หมวดที่ 7 ผลลัพธ์
หมวด 7 ผลลัพธ์ (Results) 7.1 ผลลัพธ์ด้านหลักสูตรและกระบวนการ (Product and Process result) ก. ผลลัพธ์ด้านหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนการสอน 7.1 ก-1 เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ระดับดีขึ้นไปนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 ในโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี (SMT) ปีการศึกษา 2564 – 2565 มีผลสัมฤทธิ์รวมอยู ่ที ่ระดับ 3.22, 3.14 และ 3.17 ตามลำดับ ซึ่งผลสัมฤทธิ์ทั้ง 3 ปี สูงกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้คือ 3.00 ดังภาพประกอบที่ 7.1 ก-1 ภาพประกอบที ่ 7.1 ก-1 แผนภูมิแสดงค ่าเฉลี ่ยผลสัมฤทธิ์ระดับดีขึ้นไปนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที ่ 3 ใน โครงการ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี (SMT) ปีการศึกษา 2564 – 2565
7.1 ก-2 เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ระดับดีขึ้นไปนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 ในโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ (SME) ปีการศึกษา 2564 – 2565 มีผลสัมฤทธิ์รวมอยู่ที่ระดับ 3.24, 3.22 และ 3.20 ตามลำดับ ซึ่ง ผลสัมฤทธิ์ทั้ง 3 ปี สูงกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้คือ 3.00 ดังภาพประกอบที่ 7.1 ก-2 ภาพประกอบที่ 7.1 ก-2 แผนภูมิแสดงค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ปีการศึกษา 2564 – 2565 7.1 ก-3 เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ระดับดีขึ้นไปนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 ในโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2564 – 2565 มีผลสัมฤทธิ์รวมอยู่ที่ระดับ 2.67, 2.57 และ 2.57 ตามลำดับ ซึ่งผลสัมฤทธิ์ทั้ง 3 ปี ต่ำกว่า เป้าหมายที่กำหนดไว้คือ 3.00 ดังภาพประกอบที่ 7.1 ก-3 ภาพประกอบที่ 7.1 ก-3 เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ระดับดีขึ้นไปนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 ในโครงการ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2564 – 2565
7.1 ก-4 เฉลี ่ยผลสัมฤทธิ์ระดับดีขึ้นไปนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที ่ 3 ในโครงการภาษา ปีการศึกษา 2564 – 2565 มีผลสัมฤทธิ์รวมอยู่ที่ระดับ 2.76 , 2.68 และ 2.71 ตามลำดับ ซึ่งผลสัมฤทธิ์ทั้ง 3 ปี ต่ำกว่าเป้าหมาย ที่กำหนดไว้คือ 3.00 ดังภาพประกอบที่ 7.1 ก-4 ภาพประกอบที่ 7.1 ก-4 เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ระดับดีขึ้นไปนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 ในโครงการภาษา ปีการศึกษา 2564 – 2565 7.1 ก-5 เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ระดับดีขึ้นไปนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ในโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม (SMTE) ปีการศึกษา 2564 – 2565 มีผลสัมฤทธิ์รวมอยู่ที่ระดับ 3.49 , 3.64 และ 3.62 ตามลำดับ ซึ่งผลสัมฤทธิ์ทั้ง 3 ปี สูงกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้คือ 3.00 ดังภาพประกอบที่ 7.1 ก-5 ภาพประกอบที่ 7.1 ก-5 เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ระดับดีขึ้นไปนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ในโครงการ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม (SMTE) ปีการศึกษา 2564 – 2565
7.1 ก-6 เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ระดับดีขึ้นไปนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ในโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ (SMC) ปีการศึกษา 2564 – 2565 มีผลสัมฤทธิ์รวมอยู่ที่ระดับ 3.09 , 3.18 และ 3.17 ตามลำดับ ซึ่งผลสัมฤทธิ์ทั้ง 3 ปี สูงกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้คือ 3.00 ดังภาพประกอบที่ 7.1 ก-6 ภาพประกอบที่ 7.1 ก-6 เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ระดับดีขึ้นไปนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ในโครงการ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ (SMC) ปีการศึกษา 2564 – 2565 7.1 ก-7 เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ระดับดีขึ้นไปนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ในโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2564 – 2565 มีผลสัมฤทธิ์รวมอยู่ที่ระดับ 2.74 , 2.83 และ 2.91 ตามลำดับ ซึ่งผลสัมฤทธิ์ทั้ง 3 ปี ต่ำ กว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้คือ 3.00 ดังภาพประกอบที่ 7.1 ก-7 ภาพประกอบที่ 7.1 ก-7 เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ระดับดีขึ้นไปนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ในโครงวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2564 – 2565
7.1 ก-8 เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ระดับดีขึ้นไปนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ในโครงการภาษาจีน ปีการศึกษา 2564 – 2565 มีผลสัมฤทธิ์รวมอยู่ที่ระดับ 3.09 , 3.18 และ 3.17 ตามลำดับ ซึ่งผลสัมฤทธิ์ทั้ง 3 ปี ต่ำกว่าเป้าหมาย ที่กำหนดไว้คือ 3.00 ดังภาพประกอบที่ 7.1 ก-8 ภาพประกอบที่ 7.1 ก-8 เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ระดับดีขึ้นไปนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ในโครงการภาษาจีน ปีการศึกษา 2564 – 2565 7.1 ก-9 เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ระดับดีขึ้นไปนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ในโครงการภาษาญี่ปุ่นปีการศึกษา 2564 – 2565 มีผลสัมฤทธิ์รวมอยู่ที่ระดับ 2.74 , 2.83 และ 2.91 ตามลำดับ ซึ่งผลสัมฤทธิ์ทั้ง 3 ปี ต่ำกว่าเป้าหมายที่ กำหนดไว้คือ 3.00 ดังภาพประกอบที่ 7.1 ก-9 ภาพประกอบที่ 7.1 ก-9 เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ระดับดีขึ้นไปนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ในโครงการ ภาษาญี่ปุ่นปีการศึกษา 2564 – 2565
7.1 ก-10 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ย IS ปีการศึกษา 2564 – 2565 ผลสัมฤทธิ์รวมในแต ่ละปีการศึกษา 2564 – 2565 อยู ่ที ่ระดับ 3.09, 3.18 และ 3.34 ตามลำดับ ซึ่งผลสัมฤทธิ์ทั้ง 3 ปี สูงกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้คือ 3.00 ดังภาพประกอบที่ 7.1 ก-10 ภาพประกอบที่ 7.1 ก-10 เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ย IS ปีการศึกษา 2564 – 2565 7.1 ก-11 ผลคะแนน O-net นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 – 2565 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-net) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที ่ 3 ในปีการศึกษา 2564 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 31.71 และในปีการศึกษา 2565 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 32.54 ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นกว่าปีการศึกษาที่ ผ่านมา ดังภาพประกอบที่ 7.1 ก-11 ภาพประกอบ 7.1 ก-11 ผลคะแนน O-net นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 – 2565 0.00 1.00 2.00 3.00 4.00 ค่าเป้าหมาย 2564 2565 3.00 3.18 3.34 ระดับผลการเรียนเฉลี่ย 0 10 20 30 40 2564 2565 31.71 32.54 ร้อยละคะแนนเฉลี่ย ปีการศึกษา
7.1 ก-12 ผลคะแนน O-net นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564 – 2565 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-net) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที ่ 3 ในปีการศึกษา 2564 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 30.11 และในปีการศึกษา 2565 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 28.22 ดังภาพประกอบที่ 7.1 ก-12 ภาพประกอบ 7.1 ก-12 ผลคะแนน O-net นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564 – 2565 7.1 ก-13 เปรียบเทียบคะแนน O-net นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กับโรงเรียนคู่เทียบ ปีการศึกษา 2564 – 2565 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-net) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที ่ 3 ในปีการศึกษา 2564 และ 2565 เปรียบเทียบกับโรงเรียนคู่เทียบ ในปีการศึกษา 2564 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี มีค่าคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 31.71 โรงเรียนคู่เทียบ เท่ากับ 52.37 และในปีการศึกษา 2565 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 32.54 และ 54.77 ตามลำดับ ดังภาพประกอบที่ 7.1 ก-13 ภาพประกอบ 7.1 ก-13 เปรียบเทียบผลคะแนน O-net นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 กับโรงเรียนคู่เทียบ ปีการศึกษา 2564 – 2565 0 10 20 30 40 2564 2565 30.11 28.22 ร้อยละคะแนนเฉลี่ย ปีการศึกษา 0 10 20 30 40 50 60 เตรียมพัฒน์ฯ อุบล เบ็ญจะมะมหาราช เตรียมพัฒน์ฯ อุบล เบ็ญจะมะมหาราช ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 31.71 52.37 32.54 54.77 คะแนนเฉลี่ย
7.1 ก-14 เปรียบเทียบคะแนน O-net นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กับโรงเรียนคู่เทียบ ปีการศึกษา 2564 – 2565 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-net) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที ่ 6 ในปีการศึกษา 2564 และ 2565 เปรียบเทียบกับโรงเรียนคู่เทียบ ในปีการศึกษา 2564 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี มีค่าคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 30.11 โรงเรียนคู่เทียบ เท่ากับ 47.63 และในปีการศึกษา 2565 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 28.22 และ 50.53 ตามลำดับ ดังภาพประกอบที่ 7.1 ก-14 ภาพประกอบ 7.1 ก-14 เปรียบเทียบผลคะแนน O-net นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กับโรงเรียนคู่เทียบ ปีการศึกษา 2564 – 2565 7.1 ก-15 การจบหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 – 2565 การเปรียบเทียบการจบหลักสูตรการศึกษาของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในปีการศึกษา 2564 และ 2565 คิดเป็นร้อยละ 92.84 และ 91.91 ตามลำดับ ดังภาพประกอบที่ 7.1 ก-15 ภาพประกอบ 7.1 ก-15 การจบหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างปีการศึกษา 2564- 2565 0 10 20 30 40 50 60 เตรียมพัฒน์ฯ อุบลเบ็ญจะมะมหาราช เตรียมพัฒน์ฯ อุบลเบ็ญจะมะมหาราช ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 30.11 47.63 28.22 50.53 คะแนนเฉลี่ย 0 100 200 300 400 นักเรียนทั้งหมด นักเรียนที่จบ นักเรียนทั้งหมด นักเรียนที่จบ ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 349 324 309 284 จ านวนนักเรียน (คน)
