ครู กศน. ตาบล รายบคุ คล การอบรมให้ความรู้การจัดการเรียนรู้
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และการตั้งเป้าหมายร่วมกัน การจัดทาแผนการเรียนรู้รายวิชาร่วมกัน ครูนาแผนไป
ปรับใช้ให้สอดคล้องกับผู้เรียน การประชุมวางแผนก่อนการนาแผนไปจัดการจัดการเรียนรู้ การสังเกตการ
จดั การเรียนรู้ การวเิ คราะห์ผลการจดั การเรียนรู้ การนิเทศเพือ่ สะทอ้ นผล เผยแพร่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการ
นาผลการจัดการเรียนรไู้ ปพฒั นา รวมท้ังเปน็ การนเิ ทศเพอื่ การพฒั นาครู อย่างต่อเนือ่ ง
การจัดการเรยี นรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ หมายถึง กระบวนการ ข้ันตอน ในการจัดการเรียนรู้
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานของครู กศน. ตาบล โดยมี 8 ข้ันตอน ได้แก่ การกาหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดข้ึนกับ
ผู้เรียน การศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเป็นรายบุคคล การออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ท่ีตอบสนองความ
แตกต่างระหวา่ งบุคคล การจัดบรรยากาศที่เอือ้ ตอ่ การเรียนรู้ และดูแลช่วยเหลือผู้เรียนการจัดเตรียมและใช้ส่ือ
ให้เหมาะสมกับกิจกรรมการประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีที่หลากหลาย การวิเคราะห์ผลการ
ประเมินและนามาใช้ในการพัฒนาผู้เรียน และการศึกษาค้นคว้า วิจัย เพ่ือกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้น
ผู้เรียนเปน็ สาคญั

21

ชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวิชาชพี หมายถึง การจัดกิจกรรมอย่างมีส่วนร่วมของครู กศน. ตาบล
ผู้บริหาร คณะกรรมการนิเทศภายในของสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ นักวิชาการศึกษา เพื่อพัฒนาการจัดการ
เรียนร้ทู เี่ น้นผเู้ รยี นเป็นสาคัญ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
โดยการกาหนดเป้าหมายในการพัฒนาครู กศน. ตาบล การพัฒนา กระบวนการจัดการเรียนรู้ การพัฒนา
ผู้เรียน การใช้สื่อทรัพยากรสารสนเทศ สื่อ นวัตกรรมร่วมกัน การแลกเปล่ียนเรียนรู้ สะท้อนผลการจัดการ
เรียนรู้ภายใต้บรรยากาศการเป็นมิตร ช่วยเหลือซ่ึงกันและกันในการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาตนเองของครู กศน.
ตาบล ในการจัดการเรยี นร้ทู ่สี ่งผลดีตอ่ ผู้เรียน

ครู กศน. ตาบล หมายถึง พนักงานราชการตาแหน่งครู กศน. ตาบล ที่สังกัดสานักงาน กศน.
จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา มบี ทบาทหน้าท่ใี นการจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน

ผู้เรียน หมายถึง ผู้ท่ีขึ้นและลงทะเบียนเรียนหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น
พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ในสถานศกึ ษาสงั กัดสานักงาน กศน. จังหวดั ฉะเชิงเทรา

ประชากร

1. ครู กศน. ตาบล จานวน 68 คน ของกศน. อาเภอซ่ึงเป็นสถานศึกษา สังกัดสานักงานกศน.
จงั หวัดฉะเชงิ เทรา จานวน 11 แห่ง

2. ผู้เรียนการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในความรับผิดชอบของครู กศน.ตาบล ของกศน. อาเภอที่
ผวู้ จิ ัยได้รบั มอบหมายรบั ผดิ ชอบในการนิเทศ จานวน 1,260 คน

กล่มุ ตัวอยา่ ง

1. ครู กศน. ตาบล จานวน 21 คนของสถานศึกษาท่ีผู้วิจัยได้รับมอบหมายรับผิดชอบในการนิเทศ
จานวน 3 แหง่ โดยการเลือกแบบเจาะจง (purposive sampling) เนื่องจากเป็นพ้ืนที่สถานศึกษาที่ผู้วิจัยได้รับ
มอบหมายให้นิเทศ

2. ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในความรับผิดชอบของครู กศน. ตาบล ของสถานศึกษาท่ีผู้วิจัย
ไดร้ บั มอบหมายรับผดิ ชอบในการนเิ ทศ จานวน 3 แห่ง การกาหนดขนาดกลมุ่ ตัวอยา่ งจากการเปิดตารางเครจซี่
และมอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970: p. 608-609) ไดข้ นาดกลุ่มตัวอย่าง จานวน 297 คน จากน้ัน เทียบ
บญั ญตั ิไตรยางศจ์ ากจานวนผเู้ รยี นของครู กศน.ตาบล แตล่ ะคน และสมุ่ อยา่ งงา่ ยตามขนาดกลุ่มตวั อย่าง

เครื่องมือวจิ ัย

เครื่องมือที่ใช้ในกระบวนการนิเทศเพื่อพัฒนาครูในด้านความรู้ การนิเทศการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้น
ผู้เรยี นเป็นสาคญั การศกึ ษาผลการจัดการเรียนรู้ทเี่ น้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั ดังนี้

1. เครอ่ื งมือที่ใช้ในกระบวนการนิเทศเพ่ือพัฒนาครู กศน. ตาบล
1.1 คู่มือครู กศน. ตาบล ในการจัดการเรยี นรทู้ ี่เน้นผเู้ รียนเป็นสาคญั
1.2 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ีเ่ น้นผ้เู รียนเป็นสาคัญ

22

2. เครื่องมอื ทีใ่ ช้การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
2.1 แบบทดสอบความร้ดู า้ นการจดั การเรยี นรู้ท่เี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ
2.2 แบบนิเทศการจดั การเรียนรทู้ ี่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั
2.3 แบบประเมนิ ตนเองของครู กศน.ตาบลในการจดั การเรยี นรทู้ เี่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสาคญั
2.4 แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียนต่อการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ

ของครู กศน. ตาบล

การสรา้ งและหาคุณภาพเครอื่ งมือ

1. แบบทดสอบความรู้ด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญแบบทดสอบเพ่ือวัด
ความรู้ดา้ นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของครู กศน. ตาบล มีข้ันตอนการสร้างและหาคุณภาพ
ของแบบทดสอบ ดังน้ี

1.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ สาหรับครู มาตรฐาน ตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพการศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง พ.ศ. 2554) แบบทดสอบการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้น
ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ เกณฑ์การวดั และประเมินผล

1.2 รา่ งแบบทดสอบสาหรบั วัดความรูเ้ ก่ยี วกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ ตามกรอบเนื้อหาของคู่มือครู กศน. ตาบล ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็น
แบบทดสอบแบบเลือกตอบ (multiple choices) 4 ตัวเลอื ก ต้องการแบบทดสอบจานวน 20 ข้อ ซึ่งผู้วิจัยร่าง
แบบทดสอบเกนิ จานวนท่ตี ้องการ คือ ร่างแบบทดสอบ จานวน 30 ขอ้

1.3 นาร่างแบบทดสอบตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยผู้เช่ียวชาญ จานวน 5
คน เป็นการตรวจสอบความครอบคลุมเนื้อหา โดยพิจารณาจากตารางวิเคราะห์เน้ือหา ความสอดคล้องของ
เน้ือหากับจุดประสงค์ที่กาหนด (Index of Item Objective Congruence : IOC) เลือกข้อสอบที่มีค่า IOC
ตั้งแต่ 0.5 ข้นึ ไป คัดเลอื กขอ้ สอบขอ้ นั้นไว้ใช้ ไดจ้ านวนขอ้ สอบ จานวน 30 ขอ้

1.4 ปรบั ปรงุ แบบทดสอบตามท่ผี ู้เชย่ี วชาญแนะนา
1.5 นาแบบทดสอบท่ีได้ไปทดลองกับครูที่ไม่ได้เป็นกลุ่มตัวอย่าง คือ ครู กศน. ตาบล
ของ กศน. อาเภอบางน้าเปร้ียว กศน. อาเภอบางปะกง กศน. อาเภอสนามชัยเขต และ กศน. อาเภอพนมสาร
คาม จังหวัดฉะเชิงเทรา จานวน 30 คน นาค่าคะแนนที่ได้ หาค่าอานาจจาแนกของแบบทดสอบรายข้อ โดย
เลอื กแบบทดสอบทม่ี คี ่าอานาจจาแนก ตงั้ แต่ .20 ขึ้นไป หาค่าความยากง่ายของแบบทดสอบรายข้อ โดยเลือก
ข้อคาถามท่ีมีค่าความยากง่ายระหว่าง .20-.80 ได้แบบทดสอบที่มีค่าอานาจจาแนกและค่าความยากง่าย
จานวน 20 ข้อ และหาความเช่ือมั่นของแบบทดสอบโดยใช้สัมประสิทธ์ิแอลฟาของครอนบาค ได้ค่าความ
เชอ่ื มั่นของแบบทดสอบท้ังฉบับ เทา่ กับ 0.895
1.6 นาแบบทดสอบไปใช้ทดสอบกับกลมุ่ ตัวอยา่ งท่ีใชใ้ นการวิจัย

23

2. แบบนิเทศการจดั การเรยี นรทู้ ่เี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ
2.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ

มาตรฐาน ตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพการศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง พ.ศ. 2554) ตัวบ่งชี้ด้านครูและผู้เรียน การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้
พฤติกรรมบ่งช้ีด้านการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การนิเทศการเรียนการสอน เข็มทิศการนิเทศ (หน่วย
ศึกษานิเทศก์. 2557: 20-63) ประสบการณ์การนิเทศ (หน่วยศึกษานิเทศก์. 2557: 12-54, 88-120) คู่มือการ
นิเทศการสอนภายในโรงเรียน ด้วยวิธีสังเกตการสอน (สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครปฐม.
2556: 1-29)

2.2 ร่างแบบนิเทศการจดั การเรียนรู้ทเ่ี น้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ ให้ผูเ้ ชีย่ วชาญ จานวน 5 คน
ได้พิจารณาความตรงด้านเน้ือหา ความครอบคลุมของตัวบ่งช้ี ของกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ

2.3 นาแบบนิเทศการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ไปทดลองใช้โดยการสังเกต
การสอน ว่าสามารถบันทึกตรวจสอบพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ของครู ได้ตามกระบวนการจัดการรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญไดค้ รบถ้วนหรอื ไม่

2.4 ปรับปรุงแก้ไขให้ถูกตอ้ งสมบรู ณก์ ่อนนาไปใช้จรงิ
3. แบบประเมนิ ตนเองของครู กศน. ตาบล ในการจดั การเรยี นร้ทู ่เี น้นผู้เรียนเป็นสาคัญ

3.1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้องกับการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ มาตรฐาน ตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพการศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง พ.ศ. 2554) ตัวบ่งชี้ด้านครูและผู้เรียน แบบประเมินตนเองของครู จาก
คู่มือกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของมหาวิทยาลัยศิลปากร (2552) มหาวิทยาลัย
ราชภัฏพบิ ลู สงคราม (2553) มหาวิทยาลยั นราธิวาสราชนครินทร์ (2555)

3.2 ร่างแบบประเมินตนเองของครู กศน. ตาบล ในการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ เป็นแบบประเมนิ ตนเองแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ให้ผู้เช่ียวชาญ จานวน 5 คน ได้พิจารณา
ความตรงดา้ นเน้ือหา ความครอบคลุมของตัวบ่งช้ี กระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยใช้ค่า
ดัชนีความสอดคล้องกับนยิ ามตัวแปร แล้วพจิ ารณาข้อคาถามท่ีมีค่า IOC ตั้งแต่ 0.5 ข้ึนไป รวมท้ังความถูกต้อง
ของถอ้ ยคา ปรบั ปรงุ แบบประเมนิ ตนเองตามทีผ่ เู้ ชีย่ วชาญแนะนา

3.3 นาแบบประเมินตนเองของครู กศน. ตาบล ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ ไปทดลองใช้โดยให้ครูที่ผ่านการพัฒนาครู กศน.ตาบล และการนิเทศการสอน สังกัดสถานศึกษา
สังกัดสานักงาน กศน. จังหวัดฉะเชิงเทรา ที่ไม่ใช่พ้ืนท่ีนิเทศของผู้วิจัย จานวน 30 คน ได้แก่ ครู กศน. ตาบล
ของ กศน.อาเภอบางนา้ เปรีย้ ว กศน.อาเภอบางปะกง กศน.อาเภอสนามชัยเขต และ กศน.อาเภอพนมสารคาม
จังหวัดฉะเชิงเทรา ว่าสามารถประเมินตนเอง ตรวจสอบพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ของต นเอง ได้ตามการ

24

จัดการเรยี นรทู้ ่ีเนน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคญั ได้ครบถว้ นหรือไม่ ตามเกณฑท์ ่กี าหนดโดยใช้เกณฑ์ในการแปลความหมาย
จากค่าเฉล่ยี ตามเกณฑข์ องเบสท์

นาแบบประเมินตนเองของครู กศน. ตาบล หาค่าอานาจจาแนก โดยคัดเลือกข้อคาถามที่มีค่า
อานาจจาแนก ตั้งแต่ .20 ขึ้นไป ไดข้ อ้ คาถาม จานวน 50 ข้อ ใน 8 ด้านของการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ หาค่าความเชื่อม่ัน โดยใช้วิธีสัมประสิทธ์ิแอลฟา (alpha coefficient) ของ Cronbach ได้ค่าความ
เชอ่ื ม่นั ท้ังฉบบั เท่ากบั 0.984

3.4 จดั ทาแบบประเมินครู กศน. ตาบล เปน็ ฉบบั สมบูรณ์แล้วนาไปเกบ็ ขอ้ มลู
4. แบบสอบถามความคิดเห็น เพ่ือศึกษาความคิดเห็นของผู้เรียนการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ต่อการจัดการเรยี นรู้ท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ของครู กศน. ตาบล มกี ารสรา้ งและหาคุณภาพดังนี้

4.1 ศึกษา ค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องมาสร้างแบบสอบถามความความ
คิดเหน็ ของผเู้ รียนต่อการจดั การเรยี นรู้ท่ีเนน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคัญ

4.2 สร้างแบบสอบถามความคิดเห็น ในลักษณะมาตราสว่ นประมาณคา่ 5 ระดับ
4.3 ให้ผู้เชี่ยวชาญ 5 คน ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content validity) รวมท้ัง
ความถูกต้องของถ้อยคา ปรับปรุงแบบสอบถามตามที่ผู้เชี่ยวชาญแนะนา โดยใช้ค่าดัชนีความสอดคล้องกับ
นิยามตัวแปรแล้วพิจารณาข้อคาถามที่มีค่า IOC ต้ังแต่ 0.5 ข้ึนไป ได้ข้อคาถามท่ีผ่านเกณฑ์ ดังกล่าว 25 ข้อ
ส่วนท่เี หลือผู้วิจัยไดต้ ัดทง้ิ
4.4 นาแบบสอบถามทีป่ รับปรงุ แล้วไปทดลองใช้ กบั ผู้เรยี นทีไ่ มใ่ ช่กลมุ่ ตวั อย่างคือ ผู้เรียน
ของสถานศึกษาสังกัดสานักงาน กศน.จังหวัดฉะเชิงเทรา จานวน 30 คน ได้แก่ ครู กศน. ตาบลของ กศน.
อาเภอบางน้าเปรีย้ ว กศน. อาเภอบางปะกง กศน. อาเภอสนามชัยเขต และ กศน. อาเภอพนมสารคาม จังหวัด
ฉะเชิงเทรา
4.5 นาแบบสอบถามมาตรวจสอบความถูกตอ้ งสมบูรณ์ และตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ท่ี
กาหนดโดยใชเ้ กณฑ์ในการแปลความหมายจากคา่ เฉล่ีย ตามเกณฑข์ องเบสท์
4.6 นาแบบสอบถามหาอานาจจาแนกรายข้อ โดยคัดเลือกข้อคาถามท่ีมีค่าอานาจ
จาแนก ต้ังแต่ .20 ข้ึนไป ได้ข้อคาถาม จานวน 25 ข้อ หาค่าความเช่ือมั่น โดยใช้วิธีสัมประสิทธ์ิแอลฟา ของ
Cronbach ไดค้ า่ ความเช่อื มนั่ ของแบบสอบถามฉบับ เทา่ กับ 0.924
4.7 จดั ทาแบบสอบถามเป็นฉบับสมบรู ณแ์ ลว้ นาไปเก็บข้อมูล

การเก็บรวบรวมข้อมูล

ผู้วจิ ยั ไดด้ าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลดังน้ี ดังนี้
1. นเิ ทศเพอ่ื พฒั นาครู กศน. ใหค้ วามรู้ โดยการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการในการจัดการเรียนรู้ ท่ีเน้น
ผ้เู รยี นเป็นสาคัญ ตามโครงสร้างหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 (ปรับปรุง
พ.ศ. 2554) ในระหว่างวันท่ี 24–27 กุมภาพันธ์ 2557 ณ สานักส่งเสริมและฝึกอบรมกาแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม นาคู่มือครู กศน. ตาบล ในการจัดการ

25

เรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ซ่ึงผู้วิจัยพัฒนาขึ้น ประกอบการอบรมพัฒนาครู โดยมีข้ันตอนการเก็บรวบรวม
ขอ้ มลู ในขน้ั ตอนการพฒั นาครู คือ

1.1 ให้ครู กศน. ตาบล ทาแบบทดสอบก่อนการอบรมเชิงปฏิบัติการ เพ่ือทดสอบความรู้
ความเข้าใจในเรื่องการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญก่อนการเข้ารับการอบเชิงปฏิบัติการ และตรวจให้
คะแนน

1.2 ให้ความรู้เรื่องกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ปฏิบัติการจัดทา
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่เี นน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ นาเสนอ วิพากษ์ ให้ข้อเสนอแนะและแลกเปลยี่ นเรยี นรู้

1.3 สาธติ การจัดการเรยี นร้ทู ่เี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ
1.4 ให้ความรู้เร่ืองการวิจัยในชั้นเรียน ปฏิบัติการทาวิจัยในช้ันเรียน นาเสนอวิพากษ์ ให้
ข้อเสนอแนะ และแลกเปล่ยี นเรียนรู้
1.5 ให้ครู กศน. ตาบล ทาแบบทดสอบหลังการอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อทดสอบความรู้
ความเขา้ ใจในเรอ่ื งการจดั การเรยี นร้ทู ่ีเน้นผเู้ รียนเป็นสาคญั ตรวจใหค้ ะแนน
1.6 กาหนดให้ครู กศน. ตาบล แต่ละคนจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ เสนอผู้บรหิ าร คณะกรรมการตรวจสอบแผนการจดั การเรยี นรู้ของสถานศึกษา ผู้วิจัย ศึกษานิเทศก์ โดย
ใช้แบบประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ตรวจสอบแผนและเสนอ
ผ้บู รหิ ารสถานศึกษาอนุมัติแผน
2. นิเทศติดตามเพ่ือตรวจสอบผลการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของครู กศน. ในปี
การศึกษา 2557 – ปกี ารศึกษา 2558 หลากหลายวิธี ไดแ้ ก่
2.1 นิเทศการสอน โดยการประชุมก่อนการสังเกตการสอน การสังเกตการสอนเพ่ือศึกษา
พฤติกรรมการสอนของครู กศน. ตาบล วิเคราะห์ผลการสังเกตการสอน ประชุมหลังการสังเกตการสอน และ
วิพากษ์สะท้อนผลการสังเกตการสอน แบบประเมินการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของครู กศน.
ตาบล ให้คาแนะนา ชว่ ยเหลอื สะทอ้ นผลการสอน
2.2 การนิเทศแบบคลินกิ เปน็ ทป่ี รึกษาในการจดั การเรียนการรทู้ เ่ี น้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ การ
พฒั นาสอ่ื การเรยี นรู้ การวดั และประเมินผล การบนั ทึกหลงั การเรยี นรู้ การทาวจิ ัยในชั้นเรยี น
2.3 การนิเทศแบบสอนงาน ในการพัฒนาส่ือ การวัดและประเมินผล การติดตาม ดูแล
ชว่ ยเหลือผเู้ รียน การวจิ ัยในชัน้ เรียน
2.4 รวบรวมแบบนิเทศการสอน การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จากการนิเทศ
ดว้ ยวิธีท่หี ลากหลาย มาตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วนของข้อมูล และนามาวิเคราะห์ผลการจัดการเรียนรู้ที่
เนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ
3. การนิเทศเพื่อสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ในปีการศึกษา 2558 – ปีการศึกษา 2559
โดยการสะท้อนผล แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ เผยแพร่ และการนาผลการจัดการเรยี นรไู้ ปพฒั นาอย่างต่อเนอื่ ง