7.1 ก-16 การจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2564 – 2565 การเปรียบเทียบการจบหลักสูตรการศึกษาของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในปีการศึกษา 2564 และ 2565 คิดเป็นร้อยละ 90.13 และ 86.00 ตามลำดับ ดังภาพประกอบที่ 7.1 ก-16 ภาพประกอบ 7.1 ก-16 การจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างปีการศึกษา 2564- 2565 ข. ผลลัพธ์ประสิทธิผลของกระบวนการทำงาน (Work Process Effectiveness Results) 7.1 ข-1 การพัฒนาหลักสูตรระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนมีการพัฒนาหลักสูตรการเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่หลากหลาย อาทิเช่น หลักสูตร ห้องเรียน SMT, SME, วิทย์-คณิต, ฟุตบอล, E-Sport ซึ่งในปีการศึกษา 2565 มีจำนวนหลักสูตรเพิ่มมากขึ้นจากปี การศึกษา 2564 จำนวน 2 หลักสูตรได้แก่ ภาษา-การงาน, ภาษา-ศิลปะ ดังภาพประกอบที่ 7.1 ข-1 ภาพประกอบ 7.1 ข-1 หลักสูตรที่เปิดการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2564 และ 2565 0 50 100 150 200 250 นักเรียนทั้งหมด นักเรียนที่จบ นักเรียนทั้งหมด นักเรียนที่จบ ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 223 201 243 209 จ านวนนักเรียน (คน) 0 1 2 3 4 5 6 1 1 6 1 1 1 1 5 1 1 1 1 จ ำนวนห้องเรียน ปีกำรศึกษำ 2564 ปีกำรศึกษำ 2565
7.1 ข-2 การพัฒนาหลักสูตรระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนมีการพัฒนาหลักสูตรการเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที ่หลากหลาย อาทิเช่น หลักสูตรห้องเรียน SMTE, SMC, วิทย์-คณิต, อังกฤษ-จีน, อังกฤษ-ญี่ปุ่น และ E-Sport ดังภาพประกอบที่ 7.1 ข-2 ภาพประกอบ 7.1 ข-2 หลักสูตรที่เปิดการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2564 และ 2565 7.1 ข-3 ประสิทธิภาพกระบวนการจัดการเรียนการสอน ปีการศึกษา 2564-2565 ผลการประเมินกระบวนการจัดการเรียนการสอนจากการนิเทศชั้นเรียนในปีการศึกษา 2564 และ 2565 มีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมทุกกลุ่มสาระ เท่ากับ 97.88 และ 96.21 ตามลำดับ ดังภาพประกอบที่ 7.1 ข-3 ภาพประกอบ 7.1 ข-3 ประสิทธิภาพกระบวนการจัดการเรียนการสอน ปีการศึกษา 2564 และ 2565 7.1 ข-4 ประสิทธิภาพกระบวนการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ปีการศึกษา 2564-2565 ในปีการศึกษา 2564 งานระบบดูแลช ่วยเหลือนักเรียน ดำเนินการโดยใช้ระบบดูแลช ่วยเหลือ นักเรียนตามปกติทั่วไป แต่ในปีการศึกษา 2565 ได้ปรับเปลี่ยนมาใช้ application “Tupubon.stu-mis.net ซึ่งเป็น 0 1 2 3 4 5 SMTE SMC วิทย์-คณิต อังกฤษ-จีน อังกษ-ญี่ปุ่น E-Sport 1 1 5 1 1 1 1 1 5 1 1 1 จ านวนห้องเรียน ปีกำรศึกษำ 2564 ปีกำรศึกษำ 2565 94 96 98 100 ปีการศึกษา 2564 ปีการศึกษา 2565 97.98 96.21 ร้อยละคะแนนเฉลี่ย
ระบบที ่ครู นักเรียน ผู้ปกครองสามารถใช้ติดตามข้อมูลนักเรียนได้ทันทีและต ่อเนื ่อง สร้างความพึงพอใจให้กับ ผู้ปกครองในระดับดีมาก ค. ผลลัพธ์ด้านการจัดห่วงโซ่อุปทาน (Supply-Chain Management Results) ผลจากการปฏิบัติตามขั้นตอนการดำเนินงานแผน/โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีพบว่าบรรลุเป้าหมาย มีความคุ้มค ่าคุ้มทุน ตรงตามวัตถปุระสงค์เชิงกลยุทธ์ดังนี้ 1.โรงเรียนผ ่านเกณฑ์การประเมินโรงเรียนคุณภาพ 2. โรงเรียนมีหลักสูตรเทียบเคียงมาตรฐานสากล มีการจัดการเรียนการสอนวิชา IS, IS2, IS3 และใช้นวัตกรรมการ เรียนการสอนโดยการบรูณาการ 3. โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที ่เอื้อต ่อการเรียนรู้สะดวกปลอดภัย 4. โรงเรียน มีเครือข่ายชุมชนเข้ามาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็นเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน 5. นักเรียนแผนการ เรียน e-sport ได้รับรางวัลจากการแข่งขันจากการแข่งขันระดับนานาชาติ 7.2 ผลลัพธ์ด้านนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (STUDENT and Stakeholder –Focused Results) ก. ผลลัพธ์ด้านนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (1) ความพึงพอใจด้านนักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี มีการประเมินความพึงพอใจและความผูกพันของ นักเรียนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยการส ารวจจาก ครู ผู้บริหาร นักเรียน และผู้ปกครอง เพื่อน าข้อมูล มาปรับปรุงการให้บริการของโรงเรียนเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ของโรงเรียน ผลการประเมินความพึงพอใจ ดังภาพที่ 7.2ก-1 ภาพที่ 7.2 ก-1 ความพึงพอใจต่อการใช้หลักสูตรสถานศึกษา หมายเหตุ คะแนนเฉลี่ย (̅) เปรียบเทียบกับเกณฑ์ 5 ระดับ ( 4.51 – 5.00 = มากที่สุด, 3.51 – 4.50 = มาก, 2.51 – 3.50 = ปานกลาง, 1.51 – 2.50 = น้อย) 0.00 0.50 1.00 1.50 2.00 2.50 3.00 3.50 4.00 4.50 3.44 3.17 3.32 3.31 3.16 3.14 3.28 3.81 3.64 3.72 3.65 3.74 3.65 4.09 3.88 3.93 3.91 3.95 3.79 0.00 3.78 3.56 3.66 3.63 3.62 3.53 3.28 ความพึงพอใจของครู/ผบู้ริหาร นักเรียน และผปู้กครองต่อการใช้หลักสูตรสถานศึกาา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกาาพัฒนาการ อุบลราชธานี ครู/ผู้บริหาร นักเรียน ผู้ปกครอง เฉลี่ย
จากภาพที่ 7.2 ก-1 ความพึงพอใจโดยภาพรวมต่อการใช้หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียม อุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี พบว่า ทุกด้านมีระดับคุณภาพความพึงพอใจ “มาก” (คะแนน 3.56-3.78) ยกเว้น ด้านการวางแผนการจัดท า/การใช้หลักสูตรสถานศึกษา มีระดับคุณภาพ “ปานกลาง” (คะแนน 3.28) ข้อคิดเห็นเพิ่มเติมจากผู้ตอบแบบสอบถามซึ่งเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จุดเด่นของหลักสูตรสถานศึกษา คือ มีหลักสูตรหลากหลาย รองรับความสนใจและความถนัดของนักเรียนทั้งด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ภาษา และกีฬา หลักสูตรมีความทันสมัยสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงด้าน เทคโนโลยี ส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning อย่างไรก็ตามโรงเรียนยังมีความจ าเป็นต้องพัฒนา คุณภาพครู เช่น การพัฒนาครูให้มีความรู้เฉพาะด้านในสาขาที่สอน มีความรับผิดชอบต่อการจัดการเรียนการ สอน ด้านสื่อและแหล่งเรียนรู้ ควรมีสื่อประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เพียงพอต่อจ านวนนักเรียนและ เหมาะสมกับเนื้อหาการเรียนรู้ รวมทั้งมีการจัดหา ดูแล อุปกรณ์ส่งเสริมการสอน เช่น โปรเจคเตอร์ ให้เพียงพอ และมีประสิทธิภาพในการใช้งาน 7.3 ผลลัพธ์ด้านบุคลากร (WORKFORCE –Focused RESULTS) ก. ผลลัพธ์ด้านบุคลากร (WORKFORCE –Focused RESULTS) (1) ขีดความสามารถและอัตราก าลัง 7.3ก-1 อัตราก าลังจ าแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาพที่ 7.3-1 แสดงอัตราก าลังจ าแนกตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ 7.3ก-2 อัตราก าลังครูต่อนักเรียนปี 2564 - 2566 ภาพที่ 7.3-2 แสดงอัตราก าลังครูต่อนักเรียน ปีการศึกษา 2564 - 2566 0 5 10 15 20 25 30 13 21 8 9 5 5 5 13 3 13 23 7 9 3 4 5 12 2 14 26 7 10 5 4 5 13 3 จ านวนครู (คน) กลุ่มสาระการเรียนรู้ 2564 2565 2566 0 5 10 15 20 2564 2565 2566 1 1 1 19 17 18 อัตราก าลังครูต่อนักเรียนปี 2564 – 2566 อัตราส่วนครู อัตราส่วนนักเรียน
7.3ก-3 จ านวนบุคลากรใหม่ ปี 2564 - 2566 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี รับครูใหม่เข้ามาปฏิบัติงานในโรงเรียน ทั้ง ครูบรรจุใหม่ และครูย้ายเข้า ดังแสดงในภาพ 7.3-3 ภาพที่ 7.3-3 จ านวนบุคลากรใหม่ ปี 2564 – 2566 จากจ านวนบุคลากรจ าแนกตามกลุ่มสาระ อัตราส่วนอัตราก าลังครูต่อนักเรียน และจ านวนครูใหม่ทั้ง การรับย้ายและครูบรรจุใหม่ พบว่า โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี มีจ านวนครูและบุคลากร ทางการศึกษาเพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอนให้แก่นักเรียนในทุกกลุ่มสาระ และมีอัตราส่วนครูต่อนักเรียน ที่เหมาะสม ส่งผลให้ครูสามารถก ากับดูแลนักเรียนได้อย่างทั่วถึง (2) บรรยากาศการท างาน 7.3ก-5 สภาพแวดล้อมและบรรยากาศการท างานของบุคลากรปี 2564 – 2565 คณะกรรมการบริหารโรงเรียน ได้แก่ ผู้อ านวยการ รองผู้อ านวยการ หัวหน้ากลุ่มงาน ใช้กระบวนการและวิธีการในการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรเชื่อมโยงจากการน าองค์กร โดยบุคลากรใน โรงเรียนมีวัฒนธรรมการอยู่ร่วมกันฉันท์พี่น้อง บุคลากรที่อาวุโสกว่าถ่ายโอนองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการ ท างานให้แก่รุ่นน้องอย่างเป็นกัลยาณมิตร มีความรักในองค์กร มีความสามัคคีช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยทาง โรงเรียนมีการจัดระบบงานให้มีลักษณะมีการประเมินผลอย่างต่อเนื่องและน าไปพัฒนาปรับปรุง เพื่อให้เกิด วัฒนธรรมองค์กรที่ดีปฏิบัติต่อไป ภาพที่ 7.3-4 ความพึงพอใจต่อการจัดสภาพแวดล้อมการท างาน ปี 2564 – 2565 0 5 10 2564 2565 2566 2 10 1 2 3 0 จ านวนครู (คน) ปีการศึกษา ครูย้ายเข้า ครูบรรจุใหม่ 4.7 4.8 4.9 5 2564 2565 4.8 4.91 ความพึงพอใจ ความพึงพอใจ