26

3.1 การรายงานการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผ่านทางอินเทอร์เน็ต กลุ่มเฟซบุ๊ก จานวน
2 กลุ่ม คือ กลุ่มนิเทศการจัดการเรียนการสอนการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และกลุ่มศูนย์ส่ือการเรียนรู้ สานักงาน
กศน. จงั หวัดฉะเชงิ เทรา

3.2 การแลกเปล่ียนเรียนรู้ของเพ่ือนครู กศน. ผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ คณะกรรมการ
นิเทศภายใน ผู้เรียน กศน. ทางเฟซบุ๊ก กลุ่มนิเทศการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และการสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้
ของครู กศน. ตาบล จากการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้

4. รวบรวมข้อมูลผลการประเมินตนเองของครู กศน. ตาบล โดยครู กศน. ตาบล ทาแบบ
ประเมินตนเอง

5. สอบถามความคดิ เห็นของผู้เรียนการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ โดยนาแบบสอบถามความคิดเหน็ ใหผ้ เู้ รียน ในความรบั ผิดชอบของ ครู กศน. ตาบล

ท่ีได้รับการนิเทศติดตาม ตอบแบบสอบถามความคิดเห็น เพ่ือประเมินผลการจัดการเรียนรู้ที่เน้น
ผเู้ รยี นเป็นสาคัญของครู กศน. ตาบล ทีเ่ กิดกับผเู้ รยี น และนาแบบสอบถามความคิดเห็นมาวิเคราะห์ข้อมลู

การวเิ คราะหข์ อ้ มลู

รวบรวมข้อมูลที่ได้จากแบบทดสอบ แบบนิเทศการสอน แบบประเมินการจัดการเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ตรวจสอบความสมบรู ณข์ องขอ้ มลู การวิเคราะห์ข้อมูลเชงิ คุณภาพ ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา โดยการแจกแจงข้อ
ค้นพบ ในเชิงการอธิบาย ซึ่งนามาสรุปเป็นผลการศึกษา และแสดงแนวทางในการปฏิบัติหรือปรับปรุงการ
ปฏิบัติงาน โดยนาข้อมูลที่ได้จากการตรวจสอบรายการแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การ
สังเกตการสอน การนิเทศ โดยนาข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเช่ือมโยงความสัมพันธ์ของข้อมูลตาม
กรอบแนวคิดและวัตถุประสงค์ของการวจิ ยั

การวเิ คราะหข์ ้อมูลเชงิ ปริมาณท่ีได้จากการทดสอบ การประเมินตนเอง การสอบถามความคิดเห็น
แบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) 5 ระดับ นามาวิเคราะห์โดยข้อมูลจากแบบทดสอบใช้วิธีการหา

ค่าเฉล่ีย (  ) แล้วเปรียบเทียบคะแนนก่อนและหลังการประชุมปฏิบัติการ ส่วนข้อมูลจากแบบสอบถาม
วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาร้อยละ ค่าเฉล่ีย ทุกข้อคาถามแล้วนาเสนอในรูปแบบของตารางและความเรียง โดยใช้
เกณฑ์ในการแปลความหมายจากค่าเฉล่ีย

สถติ ิท่ใี ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู

สถิติพนื้ ฐาน ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน สถิติ
ที่ใช้ในการหาคุณภาพเครื่องมือ ได้แก่ ค่าดัชนีความสอดคล้อง ค่าอานาจจาแนกรายข้อ ค่าความยากง่าย ค่า
ความเชอ่ื มนั่

27

ผลการวิจยั

ตอนท่ี 1 ผลการปฏิบัติการนิเทศตามกระบวนการนิเทศเพ่ือพัฒนาครู กศน. ตาบล โดยการ
เสริมสรา้ งชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชพี ในการจัดการเรยี นรทู้ เ่ี นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ

1.1 ความรู้ของครู กศน. ตาบล ในการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญโดยการอบรม
ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร มกี ารใหค้ วามรู้ พบวา่ ครู กศน. ตาบล มคี วามรู้เพมิ่ ขน้ึ คะแนนเฉลยี่ เพมิ่ ข้ึนเท่ากับ 4.32
โดยครูมีความรู้ ความเข้าใจ เพิ่มข้ึนในข้ันตอนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 8 ข้ันตอน ตาม
มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ ของการประกันคุณภาพการศึกษา และสามารถจัดทาแผนการเรียนรู้ได้ตามหลักการ แนว
ทางการจดั การเรยี นรู้ที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ

ตาราง 1

ค่าคะแนนเฉล่ียด้านความรู้ความเข้าใจ ก่อน-หลัง เข้ารับการพัฒนา อบรมเชิงปฏิบัติการการ

จัดการเรยี นรทู้ ่ีเนน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั ของครู กศน. ตาบล

ผลการพัฒนาครใู นการเรียนรู้ คะแนน คะแนน คะแนน
ทเ่ี นน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ เฉล่ยี เฉลยี่ เฉลีย่ เพิม่ ขน้ึ
Pre-test Post-test

ครู กศน มีความรู้ ความเข้าใจ 9.38 13.89 4.32
ในการจัดการเรียนรู้ท่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ

จากตาราง 1 ครู กศน. ตาบล ท่ีเขา้ รบั การพัฒนา อบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการเรียนรู้เพิ่มขึ้น โดยมีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบโดยใช้
แบบทดสอบความรู้ก่อนการเข้ารับการพัฒนา เท่ากับ 9.38 และมีค่าคะแนนเฉลี่ยแบบทดสอบหลังเข้ารับการ
พฒั นา เท่ากบั 13.89 คดิ เป็นคะแนนเฉล่ียเพ่มิ ข้ึนเท่ากบั 4.32

1.2 ผลการนิเทศการสอน พฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของครู กศน.
ตาบล ตามแผนการจัดการเรยี นรู้ โดยการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี จากการรายงานผล สะท้อนผล
แลกเปล่ียนเรียนรู้ เผยแพร่ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต กลุ่มเฟซบุ๊ก กลุ่มนิเทศการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
เพื่อให้ครู กศน. ตาบล ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวมท้ังศึกษานิเทศก์ ผู้บริหาร และเจ้าหน้าท่ีที่เกี่ยวข้อง ให้
ขอ้ เสนอแนะ ข้อคิดเห็น เพ่ือนาไปปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ในคร้ังต่อไป และได้มีช่องทางในการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้วิธีการจัดการเรียนรู้ของครู กศน. คนอื่นๆ เพ่ือจะนาไปใช้และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของตนเองต่อไป
ผลการนิเทศพบวา่ ครู กศน. ตาบล มกี ารจดั การเรียนรทู้ ีเ่ น้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ ปฏบิ ตั ใิ นข้ันตอน ตามมาตรฐาน
ตัวบ่งชี้ของการประกันคุณภาพการจัดการศึกษา 8 ขั้นตอน และครู กศน. ตาบล สามารถนาผลการนิเทศไป
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไปใช้ในการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ให้ดีขึ้น และมีช่องทางและโอกาสในการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาตนเองและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ซึ่งข้อคิดเห็นของครู กศน. ตาบล เกี่ยวกับ

28

การสร้างชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ จากการรายงานผล สะท้อนผล แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เผยแพร่ผ่านทาง
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต กลุ่มเฟซบุ๊ก รวมทั้งการส่งเสริมให้ครู กศน. ตาบล ได้ร่วมในกระบวนการวิจัยในการ
พัฒนาตัวเอง เพ่ือการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ของนิสิตปริญญาเอก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ลวพร สุกียาม่า
(2558) พบประเด็นท่ีสอดคล้องกับแนวคิดการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ผลจากการสัมภาษณ์ครู
กศน. ตาบล พบว่า ครู กศน. ตาบล เห็นความสาคัญและได้รับประโยชน์จากการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทาง
วชิ าชพี เพื่อการพฒั นาตนเอง พฒั นาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ท่เี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ โดยมีความคิดเหน็ ดงั นี้

“...รวมกล่มุ เพ่อื นครูทมี่ คี วามสนใจท่ีจะพฒั นาศกั ยภาพด้านเดยี วกนั มา มาช่วยกันคิดแผน แสดงความ
คดิ เหน็ มาช่วยแกป้ ญั หาร่วมกนั ...”

“...หาข้อมูลจากคมู่ ือการทางาน คอื สอ่ื ใกล้ตวั สุดว่าเคา้ ตอ้ งการให้เราเป็นอย่างไร แล้วก็อะไรทาไม่ได้ก็
เขา้ ไปดตู ัวอย่างจากเฟซบุ๊ก ทีศ่ ึกษานเิ ทศก์แนะนาภาพการจดั การเรยี นการสอนขึ้นมาดูก็เข้าใจได้คะ่ ...”

“...การนาเสนอภาพการจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่เก่ียวกับการจัดการเรียนการสอน ลงใน หน้าเพจ
เฟซบกุ๊ ของ กศน.ตาบล และเฟซบุ๊ก ของหน่วยงาน LINE กลุ่มเพื่อนครู และ LINE กลุ่มนักศึกษาของตน ทาให้
เราได้พัฒนาตนเองและการจดั การเรียนการสอนไดด้ ีขึ้น...”

“…การายงานการจัดการเรียนรู้ทางเฟซบุ๊กและ LINE มีส่วนสาคัญท่ีช่วยเสริมแรง ในการจัดการ
เรียนรู้ได้มาก การตั้งกลุ่มเฟซบุ๊กทาให้เป็นช่องทางในการติดต่อส่ือสารกันมากขึ้น สามารถนาส่ิงดีๆ สิ่งที่
สามารถนามาพัฒนาตัวเองได้ ความคิด ประสบการณ์ต่างๆ จากเพื่อนเป็นส่วนหนึ่งของช่องทางในการ
แลกเปล่ียนความรู้ หรือเราจะใชแ้ สวงหาความคดิ เห็นก็ได้…”

“การอบรมเชิงปฏิบัติการ การสัมมนาวิชาการ การประชุมสรุปผลงานเพ่ือทาให้เกิดการแลกเปล่ียน
เรียนรู้ท่ีหน่วยงานจัดให้ ในรูปแบบของการวางแผนการจัดกิจกรรมร่วมกันกับเพ่ือน การศึกษาดูงาน และ ใน
รูปแบบที่ไม่เป็นทางการผ่านการใช้โปรแกรม เฟซบุ๊กและ โปรแกรมไลน์กลุ่มเพื่อนาเสนอผลงานในการพัฒนา
ตนเอง เวลามาแลกเปลย่ี นเรยี นรู้กันทาให้ได้ประสบการณ์ ทราบเทคนิค วธิ ใี นการปฏิบัตงิ าน แก้ไขปัญหาต่างๆ
ได้ การพัฒนาตวั เองกส็ าเร็จเรว็ ขนึ้ ครู กศน.ทางานเป็นทมี เรารวมกลมุ่ กนั ชว่ ยกนั

“…ครูแตล่ ะคน เจอปญั หาท้ังท่ีไมเ่ หมอื นเรา และเหมือนเรา เราสามารถดูวิธีการ ดาเนินการของแต่ละ
คนได้ ดใู นเร่ืองของเคา้ มวี ิธีการจัดการปญั หาและอปุ สรรคอย่างไร แรงจูงใจเค้าเป็นไงถึงผ่านมาได้ อะไรท่ีทาให้
เคา้ ประสบความสาเรจ็ …”

“…เวลาเรามาคุยกบั เพอื่ นถึงสิ่งท่ีเราได้ไปพัฒนาตัวเองมา นาประสบการณ์มาแลกกัน นาวิธีแก้ปัญหา
มาเล่า มาบอก ยิ่งบางคนพัฒนาเรื่องที่เรายังไม่พัฒนาแล้วเค้านาวิธีการที่เค้าแก้ปัญหามาบอก เราเอามาปรับ
ใชไ้ ดเ้ ลย เรารู้ข้อมูลได้เลยไม่ต้องนาวิธแี กไ้ ขมาทดลองทาเองทาให้เสียเวลา เพราะได้รับจากคนที่เขาทามาแล้ว
บางเรือ่ งที่เปน็ ปญั หามานาน เราเอาวธิ กี ารแกป้ ัญหาใหมๆ่ ที่เจอจากการพฒั นาตัวเองมาใช้ไดเ้ ลย…”

“...บางครั้งคิดอะไรไม่ออก ก็จะถามเพื่อนในกลุ่ม ทาให้เรารู้ถึงปัญหาเพื่อน และวิธีการแก้ปัญหาซึ่ง
บางครั้งอาจจะตรงกับปัญหาเรา หรืออาจปรับใช้ได้ และปัญหาของเราที่นามาแลกเปลี่ยนก็จะได้วิธีการ
แก้ปญั หามาจากแลกเปลี่ยนเรียนรกู้ นั ...”

29

“…การแลกเปล่ียนเรียนรู้กับเพื่อนมันทาให้เรามีความรู้เพิ่มข้ึน กล้าแสดงออก กล้าที่จะถาม กล้าที่จะ
แสดงความคิดเหน็ เกดิ ความรักท่จี ะทา จะทาให้เรามองเหน็ ว่าเรามคี วามรู้ ความเข้าใจในเรื่องท่ีเรากาลังจะทา
การพฒั นาตัวเรานั้นหรอื ไม่ ถา้ เราไม่มี คนอื่นเคา้ มี เราก็ต้องไปแสวงหาความรนู้ ้นั …”

“...การท่ีเราจะพัฒนาตัวเอง เราต้องรู้ก่อนว่าเราถนัดอะไร และไม่ถนัดอะไร ต้องการอะไรและไม่
ต้องการอะไร โดยเราอาจประเมินจากการสังเกตดูเพ่ือนร่วมงานรอบๆ ตัวเรา ที่เค้ามีผลงานเด่นๆ หรือ
ขอ้ เด่นๆ ว่าทาไมเค้าทาได้เราทาไม่ได้ ก็จะเป็นจุดด้อยของเรา หรือสิ่งไหนที่เราทาได้แต่เพื่อนทาไม่ได้ก็จะเป็น
จุดเดน่ ของเรา...”

“…ทักษะ ความสามารถเกิดจากการดู จดจา นาไปใช้ ทาและทา จริงๆเราได้ทักษะมาพร้อมๆ กับ
นักศึกษาเลย เรียนรู้ไปพร้อมกับเค้า เรียนรู้จากประสบการณ์ท่ีได้ร่วมกันนี่แหละค่ะ ผู้เรียนก็เรียนรู้ได้มากขึ้น
เราก็ใช้ผเู้ รยี นเป็นแรงบนั ดาลใจให้เราพฒั นาตวั เราใหม้ ีความสามารถมากกวา่ น้ี เราจะไดเ้ ป็นหลกั ใหเ้ คา้ ได้…”

“…เราแสวงหาความรู้หลากหลาย จากการศึกษาค้นคว้า สังเกต การบันทึก อภิปรายร่วมกัน การฟัง
การตง้ั สมมุตฐิ าน และต้ังคาถาม แสวงหาคาตอบ ทุกอย่างที่ทาให้เราได้ความรู้ ทั้งผู้รู้ เร่ืองราวที่สืบทอดกันมา
บนั ทึกเร่อื งราวต่างๆ หรือไปสอบถาม พูดคุยกบั ผ้รู ู้ ซึง่ เป็นบุคคลท่ีสงั คมยอมรับ มีจากผู้เชี่ยวชาญด้วยในเรื่องท่ี
เราอยากรู้ และคนนน้ั ตอ้ งสามารถปรึกษาได้…”

จากการนิเทศเพื่อสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ทาให้ครู กศน. ตาบล มีการแสวงหา
โอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อแสดงความคิดเห็นของตนเก่ียวกับเรื่องท่ีพัฒนาตนเอง เพ่ือเสริมสร้าง
ศักยภาพการจัดการเรียนรู้ ท้ังในแบบท่ีเป็นทางการและไม่เป็นทางการ ส่งผลให้สามารถประสบผลสาเร็จใน
การพัฒนาตนเองมากกวา่ บคุ คลท่ีไมม่ ีโอกาสในการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ มีการนาความรู้ที่ได้จากการพัฒนาตนเอง
ในแต่ละด้านมาถ่ายทอดต่อบุคคลอื่นที่มีส่วนเก่ียวข้องกับการจัดการเรียนรู้ ซ่ึงมี 4 ลักษณะคือ 1) ทางลาย
ลักษณอ์ กั ษร เชน่ การทาวจิ ัยในชน้ั เรียน เอกสารที่รวบรวมความรู้ท่ีได้จากการฝึกอบรม การทาเอกสารรูปเล่ม
เผยแพร่สู่เพื่อนครู และบคุ คลทมี่ ีความสนใจ 2) ผ่านกิจกรรมถ่ายทอดอย่างเป็นทางการ เช่น การเป็นวิทยากร
ผู้ให้ความรู้ผ่านสื่อ ETV การเป็นวิทยากรแม่ไก่ 3) ทางวาจาไม่เป็นทางการ เช่น การพูดคุยกับเพ่ือน การ
ปรึกษาหารือกนั ในชว่ งเวลาท่ีปฏิบัติงาน และนอกเวลาปฏิบัติงาน 4) ผ่านสื่อ Social Media เช่น เฟซบุ๊ก เว็บ
ไซด์กศน.ตาบล จากการนาเสนอส่ิงท่ีพัฒนาตนเองด้านต่างข้ึนบนหน้าเฟซบุ๊ก นิเทศการจัดการเรียนการสอน
และ ศูนย์ส่ือการเรียนรู้ ของสานักงาน กศน.ฉะเชิงเทรา 5) สร้างผลงาน และนาเสนอสู่สาธารณะผ่านการจัด
นทิ รรศการ

ตอนท่ี 2 ผลที่เกิดกับครู กศน. ตาบล และผู้เรียนจากการปฏิบัติการนิเทศตามกระบวนการ
นเิ ทศเพอื่ พัฒนาครู กศน. ตาบล โดยการเสริมสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในการจัดการเรียนรู้ที่
เน้นผู้เรยี นเป็นสาคญั

2.1 ผลท่เี กิดกับครู กศน. ตาบล ในด้านความรู้ โดยการประเมินตนเองของครู กศน. ตาบล ใน
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ก่อนและหลังการได้รับการนิเทศ ผลจากการเปรียบเทียบผลการ
ประเมินของครู กศน. ตาบล ในภาพรวมพบว่า ผลการประเมินตนเองก่อนได้รับการนิเทศค่าเฉล่ียอยู่ในระดับ
ปานกลาง ส่วนผลการประเมินตนเองหลังได้รับการนิเทศอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ครู กศน.