7.3ก-6 เปรียบเทียบการเข้ารับการตรวจสุขภาพของบุคลากร ในปีการศึกษา 2564 – 2566 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี ให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาเข้ารับการ ตรวจสุขภาพประจ าปีในทุกปีการศึกษา โดยสามารถเข้ารับการตรวจได้ที่โรงพยาบาลมะเร็งอุบลราชธานี โรงพยาบาล ๕๐ พรรษา มหาวชิราลงกรณ ในพระสังฆราชูปถัมภ์และโรงพยาบาลค่ายสรรพสิทธิประสงค์ ในปี การศึกษา 2564 – 2566 มีสถิติครูเข้ารับการตรวจสุขภาพ จ านวน 90, 88 และ 75 คน ตามล าดับ ดังแสดงใน ภาพที่ 7.3-5 ภาพที่ 7.3-5 เปรียบเทียบจ านวนการเข้ารับการตรวจสุขภาพของบุคลากร ในปีการศึกษา 2564 – 2566 7.3ก-7 ประสิทธิภาพการพัฒนาศักยภาพครู (ครูมืออาชีพ) ปี 2564 - 2565 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี ด าเนินการพัฒนาประสิทธิภาพและ ศักยภาพของครูอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ครูเป็นครูมืออาชีพ สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยด าเนินโครงการหลัก 2 โครงการ ได้แก่ โครงการพัฒนาศักยภาพครูสู่มืออาชีพในศตวรรษที่ 21 และ โครงการพัฒนาครูและบุคลากรตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพครูผลการด าเนินงานแสดงดังภาพที่ 7.3- 6 ภาพที่ 7.3-6 ผลการด าเนินงานพัฒนาประสิทธิภาพการพัฒนาศักยภาพครู ปี 2564 - 2566 65 70 75 80 85 90 2564 2565 2566 90 88 75 จ านวนครูและบุคลากร (คน) ปีการศึกษา จ านวนครูและบุคลากร 4.2 4.4 4.6 4.8 5 4.5 5 4.85 4.91 ผลกำรประเมินกำรด ำเนิงำน 2564 2565
ผลการด าเนินโครงการพบว่า โครงการพัฒนาศักยภาพครูสู่มืออาชีพในศตวรรษที่ 21 ได้รับผล การประเมินโครงการในปีการศึกษา 2564 และ 2565 เท่ากับ 4.5 และ 4.85 จากคะแนนเต็ม 5 ตามล าดับ และ โครงการพัฒนาครูและบุคลากรตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพครู ได้รับผลการประเมินโครงการในปี การศึกษา 2564 และ 2565 เท่ากับ 5 และ 4.91 จากคะแนนเต็ม 5 ตามล าดับ (3) การท าให้บุคลากรมีความผูกพัน (WORKFORCEENGAGMENT) 7.3ก-8 ปัจจัยความผูกพันปี 2564 - 2565 ตารางที่ 7.3-1 แสดงผลสถิติการย้าย / ลาออก ปี 2564 - 2565 รายการ ผลส ารวจ 2564 2565 อัตราการย้ายของบุคลากร 1 คน 1 คน อัตราการลาออก ไม่มี ไม่มี ตารางที่ 7.3-2 ตารางแสดงอัตราการลาออก การร้องทุกข์และการขาดงาน ปี 2564 - 2565 รายการ ผลส ารวจ 2564 2565 อัตราการลาออก ไม่มี ไม่มี อัตราการร้องทุกข์ ไม่มี ไม่มี อัตราการขาดงาน ไม่มี ไม่มี จากสถิตการลาออก ร้องทุกข์ และการขาดงาน พบว่า ครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี ไม่มีการลาออก ร้องทุกข์ และขาดงาน ในปีการศึกษา 2564 - 2565 (4) การพัฒนาบุคลากร (WORKFORCE Development) 7.3ก-9 ร้อยละงบประมาณในการพัฒนาบุคลากรปี 2564 - 2566 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี มีการจัดสรรงบประมาณเพื่อด าเนินโครงการพัฒนา ครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยในปีการศึกษา 2564 –2566 มีการจัดสรรงบประมาณในการพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษา ร้อยละ 30, 32.2 และ 32.8 ตามล าดับ ดังแสดงในภาพที่7.3-7
ภาพที่ 7.3-7 ร้อยละงบประมาณในการพัฒนาบุคลากรปี 2564 – 2566 7.3ก-10 ผลลัพธ์ด้านการพัฒนาบุคลากรและพัฒนาผู้น า 1. ผลลัพธ์ด้านการพัฒนาบุคลากร ในการศึกษา 2564 - 2565 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา พัฒนาการ อุบลราชธานี มีผลลัพธ์การพัฒนาบุคลากร 1.1 ร้อยละ 100 บุคลากรที่เข้าร่วมการอบรมตามเกณฑ์ที่สถานศึกษาก าหนด 1.2. ร้อยละ 100 ของบุคลากรที่ท าวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 1.3. ร้อยละ 100 ของบุคลากรที่ท าแผนพัฒนาตนเอง (ID-Plan) 1.4. ร้อยละ 100 ของบุคลากรที่ใช้สื่อการเรียนการสอนในการจัดการเรียนการสอน 1.5. ร้อยละ 100 ของบุคลากรที่เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงจากงานที่ได้รับมอบหมาย 2. ผลลัพธ์ด้านการพัฒนาผู้น า 2564 – 2565 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี มีผลลัพธ์ด้านการพัฒนาผู้น า ดังนี้ 2.1. ร้อยละ 100 บุคลากรที่ได้รับการอบรม/ศึกษาดูงาน สัมมนาและเผยแพร่ความรู้ และ ความสามารถที่ได้จากการอบรม / ศึกษาดูงาน / สัมมนา 2.2. โรงเรียนมีแผนในการสืบทอดต าแหน่งของหัวหน้างานต่าง ๆ 2.3. โรงเรียนมีวิธีการคัดเลือกผู้ขอย้ายมามาปฏิบัติงาน 2.4. โรงเรียนมีระบบการคัดเลือกหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ 2.5. โรงเรียนมีระบบนิเทศการเรียนการสอนภายในโรงเรียน 7.3ก-11 สัดส่วนของครูด ารงวิทยฐานะปี 2565 - 2566 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี มีครูประจ าการที่มีวิทยฐานะช านาญการ พิเศษ, ช านาญการ, ไม่มีวิทยฐานะ, และครูผู้ช่วย โดยจ านวนครูที่ด ารงวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะในปี การศึกษา 2564 – 2565 ดังแสดงในภาพที่ 7.3-8 28.0 29.0 30.0 31.0 32.0 33.0 2564 2565 2566 30.0 32.3 32.8 ร้อยละ ปีการศึกษา
ภาพที่ 7.3-8 แสดงสัดส่วนของครูด ารงวิทยฐานะปี 2564 - 2565 7.4 ผลลัพธ์ด้านการน าองค์กรและการก ากับดูแลองค์กร (Leadership Governance Results) ก. ผลลพัธด์ ้านการน าองคก์ร การกา กบัดแูลองคก์ร และความรบัผิดชอบต่อสงัคม (Leadership Governance and Societal Responsibility RESULTS) (1) การน าองค์กร (Leadership) ผู้น าระดับสูงมีการปฏิบัติงานตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยม โดยการส่งเสริมการประพฤติปฏิบัติ ตามกฎหมาย และการประพฤติปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม และใช้กระบวนการบริหารภายใต้กรอบ TUP-UB Model โดยกลไกที่ท าให้โรงเรียนประสบความส าเร็จอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ประยุกต์ใช้กระบวนการบริหาร คุณภาพ PDCA และกระบวนการมีส่วนร่วม จนน าไปสู่การสร้างโรงเรียนที่ประสบความส าเร็จ โดยมีผลจากการ ด าเนินงาน ดังนี้ ตารางที่ 7.4 ก-1 จ านวนรางวัลที่โรงเรียนได้รับ ปี 2564 -2565 ปีการศึกษา จ านวนครูย้ายออก 2564 3 2565 4 ตารางที่ 7.4 ก-2 จ านวนบุคลากรย้ายออก ปี 2564 -2565 ปีการศึกษา จ านวนครูย้ายออก 2564 1 2565 1 (2) การก ากับดูแลองค์กร (Governance) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี ตั้งอยู่หมู่ที่ 11 ถนนคลังอาวุธ ต าบลขามใหญ่ อ าเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 เปิดสอนตั้งแต่ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 คณะผู้ประเมินได้ตรวจเยี่ยมสถานศึกษาเมื่อวันที่ 18 – 20 พฤศจิกายน 2562 โดยมีผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ดังนี้ 0 10 20 30 40 50 60 43 12 22 8 51 13 25 5 จ านวนครู (คน) ต าแหน่ง 2564 2565
ตารางที่7.4-2 ผลการประเมินคุณภาพรอบสี่ (พ.ศ. 2559-2563) ด้าน ระดับคุณภาพ 1 คุณภาพของผู้เรียน ดีมาก 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ดีมาก 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ดีมาก (1) กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ (Law and Regulation) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี ด าเนินการเพื่อประโยชน์สูงสุดต่อผู้ปกครองนักเรียน และชุมชน มีการประชุมครูและบุคลากรทุกคนเพื่อทบทวนการปฏิบัติงานตามข้อกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ซึ่ง ได้จัดท าเป็นคู่มือการปฏิบัติงานไว้ทุกฝ่าย/งาน ก ากับ ติดตามการปฏิบัติงานตามคู่มือ/แนวปฏิบัติ ซึ่งในปีการศึกษา 2564-2565 ดังปรากฏในตารางที่ 7.4 ก5-6 ตารางที่ 7.4 ก5-6 เปรียบเทียบข้อร้องเรียน/ท้วงติง (ไม่เกิน 5 ครั้ง) ปี 2564 - 2565 ปีการศึกษา ข้อร้องเรียน/ท้วงติง 2564 0 2565 0 (2) จริยธรรม (Ethics) ผู้น าระดับสูงได้น าหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารงาน เพื่อเพิ่มการบริหารโรงเรียนไปสู่ ความส าเร็จ และส่งผลให้บุคลากร ในโรงเรียนท างานโดยยึดหลักความถูกต้อง ปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม ท างานด้วย ความบริสุทธิ์ โปร่งใส ทุกฝ่ายมี ส่วนร่วมในการท างาน เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์การจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ โดยบุคลากรได้รับรางวัลด้านจริยธรรม ในปีการศึกษา 2565 เพิ่มขึ้นจากปีการศึกษา 2564 ดังภาพที่ 7.4 ก-7 และในปี การศึกษา 264-2565 ไม่มีบุคลากรที่ถูกร้องเรียนด้านจริยธรรม ดังตารางที่ 7.4 ก-8 ภาพที่ 7.4ก-7 เปรียบเทียบรางวัลด้านจริยธรรมของบุคลากร ปี 2564 – 2565 0 1 2 3 4 5 2564 2565 4 5 รำงวัล
ตารางที่ 7.4 ก-8 เปรียบเทียบบุคลากรที่ถูกร้องเรียนด้านจริยธรรม ปี 2564 - 2565 ปีการศึกษา จ านวนบุคลากรที่ถูกร้องเรียนด้านจริยธรรม 2564 0 2565 0 (3) สังคม (Society) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี ด าเนินการสนับสนุนและเสริมสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่ชุมชนอย่างจริงจัง โดยโรงเรียนได้มีการด าเนินการ ตามโครงการที่วางแผนไว้ และตามค าร้องขอความร่วมมือจาก หน่วยงาน หรือชุมชน มีครูบุคลากรที่มีความสามารถ และมีพื้นที่ในโรงเรียนที่เอื้อประโยชน์ต่อการด าเนินกิจกรรมของ ชุมชน ให้บริการแก่ชุมชนอย่างต่อเนื่อง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับชุมชนในด้านต่าง ผลการด าเนินงาน แสดงดัง ตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 7.4ก-9 เปรียบเทียบผลการประเมินโครงการที่รับผิดชอบต่อสังคม โครงการ 2564 2565 ด าเนินงานคัดกรองและจ่ายเงินให้นักเรียนยากจนพิเศษตาม ยอดเงินที่ กสศ. จัดสรรให้ มากที่สุด มากที่สุด ประชุมผู้ปกครองนักเรียน - มากที่สุด ประชุมเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน มากที่สุด มาก ประสานความร่วมมือ/ประชุม คณะกรรมการสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน มากที่สุด มากที่สุด งานประชาสัมพันธ์ โรงเรียน มาก มาก กิจกรรมความสัมพันธ์โรงเรียนกับชุมชน มากที่สุด มากที่สุด รวม มากที่สุด มากที่สุด โครงการเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนด าเนินการทั้งสิ้น 6 กิจกรรม ผลการ ประเมินอยู่ระดับ มากที่สุด รวมกลยุทธ์ที่ 5 ด าเนินกิจกรรมทั้งสิ้น จ านวน 6 กิจกรรม ผลการประเมินอยู่ระดับ มากที่สุด ตารางที่ 7.4ก-10 เปรียบเทียบบุคลากรที่ร่วมกิจกรรมที่สนับสนุนชุมชน ปี 2564 - 2565 ปีการศึกษา ร้อยละของบุคลากรที่เข้าร่วมกิจกรรม ผลการประเมินโครงการ 2564 100 4.85 2565 100 4.65 ข. ผลลพัธด์ ้านการน ากลยุทธไ์ปปฏิบตัิ(Strategy Implementation RESULT) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี มีบุคลากรที่ท าหน้าที่ดูแลระบบเครือข่ายของโรงเรียน รวบรวมข้อมูลสารสนเทศให้มีความพร้อมในการใช้งานส าหรับครูและบุคลากร สามารถรับบริการอย่างทั่วถึง และมี ประสิทธิภาพ คณะกรรมการบริหารท าหน้าที่ในการก ากับติดตามการท างานของงานพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