30

ตาบล ประเมินตนเองหลังการนิเทศ มีค่าเฉล่ียสูงกว่าก่อนการนิเทศ ทุกข้อ แต่ข้อท่ีอยู่ในลาดับสุดท้ายท้ังการ
ประเมินก่อนและหลังการนิเทศเพ่ือพัฒนาครู คือ ขั้นตอนของการศึกษาค้นคว้า วิจัย เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้
พฒั นาสอ่ื ซง่ึ ผู้วิจัยได้จดั ทาคมู่ ือการวจิ ัยในชั้นเรียนใหค้ รู กศน. ตาบล และการนเิ ทศแบบคลินิก ทาให้ครู กศน.
ตาบล ทั้ง 21 คน สามารถดาเนินการทาวิจัยในชั้นเรียนเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนได้อย่างถูกต้อง และมี
การพัฒนาพฤติกรรมการจัดการเรยี นร้ทู ่ดี ีขึ้น ดังน้ี

2.1.1 ครู กศน. ตาบล มีการปรับพฤติกรรมการสอนแบบบรรยาย มาเป็นการออกแบบ
การจัดการเรียนรทู้ ่ีใหผ้ ู้เรยี นได้ใชก้ ระบวนการคิด กระบวนการกลุ่ม การเรียนแบบโครงงาน และการนาความรู้
เช่ือมโยงไปปรบั ใชใ้ นวิถีชวี ติ ตามความแตกต่างของผู้เรียน

2.1.2 ครู กศน. ตาบล ได้มีการวางแผนการจดั การเรียนรู้ การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ
ผเู้ รียน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพการจดั การเรยี นรู้ ร่วมกับเพื่อนครู ซ่งึ แตกต่างจากเม่อื กอ่ นทีเ่ ป็นลักษณะต่างคน
ต่างทา

2.1.3 ครู กศน. ตาบล ได้เรียนรู้ในการจัดการเรียนรู้ของเพ่ือนครู และคาแนะนาจาก
ศึกษานิเทศก์ ทาให้ครู กศน. ตาบล นาไปปรับใช้การจัดการเรียนรู้ทีดีข้ึนตามหลักการ แนวทางและมาตรฐาน
ตวั บง่ ชก้ี ารประกันคณุ ภาพ ในเรื่องของการจดั การเรยี นรทู้ ่เี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคญั

2.1.4 ครู กศน. ตาบล ได้รบั การพฒั นาตนเองเองอย่างต่อเน่ือง เปน็ ผใู้ ฝ่รู้ ใฝเ่ รยี น ในการ
ท่จี ะจัดหา พฒั นานวัตกรรมทางการศึกษา และการใช้ทรัพยากรทางการศึกษาร่วมกนั

2.1.5 ครู กศน. ตาบล มีการเปิดรับฟังความคิดเห็น การสะท้อนผล จากการแลกเปลี่ยน
เรยี นรู้ ทาใหม้ บี รรยากาศในการเรียนรู้ มกี ารชว่ ยเหลอื กันเป็นอยา่ งดี

2.2 ผลการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของครู กศน. ตาบล ท่ีเกิดกับผู้เรียน พบว่า
ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติ การใช้กระบวนการคิด การใช้กระบวนการกลุ่ม การนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตรงกบั หลกั การ แนวทางการจดั การเรียนรทู้ เ่ี น้นผ้เู รียนเปน็ สาคัญ ซึ่งรวบรวมผลจากการบันทึกหลังการจัดการ
เรยี นรู้ของครู กศน. ตาบล และการรวิเคราะห์จากการนิเทศ การรายงานผลการจัดการเรยี นรู้ทางกลุ่มเฟซบุ๊ก

2.3 ผลการศึกษาความคิดเห็นของผู้เรียน พบว่า ผู้เรียนมีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนรู้ที่
เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญของครู กศน. ตาบล ดา้ นความรู้ความสามารถของครูในการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคญั และดา้ นการตดิ ตามดแู ละช่วยเหลือผเู้ รียน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า
มีค่าเฉล่ียในระดับมากทุกด้าน เรียงลาดับรายด้านดังนี้ ด้านการติดตามดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ด้านความรู้
ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ส่วนข้อคิดเห็นอ่ืนๆ ที่ได้จากการวิเคราะห์เนื้อหา
เรยี งลาดับความถ่ีจากแบบสอบถามปลายเปิด พบว่า มีส่ิงท่ีผู้เรียนมีความต้องการคือ ต้องการส่ือการเรียนการ
สอนและเทคโนโลยีสารสนเทศเพม่ิ เติม ควรมีเทคโนโลยีในการประกอบการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความ
เข้าใจในการเรียนมากยง่ิ ข้ึน รายละเอยี ดตามตาราง 2

31

ตาราง 2

คา่ เฉลย่ี และสว่ นความเบีย่ งเบนมาตรฐานการประเมินตนเองของครู กศน. ตาบล ในการจัดการเรยี นร้ทู ี่เน้น

ผเู้ รียนเปน็ สาคญั กอ่ นและหลงั การได้รบั การนเิ ทศเพ่ือพฒั นาครู กศน.ตาบล

ขน้ั ตอนการจัดการเรียนรู้ทเี่ น้น การประเมนิ ตนเองก่อน การประเมนิ ตนเองหลัง
ผเู้ รยี นเป็นสาคญั ได้รบั ความรู้ และการนเิ ทศ ได้รบั ความรู้ และการนิเทศ
 S.D. ระดับ  S.D. ระดบั
1. การกาหนดเปา้ หมายทเี่ กิดกับ 3.50 0.65 มาก 4.05 0.54 มาก

ผเู้ รยี น โดยศึกษาวิเคราะห์

หลักสตู รสถานศกึ ษา

2. วเิ คราะหศ์ กั ยภาพผู้เรียน 3.57 0.52 มาก 3.93 0.56 มาก

3. การออกแบบการจัดการเรยี นรู้ 3.58 0.44 มาก 3.90 0.45 มาก

ทเ่ี น้นผ้เู รยี นเปน็ สาคญั

4. การจดั บรรยากาศทเ่ี อ้อื ต่อการเรียนรู้ 3.40 0.70 3.42 0.30 3.42 0.60

และดูแลช่วยเหลือผู้เรยี นให้เกดิ การ

เรยี นรู้

5. การประเมินความก้าวหนา้ ของผู้เรยี น 3.61 0.51 3.62 0.17 3.37 0.53

ดว้ ยวธิ ีทห่ี ลากหลาย เหมาะสม กบั

ธรรมชาตขิ องวิชา และผู้เรียน

6. การวเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ และ 3.35 0.86 3.50 0.70 3.50 0.77

นามาใช้ในการพัฒนา รวมทั้งปรับปรุง

การจัดการเรยี นรู้ โดยการบันทกึ หลงั

สอน

7. การจดั เตรยี มและใชส้ ่อื ใหเ้ หมาะสมมี 3.51 0.58 3.50 0.18 3.28 0.23

การนาแหลง่ เรยี นรู้ ภูมปิ ัญญา

เทคโนโลยี ทีเ่ หมาะสมมาจัดการ

เรียนรู้

8. การศึกษาคน้ คว้า วจิ ัย เพอื่ พฒั นาการ 3.23 0.58 3.50 0.43 3.00 0.31

เรียนรู้ พัฒนาส่อื โดยการวิจยั ในชนั้

เรยี น

รวมทุกด้าน 3.46 0.44 3.61 0.38 3.36 0.43

ระดับ ปานกลาง มาก ปานกลาง

32

อภปิ รายผล

กระบวนการนิเทศเพ่ือพัฒนาครู กศน. ตาบล โดยการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ใน
การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
จังหวัดฉะเชิงเทรา ผู้วิจัยได้ดาเนินการวิจัยปฏิบัติการนิเทศ ทาให้เกิดพัฒนาการ การจัดการเรียนรู้ของครู
กศน. ตาบล ตามเกณฑ์มาตรฐาน ตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพการศึกษา และส่งผลต่อผู้เรียน ซ่ึงมีประเด็น ใน
การอภปิ รายผลดงั นี้

1. การนิเทศเพ่ือพัฒนาครู กศน. ตาบล ตามกระบวนการข้ันตอนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน
เป็นสาคญั ทัง้ 8 ขัน้ ตอน ตามเกณฑ์มาตรฐาน ตัวบง่ ช้กี ารประเมนิ คุณภาพ ผลการนิเทศ พบว่า ครู กศน. ตาบล
มีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญอยู่ในระดับมาก และระดับปานกลาง ท้ังนี้อาจเป็นเพราะครู กศน.
ตาบล แต่ละคนมีความแตกต่างกันท้ังทางด้านประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้ ความถนัด ความสามารถใน
รายวิชาที่จัดการเรียนรู้ อีกท้ังผู้เรียนการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ก็มีความแตกต่างกันท้ังด้านประสบการณ์ อายุ
อาชีพ พน้ื ฐานความรู้ นอกจากนย้ี งั มีความแตกตา่ งในด้านของพืน้ ทีท่ ี่ตั้ง กศน. ตาบล ของครู กศน. ตาบล ซ่ึงมี
ข้อจากัดในด้านสิ่งอานวยความสะดวก สื่อสาหรับการศึกษาค้นคว้า ทาให้ครูออกแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ ตามความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียนได้ยาก แต่ครู กศน. ตาบล ก็สามารถจัดการ
เรียนรู้ได้ตามข้ันตอนของการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญทั้ง 8 ข้ันตอน ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ
อนงค์ ชูชัยมงคล (2554) กานต์ชนา มีฉลาด (2555) พรพิพัฒน์ ซ่ือสัตย์ (2555) Hutchison(2007) Darling
Hammond (2012) Berhne Assefa Ekyaw (2014) ท่ีพบว่า การพัฒนาครูโดยการนิเทศ ผู้นิเทศต้องมีการ
วเิ คราะหส์ ภาพปัญหาของครแู ตล่ ะคนวา่ มขี ้อจากดั ในเร่อื งการเรยี นการสอนด้านใดบา้ ง เพ่ือร่วมกันวางแผนใน
การพัฒนา และแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นระบบ ลดจุดด้อย เพิ่มจุดแข็ง ในการพัฒนาครู ปรับปรุงข้อจากัดใน
การจัดการเรียนรู้ อาจสร้างเครือขา่ ยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา เพื่อแก้ปัญหาครูท่ีมีความแตกต่างกัน มี
ปัญหาในการจัดการเรียนรู้ หรือใช้ทรัพยากรในการจัดการศกึ ษาร่วมกัน ซง่ึ ผู้วิจยั ได้แก้ปญั หาโดยการจัดตั้งกลุ่ม
เฟซบุ๊ก ศูนย์ส่ือการเรียนรู้ สานักงาน กศน. จังหวัดฉะเชิงเทรา เพื่อให้ครู กศน. ตาบล นักวิชาการศึกษา
ศึกษานิเทศก์ รวบรวมสื่อการเรียนการสอน ทาให้ครู กศน. ตาบล สามารถแบ่งปันนาไปปรับใช้ในการจัดการ
เรยี นรูไ้ ด้

2. การสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพให้กับครู กศน. ตาบล ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยการแลกเปล่ียนเรียนรู้ การสะท้อนกลับโดยให้ข้อเสนอแนะ การเผยแพร่ และการนาผล
การจดั การเรียนรไู้ ปพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเรื่อง ซึ่งมีความคิดเห็น มีความรู้สึกว่า ชุมชนการ
เรียนรู้ทางวิชาชีพทาให้ครูไม่รู้สึกโดดเด่ียว มีการทางานเป็นทีม มีท่ีปรึกษา มีตัวอย่างการจัดการเรียนรู้ ทาให้
สามารถนาไปปรับใช้เพื่อการแก้ปัญหา พัฒนาการจัดการเรียนรู้ได้ และสิ่งที่สาคัญท่ีสุดของชุมชนการเรียนรู้
ทางวิชาชีพ ทาให้ครู กศน. ตาบล มีการพัฒนาตนเอง และพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง ซ่ึง
สอดคล้องกับแนวความคิดหลักของ Hord (1997) ที่เน้นการปฏิบัติงานในสถานศึกษาท่ีเน้นรูปแบบทีมงาน
และการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เป็นเสมือนพื้นท่ีการเรียนรู้ร่วมกันของวิชาชีพครู โดยมีลักษณะ

33

สาคัญคือเป็นพื้นท่ีปฏิบัติงานจริงที่ใช้เป็นพ้ืนท่ีเรียนรู้ทางวิชาชีพของครูด้วยการเรียนรู้ผ่านการลงมือทา
(Learning by doing) ทส่ี ามารถทาให้ครมู ีเกิดการเรยี นรู้ผ่านประสบการณ์ตรง ทมี่ ีเวลากับการเรียนรู้ในงานได้
เต็มท(่ี DuFure, 2010) สง่ ผลให้เกิดการเขา้ ใจช้ันเรียน เข้าใจนกั เรียน และเขา้ ใจหน้าที่สาคญั ของวิชาชีพครูของ
ตนเองและเพื่อนร่วมงาน ดังน้ัน การเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติและประสบการณ์ตรงเช่นนี้จะเกิดต่อการพัฒนา
วชิ าชีพครูและส่งผลตอ่ พัฒนาการผเู้ รียนได้มากกว่า (วรลักษณ์ ชกู าาเนดิ . 2557)

3. ผู้เรียนการศึกษาข้ันพื้นฐานมีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของ
ครู กศน. ตาบล ด้านความรู้ความสามารถของครูในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และด้านการ
ติดตามดูแลชว่ ยเหลอื ผูเ้ รียน ในภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก ซงึ่ สอดคล้องกับเกณฑ์การประกันคุณภาพภายในของ
สถานศึกษา กศน. อาเภอ ท่ีกาหนดเกณฑ์ว่าผู้เรียนมีความพึงพอใจในระดับมากต่อการจัดการเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ การท่ีผู้เรียนการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีความคิดเห็น ความ พึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญของครู กศน. ตาบล เน่ืองจากครู กศน. ตาบล มีการจัดการเรียนรู้ได้ตามขั้นตอนการจัดการ
เรียนรู้ท้ัง 8 ข้ันตอน ที่มีการกาหนดเป้าหมายของหลักสูตร รายวิชา วิเคราะห์ผู้เรียน ก่อนการออกแบบการ
จัดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับผู้เรียน ซ่ึงเป็นหลักการ แนวทางการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญที่ให้
ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล และพัฒนาการทางสมอง เพื่อ
นาผู้เรียนไปสู่เป้าหมาย ซ่ึงจากการนิเทศ และการประเมินตนเองของครู กศน. ตาบล พบว่าครูออกแบบการ
เรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย สอดคล้องกับผู้เรียน คือ ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการคิด วิ เคราะห์ ใช้
กระบวนการกลุ่ม บูรณาการเนื้อหากับวิถีชีวิต โดยการทาโครงงาน แผนผังความคิด เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้
ภูมปิ ญั ญา เรยี นรู้จากการฝกึ ปฏบิ ตั ิ และมีการวัดผลประเมนิ ตามสภาพจรงิ มีความหลากหลายของกิจกรรม แต่
ผู้เรียนได้เสนอแนะให้ ครู กศน. ตาบล ควรใช้ส่ือที่หลากหลาย โดยเฉพาะการนาสื่อ ICT มาใช้ในการจัดการ
เรยี นรู้ หรอื ส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รยี นได้ใชส้ ือ่ ICT เพอื่ การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ซงึ่ ตอ้ งมกี ารดาเนินการพัฒนาตอ่ ไป

ขอ้ เสนอแนะ

1. ผลการประเมินตนเองของครู กศน. ตาบล และการนิเทศการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็น
สาคญั พบวา่ ขอ้ ที่มีค่าเฉล่ียเป็นลาดับสุดท้ายคือ การศึกษาค้นคว้า วิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ พัฒนาสื่อ โดย
การวจิ ยั ในช้ันเรยี น ดงั นนั้ ควรมีการนเิ ทศเพ่ือพฒั นาครูในด้านนี้ เพื่อแก้ปัญหา และพัฒนาครู กศน. ตาบล ให้
สามารถทาวิจยั ในชนั้ เรยี นเพ่ือพัฒนาการเรยี นรู้ของผเู้ รยี นได้

2. การสรา้ งชมุ ชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชพี มีความจาเปน็ และความสาคญั ต่อการพัฒนาครู กศน.
ตาบล ทั้งทางด้านการพัฒนาตนเอง และการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน ดังนั้น ทุกคนใน
หน่วยงาน และภาคีเครือข่าย ควรมีส่วนร่วมในการเสริมสร้าง ส่งเสริมสนับสนุน ให้ขวัญกาลังใจ เพ่ือทาให้
ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี ของครู กศน. ตาบล มคี วามตอ่ เน่ืองย่งั ยนื ตอ่ ไป

3. ความคิดเห็นของผู้เรียน และข้อเสนอแนะต่างๆ เป็นส่วนสาคัญในการวัดผลประเมินผลการ
จัดการเรียนรขู้ องครู กศน. ตาบล ควรนาไปเป็นข้อมูลเพ่ือวางแผนการพัฒนาในการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียน
เปน็ สาคัญตอ่ ไป

34

การนาผลการวจิ ัยไปใช้

1. การนิเทศเพ่ือพัฒนาครู กศน. ตาบล โดยการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สามารถแก้ไข
ปัญหาการนิเทศท่ีไม่ต่อเน่ือง ไม่ท่ัวถึง และสามารถพัฒนาครู กศน. ตาบลได้อย่างต่อเนื่อง ท้ังรายบุคคลและ
รายกลุ่ม นอกจากน้ียังสามารถพัฒนาสื่อ นวัตกรรมการศึกษา เพื่อการจัดการเรียนรู้ร่วมกัน ใช้ทรัพยากรทาง
การศึกษารว่ มกัน ดังน้ัน จงึ เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษา ทจ่ี ะใช้เปน็ กรอบแนวคิดการกาหนด นโยบาย กลยุทธ์
การสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อการขับเคลื่อนการเปล่ียนแปลงในระดับสถานศึกษา หรือระดับ
หน่วยงานทีเ่ ล็งเหน็ ความสาคัญของการเรียนรูท้ างวชิ าชพี

2. การนิเทศเพื่อพัฒนาครู กศน. ตาบล โดยการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ทาให้ครู กศน.
ตาบล ได้รับการพัฒนาตนเอง พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง ซึ่งเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณภาพ
ของผ้เู รยี น ดังน้นั ควรนาการพฒั นาตนเอง การพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ ของครู กศน. ตาบล โดยผ่าน
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพนี้ ให้ถือเป็นผลงานสาคัญของครู กศน. ตาบล ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน
เพอื่ เป็นแรงจูงใจ และขวญั กาลงั ใจให้กับครู กศน. ตาบล

3. การนิเทศเพ่ือพัฒนาครู กศน. ตาบล โดยการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ผ่านเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต กลุ่มเฟซบุ๊ก หรือทางช่องทางส่ือสารผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นการนิเทศและพัฒนาครู ได้
อยา่ งสะดวกรวดเรว็ ประหยดั แต่มปี ระโยชนม์ ากต่อการนิเทศเพื่อพัฒนาครู ดังนั้น ควรมีการนาวิธีการไปปรับ
ประยกุ ต์ใช้ ให้เหมาะสมโดยการมีสว่ นร่วมของทุกฝ่ายในการจดั การศกึ ษา

35

บรรณานกุ รม

กุลธร เลิศสุริยะกุล. (2554). การศึกษาสมรรถนะในการปฏิบัติงานของครู กศน. ตาบล เพื่อขับเคลื่อน
กระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในชุมชนจังหวัดฉะเชิงเทรา. นครปฐม:สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์
และบคุ ลากรทางการศกึ ษา.

นิพาดา อุปัชฌาย์. (2553). การพัฒนาครูศูนย์การเรียนรู้ชุมชนในการจัดการเรียนรู้ โดยการพบกลุ่ม
สานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดนครราชสีมา. การศึกษา
ค้นคว้าอสิ ระ การศึกษามหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2550). การสอนคิดด้วยโครงงาน. พิมพ์ครั้งท่ี 4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย,

ไพรินทร์ เหมบุตร, สมชยั วงษน์ ายะ และทวนทอง เชาวกรี ติพงศ์. (2556). “กลยทุ ธ์การนิเทศเพ่ือพัฒนาครูมือ
อาชพี ในเครือข่ายการนเิ ทศที่ 18”. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั นเรศวร. 15(4): 22-32.

ภาวินันท์ สิริวัฒนไกรกุล. (2553). การพัฒนาระบบการนิเทศติดตามการดาเนินงาน กศน. ตาบลของศูนย์
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอเฉลิมพระเกียรติ สานักงาน กศน. จังหวัด
นครราชสีมา การศึกษาค้นควา้ อิสระ การศกึ ษามหาบณั ฑิตมหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม.

ทศิ นา แขมมณ.ี (2551). รูปแบบการเรยี นการสอน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั .
ธนิสร เกษมสันต์ ณ อยุธยา. (2557). การนาเสนอแนวทางการพัฒนาครูการศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศัยด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ.
วิทยานพิ นธ์ครศุ าสตรมหาบณั ฑิต จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
นภมณฑ์ เจียมสุข. (2555). การนาเสนอแนวทางการพัฒนาสมรรถนะครู เพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษานอก
ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ในการก้าวสู่การเป็นประชาคมอาเซียน. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรม
หาบัณฑิต จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.
วัชรา เล่าเรียนดี. (2553). การนเิ ทศการสอน: Supervision of Instruction. พิมพ์ครั้งที่ 7.นครปฐม: โรงพิมพ์
มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร.
วจิ ารณ์ พานิช. (2555). วถิ สี รา้ งการเรียนรู้เพือ่ ศษิ ย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ตถาตาพลับลเิ คชั่นจาากดั .
ศรีสว่าง เล้ียวาริณ. (2554). บทบาทและภารกิจของศึกษานิเทศก์ ในการส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากร
ทางการศึกษา สานักงาน กศน. เอกสารประกอบการพฒั นาศึกษานิเทศก์ สานกั งาน กศน.
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2547). รูปแบบของระบบการบริหารจัดการการเรียนรู้แบบบูรณาการสาหรับเขตพื้นท่ี
การศึกษา. คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.
สงัด อุทรานนั ท์. (2530). การนิเทศการศกึ ษา หลกั การ ทฤษฎี และปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: มติ รสยาม.
สมบัติ ศรีสุพัฒน์. (2556). “ยุทธศาสตร์การนิเทศแบบสะท้อนกลับ เพื่อพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูกลุ่ม
สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในโรงเรียนขนาดเล็ก”.วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ศรีวชิ ัย. 5(2): 69-80.

36

สมบัติ ศรีสุพัฒน์. (2556). “ยุทธศาสตร์การนิเทศแบบสะท้อนกลับ เพื่อพัฒนาพฤติกรรมการสอนของครูกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตรใ์ นโรงเรียนขนาดเลก็ ”. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ศรวี ิชยั . 5(2): 69-80.

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาต.ิ (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไข
เพมิ่ เตมิ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ.2553. กรุงเทพฯ: สานกั งานสานักนายกรัฐมนตร.ี

สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. (2555). แนวทางการประกันคุณภาพ
ภายใน กศน. อาเภอ/เขต ตามมาตรฐาน ตัวบ่งช้ี การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ปี 2555. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พช์ มุ ชนสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย.

สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดฉะเชิงเทรา . (2556).
รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษา สถานศึกษาสังกัด สานักงาน กศน.จังหวัดฉะเชิงเทรา.
ฉะเชงิ เทรา: ม.ป.ท.

Glickman, Carl.D. and Stephen P.Gordon and Jovita M.Ross-Gordon. (2010). Supervision and
Instructional Leadership: A Developmental Approach. 8th ed.. Boston, MA: Allyn
and Bacon

Harris, Ban M. (1985). Supervision Behavior in Education. 3rd. ed., Englewood cliffs, New
Jersey : Prentice – Hall.

Hord, Shirley M. (1997). Professional Learning Communities: Communities of Continuous
Inquiry and Improvement. Texas: Southwest Educational Development Laboratory

37

ภาคผนวก

รายชอ่ื ผ้เู ช่ียวชาญในการตรวจสอบเคร่ืองมอื ในการวจิ ยั

1. นายชาญ นพรตั น์ ตาแหนง่ (อดตี ) ศกึ ษานิเทศก์ เช่ยี วชาญ
หนว่ ยศึกษานเิ ทศก์ สานักงาน กศน.
ความเชยี่ วชาญ การพัฒนาครู กศน. การนิเทศการศึกษา

2. นางสาวสุดใจ บุตรอากาศ ตาแหน่ง (อดีต) ศึกษานเิ ทศก์ เชี่ยวชาญ
หน่วยศกึ ษานิเทศก์ สานักงาน กศน.
ความเชย่ี วชาญ การพฒั นาครู กศน. การนเิ ทศการศึกษา

3. นางสาววิไล แย้มสาขา ตาแหนง่ (อดตี ) ครู เช่ยี วชาญ
สถาบันการศึกษาทางไกล สานกั งาน กศน.
ความเช่ยี วชาญ การจดั การเรียนการสอน และการพฒั นาสอ่ื การเรยี นรู้

4. ดร. วราภรณ์ กกึ ก้อง ตาแหน่ง (อดตี ) ครู ชานาญการพิเศษ
ความเชี่ยวชาญ การวจิ ยั การศึกษา ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต (ปร.ด.) วิจัยการศึกษา

5. ดร. จติ ตรา มาคะผล ตาแหน่ง หัวหน้าภาควชิ าการศกึ ษาตลอดชีวิต
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ศึกษาศาสตรดุษฎบี ณั ฑติ (ศษ.ด.)
การศึกษาตลอดชวี ติ และการพัฒนามนษุ ย์
ความเชี่ยวชาญ การพฒั นาครูในการจดั การเรยี นการสอนการศึกษาตลอดชวี ิต

38

แบบทดสอบความรู้ด้านการจัดการเรยี นรู้ท่เี น้นผเู้ รียนเป็นสาคัญ

1. การจัดการเรียนรูท้ เี่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ กลา่ วไว้ในกฎหมายฉบับใด
ก. รัฐธรรมนญู
ข. พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ
ค. พระราชบญั ญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร
ง. พระราชบญั ญัติระเบียบข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา

2. ข้อใดไม่ใชจ่ ุดเน้นของกระบวนการจัดการเรยี นรู้ที่เน้นผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ
ก. ผู้เรยี นเรียนรูแ้ บบมสี ว่ นรว่ ม
ข. ผู้เรียนสร้างองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง
ค. ผู้สอนต้องมกี ารใช้เทคโนโลยีเพอ่ื การติดต่อสือ่ สาร
ง. ผสู้ อนออกแบบการจัดการเรยี นรทู้ ี่สอดคล้องกับผ้เู รยี น

3. กระบวนการจดั การเรียนรขู้ องครตู ามตัวบ่งชี้ 6.2 ของการประเมินคุณภาพภายนอกมีกขี่ ั้นตอน
ก. 6
ข. 7
ค. 8
ง. 9

4. ขั้นตอนแรกของการจดั กระบวนการเรียนรทู้ ีเ่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ คอื ข้อใด
ก. การเลือกใชส้ ือ่
ข. วเิ คราะหผ์ ้เู รียน
ค. วเิ คราะห์เปา้ หมายการเรยี นรู้
ง. การออกแบบการจดั การเรียนรู้

5. การออกแบบการจดั การเรียนรู้ ควรคานึงถึงขอ้ ใดมากทีส่ ดุ
ก. การเลอื กใช้สื่อ
ข. บันทึกหลังสอน
ค. การวจิ ัยในชน้ั เรยี น
ง. จุดมงุ่ หมายในการเรียนรู้

6. ข้อใดเป็นเหตผุ ลที่สาคญั ท่สี ดุ ท่คี รูต้องมีการจัดการเรยี นรทู้ เ่ี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ
ก. ครไู ม่มใี บประกอบวชิ าชพี ครู
ข. ระยะเวลาในการจัดการเรยี นรู้
ค. ผูเ้ รยี นมีความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล
ง. สื่อแบบเรียนทใี่ ช้ในการจัดการเรียนรู้

7. ข้อใดกลา่ วถูกต้องที่สุดเกยี่ วกบั การจดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้
ก. ครูจดั ทาแผนการจดั การเรียนรูต้ ามความถนัดของครู
ข. ผู้เรียนมสี ว่ นร่วมในการกาหนดหัวขอ้ ในแผนการจัดการเรยี นรู้
ค. ผบู้ รหิ ารมสี ว่ นร่วมในการกาหนดหวั ขอ้ ในแผนการจัดการเรียนรู้
ง. ครูจดั ทาแผนการจดั การเรยี นรูเ้ พอื่ เป็นแนวทางในการจดั การเรียนรู้

39

8. หลักของการวดั และประเมนิ ผลในแผนการจัดการเรยี นรู้ ต้องวัดและประเมนิ ผลตามข้อใด
ก. สื่อการจดั การเรียนรู้
ข. จดุ มงุ่ หมายในการเรียนรู้
ค. กระบวนการในการจัดการเรียนรู้
ง. การวเิ คราะห์ความยากง่ายของเน้ือหา

9. จดุ ประสงค์หลกั ของการทาวิจยั ชน้ั เรยี นคือข้อใด
ก. เพอ่ื แก้ไขหรือพฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของผเู้ รยี น
ข. เพื่อเปน็ ตวั อยา่ งในการทาวิจัยใหแ้ ก่ผ้เู รยี น
ค. เพอื่ ใหค้ รทู ราบวธิ กี ารสอนแบบใหม่ ๆ
ง. เพ่อื ตรวจสอบการสอนของครู