และเมื่อพบปัญหาต้องด าเนินการแก้ไขและรายงานผลการด าเนินงานให้บรรลุเป้าหมาย โดยมีระบบสารสนเทศที่ สามารถใช้งานได้เกินกว่า 48 ชั่วโมง และมีการแก้ปัญหาสารสนเทศในภาวะฉุกเฉิน ดังตารางที่ 7.4ข-3 ตารางที่7.4ข-3 เปรียบเทียบจ านวนครั้ง (ต่อปี) ที่ระบบสารสนเทศไม่สามารถใช้งานได้เกินกว่า 48 ชั่วโมง และการแก้ปัญหาสารสนเทศในภาวะฉุกเฉิน ปีการศึกษา จ านวนครั้งที่ระบบสารสนเทศไม่สามารถใช้งานได้เกินกว่า 48 ชั่วโมง 2564 0 ครั้ง 2565 0 ครั้ง 7.5 ผลลพัธด์ ้านการเงินและการตลาด (Financial and Market Results) ก. ผลลัพธ์ด้านการเงินและการตลาด (Financial and Market Results) การเบิกจ่ายเงิน งบประมาณของโรงเรียนเป็นไปตามแผนปฏิบัติการประจ าปีโดยยึดหลักความประหยัดและประโยชน์สูงสุดต่อ โรงเรียนอย่างเป็นระบบทุกเดือนมีการน าข้อมูลไปวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย วิเคราะห์สถานะทางการเงิน และความ มั่นคงของโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง มีหน่วยงานตรวจสอบภายใน และภายนอก ฝ่ายบริหาร ให้ค าปรึกษา ก ากับ ติดตามและตรวจสอบให้เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงาน การเงิน การบัญชีและ พัสดุอย่างเคร่งครัด (1) ผลการดา เนินการด้านการเงิน (Financial Performance) งบประมาณในการบริหารจัดการศึกษาในปีการศึกษา 2564 – 2565 พบว่า ในปีการศึกษา 2564 – 2565 โรงเรียนได้รับการจัดสรรงบประมาณเพิ่มขึ้นเนื่องจากปีการศึกษา 2565 มีจ านวนนักเรียนเพิ่มขึ้น ส่งผลท าให้ การขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาสูงขึ้น ดังภาพที่ 7.5 ก-1 ภาพที่ 7.5ก-1 แสดงงบประมาณในการบริหารจัดการศึกษา ปีการศึกษา 2564-2565
ภาพที่7.5ก-2 แสดงรายรับ-รายจ่ายเงินได้สถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 – 2565 (2) ผลการดา เนินการด้านตลาด (Marketplace Performance) ผลการด าเนินการด้านการตลาดพบว่าโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี มีนักเรียน มาสมัครเรียนเพิ่มขึ้นในทุกปีการศึกษาและมีอัตราการแข่งขันสูงขึ้น เนื่องจากผลการติดตามนักเรียนที่เรียนจบ การศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายสามารถสอบคัดเลือกเข้าเรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัยเพิ่มมากขึ้น ทุกปีอย่างต่อเนื่องและนักเรียนมีผลงานเชิงประจักษ์ในระดับชาติ ส่งผลให้ผู้ปกครองมีความไว้วางใจส่งบุตร หลานเข้าศึกษาที่โรงเรียนเพิ่มมากขึ้นในทุกปีการศึกษา ภาพที่7.5ก-3 แสดงจ านวนนักเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานีปีการศึกษา 2564 – 2565
สรุปผลการติดตามนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2565 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี ................................................................................. ลำดับที่ ชื่อสถาบัน จำนวนคน ทั้งหมด ร้อยละ หมายเหตุ 1 มหาวิทยาลัยขอนแก่น 5 1.97 2 มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์ฯ 1 0.95 3 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 4 1.58 4 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 56 22.13 5 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 4 1.58 6 มหาวิทยาลัยมหิดล 2 0.79 7 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2 0.79 8 มหาวิทยาราชภัฏอุบลราชธานี 61 24.11 9 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 2 0.79 10 สถาบันเทคโนฯพระนครเหนือ 1 0.95 11 สถาบันฯลาดกระบัง 1 0.95 12 มหาวิทยาลัยศิลปกร 2 0.79 13 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 14 5.53 14 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 1 0.95 15 วิทยาลัยพยาบาลพระบรมฯ /นวมินทร์ 2 0.79 16 มหาวิทยาลัยพะเยา 2 0.79 17 มหาวิทยาลัยศรีปทุม 7 2.76 18 มหาวิทยาลัยรังสิต 1 0.95 19 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1 0.95 20 สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลฯศาลายา 1 0.95 21 มหาวิทยาลัยอัสสัมชัน 1 0.95 22 สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น 1 0.95 23 มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งประเทศไทย 2 0.79 24 วิทยาลัยอาชีวศึกษา 6 2.37 25 วิทยาลัยเทคนิค 13 5.13 26 การทหาร(กองทัพบก ทัพเรือ อากาศ) 3 1.18 29 ทำงาน 57 22.53 รวม 253 ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2566
สรุปผลการติดตามนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ......................................... ลำดับ ที่ ชื่อสถาบัน จำนวนคน ทั้งหมด 6/1 6/2 6/3 1 มหาวิทยาลัยขอนแก่น 237 2 1 2 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 12 6 3 3 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 1 4 มหาวิทยาลัยศิลปากร 5 มหาวิทยาราชภัฏอุบลราชธานี 1 5 12 6 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2 1 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร 8 มหาวิทยาลัยบูรพา 1 1 9 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 1 10 สถาบันเทคโนโลยีฯลาดกระบัง 1 11 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒฯ 2 12 วิทยาลัยเทคโนโลยียานยนต์ บางแค 13 มหาวิทยาลัยธนบุรี 14 สถาบันปัญญาภิวัฒน์ 15 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 16 มหาวิทยาลัยราชธานี 20 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 5
ปที่ 6 ที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2564 าพัฒนาการ อุบลราชธานี ......................................... ระดับชั้น รวม ร้อยละ 3 6/4 6/5 6/6 6/7 2 5 2.1 1 6 4 5 37 15.6 1 1 1 4 1.7 1 1 0.4 14 19 9 7 67 28.3 3 1.3 1 1 0.4 2 0.8 1 0.4 1 2 0.8 2 0.8 1 1 0.4 1 1 0.4 1 1 0.4 1 1 2 0.8 1 1 0.4 5 2.1
-2 ลำดับ ที่ ชื่อสถาบัน จำนวนคน ทั้งหมด 6/1 6/2 6/3 21 มหาวิทยาลัยการสาธารณสุขสิริ นทร อุบลฯ 22 มหาวิทยาลัยกรุงเทพฯ 1 23 ต่างประเทศ 1 1 24 วิทยาลัยอาชีวศึกษา 25 วิทยาลัยเทคนิค 2 28 ไม่เรียนต่อ(รอสอบ) 1 29 ทำงาน 3 3 17 รวม 30 20 36 ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2565
2- ระดับชั้น รวม ร้อยละ 6/4 6/5 6/6 6/7 1 1 0.4 1 0.4 2 0.8 1 3 4 1.7 1 2 2 7 3 1 0.42 14 9 20 20 86 36.3 37 39 35 40 237 100
สรุปผลการติดตามนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ......................................... ลำดับที่ ชื่อสถาบัน จำนวนคน ทั้งหมด 6/1 6/2 1 มหาวิทยาลัยขอนแก่น 160 5 5 2 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 6 7 3 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 1 2 4 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 1 1 5 มหาวิทยาราชภัฏอุบลราชธานี 2 12 6 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1 7 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 2 1 8 มหาวิทยาลัยบูรพา 1 9 มหาวิทยาลัยรังสิต 1 10 สถาบันเทคโนโลยีฯลาดกระบัง 2 11 สถาบันเทคโนโลยีฯพระนคร เหนือ 1 12 มหาวิทยาราชภัฏบ้านสมเด็จ เจ้าพระยา 1 13 มหาวิทยาราชภัฏสวนสุนันทา 1 14 ม.วลัยลักษณ์ 1 15 ม.นเรศวร 16 ต่างประเทศ 1 20 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 1
ที่ 6 ที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษา 2563 าพัฒนาการ อุบลราชธานี ......................................... ระดับชั้น รวม ร้อยละ 2 6/3 6/4 6/5 1 11 6.9 16 3 1 33 20.6 1 1 5 3.125 2 1.25 2 9 19 5 47 29.37 1 0.625 1 4 2.5 1 0.625 1 0.625 2 1.25 1 0.625 1 0.625 1 0.625 1 0.625 1 1 0.625 1 2 1.25 1 2 1.25
-2 ลำดับที่ ชื่อสถาบัน จำนวนคน ทั้งหมด 6/1 6/2 21 ม.กรุงเทพฯ 160 22 ม.ศรีปทุม 23 ม.พะเยา 24 สถาบันการบริบาล 25 วิทยาลัยอาชีวศึกษา 2 28 วิทยาลัยเทคนิค 1 29 ไม่เรียนต่อ(รอสอบ) 2 30 ทำงาน 1 31 ไม่จบหลักสูตร 32 ติดตามไม่ได้ 33 นายสิบทหารบก 34 สถาบันเทคโนโลยีสุรนารี รวม 25 37 ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2564
2 ระดับชั้น รวม ร้อยละ 2 6/3 6/4 6/5 1 1 0.625 1 1 0.625 1 1 0.625 1 1 0.625 2 4 2.5 1 2 1.25 2 1.25 1 1 1 4 2.5 2 6 11 19 11.87 4 2 1 7 4.38 1 1 0.625 1 1 0.625 7 41 34 23 160 100
รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2564 P a g e | 1
รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2564 P a g e | 2 คำนำ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานีได้จัดทำรายงานการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาของ โรงเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) เพื่อ นำมาวิเคราะห์ตัดสินคุณค่าของหลักสูตรสถานศึกษาว่ามีประสิทธิภาพเพียงใดเมื่อนำมาใช้จริง บรรลุตามเป้าหมาย/ จุดประสงค์ที่กำหนดไว้เพียงใด และมีส่วนใดที่จำเป็นต้องมีการพัฒนาแก้ไข เพื่อปรับปรุงให้หลักสูตรสถานศึกษา เป็นไปตามพันธกิจและเป้าประสงค์มากที่สุด โดยยึดหลักเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ รวมทั้งยึดการประเมินผลที่หลากหลาย ตามความถนัดของผู้เรียน หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนและเป็นแนวทางแก่ผู้ที่ สนใจนำข้อมูลไปพัฒนาผู้เรียนให้สนองเจตนารมณ์ของหลักสูตรสถานศึกษาต่อไป (นายชาคริต พิมพ์หล่อ) ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี
รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2564 P a g e | 3 ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี ปีการศึกษา 2564 การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามและประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนเตรียม อุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานีปีการศึกษา 2564 เพื่อนำไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาใน ปีการศึกษาถัดไป รายละเอียดดังนี้ กลุ่มเป้าหมาย ผู้ให้ข้อมูลในการตอบแบบสอบถาม รวมทั้งหมดจำนวน 1,012 คน ประกอบด้วย 1) ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 4 คน 2) ครูผู้สอน จำนวน 63 คน 3) นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 786 คน 4) ผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 159 คน เครื่องมือ ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยรายการข้อคำถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ แบ่งข้อคำถามเกี่ยวกับความพึงพอใจต่อการใช้หลักสูตรสถานศึกษาออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการวางแผน/การจัดทำ/การใช้หลักสูตรสถานศึกษา จำนวน 18 ข้อ 2) ด้านปัจจัยพื้นฐาน จำนวน 15 ข้อ 3) ด้านกระบวนการใช้หลักสูตร จำนวน 18 ข้อ 4) ด้านประสิทธิผล 23 ข้อ การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นของ ผู้บริหาร ครูผู้สอน นักเรียน และผู้ปกครอง นักเรียน โดยกำหนดระดับความพึงพอใจออกเป็นแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ 5 หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด หรือเห็นด้วยมากที่สุด หรือสอดคล้องมากที่สุด 4 หมายถึง เหมาะสมมาก หรือเห็นด้วยมาก หรือสอดคล้องมาก 3 หมายถึง เหมาะสมปานกลาง หรือเห็นด้วยปานกลาง หรือสอดคล้องปานกลาง 2 หมายถึง เหมาะสมน้อย หรือเห็นด้วยน้อย หรือสอดคล้องน้อย 1 หมายถึง เหมาะสมน้อยที่สุด หรือเห็นด้วยน้อยที่สุด หรือสอดคล้องน้อยที่สุด และแปลความหมายหาค่าคะแนนเฉลี่ย (̅) แต่ละรายการและแต่ละด้าน ได้มาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ 5 ระดับ ดังนี้ ค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 4.51 – 5.00 หมายถึง ระดับมากที่สุดหรือเหมาะสมมากที่สุด ค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 3.51 – 4.50 หมายถึง ระดับมากหรือเหมาะสมมาก ค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 2.51 – 3.50 หมายถึง ระดับปานกลางหรือเหมาะสมปานกลาง ค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 1.51 – 2.50 หมายถึง ระดับน้อยหรือเหมาะสมน้อย ค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 1.00 – 1.50 หมายถึง ระดับน้อยที่สุดหรือเหมาะสมน้อยที่สุด
รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2564 P a g e | 4 ความพึงพอใจต่อการใช้หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี รายละเอียด ดังนี้ 1. ด้านปัจจัยพื้นฐาน ตาราง 1.1 ความพึงพอใจต่อคุณภาพครู ข้อที่ 1.1 คุณภาพครู คะแนน แปลผล ครู/ผู้บริหาร นักเรียน ผู้ปกครอง เฉลี่ย 6 ครูตรวจสอบ ติดตามงานที่มอบหมายนักเรียนและให้ข้อมูลย้อนกลับ 3.42 3.95 4.01 3.83 มาก 3 ครูมีความรับผิดชอบต่อการจัดการเรียนรู้ปฏิบัติการสอนอย่างตั้งใจ 3.45 3.83 4.10 3.80 มาก 1 ครูมีความรู้ความเข้าใจ ในเนื้อหาวิชาที่สอนอย่างลึกซึ้ง 3.46 3.85 4.04 3.79 มาก 5 ครูเอาใจใส่และพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ 3.45 3.81 4.11 3.79 มาก 8 ความพึงพอใจโดยรวมต่อความพร้อมและศักยภาพของครูผู้สอน 3.45 3.8 4.1 3.78 มาก 7 ครูสามารถปรับตัวและพัฒนาตนเองด้านการจัดการเรียนการสอน 3.44 3.79 4.07 3.77 มาก 2 ครูสามารถจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ 3.40 3.76 4.14 3.73 มาก 4 ครูมีความตรงต่อเวลา และติดตามการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง 3.39 3.7 4.1 3.73 มาก จากตาราง 1.1 และ กราฟ 1.1 ความพึงพอใจต่อคุณภาพครูพบว่า ทุกรายการมีความพึงพอใจอยู่ระดับ “มาก” โดยรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจสูงที่สุด คือ “ครูตรวจสอบ ติดตามงานที่มอบหมายนักเรียนและให้ข้อมูล ย้อนกลับ” (3.83 คะแนน) และรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ “ครูมีความตรงต่อเวลา และติดตาม การเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง” (3.73 คะแนน) และเมื่อจำแนกตามกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามพบว่า รายการที่มี ความพึงพอใจต่อคุณภาพครูสูงที่สุด ดังนี้ ผู้บริหาร : ครูมีความรู้ความเข้าใจ ในเนื้อหาวิชาที่สอนอย่างลึกซึ้ง (3.46) ผู้ปกครอง : ครูเอาใจใส่และพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ (4.11) นักเรียน : ครูตรวจสอบ ติดตามงานที่มอบหมายนักเรียนและให้ข้อมูลย้อนกลับ (3.95) รายการที่มีความพึงพอใจต่อคุณภาพครูน้อยที่สุด ดังนี้ ผู้บริหาร : ครูมีความตรงต่อเวลา และติดตามการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง (3.39) ผู้ปกครอง : ครูมีความรู้ความเข้าใจ ในเนื้อหาวิชาที่สอนอย่างลึกซึ้ง (4.04) นักเรียน : ครูมีความตรงต่อเวลา และติดตามการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง (3.7) กล่าวได้ว่า คุณภาพครู ความพึงพอใจต่อคุณภาพครูอยู่ในระดับ “มาก” และควรมีการส่งเสริมและพัฒนาครู ด้านความรู้ในเนื้อหาวิชา มีการติดตามงานและให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักเรียน และแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่มี ประสิทธิภาพและเหมาะสมกับบริบทการเรียน
รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2564 P a g e | 5 1.2 สื่อการเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ ตาราง 1.2 ความพึงพอใจต่อสื่อการเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ ข้อที่ 1.2 สื่อการเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ คะแนน แปลผล ครู/ผู้บริหาร นักเรียน ผู้ปกครอง เฉลี่ย 1 หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอนเพียงพอกับจำนวนนักเรียน 3.28 3.7 3.96 3.65 มาก 3 สื่อประกอบการสอนเหมาะสมกับสาระการเรียนรู้และนักเรียน 3.21 3.72 3.9 3.61 มาก 7 ความพึงพอใจโดยรวมต่อสื่อการเรียนรู้สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ 3.17 3.69 3.93 3.60 มาก 4 มีสื่อและอุปกรณ์ที่ทันสมัย มีคุณภาพส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน 3.18 3.71 3.89 3.59 มาก 5 มีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ใช้ได้จริง เหมาะสมกับวัยของนักเรียน 3.21 3.63 3.86 3.57 มาก 2 สื่อ วัสดุอุปกรณ์ เพียงพอกับจำนวนนักเรียน 3.06 3.56 3.89 3.50 มาก 6 ใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาชาวบ้านในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3.08 3.48 3.73 3.43 ปานกลาง จากตาราง 1.2 ความพึงพอใจต่อสื่อการเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้พบว่า รายการส่วนมากมี ความพึงพอใจอยู่ระดับ “มาก” โดยรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจสูงที่สุด คือ “หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการ สอนเพียงพอกับจำนวนนักเรียน” (3.65 คะแนน) และรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ “ใช้แหล่งเรียนรู้ ในชุมชนและภูมิปัญญาชาวบ้านในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้” (3.43 คะแนน) และเมื่อจำแนกตามกลุ่มผู้ตอบ แบบสอบถามพบว่า รายการที่มีความพึงพอใจต่อสื่อการเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ สูงที่สุด ดังนี้ ผู้บริหาร : หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอนเพียงพอกับจำนวนนักเรียน (3.28) นักเรียน : สื่อประกอบการสอนเหมาะสมกับสาระการเรียนรู้และนักเรียน (3.72) ผู้ปกครอง : หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอนเพียงพอกับจำนวนนักเรียน (3.96) รายการที่มีความพึงพอใจต่อสื่อการเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้น้อยที่สุด ดังนี้ ผู้บริหาร : สื่อ วัสดุอุปกรณ์ เพียงพอกับจำนวนนักเรียน (3.06) นักเรียน : ใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาชาวบ้านในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้(3.48) ผู้ปกครอง : ใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาชาวบ้านในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้(3.73) กล่าวได้ว่า ความพึงพอใจต่อสื่อการเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้โดยรวมอยู่ในระดับ “มาก” อย่างไรก็ตาม ควรมีการจัดหาหรือสร้างสื่อประกอบการเรียนการสอนให้เพียงพอต่อจำเป็นของนักเรียน รวมทั้งควร บูรณาการใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาชาวบ้านในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2564 P a g e | 6 2. ด้านกระบวนการใช้หลักสูตร 2.1 กระบวนการเรียนรู้ ตาราง 2.1 ความพึงพอใจต่อกระบวนการเรียนรู้ ข้อที่ 2.1 กระบวนการเรียนรู้ คะแนน แปลผล ครู/ผู้บริหาร นักเรียน ผู้ปกครอง เฉลี่ย 5 นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3.31 3.79 3.98 3.69 มาก 7 มีการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 3.38 3.73 3.94 3.68 มาก 1 มีรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้และวิธีการที่หลากหลาย 3.34 3.73 3.96 3.68 มาก 6 ส่งเสริมให้นักเรียนแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ 3.35 3.74 3.91 3.67 มาก 10 โรงเรียนมีกิจกรรมส่งเสริมทักษะผู้เรียนตามแผนการเรียนเฉพาะ 3.37 3.67 3.96 3.67 มาก 3 ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะในการคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหา 3.3 3.75 3.94 3.66 มาก 4 ส่งเสริมทักษะการสื่อสารและการนำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ 3.3 3.77 3.91 3.66 มาก 11 ความพึงพอใจโดยรวมต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3.3 3.71 3.96 3.66 มาก 2 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะจำเป็นในศตวรรษที่ 21 3.35 3.66 3.91 3.64 มาก 9 เน้นนักเรียนเป็นสำคัญตามแนวทางการเรียนรู้เชิงรุก (active learning) 3.32 3.64 3.92 3.63 มาก 8 ใช้กระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียน 3.21 3.69 3.88 3.59 มาก จากตาราง 2.1 ความพึงพอใจต่อสื่อการเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้พบว่า รายการส่วนมากมี ความพึงพอใจอยู่ระดับ “มาก” โดยรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจสูงที่สุด คือ “หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการ สอนเพียงพอกับจำนวนนักเรียน” (3.65 คะแนน) และรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ “ใช้แหล่งเรียนรู้ ในชุมชนและภูมิปัญญาชาวบ้านในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้” (3.43 คะแนน) และเมื่อจำแนกตามกลุ่มผู้ตอบ แบบสอบถามพบว่า รายการที่มีความพึงพอใจต่อสื่อการเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ สูงที่สุด ดังนี้ ผู้บริหาร : หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอนเพียงพอกับจำนวนนักเรียน (3.28) นักเรียน : สื่อประกอบการสอนเหมาะสมกับสาระการเรียนรู้และนักเรียน (3.72) ผู้ปกครอง : หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอนเพียงพอกับจำนวนนักเรียน (3.96) รายการที่มีความพึงพอใจต่อสื่อการเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้น้อยที่สุด ดังนี้ ผู้บริหาร : สื่อ วัสดุอุปกรณ์ เพียงพอกับจำนวนนักเรียน (3.06) นักเรียน : ใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาชาวบ้านในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้(3.48) ผู้ปกครอง : ใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาชาวบ้านในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้(3.73)
รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2564 P a g e | 7 2. ด้านกระบวนการใช้หลักสูตร 2.2 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตาราง 2.2 ความพึงพอใจต่อการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ข้อที่ 2.2 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ คะแนน แปลผล ครู/ผู้บริหาร นักเรียน ผู้ปกครอง เฉลี่ย 1 การวัดและประเมินผลอ้างอิงตามตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ของรายวิชา 3.38 3.69 3.95 3.67 มาก 2 มีการแจ้งวิธีการวัดและประเมินผลให้นักเรียนทราบล่วงหน้า 3.37 3.67 3.96 3.67 มาก 5 การวัดและประเมินผลเป็นเพื่อการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพของนักเรียน 3.31 3.67 3.96 3.65 มาก 4 ใช้วิธีการ และเครื่องมือ ที่หลากหลายเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เพียงพอ 3.31 3.69 3.89 3.63 มาก 3 วัดและประเมินผลอย่างรอบด้านทั้งความรู้ทักษะ และเจตคติ 3.27 3.66 3.92 3.62 มาก 7 ความพึงพอใจโดยรวมต่อการวัดและประเมินผล 3.24 3.65 3.92 3.60 มาก 6 นักเรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบและกำหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผล 3.28 3.55 3.8 3.54 มาก จากตาราง 2.2 ความพึงพอใจต่อการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ พบว่า ทุกรายการมีความพึงพอใจอยู่ระดับ “มาก” โดยรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจสูงที่สุด คือ “การวัดและประเมินผลอ้างอิงตามตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ ของรายวิชา” (3.67 คะแนน) และรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ “นักเรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบ และกำหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผล” (3.54 คะแนน) และเมื่อจำแนกตามกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามพบว่า รายการ ที่มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สูงที่สุด ดังนี้ ผู้บริหาร : การวัดและประเมินผลอ้างอิงตามตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ของรายวิชา (3.38) นักเรียน : การวัดและประเมินผลอ้างอิงตามตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ของรายวิชา (3.69) วัดและประเมินผลอย่างรอบด้านทั้งความรู้ทักษะ และเจตคติ(3.69) ผู้ปกครอง : มีการแจ้งวิธีการวัดและประเมินผลให้นักเรียนทราบล่วงหน้า (3.96) การวัดและประเมินผลเป็นเพื่อการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพของนักเรียน (3.96) รายการที่มีความพึงพอใจต่อการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ น้อยที่สุด ดังนี้ ผู้บริหาร : ความพึงพอใจโดยรวมต่อการวัดและประเมินผล (3.24) นักเรียน : นักเรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบและกำหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผล (3.55) ผู้ปกครอง : นักเรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบและกำหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผล (3.80)
รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2564 P a g e | 8 3. ด้านประสิทธิผล/ 3.1 คุณภาพผู้เรียน ตาราง 3.1 ความพึงพอใจต่อคุณภาพผู้เรียน ข้อที่ 3.1 คุณภาพผู้เรียน คะแนน ครู/ แปลผล ผู้บริหาร นักเรียน ผู้ปกครอง เฉลี่ย 2 นักเรียนปฏิบัติตนและยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย 3.24 3.86 4.07 3.72 มาก 1 นักเรียนเป็นพลเมืองดีของชาติศรัทธาศาสนาที่ตนนับถือ เคารพสถาบัน พระมหากษัตริย์ 3.25 3.7 4.1 3.68 มาก 3 นักเรียนปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคมอยู่เสมอ 3.2 3.74 4.03 3.66 มาก 14 นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อเพื่อร่วมโลกและรู้จักใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า 3.13 3.82 3.99 3.65 มาก 9 นักเรียนมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ 3.15 3.8 3.97 3.64 มาก 5 นักเรียนสามารถเลือกแนวทางการแก้ปัญหาที่ดีที่สุดได้จากการลำดับความคิด และแนวทางในการแก้ปัญหาที่นักเรียนคิดได้ 3.18 3.77 3.93 3.63 มาก 4 นักเรียนสามารถลำดับปัญหา และวิธีการในการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.2 3.75 3.92 3.62 มาก 6 นักเรียนสามารถอธิบายและเข้าใจหลักการ ที่ใช้ในการแก้ปัญหา 3.18 3.75 3.92 3.62 มาก 15 นักเรียนมีทักษะสำคัญที่ใช้ในการดำเนินชีวิต 3.1 3.81 3.94 3.62 มาก 8 นักเรียนมีกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ โดยอาศัยตรรกะ/องค์ความรู้ที่ได้ ศึกษามา 3.17 3.75 3.9 3.61 มาก 16 ความพึงพอใจโดยรวมในต่อประสิทธิผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน 3.1 3.73 3.97 3.60 มาก 17 ความพึงพอใจโดยรวมต่อหลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2564 3.08 3.68 4.02 3.59 มาก 7 นักเรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์และการคิดขั้นสูง เพื่อหาแนวทางในการ แก้ปัญหาได้ 3.17 3.71 3.89 3.59 มาก 13 นักเรียนมีจิตสำนึกในเกียรติภูมิและมีความเข้าใจในประวัติศาสตร์ชาติ 3.15 3.69 3.92 3.59 มาก 12 นักเรียนมีนิสัยรักการเรียนรู้และค้นคว้าอย่างเป็นระบบ 3.15 3.7 3.89 3.58 มาก 11 นักเรียนมีทักษะในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.15 3.66 3.89 3.57 มาก 10 นักเรียนสามารถผลิตชิ้นงาน หรือนวัตกรรม เพื่อแก้ปัญหาได้ 3.15 3.62 3.84 3.54 มาก จากตาราง 3.1 ความพึงพอใจต่อคุณภาพผู้เรียน พบว่า ทุกรายการมีความพึงพอใจอยู่ระดับ “มาก” โดย รายการที่มีคะแนนความพึงพอใจสูงที่สุด คือ “นักเรียนปฏิบัติตนและยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย” (3.72 คะแนน) และรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ “นักเรียนสามารถผลิตชิ้นงาน หรือนวัตกรรม เพื่อ แก้ปัญหาได้” (3.54 คะแนน) และเมื่อจำแนกตามกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามพบว่า รายการที่มีคุณภาพผู้เรียน สูงที่สุด ดังนี้ ผู้บริหาร : นักเรียนปฏิบัติตนและยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย (3.24) นักเรียน : นักเรียนเป็นพลเมืองดีของชาติศรัทธาศาสนาที่ตนนับถือ เคารพสถาบันพระมหากษัตริย์(3.69) ผู้ปกครอง : นักเรียนเป็นพลเมืองดีของชาติศรัทธาศาสนาที่ตนนับถือ เคารพสถาบันพระมหากษัตริย์(3.96) รายการที่มีความพึงพอใจต่อคุณภาพผู้เรียน น้อยที่สุด ดังนี้
รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2564 P a g e | 9 ผู้บริหาร : นักเรียนมีทักษะสำคัญที่ใช้ในการดำเนินชีวิต (3.10) ความพึงพอใจโดยรวมในต่อประสิทธิผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน (3.55) นักเรียน : นักเรียนสามารถผลิตชิ้นงาน หรือนวัตกรรม เพื่อแก้ปัญหาได้(3.84) ผู้ปกครอง : นักเรียนสามารถผลิตชิ้นงาน หรือนวัตกรรม เพื่อแก้ปัญหาได้(3.54) 3.2 คุณภาพผู้เรียนตามแนวทางโรงเรียนมาตรฐานสากล (OBECQA) ตาราง 3.2 ความพึงพอใจต่อคุณภาพผู้เรียนตามแนวทางโรงเรียนมาตรฐานสากล (OBECQA) ข้อที่ 3.2 คุณภาพผู้เรียนตามแนวทางโรงเรียนมาตรฐานสากล (OBECQA) คะแนน ครู/ แปลผล ผู้บริหาร นักเรียน ผู้ปกครอง เฉลี่ย 6 นักเรียนมีทักษะสำคัญและคุณลักษณะจำเป็นในยุคปัจจุบัน 3.17 3.77 3.89 3.61 มาก 5 นักเรียนตระหนักสถานการณ์โลก ยอมรับความแตกต่างของวัฒนธรรม ประเพณี 3.1 3.78 3.89 3.59 มาก 4 นักเรียนวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบและผลิตผลงานอย่างมีคุณภาพ 3.18 3.63 3.77 3.53 มาก 3 นักเรียนมีทักษะการคิดขั้นสูงและการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถ ปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ปัจจุบัน 3.1 3.65 3.79 3.51 มาก 1 นักเรียนมีความเป็นเลิศด้านความรู้และทักษะทางวิชาการตามแผนการ เรียน 3.08 3.6 3.77 3.48 ปานกลาง 2 นักเรียนมีทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 3.2 3.49 3.63 3.44 ปานกลาง จากตาราง 3.2 ความพึงพอใจต่อคุณภาพผู้เรียนตามแนวทางโรงเรียนมาตรฐานสากล (OBECQA) พบว่า รายการส่วนใหญ่มีความพึงพอใจอยู่ระดับ “มาก” โดยรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจสูงที่สุด คือ “นักเรียนมีทักษะ สำคัญและคุณลักษณะจำเป็นในยุคปัจจุบัน” (3.61 คะแนน) และรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ “นักเรียนมีทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ” (3.44 คะแนน) และเมื่อจำแนกตามกลุ่มผู้ตอบ แบบสอบถามพบว่า รายการที่มีคุณภาพผู้เรียนตามแนวทางโรงเรียนมาตรฐานสากล (OBECQA) สูงที่สุด ดังนี้ ผู้บริหาร : นักเรียนมีทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ (3.20) นักเรียน : นักเรียนตระหนักสถานการณ์โลก ยอมรับความแตกต่างของวัฒนธรรม ประเพณี(3.78) ผู้ปกครอง : นักเรียนมีทักษะสำคัญและคุณลักษณะจำเป็นในยุคปัจจุบัน (3.89) นักเรียนตระหนักสถานการณ์โลก ยอมรับความแตกต่างของวัฒนธรรม ประเพณี(3.89) รายการที่มีความพึงพอใจต่อคุณภาพผู้เรียนตามแนวทางโรงเรียนมาตรฐานสากล (OBECQA) น้อยที่สุด ดังนี้ ผู้บริหาร : นักเรียนมีความเป็นเลิศด้านความรู้และทักษะทางวิชาการตามแผนการเรียน (3.08) นักเรียน : นักเรียนมีทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ (3.49) ผู้ปกครอง : นักเรียนมีทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ (3.63)
รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2564 P a g e | 10 4. ด้านการวางแผน/การจัดทำ/การใช้หลักสูตรสถานศึกษา ตาราง 4 ความพึงพอใจต่อ การวางแผน/การจัดทำ/การใช้หลักสูตรสถานศึกษา ที่ รายการประเมิน เฉลี่ย แปลผล 3 การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอย่างเหมาะสม 3.41 ปานกลาง 1 เปิดสอนแผนการเรียนหลากหลายสอดคล้องกับความสนใจของนักเรียน 3.44 ปานกลาง 2 มีคณะกรรมการบริหารและรับผิดชอบหลักสูตรสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ 3.37 ปานกลาง 4 มีการวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและหลักสูตรสถานศึกษา 3.35 ปานกลาง 5 เป้าหมายของหลักสูตรสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และเป้าประสงค์ของโรงเรียน 3.31 ปานกลาง 6 มีขั้นตอนการดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาเป็นระบบ 3.30 ปานกลาง 7 มีการประชาสัมพันธ์หลักสูตรและการใช้หลักสูตรสถานศึกษา 3.30 ปานกลาง 8 บุคลากรมีส่วนร่วมในการวางแผนและจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา 3.27 ปานกลาง 9 มีการนิเทศ ติดตามการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง 3.27 ปานกลาง 10 มีกระบวนการพัฒนาบุคลากรด้านการวางแผนการใช้และพัฒนาหลักสูตร 3.27 ปานกลาง 11 บุคลากรมีความเข้าใจเกี่ยวกับเป้าหมายหลักสูตรสาระการเรียนรู้ 3.27 ปานกลาง 12 มีการติดตามผลและสะท้อนการใช้หลักสูตรสถานศึกษามาปรับปรุงและพัฒนา 3.24 ปานกลาง 13 จัดเวลาสำหรับกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) สำหรับครู 3.21 ปานกลาง 14 ส่งเสริมการทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 3.21 ปานกลาง 15 มีการเผยแพร่ผลการดำเนินการใช้หลักสูตรสถานศึกษาต่อผู้ที่เกี่ยวข้อง 3.21 ปานกลาง 16 มีการสรุปผลการดำเนินการใช้หลักสูตรสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง 3.20 ปานกลาง 18 ความพึงพอใจโดยรวมต่อการวางแผน/การจัดทำ/การใช้หลักสูตรสถานศึกษา 3.24 ปานกลาง 17 ชุมชน ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการพัฒนาการใช้หลักสูตรสถานศึกษา 3.18 ปานกลาง จากตาราง 4 ความพึงพอใจต่อคุการวางแผน/การจัดทำ/การใช้หลักสูตรสถานศึกษา โดยสอบถามความพึง พอใจจากผู้บริหารและคณะครูพบว่า ทุกรายการมีความพึงพอใจอยู่ระดับ “ปานกลาง” โดยรายการที่มีคะแนนความ พึงพอใจสูงที่สุด คือ “การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนอย่างเหมาะสม” (3.44 คะแนน) และรายการที่มีคะแนนความพึง พอใจน้อยที่สุด คือ “ชุมชน ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการพัฒนาการใช้หลักสูตรสถานศึกษา” (3.18 คะแนน)
รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2564 P a g e | 11 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม จุดเด่นของหลักสูตรสถานศึกษา ข้อเสนอแนะ/ปรับปรุงเพิ่มเติม ความคิดเห็นของครู ผู้บริหารสถานศึกษา ▪หลักสูตรหลากหลาย ▪ทันสมัย ▪จัดการสอนแบบ Active Learning ▪ควรพัฒนาครูผู้สอนให้มีความรู้เฉพาะด้าน ให้เหมาะสมกับ หลักสูตรนั้น ๆ ▪วิชาเพิ่มเติมมากเกินจำเป็น และบางวิชาไม่สอดคล้องกับ แผนการเรียน ถ้าสามารถปรับลดหรือปรับวิชาเพิ่มเติมให้ สอดคล้องกับแผนการเรียนของนักเรียนมากขึ้นจะดีมาก ▪นำข้อเสนอเกี่ยวกับหลักสูตรมาวิเคราะห์เพื่อพัฒนาหลักสูตร ▪ควรพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกันการเรียนรู้ของผู้เรียนและ พัฒนาครูไปพร้อมกัน ▪อยากให้มีสื่อและวัสดุเยอะ ๆ สำหรับแต่ละหลักสูตร ▪ควรให้หนังสือหลักสูตรไว้ในทุกกลุ่มสาระฯ เพื่อครูทุกคนจะได้รู้ และเข้าใจหลักสูตร เพื่อจัดการเรียนการสอนตามจุดเน้น หลักสูตรเปิดเยอะเกินไป ความคิดเห็นของนักเรียน ▪หลักสูตรหลากหลาย ▪หลักสูตรแตกต่างจากเตรียมเครือข่ายอื่นๆ ▪เอาใจใส่นักเรียน ▪ทันสมัย/ใช้เทคโนโลยี ▪เน้นหลักภาษาและวิชาทางการคิดคำนวณ ▪ อยากให้ครูเข้าตรงเวลาแล้วก็เข้าสอนทุกคาบ ▪ ควรหาครูผู้สอนที่ตรงจุดและมีความถนัดของวิชาE-sport ▪ ครูดีมีมากกว่า 90% แต่ครู10% ชอบพูดนักเรียนดสีย ความรู้สึก ให้รู้สึกแย่ๆ เลิกได้จะดีมาก ▪ ควรปรับปรุงหลักสูตรการเรียนให้เหมะสมกับการนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวันมากที่สุดและลดหลักสูตรที่ค่อยได้ใช่ใน ชีวิตประจำวันลง ▪ ตารางเรียนมั่วเกินไปเดินกลับไปกลับมาไม่เรียงตามลำดับของ ตึก ▪ อุปกรณ์พังแล้วยังไม่ได้การแก้ไข ▪ ซ่อมโปรเจคเตอร์ อยากให้มีการจัดการศึกษานอกสถานที่มาก ขึ้น ▪ อยากให้พัฒนาตึกเรียนใหม่และห้องน้ำ ▪ อยากให้พัฒนาเรื่องกฎ เช่น การที่นักเรียนบางคนแต่งตัวไม่ถูก ใส่รองเท้าผิดกฎ
รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2564 P a g e | 12 จุดเด่นของหลักสูตรสถานศึกษา ข้อเสนอแนะ/ปรับปรุงเพิ่มเติม ความคิดเห็นของผู้ปกครองนักเรียน ▪มีระบบเทคโนโลยีดีมากในการเช็คชื่อ นักเรียน ▪มีการจัดการเรียนการสอนหลากหลาย ▪เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแข่งขันกับ บุคคลภายนอก ▪ อยากให้มีอุปกรณ์และสื่อการสอนมีมากกว่านี้ค่ะ ▪ ควรส่งเสริมเรื่องคุณธรรม จริยธรรม เพราะกลับบ้านแล้ว ผู้ปกครองพูดด้วยไม่ได้ นักเรียนไม่ค่อยฟัง ▪ อยากให้มีห้องเรียนให้เพียงพอกับจำนวนนักเรียนจัดกิจกรรม อื่นๆนอกจากการเรียนให้น้อยลง ▪ ติดตามนักเรียนที่ขาดภาระงานที่ครูประจำวิชา ▪ ให้ใส่ใจพฤติกรรมนักเรียนมากกว่านี้ ▪ สร้างห้องเรียนประจำให้นักเรียน ▪ เน้นการดำเนินชีวิตในสังคมปัจจุบัน ▪ ควรสอนให้ละเอียดเข้าใจง่ายกว่านี้โดยเฉพาะวิชาฟิสิกส์ เพราะเด็กบางคนค่อนข้างจะเข้าใจวิชาพวกนี้ได้ยาก ▪ อุปกรณ์เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้ ▪ วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ควรหลากหลาย ▪ ควรส่งปฏิทินการศึกษาให้ผู้ปกครองด้วย เพื่อติดตาม บทสรุป ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการดำเนินงานและการใช้หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา พัฒนาการอุบลราชธานี โดยการสอบถามครู ผู้บริหาร นักเรียนและผู้ปกครองนักเรียน ปีการศึกษา 2564 ทั้งหมด จำนวน 1,269 คน โดยใช้แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ใช้ค่าเฉลี่ยและค่าร้อยละ และวิเคราะห์ข้อมูล เชิงเนื้อหาผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจต่อการใช้หลักสูตรสถานศึกษา ดังนี้ 1) ด้านปัจจัยพื้นฐาน คุณภาพครู รายการที่ได้รับความพึงพอใจมากที่สุด คือ ครูตรวจสอบ ติดตามงานที่ มอบหมายนักเรียนและให้ข้อมูลย้อนกลับ ส่วนรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ ครูมีความ ตรงต่อเวลา และติดตามการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง 2) ด้านปัจจัยพื้นฐาน สื่อการเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้รายการที่ได้รับความพึงพอใจมากที่สุด คือ หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอนเพียงพอกับจำนวนนักเรียน ส่วนรายการที่มีคะแนนความพึง พอใจน้อยที่สุด ใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาชาวบ้านในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3) ด้านกระบวนการใช้หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ รายการที่ได้รับความพึงพอใจมากที่สุด คือ นักเรียนมี ส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ส่วนรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ ใช้ กระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียน
รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2564 P a g e | 13 4) ด้านกระบวนการใช้หลักสูตร การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ รายการที่ได้รับความพึงพอใจมากที่สุด คือ การวัดและประเมินผลอ้างอิงตามตัวชี้วัดหรือผลการเรียนรู้ของรายวิชา ส่วนรายการที่มีคะแนนความ พึงพอใจน้อยที่สุด คือ นักเรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบและกำหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผล 5) ด้านประสิทธิผล: คณภาพผู้เรียน รายการที่ได้รับความพึงพอใจมากที่สุด คือ นักเรียนปฏิบัติตนและยึด มั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย ส่วนรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ นักเรียน สามารถผลิตชิ้นงาน หรือนวัตกรรม เพื่อแก้ปัญหาได้ 6) ด้านประสิทธิผล: คณภาพผู้เรียนตามแนวทางโรงเรียนมาตรฐานสากล (OBECQA) รายการที่ได้รับความ พึงพอใจมากที่สุด คือ นักเรียนมีทักษะสำคัญและคุณลักษณะจำเป็นในยุคปัจจุบัน ส่วนรายการที่มี คะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ นักเรียนมีทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 7) ด้านการวางแผน/การจัดทำ/การใช้หลักสูตรสถานศึกษา รายการที่ได้รับความพึงพอใจมากที่สุด คือ เปิด สอนแผนการเรียนหลากหลายสอดคล้องกับความสนใจของนักเรียน ส่วนรายการที่มีคะแนนความพึง พอใจน้อยที่สุด คือ ชุมชน ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการพัฒนาการใช้หลักสูตรสถานศึกษา 8) ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม จุดเด่นของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี คือ มีหลักสูตรหลากหลาย รองรับความสนใจและความถนัดของนักเรียนทั้งด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ภาษา และกีฬา หลักสูตรมีความทันสมัยสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลกโดยเฉพาะการ เปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยี ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning อย่างไรก็ตามโรงเรียนยังมี ความจำเป็นต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ ด้านคุณภาพครู เช่น การพัฒนาผู้สนอให้มีความรู้เฉพาะด้าน ในสาขาที่สอน มีความรับผิดชอบต่อการจัดการเรียนการสอน ด้านสื่อและแหล่งเรียนรู้ ควรมีสื่อ ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เพียงพอต่อจำนวนนักเรียนและเหมาะสมกับเนื้อหาการเรียนรู้ รวมทั้งมีการจัดหา ดูแล อุปกรณ์ส่งเสริมการสอน เช่น โปรเจคเตอร์ ให้เพียงพอและมีประสิทธิภาพใน การใช้งาน
รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2565 P a g e | 1
รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2565 P a g e | 2 คำนำ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานีได้จัดทำรายงานการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาของ โรงเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) เพื่อ นำมาวิเคราะห์ตัดสินคุณค่าของหลักสูตรสถานศึกษาว่ามีประสิทธิภาพเพียงใดเมื่อนำมาใช้จริง บรรลุตามเป้าหมาย/ จุดประสงค์ที่กำหนดไว้เพียงใด และมีส่วนใดที่จำเป็นต้องมีการพัฒนาแก้ไข เพื่อปรับปรุงให้หลักสูตรสถานศึกษา เป็นไปตามพันธกิจและเป้าประสงค์มากที่สุด โดยยึดหลักเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ รวมทั้งยึดการประเมินผลที่หลากหลาย ตามความถนัดของผู้เรียน หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนและเป็นแนวทางแก่ผู้ที่ สนใจนำข้อมูลไปพัฒนาผู้เรียนให้สนองเจตนารมณ์ของหลักสูตรสถานศึกษาต่อไป (นายชาคริต พิมพ์หล่อ) ผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี
รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2565 P a g e | 3 ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี ปีการศึกษา 2565 การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามและประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนเตรียม อุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานีปีการศึกษา 2565 เพื่อนำไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาใน ปีการศึกษาถัดไป รายละเอียดดังนี้ กลุ่มเป้าหมาย ผู้ให้ข้อมูลในการตอบแบบสอบถาม รวมทั้งหมดจำนวน 1,269 คน ประกอบด้วย 1) ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 4 คน 2) ครูผู้สอน จำนวน 67 คน 3) นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 809 คน 4) ผู้ปกครองนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 389 คน เครื่องมือ ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยรายการข้อคำถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ แบ่งข้อคำถามเกี่ยวกับความพึงพอใจต่อการใช้หลักสูตรสถานศึกษาออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการวางแผน/การจัดทำ/การใช้หลักสูตรสถานศึกษา จำนวน 18 ข้อ 2) ด้านปัจจัยพื้นฐาน จำนวน 15 ข้อ 3) ด้านกระบวนการใช้หลักสูตร จำนวน 18 ข้อ 4) ด้านประสิทธิผล 23 ข้อ การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นของ ผู้บริหาร ครูผู้สอน นักเรียน และผู้ปกครอง นักเรียน โดยกำหนดระดับความพึงพอใจออกเป็นแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ 5 หมายถึง เหมาะสมมากที่สุด หรือเห็นด้วยมากที่สุด หรือสอดคล้องมากที่สุด 4 หมายถึง เหมาะสมมาก หรือเห็นด้วยมาก หรือสอดคล้องมาก 3 หมายถึง เหมาะสมปานกลาง หรือเห็นด้วยปานกลาง หรือสอดคล้องปานกลาง 2 หมายถึง เหมาะสมน้อย หรือเห็นด้วยน้อย หรือสอดคล้องน้อย 1 หมายถึง เหมาะสมน้อยที่สุด หรือเห็นด้วยน้อยที่สุด หรือสอดคล้องน้อยที่สุด และแปลความหมายหาค่าคะแนนเฉลี่ย (̅) แต่ละรายการและแต่ละด้าน ได้มาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ 5 ระดับ ดังนี้ ค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 4.51 – 5.00 หมายถึง ระดับมากที่สุดหรือเหมาะสมมากที่สุด ค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 3.51 – 4.50 หมายถึง ระดับมากหรือเหมาะสมมาก ค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 2.51 – 3.50 หมายถึง ระดับปานกลางหรือเหมาะสมปานกลาง ค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 1.51 – 2.50 หมายถึง ระดับน้อยหรือเหมาะสมน้อย ค่าเฉลี่ยตั้งแต่ 1.00 – 1.50 หมายถึง ระดับน้อยที่สุดหรือเหมาะสมน้อยที่สุด
รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2565 P a g e | 4 ความพึงพอใจต่อการใช้หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ อุบลราชธานี รายละเอียด ดังนี้ 1. ด้านปัจจัยพื้นฐาน ตาราง 1.1 ความพึงพอใจต่อคุณภาพครู ข้อที่ 1.1 คุณภาพครู คะแนน แปลผล ครู/ผู้บริหาร นักเรียน ผู้ปกครอง เฉลี่ย 6 ครูตรวจสอบ ติดตามงานที่มอบหมายนักเรียนและให้ข้อมูลย้อนกลับ 3.42 3.95 4.11 3.83 มาก 3 ครูมีความรับผิดชอบต่อการจัดการเรียนรู้ปฏิบัติการสอนอย่างตั้งใจ 3.45 3.83 4.11 3.80 มาก 1 ครูมีความรู้ความเข้าใจ ในเนื้อหาวิชาที่สอนอย่างลึกซึ้ง 3.49 3.85 4.04 3.79 มาก 5 ครูเอาใจใส่และพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ 3.45 3.81 4.11 3.79 มาก 8 ความพึงพอใจโดยรวมต่อความพร้อมและศักยภาพของครูผู้สอน 3.45 3.8 4.1 3.78 มาก 7 ครูสามารถปรับตัวและพัฒนาตนเองด้านการจัดการเรียนการสอน 3.44 3.79 4.07 3.77 มาก 2 ครูสามารถจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ 3.39 3.76 4.04 3.73 มาก 4 ครูมีความตรงต่อเวลา และติดตามการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง 3.39 3.7 4.1 3.73 มาก กราฟ 1.1 ความพึงพอใจต่อคุณภาพครู
รายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา TUP-UBON 2565 P a g e | 5 จากตาราง 1.1 และ กราฟ 1.1 ความพึงพอใจต่อคุณภาพครูพบว่า ทุกรายการมีความพึงพอใจอยู่ระดับ “มาก” โดยรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจสูงที่สุด คือ “ครูตรวจสอบ ติดตามงานที่มอบหมายนักเรียนและให้ข้อมูล ย้อนกลับ” (3.83 คะแนน) และรายการที่มีคะแนนความพึงพอใจน้อยที่สุด คือ “ครูมีความตรงต่อเวลา และติดตาม การเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง” (3.73 คะแนน) และเมื่อจำแนกตามกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามพบว่า รายการที่มี ความพึงพอใจต่อคุณภาพครูสูงที่สุด ดังนี้ ผู้บริหาร : ครูมีความรู้ความเข้าใจ ในเนื้อหาวิชาที่สอนอย่างลึกซึ้ง (3.49) ผู้ปกครอง : ครูมีความรับผิดชอบต่อการจัดการเรียนรู้ปฏิบัติการสอนอย่างตั้งใจ (4.11) ครูตรวจสอบ ติดตามงานที่มอบหมายนักเรียนและให้ข้อมูลย้อนกลับ (4.11) ครูเอาใจใส่และพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ (4.11) นักเรียน : ครูตรวจสอบ ติดตามงานที่มอบหมายนักเรียนและให้ข้อมูลย้อนกลับ (3.95) รายการที่มีความพึงพอใจต่อคุณภาพครูน้อยที่สุด ดังนี้ ผู้บริหาร : ครูสามารถจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ (3.39) ครูมีความตรงต่อเวลา และติดตามการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง (3.39) ผู้ปกครอง : ครูมีความรู้ความเข้าใจ ในเนื้อหาวิชาที่สอนอย่างลึกซึ้ง (4.04) ครูสามารถจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ (4.04) นักเรียน : ครูมีความตรงต่อเวลา และติดตามการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง (3.7) กล่าวได้ว่า คุณภาพครู ความพึงพอใจต่อคุณภาพครูอยู่ในระดับ “มาก” และควรมีการส่งเสริมและพัฒนาครู ด้านความรู้ในเนื้อหาวิชา มีการติดตามงานและให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักเรียน และแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่มี ประสิทธิภาพและเหมาะสมกับบริบทการเรียน 1.2 สื่อการเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ ตาราง 1.2 ความพึงพอใจต่อสื่อการเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ ข้อที่ 1.2 สื่อการเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ คะแนน แปลผล ครู/ผู้บริหาร นักเรียน ผู้ปกครอง เฉลี่ย 1 หนังสือ/ตำรา/เอกสารประกอบการสอนเพียงพอกับจำนวนนักเรียน 3.28 3.7 3.96 3.65 มาก 3 สื่อประกอบการสอนเหมาะสมกับสาระการเรียนรู้และนักเรียน 3.21 3.72 3.9 3.61 มาก 7 ความพึงพอใจโดยรวมต่อสื่อการเรียนรู้สื่อเทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ 3.17 3.69 3.93 3.60 มาก 4 มีสื่อและอุปกรณ์ที่ทันสมัย มีคุณภาพส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน 3.18 3.71 3.89 3.59 มาก 5 มีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ใช้ได้จริง เหมาะสมกับวัยของนักเรียน 3.21 3.63 3.86 3.57 มาก 2 สื่อ วัสดุอุปกรณ์ เพียงพอกับจำนวนนักเรียน 3.06 3.56 3.89 3.50 มาก 6 ใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนและภูมิปัญญาชาวบ้านในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3.08 3.48 3.73 3.43 ปานกลาง