10. การบันทกึ หลังการสอน เพือ่ นาไปสูว่ จิ ัยชนั้ เรยี น เปน็ ส่ิงที่เกิดจากข้อใด
ก. แนวนโยบายของหนว่ ยงานตน้ สงั กดั
ข. ความถนัดในการจดั การเรยี นรูข้ องครู
ค. มาตรฐานตวั ช้วี ดั ของการประกันคุณภาพ
ง. การวิเคราะห์ผลท่ไี ดจ้ ากการประเมินผลการเรยี นรู้

11. ข้อใดเป็นขนั้ ตอนแรกของการวจิ ยั ช้นั เรยี น
ก. วางแผนการวิจัย
ข. เขียนเคา้ โครงวจิ ัย
ค. เสนอโครงการวิจยั ต่อผบู้ รหิ าร
ง. ศึกษาปัญหาทเี่ กดิ ขน้ึ จากการเรยี นการสอน

12. นวัตกรรมที่ใชใ้ นงานวจิ ยั ช้นั เรียนควรสอดคล้องกับขอ้ ใดมากท่สี ุด
ก. นโยบายของผบู้ รหิ าร
ข. เทคโนโลยเี พือ่ การศึกษา
ค. การพัฒนาผลสมั ฤทธิข์ องผูเ้ รียน
ง. การพัฒนาครูใหส้ ามารถใชส้ ่อื ใหม่ ๆ

13. การเลือกกลมุ่ ตวั อย่างในการวิจยั ชน้ั เรียนมีความจาเปน็ หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด
ก. จาเป็น เพราะมีประชากรจานวนมาก
ข. จาเปน็ เพราะจะไดไ้ ม่เกิดการลาเอยี ง
ค. ไม่จาเปน็ เพราะเปน็ วิจยั อยา่ งงา่ ย
ง. ไมจ่ าเปน็ เพราะผู้เรยี นเป็นกล่มุ เปา้ หมายที่ศึกษา

14. การท่คี รวู จิ ยั ชน้ั เรยี น โดยทดลองส่อื ทพ่ี ัฒนาขน้ึ มาใช้กบั ผเู้ รยี น ขอ้ ใดถกู ตอ้ งเกยี่ วกบั ทดลองส่ือ
ก. ทดลองกับผูเ้ รยี นท่ีเรยี นเก่งเทา่ นนั้
ข. ทดลองกับผู้เรียนทกุ กลุ่มของสถานศกึ ษา
ค. ทดลองกับผเู้ รยี นทีม่ ปี ญั หาและสอดคล้องกับสอื่ ท่คี รูพัฒนา
ง. ทดลองกับกลมุ่ ผ้เู รยี นตา่ งสถานศึกษาเพือ่ สามารถใช้สื่อได้กวา้ งขวาง

40

15.ข้อใดเปน็ เคร่อื งมือที่สอดคล้องกบั การวัดความรู้ของผู้เรยี นในการวิจยั ในชัน้ เรยี น
ก. แบบสงั เกต
ข. แบบทดสอบ
ค. แบบสัมภาษณ์
ง. แบบสารวจความพงึ พอใจ

16. ขอ้ ใดเป็นเครอื่ งมือที่สอดคล้องกับการบนั ทกึ พฤติกรรมของผูเ้ รียนในการวจิ ัยชน้ั เรยี น
ก. แบบสังเกต
ข. แบบทดสอบ
ค. แบบสอบถามความคดิ เห็น
ง. แบบสารวจความพงึ พอใจ

17. ขอ้ ใดเป็นการวเิ คราะห์ข้อมลู ทถี่ กู ตอ้ งท่ีสดุ ในข้นั ตอนของการวเิ คราะหข์ ้อมูลการวจิ ัยในช้ันเรียน
ก. วิเคราะห์เหมือนกบั งานวิจัยอ่ืนทีเ่ กีย่ วข้อง
ข. วิเคราะห์โดยใช้สถิติความถแ่ี ละค่าร้อยละ
ค. วิเคราะห์ตามผลการวิจยั ทีค่ าดว่าจะได้รบั
ง. วิเคราะหต์ ามวัตถุประสงค์ของการวิจัย

18. ข้อใดเป็นการสอนท่สี ่งเสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นทางานในลักษณะของนักวจิ ยั มากทีส่ ุด
ก. การทาโครงงาน
ข. การอภิปรายกล่มุ
ค. การเข้าค่ายทากิจกรรม
ง. การศึกษาจากแหล่งเรียนรู้

19. การวจิ ัยชน้ั เรยี นมีความสาคัญและมีประโยชน์มากท่ีสดุ ในขอ้ ใด
ก. การพฒั นาการเรยี นการสอน
ข. การประกันคุณภาพการศึกษา
ค. การพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา
ง. การสง่ เสริมพัฒนาครใู หเ้ ปน็ ครูมอื อาชพี

20.ขอ้ ใดคอื จุดมงุ่ หมายของการเผยแพรผ่ ลการวจิ ยั ในชนั้ เรียนมากทีส่ ดุ
ก. ครมู ีผลงานในการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก
ข. สถานศกึ ษามผี ลงานวจิ ยั ตามมาตรฐานตัวช้ีวดั
ค. ครูไดแ้ ลกเปลย่ี นเรยี นรใู้ นเชงิ วชิ าการเพือ่ พฒั นาการสอน
ง. สถานศกึ ษาและชมุ ชนสามารถนาผลการวจิ ัยไปใช้ในการพฒั นา

41

แบบนิเทศการจดั การเรยี นรู้ทเ่ี น้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ

แบบนิเทศการสอน สงั เกตพฤติกรรมการจดั การเรียนรู้

ตามกระบวนการจดั การเรยี นรทู้ เ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั ของครู กศน.

วันที.่ .............เดอื น.............................พ.ศ..................

แผนการจดั การเรียนรู้ สัปดาหท์ .่ี ............. รายวิชา.....................................................ระดบั ชน้ั ....................

ช่อื -นามสกลุ ครู กศน..............................................................................................................

กศน.ตาบล.........................................................กศน.อาเภอ...................................................

การปฏบิ ัตจิ ดั การเรียนรขู้ องครู ปฏบิ ัติ ไม่ได้ ความคดิ เหน็ เพม่ิ เตมิ ของผสู้ ังเกต
ปฏบิ ัติ

1. มกี ารนาเขา้ สบู่ ทเรียน

2. มีการทบทวนความรู้เดิม

3. มกี ารเช่อื มโยงความร้เู ดมิ กับความรูใ้ หม่

4. การแจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

5. มีการใช้เทคนคิ การตง้ั คาถาม

6. จดั กิจกรรมการเรียนรู้อยา่ งเป็นข้นั ตอนตาม

แผนการจดั การเรยี นรู้

7. ใชว้ ธิ ีการจัดการเรียนร้โู ดยการใหผ้ ูเ้ รียน

แสดงความคิดเห็น

8. ใช้วิธกี ารจดั การเรยี นรโู้ ดยการใหผ้ ูเ้ รยี นได้

เลือกวธิ กี ารเรยี นรตู้ ามความสนใจความถนดั

9. ใชว้ ธิ กี ารจัดการเรยี นรโู้ ดยการใหผ้ ้เู รยี น

ไดเ้ ลือกวธิ ีการเรียนรตู้ ามความแตกต่าง

ระหวา่ งบคุ คล

10. ใช้วธิ ีการจัดการเรียนรู้โดยการใหผ้ ู้เรยี น

ไดเ้ ลอื กวิธีการเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการกล่มุ

11. ใชว้ ธิ กี ารจดั การเรียนรู้ที่หลากหลาย

สอดคล้องกับความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล

12. ใชส้ ่ือการเรียนรทู้ ี่สอดคล้องกับเนื้อหาวชิ า

13. ครสู ร้างบรรยากาศท่ที าให้ผเู้ รยี นเกดิ การ

เรียนรู้

14. ครูใชเ้ คร่อื งมอื วดั ผล ประเมนิ ผลผเู้ รยี น

ตามจุดประสงค์การเรยี นรู้

42

การปฏิบตั จิ ดั การเรียนรูข้ องครู ปฏบิ ตั ิ ไมไ่ ด้ ความคดิ เหน็ เพิ่มเติมของผู้สังเกต
ปฏิบตั ิ

15. ครมู กี ารวัดผล ประเมินผลผูเ้ รียน

เหมาะสมกับผูเ้ รียน

16. มกี ารประเมนิ ความกา้ วหนา้ พฒั นาการ

ของผู้เรียน

17. มีการสอบถาม ช่วยเหลอื ผเู้ รยี น

18. ครมู อบหมายงานใหผ้ เู้ รียนได้มี

การศึกษาคน้ คว้าเพ่ิมเติม

19. ครแู ละผูเ้ รียนร่วมกันสรุปความรู้ เพือ่

การนาไปปรับประยุกตใ์ ช้

20. มีการบนั ทึกหลังการจัดการเรียนรู้

การปฏบิ ัติดา้ นอ่นื ๆ ของคร.ู ......................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
จุดเดน่ ของครใู นการจัดการเรยี นร.ู้ .............................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
จุดควรพฒั นาในการจดั การเรยี นร.ู้ ............................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ...............................................ผู้สงั เกต ลงช่อื ....................................................ครู กศน.
(...............................................) (....................................................)

43
การนาเสนอ สะทอ้ นผล เผยแพร่จดั การเรยี นรู้ ผ่านกลมุ่ เฟซบุ๊ก กลมุ่ นเิ ทศการจดั การศึกษา ขนั้ พื้นฐาน

ตามการสรา้ งชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ

ภาพประกอบ 1 การจดั การเรียนรู้โดยผเู้ รยี นไดใ้ ชก้ ระบวนการคิด กระบวนการกลุม่
การนาความรทู้ ี่ไดไ้ ปปรับประยกุ ต์ใช้ และการนาเสนอ

ภาพประกอบ 2 การฝึกใหผ้ ู้เรียนใช้โทรศพั ท์มอื ถอื สมารท์ โฟนในการศกึ ษาค้นคว้า


Click to View FlipBook Version